classroom research action...

20
การประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน Classroom Research Action เรื่อง การใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สาหรับนักศึกษาวิชาชีพครู โดย อาจารย์ ดร.สุไม บิลไบ วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

Upload: others

Post on 02-Sep-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๑ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

รายงานการวิจัยปฏิบัติการในช้ันเรียน Classroom Research Action

เร่ือง

การใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรูด้้วยตนเอง รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

โดย

อาจารย์ ดร.สุไม บิลไบ

วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

Page 2: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๒ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

ค าน า

การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเรื่อง การใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู จัดท าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลัก ๓ ประการ คือ ๑. เพ่ือพัฒนาเว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ๒. เพ่ือศึกษาผลการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู และ ๓. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิชาชีพครูที่มีต่อการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งนี้เพ่ือแก้ปัญหาเรื่องเวลาในการจัดการเรียนการสอนที่มีกิจกรรมอ่ืน ๆ มาแทรกท าให้นักศึกษา ไม่มีเวลาเรียนหรือศึกษาโปรแกรมต่าง ๆ ได้เต็มที่ และแก้ปัญหานักศึกษาในชั้นเรียนจ านวนมากบางคนเรียนรู้ไม่ทันหรือไม่เข้าใจเนื้อหาในชั้นเรียนซึ่งการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมจะช่วยให้นักศึกษาสามารถศึกษาเนื้อหา ด้วยตนเองซ้ า ๆ ได้ทุกที่ทุกเวลาตามความสามารถของนักศึกษาที่แตกต่างกัน ซึ่งผลการวิจัยพบว่านักศึกษามีความพึงพอใจในการใช้บล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองอยู่ในระดับมาก และนักศึกษาสามารถเรียนรู้และท ากิจกรรมการเรียนรู้ได้ในระดับที่ดีซึ่งผลการวิจัยนี้จะเป็นส่วนสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาและรายวิชาอ่ืน ๆ ต่อไป

ดร. สุไม บิลไบ

อาจารย์ประจ าสาขาวิชาเทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษา

วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

๒๘ มีนาคม ๒๕๕๘

Page 3: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๓ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

สารบัญ หน้า

ค าน า ก

ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา ๑

ค าถามวิจัย ๑

วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๑

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๒

ตัวแปรที่ศึกษา ๒

วิธีการด าเนินการ ๒

กลุ่มเป้าหมาย ๓

การหาคุณภาพเครื่องมือ ๔

การเก็บรวบรวมข้อมูล ๔

การวิเคราะห์ข้อมูล ๔

สรุปผลการวิจัย ๗

ภาคผนวก ๑๒

Page 4: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๔ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

บทน า ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ยึดหลักผู้เรยีนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ดังนั้นกระบวนการจัดการเรียนการสอนจึงต้องอาศัยวิธีการที่หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาส่วนใหญ่เน้นการจัดห้องเรียนขนาดใหญ่ ใช้วิธีการบรรยาย อภิปรายกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ซึ่งวิธีการส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบการให้ข้อมูลแก่ผู้เรียน (Passive Learning) มากกว่าการให้ผู้เรียนเป็นผู้ค้นหาความรู้ ท ากิจกรรมต่าง ๆ และสะท้อนการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล (Active Learning) การจัดการเรียนการสอนรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเป็นรายวิชาที่มีทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติเพ่ือให้นักศึกษาวิชาชีพครูสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ของตนเองได้ตามท่ีคุรุสภาก าหนด ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนประสบปัญหาต่าง ๆ ได้แก่ ประการที่ ๑ สภาพห้องเรียนไม่เหมาะส าหรับการจัดกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือท ากิจกรรมกลุ่มร่วมกันระหว่างผู้เรียนในการเรียนเนื้อหาภาคทฤษฎี ประการที่ ๒ ห้องเรียนปฏิบัติการคอมพิวเตอร์มีไม่เพียงพอส าหรับการเรียนภาคปฏิบัติท าให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง และประการที่ ๓ นักศึกษาต้องเข้าร่วมกิจกรรมที่หน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเพ่ือเสริมทักษะด้านอ่ืน ๆ ท าให้เวลาเรียนไม่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตามที่ได้จัดท าแผนการเรียนรู้ไว้ ดังนั้นการแก้ปญัหาดังกล่าวอาจารย์ผู้สอนจ าเป็นต้องสร้างสื่อเสริมเพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาด้วยตนเองและได้มีโอกาสทบทวนความรู้ในกรณีท่ีไม่เข้าใจบทเรียนที่ได้เรียนรู้และท ากิจกรรมในชั้นเรียน ซึ่งสื่อเสริมที่น ามาใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เว็บบล็อกเพ่ือการเรียนรู้ที่มีการจัดเตรียมเนื้อหา สื่อมัลติมีเดีย และสื่อการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งแบบฝึกให้นักศึกษาได้ท าการเรียนรู้ด้วยตนเองได้ทุกที่ทุกเวลา ผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟนที่นักศึกษาใช้ในชีวิตประจ าวัน

ค าถามวิจัย

๑. เว็บบล็อกท่ีใช้เป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษามีโครงสร้างและองค์ประกอบอะไรบ้าง

๒. นักศึกษาสามารถเรียนรู้โดยใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองได้มากน้อยเพียงใด ๓. นักศึกษามีความพึงพอใจในการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองวิชานวัตกรรม

และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาหรือไม่เพียงใด วัตถุประสงค์ของการวิจัย

๑. เพ่ือพัฒนาเว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา ส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

๒. เพ่ือศึกษาผลการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและ

Page 5: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๕ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาส าหรับนักศึกษาวิชาชีพครู ๓. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิชาชีพครูที่มีต่อการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้

ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ได้เว็บบล็อกที่เหมาะสมส าหรับน ามาใช้เป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา วิชาชีพครู ในรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

๒. เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาวิชาชีพครูซ่ึงเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือประโยชน์ทางการศึกษาที่สอดคล้องกับคุณลักษณะผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑

๓. ความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อเว็บบล็อกที่ใช้เป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเว็บบล็อกเพ่ือการเรียนรู้ต่อไป

ตัวแปรที่ศึกษา

๑. ผลการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา

๒. ความพึงพอใจของนักศึกษาในการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

วิธีการด าเนินการ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ด าเนินการระหว่างวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ – วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๘ มีข้ันตอนการด าเนินงาน ๓ ระยะ คือ ระยะท่ี ๑ การพัฒนาเว็บบล็อก ระยะที่ ๒ การน าเว็บบล็อกไปใช้เป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ และระยะที่ ๓ การประเมินผลการใช้เว็บบล็อก ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ระยะที่ ๑ การพัฒนาเว็บบล็อก ได้ท าการพัฒนาระหว่างวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ – วันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ โดยใช้กระบวนการพัฒนาตามหลักการ ADDIE ดังนี้

๑. การวิเคราะห์ (Analysis: A) เป็นการวิเคราะห์ผู้เรียน เนื้อหา และวิธีการน าเสนอเนื้อหา และสื่อการออกแบบ (Design: D) เป็นการออกแบบโครงสร้างและก าหนดส่วนต่าง ๆ ภายในเว็บบล็อก ออกแบบพ้ืนหลัง ออกแบบเนื้อหา จัดเตรียมสื่อและเนื้อหาต่างๆ

๒. การพัฒนาเว็บบล็อก (Development: D) เป็นขั้นตอนการสร้างเว็บบล็อกตามรูปแบบที่ ได้ออกแบบไว้โดยเน้นรูปแบบเว็บบล็อกท่ีใช้งานง่าย มีเมนู และส่วนแสดงผลที่ง่ายต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน

Page 6: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๖ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

๓. การน าไปใช้ (Implementation: I) เป็นขั้นตอนการน าเว็บบล็อกท่ีสร้างขึ้นไปให้นักศึกษา ในรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาใช้เป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยให้นักศึกษาลองเข้าใช้ผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน

๔. การประเมินผล (Evaluation: E) เป็นขั้นตอนการประเมินผลการใช้เว็บบล็อกระหว่างเรียน โดยการสอบถามความคิดเห็นนักศึกษาในการเข้าใช้เว็บบล็อกว่ามีปัญหาในการเข้าใช้หรือไม่เพ่ือน ามาปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้น

ระยะที่ ๒ การน าเว็บบล็อกไปใช้เป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ โดยด าเนินการตามขั้นตอนดังนี้ ๑. อาจารย์แจ้งชื่อเว็บบล็อกให้นักศึกษาทราบและให้นักศึกษาเข้าใช้บริการผ่านทางสมาร์ทโฟนได้ที่

Dr.sumaibinbai.wordpress.com ตั้งแต่วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ – วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๗ ซึ่งมีลักษณะของเว็บบล็อกดังนี้

๒. นักศึกษาจับกลุ่มจ านวนกลุ่มละไม่เกิน ๗ คน เพื่อท าภารกิจร่วมกัน ๓. นักศึกษาแต่ละกลุ่มได้รับ ๒ ภารกิจ คือ การท าโครงงานประเภทส ารวจเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษา (Project-based Learning: PBL) และการผลิตสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI) ซึ่งทั้งสองภารกิจนั้นนักศึกษาเป็นผู้คิดหัวข้อด้วยตนเอง โดยอาจารย์เป็นผู้จัดการเนื้อหาและสื่อประกอบการเรียนรู้ไว้บนเว็บบล็อก

๔. นักศึกษาเข้าไปเรียนรู้ด้วยตนเอง และท างานกลุ่มร่วมกันในการแก้ปัญหาเพื่อให้การท าภารกิจที่ ได้รับมอบหมายส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี

๕. อาจารย์เป็นผู้คอยให้ค าปรึกษาเพ่ิมเติมแก่นักศึกษาที่อ่านแล้วไม่เข้าใจ หรืออ่านแล้วไม่สามารถ ท าภารกิจที่ได้รับมอบหมายได้ครบทุกกระบวนการผ่านทางเว็บบล็อก (Web board) และแบบเผชิญหน้า (Face to face)

ระยะที่ ๓ ระยะการประเมินผลการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา โดยมีขั้นตอนดังนี้

๑. ประเมินผลการเรียนรู้จากการท าภารกิจทั้งสองภารกิจที่มอบหมายให้นักศึกษาด าเนินการ โดยประเมินโครงงานจากการเขียนรายงานและการน าเสนอผลการด าเนินงาน และประเมินสื่อจากเล่มรายงานการออกแบบสื่อและการผลิตสื่อที่ส าเร็จแล้วในรูปแบบซีดี

๒. ประเมินความพึงพอใจในการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง รายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

๓. อาจารย์สรุปผลการเรียนรู้และผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือ การเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

Page 7: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๗ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

๔. เขียนรายงานผลการด าเนินการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย การท าวิจัยครั้งนี้เน้นกลุ่มเป้าหมายนักศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ ๒ ที่ลงทะเบียนรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา จ านวน ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักศึกษาสาขาวิชาปฐมวัย สาขาวิชาคณิตศาสตร์ และสาขาวิชาภาษาอังกฤษ จ านวน ๑๒๘ คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

๑. เว็บบล็อกสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๒. แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้

การหาคุณภาพเครื่องมือ การหาคุณภาพเครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้เป็นการพิจารณาด้านความเหมาะสมของเว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา โดยอาจารย์ด้านเทคโนโลยีการศึกษา และด้านการวัดและประเมินผล การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการให้นักศึกษาท าแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านทางระบบออนไลน์ระหว่างวันที่ ๗ – ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๘ การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติพ้ืนฐานประกอบด้วย ความถ่ีและค่าร้อยละของคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยครั้งนี้ได้น าเสนอเป็นตารางประกอบการอธิบายผลความพึงพอใจของนักศึกษาวิชาชีพครูที่มีต่อการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

Page 8: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๘ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตาราง ๑ ข้อมูลทั่วไปของนักศึกษาที่ใช้บริการเว็บบล็อกเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ล าดับ รายการประเมิน คิดเป็นร้อยละ หมายเหตุ ๑ สถานะภาพทางเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศหญิง ๗๙ เพศชาย ๑๗ ไม่ระบุ ๔

๒ สาขาวิชาของผู้ตอบแบบสอบถาม ปฐมวัย ๑๘ ภาษาอังกฤษ ๒๙ คณิตศาสตร์ ๔๗ ไม่ระบุ ๖

๓ การเข้าใช้บริการเว็บบล็อก เคยเข้าใช้บริการ ๙๓ ไม่เคยเข้าใช้บริการ -

๔ ความถี่ในการเข้าใช้บริการเว็บบล็อก ๑ ครั้ง/สัปดาห์ ๒๖ ๒ ครั้ง/สัปดาห์ ๓๒ ๓ ครั้ง/สัปดาห์ ๒๔ ๔ ครั้ง/สัปดาห์ ๙ มากกว่า ๕ ครั้ง/สัปดาห์ ๓

จากตาราง ๑ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ ๗๙ ส่วนเพศชาย

คิดเป็นร้อยละ ๑๗ และไม่ระบุเพศร้อยละ ๔ สาขาวิชาที่ตอบแบบสอบถามมากที่สุดคือนักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ร้อยละ ๔๗ รองลงมาคือนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษร้อยละ ๒๙ สาขาวิชาปฐมวัยร้อยละ ๑๘ และไม่ระบุสาขาวิชาร้อยละ ๖ ตามล าดับ ซึ่งนักศึกษาที่เข้ามาตอบแบบร้อยละ ๑๐๐ เคยเข้าใช้บริการเว็บบล็อกท่ีใช้เป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ โดยมีความถ่ีในการเข้าใช้บริการเว็บบล็อกสูงสุดคือ ๑ ครั้ง/สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ ๒๖ รองลงมาคือ ๒ ครั้ง/สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ ๒๔ และ ๔ ครั้งต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ ๙ มากกว่า ๕ ครั้ง/สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ ๓ ตามล าดับ

Page 9: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๙ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

ตาราง ๒ ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ล าดับ

รายการประเมิน

ระดับความคิดเห็น (คิดเป็นร้อยละ)

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

น้อย น้อยที่สุด

๑ ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบเว็บบล็อก ๑.๑ หน้าโฮมเพจมีความสวยงามน่าสนใจ ๑๒ ๔๗ ๓๒ ๒ ๑ ๑.๒ การจัดรูปแบบในบล็อกง่ายต่อการอ่านและเข้าใจ ๒๐ ๓๘ ๓๐ ๗ ๑ ๑.๓ ผู้ใช้งานสามารถค้นหาข้อมูลได้โดยง่าย ๒๐ ๓๖ ๓๔ ๕ ๓ ๑.๔ สีสันในการออกแบบบล็อกมีความเหมาะสมกับ

การเรียนรู ้๑๒ ๓๖ ๓๔ ๑๑ -

๑.๕ มีความเร็วในการแสดงภาพ ตัวอักษร และข้อมูลต่างๆ ๑๔ ๔๖ ๒๘ ๕ - ๑.๖ ความถูกต้องในการเชื่อมโยงข้อมูลภายในเว็บไซต์ ๑๗ ๕๔ ๒๒ - ๑ ๑.๗ ขนาดตัวอักษร และรูปแบบตัวอักษรมีความสวยงามและ

อ่านได้ง่าย

๑๗ ๔๒ ๓๔ ๔ -

๒ ด้านเนื้อหา ๒.๑ มีความชัดเจน ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และข้อมูลมีการ

ปรับปรุงอยู่เสมอ ๓๔ ๔๑ ๑๗ ๓ ๑

๒.๒ การจัดล าดับเนื้อหาเป็นขั้นตอนมีความต่อเนื่องอ่านแล้ว เข้าใจ

๒๑ ๓๙ ๒๐ ๘ ๔

๒.๓ มีการจัดหมวดหมู่ให้ง่ายต่อการ ค้นหาและท าความ เข้าใจ

๑๗ ๓๙ ๒๒ ๑๑ ๓

๒.๔ เนื้อหาและข่าวสารต่าง ๆ สอดคล้องกับการจัดการ เรียนรู ้

๒๙ ๔๖ ๑๗ ๑ -

๒.๕ เนื้อหาอ่านง่ายและง่ายต่อการท าความเข้าใจ ๒๐ ๔๕ ๒๐ ๘ ๑ ๒.๖ มีตัวอย่างประกอบการเรียนรู้ในรูปแบบมัลติมีเดีย ๒๕ ๔๒ ๒๔ ๓ - ๒.๗ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีการถาม-ตอบปัญหาในการใช้

บทเรียนบนเว็บบล็อก ๒๙ ๓๘ ๒๖ - ๑

๒.๘ อาจารย์มีการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) ใน กิจกรรมต่าง ๆ ที่มอบหมายให้ท า

๓๒ ๓๘ ๒๒ - -

๒.๙ ความพึงพอใจในการใช้เว็บบล็อกเพ่ือการเรียนรู้ภาพรวม ๒๐ ๔๓ ๒๘ ๑ ๓

Page 10: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๑๐ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

ล าดับ

รายการประเมิน

ระดับความคิดเห็น (คิดเป็นร้อยละ)

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

น้อย น้อยที่สุด

๓ ด้านประโยชน์และการน าไปใช้ ๓.๑ เนื้อหามีประโยชน์ต่อผู้ใช้งานและสามารถน าไป

ประยุกต์ใช้ได้ ๒๐ ๕๔ ๑๔ ๔ ๑

๓.๒ สามารถเป็นแหล่งความรู้ได้ ๓๒ ๔๕ ๑๓ ๕ - ๓.๓ เป็นแหล่งข้อมูลที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน ๒๕ ๕๐ ๑๔ ๗ ๑

จากตาราง ๒ พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาอยู่ในระดับมาก โดยสามารถอธิบายผลเป็นรายด้านได้ดังนี้

๑. ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบเว็บบล็อก พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการออกแบบและการจัดรูปแบบเว็บบล็อกอยู่ใน

ระดับมากทุกข้อ โดยรายการที่นักศึกษามีความพึงพอใจมาก ๓ ล าดับแรก ได้แก่ ความถูกต้องในการเชื่อมโยง ข้อมูลภายในเว็บบล็อก คิดเป็นร้อยละ ๕๔ รองลงมาคือหน้าโฮมเพจมีความสวยงามน่าสนใจ คิดเป็นร้อยละ ๔๗ และมีความรวดเร็วในการแสดงภาพ ตัวอักษร และข้อมูลต่างๆ คิดเป็นร้อยละ ๔๖ ตามล าดับ

๒. ด้านเนื้อหา พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อเนื้อหาภายในเว็บบล็อกอยู่ในระดับมากทุกข้อ

โดยรายการที่นักศึกษาพึงพอใจมาก ๓ ล าดับแรก ได้แก่ เนื้อหาและข่าวสารต่าง ๆ สอดคล้องกับการจัด การเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ ๔๖ รองลงมาคือ เนื้อหาอ่านง่ายและง่ายต่อการท าความเข้าใจ คิดเป็นร้อยละ ๔๕ และมีตัวอย่างประกอบการเรียนรู้ในรูปแบบมัลติมีเดีย คิดเป็นร้อยละ ๔๒ ตามล าดับ

๓. ด้านประโยชน์และการน าไปใช้ พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อเนื้อหาภายในเว็บบล็อกอยู่ในระดับมากทุกข้อ

โดยรายการที่นักศึกษาพึงพอใจมาก ๓ ล าดับแรก ได้แก่ เนื้อหามีประโยชน์ต่อผู้ใช้งานและสามารถน าไปประยุกต์ใช้ได้คิดเป็นร้อยละ ๕๔ รองลงมา คือ เป็นแหล่งข้อมูลที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน คิดเป็น ร้อยละ ๕๐ และสามารถเป็นแหล่งความรู้ได้คิดเป็นร้อยละ ๔๕ ตามล าดับ

Page 11: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๑๑ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยในครั้งนี้น าเสนอผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้ดังนี้

๑. เว็บบล็อกที่พัฒนาขึ้นเพ่ือเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษามีโครงสร้างเป็นแบบล าดับขั้น (Hierarchical Structure) โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนต่าง ๆ และมีรายละเอียดย่อย ๆ ในแต่ละส่วนลดหลั่นกันมาในลักษณะแนวคิดเดียวกับ แผนภูมิองค์กร จึงเป็นการง่ายต่อการท าความเข้าใจกับโครงสร้างของเนื้อหาในเว็บลักษณะนี้ ลักษณะเด่นเฉพาะของ เว็บประเภทนี้คือการมีจุดเริ่มต้นที่จุดร่วมจุดเดียว นั่นคือ โฮมเพจ (Homepage) และเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาในลักษณะเป็นล าดับจากบนลงล่าง (ดังภาพ)

ภาพประกอบ ๑ โครงสร้างของเว็บบล็อก

ที่มา: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=185314

Page 12: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๑๒ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

ส่วนประกอบของเว็บบล็อกสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

ภาพประกอบ ๒ ส่วนประกอบของเว็บบล็อกสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชา

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

ส่วนหัว

ชื่อรายวิชา ภาพประกอบ

เมนูด้านบน

บทความพิเศษ ตารางกิจกรรมการเรียนการสอน วิดีโอประกอบการเรียนการสอน

ตัวอย่างสื่อมัลติมีเดีย คู่มือการใช้โปรแกรมพัฒนาสื่อ ถามมา-ตอบไป

เมนูด้านข้าง

ค้นหา เนื้อหาประกอบการเรียนรู้ (จัดเป็นหมวดหมู่) เรื่องล่าสุด ความคิดเห็นล่าสุด ลิงค์ที่เก่ียวข้อง

พื้นที่น าเสนอข้อมูลตรงกลาง

น าเสนอหรือแสดงเนื้อหาที่ผู้เรียนต้องการดู โดยจะเน้นน าเสนอเนื้อหาที่โพสต์ล่าสุดไว้ เมื่อผู้เรียนเลือกข้อมูลจากเมนูใด ๆ ก็จะปรากฏเนื้อหาในพ้ืนที่ส่วนนี้ ซึ่งทุกเนื้อหาจะระบุ

วันที่ปรากฏให้ผู้เรียนทราบว่าบทเรียนนี้อาจารย์ได้โพสต์ไว้เมื่อไร

Page 13: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๑๓ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

หน้าโฮมเพจของเว็บบล็อก https://drsumaibinbai.wordpress.com/ มีลักษณะดังนี้

ภาพประกอบ ๓ เว็บบล็อกสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

Page 14: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๑๔ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

๒. ผลการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง

จากผลการจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยอาจารย์มอบหมายภารกิจหลักให้แก่นักศึกษา ๒ ภารกิจ ได้แก่ ท าโครงงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นระยะเวลา ๑ เดือน และท าการผลิตสื่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ๑ เดือน โดยอาจารย์เป็นผู้น าเสนอเนื้อหาไว้บนเว็บบล็อกเพ่ือให้นักศึกษาได้เข้าไปศึกษาวิธีการด าเนินการโครงงานตั้งแต่ขั้นตอนการก าหนดหัวข้อ การเขียนเค้าโครงของโครงงาน การด าเนินการโครงงาน และการเขียนรายงานโครงงาน และให้นักศึกษาเข้าไปศึกษาวิธีการและด าเนินการจัดท าโครงงาน ซึ่งในขณะที่นักศึกษาด าเนินการนั้นอาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าขอค าปรึกษาได้โดยนักศึกษาต้องตอบค าถามที่เกี่ยวกับการด าเนินการจัดท าโครงงานของตนเอง จนเข้าใจวิธีการและเข้าใจงานที่ตนเองก าลังด าเนินการ จากนั้นให้นักศึกษาด าเนินการจัดท าโครงงานด้วยตัวเอง ซึ่งผลการจัดท าโครงงานพบว่า นักศึกษาทุกกลุ่มท าโครงงานได้คะแนนผ่านเกณฑ์การประเมินทุกกลุ่ม มีปัญหาเพียงเรื่องของการใช้ภาษาในการเขียนรายงานเท่านั้นที่ต้องปรับปรุงบ้าง

ส่วนการผลิตสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้น แบ่งภารกิจออกเป็น ๒ ระยะ คือ ระยะการ ออกแบบสื่อโดยใช้หลักการ ADDIE และใช้ขั้นตอนการเรียนการสอนของ Gagne มาเป็นหลักในการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งทั้งสองระยะได้มีการด าเนินการโดยอาจารย์ได้สอนวิธีการออกแบบสื่อและน าเสนอเนื้อหาการออกแบบสื่อตามหลักการ ADDIE พร้อมทั้งตัวอย่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และเนื้อหาเกี่ยวกับขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนไว้บนเว็บบล็อกเพ่ือให้นักศึกษาเพ่ิมเติมในช่วงด าเนินการออกแบบบทเรียนด้วยตัวเอง (เปน็รายกลุ่ม) หลังจากนั้นนักศึกษาจัดท ารายงานการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งผลการด าเนินการ พบว่า นักศึกษาท าคะแนนได้ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกกลุ่ม จนกระทั่งขั้นตอนสุดท้ายที่นักศึกษาต้องน ารายงานการออกแบบสื่อไปท าการผลิตสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน โดยอาจารย์เป็นผู้สอนวิธีการใช้โปรแกรมเบื้องต้นให้กับผู้เรียนและให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติไปพร้อม ๆ กันแต่ไม่ครบทุกบทเรียนเนื่องจากมีปัญหาเรื่องห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ไม่สนับสนุนโปรแกรมที่ใช้งาน อาจารย์จึงได้น าวีดิโอเกี่ยวกับการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในบทเรียนที่ไม่ได้สอนไว้บนเว็บบล็อก ซึ่งเมื่อครบก าหนดส่งพบว่านักศึกษาสามารถสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้โปรแกรมที่ก าหนดให้และใช้วิธีการศึกษาจากวิดีโอที่อาจารย์น าเสนอไว้บนเว็บบล็อกได้เป็นอย่างดี ซึ่งคะแนนที่ได้ผ่านเกณฑ์การประเมินการผลิตสื่อทุกกลุ่ม มีบางกลุ่มได้คะแนนเต็มเพราะนักศึกษาสามารถบันทึกเสียงพูด เสียงเพลงมาประกอบในบทเรียนได้อย่างน่าสนใจ

๓. ความพึงพอใจของนักศึกษาวิชาชีพครูที่มีต่อการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

จากผลการวิเคราะห์แบบสอบถามพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการใช้เว็บบล็อก เป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมากทุกด้านทั้งด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบบล็อก ด้านเนื้อหา และด้านประโยชน์และการน าไปใช้

Page 15: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๑๕ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

สถิติการเข้าใช้เว็บบล็อกสื่อเสริมเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

ภาพประกอบ ๔ สถิติการใช้เว็บบล็อกสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

สถิติการเข้าใช้แต่ละเดือน

สถิติการเข้าใช้รายวัน

Page 16: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๑๖ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

ภาคผนวก

Page 17: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๑๗ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

ภาคผนวก ๑ แบบประเมินความเหมาะสมของแบบสอบถามการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริม

เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

ค าชี้แจง: แบบประเมินฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือสอบถามความเหมาะสมของแบบสอบถามในการส ารวจ ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองในรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ซึ่งผลการประเมินจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเว็บบล็อกเป็นสื่อเสริม ในการจัดการเรียนรู้รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาต่อไป ๕ หมายถึง มีความเหมาะสมมากท่ีสุด ๔ หมายถึง มีความเหมาะสมมาก ๓ หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง ๒ หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย ๑ หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด

ล าดับ

รายการประเมิน

ระดับความคิดเห็น ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบเว็บบล็อก ๑.๑ หน้าโฮมเพจมีความสวยงามน่าสนใจ ๑.๒ การจัดรูปแบบในบล็อกง่ายต่อการอ่านและเข้าใจ ๑.๓ ผู้ใช้งานสามารถค้นหาข้อมูลได้โดยง่าย ๑.๔ สีสันในการออกแบบบล็อกมีความเหมาะสมกับ

การเรียนรู ้

๑.๕ มีความเร็วในการแสดงภาพ ตัวอักษร และข้อมูลต่างๆ ๑.๖ ความถูกต้องในการเชื่อมโยงข้อมูลภายในเว็บไซต์ ๑.๗ ขนาดตัวอักษร และรูปแบบตัวอักษรมีความสวยงาม

และอ่านได้ง่าย

ด้านเนื้อหา ๒.๑ มีความชัดเจน ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และข้อมูลมีการ

ปรับปรุงอยู่เสมอ

๒.๒ การจัดล าดับเนื้อหาเป็นขั้นตอนมีความต่อเนื่อง สามารถอ่านได้เข้าใจ

๒.๓ มีการจัดหมวดหมู่ให้ง่ายต่อการค้นหาและท าความ เข้าใจ

๒.๔ เนื้อหาและข่าวสารต่าง ๆ สอดคล้องกับการจัดการ เรียนรู ้

๒.๕ เนื้อหาอ่านง่ายและง่ายต่อการท าความเข้าใจ

Page 18: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๑๘ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

ล าดับ

รายการประเมิน

ระดับความคิดเห็น ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

๒.๖ มีตัวอย่างประกอบการเรียนรู้ในรูปแบบมัลติมีเดีย ๒.๗ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีการถาม-ตอบปัญหาในการใช้

บทเรียนบนเว็บบล็อก

๒.๘ มีการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) ในกิจกรรม ต่าง ๆ ที่มอบหมายให้ท า

๒.๙ ความพึงพอใจในการใช้เว็บบล็อกเพ่ือการเรียนรู้ ภาพรวม

ด้านประโยชน์และการน าไปใช้ ๓.๑ เนื้อหามีประโยชน์ต่อผู้ใช้งานและสามารถน าไป

ประยุกต์ใช้ได้

๓.๒ สามารถเป็นแหล่งความรู้ได้ ๓.๓ เป็นแหล่งข้อมูลที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน

ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้

Page 19: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๑๙ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

ภาคผนวก ๒ แบบประเมินความเหมาะสมของเว็บบล็อกที่ใชเ้ป็นสื่อเสริม

เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

ค าชี้แจง: แบบประเมินฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือสอบถามความเหมาะสมของเว็บบล็อกที่ใช้เป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองในรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ซึ่งผลการประเมินจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาต่อไป ๕ หมายถึง มีความเหมาะสมมากท่ีสุด ๔ หมายถึง มีความเหมาะสมมาก ๓ หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง ๒ หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย ๑ หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด

ล าดับ

รายการประเมิน

ระดับความคิดเห็น ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบเว็บบล็อก ๑.๑ หน้าโฮมเพจมีความสวยงามน่าสนใจ ๑.๒ การจัดรูปแบบในบล็อกง่ายต่อการอ่านและเข้าใจ ๑.๓ ผู้ใช้งานสามารถค้นหาข้อมูลได้โดยง่าย ๑.๔ สีสันในการออกแบบบล็อกมีความเหมาะสมกับ

การเรียนรู ้

๑.๕ มีความเร็วในการแสดงภาพ ตัวอักษร และข้อมูลต่างๆ ๑.๖ ความถูกต้องในการเชื่อมโยงข้อมูลภายในเว็บไซต์ ๑.๗ ขนาดตัวอักษร และรูปแบบตัวอักษรมีความสวยงาม

และอ่านได้ง่าย

ด้านเนื้อหา ๒.๑ มีความชัดเจน ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และข้อมูลมีการ

ปรับปรุงอยู่เสมอ

๒.๒ การจัดล าดับเนื้อหาเป็นขั้นตอนมีความต่อเนื่อง สามารถอ่านได้เข้าใจ

๒.๓ มีการจัดหมวดหมู่ให้ง่ายต่อการค้นหาและท าความ เข้าใจ

๒.๔ เนื้อหาและข่าวสารต่าง ๆ สอดคล้องกับการจัดการ เรียนรู ้

๒.๕ เนื้อหาอ่านง่ายและง่ายต่อการท าความเข้าใจ ๒.๖ มีตัวอย่างประกอบการเรียนรู้ในรูปแบบมัลติมีเดีย

Page 20: Classroom Research Action fileการประยุกต์เว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ

๒๐ การประยุกตเ์ว็บบล็อกเป็นสื่อเสริมในการจัดการเรียนรู้ฯ : อ.ดร.สุไม บิลไบ

ล าดับ

รายการประเมิน

ระดับความคิดเห็น ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

๒.๗ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีการถาม-ตอบปัญหาในการใช้ บทเรียนบนเว็บบล็อก

๒.๘ มีการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) ในกิจกรรม ต่าง ๆ ที่มอบหมายให้ท า

๒.๙ ความพึงพอใจในการใช้เว็บบล็อกเพ่ือการเรียนรู้ ภาพรวม

ด้านประโยชน์และการน าไปใช้ ๓.๑ เนื้อหามีประโยชน์ต่อผู้ใช้งานและสามารถน าไป

ประยุกต์ใช้ได้

๓.๒ สามารถเป็นแหล่งความรู้ได้ ๓.๓ เป็นแหล่งข้อมูลที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน

ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้