บทที่ 16

7
บทที16 ภาษามือหมวด ภาษามือที่ใช้ในโรงเรียน ภาษามือที่ใช้ในโรงเรียนมีหลายหมวดที่น่าสนใจ ได้แก่ หมวดบุคคล หมวดของใช้ ตลอดจน หมวดวิชาที่ใช้ในโรงเรียน ซึ่งเป็นภาษามือที่สาคัญในการจัดการศึกษาจนทาให้นักเรียนที่มีความ บกพร่องทางการได้ยินสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ 1. ภาษามือหมวดบุคคลสาคัญในโรงเรียน ภาษามือหมวดนี้มีการใช้ท่ามือที่ต้องใช้การนึกเป็นภาพ จึงจะเข้าใจภาษามือในคานั้นๆ เช่น ครู ต้องตีความว่าครูคือคนที่สอนคน ดังนั้นท่ามือจึงเป็นท่าสอน แล้วก็ทาท่ามือคน ดังภาพ ครู อาจารย์ ผู้สอน ทำท่ำมือ ครู นักเรียน ทำท่ำมือ เรียน แต่แตะที่หน้ำผำกสองครั้ง 2. ภาษามือหมวดของใช้ในโรงเรียน ในโรงเรียนมีของใช้ในส่วนต่างๆ มากมายไม่ว่าจะเป็นของใช้ของครู นักเรียนหรือ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถทาท่ามือได้จากลักษณะการใช้ หรือว่ารูปร่างของสิ่งของนั้นๆ ดังภาพ ต่อไปนีสมุด พนมมือระดับหน้ำอกและเปิดมือกำงออก โดยมือชิดกันอยูดินสอ ทำท่ำมือ สีดำ และทำท่ำมือ เขียน

Upload: pop-jaturong

Post on 06-Aug-2015

61 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 16

บทท่ี 16 ภาษามือหมวด ภาษามือที่ใช้ในโรงเรียน

ภาษามือที่ใช้ในโรงเรียนมีหลายหมวดที่น่าสนใจ ได้แก่ หมวดบุคคล หมวดของใช้ ตลอดจน

หมวดวิชาที่ใช้ในโรงเรียน ซึ่งเป็นภาษามือที่ส าคัญในการจัดการศึกษาจนท าให้นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ

1. ภาษามือหมวดบุคคลส าคัญในโรงเรียน ภาษามือหมวดนี้มีการใช้ท่ามือที่ต้องใช้การนึกเป็นภาพ จึงจะเข้าใจภาษามือในค านั้นๆ

เช่น คร ูต้องตีความว่าครูคือคนที่สอนคน ดังนั้นท่ามือจึงเป็นท่าสอน แล้วก็ท าท่ามือคน ดังภาพ

ครู อาจารย์ ผู้สอน

ท ำท่ำมือ ครู

นักเรียน ท ำท่ำมือ เรียน แต่แตะที่หน้ำผำกสองครั้ง

2. ภาษามือหมวดของใช้ในโรงเรียน ในโรงเรียนมีของใช้ในส่วนต่างๆ มากมายไม่ว่าจะเป็นของใช้ของครู นักเรียนหรือ

บุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถท าท่ามือได้จากลักษณะการใช้ หรือว่ารูปร่างของสิ่งของนั้นๆ ดังภาพต่อไปนี้

สมุด

พนมมือระดับหน้ำอกและเปิดมือกำงออก โดยมือชิดกันอยู ่

ดินสอ ท ำท่ำมือ สีด ำ และท ำท่ำมือ เขียน

Page 2: บทที่ 16

131

ยางลบ

แบมือโดยมีมืออีกด้ำนหนึ่งก ำไว้และยื่นนิ้วโป้งมำถูท่ีฝ่ำมือ และห่อมือขยับเล็กน้อย

ไม้บรรทัด ตั้งแขนระดับหนำ้อก ใช้แขนอีกข้ำงหนึ่งลูบจำกข้อศอก

ไปถึงปลำยนิ้ว

กระดาษ

แบมือท้ังสองข้ำงสลับกันและแตะมือสองครั้ง

ชอล์ก ก ำมือโดยนิ้วช้ีจรดกับนิ้วโป้งและเขียนในอำกำศ

3. ภาษามือหมวดวิชาเรียนในโรงเรียน

วิชาต่างๆ ในโรงเรียนมีภาษามือในการสื่อสารกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการ ได้ยิน โดยในแต่ละวิชามีท่ามือหนึ่งจังหวะและสองจังหวะ ดังภาพต่อไปนี้

วิชา

ท ำท่ำมือ ว และแตะทีฝ่่ำมืออีกข้ำงหนึ่งสองครั้ง

ภาษามือไทย ท ำท่ำมือ ภำษำมือ และท ำท่ำมือ ไทย

Page 3: บทที่ 16

132

ภาษาไทย ท ำท่ำมือ ไทย และท ำท่ำมอื เลขสอง ขยับไปด้ำนข้ำง

ภาษาอังกฤษ ท ำท่ำมือเลขหนึ่งและขีดตำมภำพแล้วท ำท่ำมือ ภำษำ

คณิตศาสตร์

ท ำท่ำมือ เท่ำไหร ่

วิทยาศาสตร์ ก ำมือสองข้ำงโดยมีนิ้วโป้งยื่นออกมำ และวนมือข้ำงใด

ข้ำงหนึ่งก่อนสลับกัน

สังคมศึกษา

ท ำท่ำมือ เลขหนึ่ง ท้ังสองมือ และสลับหน้ำหลัง

พลศึกษา คว่ ำมือสองข้ำงระดับหน้ำอกและดึงเข้ำออก

4. การใช้ภาษามือในโรงเรียน

คร ู: ไปไหนคะ นักเรียน : หนูจะไปเรียนคณิตศาสตร์ครับ

Page 4: บทที่ 16

133

คร ู: โชคดีคะ นักเรียน : ครับ

สรุป ภาษามือที่ใช้ในโรงเรียนประกอบไปด้วยค าศัพท์หมวดบุคคล ซึ่งมีบุคคลที่ส าคัญในโรงเรียนได้แก่ ครูและนักเรียน ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรียนนั้นมีอุปกรณ์ที่บุคคลทั่วไปใช้ เช่น ดินสอ ปากกา ยางลบ ไม้บรรทัด สมุด เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีวิชาต่างๆ ที่ใช้ในโรงเรียน เช่น วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ วิชาสังคม วิชาการออกแบบ วิชาสถาปัตยกรรม ซึ่งภาษามือค าต่างๆ นี้สามารถน ามาใช้ในชั้นเรียนได้และน ามาสื่อสารกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน

แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษาเขียนค าศัพท์ต่อไปนี้

1.1 ………………………………

1.2 ………………………………

1.3 ………………………………

Page 5: บทที่ 16

134

1.4 ………………………………

1.5 ………………………………

2. ให้นักศึกษาน าค าศัพท์ต่อไปนี้ท าเป็นรูปประโยคสนทนา

2.1 คร ู2.2 ดินสอ 2.3 วิชา 2.4 ภาษามือไทย 2.5 คณิตศาสตร์

Page 6: บทที่ 16

135

เอกสารอ้างอิง

กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์. ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 6. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์.

Page 7: บทที่ 16

136