บทที่ 3...

26
Theoretical Foundation มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Upload: likhit-j

Post on 02-Nov-2014

447 views

Category:

Documents


8 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Theoretical Foundation

มุมมองทางจิตวทิยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี

และสื่อการศึกษา

Page 2: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

1. นางสาวจินตหรา ขันเพียแกว 565050267-6 เอกการสอนคณิตศาสตร

2. นายธวัตรชัย เดนชา 565050271-5 เอกการสอนคณิตศาสตร

3. นางสาวนลินทิพย วงษาพัด 565050275-7 เอกการสอนคณิตศาสตร

4. นายเมธี สารดัม 565050282-0 เอกการสอนวิทยาศาสตร

5. นายลิขิต จิตโส 565050321-6 เอกการสอนเคมี

6. นายกลวัชร การแกว 565050325-8 เอกการสอนชีววิทยา

7. นางสาวดารานิล นิรงบุตร 565050329-0 เอกการสอนชีววิทยา

8. นางสาวพัชราภรณ ชัยเสนา 565050334-7 เอกการสอนชีววิทยา

จัดทําโดย

Page 3: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

วิเคราะหหาสาเหตุท่ีทําใหการเรียนรูจากสื่อของครูสมศรีไมตรงตามเปาประสงคท่ีตองการใหเกิดขึ้น พรอมอธิบายเหตุผล

ภารกิจท่ี 1

Page 4: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

สาเหตุที่ทําใหการเรียนรูจากสื่อของครูสมศรีไมตรงตาม

เปาประสงคที่ตองการ

Causes

Teacher

Students

Media

Page 5: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

สาเหตุที่ทําใหการเรียนรูจากสื่อของครูสมศรีไมตรงตาม

เปาประสงคที่ตองการ(ตอ)

Teacher (ครูสมศรี)

• สื่อสรางขึ้นมาตามแนวความคิด และประสบการณของตนเอง

• ไมไดคํานึงถึงลักษณะของผูเรียนในการเรียนรูวาเปนอยางไร

(Students as Center )

• ไมนําทฤษฎีการเรียนรู (Learning Theory) ตางๆ มาประยุกตใช

กับผูเรียนใหเหมาะสม

Page 6: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Media (สื่อ)

• Media Design ส่ือการเรียนรูขาดการออกแบบที่ดี

• Lack of critical thinking ไมไดเพิ่มการคิดวิเคราะหเขาไป

• Graphics แตบางครั้งการมีเทคนิคทางกราฟกมากเกินไป อาจทําให

ผูเรียนมุงความสนใจไปยังส่ิงนั้นๆ มากกวาเนื้อหา

• ส่ือการเรียนรูที่ดีควรเปนส่ือการเรียนรูที่สรางจากความตองการและความ

สนใจของผูเรียน (Attention)

สาเหตุที่ทําใหการเรียนรูจากสื่อของครูสมศรีไมตรงตาม

เปาประสงคที่ตองการ(ตอ)

Page 7: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Students

• ผูเรียนมีความสนใจ (Attention) ในเรื่องที่ครูสมศรีสอนนอย

• ผูเรียนขาดความกระตือรือรน (Enthusiasm) ในการเรียน

• ตัวผูเรียนอาจจะยังไมไดคิด แกปญหาและวิเคราะหออกมาเปนความรูของ

ตนเอง (Knowledge Construction)

สาเหตุที่ทําใหการเรียนรูจากสื่อของครูสมศรีไมตรงตาม

เปาประสงคที่ตองการ(ตอ)

Page 8: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

ภารกิจที่2.

วิเคราะหวาแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอน

และสื่อการสอนวามาจากพืน้ฐานใดบางและพื้นฐานดังกลาว

มีความสัมพันธกันอยางไร

Page 9: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

concepts of instructional design and Instructional Media

Behaviorism

concept ผูเรียนเปนผูรอรับสารสนเทศ ครูเปนบริหารจัดการส่ิงเราและสราง ส่ิงแวดลอมใหผูเรียนดูดซับสารสนเทศ การออกแบบการสอนมุงเนนการออกแบบเพื่อใหผูเรียนสามารถจดจําความรูใหไดในปริมาณมากที่สุด เชน Programmed Instruction , Computer – Assisted Instruction

Page 10: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

concepts of instructional design and Instructional Media

• ระบุวัตถุประสงคการสอนที่ชัดเจน

• ผูเรียน เรียนรูดวยตนเอง

• การออกแบบการสอนเปนลําดับขั้นตอน

characteristic of Instructional Media design

by Behaviorism

Page 11: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Analysis result

ครูสมศรีเปนเสมือนผูบริหาร

จัดการส่ิงเรา เพราะครูสมศรีเปน

ผูจัดทําส่ือการสอนสวนนักเรียนก็รอ

รับส่ิงเรา

concepts of instructional design and Instructional Media

Page 12: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

concepts ผู เ รียนรับสารสนเทศและ

สามารถถายโยงความรูเดิมไปสูบริบทและ

ปญหาใหม ครูเปนผูนําเสนอสารสนเทศ

และสรางสิ่งแวดลอมใหผูเรียนรับขอมูลได

มากท่ีสุด

concepts of instructional design and Instructional Media

Cognitivism

instructional design and Instructional Media focusing on The development of cognitive processes

Page 13: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

concepts of instructional design and

Instructional Media

• การจัดระเบียบหรือจัดหมวดหมู (Organization)

• การขยายความคิด (Elaboration)

• ใชเทคนิคเพื่อแนะนําและสนับสนุนใหผูเรียนใสใจ Focusing question

Highlighting

Mnemonic

Imagery

characteristic of Instructional Media design by Cognitivism

Page 14: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Analysis result

ครูสมศรีเปนผูนําเสนอขอมูลสารสนเทศ

โดยผานทางเนื้อหาในส่ือ และมีการสราง

ส่ิงแวดลอมทางการเรียนรูโดยการใชรูปภาพ

ประกอบ และกราฟกตางๆเพื่อดึงดูดความ

สนใจผูเรียน แตผูเรียนไมไดนําความรูไปคิด

วิเคราะหไปสูความรูใหม นักเรียนของครูสมศรี

จึงไมไดผล ตามที่ครูสมศรีตองการ

concepts of instructional design and Instructional Media

Page 15: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Constructivism

concept ผูเรียนสรางความรูดวยตนเอง สวนครู

เปนผูแนะนําและสรางส่ิงแวดลอมทางการเรียนรูเพื่อสงเสริมการเรียนรูของผูเรียน

concepts of instructional design and Instructional Media

Page 16: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

• objective

• Teacher ‘ Role

• Student’ Role

• Focusing on problem solving and Higher-order thinking

• Assessment

concepts of instructional design and Instructional Media

characteristic of Instructional Media design by Constructivism

Page 17: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Analysis result จากการใชส่ือการสอนของครูสมศรี

ครูสมศรียังไมสามารถทําใหนักเรียน

เปนผูสรางความรูดวยตนเอง เพราะ

ส่ือที่ใชยังคงเนนการสอนแบบ

ทองจํา

concepts of instructional design and Instructional Media

Page 18: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Relationships between concepts of

instructional design and Instructional Media

จากหลักการของทฤษฎีการ เ รียน รู 3 ทฤษฎี มี

ความสัมพันธกัน คือพฤติกรรมนิยม(Behaviorism) และ

พุทธิปญญานิยม (Cognitivism) จะจัดการสอนโดย ผูเรียน

เปนผูรอรับความรู จากครูผูสอน หนังสือเรียน ตารา สื่อการ

สอนตางๆ แนวคิดของคอนสตรัคติวิสต (Constructivism)

ผูเรียนจะเปนผูสรางความรู โดยการสังเกตลงมือกระทําดวย

ตัวผูเรียน

Page 19: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

ภารกิจที่ 3.

วิเคราะหวาในยุคปจจุบันท่ีสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจน

กระบวนทัศนใหมของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและ

สื่อการสอนนั้นควรอยูพื้นฐานของสิ่งใดบาง อธิบายพรอมใหเหตุผล

และยกตัวอยางประกอบ

Page 20: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Constructivism…(1980) What is the constructivist?

Page 21: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Constructivism

Cognitive constructivism

Social constructivism

Social Context Learning

Zone of Proximal Development

Schemas Mental Model

Assimilation Accommodation

Equilibrium

Page 22: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Constructivist Learning Environments…

Media

Real word

Inquiry learning

Methods self-analysis self-regulation

self-reflection self-awareness

Higher order thinking skills

Problem solving

Collaborative learning

Formative assessment

Page 23: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Constructivist Learning Environments…

Problem

Sources

Scaffolding

Collaborative

Coaching

Presenter
Presentation Notes
What is an Interactive Lecture Demonstration? Interactive Lecture Demonstrations introduce a carefully scripted activity, creating a "time for telling" in a traditional lecture format. Because the activity causes students to confront their prior understanding of a core concept, students are ready to learn in a follow-up lecture. Interactive Lecture Demonstrations use three steps in which students:
Page 24: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Example… Interactive Lecture Demonstrations; ILD

1. Predict

2. Experience

3. Reflect

Presenter
Presentation Notes
Predict the outcome of the demonstration. Individually, and then with a partner, students explain to each other which of a set of possible outcomes is most likely to occur.� Experience the demonstration. Working in small groups, students conduct an experiment, take a survey, or work with data to determine whether their initial beliefs were confirmed (or not).� Reflect on the outcome. Students think about why they held their initial belief and in what ways the demonstration confirmed or contradicted this belief. After comparing these thoughts with other students, students individually prepare a written product on what was learned.
Page 25: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

How to Use Interactive Lecture Demonstrations in Class…

- Identify a core concept that students will learn.

- Chose a demonstration that will illustrate the core concept, ideally with an outcome different from student expectations.

- Prepare written materials so that students can easily follow the prediction, experience and reflection steps.

Resources ; http://serc.carleton.edu/introgeo/demonstrations/index.html

Page 26: บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา

Thank you for your attention.