ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

22
บทที3 ทฤษฎีวาทกรรมของมิเชล ฟูโกต ความมุงมั่นในการหาความรู และความจริงของมนุษยกอใหเกิดศาสตรแหงปรัชญาขึ้น ปรัชญาถือวาเปนกิจกรรมที่มนุษยกระทําเพื่อหาคําตอบตอขอสงสัยและตองการหาความจริง ดังนั้น มนุษยไดเรียนรูที่จะใชกระบวนการคิดอยางเปนเหตุเปนผล เพื่อที่จะทําความเขาใจธรรมชาติทีหอมลอมอยู ซึ่งจะกอใหเกิดประโยชนตอการดํารงชีวิตอยางมีคุณคาและสมบูรณในสังคม อยางไรก็ตาม การศึกษาวิเคราะหปรากฏการณตางๆบนโลกของนักปรัชญายุคแรกๆ แมกระทั่ง นักปรัชญายุคฟนฟูศิลปวิทยาการ ตางตั้งอยูบนฐานของการมองความรูวาเปนเพียงวัตถุเพื่อ การศึกษา (objective) ที่มีสภาพหยุดนิ่ง และตายตัว (static) ดังนั้นการอธิบายเรื่องตางๆจึงเปนการ หยิบฉวยเอาปรากฏการณภายใตชุดเงื่อนไขหนึ่งๆ เปนแนวทางในการอธิบายภาพโดยรวมของ สรรพสิ่ง ทั้งนี้ดวยทาทีในการมองความรูวาเปนสิ่งที่ตายตัว ในขณะที่มนุษยตางดํารงอยูภายใต ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมตามยุคสมัย กอใหเกิดการตั้งคําถามตอความเปนพลวัต ของสรรพสิ่งวา หากมองปรากฏการณภายใตบริบทในชวงเวลาใดชวงเวลาหนึ่ง และถือวาสามารถ นํามาใชเปนแนวทางเพื่ออธิบายองคความรูเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆไดทั้งหมด แตสรรพสิ่งตางก็ดํารงอยู ภายใตกฎการเปลี่ยนแปลงนีดังนั้นมนุษยจะสามารถมีความรูที่แทไดอยางไร เนื่องจากธรรมชาติ รอบตัวตางดําเนินไปภายใตกฎแหงการเปลี่ยนแปลง และเลื่อนไหล ดวยการตั้งคําถามเชนนีจึงเกิดนักปรัชญาในยุคหลังสมัยใหม (Postmodernists) ที่เขามา ทาทายมุมมองดังกลาว โดยมีทาทีในการมองสรรพสิ่งในฐานะที่เปนสภาพของการเคลื่อนทีและ มิเชล ฟูโกตเอง ก็เปนนักปราชญชาวฝรั่งเศสยุคหลังสมัยใหม ที่กาวเขามาทาทายมุมมองดังกลาว ดวยเชนกัน โดยการเสนอทฤษฎีวาดวยวาทกรรมและปฏิบัติการเชิงอํานาจทางวาทกรรม ที่เปน ปฏิกิริยาโตตอบตอกระบวนการหาความรูและความจริงของนักปรัชญายุคกอนหนา เพื่อที่จะบอก วาสิ่งจริงแทนั้นคือการเปลี่ยนแปลง อีกทั้งความรูก็มีวิวัฒนาการที่เลื่อนไหลไปตามบริบททางสังคม และวัฒนธรรม ดังนั้นการแสวงหาความรูเพื่อแกขอสงสัยในเรื่องใดๆนั้น ตางดําเนินบนเงื่อนไข ของการเปลี่ยนแปลง และเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา ความรูและความจริงนั้นจึงเปนเพียงสิ่งทีมุงแสวงหาวัตถุตอบสนอง นั่นคือตองอาศัยการตีความที่เกี่ยวโยงกับความรูสึกสวนบุคคล เทานั้นเอง

Upload: -

Post on 29-Jul-2015

1.887 views

Category:

Documents


8 download

TRANSCRIPT

Page 1: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

บทที่ 3 ทฤษฎีวาทกรรมของมิเชล ฟูโกต

ความมุงมั่นในการหาความรู และความจริงของมนุษยกอใหเกิดศาสตรแหงปรัชญาขึ้น

ปรัชญาถือวาเปนกิจกรรมที่มนุษยกระทําเพื่อหาคําตอบตอขอสงสัยและตองการหาความจริง ดังนั้นมนุษยไดเรียนรูที่จะใชกระบวนการคิดอยางเปนเหตุเปนผล เพื่อที่จะทําความเขาใจธรรมชาติที่ หอมลอมอยู ซ่ึงจะกอใหเกิดประโยชนตอการดํารงชีวิตอยางมีคุณคาและสมบูรณในสังคม อยางไรก็ตาม การศึกษาวิเคราะหปรากฏการณตางๆบนโลกของนักปรัชญายุคแรกๆ แมกระทั่ง นักปรัชญายุคฟนฟูศิลปวิทยาการ ตางตั้งอยูบนฐานของการมองความรูวาเปนเพียงวัตถุเพื่อการศึกษา (objective) ที่มีสภาพหยุดนิ่ง และตายตัว (static) ดังนั้นการอธิบายเรื่องตางๆจึงเปนการหยิบฉวยเอาปรากฏการณภายใตชุดเงื่อนไขหนึ่งๆ เปนแนวทางในการอธิบายภาพโดยรวมของสรรพสิ่ง ทั้งนี้ดวยทาทีในการมองความรูวาเปนสิ่งที่ตายตัว ในขณะที่มนุษยตางดํารงอยูภายใตความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมตามยุคสมัย กอใหเกิดการตั้งคําถามตอความเปนพลวัตของสรรพสิ่งวา หากมองปรากฏการณภายใตบริบทในชวงเวลาใดชวงเวลาหนึ่ง และถือวาสามารถนํามาใชเปนแนวทางเพื่ออธิบายองคความรูเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆไดทั้งหมด แตสรรพสิ่งตางก็ดํารงอยูภายใตกฎการเปลี่ยนแปลงนี้ ดังนั้นมนุษยจะสามารถมีความรูที่แทไดอยางไร เนื่องจากธรรมชาติรอบตัวตางดําเนินไปภายใตกฎแหงการเปลี่ยนแปลง และเลื่อนไหล

ดวยการตั้งคําถามเชนนี้ จึงเกิดนักปรัชญาในยุคหลังสมัยใหม (Postmodernists) ที่เขามาทาทายมุมมองดังกลาว โดยมีทาทีในการมองสรรพสิ่งในฐานะที่เปนสภาพของการเคลื่อนที่ และ มิเชล ฟูโกตเอง ก็เปนนักปราชญชาวฝรั่งเศสยุคหลังสมัยใหม ที่กาวเขามาทาทายมุมมองดังกลาวดวยเชนกัน โดยการเสนอทฤษฎีวาดวยวาทกรรมและปฏิบัติการเชิงอํานาจทางวาทกรรม ที่เปนปฏิกิริยาโตตอบตอกระบวนการหาความรูและความจริงของนักปรัชญายุคกอนหนา เพื่อที่จะบอกวาสิ่งจริงแทนั้นคือการเปลี่ยนแปลง อีกทั้งความรูก็มีวิวัฒนาการที่เล่ือนไหลไปตามบริบททางสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้นการแสวงหาความรูเพื่อแกขอสงสัยในเรื่องใดๆนั้น ตางดําเนินบนเงื่อนไขของการเปลี่ยนแปลง และเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา ความรูและความจริงนั้นจึงเปนเพียงสิ่งที่ มุงแสวงหาวัตถุตอบสนอง นั่นคือตองอาศัยการตีความที่ เกี่ยวโยงกับความรูสึกสวนบุคคล เทานั้นเอง

Page 2: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

69  

3.1 พัฒนาการความรูของมนุษย

นับตั้งแตการเกิดขึ้นของมนุษยบนโลก มนุษยตางก็ตองเผชิญกับปรากฏการณทางธรรมชาติมากมายที่สรางความตื่นตระหนกและสงผลตอรูปแบบการดํารงชีวิต ดังนั้นปรากฏการณที่คาดการณไมไดตางๆนานา กอใหเกิดพัฒนาการทางความรูของมนุษยที่สงอิทธิพลใหมนุษยเกิดกระบวนการเรียนรูจากธรรมชาติดวยการสังเกต ตรวจสอบ คิดคนและทดลอง เพื่อใหไดมาซึ่งความสามารถที่มนุษยจะคาดการณ กําหนด และควบคุมธรรมชาติรอบตัวได เหตุนี้เองเปนบอเกิดพัฒนาการทางความรูของมนุษยเร่ือยมาตั้งแตอดีตกระทั่งถึงปจจุบัน

3.1.1 กระบวนการเรียนรูสมัยโบราณ (Ancient Age) สมัยกรีกโบราณถือว า เปนยุคเริ่มตนของปรัชญาตะวันตกที่มนุษย เ ร่ิมมี

กระบวนการคิด การเรียนรูธรรมชาติที่เปนเหตุเปนผล แทนการมองโลกแบบดึกดําบรรพ ที่มองวาโลกนั้นไรระเบียบ และเหตุการณตางๆที่เกิดขึ้นบนโลก เปนปรากฏการณที่เกิดจากการกระทํา ของเทพเจา มนุษยไมสามารถที่จะเขาใจปรากฏการณธรรมชาติที่ยิ่งใหญได และการจะอาศัยอยู บนโลกไดอยางสงบสุขนั้นตองทําพิธีเซนไหวเทพเจา เพื่อสรางความพึงพอใจใหแกบรรดาทวยเทพทั้งหลาย

กระทั่งเกิดนักปราชญที่ริเร่ิมกระบวนทัศนใหมที่วา โลกและจักวาลนั้นมีระบบระเบียบ และมนุษยมีศักยภาพในการเขาใจธรรมชาติได นักปราชญยุคโบราณที่สําคัญที่วางรากฐานกระบวนการคิดอยางมีเหตุมีผล เชน

ธาเลส (Thales, 624-546 B.C.) เปนชาวไอโอเนียสังกัดสํานักมิเลตุส (Milesian School) ของกรีก ธาเลสถือวาเปนนักปรัชญาและนักวิทยาศาสตรธรรมชาติที่ดึงปรัชญาลงมาจากฟากฟา กลาวคือ แทนที่จะอธิบายปรากฏการณตางๆโดยอางถึงเทพเจาหรือตํานานตางๆ ธาเลสไดริเร่ิมกระบวนการเรียนรูโดยการสังเกตธรรมชาติรอบตัว และคิดวิเคราะหหาเหตุผลสนับสนุนความคิดของตนเอง เขาใชวิธีการคิดวิเคราะห (analytic) กระทั่งไดมาซึ่งคําถาม จากนั้นจึงพยายามหาคําตอบที่เปนไปไดดวยวิธีคิดแบบเก็งความจริง (speculate) โดยอาศัยขอมูลที่ประจักษจากธรรมชาติ ดวยทัศนะตอโลกเชนนี้ สงผลใหนักคิดรุนหลังธาเลสตางก็สานตอทาทีในการอธิบายธรรมชาติเชนเดียวกับที่เขาจุดประกายไวในตอนเริ่มแรก

โซคราตีส (Socrates, 469-399 B.C.) เปนนักปราชญกรีกที่ยิ่งใหญอีกทานหนึ่ง ซ่ึงถือวาเปนผูริเร่ิมกระบวนการหาความรูและความจริงดวยวิธีการถามคําถามเพื่อไลเรียงไปสูความจริง หรือที่รูจักกันในชื่อ “วิภาษวิธี” (Dialectics) โซคราตีสเชื่อวา มนุษยนั้นเกิดมาพรอมความรูที่มี

Page 3: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

70  

อยูแลวในวิญญาณ ดังนั้นวิภาษวิธีจะเปนเครื่องมือในการชวยดึงความรูของมนุษยที่ติดตัวมาอยูกอนแลวออกมาไดอยางมีประสิทธิภาพ

เพลโต (Plato, 427-347 B.C.) ถือเปนนักปราชญคนสําคัญแหงกรุงเอเธนส เปนศิษยของโซคราตีส ที่เชื่อวาสิ่งจริงมี 2 ระดับ คือระดับของโลกแหงผัสสะ (The Phenomenal World) ไดแกสสาร และวัตถุตางๆ ซ่ึงเปนสิ่งชั่วคราว เปนอนิจจังและถูกจํากัดดวยกาละและเทศะ ส่ิงจริงอีกระดับหนึ่ง คือ ระดับของโลกแหงมโนคติหรือโลกแหงแบบ (The Ideal World) ซ่ึงเปนสิ่งจริงที่อยูเหนือประสาทสัมผัส เปนโลกที่เปนนิรันดร ไมเปลี่ยนแปลง ไมขึ้นกับกาละและเทศะ สามารถรับรูไดโดยจิตวิญญาณ และสามารถคิดและเขาใจไดดวยเหตุผล เขาเชื่อในสภาวะที่เปนนามธรรม ซ่ึงก็คือจิตนั่นเอง เปนภาวะที่เพลโตเรียกวาสิ่งจริงสูงสุด (Ultimate Reality) เนื่องจากมองวาวัตถุที่แทนั้นไมมีจริง เพราะทุกอยางเปนจิตและเปนสิ่งที่จิตแสดงตัวออกมาเทานั้น

3.1.2 กระบวนการเรียนรูสมัยกลาง (Medieval Age) สมัยกลางเปนยุคแหงคริสตศาสนาที่มองวามนุษยนั้นใชกระบวนการทางเหตุผล

มากเกินไป แตก็ไมสามารถเติมเต็มความเปนมนุษยที่สมบูรณได อีกทั้งเชื่อวามนุษยไมสามารถที่จะเขาใจธรรมชาติไดดวยตัวของมนุษย เองโดยลําพัง เพราะความรูของมนุษยนั้นขึ้นอยูกับ “การสองสวางของพระเจา” (God’s illumination) (วีระ บูรณะบัญญัติ, 2544, น. 9)

ตลอดสมัยของยุคกลางถูกปกคลุมดวยอิทธิพลทางศาสนา ที่พยายามอธิบายโลกโดยอิงอยูกับหลักของความเชื่อ และความศรัทธา เพื่อตอกย้ําขีดความสามารถในการอธิบายธรรมชาติ ของมนุษย ดังนั้นในยุคนี้มนุษยจึงยอมถวายชีวิตและศรัทธาใหแกพระเจา

3.1.3 กระบวนการเรียนรูสมัยใหม (Modern Age) ผลจากการ เปลี่ ยนแปลงทางระบบเศรษฐกิจและสั งคม สงอิทธิพลตอ

การเจริญเติบโตของสังคมทุนนิยมที่มีความสลับซับซอนมากยิ่งขึ้น เปนยุคที่ถือวาเปนชวงแหงการฟนฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) ที่มนุษยเกิดความเชื่อมั่นในกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ มุงไปที่ศักยภาพของมนุษยเอง เนื่องจากมนุษยนั้นมีคุณคาและความสามารถในการอธิบายและควบคุมโลกได ในยุคนี้มนุษยเ ร่ิมใชเหตุผลเพื่อใหเกิดกระบวนการคนควาและทดลองทางวิทยาศาสตร

กระบวนทัศนสมัยใหมเกิดขึ้นมาพรอมกับการปฏิวัติทางความคิดของโคเปอรนิคัส (Nicolaus Copernicus, 1473 - 1543) ที่เสนอความคิดวา ดวงอาทิตยเปนศูนยกลางของจักรวาล โดยมีโลกและดวงดาวอื่นๆโคจรรอบมัน ซ่ึงความคิดนี้แตกตางจากความคิดของทอเลมี (Claudius

Page 4: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

71  

Ptolemaeus, 85 - 168) นักคิดคนสําคัญในชวงคริสตศตวรรษที่ 2 ที่เห็นวาโลกเปนศูนยกลางของจักรวาล การคนพบของโคเปอรนิคัสสงผลกระทบอยางรุนแรงตอมุมมองของศาสนจักร ดังนั้น งานพิมพของเขาถูกเผยแพรในวงแคบๆเทานั้น อยางไรก็ตาม การคนพบของเขาก็ไดรับความสนใจอยางมากจากโจฮันส เคปเลอร (Johannes Kepler, 1571 - 1630) นักคณิตศาสตรและนักดาราศาสตรชาวเยอรมันโดยเคปเลอรไดพัฒนาทฤษฎีของโคเปอรนิคัสตั้งเปนกฎสําคัญทางดาราศาสตรตอมา

ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon, 1561 - 1626) นักปรัชญาชาวอังกฤษ เสนอวิธีการทางวิทยาศาสตรคือ วิธีอุปนัย (Inductive) เพื่อใชเปนหลักเกณฑในการคิด ศึกษา คนควาสิ่งตางๆในโลก โดยการพิสูจนความเชื่อโดยการอางประสบการณเฉพาะหนวย (particular) สาเหตุแหงความคิดของเบคอน เกิดจากความเห็นวาวิธีนิรนัยที่นักปรัชญายุคกลางใชเพื่อพิสูจนส่ิงตางๆนั้น ไมเปนวิทยาศาสตรธรรมชาติ เพราะไมเกิดความสัมพันธระหวางประสบการณกับสาระที่เปนปจเจก (individual substance) เขาเชื่อในหลักการที่วา ส่ิงที่เปนจริงควรเปนสิ่งที่สามารถพิสูจนไดดวยวิธีทางวิทยาศาสตร อาจกลาวไดวาเขาเปนตัวแทนของลัทธิประสบการณนิยม (Empiricism) นอกจากนั้น เบคอนเชื่อมั่นวาระบบตางๆอยูที่กฎตายตัวของโลก ซ่ึงมนุษยสามารถรูได

เรอเน เดสการต (Rene Descartes, 1596 - 1650) ถือวาเปนบิดาแหงอภิปรัชญาสมัยใหมชาวฝรั่งเศส เขามีความเห็นที่แตกตางจากเบคอนในเรื่องบอเกิดของความรู กลาวคือ ในขณะที่เบคอนเห็นวาเราสามารถสรางความรูไดโดยผานการมีประสบการณกับธรรมชาติ แต เดสการตกลบัเห็นวาบอเกิดความรูของมนุษยคือเหตุผล เดสการตเห็นวาเราควรอธิบายปรากฏการณทางธรรมชาติผานเรขาคณิตและคณิตศาสตร เพราะทั้งสองศาสตรมีลักษณะที่สมบูรณ และมีรูปแบบที่แนนอนตายตัว นอกจากนั้น เขาเห็นวาทุกการเปลี่ยนแปลงและการเคลื่อนที่ในโลกของวัตถุสามารถอธิบายไดในลักษณะของจักรกล โดยอาศัยกระบวนการลดทอนปรากฏการณมาสูสสารและการเคลื่อนที่ ซ่ึงเหลานี้แสดงใหเห็นวาเดสการตไดแยกวิทยาศาสตรออกจากศาสนาโดยสิ้นเชิง

อิมมานูเอล คานท (Immanuel Kant, 1724 - 1804) นักปรัชญาชาวเยอรมัน ผูเปด ยุคใหมของปรัชญาเชิงวิจารณ เปนนักปรัชญาที่ประนีประนอมแนวคิดประสบการณนิยมของจอหน ลอค (John Locke, 1632 - 1704), เบิรคเลย (George Berkley, 1685 - 1753) และเดวิด ฮิวม (David Hume, 1711 - 1776) ที่วาประสบการณเปนบอเกิดความรู และแนวคิดเหตุผลนิยมของเรอเน เดสการต (Rene Descartes, 1596 - 1650) และไลบนิซ (Leibniz, 1646 - 1716) ที่วาสิ่งจริงแทสามารถรับรูไดดวยเหตุผล (innate idea) ซ่ึงอยูเหนือผัสสะ ในทางกลับกันคานทเห็นวาการรับรูดวยผัสสะอยางเดียวหรือใชเหตุผลอยางเดียวไมนาจะบรรลุความรูที่แทจริงได ดังนั้นความรูที่แทจริงจะตองเกิดจากการไดรับรูทั้ง 2 ทาง คานทมีทัศนะวา มนุษยมีแนวคิดบางอยางติดตัวมาแตกําเนิดในการรับรูประสบการณรอบตัวในโลก แนวคิดนี้ตอมาเปนที่เขาใจกันในชื่อ “แนวคิดจิตนิยม

Page 5: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

72  

อุตรวิสัย” (Transcendental Idealism) กลาวคือ เรารับรูโลกผานทางประสบการณที่เกิดจากประสาทสัมผัสรวมกับมโนภาพที่ติดตัวมนุษยมาตั้งแตเกิด ความรูตอสรรพสิ่งเปนเพียงภาพปรากฏที่รับรูผานประสาทสัมผัสเทานั้น คานทยังเชื่อวา “จิต” มนุษยเปนตัวกําหนด “วิธีการรับรู” อีกทั้งเปนตัวกําหนดเงื่อนไขบางอยางของมโนทัศนของเราเกี่ยวกับโลก ทุกสิ่งที่เราเห็นนั้น เรารับรูมันในฐานะปรากฏการณที่อยูในกาละและเทศะ เปนรูปแบบของการรับรู 2 แบบ รูปแบบการรับรูทั้งสองอยู ในจิตของเรากอนประสบการณใดๆ กลาวอีกนัยหนึ่งคือ เราสามารถรูไดกอนที่จะมีประสบการณกับสิ่งตางๆ และเราจะรับรูมันในฐานะที่มันเปนปรากฏการณในแงมุมของกาละและเทศะ ดังนั้นจิตเปรียบเสมือนตัวคัดกรองความรูของมนุษยนั่นเอง

คานทอุปมาอุปมัยวา ความจริงภายนอกเปนวัตถุดิบ สมมติวาคือตนออย สวนจิตมนุษยเปนโรงงานแปรรูป สมมติในที่นี้วาโรงงานทําการสกัดออยใหกลายเปนน้ําตาล น้ําตาลไมใช ตนออยแตน้ําตาลมาจากออย โครงสรางจิตไดแปรสภาพตนออยเปนน้ําตาล น้ําตาลคือความรูที่ปรากฏแกจิต เราไมสามารถรูความจริงภายนอกได ซ่ึงคานทเรียกสวนนี้วา Noumena หรือ things-in-themselves เพราะจิตไดแปรสภาพสิ่งที่เราเห็นไปแลว ดังนั้นสิ่งที่เรารูได คือ ความรูที่ปรากฏแกจิต (Phenomena) เทานั้น (ประยงค แสนบุราณ, 2548, น. 84)

จากที่กลาวมาขางตน จะสังเกตเห็นวามนุษยดํารงอยูคูกับกระบวนการทางความรูที่เปนวิทยาศาสตรซึ่งเปนเหตุเปนผลมาชานาน และมนุษยก็ยังถือวาเปนศูนยกลางของความรูทั้งหมด หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา มนุษยมีฐานะเปนองคประธานที่มีอํานาจในการตัดสินใจกระทําหรือ ไมกระทําการณใดๆ แตความรูที่มนุษยไดรับนั้นตั้งอยูบนฐานของการมองสรรพสิ่งในสภาวะที่ หยุดนิ่ง ซ่ึงทําใหมนุษยหยิบจับปรากฏการณเพียงชวงเวลาหนึ่งภายใตบริบท เงื่อนไขหนึ่งในการ ทําความเขาใจโลกและธรรมชาติเทานั้น แตดวยสภาวะโลกสมัยใหมที่ความเจริญกาวหนา ทางวิทยาศาสตรคืบหนาไปอยางรวดเร็ว ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมดําเนินไปอยางไมมี ทีทาวาจะหยุดยั้ง และทามกลางการเปลี่ยนแปลงนั้นเอง สงผลใหมนุษยไมสามารถที่จะจับตองอะไรไดอยางเปนรูปธรรม เนื่องจากชีวิตในสังคมยุคโลกาภิวัตนนั้นเต็มไปดวยความฉาบฉวย แมจะอยูทามกลางผูคนมากมาย แตก็รูสึกถึงความแปลกแยก อางวาง และโดดเดี่ยว ดังนั้นจึงเกิด กระบวนทัศนใหมที่มองวาความจริงที่มนุษยชาติพยายามแสวงหานั้นไมสามารถรับรูได เนื่องจากความจริงแทนั้นคือสภาวะการที่เปลี่ยนแปลง และเลื่อนไหลตลอดเวลา ทุกสิ่งทุกอยางเกิดขึ้นจากการประกอบสราง การใหคุณคาและความหมายจากวัฒนธรรม ความปรารถนา จินตนาการ สัญลักษณ อํานาจ ที่ผสมผสานกันและแปรสภาพเปนความจริงในที่สุด (นภาพร หงสทอง, 2547, น. 1)

Page 6: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

73  

3.1.4 กระบวนการเรียนรูหลังสมัยใหม (Postmodernism) เปนกระบวนการที่ตอตานความคิดที่ เชิดชูและเชื่อมั่นความกาวหนาทาง

วิทยาศาสตร โดยมองวาความกาวหนาทางวิทยาศาสตรนั้นนําความเดือดรอนมาสูมวลมนุษย ดังจะเห็นไดจากการคิดคนระเบิดนิวเคลียร ที่สรางความเสียหายใหแกชีวิตและทรัพยสินของประชาชนเปนวงกวาง ดวยวิทยาการทางวิทยาศาสตรที่ ลํ้าหนาทําใหมนุษยเชื่อวาตัวเองเปนศูนยกลางของจักรวาล และมีสิทธิอันชอบธรรมในการยึดครองทุกอยางได อีกทั้งมีศักยภาพในการเอาชนะทุกอยางไดเชนเดียวกัน

นอกจากนั้น นักคิดในยุคนี้ยังมีมุมมองวา เหตุผลที่มนุษยยึดถือเปนสรณะนั้น สงผลใหมนุษยออกหางจากความจริงมากขึ้น เพราะเหตุผลในทัศนะของบรรดานักคิดยุคหลังสมัยใหมเปนเพียงศิลปะการชวนเชื่อที่ตองอาศัยการตีความ ซ่ึงสุดทายก็จบลงดวยมุมมองของตนเองที่มีลักษณะเปนปจเจกมากกวา อีกทั้งนักคิดหลังสมัยใหมยังมองเห็นจุดบกพรองในการศึกษาธรรมชาติโดยวิธีการลดทอน แยกชิ้นสวนตางๆใหเปนหนวยยอย ซ่ึงกอใหเกิดความรูที่มีลักษณะเปนเพียง เศษเสี้ยวของความรูทั้งหมด ดังนั้นจึงเสนอแนวคิดที่มนุษยควรศึกษาโลกโดยการมองอยางเปน องครวม เพราะเห็นวาสรรพสิ่งทุกอยางเกี่ยวโยงซ่ึงกันและกันอยางแยกไมออก นักปราชญสมัยโบราณถึงสมัยใหมมองวาความจริงคือ ความรูสึกที่ตรงกับความเปนจริง ซ่ึงมีอยูระบบเดียวและเปนวัตถุวิสัย ใครที่เห็นตางจากนี้ถือวาเปนความคิดแบบอัตวิสัยและเปนความเท็จ แตนักปรัชญายุค หลังสมัยใหมกลับเห็นวา ไมมีความจริงแท เนื่องจากความจริงทุกอยางเปนความรูที่มุงแสวงหาวัตถุตอบสนองเทานั้น นั่นคือตองอาศัยการตีความที่เต็มไปดวยอคติและความรูสึกสวนบุคคลนั่นเอง (กีรติ บุญเจือ, 2545, น. 65-70)

ดวยการเรียนรูปญหาที่เกิดขึ้นในอดีต ทําใหเกิดนักปรัชญาที่มีแนวคิดแบบโครงสรางนิยม (Structuralism) และหลังโครงสรางนิยม (Post-structuralism) มากมาย อาทิ

โซซูร (Ferdinand de Saussure, 1857 - 1913) เปนนักปราชญชาวฝร่ังเศส ผูวางฐานแนวคิดแบบโครงสรางนิยม โดยการสืบสาวทางภาษาศาสตร โซซูรไดเจาะลึกลงไปที่แกนกลางของกฎเกณฑที่ซอนอยูภายใตขนบธรรมเนียมจารีตที่ทําใหภาษาสามารถปฏิบัติการได เขาไดทําการบุกเบิกการศึกษาดานไวยากรณที่มุงเนนไปที่ตัวภาษามากกวาขอมูลที่ภาษาสื่อออกมา อีกทั้งยังเปนผูริเร่ิมศาสตรแหงสัญลักษณ หรือที่รูจักกันในชื่อ “Semiology” ซ่ึงเปนเทคนิควิธีที่ผูสงสารสงขอมูลผานสัญญะและภาพตางๆ โซซูรแสดงใหเห็นวาที่มนุษยสามารถสื่อสารกันไดอยางเขาใจนั้น เนื่องจากมีความเชื่อมโยงระหวางรูปสัญญะ (signifier) และความหมายของสัญญะ (signified) ที่กอรูปใหเกิดเปนภาษานั่นเอง ดังที่ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร (2545, น. 21) อธิบายเพิ่มเติมวา ภาษาทีถื่อวาเปนระบบคุณคาหนึ่งซึ่งถูกกําหนดจากสังคม เกิดจากความสัมพันธที่สลับซับซอน และเชื่อมโยง

Page 7: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

74  

ระหวางรูปสัญญะ หรือตัวส่ือกับความหมายของสัญญะ หรือความคิดที่รูปสัญญะตองการจะสื่อ ตัวอยางเชน เสียงที่เปลงออกมาในรูปของคําวา “มา” คือรูปสัญญะ หรือตัวส่ือ (signifier) ที่จะนําไปสูความคิดเกี่ยวกับสัตวที่เรียกวา “มา” (signified) นอกจากนั้นความสัมพันธระหวางรูปสัญญะและความหมายของสัญญะเปนการถูกกําหนดใหเปนมากกวาเปนไปโดยธรรมชาติ

เลวี สโทรส (Claude Levi Strauss, 1908 - ) เปนนักปรัชญาชาวเบลเยี่ยม ที่มองวาภาษา ไดสรางหรือสถาปนาความจริงสําหรับมนุษย กลาวคือมนุษยไมไดสรางความหมายโดยภาษา แตภาษาไดพูดกับมนุษยตางหาก เขาทําการศึกษาระบบคิดของชาวพื้นเมืองโบราณ และศึกษานิทานปรัมปรา (myth) เลวี สโทรสมองวา วิธีการหาความรูของเขาเปนวิธีการหาความรูแบบหนึ่งมากกวาจะมองวาเปนทฤษฎี เขาไดเสนอมุมมองที่นาสนใจเปนอยางยิ่งวา สรรพสิ่งตางๆดํารงอยูไดดวยการมีโครงสรางชุดหนึ่งกํากับและกําหนดใหเปนอยางที่เปนอยู โครงสรางนั้นอยูในรูปของระบบความสัมพันธที่เชื่อมโยง และรอยรัดสรรพสิ่งใหอยูดวยกันอยางที่เปนอยู ดังนั้นการกระทําตางๆ หรือคําพูดที่เกิดขึ้นไมไดมีความหมายที่ดํารงอยูในตัวเองอยางแทจริง แตเปนโครงสรางที่กํากับความสัมพันธของสิ่งเหลานี้กับสิ่งอื่นๆภายใตระบบเดียวกันมากกวา ดังนั้นเลวี สโทรสไมไดมุงศึกษาสิ่งที่ปรากฏ (appearance) แตมุงไปที่การคนหาความหมายในระดับลึกลงไปซึ่งเปนโครงสรางที่ซอนอยูเบื้องหลังการกระทํา เหตุการณ หรือคําพูด และปฏิบัติการที่ทําใหส่ิงนั้นๆดํารงอยูอยางที่เปนอยูปจจุบัน (ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2545, น. 44)

โรลองด บารตส (Roland Barthes, 1915 - 1980) เปนนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสที่สําคัญอีกคนหนึ่งที่สานตอแนวความคิดของโซซูรอยางเปนระบบมากขึ้น กลาวคือในขณะที่โซซูรทําการแยกระหวางรูปสัญญะซึ่งก็คือรหัส ออกจากความหมายของสัญญะซึ่งก็คือขอความที่ส่ือ บารตสไดขยายเรื่อง “ความหมาย” จนกลายเปนประเด็นใหมที่ไดรับความสนใจตอมา โดยบารตสเห็นวาความหมายเปนเรื่องของการปะทะกันระหวางสัญญะ เปนเรื่องของความแตกตางและการเปรียบเทียบ สวนบทบาทและหนาที่ของภาษาเปนเพียงการผา แบง และแยกโลกแหงความเปนจริง ที่สรางความไมตอเนื่องใหเกิดขึ้น ดังนั้นบารตสมองความรูและความจริงวาเปนสิ่งที่ไมตายตัว แตเปนเพียงความคิดที่สามารถแปรเปลี่ยนได ที่เขาไดเสนอแนวคิดที่จะผา แบง และแยกโลกแหงความเปนจริงออก ก็เพื่อกอใหเกิดระบบที่แตกตางในการเปรียบเทียบความเปนจริงใหเห็นอยางเดนชัดขึ้น ซ่ึงกระบวนนี้เปนที่รูจักกันในนาม “ศาสตรแหงการตีความสัญญะ” (hermeneutics of signs) นั่นเอง อาจกลาวอีกนัยหนึ่งวา มุมมองของบารตสนั้นมองวาการพูด การใชภาษาแตละครั้งเปนการสรางความแตกแยกขาดตอนเพื่อใหเกิดความหมายที่ตองการขึ้นมา และหากวาภาษาทําหนาที่เพียงการผา แบง และแยกโลกแหงความเปนจริงเพื่อกอรูปของความหมายขึ้นมาแลวนั้น ความหมายที่

Page 8: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

75  

เกิดขึ้นก็ไมมีคุณคาอะไรอื่นนอกจากชิ้นสวนที่ถูกภาษาตัดและแบงออกเปนรูปรางตางๆเทานั้นเอง (ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2551, น. 118-119)

ดังจะเห็นไดชัดเจนวา เหลานักคิดยุคหลังสมัยใหมไมไดพยายามคนหา “ความหมาย” ของสรรพสิ่งในลักษณะหยุดนิ่งตายตัว ที่มีมนุษยเปนศูนยกลาง เปนผูกระทําการณใดๆตอสรรพสิ่งอยางนักปราชญในอดีตเขาใจ แตกลับคนหารูปแบบและกระบวนการของภาษาที่กระทําตอ สรรพสิ่ง แมกระท่ังตัวตนของมนุษยเองจนกอใหเกิดความหมายขึ้นมามากกวา นักคิดยุคหลังสมัยใหมมีทาทีตอโลกวา สรรพสิ่งทั้งหลายลวนเกิดจากการประกอบสรางที่เกี่ยวโยงกับเรื่องของความแตกตางและความตรงกันขามที่รวมกําหนดความหมายซึ่งกันและกัน เชน เมืองกับชนบท, คนดีกับคนราย และผูชายกับผูหญิง เปนตน เหลานี้ลวนเปนปฏิบัติการทางภาษาที่กําหนดความหมาย ซ่ึงปฏิบัติการนี้มีลักษณะเปนพลวัตและไมหยุดนิ่งตายตัว เพราะขึ้นอยูกับบริบทของวัฒนธรรม กาลเวลา และกรอบความรูของมนุษยในแตละยุคในการมองและเขาไปใหความหมายกับสรรพสิ่งนั้นๆ และจากที่กลาวมาขางตน มิเชล ฟูโกต นักคิดคนสําคัญในชวงปลายศตวรรษที่ 20 เรียกกระบวนเหลานี้วา “วาทกรรม” (discourse) นั่นเอง เนื่องจากวาทกรรมเกี่ยวของกับการใชภาษาเพื่อนิยามสิ่งตางๆ เปนตัวกําหนดวาเราจะสามารถพูดเรื่องอะไร กระทําการณใด ในเวลาใดเพื่อกอใหเกิดความเขาใจตอโลกรอบตัว ดังนั้นวาทกรรมจึงหนีไมพนปฏิบัติการเชิงอํานาจที่สรางรูปแบบครอบกระบวนการคิดของเรา ดวยเหตุนี้วาทกรรมของมิเชล ฟูโกตจึงเชื่อมโยงกับกระบวนการทางภาษาที่สรางตัวตนของตัวมันเองและกระทําการณตางๆดวยตัวเอง (Danaher, Geoff, Schirato, Tony and Webb, Jen, 1999, p. 31) 3.2 ประวัติของมิเชล ฟูโกต

มิเชล ฟูโกต (Michel Foucault, 1926-1984) เปนนักปรัชญาสังกัดทั้งสายโครงสรางนิยม (Structuralism) และหลังโครงสรางนิยม (Post-Structuralism) เกิดและเติบโตที่เมืองปวติเยร (Poitiers) ประเทศฝรั่งเศส (ฟูโกต, 1975/2547, น. 5-18) บิดาของฟูโกตเปนศัลยแพทยที่โดงดัง อีกทั้งเปนอาจารยแพทยที่เมืองปวติเยรอีกดวย บิดาของฟูโกตตองการใหเขาสานตอวิชาชีพแพทย แตฟูโกตกลับสนใจเรียนรูดานมนุษยและสังคมมากกวา ภายหลังจากจบการศึกษาที่เมืองปวติเยร ฟูโกตยายไปเรียนตอที่เมืองปารีสโดยสอบแขงขันเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาที่เขมงวด และจบปริญญาตรีสาขาจิตวิทยา และปริญญาโทสาขาปรัชญาในเวลาถัดมา จากนั้นฟูโกตไดสอบบรรจุเปนอาจารยมหาวิทยาลัยในป ค.ศ. 1951 และดวยความสนใจดานจิตเวช จึงศึกษาเพิ่มเติมที่สถาบัน

Page 9: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

76  

จิตวิทยาแหงกรุงปารีส จนไดรับประกาศนียบัตรชั้นสูงดานจิตวิทยาเชิงทดลองและพยาธิวิทยา ทางจิต

ฟูโกตตอตานแนวคิดแบบมนุษยนิยม ดวยเหตุที่เขามักจะตั้งขอสงสัยเกี่ยวกับเสรีภาพของปจเจกชน ฟูโกตไดรับแนวคิดจากนิตเช (Friedrich Nietzsche, 1844 - 1900) นักปรัชญาชาวเยอรมัน ที่มองวาในการรับรูของมนุษยนั้น เราไมเคยไดรูส่ิงที่เรียกวา “ขอเท็จจริง” เลย เพราะเรามัวแตตีความตามความเชื่อ และความเขาใจของเราเองเทานั้น โดยที่ฟูโกตเองก็เชื่อวาธรรมชาติของสรรพสิ่งนั้น เปนเพียงวาทกรรมซึ่งเกิดจากการสรางและใชภาษาตามความคิดและอคติของเราเทานั้น

อยางไรก็ตาม ฟูโกตเร่ิมอาชีพอาจารยอยางเต็มตัวที่มหาวิทยาลัยแหงเมืองลิลลทาง ตอนเหนือสุดของประเทศ ตอมาเขาไดถูกทาบทามจากนักวิชาการแนวโครงสรางนิยมรุนแรกๆ คือ จอรจ ดูเมซิล (Georges Dumézill) ใหไปดํารงตําแหนงผูอํานวยการสถาบันฝร่ังเศสที่มหาวิทยาลัยอุปซาลา ประเทศสวีเดน ซ่ึง ณ มหาวิทยาลัยแหงนี้เองเปนจุดเริ่มตนของงานเขียนชิ้นแรกของฟูโกต คือเร่ือง “Madness and Civilization” (1961) เปนเรื่องราวเกี่ยวกับจิตเวชที่เขาสนใจ โดยเนื้อหา สวนใหญเกี่ยวของกับผูปวยที่ถูกเรียกวาเปนโรคจิตวิปลาส ซ่ึงฟูโกตพยายามบอกวาจิตวิปลาสนั้น ไมใชสภาวะที่มีลักษณะที่แนนอนตายตัวตามธรรมชาติ แตเปนสภาวะที่ถูกนิยามโดยปฏิบัติการรูปแบบหนึ่งทางสังคม ที่ถูกผูกโยงเขากับการรับรูของผูคนในแตละยุคสมัยของประวัติศาสตร ฟูโกตช้ีใหเห็นวาสังคมแตละยุคพูดถึง “คนบา” อยางไรและปฏิบัติอยางไรตอคนบา โดยเขาอธิบายวาตั้งแตสมัยยุคกลางนั้น คนบาสามารถอยูรวมกับคนอ่ืนในสังคมได โดยท่ีบางครั้งก็ไดรับการ ยกยองวาเปนผูรูที่มีญาณพิเศษ กระทั่งวิทยาการกาวหนาพรอมกับการเชิดชูหลักเหตุผลของมนุษยเกิดขั้นในสังคม คนบาจึงถูกกักตัวแยกออกตางหากจากสังคม เพื่อนําไปบําบัดใหเปนปกติ จากกระบวนการดังกลาวที่เกิดแกคนบา ฟูโกตกลาววาเปนปฏิบัติการหนึ่งของสังคมที่เปลี่ยนจาก “สภาวะความเปนบา” มาสูการเปน “ผูมีอาการปวยทางจิต” งานเขียนเร่ือง “Madness and Civilization” นี้เองที่สงผลใหฟูโกตนําผลงานการเขียนชิ้นนี้เสนอเปนวิทยานิพนธเพื่อรับปริญญาเอก และเขาก็ไดเปนศาสตราจารยที่มหาวิทยาลัยแคลรมงด-แฟรร็องด (Clermont-Ferrand) ในที่สุด ในป ค.ศ. 1963 ฟูโกตไดเขียนหนังสือขึ้นอีกเลมชื่อ “The Birth of the Clinic” เพื่อแกะรอยพัฒนาการทางการแพทยที่ปฏิบัติตอคนจิตวิปลาสตอมา

ฟูโกตเร่ิมไดรับอิทธิพลแนวคิดจากจอรจ ก็องกีแย็ม (Georges Canguilhem) ผูเชี่ยวชาญดานประวัติวิทยาศาสตร ผูเสนอแนวคิด “ความไมตอเนื่อง” ในพัฒนาการทางวิทยาศาสตร รวมทั้งความไมตายตัวของมโนทัศน (concept) ตางๆที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เปนเหตุใหฟูโกตผลิตงานชื่อ “The Order of Things: An Archeology of the Human Sciences” (1966) โดยมุงหวังที่จะ

Page 10: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

77  

สืบคนความเปนมาโครงสรางทางความคิดของมนุษยในแตละยุคสมัย ซ่ึงโครงสรางนี้ทําหนาที่เปนกรอบความรู เปนเบาหลอมความเชื่อ วิธีคิด วิธีเขาใจ และคําพูดของมนุษย ซ่ึงฟูโกตเรียกวา “วาทกรรม” ที่มนุษยนํามาหยิบยื่นเพื่อใหความหมายแกสรรพสิ่ง ดังนั้นกรอบความรู ความเชื่อ และกระบวนทัศนของมนุษยตอสรรพส่ิงตามทัศนะของฟูโกต มีเงื่อนไขของโครงสรางทางสังคม ซอนอยูภายใตความเปนจริงที่ปรากฏ ซ่ึงเงื่อนไขของโครงสรางทางสังคมนั้น เปนไปในรูปแบบที่ไมตอเนื่อง และเลื่อนไหลไปตามบริบททางสังคมที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย และไดสถาปนาตัวเองเปนกรอบในการรับรูและเขาใจโลกของมนุษย

จากความสนใจเรื่องของมนุษยที่โยงเขากับกรอบความคิด ทําใหฟูโกตไดขยายความคิดเร่ืองกรอบความรูและวาทกรรมออกเปนหนังสือช่ือ “The Archeology of Knowledge (and The Discourse on Language)” (1969) โดยเนนย้ําวากรอบความรูในยุคหนึ่งๆนั้น เปนเสมือนขอบฟาทางความคิดที่ครอบผูคนในยุคนั้นๆไว โดยทําหนาที่กํากับวาสิ่งใดบางที่พูดออกมาแลวจะเปนที่ยอมรับหรือไมในสังคม บางครั้งขอความที่คนกลุมตางๆผลิตขึ้นมา อาจมีเนื้อหาที่แยงกัน แตเมื่อนํามาวิเคราะหในแงวาทกรรมจะเห็นวาแทจริงแลวอิงอยูที่ฐานความคิดแบบเดียวกัน (Foucault, Michel, 1969/1972, p. 11)

อยางไรก็ตาม ฟูโกตเปนอาจารยในมหาวิทยาลัยแคลรมงด-แฟรร็องดอยูหลายป กอนที่จะยายไปสอนที่มหาวิทยาลัยตูนีเซียอยูระยะหนึ่ง จึงกลับมากอตั้งภาควิชาปรัชญาที่มหาวิทยาลัย แว็งแซ็นส (Vincennes) ที่กรุงปารีส ตอมาในป ค.ศ. 1970 เขาไดรับคัดเลือกใหดํารงตําแหนงศาสตราจารยประจํามหาวิทยาลัยแหงฝร่ังเศส โดยสอนวิชาที่เขากอตั้งดวยตนเอง คือ ประวัติศาสตรระบบความคิด ซ่ึง ณ ที่นี่เอง ฟูโกตเร่ิมมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น โดยการชักชวนปญญาชนจํานวนหนึ่งตอสูเพื่อสิทธิของคนชายขอบ ไมวาจะเปนคนยากจน คนจิตวิปลาส โสเภณี พวก รักรวมเพศ และสตรี เปนตน

ในป ค.ศ. 1975 ฟูโกตตีพิมพงานเขียนเรื่อง “Discipline and Punishment: The Birth of the Prison” ซ่ึงมีเนื้อหาในการวิเคราะหที่ครอบคลุมสถาบันสังคมไมวาจะเปนคุก โรงเรียน โรงงาน โรงพยาบาล หรือแมกระทั่งกองทัพ ที่เปรียบเสมือนเปนคุกแหงหนึ่ง คําอธิบายของเขาเชื่อมโยง วาทกรรมเขากับการวิเคราะหปฏิบัติการทางสังคมในพื้นที่ตางๆ เพื่อตรวจดูความสัมพันธระหวางความรูกับอํานาจ ซ่ึงเขาไดเสนอมุมมองใหมวาอํานาจไมใชเปนรูปแบบในการกดขี่หรือมอมเมา แตเปนอํานาจในการควบคุมผานกระบวนการสรางบรรทัดฐาน (norm) อันถือเปนระเบียบวินัยที่มีอํานาจกํากับผูคนใหมีบรรทัดฐานเดียวกัน

ปถัดมา (1976) ฟูโกตไดแตงหนังสือช่ือ “The History of Sexuality, Volume 1: An Introduction” เพื่อช้ีใหเห็นความสัมพันธของความรูกับอํานาจ ที่ไดยกระดับตัวเองจากการกํากับ

Page 11: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

78  

มนุษยในพื้นที่สาธารณะมาสูพื้นที่สวนตัว (ฟูโกต, 1975/2547, น. 16) หนังสือเลมนี้ ฟูโกตไดเสนอแนวคิดเรื่องเพศวิถีของสังคมตะวันตกยุคศตวรรษที่ 19 ที่แตกตางจากทัศนะของนักวิชาการใน ยุคเดียวกัน ในขณะที่นักวิชาการยุคนั้นสวนใหญมีมุมมองวา เพศวิถีเปนสิ่งที่ถูกเก็บกดไวตามคานิยมแบบวิคตอเรียน จนกลายเปนสิ่งที่ซอนเรนและไมมีใครกลาพูดถึง ฟูโกตกลับมองใน มุมกลับกันวา ตลอดระยะเวลาดังกลาวสังคมตะวันตกไดกระตุนใหเกิดวาทกรรมเกี่ยวกับเรื่องเพศอยางมากมาย ทั้งในวงการแพทย จิตวิทยา จริยศาสตร และดานการศึกษา สําหรับเรื่องเพศวิถีเลมตอๆมา คือ “The Use of Pleasure: The History of Sexuality Volume 2” (1984) และ “The Care of the Self: The History of Sexuality Volume 3” (1984) ฟูโกตเร่ิมมีมุมมองใหมที่เปลี่ยนไป คือ จากที่ศึกษาเรื่องอํานาจที่ปฏิบัติตอคนกลุมตางๆในแงมุมเรื่องเพศ เขาหันเหความสนใจมาสูเร่ืองอัตบุคคล ซ่ึงกอนหนานี้เขาชี้ใหเห็นตลอดวา อัตบุคคลเปนเพียงภาพลวงตา และผูกระทําที่แทจริงเปนผูถูกกระทํา แตระยะหลังเขาอธิบายถึงวิธีการที่ปจเจกบุคคลสรางตัวตนของตัวเอง โดยพิจารณาจากเร่ืองราวในยุคกรีกและโรมันโบราณ (Foucault, Michel, 1976/1978, p. 3)

อาจกลาวไดวาในชวงป ค.ศ. 1970 ถึงป ค.ศ. 1980 แนวความคิดของฟูโกตโดดเดนมาก ทั้งในวงการนักวิชาการหนุมสาวและผูคนทั่วไปที่สนใจแนวคิดแบบรื้อโครงสรางของเขา ซ่ึงฟูโกตไดรับเชิญไปบรรยายหลายครั้ง กระทั่งเขาไดเสียชีวิตลงในป ค.ศ. 1984

อยางไรก็ตาม งานวิจัยนี้มีความประสงคจะมุงประเด็นไปที่เร่ืองวาทกรรม การวิเคราะหวาทกรรม และปฏิบัติการทางสังคมโดยอาศัยทฤษฎีของมิเชล ฟูโกต ดังนั้นหนังสือที่ผูวิจัยจะมุงเนนเพื่อเปนฐานในงานวิจัย ประกอบไปดวยงานเขียน 3 เร่ือง จากทั้งหมด 6 เร่ือง ดังนี้

1. The Order of Things: An Archeology of the Human Sciences (1970) 2. The Archeology of Knowledge (and The Discourse on Language) (1972) 3. (3.1) The History of Sexuality, Volume 1: An Introduction (1978)

(3.2) The Use of Pleasure: The History of Sexuality Volume 2 (1985) (3.3) The Care of the Self: The History of Sexuality Volume 3 (1986)

3.3 ฟูโกตกับการมองวิวัฒนาการความรูของมนุษย

จากความสนใจเรื่องกรอบความรู ความเชื่อ วิธีการพูด และวิธีการเขาใจสิ่งตางๆของมนุษย ซ่ึงสัมพันธกับภาษา แนวคิด และวัฒนธรรมซึ่งมีบริบทที่เล่ือนไหล สงผลใหมิเชล ฟูโกตพยายามชี้ใหเห็นวาตั้งแตศตวรรษที่ 16 ของประเทศฝงตะวันตก ซ่ึงอยูในชวงการฟนฟู ศิลปวิทยาการ กรอบความรูของมนุษยจํากัดวงอยูที่ความคลายคลึงกันระหวางสิ่งตางๆ ความรูของ

Page 12: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

79  

มนุษยยุคนั้นเกิดจากการจัดแบงสรรพสิ่งที่มีความเหมือนหรือคลายคลึงกัน ดังที่ฟูโกตไดบรรยายเปรียบเทียบความคลายคลึงของสรรพสิ่งวา โลกมีความคลายคลึงกับทองฟา และใบหนามนุษยก็มีดวงตาเปนดวงอาทิตยและดวงจันทร เปนตน (Foucault, Michel, 1966/1970, p. 17) ความคลายคลึงไดนําทางความรูแกมนุษยใหรูจักการอธิบาย ตีความเรื่องราวตางๆ จากการมองเห็นความคลายคลึงของสรรพสิ่งนี้เอง ไดกอใหเกิดความรูในหมูมวลมนุษย เนื่องจากความคลายคลึงทําใหมนุษยมีหนทางในการอธิบายความสัมพันธระหวางสัญลักษณตางๆกับความหมายของมัน และสามารถบอกไดวามันบงชี้ถึงอะไร ซ่ึงเหลานี้มนุษยสามารถพิสูจนความรูที่ไดโดยการเปรียบเทียบ (Foucault, Michel, 1966/1970, pp. 32, 55)

เมื่อเขาสูศตวรรษที่ 17 และ 18 วิวัฒนาการทางวิทยาศาสตรไดเจริญขึ้น กอใหเกิดการ ตัดขาดจากโลกที่มนุษยสามารถรูและเขาใจไดดวยการสังเกตความคลายคลึงของสรรพสิ่ง กรอบความรูของมนุษยเปลี่ยนมาเนนการแยกความแตกตางของสรรพสิ่ง โดยอาศัยการชั่ง การตวง การวัด และการแบงหมวดหมู จัดแยกประเภทของสิ่งตางๆออกจากกัน กระทั่งเขาสูศตวรรษที่ 19 กรอบความรู ความเขาใจของมนุษยเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากการกาวสูความเปนสมัยใหม ที่เนนการใหความสําคัญกับสาเหตุการเกิดของสรรพสิ่ง (a cause) ซ่ึงเหลานี้เปนบอเกิดของสิ่งที่ฟูโกตเรียกวา “order of things” หรือระเบียบของสรรพสิ่ง (Foucault, Michel, 1966/1970, p. 53) นั่นเอง

ความรูของมนุษยที่พัฒนาไปตามขั้นตอนที่ฟูโกตเรียกวา ระบบระเบียบของสรรพสิ่ง (Order of Things) เปนความสัมพันธระหวางกรอบความรูในแตละชวงเวลาและการตีความ เหลานี้เกี่ยวโยงกับสิ่งที่ฟูโกตเรียกวา “episteme” หรือกระบวนทัศน คําวา “episteme” ถูกอธิบายไวในงานของฟูโกตวาคือ บริบททางประวัติศาสตรซ่ึงถือวาเปนกรอบความรูของมนุษย ซ่ึงทําหนาที่กําหนดมุมมองตอโลกของมนุษย รวมถึงเปนสิ่งที่กอใหเกิดวาทกรรมดวย ทั้งนี้ “episteme” ถูกวางโครงสรางขึ้นจากสถาบันทางสังคมตางๆ “episteme” ในทัศนะของฟูโกตเปนกฎระเบียบทางสังคม กฎทางความรูและกิจกรรมตางๆของมนุษย ที่เปนตัวกําหนดมุมมองตอโลกของเรา ซ่ึงมัน ไมไดเกิดจากขอกําหนดทางธรรมชาติ แตเกิดจากการกําหนดและการตกลงรวมกันโดยสังคมที่มนุษยอาศัยอยูนั่นเอง ดังที่ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร (2542, น. 4) กลาวเพิ่มเติมวา “episteme” ของฟูโกตก็คือ กระบวนการในการสราง ผลิต (constitute) เอกลักษณ (identity) และความหมาย (significance) ใหกับสรรพส่ิงตางๆในสังคมที่หอหุมเราอยู ไมวาจะเปนความรู ความจริง อํานาจ หรือตัวตนของเราเอง นอกจากนี้ ยังเปนสิ่งที่ตรึงสิ่งที่สรางขึ้นใหดํารงอยูและเปนที่ยอมรับในสังคมวงกวาง (valorize) กระทั่งกลายเปนสภาพที่เรียกวา “วาทกรรมหลัก” นั่นเอง

ดังนั้นจะสังเกตไดวา วิวัฒนาการความรูของมนุษยอาศัยกรอบความคิดที่อิงอยูกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรม ซ่ึงฟูโกตพยายามแสดงใหเห็นวามนุษยถูกกระทําเปนเพียงวัตถุแหง

Page 13: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

80  

การศึกษา (object of knowledge) ประเภทหนึ่ง ที่มีปฏิสัมพันธกับสรรพสิ่งเทานั้น มนุษยไมไดเปนเหตุแหงการเกิดความรูบนโลก แตมนุษยเปนเพียงประดิษฐกรรมของภาษาและสังคมเชนเดียวกับสรรพสิ่งอื่นๆ และมนุษยก็ทําหนาที่เพียงคอยสอดสองการสรางใหเกิดสิ่งที่เรียกวาความรูตางหาก ฟูโกตแสดงใหเห็นวาแทจริงแลวการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ สังคม และวัฒนธรรมตางหากที่มีผลตอความรู และระบบระเบียบของสรรพสิ่ง ดังนั้นมนุษยเปนเพียงผูถูกกระทํา เปนสิ่งมีชีวิตที่ถูกประดิษฐขึ้นมาไมนาน และเมื่อใดที่มนุษยไมอยูในฐานะวัตถุทางการศึกษา เนื่องจากกรอบความเขาใจโลกในการไดมาซึ่งความรูเปลี่ยนแปลงไป มนุษยก็อาจจะจบสิ้นลงในไมชาเชนกัน (Foucault, Michel, 1966/1970, p. 387) 3.4 ภาษากับมนุษย

มนุษยสวนใหญเขาใจวาภาษาเปนเครื่องมือส่ือสารที่เปนกลาง เปนตัวแทนโลกแหงวตัถุ โลกแหงความจริง โดยปราศจากการตั้งขอสงสัยวา ภาษามีปฏิบัติการในการสรางระบบความหมาย และไดรับการยอมรับวาเปนความจริงไดอยางไร โดยทั่วไปเรามักเขาใจภาษาวาเปนเรื่องของการเปนตัวแทน (Representation) ที่ทําหนาที่ถายทอดความคิด แตไมไดเรียนรูกระบวนการทํางานของภาษา ซ่ึงเหลานี้เปนเรื่องที่บรรดานักโครงสรางนิยมรวมถึงฟูโกตใหความสนใจเปนอยางมาก

การวิเคราะหกระบวนการทํางานของภาษา ไมไดมุงเนนที่จะคนหาความหมายที่ภาษานั้นสื่อออกมา แตกลับเปนการคนหากระบวนการสรางความหมายของภาษา ซ่ึงในทัศนะของฟูโกตภาษาที่ถือกันโดยทั่วไปวาเปนภาพตัวแทนของความจริงที่ตายตัวนั้น เขากลับมีมุมมองใหมทีท่าทายกระบวนทัศนแบบเดิมวา ถึงแมภาษาจะเปนตัวแทนของความคิดมนุษย แตก็ไมอาจละเลยวาความคิดนั้นก็เปนตัวแทนของตัวมันเองที่มีอํานาจเชนกัน (Foucault, Michel, 1966/1970, p. 78) และจุดนี้เองที่เกิดกระบวนการเริ่มตนทางวาทกรรมขึ้น

ดวยเหตุนี้ส่ิงสําคัญที่ฟูโกตพยายามแสดงใหเห็นคือ การเปดเผยถอยความ (statements) หนึ่งที่ เปนตัวสรางความสัมพันธกับถอยความอื่นๆซึ่งแบงปนพื้นที่และสรางรูปแบบของความหมายตางๆขึ้นมา ถอยความดังกลาวซอนตัวอยูภายใตคําพูดและสัญลักษณ ซ่ึงเกี่ยวโยงกับอํานาจ ความรู และความจริง ดวยเหตุที่วาทกรรมไมสามารถที่จะดํารงอยูไดอยางอิสระโดยปราศจากการค้ําจุนของอํานาจ และในทางกลับกันอํานาจก็ไมสามารถสถาปนาตัวเองขึ้นมาได หากขาดซึ่งวาทกรรมในการสรางชุดความรูเพื่อการสยบยอมและปฏิบัติตามอํานาจ ดังนั้นสิ่งที่ ฟูโกตพยายามชี้ใหเห็นก็คือ ความรู (วาทกรรม) ที่ซอนตัวอยูภายใตความเปนเอกภาพ ความผสม

Page 14: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

81  

กลมกลืน ความตอเนื่องของปรากฏการณในสังคม เกี่ยวโยงกับการค้ําจุนของเครือขายสถาบัน (อํานาจ) ที่เปนที่มาของวาทกรรมเชิงอํานาจกับปฏิบัติการทางสังคมนั่นเอง

3.5 ภาพวาด “Las Meninas”

ภาพวาด “Las Meninas” หรือมีช่ือภาษาอังกฤษวา “Maids of Honor” วาดโดยศิลปนชาวสเปนที่โดงดังในยุคทองของสเปนคือ Diego Rodríguez de Silvay Velázquez1 (ค.ศ. 1599 – ค.ศ. 1660) เปนภาพวาดที่มิเชล ฟูโกต นํามาวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางสิ่งที่ปรากฏและสิ่งที่ลวงตา (reality and illusion) ในขณะที่ภาพวาดปรากฏใหเห็นศิลปนคนหนึ่ง ซ่ึงก็คือตัว Diego Velázquez เอง ที่ดูเหมือนจะจับจองมองภาพวาดของเขาอยางพินิจพิจารณาความสมบูรณของภาพวาด ซ่ึงอยูในภาพ “Las Meninas” อีกทีหนึ่ง ภาพวาดของเขาหันหลังใหกับเรา ซ่ึงถือวาเปนผูสังเกตการณ ดังนั้นสิ่งที่เราเห็นเปนเพียงภาพ “Las Meninas” ที่มีภาพอีกภาพซอนทับอยู

ทั้งนี้หากสังเกตสายตาของ Diego ในภาพ “Las Meninas” อยางใครครวญ ดูราวกับวาเขาจับจองมองมาที่เราในฐานะผูมองดูภาพมากกวาที่จะมองภาพของเขาเอง กระทั่งดูคลายกับวาภาพวาดนี้จะหลุดออกมาจากกรอบรูป เพราะเรากับศิลปนในภาพเผชิญหนากันอยางเสมือนจริง (Foucault, Michel, 1966/1970, p. 8)

ตัวแสดงทุกตัวในภาพตางก็มองออกมาจากภาพวาด คลายกับมองมาที่เราเชนเดียวกัน แตหากสังเกตลึกลงไปในภาพวาด จะสามารถเห็นบุรุษผูหนึ่ง ซ่ึงเปนเงาสะทอนในกระจก เขาตองอยูในตําแหนงที่เผชิญหนากับตัวแสดงทุกตัวในภาพ ดังนั้นก็อาจเปนไปไดวาตัวแสดงในภาพกําลังมองไปที่บุรุษ ซ่ึงเราเห็นเปนเงาสะทอนในกระจก แตก็อาจจะเปนไปไดวาเขาก็มองมาที่เราเชนเดียวกัน อีกทั้งกิริยาของเขาผูนั้นก็ไมสามารถบอกไดอยางชัดเจนวา กําลังจะเดินไปหรือวากําลังจะเดินมา

ภาพ “Las Meninas” นี้มีความสลับซับซอนมาก เนื่องจากภาพที่เสนอดูราวกับวามีชีวิตและนําเสนอตัวเองใหเราเห็นเชนกัน เหลานี้ฟูโกตนํามาวิเคราะหวาเปนเรื่องของการตีความสิ่งที่ปรากฏและสิ่งที่ซอนอยูที่มีพื้นที่ซอนทับและเหลื่อมลํ้ากันอยู ภาพวาด “Las Meninas” เปรียบเหมือนรูปแบบหนึ่งในการสื่อสาร ซ่ึงหากกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือภาษานั่นเอง ภาษาที่เปนสื่อในการถายทอดเรื่องราว แตตัวมันเองก็มีอิทธิพล มีอํานาจในการกําหนดกระบวนทัศนในการ มองโลก เขาใจโลกของเราเชนกัน ดังนั้นภาพวาดนี้ ฟูโกตพยายามชี้ใหเห็นวาภาษาเองก็สราง

                                                            1 Diego Velázquez วาดภาพนี้ในขณะที่เขามีโอกาสเขาไปอยูในพระราชวังของกษัตริยฟลิปสที่ 4 แหงประเทศสเปน ตัวละคร

ทุกคนในภาพวาดเปนราชวงศของสเปนในยุคนั้น (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี)

Page 15: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

82  

ความหมายใหแกตัวมันเอง และควบคุมการมีอยูหรือการสลายไปของสรรพสิ่งอีกดวย (Foucault, Michel, 1966/1970, p. 16) 3.6 รูปแบบและกระบวนการทางวาทกรรม

จากทัศนะของมิเชล ฟูโกตเร่ิมแรกที่ตอตานสังคมซึ่งกีดกัน “คนชายขอบ” (margin) ไมวาจะเปนคนจิตวิปลาส นักโทษ โสเภณี และบรรดานักรักรวมเพศใหแยกออกตางหากจากคนที่สังคมใหคาวาเปนปกติ ทําใหฟูโกตมีทัศนะที่ตางออกไปจากนักปรัชญาตั้งแตสมัยเดสการต (Rene Descartes, 1596 - 1650) กระทั่งถึงคานท (Immanuel Kant, 1724 - 1804) ที่เสนอเรื่องความสําคัญของมนุษยในฐานะเปนองคประธานวา มนุษยนั้นมีอํานาจในการใชภาษาเปนเครื่องมือในการเรียกแทนชื่อคน สัตว ส่ิงของ แมกระทั่งสงผานความคิดของมนุษยเอง เพื่อเปนตัวแทนความจริงที่ ตายตวัอยางตรงไปตรงมาที่สุด อีกทั้งเปนเครื่องมือที่สรางใหเกิดความรูแกมวลมนุษย (ถึงแมวาคานทจะกลาวถึงขอจํากัดของมนุษยในการไดมาซึ่งความรู ความจริงก็ตาม) ฟูโกตกลับมองวาภาษานี่เอง คือกระบวนการสรางสัญญะ ภาษาเปนอํานาจอยางหนึ่งที่สรางชุดถอยความและผลิตซ้ําความหมายและคุณคาใหแกมนุษยและสังคม อีกทั้งตอกย้ําและปกปดความเชื่อของสังคมบางอยาง กระทั่งชุด ถอยความนั้นกลืนกลายเปนอุดมคติทางสังคม ดังนั้นภาษาไมไดมีความหมายในตัวเองแตอยางใด แตที่เราคิดวามันมีความหมายเพราะสังคมยอมรับและเขาใจมัน แทจริงภาษาไมไดเปนสื่อในการส่ือสาร แตกลับเปนอํานาจชนิดหนึ่งที่แฝงรูปเขามาเปนกระบวนการทางวาทกรรม (discursive formations) ที่สรางเอกลักษณตอบางสิ่งและสรางความเปนอื่นใหกับบางสิ่งตางหาก (Foucault, Michel, 1966/1970, p. 43)

หากมองยอนมาที่คําใชเรียกแทน “คนชายขอบ” ในสังคม อาจกลาวไดวาพวกเขาตกเปนเหยื่อของกลไกอํานาจวาทกรรมที่เรียกขานพวกเขาวาเปนคนผิดปกติ โดยอิงอยูกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่เปนวิทยาศาสตร เนื่องจากภาษาที่ใชเรียกแทนพวกเขานั้นไมไดส่ือความจริง แตกลับเปนปฏิบัติการในการสรางความจริงและสรางความชอบธรรมใหกับตัวมันเอง หากกลาวในมุมมองของนักคิดสํานักโครงสรางนิยมอยาง เลวี-สโทรส (Claude Lévi-Strauss, 1908) ผูนําการศึกษามานุษยวิทยาแนวโครงสรางที่มองสวนทางกับวิธีคิดกระแสหลัก ซ่ึงแทนที่จะมองวามนษุยเปนผูที่มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค สามารถคิด กระทํา และตัดสินใจอยางมีเหตุมีผลโดยอาศัยภาษาเปนเครื่องนําทางสงผานความคิด เขากลับมองวามนุษยเปนเพียง “รางทรง” ของภาษาหรือโครงสรางเฉพาะชุดหนึ่งเทานั้น ดังที่เขากลาววา “เขาไมไดเขียนหนังสือ แตหนังสือตางหากที่เขียนเขา” เหลานี้ดูเหมือนวานักคิดแนวโครงสรางนิยม รวมทั้งฟูโกตเองพยายามชี้ใหเห็นวา การที่สังคม

Page 16: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

83  

มองวามนุษยเปน “ผูกระทํา” นั้น หากมองลึกลงไปถึงปฏิบัติการทางภาษา มนุษยกลับกลายเปนผูถูกกระทําตางหาก

3.6.1 นิยาม “วาทกรรม” มิเชล ฟูโกตไดใหนิยามวาทกรรมวาคือ ขอความที่ถูกพูดหรือเขียนขึ้นเกี่ยวกับ

เร่ืองใดเรื่องหนึ่ง (เชน เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ความเปนไทย ความเปนตะวันตก ผูหญิง เปนตน) ในสังคมยุคใดยุคหนึ่ง โดยพิจารณาในแงเนื้อหาของขอความดังกลาว ซ่ึงถูกกํากับดวยกรอบความรูความเขาใจ (episteme) ของสังคมยุคนั้นๆ อีกทั้งการไหลเวียนเผยแพรของขอความ ที่สงผลใหเกิดปฏิบัติการทางสังคม (social practices) บางอยางที่สอดคลองกัน วาทกรรมคือโครงขายอันเกิดจากการสื่อความระหวางกัน โดยไมคํานึงวาการแสดงออกและการสื่อความระหวางกันนั้นจะมี ระบบคิดหรืออุดมการณที่ชัดเจนเปนรากฐานอยูเบื้องหลังหรือไม อีกทั้งโครงขายดังกลาวก็ ไมจําเปนตองมีความสอดคลองตองกันอยางเปนระบบ มีตรรกะที่เปนระเบียบ หรือมีระบบ ความเชื่อหรืออุดมการณที่เปนชุดเดียวกันเปนรากเหงา ไมจําเปนตองเปนโครงขายที่มีแหลงกําเนิดจากนักคิดคนใดคนหนึ่งหรือสกุลความคิดใดสกุลความคิดหนึ่งโดยเฉพาะ แตโครงขายดังกลาวอาจเปนผลมาจากการแสดงออกและการสื่อความของคนจํานวนมากจนไมอาจที่จะสืบคนใหรูถึงแหลงที่มาที่แนชัดได จนอาจกลาวไดวา “ไมมีใครสามารถอางความเปนเจาของหรือเปนผูใหกําเนิดวาทกรรมนั้นได” (Foucault, Michel, 1969/1972, pp. 116-117)2

อาจกลาวอีกนัยหนึ่งวา วาทกรรมตามแนวคิดของฟูโกตนั้น ไมไดเปนเพียงขอเสนอ (propositions) คําพูด (utterances) หรือการพูด (speech acts) ที่มีความหมายในตัวเอง แตเปนกลุมของถอยความ (statements) ที่สรางเครือขายของกฎที่จะเรียกสิ่งใดๆวา “มีความหมาย” (meaningful) ซ่ึงกฎเหลานี้เปนเงื่อนไขแรกของการมีขอเสนอ คําพูด หรือการพูดตางหาก

3.6.2 ปฏิบัติการทางวาทกรรม ฟูโกตเนนย้ําใหเห็นวาวาทกรรมชุดหนึ่งที่ถูกสรางขึ้นนั้น ไมสามารถดํารงอยูได

อยางอิสระ แตวาทกรรมเกิดขึ้นภายใตกฎเกณฑทางสังคมและวัฒนธรรม ในขณะเดียวกัน วาทกรรมก็มีอํานาจโดยตัวมันเอง เปนตัวกําหนดการดํารงอยู การเปลี่ยนแปลง หรือการ เลือนหายไปของสรรพสิ่ง อาจกลาวไดวา วาทกรรมถูกสรางขึ้นมาจากเงื่อนไขของบริบทสังคมที่

                                                            2  “...discourse [is] a group of statements in so far as they belong to the same discursive formation; it does not form a

rhetorical or formal unity, endlessly repeatable, whose appearance or use in history might be indicated (and, if necessary, explained); it is made up of a limited number of statements for which a group of conditions of existence can be defined.”

Page 17: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

84  

กําหนดความแตกตางระหวางสิ่งที่สามารถพูดไดอยางถูกตองในชวงเวลาหนึ่ง (ภายใตกฎเกณฑและตรรกะชุดหนึ่ง) กับสิ่งที่ถูกพูดอยางแทจริง สนามของวาทกรรมในขณะใดขณะหนึ่งก็คือกฎเกณฑวาดวยความแตกตางนี้ ซ่ึงก็คือปฏิบัติการทางสังคมนั่นเอง ฉะนั้นวาทกรรมจึงสราง สรรพสิ่งตางๆขึ้นมา ภายใตกฎเกณฑที่ชัดเจนชุดหนึ่ง กฎเกณฑนี้จะเปนตัวกําหนดการดํารงอยู การเปลี่ยนแปลง หรือ การสลายไปของสรรพสิ่ง นั่นคือควบคูไปกับสรรพสิ่งตางๆที่สังคมสรางขึ้น อีกทั้งยังประกอบสรางชุดถอยความหนึ่งๆ เพื่อตอกย้ํา เชิดชู หรือเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ถูกพูดถึงโดย วาทกรรมเชิงอํานาจที่ค้ําชูดวยเครือขายทางสังคม (Foucault, 1991, p. 63) อาจกลาวอีกนัยหนึ่งไดวา นี่เปนปฏิบัติการเชิงอํานาจของวาทกรรมกับปฏิบัติการทางสังคมที่ค้ําจุนและสนับสนุนกันและกัน เพื่อสรางอัตลักษณของถอยความชุดหนึ่งขึ้นในสังคมนั่นเอง

ฟูโกตยังพยายามชี้ใหเขาใจวาทกรรมในฐานะที่เปนปฏิบัติการความรุนแรงที่กระทําตอสรรพสิ่ง แตไมไดหมายความวาเปนความรุนแรงที่ใชกําลังเขาบังคับ แตเปนความรุนแรงที่ วาทกรรมนั้นมีปฏิบัติการในการหยิบยื่นและยัดเยียดชุดถอยความบางอยางใหกับโลก ดังนั้นฟูโกตจึงตองการใหเราเขาใจวาทกรรมในฐานะที่เปนความรุนแรงที่กระทําตอสรรพส่ิง และเขาใจ วาทกรรมในฐานะที่เปนการกระทํา และภาคปฏิบัติการที่เราบังคับ ยัดเยียดใหกับโลกแหงความ เปนจริง และในภาคปฏิบัติการนี้เองที่วาทกรรมไดสรางเหตุการณและกฎเกณฑตางๆขึ้นมาบังคับใชกับสรรพสิ่ง (Foucault, 1981, p. 67)

ตามทัศนะของฟูโกต ความพยายามในการวิเคราะหทางวาทกรรมนั้น เปดเผยวามนุษยเปนเพียงรางทรงที่ตอกย้ําและผลิตซ้ํากฎเกณฑของสิ่งที่พูด มากกวาจะสรางระบบหรือกฎเกณฑใหมขึ้นมา ดังตัวอยางในประเด็น “โสเภณี” ที่มีองคกรสตรีแหงหนึ่งประกาศวา “ที่นี่ไมตอนรับโสเภณี” ขณะที่องคกรสตรีอีกแหงหนึ่งกลาววา “ที่นี่ เราตอนรับทุกคน แมแตโสเภณี” เราอาจมองวา องคกรหลังมีแนวคิดแบบเสรีนิยมมากกวาองคกรแรก ถึงแมวาคําพูดทั้งสองจะแตกตางกัน แตก็เปนเพียงในระดับผิวเผินเทานั้น เนื่องจากมีลักษณะตอกย้ําวาทกรรมเกี่ยวกับโสเภณีเหมือนกัน (ฟูโกต, 1975/2547, น. 11-12) ที่กลาววามนุษยเปนเพียงรางทรงก็เนื่องจากการพูดของเราอยูภายใตกรอบของวาทกรรมวาดวยเรื่องนั้นๆเทานั้น วาทกรรมจึงเปนตัวกําหนดกฎเกณฑวาใครจะเปนผูพูด พูดอะไร พูดเมื่อไร และพูดอยางไร วาทกรรมมิใชทางผานหรือที่แสดงออก (ปกปด) ของความปรารถนา แตวาทกรรมโดยตัวมันเองคือตัวปรารถนา เนื่องจากถาหากดูจากประวัติศาสตรที่ผานมาวาทกรรมมิใชเปนเพียงผลลัพธอันเกิดจากการตอสู เพื่อเปลี่ยนแปลงระบบของการครอบงํา แต วาทกรรมในตัวของมันเองคือการตอสูและการครอบงํา วาทกรรมคือปฏิบัติเชิงอํานาจที่ตองเขาไปจัดการ (Foucault, Michel, 1969/1972, pp. 48, 76)

Page 18: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

85  

3.6.3 อํานาจวาทกรรม อํานาจของวาทกรรมเปนอํานาจที่เรามักมองไมเห็น เพราะมันเขามามีบทบาทตอ

มุมมองของเราตอสรรพสิ่งในรูปแบบใหมของการจัดระเบียบวินัยส่ิงตางๆรอบตัวเรา ทําให ทุกอยางกลายเปนเรื่องปกติธรรมดา จนกอใหเกิดความรูซ่ึงพัฒนาตัวเองกลายเปนความจริง โดยกระบวนการปดบัง อําพราง เก็บกด แทนที่ สวมรอย เปนตน ทั้งนี้ฟูโกตไมไดมุงคนหาวา “ใครมีอํานาจ?” แตมุงหาคําตอบวา “อํานาจใชและถูกใชอยางไร?” ดวยเหตุนี้อํานาจวาทกรรมในความเห็นของฟูโกตเกิดจากความสัมพันธของวาทกรรมที่บังคับใชกับมนุษย ซ่ึงไมใชการใชกําลังเขาบังคับ แตเปนวิธีที่วาทกรรมเขาไปจัดการกับระบบระเบียบตางๆ และสรางองคความรูของตัวเองขึ้นมาโดยผานการใหความหมายจากสถาบันตางๆในสังคม ที่กุมอํานาจในการนิยามสรรพสิ่งเพื่อจะไดเรียกสิ่งนั้นๆวา “มีความหมาย” (meaningful) อีกทั้งวาทกรรมยังปฏิบัติการในรูปแบบที่แยบคายในการปรับเปลี่ยน ยึดโยง หรือยอนกลับรูปแบบของความรู กระทั่งกอใหเกิดหวงโซหรือระบบของตัวมันเอง และกลายเปนระบบที่มีการตอสูเพื่อชวงชิงการนําในการกําหนดกฎเกณฑวาดวยเรื่องตางๆตอมา (Foucault, Michel, 1976/1978, pp. 92-93)

ในทัศนะของฟูโกต อํานาจที่มาในรูปของความรูนั้น ถูกเก็บกด ปดกั้นไวภายใตส่ิงที่เปนเอกภาพ มีความผสมผสานกลมกลืน และมีความตอเนื่อง ซ่ึงเต็มไปดวยการชวงชิงการให คํานิยามตอสรรพส่ิง และการเก็บกดปดกั้นวาทกรรมชุดอื่นๆ ดังนั้นอํานาจเปนเรื่องของการไหลเวียนแบบลูกโซที่ไมสามารถมีใครฉกฉวยมาครอบครองไวเพียงผูเดียว แตอํานาจเปนเรื่องของการใช โดยมีมนุษยเปนกลไกของอํานาจในการเปนตัวกลางปะติดปะตอเร่ืองราวตางๆใหเปนเอกภาพ อาจกลาวไดวา อํานาจถูกใชผานมนุษย และมนุษยเปนเพียงผลผลิตและผลลัพธของอํานาจไมใชเปาหมายของอํานาจ

ฟูโกตช้ีใหเห็นถึงอํานาจของวาทกรรมซึ่งไมเพียงแตมีบทบาทในการหยิบยื่นและ ยัดเยียดความหมายใหกับสิ่งตางๆในสังคม ที่ถือวาอยูในระดับพื้นที่สาธารณะเทานั้น แตยังรวมถึงพื้นที่สวนตัวของเราเอง นั่นคือรางกายของเรา เขาไดอธิบายถึงอํานาจวาทกรรมวามีความเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนไหวตลอดเวลา ขึ้นอยูกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรม เขากลาววาในสมัยที่ตะวันตกยังมีระบบศักดินาคือมีระบบกษัตริยอยูนั้น อํานาจทั้งหมดอยูที่ชนชั้นเจานายและกษัตริยในการนิยามความหมายสิ่งตางๆ ตอมาภายหลังจากการเกิดยุคฟนฟูศิลปวิทยาการ อํานาจวาทกรรมเลื่อนจากมือของกษัตริยและขุนนาง หรือผูนําทางศาสนาที่ยึดคําสอนของพระเจามาสูการนิยามสรีระของมนุษย หรือที่ฟูโกตเรียกวา “biopower” สาเหตุเนื่องมาจากพัฒนาการทางความรูเร่ืองศาสตรที่เกี่ยวกับรางกายมนุษย สงผลใหเกิดความพยายามในการสํารวจสรีระและพฤติกรรม

Page 19: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

86  

มนุษย โดยทําใหมนุษยกลายเปนวัตถุแหงการศึกษานั่นเอง (Foucault, Michel, 1976/1978, pp. 17-35)

ฟูโกตไดอธิบายอํานาจของวาทกรรมไวอยางละเอียดในประเด็น “biopower” วา วาทกรรมสามารถสรางความหมาย สรางความพรามัวใหกับสรรพสิ่ง แมกระทั่งสรางความหมายและบิดเบือนตัวตนของเราเอง ดังที่เขากลาวถึงนักรักรวมเพศวา เปนความสัมพันธที่เชื่อมโยงกลุมบุคคลเขากับการใชอํานาจของวาทกรรมรูปแบบหนึ่งที่ตอกย้ําความแตกตาง โดยใชภาษาที่ตางเพื่อกอใหเกิดปฏิกิริยาที่เราปฏิบัติตอนักรักรวมเพศใหแตกตางจากการปฏิบัติกับผูชายหรือผูหญิงปกติ โดยการใชภาษาสรางภาพของเหลานักรักรวมเพศวา พวกเขาไมสามารถควบคุมการกระทําทางเพศของตนเองใหเปนไปตามธรรมชาติได ดังนั้นถือวาพวกเขาเปนคนผิดปกติ และไมสมควรไดรับสิทธิในการศึกษา อีกทั้งไมควรมีโอกาสเขารับราชการทหาร เปนตน เหลานี้ฟูโกตเรียกกระบวนการใชอํานาจของวาทกรรมวา “biopower” ที่เราสรางขึ้นมาเพื่อวิเคราะห ควบคุม และนิยามความหมายแกรางกายของมนุษยและพฤติกรรมของมนุษยนั่นเอง

ดังนั้นจะเห็นไดชัดเจนวาอํานาจของวาทกรรมนั้นเปนสิ่งเลื่อนไหล ที่ถูกกําหนดโดยกษัตริย ขุนนาง และผูนําทางศาสนาในตอนแรก จากนั้นจึงถูกแทนที่ สวมรอยโดยผูใชอํานาจ วาทกรรมที่เปนกลุมบุคคลซึ่งไมสามารถระบุไดวาคือกลุมใด เนื่องจากอํานาจวาทกรรมใน องคความรูเร่ืองนั้นๆไดแทรกซึมเขาสูระบบสังคม กรอบความรูและทาทีในการอธิบายธรรมชาติของมนุษยไปโดยปริยาย โดยที่วาทกรรมเหลานั้นปฏิบัติการในการเขาไปจัดการกับระบบระเบียบตางๆในสังคม ใหกลืนกลายเปนรูปแบบของความมีเอกภาพ เปนเหตุเปนผลสอดคลองกัน กลายเปนเรื่องปกติธรรมดาที่คนในสังคมยึดถือวาเปนความจริงที่สามารถพบเห็นได

3.6.4 อํานาจวาทกรรมที่สถาปนาตัวเปนความรูและความจริง

การใชอํานาจของวาทกรรมในความเห็นของฟูโกตจะไมสามารถกอตัว ดํารงอยูหรือบังคับใชได หากปราศจากการผลิต สะสม เผยแพร ตรึงและสถาปนาสิ่งตางๆใหเปนที่ยอมรับในสังคม ซ่ึงก็คือบทบาทหนาที่ของวาทกรรม ดังนั้นการใชชุดของถอยความเพื่อสรางกฎ แหงความชอบธรรมใหแกตัวเองนั้น ฟูโกตมองวาวิธีหนึ่งก็คือการทําใหตัวมันกลายเปนความรู โดยสรางงานเขียนที่ตรึงเอกลักษณและความหมายใหเปนชุดของความจริงในสังคม สรางความ พรามัวใหกับสิ่งที่มันไมตองการใหปรากฏ ฟูโกตกลาววางานเขียนซึ่งทําหนาที่เปนองคความรูนั้น ไมไดทําหนาที่อยางเปนกลางดังที่เขาใจ แตเปนสนามที่ทําการปะติดปะตอเร่ืองราวโดยการอางอิงขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ เพื่อผสานกันใหเปนงานที่มีเอกภาพ เพื่อกอใหเกิดรูปแบบของ วาทกรรมชุดตางๆที่ถูกนํามารวมกันโดยการใชอํานาจนั่นเอง ดังนั้นขอบเขตและพรมแดนของ

Page 20: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

87  

ส่ิงที่เรียกวาหนังสือ เปนปฏิบัติการรูปแบบหนึ่งของวาทกรรมที่ไมเคยมีความชัดเจน ความเปนหนังสือมีมากกวาชื่อเร่ือง บรรทัดของตัวหนังสือตั้งแตตนจนจบ หรือรูปแบบและโครงสรางของหนังสือ แตหนังสือเปนที่รวมของระบบการอางอิงเกี่ยวกับหนังสือเลมอื่นๆ งานเขียนชิ้นอื่นๆ และประโยคอื่นๆ หนังสือเลมหนึ่งจึงเปนเพียงปมๆหนึ่งในเครือขายโยงใยของการอางอิงซึ่งกันและกัน หนังสือประเภทหนึ่งก็จะมีระบบอางอิงถึงกันแบบหนึ่ง ความเปนเอกภาพของหนังสือแตละประเภทจึงไมเหมือนกัน หนังสือไมใชเปนเพียงวัตถุที่เราถือไวในมือ เอกภาพของหนังสือเปนเรื่องของการเปรียบเทียบและความเปลี่ยนแปลง ทันทีที่เราเริ่มกังขากับความเปนเอกภาพของหนังสือ เราก็จะเริ่มเห็นวาสิ่งที่เรียกวาหนังสือหรืองานเขียนนั้น เปนเพียงการสรางขึ้นของสนามที่ยุงยากสลับซับซอนของวาทกรรมชุดตางๆเทานั้น

ดังนั้นงานเขียนแตละชนิดตางก็เปนเพียงรูปแบบหนึ่งในภาคปฏิบัติการของอํานาจ วาทกรรม ที่นําแนวคิดในการเขียนงานชิ้นอื่นๆมาเรียงรอยตอกัน ซ่ึงงานเขียนเหลานั้นเขียนขึ้นภายใตบริบททางสังคมแตละยุคที่ครอบกระบวนทัศนในการมองปรากฏการณตางๆของเราไว อีกชั้นหนึ่ง เพื่อสรางงานที่มีความเปนเอกภาพ และตอเนื่องเปนเนื้อเดียวกัน ทั้งนี้ก็เพื่อเชิดชูขอความที่ตองการจะสื่อ ตอกย้ําแนวคิด และสลายหรือส่ันคลอนเรื่องที่ไมตองการใหปรากฏ กระทั่งกระบวนการเหลานี้ถูกมองวาเปนความรูที่สามารถนํามาอางไดตอๆไป และกลายเปน ความจริงในสังคมทายที่สุด วาทกรรมจึงมีความเกี่ยวโยงกับความไมตอเนื่อง เพราะวาวาทกรรมคือชุดของสวนเสี้ยวที่ไมมีความตอเนื่องสัมพันธกัน แตตองมาอยูรวมกัน และอยูรวมกันไมใชในฐานะที่เปนเอกภาพหรือมีความมั่นคง แตในฐานะที่เปนชุดของวาทกรรมที่มีความแตกตางหลากหลาย และตางก็มียุทธศาสตรเฉพาะตัวที่ไมเหมือนกันในการมาอยูรวมกัน (Foucault, Michel, 1976/1978, p. 100)

จากที่ไดกลาวขางตน ภาษาไมใชเครื่องมือส่ือสารที่เปนกลาง และมีรูปแบบที่บริสุทธิ์ แตภาษาที่เกิดจากการตกลงรวมกันในการเรียกขานสรรพสิ่งนั้น มีภาคปฏิบัติการของตัวมันเอง ภาษาไมไดถายทอดเรื่องราวในโลกแหงความจริงที่ตายตัว สะทอนความคิด ความเชื่อของคนในสังคม แตภาษา “สราง” โลก สรางความคิด ความเชื่อข้ึนมา โดยกระบวนการใชอํานาจที่แยบยล สรางองคความรู เพื่อกอใหเกิดความชอบธรรมในการเรียกขานสิ่งตางๆ สุดทายจึงกลายเปน ความจริงที่คนในสังคมยึดถือโดยปราศจากขอสงสัย

Page 21: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

88  

3.7 นวนิยายและศาสตรแหงการเลาเรื่อง

อริสโตเติล (Aristotle, 384-322 B.C.) ปราชญกรีกโบราณผูยิ่งใหญ เชื่อวาพลังของเหตุผลเปนพลังที่ทรงอํานาจที่สุด เพราะเหตุผลชวยใหมนุษยคนพบสิ่งจริงแทและธรรมชาติที่ดํารงอยู จากแนวคิดของอริสโตเติลที่วา ทุกสิ่งทุกอยางเปนการประกอบสรางอยางสมดุลของรูปแบบและเนื้อหา (Form and Matter) ที่กอใหเกิดสรรพชีวิต เขาจึงไดจัดวางลําดับของมนุษยไวสูงสุด คือเหนือกวาสัตว พืช และส่ิงของ ตามลําดับ เพราะมนุษยนั้นเปนสิ่งมีชีวิตในหวงโซธรรมชาติที่มีเหตุผล มีความสํานึกรู (self-conscious) สามารถคิดไดและรูตัวเองไดวากําลังคิด มนุษยในทัศนะของอริสโตเติลประกอบดวยรางกาย ซ่ึงก็คือรูปแบบ (Form) ของความเปนมนุษย และเนื้อหา (Matter) ในการเปนมนุษยผูมีเหตุผลนั่นเอง ในขณะที่สัตวเปนเพียงสิ่งมีชีวิตที่มีความรูสึกเทานั้น ดังนั้นอาจกลาวอีกนัยหนึ่งวา มนุษยไดรับการยกยองใหตางจากสัตว เพราะสติปญญา และ ความตระหนักรูนั่นเอง

อารยธรรมมนุษยนั้นเติบโตและดํารงอยูดวยการปะทะสังสรรคกันของกระบวนการใชเหตุผลของมนุษยแตละคน และมนุษยเองก็มีศักยภาพในการถายทอดอารมณ และทัศนะของตนผานเหตุผลในการมองสิ่งตางๆรอบตัวออกมาเปนเรื่องราวผานทางการพูด การเขียน การแสดงทาทาง และงานศิลปะตางๆ เพื่อสะทอนสภาพชีวิต ครอบครัว เศรษฐกิจ และสังคมที่ตนเองดํารงอยู ซ่ึงหนึ่งในวิธีการถายทอดอารมณ ความรูสึกผานกระบวนการใชเหตุผลของมนุษยก็คือการเลาเรื่อง เพราะ “เร่ืองเลาคือชีวิต และชีวิตก็คือเร่ืองเลา” (พิเชฐ แสงทอง, 2550, น. 157-169)

นวนิยายก็ถือวาเปนรูปแบบในการเลาเรื่องแบบหนึ่ง เปนวรรณกรรมบันเทิงคดีที่ผูแตงสะทอนสภาพสังคมจากปลายปากกา โดยใช “ภาษา” สงผานอารมณ เหตุผล และมุมมองของตนสรางตัวละครใหแสดงพฤติกรรมแบบหนึ่งๆ เพื่อนําเสนอขอความสําคัญที่ตองการจะสื่อถึงผูอาน ทั้งนี้เร่ืองเลาในนวนิยายท่ีมีภาษาเปนตัวกํากับความหมายนั้น ตางก็ดําเนินไปภายใตรูปแบบการจําลองชีวิตจริงผานกระบวนการใชสัญญะ หรือระบบการสรางความหมายนั่นเอง หรืออาจกลาวอีกนัยหนึ่งวา นวนิยายเปนประดิษฐกรรมทางสังคมและวัฒนธรรม ที่มีการเปลี่ยนแปลง เล่ือนไหลไปตามยุคสมัย และจุดนี้เองที่สังคมเขามาทําหนาที่ในการใหความหมายกับสิ่งตางๆ ดังคํากลาวของพิเชฐ แสงทอง (2550, น. x.3) วา

ตัวละคร (ในวรรณกรรม) ถูกเกลาเกลาจากเรื่องเลาใหมีบุคลิกหรือแสดง

พฤติกรรมแบบหนึ่งๆและหลายๆแบบ โดยอาศัยกรอบแนวคิดเรื่องศาสตรแหง เร่ืองเลา (narratology) ที่เห็นวาแมวาการเลาเรื่องเร่ืองเลาจะมีการจําลองแบบ

Page 22: ทฤษฎีวาทะกรรม ของ ฟูโกต์

89  

ความจริง แตศาสตรแหงเรื่องเลาจะพยายามคอยสะกิดบอกผูเสพเรื่องเลาอยูเสมอวา ตัวมันเองเปนผลของการประกอบสรางตามสัญนิยม (convention) หรือแบบแผนวัฒนธรรมของการเลาเรื่อง ดังนั้น การจําลองโลกความจริงในเรื่องเลาจึงดําเนินไปบนสัญนิยมของเรื่องเลามากกวาความเปนจริง

อยางไรก็ตาม นวนิยายที่ทําการเลาเรื่องโดยจําลองภาพเสมือนจริงและดําเนินไป

บนระบบสัญญะ ที่กอใหเกิดการตอสูแยงชิงพื้นที่ในการใหความหมาย ทําใหหลายตอหลายครั้ง นวนิยายสงอิทธิพลตอผูเสพงานอยางไมทันรูตัว ดวยเหตุนี้การนําทฤษฎีวาทกรรม (Discourse) ของมิเชล ฟูโกต มาเชื่อมโยงกับการมองนวนิยาย อาจเปนเครื่องมือที่ชวยเปดกระบวนทัศนใหมใหสามารถวิเคราะหนวนิยายไดอยางเขาใจและรูเทาทันมากยิ่งขึ้น แทนการมองแบบเกาที่มักถูกมองดวยทัศนะแบบปจเจกบุคคล ซ่ึงจบลงดวยความชอบหรือความไมชอบในนวนิยายเรื่องนั้นเทานั้น แตแนวความคิดในการเชื่อมโยงการมองนวนิยายโดยใชกรอบทฤษฎีแบบโครงสรางนิยม (Structuralism) เชน ทฤษฎีวาทกรรมของมิเชล ฟูโกต เขามาชวย จะเปนการรื้อสราง (deconstruct) การเขียนนวนิยาย เพื่อใหเกิดคําตอบใหมตอการอานนวนิยายดวยการตั้งคําถามใหมๆเชนเดียวกัน