บทที่ ๕...

17
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ; ภาพสะท้อนลักษณะของภาษาไทย

Upload: oiw-kiddie

Post on 20-Feb-2017

269 views

Category:

Education


3 download

TRANSCRIPT

บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ; ภาพสะท้อนลักษณะของภาษาไทย

สมาชิกในกลุ่ม นางสาวฐานียา ศรีคราม รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๒๕

นางสาวจิตรกัญญา โนนเฮ้า รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๑

นางสาววรัญญา ภักด ี รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๒

นางสาวปวีณา จินดาทิพย์ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๔

นางสาวนฤมล นาคภูมิ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๘๒

นางสาวจิราวรรณ ตองอบ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๑๐๗

ตัวอย่างการพูด การเขียน ภาษาไทยของนักศึกษาชาวต่างประเทศ

- “ดุร้ายสัตว์” (สัตว์ดุร้าย)

- “ไปไม่ยาวรถเสีย” (แต่ไปได้ไม่ไกลรถก็เสีย)

- “ผมเห็นช้างเคยแล้ว” (ผมเคยเห็นช้างแล้ว)

- “เขาหาแว่นตาทุกที่ ในที่สุดก็พบที่หัวข้างบน” (ในที่สุดก็พบว่าอยู่บนหัว)

- คุณครั้งแรกเคยมาหรือไหม (คุณเคยมาครั้งแรกหรอื)

บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ; (ภาพสะท้อนลักษณะของภาษาไทย)

เป็นการสะท้อนให้เห็นปรากฏการณ์อย่างน้อย ๓ เรื่อง คือ

๑ . อิทธิพลการแทรกแซงของภาษาแม่ ซึ่งผู้ เรียนเป็นคนพูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ จึงมีการวางค าขยายไว้หน้าค าขยาย เช่น ร้อนอากาศ (อากาศร้อน), มากกว่าสนุก (สนุกมากกว่า)

๒. ความยากของภาษาไทย เพราะ ภาษาไทยเป็นค าโดด การเรียนไวยากรณ์เบื้องต้นที่ดู เหมือนว่าง่าย แต่บางครั้งก็ใช้ ไม่ได้ มีการใช้ลักษณะนาม ตามหลังจ านวนนับ เป็นต้น

๓. ความไม่เข้าใจในการใช้ค า ใช้ภาษาของเจ้าของภาษา ซึ่งไม่สามารถเปิดพจนานุกรมหาความหมายแล้วใช้แทนได้ แต่ถ้าแปลและวิธีใช้ศัพท์ ตามภาษาของผู้เรียนมาใช้ในภาษาไทย เช่นค าว่า ล้าง อาบน้ า สระผม ภาษาอังกฤษใช้ wash แทนได้แต่ในภาษาไทยไม่สามารถใช้แทนกันได้ เช่น ล้างผม อาบน้ าจาน อีกประการที่สอนยาก คือ การใช้น้ าเสียงของถ้อยค าที่มีอยู่ในประโยค ซึ่งผู้ที่จะสอนต้องยกตัวอย่างในสถานการณ์ต่างๆให้มาก

CA. หรือ Contrastive Analysis เป็นการวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาแม่กับภาษาเป้าหมาย ถ้าหากผู้สอน ทราบว่านักเรียนเป็นผู้พูดภาษาใดก็ควรที่จะมีการศึกษา วิจัยของผู้ที่เคยท าไว้ หรือไม่ก็ควรท าวิจัยด้วยตัวเอง แต่ถ้าไม่ทราบล่วงหน้า หรือมีผู้เรียนคละกันหลายภาษาในชั้น ต้องระวังข้อได้เปรียบเสียเปรียบที่จะเกิดขึ้นด้วย

ผู้สอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ต้องมีการเตือนเพื่อให้ผู้เรียนระมัดระวังว่าภาษาไทยมีระเบียบภาษาที่แตกต่างจากภาษาของผู้เรียนอย่างไร

CA.ในทางปฏิบัติ

๑. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีน้ าเสียงขึ้นลง หรือมีเสียงวรรณยุกต์ ซึ่งถือว่าเป็นจุดยากที่สุดของภาษาไทย โดยได้มีผู้เขียน ต าราเพื่อจะอธิบายลักษณะเสียง ในรูปแบบของเส้นกราฟ ซึ่งผู้เรียนประสบปัญหาด้านการออกเสียง วรรณยุกต์มากแม้จะอยู่ในเมืองไทยมานาน

ลักษณะภาษาไทย

๒. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงสั้น -ยาว และมีเสียงท้ายที่ส าคัญต่อความหมาย ภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงขึ้นลง เหมือนภาษาไทย แต่ความยากของภาษาไทยที่คนจีนออกเสียงไม่เป็นก็คือ เสียงสั้น-ยาว เช่น

สถาบัน-สถาบาน จบจักจุฬา-จบจากจุฬา เป็นต้น

หรือเสียงพยัญชนะท้าย มาตราตัวสะกด ๘ มาตราของไทย ซึ่งเป็นปัญหาส าหรับผู้ เรียนที่ภาษาแม่ไม่มี หรือมีแต่ ไม่ส าคัญ เช่น ภาษาญี่ปุ่น มีเสียง กง กม กน ซึ่งสามารถใช้แทนกันได้

๓. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีการลงและไม่ลงน้ าหนักเสียง

แบ่งเป็น ๔ ระดับคือ

๓.๑ ไม่ลงน้ าหนัก พยางค์เปิดมักจะเป็นพยางค์ที่ไม่ลงน้ าหนัก เมื่อมีพยางค์ที่ลงน้ าหนักมารับข้างท้าย เช่นค าว่า และ จะ กับ ที่ เช่น พ่อและแม่จะไปไหน ข้าวกับไข่ อยูท่ีบ่้าน เป็นต้น

๓.๒ การลงน้ าหนัก ค าที่ท าหน้าที่เป็นองค์ประกอบ ส าคัญของประโยค เช่น เป็นประธานหรือกรรม เช่น ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายของคน ดี เป็นต้น

๓.๓ การลงเสียงเน้นหนัก คือ จงใจออกเสียงเน้นพยางค์ เช่น เมื่อต้องการโต้แย้ง แสดงข้อเปรียบเทียบหรือเน้นความสนใจ เช่น

ขอดินสอแดง ไม่ใช่ดินสอด า

๓.๔ การลงเสียงเน้นหนักพิเศษ เป็นการท าให้เสียงวรรณยุกต์ต่างไปจากปกติ เพื่อเป็นความหมายพิเศษหรือแสดงอารมณ์ เช่น ดีใจ...ดีใจ เป็นต้น

๔. ภาษาไทยมีช่วงต่อของเสียงชิดและห่าง

ช่วงต่อชิด เช่น น้ าเดือด สิบสอง แนะน า

ช่วงต่อห่าง ช่วงต่อห่างต่างกันท าให้ความหมายเปลี่ยน เช่น

รถบรรทุกของ + ไปตลาด

รถ + บรรทุกของไปตลาด

๕. ภาษาไทยมีท านองเสียงขึ้นหรือเสียงตก ซึ่งไม่ใช่ลักษณะของภาษาไทย แต่ใช้เพื่อช่วยแสดงความหมายของประโยคต่างๆ ในภาษาไทย

ท านองเสียงขึ้น เช่น ท าอะไรอยู่จ๊ะ (ค าถาม)

ท านองเสียงตก เช่น ไปด้วยกันหน่อยน่ะ (อ้อนวอน)

๖. ภาษาไทยใช้ลักษณนาม ซึ่งเป็นเรื่องที่จ าได้ยาก ส าหรับชาวต่างชาติ เช่น ลักษณนาม อัน ส าหรับทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้องใช้ลักษณนาม เพราะเขาจ าไม่ไหว ดังนั้น เรื่องการใช้ลักษณนามเป็นเรื่องที่ต้องสอนแบบค่อยเป็นค่อยไป

๗. ภาษาไทยมีบุรุษสรรพนาม เนื่องจากบุรุษสรรพนามนั้นส าคัญต่อค าสุภาพ เพราะเป็นการยกย่องให้เกียรติบุคคล จึงเป็นสิ่งที่ต้องสอนและฝึกใช้ให้ถูกต้อง

๘. ภาษาไทยมีค าราชาศัพท์หรือค าสุภาพ เนื่องมาจากภาษาไทยมีค าพื้นฐานที่เป็นภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร ซึ่งนักศึกษาอาจจะประสบกับความยากเหล่านี้ของค าราชาศัพท์ ค าสุภาพและค าศัพท์ต่างๆ ทั้งนี้ก็ขึ้นกับเป้าหมายและเวลาในการเรียนของผู้เรียนว่าต้องการระดับความลึกซึ้งในการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพียงไร

๙. ภาษาไทยก็มีภาษาพูดและภาษาเขียน ในบทสนทนามีการใช้ภาษาพูดเป็นจ านวนมาก แต่ในบทอ่านและบทฟังได้ปรับเป็นภาษาเขียนมากขึ้น ตัวอย่างเช่น นิดหน่อย ในบทสนทนา ก็จะใช้ว่า เล็กน้อย และเมื่อผู้เรียนเข้ามาเรียนในประเทศไทยสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือ ค าลงท้าย เพราะจะเกี่ยวพันกับการลงน้ าหนักเสียงและท านองเสียงขึ้นหรือตกด้วย

๑๐. ภาษาไทยใช้การเรียงค าเพื่อเข้าประโยค ในภาษาไทยจะมีหลัก ไวยกรณ์ ซึ่งจะเรียงประโยคแบบ ประธาน กริยา กรรม ลักษณะภาษาไทยเหล่านี้จึงเป็นเรื่องที่ส าคัญที่ต้องเรียนรู้ และการเรียนแบบไวยากรณ์ยังเป็นการชี้ให้เห็นลักษณะแตกต่างออกไปของภาษาไทยอีกด้วย

สิ้นสุดการน าเสนอ