ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน...

16
คำนำ รายงานวิเคราะห์สถานการณ์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 เป็นรายงานสถานการณ์ที่สานักงานสถิติจังหวัดในกลุ่มจังหวัดฯ ได้จัดทาขึ้นเพื่อรวบรวม และประมวลผลข้อมูลสถิติที่น่าสนใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา กลุ่มจังหวัด ระยะ 4 ปี และวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตาม แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดดังกล่าว ด้วยการนาข้อมูลสารสนเทศมาประกอบการกาหนด ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ ( Product Champion)/ประเด็นปัญหาที่สนใจ (Critical Issue) ห่วงโซ่คุณค่า ( Value Chain) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็น ยุทธศาสตร์กับตัวแปรที่สาคัญ ที่จะนาไปสู่การกาหนดปัจจัยสู่ความสาเร็จที่เหมาะสม ด้วยข้อมูลสารสนเทศตามประเด็นต่างๆ สานักงานสถิติจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ได้ ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ใน 1 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ที1 เพิ่มมูลค่าผลผลิตการเกษตร และการพัฒนา อุตสาหกรรมการเกษตร โอกาสนี้ สานักงานสถิติจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ขอขอบคุณคณะกรรมการสถิติระดับกลุ่มจังหวัด และหน่วยงานต่างๆ ที่ได้อนุเคราะห์ ข้อมูล ซึ่งเป็นผลทาให้การวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตาม แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะ เป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารในพื้นที่ และผู้สนใจ

Upload: others

Post on 18-Jul-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

ค ำน ำ

รายงานวิเคราะห์สถานการณ์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 เป็นรายงานสถานการณ์ที่ส านักงานสถิติจังหวัดในกลุ่มจังหวัดฯ ได้จัดท าขึ้นเพื่อรวบรวมและประมวลผลข้อมูลสถิติที่น่าสนใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด ระยะ 4 ปี และวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดดังกล่าว ด้วยการน าข้อมูลสารสนเทศมาประกอบการก าหนดผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion)/ประเด็นปัญหาที่สนใจ (Critical Issue) ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) และการวิ เคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นยุทธศาสตร์กับตัวแปรที่ส าคัญ ที่จะน าไปสู่การก าหนดปัจจัยสู่ความส าเร็จที่เหมาะสมด้วยข้อมูลสารสนเทศตามประเด็นต่างๆ

ส านักงานสถิติจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดใน 1 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มมูลค่าผลผลิตการเกษตร และการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร

โอกาสนี้ ส านักงานสถิติจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ขอขอบคุณคณะกรรมการสถิติระดับกลุ่มจังหวัด และหน่วยงานต่างๆ ที่ได้อนุเคราะห์ข้อมูล ซึ่งเป็นผลท าให้การวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารในพื้นที่ และผู้สนใจ

Page 2: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม
Page 3: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

1

สถานการณ์ แนวโน้ม และยุทธศาสตร์ที่ส าคัญของ

กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2

(สกลนคร นครพนม มุกดาหาร)

แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2558 - 2561) ได้ก าหนดวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ และเป้าประสงค์ เพื่อก าหนดทิศทางการพัฒนาจังหวัด ดังน้ี

วิสัยทัศน์ : “เกษตรกรรมน าการพัฒนา เส้นทางการค้าการทอ่งเทีย่ว สู่ประเทศเพื่อนบ้าน และจีนตอนใต”้

ประเด็นยุทธศาสตร ์ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มมลูค่าผลผลิตการเกษตร และการพัฒนา

อุตสาหกรรม การเกษตร ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพฒันาและเชื่อมโยงแหล่งท่องเทีย่ว ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการค้า ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน และจนีตอนใต ้

ข้อมูลทั่วไป กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ประกอบด้วยจังหวัด

สกลนคร จังหวัดนครพนม และจังหวัดมุกดาหาร มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีแม่น้ าโขงเป็นเส้นกั้นพรมแดน ที่จังหวัดนครพนมและมุกดาหารมีสะพานมิตรภาพเชื่อมประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่จังหวัดมุกดาหารและสามารถเชื่อมต่อไปยังประเทศในกลุม่อินโดจีนได้ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงบนเทือกเขาภูพาน และมีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การท าเกษตรกรรม โดยจังหวัดสกลนครมีพื้นที่ประมาณ 9,605.76 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 6,003,602 ไร่ จังหวัดนครพนมมีพื้นที่ประมาณ 5,528.88 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 3,474,437 ไร่ จังหวัดมุกดาหารมีพื้นที่ประมาณ 4,339.83 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2,712,394 ไร ่

Page 4: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

2

ภาพรวมภาวะเศรษฐกจิกลุ่มจังหวัดภาคตะวนัออกเฉียงเหนือตอนบน 2 จากข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมกลุ่มจังหวัด ในปี 2553 มีมูลค่า 80,955

ล้านบาท รายได้เฉลี่ยต่อหัว/ต่อปีของประชากร 35,983 บาท โดยมีโครงสร้างเศรษฐกิจที่ สร้างรายได้ ได้ แก่ ภาค เกษตร มู ลค่ า 22,191 ล้ านบาทคิด เป็นร้อยละ 27 อุตสาหกรรม มูลค่า 7,092 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9 การค้าปลีกค้าส่ง มูลค่า 8,288 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10 บริการท่องเที่ยว มูลค่า 4,725 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6 และอื่นๆ มูลค่า 38,659 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 48

แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างระบบเศรษฐกิจกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 2 ณ ราคาประจ าปี (ปี พ.ศ. 2553)

ท่ีมา: ส านักงานคลังจังหวัด

โครงสร้างทางเศรษฐกิจดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงขนาดของภาคการเกษตรที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัด ทั้งนี้ จากข้อมูลการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 พ.ศ. 2552 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 12,161,414 ไร่ โดยเนื้อที่ ถือครองทางการเกษตร จ านวน 5,619,924 ไร่ โดยในปี 2552 กลุ่มจังหวัดมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวถึง 3,466,460 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 61.43 ของพื้นที่ถือครองทางการเกษตรทั้งหมด ข้าวจึงเป็นพืชที่ส าคัญต่อระบบเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดดังกล่าว (ตารางที่ 1)

ภาคเกษตร27%

อุตสาหกรรม9%

การค้าปลีกค้าส่ง10%บริการท่องเที่ยว

6%

อ่ืนๆ48%

Page 5: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

3

ตารางที่ 1 เนื้อที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ ปี พ.ศ. 2552 - 2554 กลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2

รายการ 2552 2553 2554 ข้าวนาปี 3,235,913 3,235,293 3,466,460 ข้าวนาปรัง 83,214 91,040 133,817 มันส าปะหลัง 187,050 192,252 193,797 อ้อย 115,681 115,730 116,195 ยางพารา 102,345 113,717 128,285

ท่ีมา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และ: ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 3 (รายงานข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2554)

ตารางที่ 2 ภาวการณค์้าข้าว และปริมาณผลผลิตข้าวที่เหลือเพ่ือการค้าของ กลุ่มจังหวัด ปีการผลิต 2554/2555

ชนิดข้าว

ปริมาณผลผลิตข้าวนาปี (เมตริกตัน)

ปริมาณผลผลิตข้าวที่เหลือเพื่อการค้า (เมตริกตัน)

สกลนคร นครพนม มุกดาหาร รวม สกลนคร นครพนม มุกดาหาร รวม

ข้าว เปลือกเจ้า

237,413 292,682 67,226 597,321 120,704 265,226 65,187 451,117

ข้าว เปลือกเหนียว

568,103 317,638 159,567 1,045,317 256,120 122,206 122,863 501,189

รวม 805,516 610,320 226,802 1,642,638 376,824 387,432 188,050 952,306

ท่ีมา : ส านักงานเกษตรจังหวัดมุกดาหาร สกลนคร นครพนม ส านักงานพาณิชย์จังหวัดมุกดาหาร สกลนคร นครพนม

Page 6: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

4

กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 มีผลผลิตข้าวนาปี 1.624 ล้านเมตริกตันต่อปี โดยผลผลิตข้าวเป็นวัตถุดิบให้กับอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเกษตร ได้แก่โรงสีข้าว โดยใช้ข้าวเปลือกมะลิเป็นวัตถุดิบในการผลิตในกลุ่มจังหวัดมีพื้นที่การปลูกข้าวมาก และปริมาณการผลิตสูงมีจ านวนโรงงาน 1,957 โรงงาน เงินลงทุนประมาณ 25 ล้านบาท โดยจังหวัดสกลนครมีโรงสีข้าวมากที่สุด 1,750 โรง ตามมาด้วยจังหวัดมุกดาหาร 199 โรง และจังหวัดนครพนม 8 โรง (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 3 ผลผลติ และผลผลติเฉลี่ยตอ่ไร่ของข้าวนาปรังรายจังหวัดของกลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ. 2555-2557

ภาค/จังหวัด ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร ่(กก.)

2555 2556 2557 2555 2556 2557 รวมทั้งประเทศ 12,235,347 10,766,286 10,225,123 681 674 669 ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,198,586 4,752,078 3,983,075 685 675 670 สกลนคร 50,758 26,374 55,617 514 481 504 นครพนม 36,664 28,502 32,476 437 431 452 มุกดาหาร 957 246 541 425 438 449

ท่ีมา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร อ้างถึง : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ผลผลิตเฉลี่ยในปี 2555 ประเทศไทยมีผลผลิตเฉลี่ยข้าวนาปรัง 681 กิโลกรัมต่อไร่ โดยกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 มีผลผลิตเฉลี่ยต่ ากว่าค่าเฉลี่ยของประเทศที่ 685 กิโลกรัมต่อไร่ โดยผลผลิตคิดเป็นร้อยละ 42.5 ของผลผลิตรวมทั้งประเทศ แต่มีแนวโน้มที่ลดลงเพิ่มโดยในปี 2557 ลดลงเป็น 670 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งมีผลผลิตเฉลี่ยที่ ใกล้ เคียงกับผลผลิตเฉลี่ยของประเทศที่ 669 กิโลกรัมต่อไร่ โดยผลผลิตคิดเป็นร้อยละ 38.95 ของผลผลิตรวมทั้งประเทศ (ตารางที่ 3)

Page 7: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

5

นอกจากนี้ หากพิจารณาในด้านพื้นที่ พบว่า ในปี 2555 ประเทศไทยมีพื้ นที่ ปลู ก ข้ าวนาปรั ง 18.10 ล้ าน ไร่ โดยเป็ นพื้ นที่ ปลู กในกลุ่ มจั งหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 อยู่ที่ 7.62 ล้านไร่ หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 42.07 ของพื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปรังทั้งประเทศ โดยมีแนวโน้มลดลงเหลือเพียง 6.26 ล้านไร่ หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 39.49 ของพื้นที่ เพาะปลูกข้าวนาปรังทั้งประเทศ (ตารางที่ 4)

ตารางที่ 4 เนื้อที่เพาะปลูกข้าวนาปรังรายจังหวัดของกลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ. 2555 - 2557

ภาค/จังหวัด 2555 2556 2557 รวมทั้งประเทศ 18,101,239 16,087,295 15,846,650 ตะวันออกเฉียงเหนือ 7,615,783 7,089,885 6,257,138 สกลนคร 99,562 59,189 113,394 นครพนม 84,338 67,877 73,960 มุกดาหาร 2,262 562 1,206

ท่ีมา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร อ้างถึง : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 5 เนื้อที่เก็บเกีย่วของข้าวนาปรังรายจังหวัดของกลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ. 2555 - 2557

ภาค/จังหวัด 2555 2556 2557 รวมทั้งประเทศ 17,976,574 15,963,399 15,278,645 ตะวันออกเฉียงเหนือ 7,586,545 7,040,997 5,946,089 สกลนคร 98,729 54,797 110,442 นครพนม 83,873 66,108 71,904 มุกดาหาร 2,250 562 1,206

ท่ีมา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร อ้างถึง : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 8: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

6

ผลผลิตเฉลี่ยในปี 2554 ประเทศไทยมีผลผลิตเฉลี่ยข้าวนาปี 456 กิโลกรัมต่อไร่ โดยกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 มีผลผลิตเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศที่ 379 กิโลกรัมต่อไร่ โดยผลผลิต 13.45 ล้านตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 60.59 ของผลผลิตรวมทั้งประเทศ และผลผลิตต่อไรมีแนวโน้มลดลงเหลือเพียง 361 กิโลกรัมต่อไร่ ในปี 2556 ในขณะที่ผลผลิตของกลุ่มจังหวัดเมื่อเปรียบเทียบกับผลผลิตรวมทั้งประเทศไม่เปลี่ยนแปลง

ตารางที่ 6 ผลผลติ และผลผลติเฉลี่ยตอ่ไร่ของข้าวนาปีรายจังหวัดของกลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ. 2554 - 2556

ภาค/จังหวัด ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร ่(กก.)

2554 2555 2556 2554 2555 2556 รวมทั้งประเทศ 25,867,373 27,233,903 28,021,697 456 463 457 ตะวันออกเฉียงเหนือ 13,452,032 12,303,561 13,185,684 379 363 361 สกลนคร 607,566 628,583 742,444 372 357 367 นครพนม 438,031 520,009 522,058 397 388 389 มุกดาหาร 173,004 134,895 166,589 384 358 362

ท่ีมา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร อ้างถึง : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

นอกจากนี้ หากพิจารณาในด้านพื้นที่ พบว่า ในปี 2554 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวนาปี 65.3 ล้านไร่ โดยเป็นพื้นที่ปลูกในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ประมาณ 39.57 ล้านไร่ หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 60.59 ของพื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปีทั้งหมด (ตารางที่ 7)

Page 9: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

7

ตารางที่ 7 เนื้อที่เพาะปลูกข้าวนาปีรายจังหวัดของกลุ่มจังหวดั ปี พ.ศ. 2554 – 2556

ภาค/จังหวัด 2554 2555 2556

รวมทั้งประเทศ 65,303,711 64,950,593 64,998,380

ตะวันออกเฉียงเหนือ 39,565,392 39,487,220 39,431,708

สกลนคร 1,850,872 2,083,998 2,086,916

นครพนม 1,407,217 1,363,643 1,364,999

มุกดาหาร 489,925 492,102 493,332

ท่ีมา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร อ้างถึง : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 8 เนื้อที่เก็บเกีย่วข้าวนาปีรายจังหวัดของกลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ. 2554 - 2556

ภาค/จังหวัด 2554 2555 2556

รวมทั้งประเทศ 56,752,413 58,766,481 61,369,270

ตะวันออกเฉียงเหนือ 35,476,307 33,852,006 36,523,279

สกลนคร 1,633,241 1,760,844 2,024,310

นครพนม 1,103,987 1,338,647 1,341,916

มุกดาหาร 450,532 376,737 460,190 ท่ีมา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร อ้างถึง : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 10: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

8

จากข้อมูลศึกษาข้างต้น ท าให้เห็นว่ายางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ดังนั้นกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 จึงเลือก “ข้าวปลอดภัย” เป็นผลิตภัณฑ์ที่ส าคัญทางเศรษฐกิจของจังหวัด ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 3 ตามแผนพัฒนากลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ระยะ 4 ปี (ปี พ.ศ. 2558 - 2561) ซึ่งในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 อยู่ในมิติด้านเศรษฐกิจด้านการเกษตรที่มี 2 เป้าประสงค์ของประเด็นยุทธศาสตร์ คือพัฒนาการเกษตร อุตสาหกรรมการเกษตร สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรเกิดมูลค่าเพิ่มขึ้น

กลยุทธ์ที่ส าคัญของยุทธศาสตร์ที ่1 ประกอบไปด้วย 1) เพิ่มประสิทธภิาพการผลิตด้านการเกษตร 2) พัฒนาสินค้าดา้นการเกษตรให้ได้มาตรฐาน 3) พัฒนาเกษตรกร และสถาบันการเกษตรให้มีความเข้มแข็ง 4) เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และบริหารจัดการสินค้าเกษตร

เพื่อเพิ่มมูลค่า

ตัวชี้วัดที่ส าคัญของยุทธศาสตร์ที่ 1 ประกอบไปด้วย มูลค่าเพิ่ม (ณ ราคาคงที่) ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคการเกษตรเพิ่ม

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 (รวม 4 ปีร้อยละ 12)

ทั้งนี้ กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนาฯ สอดคล้องกับห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) และปจัจัยสู่ความส าเร็จ ดังแผนภาพที่ 1

Page 11: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

9

แผนภาพท่ี 1 ห่วงโซ่คุณค่า “ข้าว”

VC 1 การวิจัยและพัฒนา (R&D)

VC 2 ปัจจัยพื้นฐานและการพัฒนา

เกษตรกร

VC 3 การเพ่ิมผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลด

ต้นทุน

VC 4 การแปรรูป และสร้างมูลค่าเพิ่ม

VC 5 การขนส่ง และบริหารจัดการ

สินค้า (Logistic)

VC 6 การพฒันาระบบการตลาด

CSF 1.1 การน าผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าปัจจัยการผลิต (พันธุ์ข้าว) มาใช้ให้เกิดผล

CSF 1.2 การน าผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าปัจจัยการผลิต (พันธุ์ข้าว) มาใช้ให้เกิดผล

CSF 2.1 การศึกษา และจัดท าข้อมูลปัจจัยการผลิต

CSF 2.3 การ บริหารจัดการดินและการใช้ดิน (Zoning)

CSF 2.2 การบริหารจัดการน้ า

CSF 2.5 การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร

CSF 2.4 การรวมกลุ่มชาวนา และการเข้าถึงแหล่งเงินทุน

CSF 3.1 การผลิตที่ด ีและเหมาะสมตามมาตรฐาน GAP

CSF 4.1 มาตรฐานการผลิตเกษตรอุตสาหกรรม (GMP/HACCP)

CSF 5.1 การขนส่งและกระจายสินค้า

CSF 6.1 การจ าหน่ายสินค้า และช่องทางการจ าหน่ายสินค้า

CSF 2.7 การพัฒนาเกษตรกร เข้าสู่ระบบอุตสาหกรรม (การสีข้าว และบรรจุภัณฑ์ข้าว)

CSF 3.2 ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และสารก าจัดศัตรูพืช

CSF 3.3 การเพ่ิมผลิตภาพ

CSF 3.4 ผลผลิตที่เป็นข้าวอินทรีย์

CSF 3.5 การรับรองมาตรฐาน และตรวจสอบความปลอดภัยของสินค้า

CSF 3.6 การตรวจสอบย้อนกลับการผลิตข้าวอินทรีย์

CSF 4.2 มาตรฐานการผลิตข้าวอินทรีย์ CSF 4.3

มาตรฐานโรงสีข้าวชุมชน

CSF 4.4 การส่งเสริมมาตรฐานสินค้า (branding) CSF 4.5 เกษตรกรมีความสามารถในการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวอินทรีย์ให้เกิดประโยชน์

CSF 4.6

ส่งเสริมการท าตลาดเฉพาะ (Niche Market)

CSF 5.2 การพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า

CSF 5.3 การบริหารจัดการคลังสินค้า

CSF 5.4 ระบบขนส่งสินค้าทางถนน ทางราง และทางน้ า และขีดความสามารถในการขนส่ง

CSF 5.5

ผู้ประกอบการ โลจิสติกส์

CSF 6.2 ราคาตลาดและอัตราการเติบโตของตลาด

CSF 6.3

พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า CSF 6.4 การวิเคราะห์ความต้องการของข้าวอินทรีย์

กระบวนการผลิต กระบวนการแปรรูป

กระบวนการค้าและการตลาด

Page 12: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

10

ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เพื่อก าหนดห่วงโซ่มูลค่า และปัจจัยสู่ความส าเร็จที่ส าคัญ พบว่า จ านวนพื้นที่ปลูกข้าวปลอดภัยในปีปัจจุบัน และปีที่ผ่านมา จ านวนสหกรณ์การเกษตรกลุ่มเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกข้าวปลอดภัยของจังหวัดในปีปัจจุบัน และปีที่ผ่านมา จ านวนผลิตภัณฑ์จากข้าวที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน เป็นตัวแปรที่ส าคัญในการเลือกห่วงโซ่มูลค่า จึงมีการก าหนดสมการความสัมพันธ์ของข้าวปลอดภัย ดังนี ้

สมการความสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ทีม่ีศักยภาพ : ข้าว Y “ข้าว” = X1 + X2 + X3

มูลคา่ผลิตภัณฑ ์

ข้าว

จ านวนพื้นที่ปลูกข้าวปลอดภัยในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา

จ านวนสหกรณ์การเกษตรกลุ่มเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกข้าวปลอดภัยของจังหวัดในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา

จ านวนผลิตภัณฑ์จากข้าวที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน เช่น มผช./ OTOP 5 ดาว/ GMP/HACCP เป็นต้น

สมการความสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (ข้าว) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของการจัดสรรงบประมาณตามยุทธศาสตร์ที่ 1 โดยน าตัวชี้วัดระดับ กลยุทธ์ มาเป็นตัวแปรเพื่อค้นหาความสัมพันธ์เพื่อสนับสนุน และยืนยันทิศทางการจัดสรรงบประมาณของจังหวัด

Page 13: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

11

จากข้อมูลเชิงประจักษ์ สามารถก าหนดสมการความสัมพันธ์ของเนื้อที่ เก็บเกี่ยว ข้าวนาปีที่ให้ผลผลิต (ไร่) และสมการผลผลิตข้าวนาปี (ตัน) โดยเป็นการอธิบายแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงตามกันระหว่างเนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิต ที่มีแนวโน้มแปรผันตามกัน โดยสมการผลผลติรวมของข้าวนาปทีั้งกลุ่มจังหวัด คือ Y = -133174x + 1E+07 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป็นลบ ที่ 133,174 และมีค่า R2 หรือความสามารถในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงผลผลิต ด้วยสมการเชิงเส้นที่ 0.0491 ในขณะที่สมการเนื้อที่เก็บเกี่ยวข้าวนาปรัง = -66842x + 4E+07 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป็นลบที่ 66842 ซึ่งมีค่าแปรผันตรงกับสมการผลผลิตข้าวนาปีของกลุ่มจังหวัด ด้วยค่า R2 = 0.9905 อย่างไรก็ตามด้วยข้อจ ากัดของข้อมูล จึงสามารถสรุปผล เพียงว่าแนวโน้มของเนื้อที่การเพาะปลูกและเก็บเกี่ยวข้าวนาปีลดลงเท่านั้น

แผนภมูิที่ 2 วิเคราะหแ์นวโน้มของข้อมูลเนื้อที่เก็บเก่ียวข้าวนาปี และผลผลิต ระหว่างปี พ.ศ. 2554 – 2556

ท่ีมา: จากการค านวณ

y = -66842x + 4E+07R² = 0.9905

y = -133174x + 1E+07R² = 0.0491

0

10,000,000

20,000,000

30,000,000

40,000,000

50,000,000

2554 2555 2556

เนื้อที่เพาะปลูก (ไร)่

ผลผลิต (ตัน)

เชิงเส้น (เนื้อที่เพาะปลูก (ไร)่)

เชิงเส้น (ผลผลิต (ตัน))

Page 14: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

12

ทั้งนี้ จากข้อมูลเชิงประจักษ์ สามารถก าหนดสมการความสัมพันธ์ของเนื้อที่ เพาะปลูกข้าวนาปรังที่ให้ผลผลิต (ไร่) และสมการผลผลิตข้าวนาปรัง (ตัน) โดยเป็น การอธิบายแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงตามกันระหว่างเนื้อที่เพาะปลูก และผลผลิต ที่มีแนวโน้มแปรผันตามกัน โดยสมการผลผลิตรวมของข้าวนาปรังทั้งกลุ่มจังหวัด คือ Y = -607756x + 6E+06 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป็นลบที่ 607,756 และมีค่า R2 หรอืความสามารถในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงผลผลิตด้วยสมการเชิงเส้นที่ = 0.9771ในขณะที่สมการเนื้อที่เก็บเกี่ยวข้าวนาปรัง Y = -820228x + 8E+06 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป็นลบที่ 820,228 ซึ่งมีค่าแปรผันตรงกับสมการผลผลิตข้าวนาปรังของ กลุ่มจังหวัด ด้วยค่า R2 = 0.964 อย่างไรก็ตามด้วยข้อจ ากัดของข้อมูล อาจแปรความว่า ผลผลิตและพื้นที่การเพาะปลูกมีแนวโน้มลดลงตามอนุกรมเวลา

แผนภมูิที ่3 วิเคราะหแ์นวโน้มของข้อมูลเนื้อที่เก็บเก่ียวข้าวนาปรัง และผลผลิต ระหว่างปี พ.ศ. 2555 – 2557

ท่ีมา : จากการค านวณ

y = -820228x + 8E+06R² = 0.964

y = -607756x + 6E+06R² = 0.9771

01,000,0002,000,0003,000,0004,000,0005,000,0006,000,0007,000,0008,000,0009,000,000

2555 2556 2557

เนือ้ที่เก็บเก่ียว (ไร่)

ผลผลติ (ตนั)

เชิงเส้น (เนือ้ที่เก็บเก่ียว (ไร่))

เชิงเส้น (ผลผลติ (ตนั))

Page 15: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม

13

บทสรุป ทั้งนี้ ทิศทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ฉบับที่ 11 ได้จัดท ายุทธศาสตร์ส าคัญ 6 ประเด็น ซึ่งให้ความส าคัญกับการพัฒนาทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในส่วนของยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่ของส านักงานสถิติแห่งชาติแบ่งออกเป็น 3 ด้าน โดยมีรายการข้อมูลหรือสถิติที่จ าเป็นต่อการพัฒนาพื้นที่ 21 สาขาครอบคลุมทั้งเรื่องเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่นเดียวกัน และในส่วนของแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ที่ก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนานั้น ในกระบวนการจัดท าได้มีการทบทวนและน าแนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 และวาระแห่งชาติต่างๆ ใช้ประกอบในการก าหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่ แล้วด้วย ดังนั้น การพัฒนาข้อมูลให้มีเพียงพอ จึงเป็นเรื่องส าคัญที่จะช่วยตอบสนองในการจัดท าแผนหรือการก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่นั้นๆ ได้

รายงานสถานการณ์การจัดท าข้อมูลเชิงพื้นที่ระดับจังหวัดด้านเศรษฐกิจนี้ เป็นการรวบรวม และประมวลผลข้อมูลที่น่าสนใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ. 2557 – 2560) โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจด้วยการน าข้อมูลสารสนเทศมาประกอบการก าหนดผลิตภัณฑ์ที่ส าคัญ ร่วมกับห่วงโซ่คุณค่า และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นยุทธศาสตร์กับตัวแปรที่ส าคัญ ที่จะน าไปสู่การก าหนดปัจจัยสู่ความส าเร็จที่ เหมาะสมด้วย ข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งในยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มมูลค่าผลผลิตการเกษตร และการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรมีการใช้รายงานสถิติทางการระดับจังหวัดด้านเศรษฐกิจ ประกอบไปด้วย 2 สาขาที่ส าคัญ คือ สาขาบัญชีประชาชาติ สาขาเกษตร

Page 16: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...5 นอกจากน หากพ จารณาในด านพ นท พบว า ในป 2555 ประเทศไทยม