ป จจัยที่มีความสัมพันธ...

90
ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร โดย นางสาวสุรัสวดี สีหราช วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร สาธารณสุขศาตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ.2560

Upload: others

Post on 15-Jul-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

โดยนางสาวสุรัสวดี สีหราช

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร สาธารณสุขศาตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ.2560

Page 2: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee
Page 3: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

Factors Related to Dengue Hemorrhagic Fever Prevention andControl Behaviors,Watsommanat Subdistrict,

Pomprabsuttupri District, Bangkok

ByMiss Surussawadee Siharaj

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of theRequirements for the Master of Public Health

Faculty of Liberal ArtsKrirk University

2017

Page 4: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee
Page 5: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

(1)

หัวขอวิทยานิพนธ ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส

เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานครชื่อผูวิจัย นางสาวสุรัสวดี สีหราชหลักสูตร/คณะ/มหาวิทยาลัย สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต/ศิลปศาสตร/มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก รองศาสตราจารย สุพัฒน ธีรเวชเจริญชัยอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม รองศาสตราจารย อลิสา นิติธรรมปการศึกษา 2560

บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีเปนการวิจัยเชิงสํารวจ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรม และปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยางไดมาโดยการสุมอยางงายจํานวน 300 คน ใชแบบสอบถามที่ผูวิจัยสราง ทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ คาสถิติที่ใช ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาทดสอบไคสแควร และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน

ผลการวิจัย พบวา 1)กลุมตัวอยางมีพฤติกรรมในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอยูในระดับปานกลาง รอยละ 44.33 2)ปจจัยนํา ไดแก ความรูอยูในระดับนอย รอยละ 48.33 และไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ทัศนคติอยูระดับดี รอยละ41.00 มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก และการรับรูประโยชน อุปสรรค ความรุนแรงของโรคอยูในระดับปานกลาง รอยละ62.33 มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก อยางมีนัยสําคัญที่ .05 3)ปจจัยเอ้ืออยูในระดับปานกลาง รอยละ 52.00 มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก อยางมีนัยสําคัญที่ .05 4)ปจจัยเสริมอยูในระดับนอย รอยละ 42.00 และมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอยางมีนัยสําคัญที่ .05

Page 6: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

(2)

Thesis Title Factors Related to Dengue Hemorrhagic Fever and PreventiveControl Behaviors, Watsommanat Subdistric,PomprabsuttupriDistric, Bangkok

Author’s Name Miss Surussawadee SiharajProgram/Faculty/University Master of Public Health/Liberal Arts/Krirk UniversityThesis Advisor Associate Professor Supat TeravecharoenchaiThesis Co-Advisor Associate Professor Alisa NitithamAcademic Year 2017

Abstract

This study was a survey research aims to study the behavior and the factors that correlatewith protection. Dengue fever and control of the public space,Watsommanat SubdistricPomprabsuttupri Distric, Bangkok. The samples were selected by simple random sampling of 300Youths the questionnaires developed by the researches. Data were analyzed using statistical softwarepackages. Statistics used were percentage, mean, standard deviation. The chi-square test and the Pearsoncorrelation coefficient.

The main results were: 1.) The prevention and control of dengue be on behaviors wasmoderate level to be 44.33 % 2.) Predisposing factors namely knowledge was at low level foundto be 48.33 % that was not significantly to behavior of prevention and control, but attitude wasgood level found to be 41.00 % that was significantly related to behavior of prevention andcontrol at .05 level and perceived benefits, barrier to the severity of the disease was at moderatelevel found to be 62.33 % that was significantly related to behavior of prevention and control3.) Enabling factors was moderate level found to be 52.00 % that was significantly related tobehavior of prevention and control at .05 level 4.) Reinforcing factors was at low level found tobe 42.00 % that were significantly related to of prevention and control at .05 level.

Page 7: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

(3)

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาคนควาฉบับน้ีสําเร็จลุลวงไปไดดวยความกรุณาอยางยิ่งจากรองศาสตราจารยสุพัฒน ธีรเวชเจริญชัย อาจารยที่ปรึกษาหลัก และ รองศาสตราจารยอลิสา นิติธรรม อาจารยที่ปรึกษารวมที่ไดชวยเหลือในการวางแผนงานวิจัยในการศึกษาเกี่ยวกับวิทยานิพนธฉบับน้ีตลอดจนการใหคําปรึกษาแนะนําและตรวจแกไขขอบกพรองตางๆ ในการทําวิทยานิพนธใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี

ขอกราบขอบพระคุณคณาจารยจากมหาวิทยาลัยเกริกทุกทานที่ไดอบรมสั่งสอนชวยเหลือถายทอดความรูที่มีคาสูงสงแกขาพเจา ขอขอบพระคุณ ผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทานที่ชวยอนุเคราะหเสียสละเวลาอันมีคาในการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย และใหคําแนะนําที่เปนประโยชนในการสรางเคร่ืองมือ ขอขอบคุณประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพายทุกทาน ที่ใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถามในการเก็บขอมูลวิทยานิพนธในคร้ังน้ี

ทายที่สุดน้ี ขอกราบขอบพระคุณผูที่มีสวนชวยเหลือและคอย ใหกําลังใจ ชี้แนะและสนับสนุนในการทําวิทยานิพนธจนสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี คุณประโยชนทั้งปวงแหงวิทยานิพนธฉบับน้ีขอมอบแดบุพการี ครอบครัว และผูมีพระคุณทุกทาน แตหากมีขอผิดพลาดบกพรองประการใด ผูวิจัยขอนอมรับไวดวยความยินดี และขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสน้ี

นางสาวสุรัสวดี สีหราชมหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ.2560

Page 8: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย (1)บทคัดยอภาษาอังกฤษ (2)กิตติกรรมประกาศ (3)สารบัญตาราง (6)สารบัญแผนภาพ (7)

บทที่ 1 บทนํา 1ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1วัตถุประสงคของการวิจัย 4ขอบเขตการวิจัย 4ประโยชนที่จะไดรับ 4ตัวแปรที่ใชในการวิจัย 5นิยามศัพทเฉพาะ 5

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 7บริบทพื้นที่เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร 7ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก 8แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ 13งานวิจัยที่เกี่ยวของ 27กรอบแนวคิดการวิจัย 30สมมติฐานการวิจัย 31

บทที่ 3 วิธีดําเนินงานวิจัย 32ประชากรและกลุมตัวอยาง 32เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย 34การเก็บรวบรวมขอมูล 38การวิเคราะหขอมูล 38

(4)

Page 9: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

สารบัญ (ตอ) หนา

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 39

บทที่ 5 บทสรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ 49บทสรุป 49อภิปรายผล 51ขอเสนอแนะ 53

บรรณานุกรม 55

ภาคผนวก 59ผนวก ก รายนามผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือวิจัย 60ผนวก ข แบบสอบถาม 61

ประวัติผูวิจัย 70

(5)

Page 10: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee
Page 11: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา

1 จํานวนและรอยละขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 402 จํานวนและรอยละของความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก. 423 จํานวนและรอยละของทัศนคติเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง 424 จํานวนและรอยละของการรับรูประโยชนและอุปสรรคการรับรูความรุนแรง

เกี่ยวกับโรคไขเลือดออก43

5 จํานวนและรอยละดานปจจัยเอ้ือ ไดแก นโยบายเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก การจัดกิจกรรมปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก สื่ออุปกรณเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกและสิ่งแวดลอมในชุมชนของกลุมตัวอยาง

43

6 จํานวนและรอยละดานปจจัยเสริมไดแก การไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก จากบุคคลในครอบครัว เพื่อน สื่อมวลชน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข การติดตามสนับสนุนการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของเจาหนาที่สาธารณสุขและการรับรูขาวสารเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนของกลุมตัวอยาง

44

7 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง

44

8 ความสัมพันธระหวางขอมูลทั่วไปกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก

45

9 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยนํากับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก

47

10 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยเอ้ือกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก

47

11 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยเสริมกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก

48

(6)

Page 12: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee
Page 13: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพท่ี หนา

1 วงจรชีวิตยุงลาย 102 แบบจําลองการวางแผนสงเสริมสุขภาพ (Precede Proceed Model) 25

3 แสดงแนวคิดสัมพันธของการมีสวนรวม 26

(7)

Page 14: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee
Page 15: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

บทที่ 1บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

โรคไขเลือดออก (Dengue Haemorrhagic Fever) เปนสาเหตุของการเจ็บปวยและการตายของประชากรในหลายๆภูมิภาคของโลก เปนโรคติดตอที่เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี่ (Dengue virus)โดยมียุงลายเพศเมียเปนพาหะนําโรคจากผูที่ปวยเปนโรคไขเลือดออกไปสูคนอ่ืนๆ ในขณะกัดกินเลือด โดยธรรมชาติแลวกอนการดูดเลือด ยุงจะตองปลอยนํ้าลายเขาไปกอนตอนที่กัด เพื่อใหเลือดแข็งตัวชาจะไดดูดเลือดงายๆ และมากๆ ซึ่งถายุงเพศเมียที่มากัดมีเชื้อเดงกี่ระยะที่พรอมจะแพรโรคในตัว จะปลอยเชื้อน้ีจากตอมนํ้าลายเขาสูกระแสเลือดของเหยี่อดวย เชื้อไวรัสไขเลือดออกมี 4Serotypes ไดแก Serotypes 1, Serotypes 2, Serotypes 3 และ Serotypes 4 ทั้ง 4 Serotypes อาการของโรคไขเลือดออกมีอาการได 3 แบบคือ ไขเด็งกี่ (classical dengue fever) ไขเลือดออก (DengueHaemorrhagic Fever) และไขเลือดออกที่มีอาการชอก (Dengue Haemorrhagic shock syndrome)โดยอยางหลังจะมีอาการมากและอันตรายที่สุดเพราะทําใหเสียชีวิตไดในเด็กที่มีรางกายแข็งแรงเมื่อติดเชื้อคร้ังแรกมักจะไมมีอาการหรือมีอาการไมรุนแรง เด็กจะสรางภูมิคุมกันตอเชื้อชนิ ดน้ันไวเทาน้ัน แตเมื่อใดก็ตามที่ไดรับเชื้ออีกคร้ังและเปนคนละชนิดกันอาการปวยคร้ังที่ 2 น้ีมักจะรุนแรงอาจมีอันตรายถึงชีวิตได (สํานักควบคุมโรคติดตอ , 2553: 11)

โรคไขเลือดออกน้ีจัดไดวาเปนปญหาสาธารณสุขระดับโลก เน่ืองจากเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดอัตราปวยมากในแตละปในแทบทุกสวนของโลก โดยเฉพาะประเทศในเขตรอนชื้น โรคน้ีมีการระบาดเพิ่มมากขึ้นเร่ือยๆอยางเห็นไดชัดในระยะเวลา 10 ปที่ผานมา แมจะเปนโรคประจําถิ่นของของกวา 100 ประเทศในแถบแอฟริกา อเมริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต ต้ังแตป พ.ศ.2496-2507 ในรายงานคร้ังแรกพบการระบาดที่เมืองปตตาเวีย ในหมูเกาะชวา เมืองไคโรและเมืองอเล็กซานเดรียประเทศอิยิปตในป พ.ศ.2322 ที่เมืองฟลาเดลเฟย ประเทศสหรัฐอเมริกาในป พ.ศ.2323 แถบยุโรประบาดในป พ.ศ.2327 ประเทศเปรูระบาดในปพ.ศ.2395 เชนเดียวกับที่เกาะฮิติและหมูเกาะทะเลใตระบาดที่ทวีปแอฟริกาป พ.ศ.2419 และที่เกาะฮองกงพบป พ.ศ.2428 รายงานการเกิดในทวีปออสเตรเลียป พ.ศ.2441 และที่ประเทศกรีกป พ.ศ.2492 (กรมควบคุมโรคติดตอ, 2545: 1)สําหรับในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียแปซิฟคตอนใต มีการระบาดคร้ังแรกของประเทศตางดังน้ีประเทศฟลิปปนสป พ.ศ.2497 ประเทศไทยที่กรุงเทพมหานครมีรายงานการระบาดป พ.ศ.2501ประเทศสิงคโปรและเวียดนามใตพบป พ.ศ.2503 ประเทศกัมพูชาพบป พ.ศ.2504 ประเทศมาเลเชีย

Page 16: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

2

(เกาะปนัง) และลาวพบป พ.ศ.2505 ประเทศพมาที่กรุงรางกุงพบป พ.ศ.2507 และประเทศอินโดนีเชียพบป พ.ศ.2511 นับเปนปญหาสาธารณสุขในภูมิภาคน้ีในปจจุบัน (กรมควบคุมโรคติดตอ, 2545: 1)

สําหรับประเทศไทยโรคที่เกิดจากแมลงเปนตัวนํา คือโรคไขเลือดออก เปนโรคที่มีผูปวยเปนอันดับสองรองจากโรคมาลาเรีย การระบาดของโรคไขเลือดออกคร้ังแรกสุดไมปรากฏแนชัด เร่ิมจะมีการศึกษาหลังจากมีการระบาดของโรคไขเลือดออกในป พ.ศ.2501 จากการพบผูปวยในประเทศไทยจํานวนประมาณ 1,500 รายในปพ.ศ.2492 ซึ่งพบอัตราปวยตายสูงเฉลี่ยสูงถึงรอยละ 17 เน่ืองจากยังไมทราบสาเหตุ อาการ และความรุนแรงของโรคน้ี (กรมควบคุมโรคติดตอ, 2544: 7) ตอนแรกเขาใจวาเปนโรคไขหวัดใหญที่มีอาการรุนแรงซึ่งมีอาการเลือดออกรวม ในปพ.ศ.2501 เกิดโรคไขเลือดออกระบาดคร้ังใหญ ที่กรุงเทพมหานคร ในระยะ 5 ปถัดจากน้ัน ก็มีรายงานผูปวยโรคไขเลือดออกทุกป ซึ่งสวนใหญอาศัยอยูในกรุงเทพมหานครและธนบุรี การระบาดเปนแบบปหน่ึงสูงและถัดมาตํ่าลงหลังจากน้ันโรคไขเลือดออกไดกระจายไปตามตางจังหวัดตางๆ โดยเฉพาะที่เปนหัวเมืองใหญ มีประชากรหนาแนนและการคมนาคมสะดวก ในปจจุบันโรคไขเลือดออกแพรกระจายอยางรวดเร็วและมีผูปวยจากทุกจังหวัดของประเทศไทยและรูปแบบการระบาดก็ไดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เปนแบบปเวนปมาเปนสูง 2 ปแลวตํ่าลง หรือตํ่าลง 2 ปแลวเพิ่มสูงขึ้น

จากอัตราปวย อัตราตาย และอัตราปวยตายดวยโรคไขเลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานครเปรียบเทียบกับสถานการณไขเลือดออกทั้งประเทศ ระหวางป พ .ศ.2555–2560 (กองควบคุมโรคติดตอ, 2560: 11 ) ดังรายละเอียดในตารางพอจะสรุปไดวา ชวงระยะเวลา 6 ป โรคไขเลือดออกมีรูปแบบของการระบาดเปนแบบไมแนนอน คือมีการระบาดเกิดขึ้นเปนปเวนปหรือเวนสองป แนวโนนอัตราปวยตอประชากรแสนคนในชวง 6 ปที่ผานมามีการบันทึกรายงานจํานวนผูปวยสะสมทั้งประเทศจํานวนทั้งหมด 515,612 ราย จํานวนตายสะสม 19 ราย อัตราปวยตอแสนประชากรของผูปวยโรคไขเลือดออก พ.ศ.2555–2560 เทากับ 119.53, 234.81, 64.23, 213.12, 97.71 และ 68.67เมื่อพิจารณาการระบาดของโรคไขเลือดออกในชวงเวลาดังกลาว พบการระบาดของโรคไขเลือดออกอยางรุนแรง 2 คร้ัง คือในป พ.ศ.2556 และ 2558 โดยในป พ.ศ.2556 มีจํานวนผูปวย 150,454 ราย (อัตราปวย 234.41 ตอแสนประชากร) เสียชีวิต 133 ราย ในป พ.ศ.2558 มีจํานวนผูปวย 138,794 ราย (อัตราปวย213.12 ตอแสนประชากร) เสียชีวิต 139 ราย

ในขณะที่ผูปวยดวยโรคไขเลือดออกมีแนวโนมสูงขึ้น กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข และกรุงเทพมหานคร ก็ไดพยายามสนับสนุนการดําเนินงานควบคุมโรคน้ีดวยกลวิธีตางๆรวมทั้งการควบคุมแหลงเพาะพันธุยุง และการพนสารเคมีกําจัดยุงตัวเต็มวัยแตการควบคุมก็ไมยังไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร ตามตาราง

Page 17: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

3

ตาราง อัตราปวยดวยโรคไขเลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานครเปรียบเทียบกับสถานการณไขเลือดออกทั้งประเทศ ระหวางป พ.ศ.2555–2560

รวมทั้งประเทศ กรุงเทพมหานครป

พ.ศ. จํานวนปวย(คน)

จํานวนตาย(คน)

อัตราปวยตอแสนประชากร

จํานวนปวย(คน)

จํานวนตาย(คน)

อัตราปวยตอแสน

ประชากร2555 76,351 82 119.53 10,081 7 177.682556 150,454 133 234.81 15,046 2 265.202557 41,155 48 64.23 5,582 ไมมี 98.062558 138,794 139 213.12 27,326 4 0.012559 63,931 64 97.71 7,807 4 0.012560 44,927 56 68.67 7,293 2 128.25

ท่ีมา: กลุมงานระบาดวิทยา สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรมควบคุมโรค

จากรายงานสถานการณโรคไขเลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของกองควบคุมโรคติดตอสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร (ต้ังแตวันที่1 มกราคม-วันที่ 31กรกฎาคม 2560) มีผูปวยโรคไขเลือดออกในกรุงเทพมหานคร ทั้งสิ้น จํานวน 7,293 ราย อัตราปวย 128.25 ตอประชากรแสนคนเสียชีวิต 2 ราย อัตราปวยตายรอยละ 0.03 กลุมอายุที่พบอัตราปวยสูงสุดคือ อายุระหวาง 10-14 ป(จํานวนผูปวย 941 ราย อัตราปวย 294.63) รองลงมาคือ กลุมอายุระหวาง 15-24ป (กองควบคุมโรคติดตอ สํานักอนามัย วันที่ 31 กรกฎาคม 2560)

สํานักงานเขตปอมปราบศัตรูพาย เปนหน่ึงใน 50 เขต ของกรุงเทพมหานคร มีอัตราปวยดวยโรคไขเลือดออกอยูในลําดับที่ 23 ของกรุงเทพมหานคร มีจํานวนผูปวย 63 ราย อัตราปวย132.77 ตอประชากรแสนคน และมีความชุกของผูปวยสะสมจําแนกเปนรายแขวง อยูที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กลาวคือมีผูปวยจํานวน 30ราย อัตราปวย 305.90 ตอประชากรแสนคน ขอมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2560 (กองควบคุมโรคติดตอ สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร) จากสถิติการเกิดโรคไขเลือดออกในพื้นที่เขตปอมปราบศัตรูพาย จะเห็นวายังมีการดูแลตนเองของประชาชนจึงมีความสําคัญยิ่งและเปนประเด็นใหผูศึกษาสนใจศึกษาถึงปจจัยที่มีความสัมพันธกับ

Page 18: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

4

พฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชน ทั้งน้ีเพื่อลดอัตราการปวยดวยโรคไขเลือดออก ลดแหลงเพาะพันธุยุงลายและเพื่อนําผลการศึกษาที่ไดไปใชเปนแนวทางพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ลดอัตราการปวยดวยโรคไขเลือดออกและใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

วัตถุประสงคของการวิจัยวัตถุประสงคท่ัวไปเพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของ

ประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานครวัตถุประสงคเฉพาะเพื่อศึกษาประเด็นสําคัญดังตอไปน้ี1. พฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวง

วัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร2. ความสัมพันธระหวางปจจัยดานชีวสังคมกับพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกใน

ชุมชนแขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร3. ปจจัยที่มีความสัมพันธระหวางปจจัยนํา ปจจัยเอ้ือ ปจจัยเสริม กับพฤติกรรมการปองกัน

และควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพายกรุงเทพมหานคร

ขอบเขตการวิจัยการศึกษาคร้ังน้ีเปนการศึกษาเฉพาะพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก

ของประชาชนในพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

ประโยชนท่ีจะไดรับ1. ใชเปนแนวทางในการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส

เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร2. เปนขอมูลพื้นฐานในการวางแผนปรับเปลี่ยนกลยุทธในการดําเนินงานดานการปองกันและ

ควบคุมโรคไขเลือดออกแบบบูรณาการในพื้นที่เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร3. เปนแนวทางในการพัฒนางานการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกในพื้นที่เขต ปอม

ปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

Page 19: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

5

4. เปนแนวทางในการศึกษาพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในกรุงเทพมหานคร

ตัวแปรท่ีใชในการวิจัยตัวแปรตน (Independent variables) ไดแกปจจัยนํา ปจจัยเอ้ือ และปจจัยเสริมตัวแปรอธิบาย ไดแก ปจจัยชีวสังคม ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดของ

ครอบครัวเฉลี่ยตอเดือน ประสบการณการเจ็บปวยดวยโรคไขเลือดออก และชองทางการไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก

ตัวแปรตาม (Dependent variables) ไดแก พฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก

นิยามศัพทเฉพาะเพื่อใหการวิจัยคร้ังน้ีมีความเขาใจตรงกัน ผูวิจัยกําหนดนิยามศัพทที่เกี่ยวของ ดังน้ีการควบคุมโรคหมายถึง การสามารถควบคุมโรคไดภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากไดรับแจงวามี

ผูปวยดวยโรคไขเลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบการปองกัน หมายถึง การสามารถปองกันการแพรระบาดของโรคความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก หมายถึง การแสดงออกของประชาชน ในลักษณะของ

การมีความรูรูเร่ืองโรคไขเลือดออกเกี่ยวกับสาเหตุของโรค แมลงนําโรค การติดตอ อาการของโรคการรักษาพยาบาล การปองกันและการควบคุมโรคไขเลือดออก

ทัศนคติตอการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก หมายถึง การแสดงออกของประชาชนในลักษณะของความเชื่อ ความคิดเห็น ความรูสึกที่มีตอการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก

พฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออก หมายถึง การแสดงออกของประชาชนในลักษณะของการปฏิบัติตัวในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกใหแก ตนเอง ครอบครัว หรือชุมชนไมใหปวยเปนโรคไขเลือดออก

ประชาชน หมายถึง บุคคลที่อาศัยในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพายกรุงเทพมหานคร

โรคไขเลือดออก หมายถึง โรคติดตอที่เกิดจากเชื้อไวรัสเด็งกี่ (Dengue Virus) ที่มียุงลายเปนพาหะนําโรค

Page 20: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

6

ผูปวยโรคไขเลือดออก หมายถึง ประชาชนที่มีรายชื่อวาปวย/สงสัยวาปวยดวยโรคไขเลือดออกตามแบบรายงานผูปวย (รง.506) พื้นที่เขตปอมปราบศัตรูพาย และการรับแจงทางโทรศัพทจากประชาชนกรณีปวยดวยโรคไขเลือดออก

Page 21: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

บทที่ 2เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ

การวิจัยคร้ังน้ีเปนการศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในพื้นที่เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร (กรณีศึกษาพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย) โดยนําเสนอตามลําดับดังน้ี

1. บริบทพื้นที่เขตปอมปราบศัตรูพาย และพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพายกรุงเทพมหานคร

2. ความรูเกี่ยวกับของโรคไขเลือดออก3. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ

3.1 แนวคิดพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ (Health Promotion Behavior)3.2 รูปแบบความรูสุขภาพ (Knowledge Action Model)3.3 แบบแผนความเชื่อดานสุขภาพ (Health Belief Model)3.4 การสนับสนุนทางสังคม (Social Support)3.5 ทฤษฎี Precede Model (Precede Framework)

4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

1. บริบทพื้นท่ีเขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร (สํานักงานเขตปอมปราบศัตรูพาย, 2560)สภาพทั่วไปและขอมูลพื้นฐานของสํานักงานเขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

สํานักงานเขตปอมปราบศัตรูพาย มีเน้ือที่ทั้งหมด 1.93 ตารางกิโลเมตร แบงพื้นที่การปกครองเปน 5 แขวงประกอบดวย

1. แขวงปอมปราบ พื้นที่ 0.475 ตารางกิโลเมตร2. แขวงวัดโสมนัส พื้นที่ 0.445 ตารางกิโลเมตร3. แขวงคลองมหานาค พื้นที่ 0.355 ตารางกิโลเมตร4. แขวงวัดเทพศิรินทร พื้นที่ 0.340 ตารางกิโลเมตร5. แขวงบานบาตร พื้นที่ 0.305 ตารางกิโลเมตรภูมิประเทศเปนยานธุรกิจการคา มีความเกาแกทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร

Page 22: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

8

อาณาเขตติดตอทิศเหนือ จรดเขตดุสิตทิศใต จรดเขตสัมพันธวงศทิศตะวันออก จรดเขตปทุมวันทิศตะวันตก จรดเขตพระนคร

ประชากรจากขอมูลและสถิติประชากรตามทะเบียนราษฎรมีจํานวนประชากรรวมทั้งสิ้น 46,700 คน

แยกเปนชาย 22,830 คน หญิง 23,870 คน จํานวนครัวเรือน 19,628 ครัวเรือน (ขอมูลทั่วไป: ขอมูลจากสํานักทะเบียน เขตปอมปราบศัตรูพาย สืบคนเมื่อเดือนกรกฎาคม, 2560)

พื้นท่ีแขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานครขอมูลทั่วไป (ฝายพัฒนาชุมชน สํานักงานเขตปอมปราบศัตรูพาย กรกฎาคม 2560)แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร มีชุมชน 5 ชุมชน (จํานวน 890

หลังคาเรือนประชากร 4,079 คน)โรงเรียน 2 โรงเรียน วัด 2แหง สถานที่ราชการ 10 แหง ประเภทชุมชนเปนชุมชนแออัดใจกลางเมืองสวนใหญประกอบอาชีพรับจาง มีความแออัดดานที่อยูอาศัยปญหาดานสิ่งแวดลอม ขยะ ทอระบายนํ้าอุดตัน

2. ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก (ศิริเพ็ญ กัลปยาณรุจ และคณะ, 2556: 4-5)โรคไขเลือดออกที่พบในประเทศไทยและประเทศใกลเคียงในเอเชียอาคเนย เกิดจากเชื้อ

Dengue Virus ที่เรียกวา Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) ซึ่งนับวาเปนโรคที่เปนปญหาสําคัญทางดานการแพทยและสาธารณสุข เพราะมีจํานวนผูปวยในแตละปเปนจํานวนมากและผูปวยโรคไขเลือดออกอาจเกิดภาวะช็อกซึ่งอาจทําใหเสียชีวิตไดอยางรวดเร็ว ถาไมไดรับการวินิจฉัยและการดูแลรักษาอยางถูกตอง โรคไขเลือดออกนับวาเปนโรคที่เกิดใหม เมื่อประมาณ 40 ปมาน้ี โดยเร่ิมมีการระบาดคร้ังแรกที่ประเทศฟลิปปนสเมื่อ พ.ศ.2497 และระบาดในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.2501สวนใหญจะเปนเด็กอายุนอยกวา 6 ป ในผูใหญพบประปราย ลักษณะของโรคไขเลือดออกเปนโรคประจําถิ่นที่มีความรุนแรงของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต อาการเฉพาะคือมีความผิดปกติของการซึมผานของเหลวในกระแสเลือด มีความผิดปกติของกลไกการแข็งตัวของเลือดและมีปริมาณนอยลง สวนใหญพบในเด็ก สําหรับผูใหญที่มีอาการรุนแรงและเสียชีวิต จะมีภาวการณมีเลือดออกเปนพยาธิสภาพที่สําคัญ อาการปวยมี 2 ระยะ คือ มีไขเกิดขึ้นทันที ในเด็กมีอาการของทางเดิน

Page 23: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

9

หายใจตอนบนเล็กนอย มักเบื่ออาหาร หนาแดงและมีอาหารของทางเดินอาหารในชวงที่ไขลดลงผูปวยจะมีอาการทรุดลงทันที ออนเพลียมาก กระสับกระสาย หนาซีด มีเหงื่อออกมาก ปากเขียวแขนยาเย็น มีรอยจํ้าลายตามผิวหนา ชีพจรเตนเร็ว ออน ความดันเลือดตํ่าพรอมกับมีชวงความดันโลหิตแคบลงมักพบอาการเลือดออก ซึ่งรวมถึงจุดเลือดออกเล็กๆ กระจายอยูตามผิวหนัง โดยวัดความดันโลหิตดวยเคร่ืองวัดรอบตนแขน จะใหผลบวกไดต้ังแต 2-3 วันแรกของโรค ผิวหนังเปนจํ้าช้ํางาย เลือดกําเออก มีเลือดออกที่รอยเจาะเลือด เปนผื่น และมีเลือดออกตามไรฟน มีเลือดออกในกระเพาะอาหารลําไส อาจเกิดหลังจากมีอาการช็อก อยูนาน อาจพบตับโตหลังมีภาวะความดันเลือดตํ่าต้ังแต 2 วัน ขึ้นไปมีปริมาณเลือดในรางกายลดลงดูจากการหาคาปริมาตรของเม็ดเลือดแดง(Hematocrit) ที่เพิ่มขึ้น 20 % ขึ้นไป และความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด โดยดูจากจํานวนเกล็ดเลือด (Platelet) ที่นอยกวา 100,000 ตอลูกบาศกมิลลิเมตร ทั้งหมดน้ีคือ สวนประกอบของการวินิจฉัยวาเปนโรคไขเลือดออกเดงกี่ แมวาไมมีอาการเลือดอออกก็ตาม การพบอาการดังกลาวขางตนรวมกับความดันชีพจน (Pulse Pressure) ตํ่าหรือนอยกวา 20 มิลลิเมตรปรอท หากมีอาการช็อก ใหวินิจฉัยวา Dengue Shock Syndrome: DSS ในผูปวยที่มีอาการของโรครุนแรงพบวา มีการสะสมของนํ้าในผนังชองทองปริมาณ Albumin (เปนโปรตีนชนิดหน่ึงที่สรางจากตับ) ใน Serum(เปนสวนของเหลวของเลือด) ตํ่า มีโปรตีนเปนตัวเรงปฏิกิริยาที่ตับ (Transaminases Enzyme) เพิ่มขึ้นระยะเวลาของการแข็งตัวของเลือดชาลง และพบวามีระดับของโปรตีน (C3 Complement Protein) ตํ่าหากไมไดรับการรักษาอยางถูกตองอัตราปวยตายจะสูงถึง 40-50% แตถาหากมีการรักษาถูกวิธี อัตราปวยตายควรจะนอยกวา 5% (กรมควบคุมโรคติดตอ, 2554: 5) จากการระบาดคร้ังใหญของเชื้อ DengueType 3 ในประเทศไทยและอินโดนีเซีย เมื่อทศวรรษที่ผานมาพบวาเด็กที่ปวยดวยโรคน้ีมีทั้งที่มีและไมมีอาการทางสมอง บางคนมีสภาวะเน้ือตับตายดวย

2.1 ยุงลายพาหะนําโรคไขเลือดออกยุงลายเปนพาหะนําโรคไขเลือดออกมีอยู 2 ชนิด คือ ยุงลายบาน (Aedes aegypti) เปนพาหะ

หลัก และยุงลายสวน (Aedes albopictus) เปนพาหะรองในวงจงชีวิตของยุงลาย ประกอบดวย 4 ระยะคือ ระยะไข ระยะตัวออน (ลูกนํ้า) ระยะดักแก (ตัวโมง) และระยะตัวเต็มวัย (ตัวยุง) ทั้ง 4 ระยะมีความแตกตางกันทั้งรูปรางลักษณะและการดํารงชีวิต

ระยะไข ไขยุงลายมีลักษณะรีคลายกระสวย เมื่อยุงลายวางไขออกมาใหมๆ จะมีสีขาวนวลตอมาจะเปนเปนสีนํ้าตาล และดําสนิทภายใน 24 ชั่วโมง

Page 24: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

10

ระยะลูกนํ้า ลูกนํ้าไมมีขา สวนอกมีขนาดใหญกวาสวนหัว สวนทองยาวเรียว ประกอบดวยปลอง 10 ปลอง มีทอหายใจบนปลองที่ 8 ใชในการหายใจ ทอหายใจของยุงลายสั้นกวาทอหายใจของยุงรําคาญ และมีกลุมขน 1 กลุมอยูบนทอหายใจ

ระยะตัวโมง ตัวโมงไมมีขา รูปรางคลายเคร่ืองหมายจุลภาค (,) มีอวัยวะใชในการหายใจ 1 คูอยูบนสวน Cephalothorax (สวนหัวรวมกับสวนอก)

แผนภาพท่ี 1 แสดงวงจรชีวิต และชีวนิสัยของยุงลาย แสดงภาพดังน้ีท่ีมา: สํานักงานควบคุมโรคไขเลือดออก, 2555

2.2 การติดตอ(สํานักงานควบคุมโรคไขเลือดออก, 2553: 1-2)โรคไขเลือดออกติดตอกันไดโดยมียุงลายบาน (Aedes aegypti) เปนพาหะนําโรคที่สําคัญ โดย

ยุงตัวเมียซึ่งกัดและดูดเลือดคนเปนอาหารจะกัดดูดเลือดผูปวย ซึ่งในระยะไขสูงจะเปนระยะที่มีไวรัสอยูในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเขาสูกระเพาะยุงเขาไปอยูในเซลลที่ผนังกระเพาะเพิ่มจํานวนมากขึ้นแลวออกมาจากเซลลผนังกระเพาะ เดินทางเขสูตอมนํ้าลายพรอมที่จะเขาสูคนที่ถูกกัดในคร้ังตอไป ซึ่งระยะฟกตัวในยุงน้ีประมาณ 8-12 วัน เมื่อยุงตัวน้ีไปกัดคนอ่ืนอีกก็ปลอยเชื้อไวรัสไปยังผูที่ถูกกัดได เมื่อเชื้อเขาสูรางกายคนและผานยะระยะฟกตัวนานประมาณ 5-8 วัน (สั้นที่สุด 3 วัน–นานที่สุด 15 วัน) ก็จะทําใหเกิดอาการของโรคได

Page 25: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

11

2.3 อาการของโรคไขเลือดออก (สํานักงานควบคุมโรคไขเลือดออก, 2545: 1-5)หลังจากไดรับเชื้อจากยุงประมาณ 5-8 วัน (ระยะฟกตัว) ผูปวยจะเร่ิมมีอาการของโรค ซึ่งมี

ความรุนแรงแตกตางกันได ต้ังแตมีอาการคลายไขเดงกี่ไปจนถึงมีอาการรุนแรงมาก ซึ่งอาจช็อกและถึงเสียชีวิตไดโรคไขเลือดออกมีอาการสําคัญที่เปนรูปแบบคอนขางเฉพาะ 4 ประการ เรียงตามลําดับการเกิดกอนหลัง ดังน้ี

1. อาการไข ผูปวยทุกรายจะมีไขสูงเกิดขึ้นอยางฉับพลัน สวนใหญไขสูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียส อาจสูงถึง 40-41 อาศาเซลเซียส ซึ่งบางรายอาจมีชักเกิดขึ้น โดยเฉพาะในเด็กที่เคยมีประวัติชักมากอนหรือในเด็กเล็กอายุนอยกวา 6 เดือน ผูปวยมักจะมีหนาแดง (Flushed Face) และเมื่อตรวจดูอาจพบคอแดง (Injected Pharynx) ได แตสวนใหญผูปวยจะไมมีอาการนํ้ามูกไหลหรืออาการไอ ซึ่งชวยในการวินิจฉัยแยกโรคจากโรคหัดในระยะแรกและโรคระบบทางเดินหายใจไดเด็กโตอาจบนปวดศีรษะ ปวดรอบกระบอกตา ในระยะไขน้ีอาการทางระบบทางเดินอาหารที่พบบอยคือ เบื่ออาหาร อาเจียน บางรายมีอาหารปวดทองรวมดวย ซึ่งในระยะแรดจะปวดทั่วๆ ไป และอาจปวดที่ชายโครงขวาในระยะที่มีตับโต ไขจะสูงลอยอยู 2-7 วัน ประมาณรอยละ 15 อาจมีไขสูงนานเกิน 7 วัน บางรายไขจะเปนแบบสองลักษณะคือ สูงๆ ตํ่าๆ ได อาจพบมีผื่นแดงจากการเปนไขและติดเชื้อ (Erythema) หรือเปนผื่นตุมแดงนูน (Maculopapula) ซึ่งมีลักษณะคลายผื่นของโรคหัดเยอรมัน (Rubella) ได

2. ภาวะช็อก ประมาณ 1 ใน 3 ของผูปวยโรคไขเลือดออกจะมีอาการรุนแรงมีภาวะการณไหลเวียนลมเหลวเกิดขึ้น เน่ืองจากมีการร่ัวของนํ้าเลือด (Plasma) ออกไปยังชองปอด/ชองทองมากเกิดภาวะช็อกจากปริมาตรของเลือดลดลง (Hypovolemic Shock) ซึ่งสวนใหญจะเกิดขึ้นพรอมๆ กับที่มีไขลดลงอยางรวดเร็วเวลาที่เกิดอาการช็อก จึงขึ้นอยูกับระยะเวลาที่มีไข อาจเกิดไดต้ังแตวันที่ 3ของโรค (ถามีไข 2 วัน) หรือเกิดวันที่ 8 ของโรค (ถามีไข 7 วัน) ผูปวยจะมีอาการเลวลง เร่ิมมีอาการมือเทาเย็นกระสับกระสาย ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตเปลี่ยนแปลงโดยมีความดันชีพจร (PulsePressure) แคบเทากับหรือนอยกวา 20 มิลลิเมตรปรอท (ปกติ 30-40 มิลลิเมตรปรอท) ผูปวยที่มีภาวะช็อกสวนใหญจะมีความรูสติ พูดรูเร่ือง อาจบนกระหายนํ้า บางรายอาจมีอาการปวดทองเกิดขึ้นอยางกะทันหันกอนเขาสูภาวะช็อก ซึ่งบางคร้ังอาจทําใหวินิจฉัยโรคผิดเป นภาวะทางศัลยกรรม ภาวะช็อกที่เกิดขึ้นจะมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ถาไมไดรับการรักษาผูปวยจะมีอาการทรุดลง รอบปากเขียว ผิวสีมวงๆ ตัวเย็นชืด ชีพจรและความดันวัดไมได ความรูสติเปลี่ยนไปและจะเสียชีวิตภายใน 12-24 ชั่วโมงหลังเร่ิมมีภาวะช็อก หากผูปวยไดรับการรักษาอาการช็อกอยางทันทวงทีและถูกตองกอนที่จะเขาสูระยะวัดความดันไมได (Profound Shock) สวนใหญจะฟนตัวไดอยางรวดเร็วในรายที่ไมรุนแรง เมื่อไขลดผูปวยจะมีมือเทาเย็นเล็กนอย รวมกับมีการเปลี่ยนแปลง

Page 26: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

12

ของชีพจรและความดันเลือด ซึ่งเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงในระบบการไหลเวียนเลือด เน่ืองจากการร่ัวของนํ้าเลือด (Plasma) ออกไป แตไมมากจนทําใหเกิดภาวะช็อก ผูปวยเหลาน้ีเมื่อใหการรักษาในชวยระยะสั้น ๆ ก็จะดีขึ้นอยางรวดเร็ว

2.4 การดูแลรักษา(องอาจ เจริญสุข 2548:9-14)ขณะน้ียังไมมียาตานไวรัสที่มีฤทธิ์เฉพาะสําหรับเชื้อไขเลือดออก การรักษาโรคน้ีเปนการ

รักษาตามอาการและประคับประคอง ซึ่งไดดีถาแพทยใหการวินิจฉัยโรคไดต้ังแตระยะแรก แพทยผูรักษาจะตองเขาใจธรรมชาติของโรคและใหการดูแลรักษาผูปวยอยางใกลชิด ตองมีการดูแลพยาบาล (Nursing Care) ที่ดีตลอดระยะเวลาวิกฤตประมาณ 24-48 ชั่วโมงที่มีการร่ัวของนํ้าเลือด(Plasma) ซึ่งการดูแลรักษาผูปวยมีหลักปฏิบัติดังตอไปน้ี

1. ระยะไขสูง บางรายอาจมีการชักไดถาไขสูงมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งเด็กที่มีประวัติเคยชักหรือในเด็กอายุนอยกวา 6 เดือน หากจําเปนตองใหยาลดไขควรใชยาลดไขชนิด Paracetamol หามใชยา Aspirin และ Ibuprofen เพราะอาจทําใหเกล็ดเลือดทํางานผิดปกติ และอาจระคายกระเพราะทําใหเลือดออกงาย และที่สําคัญอาจทําใหเกิดอาการทางสมอง (Reye Syndrome) ควรใชยาลดไขเปนคร้ังคราวเวลาที่ไขสูงเทาน้ัน เพื่อใหไขสูงมากลดลงตํ่ากวา 39 องศาเซลเซียส การใชยาลดไขมากเกินไปจะมีภาวะเปนพิษตอตับได ควรใชการเช็ดตัวลดไขรวมดวย แตยาลดไขไมสามารถทําใหระยะไขสั้นลงได

2. ติดตามดูอาการผูปวยอยางใกลชิด เพื่อจะไดตรวจพบและปองกันภาวะช็อกไดทันเวลาอาการช็อกจะเกิดขึ้นพรอมกับไขลดลง ประมาณต้ังแตวันที่ 3 ของการปวยเปนตนไป ทั้งน้ีแลวแตระยะเวลาที่เปนไข ถาไข 7 วันก็อาจช็อกวันที่ 8 ได ควรแนะนําใหผูปกครองทราบอาการนําของการช็อก ซึ่งอาจจะมีการเบื่ออาหารมากขึ้น ไมรับประทานอาหารหรือด่ืมนํ้านอย หรือถายปสสาวะนอยลง มีอาการปวดทองงายมาก กระสับกระสาย มือเทาเย็น ควรนําไปสงโรงพยาบาลทันทีที่มีอาการเหลาน้ี

ตามแนวทางองคกรอนามัยโลกน้ัน กลวิธีในการควบคุมและปองกันโรคไขเลือดออกมีหลายวิธี ซึ่งจะผสมผสานเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการปองกัน ดังน้ี

1. การควบคุมโดยกายภาพหรือการควบคุมโดยปรับปรุงสิ่งแวดลอม (Physical Control หรือEnviromnental Control) เปนการควบคุมแหลงเพาะพันธุยุงลายโดยไมใชสารเคมี ซึ่งเปนการควบคุมอยางถาวร โดยลดแหลงหรือกําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลาย เชน การลางภาชนะใสนํ้ากินนํ้าใชทุกสัปดาห คว่ําภาชนะที่ไมไดใช ซึ่งอาจมีนํ้าขัง การเปลี่ยนนํ้าในแจกันดอกไมหรือจานรองกระถางตนไมทุกสัปดาหการใสเกลือแกงประมาณ 2 ชอนชาหรือนํ้าสมสายชู 5% ในที่หลอนํ้ากันมด หรือเปลี่ยนจากการใชนํ้าหลอกันมดมาใชนํ้ามันเคร่ืองหรือขี้เถาแทน และกําจัดภาชนะที่ไมใชซึ่งอาจมีนํ้าขังได

Page 27: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

13

2. การควบคุมโดยใชสารเคมี (Chemical Control) เปนการควบคุมแหลงเพาะพันธุยุงลายโดยการใชสารเคมี เชน ใสทรายอะเบท (Abate 1%SG) ในภาชนะเก็บนํ้าด่ืม นํ้าใช อัตราสวน 1กรัมตอนํ้า 2 แกลลอน หรือทรายอะเบท 2 ชอนชา ตอนํ้า 140 ลิตร เมื่อทราย Abate เพียงคร้ังเดียวในภาชนะเก็บนํ้าใดก็ตาม แมจะใชนํ้าหรือใสนํ้าใหม ทราย Abate จะยังมีฤทธิ์ทําลายลูกนํ้าประมาณเดือนคร่ึงถึง 3 เดือน แตตองใสใหครอบคลุม 80-90% ของแหลงเพาะพันธุยุงลายที่มีอยู จึงจะสามารถควบคุมและปองกันการระบาดของโรคไขเลือดออกอยางมีคุณภาพ

3. การควบคุมโดยใชวิธีการทางชีววิทยา (Biological Control) เปนการควบคุมแหลงเพาะพันธุยุงลาย โดยการใชสิ่งมีชีวิตทําลายลูกนํ้า เชน การใชปลาหางนกยูง ปลากัด

4. การใหความรูเร่ืองโรคไขเลือดออก โดยเนนกลุมเปาหมาย เชน ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่ ผูปกครอง ครู นักเรียน เพื่อใหมีความรูในเร่ืองการควบคุมแหลงเพาะพันธุยุงลาย

5. การปองกันการถูกยุงกัด เชน นอนกางมุงโดยเฉพาะในเวลากลางวัน การใชยาทาปองกันยุงกัดเปนตน

สรุป ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกเปนความรูความเขาใจในเร่ืองโรคไขเลือดออกเกี่ยวกับสาเหตุของโรค แมลงนําโรค การติดตอ อาการของโรค การรักษาพยาบาล การปองกัน และการควบคุมโรคไขเลือดออก ทั้งน้ีเพื่อเปนแหลงขอมูลเบื้องตนในการคนหาผูปวยรายใหมและควบคุมการระบาดของโรคไดอยางรวดเร็ว โดยมีเปาหมายคือ ลดจํานวนผูปวยและไมมีผูเสียชีวิตจากโรคไขเลือดออก

3. แนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ1 แนวคิดพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ (อัจฉรา ปุราคม, 2553: 15)พฤติกรรม (Behavior) หมายถึง กิจกรรมตางๆที่บุคคลกระทํา หรืออาการที่แสดงออกทาง

กลามเน้ือ ความคิด ความรูสึก เพื่อตอบสนองสิ่งเรา สามารถแบงพฤติกรรมออกไดเปน 2 ประเภทคือ1) พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) หมายถึง การกระทํา การแสดงหรือการ

ตอบสนองที่สามารถสังเกตเห็นได ไดยินเสียงหรือวัดได สัมผัสไดหรืออาจใชเคร่ืองมือชวย2) พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่ไมสามารถสังเกต

หรือวัดไดโดยตรง เชน ความเขาใจ ความรูสึก การรับรู การคิด การตัดสินใจ เปนตน พฤติกรรมภายในเปนพฤติกรรมที่ไมสามารถสังเกตไดดวยประสามสัมผัส ตองสันนิษฐานจากพฤติกรรมภายนอก

Page 28: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

14

2. ประเภทของพฤติกรรมการปองกันโรคพฤติกรรมการปองกันโรค หมายถึง พฤติกรรมอนามัยอยางหน่ึงที่เกี่ยวกับการประพฤติ

ปฏิบัติของบุคคลที่จะชวยสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค ซึ่งเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตประจําวันตลอด 24 ชั่วโมง (ประภาเพ็ญ สุวรรณและสวิง สุวรรณ, 2539: 39) กลาววา พฤติกรรมการปองกันโรคคือ การปฏิบัติของบุคคลเพื่อไมใหโรคเกิดขึ้น ไดแก การออกกําลังกาย การรับประทานอาหารที่มีประโยชน การไมสูบบุหร่ี การคาดเข็มขัดนิรภัยเมื่อขับรถยนต เปนตน

เกษม นครเขตต (2550: 2 อางถึงในอัจฉรา ปุราคัม, 2553: 16) กลาววา พฤติกรรมการปองกันโรคเปนการดูแลตนเองในสภาวะปกติ เปนการดูแลตนเองเพื่อใหสุขภาพอนามัยของตนและสมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณเสมอ เปนพฤติกรรมที่ทําในขณะที่มีสุขภาพแข็งแรง มี 2 ลักษณะ คือ

1) การดูแลสงเสริมสุขภาพ (Healty Maintenace) คือ พฤติกรรมที่จะชวยรักษาสุขภาพใหแข็งแรง ปราศจากความเจ็บปวด สามารถดําเนินชีวิตอยางปกติสุข และพยายามหลีกเลี่ยงจากอันตรายตาง ๆ ที่จะสงผลตอสุขภาพ เชน การออกกําลังกาย การมีสุขวิทยาสวนบุคคลที่ดี การควบคุมอาหาร การไมด่ืมสุรา ไมสูบบุหร่ี การกินวิตามินตางๆ การตรวจสุขภาพฟนทุก 6 เดือน เปนตน เปนพฤติกรรมของประชาชนที่กระทําอยางสม่ําเสมอ ในขณะที่มีสุขภาพแข็งแรง

2) การปองกันโรค(Disease Prevention) เปนพฤติกรรมที่กระทําโดยมุงที่จะปองกันไมใหเกิดความเจ็บปวยหรือโรคตางๆ โดยแบงระดับการปองกันได 3 ระดับ คือ การปองกันการเกิดโรค การปองกันการดําเนินของโรค และการปองกันการเกิดภาวะแทรกซอนของโรค

ดังน้ัน สรุปไดวาพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกเปนการปฏิบัติของประชาชนทุกคนที่ตองชวยกันปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกใหแกตนเอง ครอบครัว หรือชุมชนไมใหเกิดการเจ็บปวยดวยโรคไขเลือดออก

3 ทฤษฏีแบบแผนความเชื่อเร่ืองสุขภาพ (Health Belief Model)แบบแผนความเชื่อดานสุขภาพ ไดพัฒนาขึ้นเพื่อที่จะทําความเขาใจพฤติกรรมการปฏิบัติของ

มนุษยเร่ืองสุขภาพอนามัย (อุษณีย แขวงอินทร, 2547: 5) แบบแผนความเชื่อน้ีจะคํานึงถึงปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมของบุคคล โดยที่ความเชื่อดานสุขภาพเร่ืองสุขภาพอนามัย แบบแผนความเชื่อน้ีจะคํานึงถึงปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมของบุคคล โดยที่ความเชื่อดานสุขภาพเปนความเชื่อของบุคคลเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคลซึ่งมีอิทธิพลตอการเจ็บปวยและการรักษา เมื่อมีการเจ็บปวยเกิดขึ้นบุคคลจะมีการปฏิบัติที่แตกตางกันออกไป ขึ้นอยูกับองคประกอบหลายๆ อยาง ไดแก ความรูเกี่ยวกับสาเหตุของโรค อาการของโรค วีการรักษา การรับรูโอกาสเสี่ยงตอความรุนแรงของโรค

Page 29: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

15

ความเชื่อเดิม ความสนใจ คานิยม การไดรับการเอาใจใส การนําความรูทางสุขภาพมาเปนองคประกอบสําคัญของทฤษฏีแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพ ไดพัฒนามาจากการศึกษาปรากฏการณของทฤษฏีสนามแหงชีวิตของ Kurt Lewin

Rosenstock (1974: 9-10) เปนผูริเร่ิมนํารูปแบบเจตคติดานสุขภาพมาใชในการปองกันโรคของบุคคลโดยเชื่อวาการรับรูของบุคคลเปนตัวบงชี้พฤติกรรม บุคคลจะกระทําหรือเขาใกลสิ่งที่ตนพอใจ เชื่อวาสิ่งน้ันจะทําใหเกิดผลดีแกตน และจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ตนไมปรารถนา องคประกอบที่Rosenstock กลาวไวในรูปแบบเจตคติดานสุขภาพ คือ การที่บุคคลใดจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงจากการเปนโรค บุคคลน้ันจะตองมีเจตคติที่วาเขามีโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรค และโรคน้ันมีความรุนแรงตอชีวิตพอสมควร

Becker และ Maiman (1978: 12-15) ไดเสนอวา องคประกอบของรูปแบบความเชื่อดานสุขภาพน้ันสามารถอธิบายไดถึงความตองการที่จะยินยอมรับการรักษาและจากความต้ังใจอันเน่ืองมาจากแรงจูงใจทางสุขภาพอนามัย ซึ่งสรุปไดวาบุคคลน้ันยอมรับเกี่ยวกับสุขภาพทั่วไปและยอมรับในการบําบัดรักษา ซึ่งการยอมรับน้ันเกิดจาการมีสิ่งสนับสนุนทั้งภายในตัวเขาและภายนอกตัวเขาดวย ในสวนของการยอมรับรูปแบบความเชื่อทางดานสุขภาพที่ใชเปนหลักในการทํานายพฤติกรรมจะตองใหสอดคลองกับความเปนจริงที่บุคคลน้ันจะรับรูไดไมยาก จึงทําใหเกิดการยอมรับในพฤติกรรมน้ัน ควรจะตองมีการวางแผนใหตรงจุดประสงค และในการวัดการประเมินตองใชการวัดจํานวนมากๆ ซึ่งสวนใหญในองคประกอบของความเชื่อดานสุขภาพอยูที่การรับรูของบุคคลที่ตองการจะวัดพฤติกรรม โดยสรุปองคประกอบของรูปแบบความเชื่อดานสุขภาพน้ัน สามารถแยกเปนลําดับขอ ดังน้ี

1. การรับรูในโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค (Perceived Susceptibility) เปนการรับรูในระดับที่แตกตางกันของบุคคลที่จะรับรูวา คนมีโอกาสเสี่ยงที่จะเจ็บปวยเปนโรคตางๆ โดยที่บางคร้ังบุคคลอาจจะรูสึกเพิกเฉยไมรับรูวามีโอกาสที่จะติดโรคน้ัน การรับรูน้ีมีความแตกตางกันออกไปในแตละบุคคล บางคนมีการรับรูเน่ืองจากมีความเชื่อในระดับปานกลางหรือมีความเชื่อในระดับสูง จึงทําใหหลีกเลี่ยงการเปนโรค โดยการปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพในระดับที่แตกตางกัน ดังน้ันในการวัดการรับรูโอกาสเสี่ยงจึงวัดจากความเชื่อทั้ง 3 ทาง คือ

1.1 ความเชื่อที่มีตอการวินิจฉัยโรค ผูปวยอาจไมเชื่อการวินิจฉัยโรค ขอสรูปของแพทยซึ่งทําใหการรับรูตอโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคผิดไป

1.2 การคาดคะเนของบุคคลถึงโอกาสการกลับเปนซ้ําหรือเกิดอาการของโรคอีก

Page 30: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

16

1.3 ความรูสึกของบุคคลตอโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคแทรกซอนอ่ืน ๆ หรือความเจ็บปวยโดยทั่วไป

2. การรับรูในความรุนแรงของโรค (Perceived Severity) เปนการประเมินการรับรูความรุนแรงของโรคที่มีตอรางกาย ซึ่งกอใหเกิดความพิการ เสียชีวิต ความลําบาก การเสียเวลา เปนตน การประเมินความรุนแรงน้ันอาศัยระดับตางๆ ของการกระตุนเราทางอารมณ (Emotional Arousall) ที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลคิดเกี่ยวกับโรคน้ัน ซึ่งอาจจะมองปญหาสุขภาพในแงที่โรคน้ันจะนําไปสูความตายไดหรือไมหรืออาจจะมีผลไปลดระบบการทํางานทั้งทางรางกายและจิตใจหรือไมเพียงใด หรือ โรคน้ันจะนําไปสูภาวะความพิการในลักษณะถาวรหรือไม เมื่อบุคคลเกิดความรูถึงความรุนแรงของโรคแลว จะมีผลทําใหบุคคลน้ันปฏิบัติตามคําแนะนําในการปองกันหรือรักษาโรคน้ันเพื่อไมใหเปนโรคขึ้นอีกได อยางไรก็ตามในการประเมินผลการรักษาตามความรุนแรงของโรคน้ัน อาจจะไมสามารถทํานายความสัมพันธในการรับรูถึงความรุนแรงของโรคของผูปวยที่ไดรับการรักษาได การจะวัดวาบุคคลน้ันรับรูวาโรคน้ันมีความรุนแรงหรือไมตองดูจากพฤติกรรมของเขาวาเขาแสดงพฤติกรรมในการปองกันโรคหรือรักษาโรคไดถูกตองหรือไม

3. การรับรูประโยชนของการปฏิบัติ (Perceived Benefits) การรับรูที่มีผลมาจากความเชื่อวาวิธีดังกลาวเปนทางออกที่ดีกอใหเกิดผลดีมีประโยชน และเหมาะสมที่สุดที่จะลดภาวะเจ็บปวยที่กําลังคุกคามตอสุขภาพ การตัดสินใจที่จะปฏิบัติตามคําแนะนําก็ขึ้นอยูกับการเปรียบเทียบถึงขอดีขอเสียของพฤติกรรมน้ัน โดยเลือกปฏิบัติในสิ่งที่ทําใหเกิดผลดีมากกวาผลเสีย

4. การรับรูอุปสรรคของการปฏิบัติ (Perceived Barriers) เปนการคาดการณลวงหนาของบุคคลตอการปฏิบัติพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับสุขภาพอนามัยในทางลบ ซึ่งอาจไดแก คาใชจายราคาแพงความไมสะดวก ความอาย ฉะน้ัน การตัดสินใจที่จะปฏิบัติในสิ่งที่แพทยแนะนําหรือไมน้ันจะขึ้นกับการชั่งนํ้าหนักขอดี ขอเสียของพฤติกรรมดังกลาว โดยบุคคลที่เลือกปฏิบัติในสิ่งที่เชื่อวามีผลดีมากกวาผลเสีย แนวคิดของแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพ โดยสรุปไดอธิบายพฤติกรรมของบุคคลในการที่จะปฏิบัติเพื่อการปองกันโรคและการรักษาโรควาบุคคลจะตองมีการรับรูตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค รับรูตอความรุนแรงของโรค ซึ่งการรับรูน้ีจะผลักดันใหบุคคลหลีกเลี่ยงจากภาวะคุกคามของโรค โดยการเลือกวิธีปฏิบัติที่คิดวาเปนทางออกที่ดีที่สุดดวยการเปรียบเทียบประโยชนที่จะไดรับการปฏิบัติกับผลเสีย คาใชจายหรืออุปสรรคที่จะเกิดขึ้น นอกจากแรงจูงใจดานสุขภาพและปจจัยรวมอ่ืน ๆ เชน ตัวแปรดานประชากร โครงสรางปฏิสัมพันธและสิ่งชักนําสูการปฏิบัติ นับเปนปจจัยที่มีผลตอการปฏิบัติสุขภาพของบุคคลน้ัน ๆ ดวย

Page 31: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

17

4. ทฤษฏีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory)ในป ค.ศ.1977 Kaplan, Cassel และ Gore เปนผูคนคิดทฤษฎีน้ี โดยมีแนวคิดหลัก (Key Concept)

วาแรงสนับสนุนทางสังคมคือ สิ่งที่ผูไดรับจากผูใหการสนับสนุน ไดแก ขอมูลขาวสารวัตถุสิ่งของรวมทั้งการสนับสนุนทางอารมณและจิตใจจากบุคคล กลุมบุคคล เพื่อชวยในการแกปญหาทําใหบุคคลมีพฤติกรรมไปในทิศทางที่ผูรับตองการ โดยมีการแบงแรงสนับสนุนทางสังคมออกเปน 4 แบบ คือ(Kaplan, Cassel and Gore, 1977: 35)

1) การสนับสนุนทางอารมณ (Emotional Support) เชน การใหความพอใจ การยอมรับนับถือ การแสดงความหวงใย การกระตุนเตือน และการไปเยี่ยมเยียนดวยความจริงใจ

2) การสนับสนุนในการใหประเมินผล (Appraisal Support) เชน การใหขอมูลยอนกลับตอการกระทํา การเห็นพองหรือคํารับรองถึงผลอการปฏิบัติ รวมถึงการสนับสนุนอาจเปนการชวยเหลือโดยตรงหรือโดยออมก็ได

3) การสนับสนุนดานขอมูลขาวสาร (Information Support) เชน การใหคําแนะนําตักเตือนการใหคําปรึกษา และการใหขาวสาร

4) การสนับสนุนดานเคร่ืองมือ (Instrumental Support) เชนใหแรงงาน ใหเงิน ใหเวลา ฯลฯ

5. แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติหรือเจตคติ(Attitude)ความหมายของเจตคติชุดา จิตติพิทักษ (2532: 12-14) ใหความเห็นวา เจตคติหรือทัศนคติมีความเกี่ยวของกับ

พฤติกรรมบุคคลกลาวคือ เจตคติเปนแนวโนมหรือขั้นเตรียมความพรอมของพฤติกรรมหรือเปนการตอบสนองตอสิ่งเราทางใจ

สรุปไดวาเจตคติคือ การแสดงออกของความรูสึกชอบหรือไมชอบ หรือความนึกคิดออกมาในทางบวกหรือทางลบ ขึ้นอยูกับพื้นฐานความเชื่อและประสบการณตางๆ ของแตละบุคคลที่ไดรับ

เจตคติ เปนการตระเตรียมความพรอมในการตอบสนองสิ่งเราที่เปนการเตรียมความพรอมภายในของจิตใจมากกวาภายนอกที่จะสังเกตได สภาวะความพรอมที่ตอบสนองมีลักษณะที่ซับซอน และของบุคคลที่ชอบหรือไมชอบ ยอมรับหรือไมยอมรับ และอาจเกี่ยวเน่ืองกับอารมณดวย เปนสิ่งที่ไมสามารถอธิบายไดเพราะบางคร้ังไมมีเหตุผล

เจตคติมีทิศทางของการประเมิน ทิศทางของการประเมินคือ ลักษณะความรูของอารมณที่เกิดขึ้น ถาเปนความรูสึกหรือการประเมินวาชอบพอใจ เห็นดวยก็คือ ทิศทางในทางที่ดี เรียกวาเปนทิศทางในทางบวก และถาประเมินออกมาในทางที่ไมดี เชน ไมชอบ ไมพอใจ ก็มีทิศทางในทางลบเจตคติทางลบไมไดหมายความวาไมควรมีเจตคติน้ัน แตเปนเพียงความรูสึกในทางที่ไมดี เชน เจต

Page 32: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

18

คติในทางลบตอการคดโกง ตอการเลนการพนัน การมีเจตคติทางบวกก็ไมไดหมายถึงเจตคติที่ดีและพึงปรารถนา เชน เจตคติทางบวกตอการโกหก การสูบบุหร่ี เปนตน

องคประกอบดานความรูหรืออารมณ (Affective Component) หมายถึง ดานความรูสึกหรืออารมณของบุคคลที่มีความสัมพันธกับสิ่งเรา ตางเปนผลตอเน่ืองมาจากการที่บุคคลประเมินผลสิ่งเราน้ันแลววาพอใจหรือไมพอใจ ตองการหรือไมตองการ ดีหรือเลว

องคประกอบพฤติกรรม (Behavioral Component) หมายถึง ดานความพรอมหรือความโนมเอียงที่บุคคลจะประพฤติปฏิบัติ หรือตอบสนองตอสิ่งเราในทิศทางที่จะสนับสนุนหรือคัดคาน ทั้งน้ีขึ้นอยูกับความเชื่อหรือความรูสึกของบุคคลที่ไดรับจากการประเมินผลพฤติกรรมที่คิดจะแสดงออกมาซึ่งจะสอดคลองกับความรูสึกที่มีอยู

ปจจัยท่ีกอใหเกิดทัศนคติหรือเจตคติ (Attitude)กระบวนการเรียนรูที่บุคคลได รับโดยการอบรมสั่งสอนในรูปแบบสังคมประกิต

(Socialization) จากโรงเรียนบาน วัด จากสถาบันหรือแหลงชุมชนอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของกับประเพณีความเชื่อตางๆ ก็ตาม ความรูสึกที่ไดรับน้ันจะกอใหเกิดรูปแบบของเจตคติใหมขึ้นไดทั้งน้ัน

การเลียนแบบ หรือการทําอยางบุคคลอ่ืนที่มีอิทธิพลตอเราโดยตรง เชน พอ แม ผูปกครองหรือครูอาจารย ที่เรานิยมชมชอบ เปนสิ่งหน่ึงที่สามารถเปลี่ยนแปลงเจตคติของเราใหคลอยตามได

อิทธิพลของกลุมที่เรารวมอยู ความคิดเห็นของสมาชิกขางมากสามารถจูงใจใหเปลี่ยนเจตคติตามไปได

หลักการวัดเจตคติตองยอมรับขอตกลงเบื้องตน (Basic Assumption) เกี่ยวกับการวัดเจตคติ คือ- ความคิดเห็นความรูสึกหรือเจคติของบุคคลน้ันจะมีลักษณะคงที่อยูชวงหน่ึง- เจคติของบุคคลไมสามารถวัดหรือสังเกตไดโดยตรง การวัดจะเปนแบบวัดทางออมโดย

วัดจากแนวโนมที่บุคคลจะแสดงออกหรือประพฤติอยางสม่ําเสมอ- เจตคติ นอกจากจะแสดงออกในรูปทิศทางของความเห็นความรูสึกยังมีขนาดหรือปริมาณ

ของความคิดความรูสึกน้ันดวย- การวัดเจตคติดวยวิธีใดก็ตามตองมีองคประกอบ 3 อยาง ไดแก ตัวบุคคลที่จะวัดสิ่งเรา

และมีการตอบสนอง

Page 33: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

19

- สิ่งเราที่นิยมใชคือ ขอความวัดเจตคติ (Attitude Statement) ซึ่งเปนสิ่งเราทางภาษาที่ใชอธิบายถึงคุณคา ลักษณะของสิ่งน้ัน เพื่อใหบุคคลตอบสนองออกมาเปนระดับความรูสึก (AttitudeContinuum หรือ Scale) เชน มาก ปานกลาง นอย

- การวัดเจตคติเปนการสรุปผลการตอบสนองของบุคคล จึงจําเปนที่การวัดน้ันจะตองครอบคลุมลักษณะตาง ๆ ครบถวนทุกลักษณะ

- การวัดเจตคติจะตองคํานึงถึงความเที่ยงตรงของการวัดเปนพิเศษ

มาตรวัดของเจตคติเคร่ืองมือที่ใชวัดเจตคติเรียกวา มาตรวัดเจตคติแบบประเมินคา (Rating Scale) มาตรวัดเจต

คติแบงออกเปน 2 สวน คือ สวนที่เปนขอความเจตคติ (Attitude Statement) กับสวนที่เปนคําตอบการวัดเจตคติมีมาตรวัดที่นิยมใช 4 วิธี (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2546) คือ

- มาตรวัดของ Thurstone (Thurstone’s Scale) เปนวิธีสรางมาตรวัดเจตคติออกเปนปริมาณแลวเปรียบเทียบตําแหนงของเจตคติไปในทางเดียวกันมีชวงหางเทาๆ กัน

- มาตรวัดของ Likert (Likert’s Scale) เปนวิธีสรางมาตรวัดเจตคติที่นิยมแพรหลาย สรางไดงายประหยัดเวลา ผูตอบแสดงเจตคติในทางที่ชอบ หรือไมชอบ โดยจัดอันดับความชอบหรือไมชอบ

- มาตรวัดของ Guttman (Guttman’s Scale) เปนวิธีวัดเจตคติไปในทางเดียวกันและจัดอันดับขอความเจตคติสูงตํ่าเปรียบเทียบกันและกันได และสามารถแสดงถึงการสะสมของขอความแสดงความคิดเห็น

- วิธีจําแนกแบบ S-D Scale เปนวิธีการวัดเจตคติโดยอาศัยคูคุณศัพทที่มีความหมายตรงกันขาม เชน เลว-ดี ขยัน-ขี้เกียจ

6. แนวคิดเกี่ยวกับหลักและวิธีสุขศึกษา หลักการสุขศึกษา เปนกระบวนการที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพมีกิจกรรมเปนระบบและสม่ําเสมอ เพื่อใ หมีพฤติกรรม

สุขภาพที่ดี ไดแก พฤติกรรมรักษาสิ่งแวดลอมทางสังคมและพฤติกรรมสุขภาพที่จําเปนตองกระตุนใหมีการเรียนรูและตระหนักถึงสภาพแวดลอมทางสังคมที่กอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพจําเปนตองกระตุนใหมีการเรียนรูและตระหนักถึงสภาพแวดลอมทางสังคมที่กอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพเปนการชวยใหเกิดความรูความเขาใจมากขึ้นการใหสุขศึกษาเปนเร่ืองที่มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตและการนําไปใชในชีวิตประจําวันเปนอยางมากเปนวิชาที่มุงใหรูจักการปองกันโรคตางๆ รวมถึงการสงเสริมสุขภาพทั้งทางรางกายและจิตใจ ถาไดรับการเรียนรูอยางถูกตองจะชว ยใหผูเรียนมีทักษะมีสมาธิเกิดการสังเกต รูจักคิด ตามลําดับอยางมีเหตุผลกอใหเกิดความมั่นใจ เกิดความคิดริเร่ิม

Page 34: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

20

สรางสรรค มีความรูสึกนึกคิด อยางมีระบบระเบียบ ประณีต แมนยําและรวดเร็ว การมีเจตคติที่ดีและทราบถึงความสําคัญของสุขศึกษาจําทําใหสามารถนําไปใช ในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตองเหมาะสมและทันเหตุการณในโลกยุคโลกาภิวัฒนน้ี

หลักการดําเนินงานสุขศึกษาปจจุบันเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผูจัดกิจกรรมสุขศึกษาจะตองมีหลักการที่ชัดเจนและยึดผูรับบริการเปนศูนยกลางโดยมีแนวทางการดําเนินงาน (พรศักด์ิสําราญร่ืน, 2553: 44) ดังน้ี

1. สงเสริมใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยยึดหลัก1.1 ทําใหผูรับสุขศึกษารูวายอมรับวาตระหนักวามีปญหา1.2 ทําใหผูรับสุขศึกษาเกิดแรงจูงใจวาควรจะเปลี่ยนแปลง1.3 ทําใหผูรับสุขศึกษามีความรูสึกเชื่อมั่นวาเขาเปลี่ยนพฤติกรรมได

2. หลักการเปลี่ยนพฤติกรรมแบบงายๆผูจัดกิจกรรมสุขศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนํามาประยุกตใชไดเสมอ คือการลดแรงกดดันหรือแรงตานทาน

3. การใชเทคนิคการเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ ไดแก3.1 การพูดคุยกับกลุมเปาหมายโดยการรับฟงปญหาของเขา3.2 วิเคราะหพฤติกรรมที่เปนสาเหตุและกําหนดพฤติกรรมที่ชวยแกปญหา3.3 ชี้แจงเหตุผลในการทําพฤติกรรมของกลุมเปาหมาย3.4 พยายามชวยกลุมเปาหมาย มองเห็นเหตุผลที่จะทําพฤติกรรมน้ันๆ3.5 ศึกษาความคิดของกลุมเปาหมายในการแกปญหาน้ันๆ3.6 ชวยกลุมเปาหมายในการสํารวจความคิดในการแกปญหาของเขาและสามารถหยั่ง

เห็นปญหาวิธีการที่เปนประโยชนและมีความเปนไปไดมากที่สุดในการแกปญหา3.7 สนับสนุนกลุมเปาหมายในการเลือกความคิดที่ ดีที่สุดและเหมาะสมกับ

สถานการณ

7 แนวคิด ทฤษฎี Precede ModelPrecede Framework เปนคํายอมาจาก Predisposing, Reinforcing and Enabling Causes in

Educational Diagnosis and Evaluation เปนกระบวนการวิเคราะหเพื่อวางแผนการดําเนินงานสุขศึกษาโดยใชรูปแบบที่พัฒนาขึ้นมาใหม โดย (Green 1980) ที่มีแนวคิดวาพฤติกรรมบุคคลมีสาเหตุมาจากหลายปจจัย (Muliple Factors) ดังน้ันจะตองมีการวิเคราะหถึงปจจัยสําคัญตางๆที่มีผลตอพฤติกรรมน้ันๆเพื่อนํามาเปนขอมูลในการวางแผน และกําหนดกลวิธีในการดําเนินงานสุขศึกษาเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมตอไป กระบวนการวิเคราะหใน Precede Framework เปนการวิเคราะหแบบ

Page 35: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

21

ยอนกลับ โดยเร่ิมจาก Outcome ที่ตองการหรือนัยหน่ึงคือคุณภาพชีวิตของบุคคลที่พึงประสงคแลวพิจารณาถึงสาเหตุหรือปจจัยที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะสาเหตุที่เน่ืองมาจากพฤติกรรมของบุคคลการวิเคราะหประกอบดวยขั้นตอนตางๆ 7 ขั้นตอนดังน้ี (Green and Kreuter,1981)

ข้ันตอนท่ี 1 การวิเคราะหทางสังคม (Phase 1: Social Diagnosis)เปนการพิจารณาและวิเคราะห “คุณภาพชีวิต” ซึ่งถือวาเปนขั้นตอนแรกของการวิเคราะห

โดยการประเมิน สิ่งที่เกี่ยวของหรือตัวกําหนดคุณภาพชีวิตของประชากรกลุมเปาหมายตางๆ เชนผูปวย นักเรียน กลุมคนวัยทํางาน ผูใชแรงงาน หรือผูบริโภค สิ่งที่ประเมินไดจะเปนเคร่ืองชี้วัดและเปนตัวกําหนดระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุมเปาหมายน้ันๆ

ข้ันตอนท่ี 2 การวิเคราะหทางระบาดวิทยา (Phase 2: Epidemiological Diagnosis)เปนการวิเคราะหวามีปญหาสุขภาพที่สําคัญอะไรบาง ซึ่งปญหาสุขภาพเหลาน้ี จะเปนสวน

หน่ึงของปญหาสังคม หรือไดรับผลกระทบจากปญหาสังคม ในขณะเดียวกันปญหาสุขภาพก็มีผลกระทบตอคุณภาพชีวิตเชนกัน ขอมูลทางระบาดวิทยา จะชี้ใหเห็นถึงการเจ็บปวย การเกิดโรคและภาวะสุขภาพ ตลอดจนปจจัยตางๆ ที่ทําใหเกิดการเจ็บปวย และเกิดการกระจายของโรค การวิเคราะหทางระบาดวิทยาจะชวยใหสามารถจัดเรียงลําดับความสําคัญของปญหา เพื่อประโยชนในการวางแผนการดําเนินงานสุขศึกษาไดอยางเหมาะสมตอไป

ข้ันตอนท่ี 3 การวิเคราะหทางพฤติกรรม (Phase 3: Behavioral Diagnosis)จากปจจัยปญหาดานสุขภาพอนามัยที่ไดในขั้นตอนที่ 1-2 จะนํามาวิเคราะหตอเพื่อหา

สาเหตุที่เกี่ยวของโดยแบงเปนสาเหตุอันเน่ืองมาจากพฤติกรรมของบุคคลและสาเหตุที่ไมเกี่ยวของกับพฤติกรรม เชน สาเหตุจากพันธุกรรมหรือสภาวะเศรษฐกิจ เปนตน โดยกระบวนการสุขศึกษาจะใหความสนใจประเด็นที่เปนสาเหตุอันเน่ืองมาจากพฤติกรรมของบุคคลเปนสําคัญ

ข้ันตอนท่ี 4 การวิเคราะหทางการศึกษา (Phase 4: Educational Diagnosis)ในขั้นตอนน้ี เปนการวิเคราะหเพื่อหาปจจัยดานตางๆ ที่มีผลตอพฤติกรรมสุขภาพทั้งที่

เปนปจจัยภายในตัวบุคคลและปจจัยภายนอกตัวบุคคล เพื่อนํามาเปนขอมูลในการวางแผนสุขศึกษาโดยขั้นตอนน้ีจะแบงปจจัยที่เกี่ยวของออกเปน 3 กลุม ไดแก ปจจัยนํา ปจจัยเอ้ือ และปจจัยเสริม

Page 36: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

22

ปจจัยนํา (Predisposing Factors)หมายถึง ปจจัยที่เปนพื้นฐานและกอใหเกิดแรงจูงใจ ในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล

หรือในอีกดานหน่ึงปจจัยน้ีจะเปนความพอใจ (Preference) ของบุคคล ซึ่งไดมาจากประสบการณในการเรียนรู (Education Experience) ความพอใจน้ีอาจมีผลทั้งในทางสนับสนุนหรือยับยั้งการแสดงพฤติกรรม ทั้งน้ีขึ้นอยูกับแตละบุคคล ปจจัยซึ่งเปนองคประกอบของ ปจจัยนํา ไดแก ความรูทัศนคติ ความเชื่อ คานิยม การรับรู นอกจากน้ียังรวมไปถึงสถานภาพทางสังคมเศรษฐกิจ (Socio-Economic Status) และอายุ เพศ ระดับการศึกษา ขนาดของครอบครัว ซึ่งปจจัยเหลาน้ีจะมีผลตอการวางแผนโครงการทางสุขศึกษาดวย

1.ความรู เปนปจจัยนําที่สําคัญ ที่จะสงผลตอการแสดงพฤติกรรม แตการเพิ่มความรูไมกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเสมอไป ถึงแมความรูจะมีความสัมพันธกับพฤติกรรมและความรูเปนสิ่งจําเปนที่จะกอใหเกิดการแสดงพฤติกรรม แตความรูอยางเดียวไมเพียงพอที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพได จะตองมีปจจัยอ่ืนๆ ประกอบดวย การรับรู หมายถึง การที่รางกายรับสิ่งเราตางๆ ที่ผานมาทางประสาทสัมผัสสวนใดสวนหน่ึงแลวตอบสนองเอาสิ่งเราน้ันออกมา เปนลักษณะของจิตที่เกิดขึ้นจากการผสมกันระหวางพวกประสาทสัมผัสชนิดตางๆ และความคิด รวมกับประสบการณเดิมที่มีอยู การรับรูเปนตัวแปรทางจิตสังคม ที่เชื่อวามีผลกระตุนตอพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล

2.ความเชื่อ คือ ความมั่นใจในสิ่งตางๆ ซึ่งอาจเปนปรากฏการณหรือวัตถุวาสิ่งน้ันๆ เปนสิ่งที่ถูกตองเปนจริงใหความไววางใจ เชน แบบแผนความเชื่อทางสุขภาพ (Health Belief Model) ของBecker (อางใน Green , 1980: 72 อางถึงใน วีระพงษ มากาด, 2551: 41) ซึ่งเนนวาพฤติกรรมสุขภาพจะขึ้นอยูกับความเชื่อใน 3 ดาน คือ ความเชื่อตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรคหรือไดรับเชื้อโรคความเชื่อเกี่ยวกับความรุนแรงของสิ่งที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และความเชื่อเกี่ยวกับผลตอบแทนที่จะไดจากการแสดงพฤติกรรมที่ถูกตอง

3.คานิยม หมายถึง การใหความสําคัญใหความพอใจในสิ่งตางๆ ซึ่งบางคร้ังคานิยมของบุคคลก็ขัดแยงกันเอง เชน ผูที่ใหความสําคัญตอสุขภาพแตขณะเดียวกันเขาก็พอใจในการสูบบุหร่ีดวย ซึ่งความขัดแยงของคานิยมเหลาน้ีก็เปนสิ่งที่จะวางแผนในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดวย

ทัศนคติ หมายถึง ความรูสึกที่คอนขางจะคงที่ของบุคคลที่มีตอสิ่งตางๆ เชน บุคคล วัตถุการกระทําความคิด ความรูสึกดังกลาวมีทั้งที่มีผลดีและผลเสียในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

Page 37: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

23

ปจจัยเอื้อ(Enabling Factors)หมายถึง สิ่งที่เปนแหลงทรัพยากรที่จําเปนในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล ชุมชน

รวมทั้ง ทักษะที่จะชวยใหบุคคลสามารถแสดงพฤติกรรมน้ันๆไดและความสามารถที่จะใชแหลงทรัพยากรตางๆ ซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับ ราคา ระยะทาง เวลา ฯลฯ นอกจากน้ันสิ่งที่สําคัญ ก็คือ การหาไดงาย (Available) และความสามารถเขาถึงได (Accessibility) ปจจัยเอ้ือ จึงเปนสิ่งชวยใหการแสดงพฤติกรรมน้ันๆ เปนไปไดงายยิ่งขึ้น

ปจจัยเสริม (Reinforcing Factors)หมายถึง ปจจัยที่แสดงใหเห็นวาการปฏิบัติ หรือพฤติกรรมสุขภาพไดรับการสนับสนุน

หรือไมเพียงใด ลักษณะและแหลงของปจจัยเสริม จะแตกตางกันไปขึ้นอยูกับปญหาในแตละเร่ืองเชน การดําเนินงานสุขศึกษาในโรงเรียนหรือสถานศึกษาในกลุมเปาหมายที่เปนนักเรียน ปจจัยเสริมที่สําคัญ ไดแก เพื่อนนักเรียน ครู อาจารย หรือบุคคลในครอบครัว เปนตน ปจจัยเสริม อาจเปนการกระตุนเตือน การใหรางวัลที่เปนสิ่งของ คําชมเชย การยอมรับ การเอาเปนแบบอยาง กา รลงโทษการไมยอมรับการกระทําน้ันๆ หรืออาจเปนกฎระเบียบที่บังคับควบคุมใหบุคคลน้ันๆ ปฏิบัติตามก็ได ซึ่งสิ่งเหลาน้ีบุคคลจะไดรับจากบุคคลอ่ืนที่มีอิทธิพลตอตนเอง และอิทธิพลของบุคคลตางๆ น้ีก็จะแตกตางกันไปตามพฤติกรรมของบุคคลและสถานการณโดยอาจจะชวยสนับสนุนหรือยับยั้งการแสดงพฤติกรรมน้ันๆ ก็ไดการดําเนินงานในขั้นตอนการวิเคราะหทางการศึกษา จะเปนการพิจารณาวาปจจัยตางๆ ที่เปนปจจัยนํา ปจจัยเอ้ือ และ ปจจัยเสริมน้ัน มีปจจัยเฉพาะอะไรบาง ที่จะทําใหเกิดพฤติกรรมสุขภาพในลักษณะที่ตองการได ถาไดมีการปรับปรุงแกไขหรือเปลี่ยนแปลงใหมใหเหมาะสม จัดลําดับความสําคัญของปจจัย จัดกลุมปจจัย และ ความยากงายของการเปลี่ยนแปลงปจจัยตางๆ เหลาน้ัน ก็จะทําใหการวางแผนในขั้นตอไปมีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น จากปจจัยทั้งสามดังกลาว กรีนและคณะ (Green et al., 1980: 72) ไดนํามาแสดงใหเห็นความสัมพันธเชื่อมโยงระหวางปจจัยทั้งสามกับพฤติกรรมสุขภาพ ที่ เปนปญหาเฉพาะเพื่อใชในการวิ เคราะหหาความสัมพันธระหวางสาเหตุทางพฤติกรรมกับปจจัยดังกลาว

ข้ันตอนท่ี 5 การเลือกกลยุทธทางการศึกษา (Selection of Educational Strategies)เมื่อวิเคราะหหาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมไดแลว ขั้นตอไปจะเปนการเลือกกลยุทธและ

เทคนิคในการดําเนินงานดานสุขศึกษามาใช ทั้งน้ีโดยพิจารณาถึงความเหมาะสม และสอดคลองกับผลการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมทั้ง 3 ดานขางตนดวย เพื่อกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

Page 38: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

24

พฤติกรรมสุขภาพในที่สุด นอกจากน้ี การกําหนดกลยุทธการดําเนินงานจะตองคํานึงถึงการผสมผสานเทคนิคกลวิธีดานสุขศึกษาที่หลากหลายเขาดวยกัน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ข้ันตอนท่ี 6 การวิเคราะหทางการบริหาร (Phase 6: Administrative Diagnosis)ในขั้นตอนน้ี เปนการวิเคราะหเพื่อประเมินถึงปจจัยดานการบริหารจัดการที่จะมีผลตอการ

ดําเนินโครงการที่ไดวางแผนไว โดยปจจัยดังกลาวอาจมีผลทั้งในดานบวก คือ ทําใหโครงการสําเร็จบรรลุเปาหมาย หรือมีผลตรงขาม คือ กลายเปนขอจํากัดของโครงการ ปจจัยเหลาน้ี ไดแกงบประมาณ ระยะเวลา ความสามารถของผูดําเนินการ ตลอดจนทรัพยากรอ่ืนๆ ในองคกร ดังน้ันในการวางแผนเพื่อดําเนินงานสุขศึกษาใดๆ จะตองใหความสําคัญกับขั้นตอนน้ีไมนอยไปกวาในขั้นตอนอ่ืนๆ และจะตองมีการวิเคราะหและพิจารณาใหครอบคลุมทุกดานเหมือนกับการวิเคราะหหาปจจัยที่มีตอพฤติกรรม

ข้ันตอนท่ี 7 การประเมินผล (process evaluation)เปนการประเมินผลกระบวนการ เพื่อหาปญหาระหวางดําเนินการตามโครงการ และ

ประเมินความกาวหนาของโครงการ เพื่อตรวจสอบและควบคุมใหการดําเนินงานเปนไปตามที่วางแผนไว

ข้ันตอนท่ี 8 การประเมินผลกระทบ (impact evaluation)เปนการประเมินผลกระทบจากการดําเนินงานตามโครงการ เปนผลที่ไมไดระบุไวใน

วัตถุประสงคของโครงการ ซึ่งอาจมีทั้งในทางบวกและทางลบ

ข้ันตอนท่ี 9 การประเมินผลลัพธ (outcome evaluation)เปนการประเมินผลลัพธที่เกิดจากการดําเนินงานตามโครงการโดยตรง ซึ่งประเมินทั้ง

ประสิทธิผลของโครงการ (Effectiveness) โดยเปรียบเทียบผลที่เกิดจากโครงการ กับวัตถุประสงคที่ต้ังไว การประเมินความพอเพียง (adequacy) โดยเปรียบเทียบผลที่เกิดจากโครงการ กับปญหาที่ตองการแกไขปรับปรุง รวมทั้งการประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency) โดยประเมินความครอบคลุมของประชากรกลุมเปาหมาย เปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นกับปจจัยนําเขา

Page 39: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

25

ภาพที่ 2. แสดงแบบจําลองการวางแผนสงเสริมสุขภาพ (PRECEDE MODEL)( แหลงที่มา: อัจฉรา ปุราคม, 2555: 98)

จากแบบจําลอง Precede Model ดังกลาวขางตน จะชวยใหนักสุขศึกษาและนักสงเสริมสุขภาพสามารถวางแผนงานไดดี โดยจะสามารถวิเคราะหองคความรูและทักษะที่จําเปนตลอดจนถึงการประเมินผลตอการจัดโปรแกรม โครงการสุขศึกษาและสงเสริมสุขภาพไดอยางมีคุณภาพ

Precede Framework เปนกระบวนการที่ประกอบดวยขั้นตอนตางๆดังที่กลาวมาแลว ขางตน แตสําหรับในการศึกษาเพื่อหาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในพื้นที่เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานครซึ่งตรงกับแนวคิดในขั้นตอนที่4 ของกระบวนการ ดังน้ันผูศึกษาจึงนําขั้นตอนน้ีมากําหนดเปนกรอบแนวคิดในการศึกษา คร้ังน้ี โดยไดเลือกเฉพาะบางตัวแปรในแตละกลุมปจจัยซึ่งคาดวาจะมีผลตอการมีพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพายกรุงเทพมหานคร ไดตอไป

ทฤษฎีเกี่ยวกับการมีสวนรวมการมีสวนรวมของประชาชนเปนยุทธศาสตรหน่ึงของการพัฒนาชนบท หลักการสําคัญ

หรือหัวใจของการมีสวนรวมของประชาชนคือ จะตองใหประชาชนไดมีโอกาสเขารวมในทุก

Page 40: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

26

ขั้นตอนของกระบวนการรวมตัดสินใจ รวมปฏิบัติ รวมรับผิดชอบในผลการพัฒนาที่จะเกิดขึ้นกลาวคือ การมีสวนรวมเปนกระบวนการอยางหน่ึงในการพัฒนา

ปจจุบันวิถีชีวิตของประชาชน ถูกกระทบจากสิ่งตางๆ เพิ่มมากขึ้น ไมวาจะเปนสภาพเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดลอมที่เสื่อมโทรมลง ทําใหเกิดสภาพการตางคนตางอยู มุงหวังที่จะแกไขปญหาของตนใหอยูรอดไปในแตละวัน ไมมีความสนในตอสังคมรอบขาง ทําใหมีปญหาตามมาหลายดานที่นับวาจะเพิ่มมากยิ่งขึ้น จึงจําเปนที่จะตองใหความสําคัญกับการมีสวนรวมซึ่งกันและกันเพื่อที่จะชวยแกปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นอยางตรงกับความตองการของคนสวนใหญ เพื่อที่จะไดใหแนวทางในการพิจารณาเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชน

Cohen,J. M. & Norman T. U. (1977: 29) กลาวถึงการมีสวนรวม โดยทั่วไปในขั้นตอนตารางแผนและตัดสินใจไมไดหมายความวา จะเปนการตัดสินใจและวางแผนไดเพียงอยางเดียว ยังใชการวางแผนและตัดสินใจควบคูไปกับขั้นตอนการปฏิบัติการดวย การวางแผนและตัดสินใจยังเกี่ยวของกับประชาชนในเร่ืองของการรับผลประโยชน และการตรวจสอบและประ เมินผล ในกิจการพัฒนาดวย จะเห็นวาการวางแผนและตัดสินใจน้ันเกี่ยวของเกือบโดยตรงกับการปฏิบัติ และก็เกี่ยวของกับผลประโยชน และการตรวจสอบและประเมินผลดวยนอกจากน้ีก็จะมีผลสะทอนกลับจากการตรวจสอบและประเมินผลและการปฏิบัติการกลับไปสูการตัดสินใจอีกดวย

ภาพที่ 3 แสดงแนวคิดสัมพันธของการมีสวนรวมที่มา: John M. Cohen & Norman T. Uphoff การมีสวนรวมโดยทั่วไป

หมายถึง การสงผลยอนกลับหมายถึง การสงผลโดยตรง

การรับผลประโยชน(3)

การตรวจสอบและประเมินผล)

การตัดสินใจและการวางแผน(1)

การปฏิบัติการ(2)

Page 41: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

27

วรางคณา วัฒนโย , 2540: 8-9 กลาวถึงปจจัยในการเขามามีสวนรวมของประชาชน มีดังน้ี1. ปจจัยในตัวบุคคล ซึ่งเปนแรงผลักดันจูงใจที่เกิดขึ้นในตัวบุคคลเอง อาจเปน ความรูสึก

ความคิด ความคาดหวัง ความตองการ ความสํานึกที่มีสวนทําใหบุคคลเขารวมหรือไมเขารวมกิจกรรม2. ปจจัยสภาพแวดลอม ไดแก แรงผลักดันจากจากสภาพแวดลอมทางกายภาพ สังคม

วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง3. ปจจัยผลักดันจากบุคคลอ่ืนๆ หมายถึง แรงผลักดันหรือจูงใจ ที่เกิดจากบุคคลอ่ืนๆ (ไมใช

ผูเขารวมเอง) มีบทบาทในการเปนผูริเร่ิม กระตุน ชักชวน อธิบาย และโนมนาวในการเขารวมการพัฒนาชุมชน

4. รางวัลตอบแทน ไดแก แรงจูงใจในรูปเงิน วัตถุ ตําแหนง สิทธิประโยชน กลาวโดยสรุปการมีสวนรวม (Participation) จึงเปนกระบวนการที่คน ครอบครัว หรือองคกรในชุมชนเขามามีสวนในการคิด การตัดสินใจการวางแผนดําเนินการพัฒนาครอบครัวและชุมชนของตนเองโดยหลักการที่แทจริงของการมีสวนรวมคือการมีสวนรวมในลักษณะของความรูสึกเปนเจาของ รวมคิดรวมปฏิบัติ รวมประเมินตรวจสอบและรวมรับผิดชอบถึงผลประโยชนและโทษที่เกิดขึ้นลักษณะของการมีสวนรวม มี 4 ดาน คือ

1. ดานการมีสวนรวมในการวางแผนและตัดสินใจ หมายถึง การรวมคิด คนหาและตัดสินใจหรือการกําหนดรายละเอียดของสิ่งที่จะดําเนินการ

2. ดานการรวมปฏิบัติการในกิจกรรมโครงการ หมายถึง การที่มีสวนเขามารวมดําเนินโครงการรวมแรง รวมสมทบคาใชจาย การใหขอมูลที่จําเปนตลอดจนการเขารวมเปนสวนหน่ึงของคณะกรรมการที่เกี่ยวของกับการดําเนินโครงการรวมในการบริหารงานหรือการประสานงาน

3. ดานการรับผลประโยชน หมายถึง การไดรับผลประโยชนจากการเขามามีสวนรวม ในโครงการพัฒนา เชน มีรายไดเพิ่มขึ้น มีการกระจาย โอกาสทางการพัฒนา การรับความรูแนวความคิดและการชวยเหลือดานตางๆมากขั้น เปนตน

4. ดานการตรวจสอบและประเมินผล หมายถึง การที่ประชาชนเขารวมเ พื่อการประเมินผลการดําเนินโครงการ โดยอาจดําเนินการผานกระบวนการทางการเมือง หรือสื่อสารมวลชน

4. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของสุนทร หาญศึก (2551) ไดศึกษาปจจัยที่ไดศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันโรค

ไขเลือดออกของชาวตําบลกรุง อําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีษะเกษ พบวาปจจัยเสริมไดแก การไดรับ

Page 42: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

28

ขอมูลขาวสารตางๆ การไดรับคําแนะนําจากเจาหนาที่สาธารณะสุขและอสม. มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

วีระพงษ มาฉะกาด (2552) ไดศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอระดับพฤติกรรมการมีสวนรวมของชุมชนในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ในตําบลคลองโคน อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม พบวา ปจจัยเสริมมีความสัมพันธกับระดับพฤติกรรมการมีสวนรวมของชุมชนในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

เอกรัฐ คําวิไล (2553: 58-60) ไดศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกของประชาชน จังหวัดจันทบุรี พบวา ปจจัยสวนบุคคลได เพศ อาชีพ และประวัติการปวยดวยโรคไขเลือดออกของบุคคลในครอบครัว มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกของประชาชน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

เฉลิมพล ศรีนวลแสง (2555: ง) ไดศึกษาเร่ืองปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกของประชาชนจังหวัดขอนแกน พบวา ประชาชนสวนใหญมีการรับรูความรุนแรงของโรค การรับรูโอกาสเสี่ยง การรับรูประโยชนและอุปสรรคในการปองกันโรคในระดับปานกลางมีพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกในระดับดี ความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนความเชื่อดานสุขภาพในการปองกันโรคไขเลือดออก ไดแก ดานการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค ดานการรับรูความรุนแรงของโรค การรับรูประโยชนและอุปสรรคในการปองกันโรคความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

กุนนิดา ยารวง (2555: 94-96) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในตําบลแมสาย อําเภอ แมสาย จังหวัดเชียงราย พบวาการไดรับการสนับสนุนหรือกระตุนเตือนจากเจาหนาที่สาธารณสุข/อาสาสมัครสาธารณสุขหรือบุคคลที่ใกลชิดเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก การไดรับขอมูลขาวสารเร่ืองโรคไขเลือดออก มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

สายชล ภูสกุล (2555: ง-จ) ไดศึกษาปจจัยทีมีผลตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของชุมชนในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกในตําบลทาคา อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม พบวา

Page 43: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

29

พฤติกรรมการดูแลตนเองของชุมชนในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกสวนใหญอยูในระดับดีปจจัยทางชีวสังคมไดแก ระดับการศึกษา ประวัติการเจ็บปวยดวยโรคไขเลือดออก มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของชุมชน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนเพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ และรายไดของครอบครัว ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของชุมชน ปจจัยนําไดแก ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก ทัศนคติการดูแลตนเองในการปองกันแลการควบคุมโรคไขเลือดออกและการรับรูในการปองกันตนเองของชุมชนโดยรวม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของชุมชนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ปจจัยเอ้ือ ไดแก ความเพียงพอของทรัพยากรในการปองกันยุงกัด ความเพียงพอของทรัพยากรในการกําจัดแหลงเพาะพันธยุงลาย มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของชุมชนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ปจจัยเสริม ไดแก การไดรับการสนับสนุนทางสังคมเพื่อการดูแลตนเอง ไดแก การไดรับคําแนะนําจากบุคคลใกลชิด การไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของชุมชนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

สุภาพร นิราศโศก (2557: ง) ศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในอําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบวา พฤติกรรมในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอยูในระดับปานกลาง ปจจัยนํา ไดแก ความรูอยูใน ระดับนอย ทัศนคติอยูในระดับดี การรับรูประโยชนอุปสรรคความรุนแรงของโรคไขเลือดออก ปจจัยเอ้ือไดแก นโยบาย การจัดกิจกรรม สื่ออุปกรณและสิ่งแวดลอมในชุมชนเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกอยูในระดับปานกลาง และปจจัยเสริม ไดแก การไดรับคําแนะนําจากบุคคลในครอบครัว เพื่อนสื่อมวลชน บุคลากรทางการแพทย สาธารณสุขการติดตาม สนับสนุนการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของเจาหนาที่สาธารณสุข การรับรูขาวสารเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยางอยูในระดับนอย ดังน้ัน นโยบายและการดําเนินงานเพื่อสงเสริมใหคนมีพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนจึงเปนสิ่งสําคัญ

จากการทบทวนวรรณกรรม ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของที่ไดประมวลมาแลวน้ัน พบวาแนวคิด PRECEDE Model ของ กรีน และ กรูเตอร (Green & Kreuter, 1999) ซึ่งอธิบายวา การที่บุคคลจะมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกตองเหมาะสมได จะตองอาศัยปจจัยหลายๆ ดานมาสงเสริมใหเกิดพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งในการศึกษาคร้ังน้ีเปนการศึกษาถึง ปจจัยที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก โดยไดประยุกต PRECEDE Model เปนกรอบแนวคิดการวิจัย ดังน้ี

Page 44: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

30

5. กรอบแนวคิดการวิจัย

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ปจจัยนํา1.ความรูเกี่ยวกับการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออก2.ทัศนคติเกี่ยวกับการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออก

ปจจัยเอื้อ1.นโยบายการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออก2.การจัดกิจกรรมรณรงคปองกันควบคุมโรคไขเลือดออกไขเลือดออก

ปจจัยเสริม1.การไดรับความรูจากบุคคลากรดานการแพทยและการสาธารณสุข2.การรับขอมูลขาวสารจากสื่อตางๆ3.ประสบการณการเจ็บปวยดวยโรคไขเลือดออกของบุคคลในครอบครัว

พฤติกรรมการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

ตัวแปรอธิบาย

ปจจัยทางชีวสังคม1.เพศ 2.อายุ

3.อาชีพ 4.รายได5.ระดับการศึกษา6.ประวัติการปวยเปนโรคไขเลือดออกของครอบครัว7.ชองทางการรับรูขอมูลขาวสารโรคไขเลือดออก

Page 45: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

31

6. สมมติฐานการวิจัย 1. ปจจัยนํา มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออกของ

ประชาชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร2. ปจจัยเอ้ือ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออกของ

ประชาชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร3. ปจจัยเสริม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออกของ

ประชาชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

Page 46: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

32

Page 47: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

33

Page 48: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

บทที่ 3วิธีดําเนินงานวิจัย

การวิจัยคร้ังน้ีเปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research )โดยใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูลมุงศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานครโดยประยุกตแนวคิดแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพในการวิเคราะหหาปจจัยมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ประชากรศึกษา คือประชาชนในพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร โดยเลือกประชากรกลุมตัวอยางแบบบังเอิญ(Accidental sampling) โดยศึกษาชวงระยะเวลาดําเนินการวิจัยต้ังแตเดือนธันวาคม 2560 ถึงกุมภาพันธ 2561โดยมีวิธีดําเนินการตามขั้นตอนดังน้ี

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง2. เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย3. การรวบรวมขอมูล4. การวิเคราะหขอมูล

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง1.1 ประชากรท่ีใชในการศึกษาประชากรที่ใชในการศึกษาคร้ังน้ี คือ ประชาชนที่เปนตัวแทนครัวเรือนในชุมชนพื้นที่แขวง วัด

โสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร จํานวน 890 หลังคาเรือน 4,079 คน(ขอมูล ณ เดือนกรกฎาคม 2560 แหลงขอมูล: ฝายพัฒนาชุมชน สํานักงานเขตปอมปราบ

ศัตรูพาย)1.2 กลุมตัวอยางกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันควบคุมโรค

ไขเลือดออกของประชาชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร คือประชาชนที่มีอายุต้ังแต 15-65 ป โดยวิธีการสุมแบบบังเอิญ (Accidental sampling) เปนการสุมประชากรกลุมตัวอยางที่สอดคลองกับนิยามของประชากร และเก็บขอมูลใหครบตามจํานวนที่ตองการในแตละชุมชน กลุมตัวอยางที่จะสํารวจจํานวน 300 หลังคาเรือน จากน้ันจึงนํามากําหนดสัดสวนของประชากรในครัวเรือนในแตละชุมชนจํานวน 5 ชุมชน โดยคํานวณหากลุมตัวอยางดวยสูตร Taro Yamane

Page 49: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

33

การคํานวณขนาดกลุมตัวอยางคํานวณโดยใชสูตร การคํานวณหาขนาดกลุมตัวอยาง ตามวิธีการของ Taro Yamane

ณ ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยใชสูตรดังตอไปน้ี

จากสูตร n =เมื่อ n = ขนาดตัวอยาง

N = จํานวนหนวยประชากรe = ความคลาดเคลื่อนในการสุมตัวอยาง ในที่น้ีกําหนดใหคา

ความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยาง .05แทนคาในสูตร

n =

= 275.96

เพื่อใหกลุมตัวอยางมีจํานวนที่เหมาะสม ผูวิจัยจึงปรับจํานวนกลุมตัวอยางเทากับ 300ครัวเรือน

ตาราง จํานวนประชากรและกลุมตัวอยางจําแนกรายชุมชนที่ใชในการวิจัยรายชื่อชุมชนในแขวง

วัดโสมนัสจํานวนครัวเรือน จํานวนกลุมตัวอยาง

(คน)ชุมชนวัดโสมนัสชุมชนจักรพรรด์ิพงษชุมชนวัดสุนทรธรรม

ทานชุมชนศุภมิตร 1ชุมชนศุภมิตร 2รวม

13750233140330890

50207050110300

Page 50: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

34

2. เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนแบบสอบถาม (Questionnaire) ที่ผูวิจัยสรางขึ้นโดยมี

เน้ือหาครอบคลุมตามวัตถุประสงคและกรอบแนวคิดของการวิจัย ประกอบดวยสาระสําคัญ 5 สวนดังน้ี

ขอมูลสวนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลปจจัยชีวสังคมของกลุมตัวอยาง มีจํานวน 6 ขอโดยการเลือกตอบและเติมขอความ ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน และประสบการณการเจ็บปวยเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก

ขอมูลสวนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยนํา ไดแก ความรูเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ทัศนคติเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก การรับรูประโยชน อุปสรรคและการรับรูความรุนแรงเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก จํานวน 45 ขอ มี 3 ตอน

ตอนท่ี 1 ความรูเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชน จํานวน 15ขอ เปนคําถามใหเลือกตอบ ใช ไมใช ไมทราบ มีคะแนน 0-15 คะแนน

เกณฑการใหคะแนน หมายเหตุ: เกณฑการแบงระดับ (สุวิมล ติรการนันท, 2546)เลือกตอบ ใช ไดคะแนนขอละ 1 คะแนนเลือกตอบ ไมใช ไดคะแนนขอละ 0 คะแนนเลือกตอบ ไมทราบ ไดคะแนนขอละ 0 คะแนน

เกณฑการต้ังระดับความรู ความเขาใจเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก โดยกําหนดคาเฉลี่ยของการจัดระดับจากคามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนที่ไดคือ X + ½ S.D ดังน้ี

รูดี คะแนนมากกวา X + ½ S.Dรูปานกลาง คะแนนอยูระหวาง X ±½ S.Dรูนอย คะแนนนอยกวา X –½ S.D

ตอนท่ี 2 ทัศคติเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก จํานวน 20 ขอ ลักษณะคําถามเปนเชิงบวกเชิงลบเปนมาตราสวนประมาณคา (rating scale) 4 ระดับ ไดแก เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย ไมเห็นดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง มีคาคะแนนอยูระหวาง 20-80 คะแนนเกณฑการใหคะแนน

Page 51: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

35

ขอความเชิงบวก ขอมูลเชิงลบเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4 เห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1เห็นดวย ใหคะแนน 3 เห็นดวย ใหคะแนน 2ไมเห็นดวย ใหคะแนน 2 ไมเห็นดวย ใหคะแนน 3ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4

เกณฑการต้ังระดับทัศนคติการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชน โดยกําหนดคาเฉลี่ยของ การจัดระดับจากคามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนที่ไดคือ X +½ S.D ดังน้ี

ดี คะแนนมากกวา X + ½ S.Dปานกลาง คะแนนอยูระหวาง X ±½ S.Dไมดี คะแนนนอยกวา X –½ S.D

ตอนท่ี 3 การรับรูประโยชน อุปสรรคและการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออกจํานวน 10 ขอลักษณะคําถามเปนเชิงบวก เชิงลบ มีลักษณะเปนมาตราสวนประมาณคา (Ratingscale) 4 ระดับ ไดแก เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย ไมเห็นดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง เกณฑการใหคะแนน

ขอความเชิงบวก ขอมูลเชิงลบเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4 เห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1เห็นดวย ใหคะแนน 3 เห็นดวย ใหคะแนน 2ไมเห็นดวย ใหคะแนน 2 ไมเห็นดวย ใหคะแนน 3ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4

เกณฑการต้ังระดับการรับรูประโยชน อุปสรรคและการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออก โดยเฉลี่ยการจัดระดับจากคามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนที่ได คือ X + ½ S.D ดังน้ี

ดี คะแนนมากกวา X + ½ S.Dปานกลาง คะแนนอยูระหวาง X ±½ S.Dไมดี คะแนนนอยกวา X –½ S.D

Page 52: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

36

ขอมูลสวนที่3 แบบสอบถามขอมูลดานปจจัยเอ้ือ ไดแก นโยบายเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกการจัดกิจกรรมปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกและสื่ออุปกรณเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก และสิ่งแวดลอมในชุมชน จํานวน 10 ขอ ลักษณะคําถามเปนแบบคําถามเชิงบวก มาตราสวนประมาณคา(Rating scale) 4 ระดับ คือ มากที่สุด มาก นอย นอยที่สุดเกณฑการใหคะแนน

ไดรับขอมูลมากที่สุด ใหคะแนน 4ไดรับขอมูลมาก ใหคะแนน 3ไดรับขอมูลนอย ใหคะแนน 2ไดรับขอมูลนอยที่สุด ใหคะแนน 1

เกณฑการต้ังระดับปจจัยเอ้ือที่มีผลปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชน โดยเฉลี่ยของ

การจัดระดับจากคามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนที่ได คือ X + ½ S.D ดังน้ีมาก คะแนนมากกวา X + ½ S.Dปานกลาง คะแนนอยูระหวาง X ±½ S.Dนอย คะแนนนอยกวา X –½ S.D

ขอมูลสวนที่ 4 แบบสอบถามดานปจจัยเสริม ไดแก การไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับ โรคไขเลือดออก บุคคลในครอบครัว เพื่อน สื่อมวลชน บุคคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขและการติดตามสนับสนุนการปองกันและควบคุมของเจาหนาที่สาธารณสุข การรับรูขาวสารเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก จํานวน 15 ขอลักษณะคําถามเปนคําถามเชิงบวก มาตราสวนประมาณคา (rating scale) 4 ระดับ คือ มากที่สุด มาก นอย นอยที่สุด

เกณฑการใหคะแนนไดรับขอมูลมากที่สุด ใหคะแนน 4ไดรับขอมูลมาก ใหคะแนน 3ไดรับขอมูลนอย ใหคะแนน 2ไดรับขอมูลนอยที่สุด ใหคะแนน 1

Page 53: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

37

เกณฑการต้ังระดับปจจัยเสริมของการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนโดยเฉลี่ยของการจัดระดับจากคามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนที่ได คือ X +½ S.D ดังน้ี

มาก คะแนนมากกวา X + ½ S.Dปานกลาง คะแนนอยูระหวาง X ±½ S.Dนอย คะแนนนอยกวา X – ½ S.D

ขอมูลสวนที่5 พฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก มีจํานวน 30ขอ ลักษณะคําถามเชิงบวก มาตราสวนประมาณคา (rating scale) 4 ระดับ คือ มากที่สุด มาก นอย นอยที่สุด

เกณฑการใหคะแนนปฏิบัติมากที่สุด ใหคะแนน 4ปฏิบัติมาก ใหคะแนน 3ปฏิบัตินอย ใหคะแนน 2ปฏิบัตินอยที่สุด ใหคะแนน 1

เกณฑการต้ังระดับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชน โดยเฉลี่ยของการจัดระดับจากคามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนที่ได คือ X + ½ S.D ดังน้ี

ดี คะแนนอยูระหวาง X + ½ S.D ถึงคะแนนสูงสุดปานกลาง คะแนนอยูระหวาง X ±½ S.Dควรปรับปรุง คะแนนระหวาง X – ½ S.D ถึงคะแนนตํ่าสุด

1. การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือการตรวจสอบเคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคร้ังน้ี ผูศึกษาไดทําการตรวจสอบ

คุณภาพของเคร่ืองมือ ดังน้ี1. ตรวจสอบความเที่ยง (Validity) โดยการตรวจสอบความเที่ยงตรงของเน้ือหา (Content

Validity) โดยใชการนําเสนอตอคณะกรรมที่ปรึกษาวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทานตรวจสอบความถูกตองในดานเน้ือหา ภาษาที่ใชใหเหมาะสมกับกลุมตัวอยาง แลวนํามาแกไขปรับปรุงเพื่อใหแบบสอบถามมีความสมบูรณ

2. การหาความเชื่อมั่น (Reliability) ผูวิจัยไดนําแบบสอบถามที่ผานการตรวจสอบความเที่ยงตรงของเน้ือหาและไดรับการปรับปรุงแกไขแลวนําไปทดลองใช (Try out) ในประชาชน แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีลักษณะตรงตามเกณฑของกลุมตัวอยางที่วิจัย จํานวน 30 คน

Page 54: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

38

จากน้ันนําขอมูลมาวิเคราะหหาความเชื่อมั่นโดยคํานวณคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (Coefficient Alpha)ตามวิธีการของ ครอนบาค (Cronbach,s Cofficient Alpha) ดวยคอมพิวเตอร ไดคาความเชื่อมั่น(พิพัฒน ลักษมีจรัลกุล, 2534: 74)

5. การเก็บรวบรวมขอมูล1. ผูวิจัยดําเนินการเก็บขอมูลดวยตนเองโดยใชวิธีแจกแบบสอบถามในพื้นที่แขวงวัดโสมนัส

เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร พรอมทั้งตรวจสอบความสมบูรณของคําตอบทุกฉบับเพื่อใหไดขอมูลครบถวน

2. ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลกับกลุมตัวอยางจํานวน 300 หลังคาเรือน ในพื้นที่แขวง วัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร ต้ังแตเดือนธันวาคม 2560 ถึง กุมภาพันธ 2561 ไดกลับคืนมาจํานวน 300 ชุดครบ คิดเปนรอยละ 100

3. นําแบบสอบถามแตละชุดมาดําเนินการตรวจสอบขอมูลโดยพิจารณาถึงความครบถวนของขอมูลความสอดคลองของคําถามที่เกี่ยวของกันและคุณลักษณะของกลุมตัวอยางตรงตามวัตถุประสงคของการวิจัย

5. นําแบบสอบถามทั้งหมดมาตรวจใหคะแนนและวิเคราะหขอมูลดวยเคร่ืองคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูป

6. การวิเคราะหขอมูลผูศึกษาไดประมวลผลขอมูลการวิเคราะหขอมูลดวยเคร่ืองคอมพิวเตอรโดยใชโปรแกรม

สําเร็จรูปในการวิเคราะหใชสถิติดังน้ี1. คาสถิติพรรณนา ประกอบดวย รอยละ (Percentile) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน (Standard Deviation)2. การวิเคราะหหาความสัมพันธของปจจัยดานสุขภาพ ไดแก ปจจัยนํา ปจจัยเอ้ือ และ

ปจจัยเสริม กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของประชาชนในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกโดยทดสอบดวยสถิติสหสัมพันธของเพียวสัน (Pearson, Product Moment Correlation Coefficien)(สุวิมล ติรกานันท, 2549: 81-83)

Page 55: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

39

Page 56: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยเร่ืองปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร ผูวิจัยกําหนดกลุมตัวอยางจํานวน 300 คน ไดแบบสอบถามตอบกลับมาสมบูรณครบทั้งหมด วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปและแสดงผลการวิเคราะหขอมูลในรูปตารางประกอบคําบรรยายดังตอไปน้ี

สวนท่ี 1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

สวนท่ี 2 ผลการวิเคราะหขอมูลดานปจจัยนําไดแก ความรูเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ทัศนคติเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก การรับรูประโยชน อุปสรรคและการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพายกรุงเทพมหานคร

สวนท่ี 3 ผลการวิเคราะหขอมูลดานปจจัยเอ้ือ ไดแก นโยบายเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก การจัดกิจกรรมปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก สื่ออุปกรณเกี่ย วกับโรคไขเลือดออกและสิ่งแวดลอมในชุมชนของประชาชน ในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพายกรุงเทพมหานคร

สวนท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูลดานปจจัยเสริม ไดแก การไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก จากบุคคลในครอบครัว เพื่อน สื่อมวลชน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข

การติดตามสนับสนุนการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของเจาหนาที่สาธารณสุขและการรับรูขาวสารเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

Page 57: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

40

สวนท่ี 5 ผลการวิเคราะหขอมูลดานพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

สวนท่ี 6 ผลการวิเคราะหสมมติฐาน

สวนท่ี 1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง(n=300)

ขอมูลท่ัวไป จํานวน (คน) รอยละ1. เพศ

ชาย 136 45.30หญิง 164 54.70

2. อายุ15 – 25 ป 71 23.6726 – 35 ป 74 24.6736 – 45 ป 75 25.0046 – 55 ป 56 18.6756 – 65 ป 24 7.99

3. ระดับการศึกษาไมไดศึกษา 2 0.70ประถมศึกษา 52 17.30มัธยมศึกษา 86 28.70ประกาศนียบัตร/อนุปริญญา 71 23.70ปริญญาตรี 77 25.70อ่ืนๆ ระบุ 12 3.90

Page 58: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

41

ตารางท่ี 1 (ตอ)(n = 300)

ขอมูลท่ัวไป จํานวน(คน) รอยละ4. อาชีพ

ไมไดประกอบอาชีพ 3 1.00

รับจาง 72 24.00คาขาย 52 17.30รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 53 17.70นักเรียน/นักศึกษา 65 21.70แมบาน/พอบาน 26 8.70อ่ืนๆ ระบุ 10 3.30

5. รายไดของครอบครัวเฉลี่ยตอเดือน7,500 – 15,000 191 63.6715,001 – 25,000 84 28.0025,001 – 35,000 12 4.0035,001 – 45,000 8 2.6745,001 – 55,000 4 1.3355,001- 95,000 1 0.33

6. ประสบการณการเจ็บปวยเปนโรคไขเลือดออกไมเคยเปนโรคไขเลือดออก 260 86.70เคยเปนโรคไขเลือดออก 40 13.30

จากตารางที่ 1 พบวากลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิงรอยละ 54.70 มีอายุระหวาง 36- 45รอยละ 25.00 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษารอยละ 28.70 ประกอบอาชีพรับจางรอยละ 24.00 มีรายไดของครอบครัวเฉลี่ยตอเดือน 7,500–15,000 บาทรอยละ 63.67 และไมเคยเปนโรคไขเลือดออกรอยละ 86.70

Page 59: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

42

สวนท่ี 2 ผลการวิเคราะหขอมูลดานปจจัยนําไดแก ความรูเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ทัศนคติเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก การรับรูประโยชน อุปสรรคและการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพายกรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละระดับความรูเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง

(n = 300)ระดับความรู จํานวน (คน) รอยละ

มาก 58 19.34ปานกลาง 97 32.33นอย 145 48.33

x = 10.76, S.D. = 2.65, Min = 1.00, Max = 15.00, คะแนนเต็ม 15 คะแนน

จากตารางที่ 2 พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีความรูเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอยูในระดับนอยรอยละ 48.33 รองลงมาอยูในระดับปานกลางรอยละ 32.33

ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละระดับทัศนคติเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง(n = 300)

ระดับทัศนคติ จํานวน (คน) รอยละดี 123 41.00

ปานกลาง 64 21.33ไมดี 113 37.67

x = 60.40, S.D. = 5.59, Min = 40.00, Max = 76.00, คะแนนเต็ม 80 คะแนน

จากตารางที่ 3 พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีทัศนคติเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกอยูในระดับดีรอยละ 41.00 รองลงมาอยูในระดับไมดีรอยละ 37.67

Page 60: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

43

ตารางท่ี 4 จํานวนและรอยละการรับรูประโยชน อุปสรรคและการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง

(n = 300)ระดับความรู จํานวนคน รอยละ

ดี 60 20.00ปานกลาง 187 62.33ไมดี 53 17.67

x = 30.33 , S.D.= 3.50, Min = 19.00, Max = 39.00, คะแนนเต็ม 40 คะแนน

จากตารางที่ 4 พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีการรับรูอยูในระดับปานกลางรอยละ 62.33รองลงมาอยูในระดับดีรอยละ 20.00

สวนท่ี 3 ผลการวิเคราะหขอมูลดานปจจัยเอ้ือ ไดแก นโยบายเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกการจัดกิจกรรมปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก สื่ออุปกรณเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกและสิ่งแวดลอมในชุมชนของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพายกรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 5 จํานวนและรอยละระดับการไดรับปจจัยเอ้ือของกลุมตัวอยาง(n = 300)

ระดับการไดรับปจจัยเอื้อ จํานวน (คน) รอยละมาก 61 20.33ปานกลาง 156 52.00นอย 83 27.67

x = 29.91, S.D. = 5.00, Min = 10.00, Max = 40.00, คะแนนเต็ม 40 คะแนน

จากตารางที่ 5 พบวากลุมตัวอยางสวนใหญไดรับปจจัยเอ้ืออยูในระดับปานกลางรอยละ52.00 รองลงมาอยูในระดับนอยรอยละ 27.67

Page 61: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

44

สวนท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูลดานปจจัยเสริม ไดแก การไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก จากบุคคลในครอบครัว เพื่อน สื่อมวลชน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข การติดตามสนับสนุนการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของเจาหนาที่สาธารณสุขและการรับรูขาวสารเกี่ยวกับการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละระดับการไดรับปจจัยเสริมของกลุมตัวอยาง(n=300)

ระดับการไดรับปจจัยเสริม จํานวน (คน) รอยละมาก 77 25.67

ปานกลาง 97 2.33นอย 126 42.00

x = 43.08, S.D. = 6.77, Min = 15.00, Max = 60.00, คะแนนเต็ม 60 คะแนน

จากตารางที่ 6 พบวากลุมตัวอยางสวนใหญไดรับปจจัยเสริมอยูในระดับนอยรอยละ 42.00รองลงมาอยูในระดับปานกลางรอยละ 32.33

สวนท่ี 5 ผลการวิเคราะหขอมูลดานพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 7 จํานวนและรอยละระดับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง

(n =300)ระดับพฤติกรรม จํานวน (คน) รอยละ ดี 75 25.00 ปานกลาง 133 44.33 ควรปรับปรุง 92 30.67x = 87.93, S.D. = 11.69, Min = 41.00, Max = 120.00, คะแนนเต็ม 120 คะแนน

จากตารางที่ 7 พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอยูในระดับปานกลางรอยละ 44.33 รองลงมาอยูในระดับควรปรับปรุงรอยละ 30.67

Page 62: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

45

สวนท่ี 6 ผลการวิเคราะหสมมติฐาน

ตารางท่ี 8 ความสัมพันธระหวางขอมูลทั่วไปกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง

(n = 300)ระดับพฤตกิรรมการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออก

มาก ปานกลาง นอย รวมขอมูลท่ัวไปจํานวน/รอยละ

จํานวน/รอยละ

จํานวน/รอยละ

จํานวน/รอยละ

2 df p-value

1. เพศ 1.148 2 .563 ชาย 66(22.0) 40(13.30) 30(10.00) 136(45.30) หญิง 74(24.70) 45(15.00) 45(15.00) 164(54.70)รวม 140(46.70) 85(28.30) 75(25.00) 300(100.00)2. อายุ 9.597 8 .29415 – 25 ป 35(11.70) 18(6.00) 16(5.30) 69(23.00)26 – 35 ป 43(14.30) 14(4.70) 18(6.00) 75(25.00)36 – 45 ป 28(9.30) 26(8.70) 19(6.30) 73(24.30)46 – 55 ป 22(7.30) 20(6.70) 17(5.70) 59(19.70)56 – 65 ป 12(4.00) 7(2.30) 5(1.70) 24(8.00)รวม 140(46.70) 85(28.30) 75(25.00) 300(100.00)1. ระดับการศึกษา

14.756 10 .141

ไมไดศึกษา 1(0.3) 0(0.0) 1(0.3) 2(.7)ประถมศึกษา 20(6.7) 15(5.0) 17(5.7) 52(17.30)มัธยมศึกษา 37(12.30) 24(8.00) 25(8.30) 86(28.70)ประกาศนียบัตร/อนุปรญิญา

44(14.70) 13(4.3) 14(4.70) 71(23.70)

ปริญญาตรี 34(11.30) 28(9.30) 15(5.00) 77(25.70)อื่น ๆ 4(1.30) 5(1.70) 3(1.00) 12(4.00)รวม 140(46.70) 85(28.30) 75(25.00) 300(100.00)

Page 63: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

46

ตารางที่ 8 (ตอ)(n = 300)

ระดับพฤตกิรรมการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกมาก ปานกลาง นอย รวม

ขอมูลท่ัวไป จํานวน/รอยละ

จํานวน/รอยละ

จํานวน/รอยละ

จํานวน/รอยละ

2 df p-value

2. อาชีพ 13.068

14 .521

ไมไดประกอบอาชีพ 2(0.7) 1(0.3) 0(0.00) 3(1.00)รับจาง 34(11.30) 20(6.70) 18(6.00) 72(24.00)คาขาย 27(9.00) 12(4.00) 13(4.30) 52(17.30)รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ

26(8.70) 14(4.70) 13(4.30) 53(17.70)

นักเรียน/ นักศึกษา 33(11.0) 17(5.70) 15(5.00) 65(21.70)แมบาน/พอบาน 10(3.30) 6(2.00) 10(3.30) 26(8.70)อื่น ๆ 3(1.00) 5(1.70) 2(0.70) 10(3.30)รวม 140(46.70) 85(28.30) 75(25.00) 300(100.00)1. รายไดเฉลี่ยตอเดือน 20.51

2*10 .025

7,500 – 15,000 86(28.70) 54(18.00) 51(17.00) 191(63.70) 15,001 – 25,000 47(15.70) 22(7.30) 14(4.70) 83(27.70) 25,001 – 35,000 3(1.00) 5(1.70) 6(2.00) 14(4.70) 35,001 – 45,000 3(1.00) 3(1.00) 0(0.00) 6(2.00) 45,001 – 55,000 0(0.00) 1(0.30) 4(1.30) 5(1.70) 55,001- 95,000 1(0.30) 0(0.00) 0(0.00) 1(0.30)รวม 140(46.70) 85(28.30) 75(25.00) 300(100.00)2. ประสบการณการเปนโรคไขเลือดออก

1.818 2 .403

ไมเคย 118(39.30) 77(25.70) 65(21.70) 260(86.70) เคย 22(7.30) 8(2.70) 10(3.30) 40(13.30)รวม 140(46.70) 85(28.30) 75(25.00) 300(100.00)*p <. 05

Page 64: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

47

จากตารางที่ 8 พบวา ขอมูลทั่วไป มีเพียงรายไดเฉลี่ยตอเดือนเทาน้ันที่มีความสัมพันธกับพฤตกรรมการปองงกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05นอกน้ันไมมีความสัมพันธ เปนการยอมรับสมมติฐานเปนบางสวน

ตารางท่ี 9 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยนํากับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง

(n=300)พฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกปจจัยนํา

คาสหสัมพันธ(r) p-valueดานความรู .734* -.020ดานทัศนคติ -.205** .000ดานการรับรูประโยชนและอุปสรรคการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออก

-.160** .006

*p <. 05

จากตารางที่ 9 พบวาปจจัยนําดานความรูเ ร่ืองโรคไขเลือดออกทัศนคติและการรับรูประโยชนและอุปสรรคการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออกมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 เปนการยอมรับสมมติฐาน

ตารางท่ี 10 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยเอ้ือกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง

(n = 300)พฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกปจจัยเอื้อ

คาสหสัมพันธ(r) p-valueนโยบายเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก การจัดกิจกรรมปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนสื่ออุปกรณเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชนสิ่งแวดลอมในชุมชน

-.468** .000

p< .05

Page 65: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

48

จากตารางที่ 10 พบวาปจจัยเอ้ือไดแก นโยบายเกี่ยวกับไขเลือดออก การจัดกิจกรรมปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก สื่ออุปกรณเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก และสิ่งแวดลอมในชุมชนมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่.05 เปนการยอมรับสมมุติฐาน

ตารางท่ี 11 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยเสริมกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง

(n = 300)พฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกปจจัยเสริม

คาสหสัมพันธ(r) p-valueการไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกจากบุคคลในครอบครัว เพื่อน สื่อมวลชน บุคลากรทางการแพทย และสาธารณสุข การติดตาม สนับสนุนการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของเจาหนาที่สาธารณสุข การรับรูขาวสารเกี่ยวกับการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชน

-.479** .000

*p-value < .05

จากตารางที่ 11 พบวาปจจัยเสริมไดแก การไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก จากบุคคลในครอบครัว เพื่อน สื่อมวลชน บุคลากรทางการแพทย และสาธารณสุข การติดตามสนับสนุนการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของเจาหนาที่สาธารณสุข การรับรูขาวสารเกี่ยวกับการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยางมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยาง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 เปนการยอมรับสมมุติฐาน

Page 66: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

บทที่ 5บทสรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ

บทสรุปการวิจัยเร่ืองปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออก

ของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research)

ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือ ประชาชนที่อาศัยอยูในในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัสเขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร ที่มีอายุต้ังแต 15–65 ป จํานวน 890 หลังคาเรือน คํานวณขนาดกลุมตัวอยางโดยใชสูตร Taro Yamane ไดกลุมตัวอยางทั้งสิ้น 300 หลังคาเรือนใชการสุมตัวอยางแบบงายโดยเขาสํารวจเจอใครที่อยูในเกณฑเปาหมายก็ถาม โดยใหประชาชน 1 คน แทนจํานวน 1หลังคาเรือน ใหไดตามจํานวนที่ตองการโดยทุกหลังคาเรือนมีโอกาสถูกเลือกเทาๆ กัน

เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้นตามกรอบแนวคิดทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวของโดยผานการตรวจสอบความเที่ยงตรงของเน้ือหาจากผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน เมื่อทดสอบความเที่ยงของแบบสอบถามแลวนําไปทดลองกับประชากรในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร จํานวน 30 คน วิเคราะหหาคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามโดยใชสูตร alpha cronbach coefficient ซึ่งไดคาความเชื่อมั่นตํ่ากวา 0.7ทุกสวนของแบบสอบถาม จากน้ันนําแบบสอบถามไปเก็บขอมูลจริง โดยสามารถสรุปไดดังน้ี

ขอมูลทั่วไป พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 54.70 มีอายุระหวาง 36- 45รอยละ 25.00จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษารอยละ 28.70 ประกอบอาชีพรับจางรอยละ 24.00 มีรายไดของครอบครัวเฉลี่ยตอเดือน 7,500–15,000 บาทรอยละ 63.67 และไมเคยเปนโรคไขเลือดออก รอยละ 86.70 เมื่อวิเคราะหความสัมพันธระหวางขอมูลทั่วไปกับพฤติกรรมการควบคุมโรคไขเลือดออก พบวา เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณการเปนโรคไขเลือดออกไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชน สวนรายไดเฉลี่ยตอเดือน มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองการและควบคุมโรคไขเลือดออก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เปนการยอมรับสมมติฐานบางสวน

1. ปจจัยนํา ไดแกความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก พบวาประชาชนสวนใหญมีความรูเกี่ยวกับการปองกัน

และควบคุมโรคไขเลือดออกอยูในระดับนอย รอยละ 48.33 รองลงมาอยูในระดับปานกลาง รอยละ32.33 และเมื่อวิเคราะหความสัมพันธระหวางความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกกับพฤติกรรมการ

Page 67: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

50

ปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก พบวามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05เปนการยอมรับสมมติฐาน

ทัศนคติพบวา ประชาชนสวนใหญมีทัศนคติเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกอยูในระดับดีรอยละ 41.00 รองลงมาอยูในระดับไมดี รอยละ 37.67 และเมื่อวิเคราะหความสัมพันธ

ระหวางทัศนคติกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกพบวา มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 เปนการยอมรับสมมติฐาน

การรับรูประโยชน อุปสรรคและการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออกพบวาประชาชนสวนใหญมีการรับรูอยูในระดับปานกลาง รอยละ 62.33 รองลงมาอยูในระดับดี รอยละ20.00 และเมื่อวิเคราะหความสัมพันธระหวางการรับรูประโยชน อุปสรรคและการรับรูความรุนแรงของโรคกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกพบวามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 เปนการยอมรับสมมติฐาน

2. ปจจัยเอ้ือไดแกนโยบายเกี่ยวกับไขเลือดออก การจัดกิจกรรมปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก สื่อ

อุปกรณเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก และสิ่งแวดลอมในชุมชน พบวาสวนใหญไดรับปจจัยเอ้ืออยูในระดับปานกลาง รอยละ 52.00 รองลงมาอยูในระดับนอย รอยละ 27.67 เมื่อวิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยเอ้ือกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก พบวามีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เปนการยอมรับสมมุติฐาน

3. ปจจัยเสริมไดแกการไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกจากบุคคลในครอบครัว เพื่อน สื่อมวลชน

บุคลากรทางการแพทย และสาธารณสุข การติดตาม สนับสนุนการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของเจาหนาที่สาธารณสุข การรับรูขาวสารเกี่ยวกับการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนพบวาสวนใหญไดรับปจจัยเสริมอยูในระดับนอย รอยละ 42.00รองลงมาอยูในระดับปานกลาง รอยละ 32.33 เมื่อวิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยเสริมกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก พบวามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เปนการยอมรับสมมุติฐาน

Page 68: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

51

อภิปรายผล

จากการวิเคราะหเพื่อศึกษาพฤติกรรมและปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพายกรุงเทพมหานคร หลังการวิเคราะหขอมูลแลว ผูวิจัยพบวามีประเด็นที่ควรนํามาอภิปรายผล ดังน้ี

จาการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก อยูในระดับ ปานกลาง รอยละ 44.33 ซึ่งสอดคลองกับสอดคลองกับเอกรัฐ คําวิไล (2553: 59) ที่ไดศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกของประชาชนจังหวัดจันทบุรีพบวาประชาชนมีพฤติกรรมระดับปานกลางมากที่สุด รอยละ 49.3 แสดงใหเห็นวากลุมตัวอยางมีพฤติกรรมในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอยูในเกณฑที่ดีอาจเปนเพราะวาประชาชนคิดวาการปองกันตนเองไมใหยุงกัดเปนหนาที่ของตนที่จะตองดูแลตัวเอง

ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลื อดออกของประชาชน พบวา ดานขอมูลทั่วไปกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกไดแก เพศอายุ ประสบการณการเปนโรคไขเลือดออก ไมมีความสัมพันธกัน ซึ่งสอดคลองกับกุนนิดา ยารวง(2555: 87-90) ที่ไดศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในตําบลแมสาย อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย พบวา เพศ อายุ ประสบการณการเปนโรคไขเลือดออก ไมมีความสัมพันธกัน และสอดคลองกับสายชล ภูสกุล (2555) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของชุมชนในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกในตําบลทาคาอําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม พบวาเพศ อายุ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของชุมชนในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก แสดงใหเห็นวาเพศ อายุ และประสบการณการเปนไขเลือดออกน้ัน ไมมีผลตอพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออก แมจะอยูที่ชุมชนตางกัน

ปจจัยนํา ไดแก ความรู ทัศนคติ การรับรูประโยชน และอุปสรรคการรับรูความรุนแรงเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชนพบวาความรูเร่ืองโรคไขเลือดออกมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งไมสอดคลองกับ วัชระเสงี่ยมศักด์ิ (2554: 76) ศึกษาพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนตําบลโคกยาง อําเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย พบวา ความรู เ ร่ืองโรคไขเลือดออกไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 69: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

52

การรับรูประโยชนอุปสรรค และการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออก พบวามีความสัมพันธกันซึ่งสอดคลองกับอภิวัฒน วราพุฒ (2553: 130) ศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับ

กลาวไดวาประชาชนสวนใหญ มีทัศนคติ การรับรูประโยชนอุปสรรค และการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออกที่ดี ทั้งน้ีเปนเพราะวาประชาชนสวนใหญเห็นวาการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกเปนเร่ืองของทุกคนที่ควรตระหนักเพราะทุกคนมีโอกาส ความเสี่ยงที่จะเปนโรคไขเลือดออกได หากไมรูจักปองกันตนเอง ซึ่งวิธีการปองกันตนเองพบวาสวนใหญเห็นดวยวาการปดฝาโองนํ้าทุกคร้ังหลังใชเปนการลดแหลงเพราะพันธุของลูกนํ้ายุงลาย และการนอนกางมุงหรือนอนในมุงลวดไมทําใหปวยเปนโรคไขเลือดออก

ปจจัยเอ้ือไดแก นโยบาย การจัดกิจกรรม สื่ออุปกรณเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก และสิ่งแวดลอมในชุมชนมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันไขเลือดออกของประชาชน พบวามีความสัมพันธกันซึ่งสอดคลองกับกุนนิดา ยารวง (2555: 94) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในตําบลแมสาย อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย พบวา ปจจัยเอ้ือ ไดแก ความพอเพียงขอทรัพยากร การมีทักษะในการใชทรัพยากร รวมถึงปจจัยดานสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในตําบลแมสาย อําเภอแมสายจังหวัดเชียงราย และสอดคลองกับวัชระ เสงี่ยมศักด์ิ (2554: 71) ศึกษาพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนตําบลโคกยาง อําเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย พบวา การรวมกิจกรรมรณรงคการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการควบคุมโรคไขเลือดออกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

แสดงใหเห็นวาปจจัยเอ้ือ ไดแก นโยบาย การจัดกิจกรรม สื่ออุปกรณเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกและสิ่งแวดลอมในชุมชน มีความสําคัญตอการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนเปนเพราะวา ประชาชนไดแสดงบทบาทในการสรางเสริมสุขภาพเฝาระวังปองกันโรคไขเลือดออกอยางชัดเจนดวยการมีสวนรวมในการรณรงคปองกันโรคไขเลือดออก

ปจจัยเสริมไดแก การไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกจากบุคคลในครอบครัวเพื่อน สื่อมวลชน บุคลากรทางการแพทย และสาธารณสุข การติดตาม สนับสนุนการปองกัน และควบคุมของเจาหนาที่สาธารณสุข การรับรูขาวสารเกี่ยวกับการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชน พบวามีความสัมพันธกันซึ่งสอดคลองกับกุนนิดา ยารวง (2555: 96) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในตําบลแมสาย อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย พบวา ปจจัยเสริมไดแก การไดรับการสนับสนุนหรือกระตุนเตือนจากเจาหนาที่สาธารณสุข/อาสาสมัครสาธารณสุขหรือบุคคลที่ใกลชิดเกี่ยวกับการปองกันและควบคุม

Page 70: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

53

โรคไขเลือดออก การไดรับขอมูลขาวสารเร่ืองโรคไขเลือดออก มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในตําบลแมสาย อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

แสดงใหเห็นวาปจจัยเสริมไดแก การไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกจากบุคคลในครอบครัว เพื่อน สื่อมวลชน บุคลากรทางการแพทย และสาธารณสุข การติดตาม สนับสนุนการปองกันและควบคุมของเจาหนาที่สาธารณสุข การรับรูขาวสารเกี่ยวกับการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชน เปนสิ่งจําเปนในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนซึ่งสอดคลองตามแนวคิดของ Green & Kreuter (1999) ที่วา สิ่งที่บุคคลจะไดรับหรือคาดวาจะไดรับจากผูอ่ืน อันเปนผลจากการกระทําของตน สิ่งที่บุคคลจะไดรับหรือคาดวาจะไดรับอาจเปนรางวัลที่เปนสิ่งของ คําชมเชย ผลตอบแทน การใหกําลังใจ การยอมรับ หรือการตําหนิติเตียน การลงโทษหรือการไมยอมรับการกระทําน้ัน ซึ่งสิ่งเหลาน้ีบุคคลจะไดรับจากบุคคลอ่ืนที่มีอิทธิพลตอตนเองเชน ครอบครัว เพื่อน ครู นายจาง หัวหนางาน คนไขบุคลากรทางสาธารณสุข และผูที่มีอํานาจในการตัดสินใจ เปนตน และอิทธิพลของบุคคลตางๆ น้ีจะแตกตางกันไปตามพฤติกรรมของบุคคลและสถานการณ

ขอเสนอแนะขอเสนอแนะจากการวิจัยจากผลการวิจัยคร้ังน้ี พบวาพฤติกรรมในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอยูใน

ระดับปานกลาง ปจจัยนํา ไดแก ความรูอยูในระดับนอย ทัศนคติอยูในระดับดี การรับรูประโยชนอุปสรรคความรุนแรงของโรคไขเลือดออกอยูในระดับปานกลาง ปจจัยเอ้ือ ไดแก นโยบาย การจัดกิจกรรม สื่ออุปกรณและสิ่งแวดลอมในชุมชนเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกอยูในระดับปานกลาง และปจจัยเสริม ไดแก การไดรับคําแนะนําจากบุคคลในครอบครัว เพื่อน สื่อมวลชน บุคลากรทางการแพทยสาธารณสุข การติดตาม สนับสนุนการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของเจาหนาที่สาธารณสุข การรับรูขาวสารเกี่ยวกับปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของกลุมตัวอยางอยูในระดับนอย ดังน้ัน นโยบายและการดําเนินงานเพื่อสงเสริมใหคนมีพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนควรดําเนินการดังน้ี

ขอเสนอแนะดานนโยบายจากผลการวิจัยคร้ังน้ี พบวาพฤติกรรมในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของ

ประชาชนควรมีความรูที่ถูกตอง ตอเน่ือง และยั่งยืนดังน้ี

Page 71: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

54

1.ควรวางเปาหมายกําหนดนโยบายดานการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออก โดยมีการวางแผน เพิ่มระดับความรู การรับรู และทัศนคติของประชาชน เพื่อใหประชาชนมีพฤติกรรมในการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกไดถูกตองเพิ่มขึ้น นอกจากน้ีผูบริหารควรมีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจนเปนระบบในการพัฒนาสิ่งแวดลอมในชุมชนเพื่อลดแหลงเพาะพันธของยุงลาย

2.ควรมีการคงระดับของนโยบายอยางตอเน่ือง สนับสนุนขอมูลขาวสารเร่ืองการปองกันและควบคุมโรคไข เลือดออกใหทั่วถึง และยั่งยืน สนับสนุนงบประมาณในการผลิตสื่อประชาสัมพันธ อุปกรณตางๆการจัดประกวดชุมชนปลอดลูกนํ้ายุงลายดีเดนตางๆ

ขอเสนอแนะดานปฏิบัติการ1.กําหนดแนวทางการดําเนินงาน จัดทําแผนงาน/โครงการ เพื่อเพิ่มระดับการรับรูเกี่ยวกับ

โรคไขเลือดออก สงเสริมทัศนคติที่ดี การรับรูประโยชนอุปสรรค และการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออก ติดตามพฤติกรรมในการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออก/จัดกิจกรรมอยางตอเน่ืองสม่ําเสมอยั่งยืนตอไป

2. ผลิตสื่อประชาสัมพันธ เชน ปายนิทรรศการ ไวนิล แผนพับตางๆ ผานชองทางสื่อที่หลากหลาย สื่อสารธารณะ อินเตอรเน็ต เพื่อเผยแพรขอมูลขาวสารในการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกเพื่อใหคลอบคลุมกลุมเปาหมายเพิ่มมากขึ้น เนนการเขาใจที่ถูกตอง

3. สนับสนุนอุปกรณตางๆ เกี่ยวกับการกําจัดแหลงเพาะพันธของยุง โดยผานแกนนําชุมชนอาสาสมัครสาธารณสุข มีการแนะนําใหความรูที่ถูกตอง สรางความตระหนักคิดวาการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกเปนเร่ืองสําคัญ และเปนหนาที่ของทุกคน การปองกันตนเองและครอบครัวใหปลอดภัยจากโรคไขเลือดออกเชนการนอนกางมุง การกําจัดแหลงเพาะพันธของยุงฯลฯ

ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป1. การศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษา เพื่อสงเสริมพฤติกรรมการปองกัน และ

ควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในพื้นที่ เขตปอมปราบศัตรูพายกับพื้นที่ใกลเคียง2. ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนใน

ชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร กับพื้นที่อ่ืน หรือเขตอ่ืนในกรุงเทพมหานคร เพื่อเปนแนวทางในการแกปญหาเร่ืองพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกตอไป

Page 72: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

กลุมงานควบคุมโรคติดตอ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ. รายงานเฝาระวังโรคทางระบาดวิทยา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553.

ฉัตรศิริ ปยะพิมลสิทธิ์. การใชโปรแกรม SPSS for windows ในการวิเคราะหขอมูล.”กรุงเทพมหานคร: ซี.เค แอนดเอสโฟโตสตูดิโอ, 2548.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพคร้ังที่7). กรุงเทพมหานคร: ศรีอนันตการพิมพ2553.

ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. กระบวนการและเทคนิคการทํางานของนักพัฒนา. กรุงเทพมหานค:สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2543.

พรศักด์ิ สําราญร่ืน.การเปรียบเทียบพฤติกรรมการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนระหวางตําบลท่ีมีการระบาดสูงสุด กับตําบลท่ีมีการระบาดต่ําสุด อําเภอกุฉินารายณจังหวัดกาฬสินธุ. ชลบุรี: สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553.

สุวิมล ติรกานันท. การใชสถิติทางสังคมศาสตร: แนวทางสูการปฏิบัติ. (พิมพคร้ังที่2). ฉบับปรับปรุงใหม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549.

สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข. รายงานเฝาระวังโรคทางระบาดวิทยา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตร, 2553.

สํานักโรคติดตอนําโดยแมลง กรมควบคุมโรค. แนวทางควบคุมโรคไขเลือดออกสําหรับเจาหนาท่ีสาธารณสุข. (พิมพคร้ังที่1). กรุงเทพมหานคร: จัดพิมพโดยสํานักโรคติดตอนําโดยแมลง,2553.

Page 73: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

56

บทความในวารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ

ปราโมทย เกรียงตันติวงศ. “ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการปฏิบัติงานปองกันและควบคุมโรคไขเลือดของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน อําเภอไพสาลี จังหวัดนครสวรรค .” วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (2550): 738-46.

สมศักด์ิ กีรติหัตถยากร. “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการควบคุมปองกันโรคไขเลือดออกของประชาชนอําเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี”.วารสารสุขภาพภาคประชาชนภาคกลาง.สหมิตรพร้ินต้ิงแอนดพับลิสซิ่ง จํากัด. 26,3 (2553): 25-38.

เอกสารอื่นๆ

กุนนิดา ยารวง. “ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของ ประชาชนในตําบลแมสาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย.” สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต จังหวัดพะเยา,2555.

จันทรพร จิรเชฐพัฒนา. “ปจจัยที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกประชาชนในเขตเทศบาลตําบลสบปราบ อําเภอสบปราบ จังหวัดลําปาง .” วิทยานิพนธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการพยาบาลชุมชน). บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2551.

นิตยา ภักดี. “พฤติกรรมการควบคุมและปองกันโรคไขเลือดออกในครัวเรือน จังหวัดสระแกว .”การศึกษาวิทยานิพนธ. พยาบาลศาสตรมหาบัญฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน).คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา, 2551.

ไพฑูรย สมตัว. “ความรู ทัศนคติและการปฏิบัติในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกอําเภอสามชุกจังหวัดสุพรรณบุรี.” วิทยานิพนธปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหิดล, 2552.

รัชยา น่ิมทอง. “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของประชาชนในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนตําบลหนองโคน อําเภอจตุรัส จังหวัดชัยภูมิ .”วิทยานิพนธปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

Page 74: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

57

วีระพงษ มาฉะกาด. “ปจจัยที่มีอิทธิพลตอระดับพฤติกรรมการมีสวนรวมของชุมชนในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ในตําบลคลองโคน อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม.”วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัญฑิต (สุขศึกษา). สาขาสุขศึกษา ภาควิชาพลศึกษา.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2552.

วัชระ เสงี่ยมศักด์ิ. “พฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนตําบลโคกยางอําเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย.” สาขาสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร ,2554.

สุนทร หาญศึก. “ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมปองกันโรคไขเลือดออกของประชนชาวตําบลรุง อําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ.” โครงการวิจัย จังหวัดศรีเกษ, 2551.

สุภาพร นิราศโศก. “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในอําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม.” วิทยานิพนธปริญญาสาธารณสุขศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

สุพัตรา กาญจนลออ. “ปจจัยที่มีผลตอบทบาทในการปองกันโรคไขเลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุข อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี.” วิทยานิพนธปริญญาศิปศาสตรมหาบัณฑิต(พัฒนาสังคม) สาขาพัฒนาสังคม คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2555.

อธิวัฒน วราพุฒ. “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชน จังหวัดศรีสะเกษ.” สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสรางเสริมสุขภาพ.มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี, 2553.

เอกรัฐ คําวิไล. “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมโรคไขเลือดออกของประชาชนจังหวัดจันทบุรี.” วิทยานิพนธปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี2553.

อัจฉรา ปุราคม. “พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน.” สถาบันวิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร , 2555.

Page 75: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

58

Books

Becker.M.N.and L.A. Maiman.Socialbehavioral Determiants of Compliannce withHealth and Medical Care Reccommendations. Medical Care, 1975.

WHO. 1986. Ottawa Charter for Health Promotion. The first international conference OnHealth Promotion, Ontario, Canada.

Rosentock ,LM. The Health Belief Model and Preventive Health Behavior. Health EducationMonograph 2: 329-386. 1974.

Yamane, Taro. 1973. Statistics: An introductory analysis. New York: Harper and RowInternational.

Page 76: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

ภาคผนวก

Page 77: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

53

ภาคผนวก ก

รายนามผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือการวิจัย

Page 78: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

54

ภาคผนวก ข

แบบสอบถามท่ีใชในการวิจัย

Page 79: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

60

ผนวก กรายนามผูเช่ียวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือวิจัย

1. ชื่อ–สกุล นายวัชระ พัฒอําพันธคุณวุฒิการศึกษา สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยมหิดลสถานที่ปฏิบัติงาน ฝายสิ่งแวดลอมและสุขาภิบาล สํานักงานเขตคลองเตยตําแหนงปจจุบัน หัวหนาฝายสิ่งแวดลอมและสุขาภิบาล

สํานักงานเขตคลองเตย(นักวิชาการสุขาภิบาลชํานาญการพิเศษ)

2. ชื่อ–สกุล สอ.หญิงกิ่งออ สวนสันตคุณวุฒิการศึกษา สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยามสถานที่ปฏิบัติงาน ฝายสิ่งแวดลอมและสุขาภิบาล สํานักงานเขตธนบุรีตําแหนงปจจุบัน เจาพนักงานสาธารณสุขชํานาญงาน

3.ชื่อ–สกุล นางทิพวรรณ เปยสะครานคุณวุฒิการศึกษา พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิยาลัยมหิดลสถานที่ปฏิบัติงาน ศูนยบริการสาธารณสุข 20 สํานักอนามัยตําแหนงปจจุบัน พยาบาลวิชาชีพ ชํานาญการ

Page 80: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

61

ผนวก ขแบบสอบถาม

เร่ือง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

คําชี้แจงแบบสอบถามน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อคนควา รวบรวมคําตอบ และวิเคราะหผลเกี่ยวกับปจจัย

ที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไข เลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร แบบสอบถามน้ีแบงออกเปน 4สวนประกอบดวย

สวนที่ 1 แบบสอบถามปจจัยดานชีวสังคม จํานวน 6 ขอสวนที่ 2 ขอมูลปจจัยนํา จํานวน 15 ขอสวนที่ 3 ขอมูลปจจัยเอ้ือ จํานวน 10 ขอสวนที่ 4 ขอมูลปจจัยเสริม จํานวน 15 ขอสวนที่ 5 พฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก จํานวน 30 ขอ

ผูวิ จัยใครขอความกรุณาในการกรอกแบบสอบถามเพื่อเปนประโยชนแกการศึกษาผลการวิจัยน้ีจะเปนประโยชนตอการศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพายกรุงเทพมหานคร ขอมูลทุกอยางจะถูกเก็บเปนความลับ และใชประโยชนเพื่อการวิจัยเทาน้ัน

ขอขอบพระคุณอยางสูงในการใหความรวมมือ

นางสาวสุรัสวดี สีหราชนักศึกษาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต

คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

Page 81: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

61

แบบสอบถาม

เร่ือง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชนในชุมชนพื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

สวนที่1 แบบสอบถามปจจัยทางชีวสังคม จํานวน 6 ขอคําชี้แจง : โปรดทําเคร่ืองหมายหรือเติมคําในชองวางตามความเปนจริง1.เพศ

ชาย หญิง

2.ปจจุบันทานอายุ............................ปเต็ม

3.ระดับการศึกษา

ไมไดรับการศึกษา ประถมศึกษา

มัธยมศึกษา ประกาศนียบัตร/อนุปริญญา

ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี

4.อาชีพหลัก(อาชีพที่มีรายไดประจําหรือรายไดเปนเดือน)

ไมไดประกอบอาชีพ นักเรียน/นักศึกษา

รับจาง ธุรกิจสวนตัว

รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ คาขาย

อ่ืนๆระบุ.............................

5.รายไดของครอบครัวเฉลี่ยตอเดือน

นอยกวาหรือเทากับ 5,000 บาท 5,001-10,000 บาท

10,001-20,000 บาท 20,001 บาทขึ้นไป

Page 82: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

62

6.ประสบการณการเจ็บปวยดวยโรคไขเลือดออก

ไมเคยปวยเปนไขเลือดออก เคยปวยเปนไขเลือดออก

สวนท่ี 2 ขอมูลปจจัยนํา ไดแก ความรู ทัศนคติ การรับรูประโยชนและอุปสรรค การรับรูความรุนแรงเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก จํานวน 15 ขอคําชี้แจง : โปรดทําเคร่ืองหมาย(ถูก) ลงในชองที่ตรงกับความเห็นของทานมากที่สุดและขอใหตอบใหครบทุกขอ

คําถาม ใช ไมใช ไมทราบก.ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลอืดออกของประชาชน1. ยุงลายเปนพาหะนําโรคไขเลือดออก2. ยุงลายเกิดในน้ําเนา น้ําคลํา3. วงจรชีวิตยุงตั้งแตวางไขจนเจรญิเติบโตเปนตัวแก ใชเวลา 7-10 วัน4. ยุงลายออกหากินเวลากลางวัน5. ยุงทุกชนิดสามารถนําโรคไขเลือดออกได6. คนทีเ่คยปวยเปนไขเลือดออกแลวสามารถเปนซํ้าไดอีก ถาไดรับเช้ือโรคไขเลือดออกครัง้ใหม7. การพนหมอกควันเปนวิธีที่ดทีีสุ่ดในการฆายุงที่มีเช้ือโรคไขเลือดออก8. การกําจัดลูกน้ํายุงลายในภาชนะที่มีนําขงั เชน ควํ่ากะลา กระปอง หรือเปล่ียนถายน้ําในภาชนะควรทําทกุสัปดาห9. ยาที่ควรทานทันที ที่มีไขสูงลอยและสงสัยเปนไขเลือดออก คือแอสไพริน10. ทรายอะเบทใชกําจัดลูกน้ํายุงลายมีฤทธ์ิอยูไดนาน 3 เดือน

11. ฝาโองน้ําไมควรปดฝาเนื่องจากเปนการเปดใหแสงแดดฆาลูกน้ํายุงลายได

12. ยุงลายมักอาศัยอยูในสวนนอกบาน

13. การนอนในมุงหรือนอนในหองที่มีมุงลวด ไมสามารถปองกันการปวยเปนโรคไขเลือดออกไดเลย14.โรคไขเลือดออกสามารถติดตอกันไดทางการไอ จามและน้ํามูกน้ําลาย15.โรคไขเลือดออกไมรุนแรง ปวยแลวสารถรักษาไดไมเคยมีใครตายดวยโรคไขเลือดออก

Page 83: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

63

คําชี้แจง: โปรดทําเคร่ืองหมาย ในขอท่ีทานไดรับขอมูลจากแหลงขอมูลในตารางเห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ทานมีความรูสึกเห็นดวยกับขอความน้ันมากที่สุดเห็นดวย หมายถึง ทานมีความรูสึกเห็นดวยกับขอความน้ันเปนสวนมากไมเห็นดวย หมายถึง ทานไมเห็นดวยกับขอความน้ันเปนสวนมากไมเห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ทานมีความรูสึกไมเห็นดวยกับขอความน้ันมากที่สุด

ระดับความคิดเห็นคําถาม เห็นดวย

อยางย่ิงเห็นดวย ไมเห็น

ดวยไมเห็นดวย

อยางย่ิงข. ทัศนคติเกี่ยวกับการดูแลตนเองในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก1. ทานคิดวาการกําจัดยุงเปนหนาที่ของเจาหนาที่

2. ทานเคยปวยเปนโรคไขเลือดออกแลวก็จะไมปวยไดอีก จะมีภูมิคุมกัน3. การปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกทานสามารถทําไดเองทุกบาน4. ทานคิดวาการทําลายแหลงเพาะพันธยุงเปนเรื่องยุงยาก5.ทานใหความรวมมือและชวยเหลือชุมชนทุกครั้งที่มีการกําจัดลูกน้ํายุงลาย6.ทานคิดวายุงที่กอใหเกิดโรคไขเลือดออกเปนยุงที่อยูนอกบานมากกวาในบาน7. ทานคิดวาการพนสารเคมีกําจดัยุง ไมควรพนในบานเพราะจะทําใหมีกล่ินรบกวนและติดเส้ือผาและไมเปนการฆายุงดวย8. การเปดพัดลมไลยุงในเวลานอนกลางวันเพียงพอแลวสําหรับการปองกันยุงกัด9. ทานคิดวาการรณรงคทําลายแหลงเพาะพันธุยุงไมเกิดประโยชนเสียเวลาเสียเวลาในการประกอบอาชีพ10. การที่ทานทําความสะอาดภาชนะใสน้ําทุก 7วันจะชวยปองกันการเกิดลูกน้ํายุงลาย

11. ทานคิดวาการทาโลช่ันและจดุยากัดยุง เปนวิธีการปองกันโรคไขเลือดออกไดดีที่สุด12. ทานคิดวาโรคไขเลือดออก เกิดไดกับทุกวัย

Page 84: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

64

ระดับความคิดเห็นคําถาม เห็นดวย

อยางย่ิงเห็นดวย ไมเห็น

ดวยไมเห็นดวยอยางย่ิง

13.การประชาสัมพันธใหความรูเรื่องโรคไขเลือดออกบอยๆเปนเรือ่งนารําคาญ14. ทานคิดวาการกําจัดขยะที่ถูกตองจะชวยลดแหลงพันธุยุงได15. ทานรูสึกเต็มใจที่จะใหความรวมมือในการกําจัดยุงในชุมชนของทาน16. ทานคิดวาการปองกันโรคไขเลือดออกไดดี คือ การปองกันไมใหยุงกัด17. ทานคิดวายุงลายขยายพันธุไดดีในน้ําน้ําเสีย18. ทุกคนมีโอกาสปวยดวยโรคไขเลือดออกได หากไมรูวิธีปองกันตนเองค.การรบัรูประโยชน และความรนุแรงของโรคไขเลือดออก1. การพนสารเคมีชนิดหมอกควันที่สํานักงานเขต ดําเนนิการใหชวยปองกันโรคไขเลือดออกไดดี2. โรคไขเลือดออกจะมีการะบาดเฉพาะในฤดฝูนเทานั้น 3. การขัดลาง การทําลายกระปอง กะลาเปนการทําลายแหลงเพาะพันธยุงลายซ่ึงสามรถปองกันโรคไขเลือดออกได 4. การปรบัปรุงส่ิงแวดลอมและทําลายแหลงเพาะพันธยุงลายเปนเรื่องที่เสียเวลาและไมไดส้ินเปลืองเงิน5. การจัดซ้ือวัสดุอุปกรณในการปองกันยุงกัด เชน ยาทากันยุงและสเปรพนเปนการส้ินเปลืองและไมไดในการปองกันโรคไขเลือดออก6. โรคไขเลือดออกยังไมมีวัคซีนปองกันโรคไขเลือดออก7. ผูที่ปวยมีโรคประจําตัว เชน โรคหัวใจ โรคไต โรคเลือด เม่ือปวยดวยโรคไขเลือดออกจะมีความรุนแรงมากกวาคนอื่น8. การปฏิบัติตามคําแนะนําของแพทยในการรักษาโรคไขเลือดออกจะชวยลดอันตรายของโรคได9. ประชาชนในชุมชนมีบทบาทสําคัญในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกได10.โรคไขเลือดออกทําใหเกร็ดเลือดต่ําและจะเกิดภาวะเลือดออกงายจนรุนแรงถึงขัน้เสียชีวิตได

Page 85: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

65

สวนท่ี 3 ขอมูลปจจัยเอ้ือ ไดแก นโยบาย การจัดกิจกรรมปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก สื่ออุปกรณเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกและสิ่งแวดลอมในชุมชน จํานวน 10 ขอคําชี้แจง : โปรดทําเคร่ืองหมาย(ถูก) ในขอที่ทานไดรับขอมูลจากแหลงขอมูลในตาราง ขางลางน้ีตามความเปนจริงซึ่งความถี่ของการปฏิบัติเรียงลําดับจากมากไปหานอย

ไดรับขอมูลมากที่สุด หมายถึง ไดรับ 6-7 คร้ังใน 1 เดือนไดรับขอมูลมาก หมายถึง ไดรับ 4-5 คร้ังใน 1 เดือนไดรับขอมูลนอย หมายถึง ไดรับ 2-3 คร้ังใน 1 เดือนไดรับขอมูลนอยที่สุด หมายถึง ไดรับ 0-1 คร้ังใน 1 เดือน

การับรูขอมูลขอคําถามมากที่สุด มาก นอย นอยที่สุด

การจัดกิจกรรมส่ืออุปกรณเก่ียวกับโรคไขเลือดออกและส่ิงแวดลอมในชุมชน1. ทานไดรับคําแนะนําวิธีการปองกันโรคไขเลือดออก จากเจาหนาที่ทางสาธารณสุข2. เจาหนาที่สาธารณสุขมาสํารวจภาชนะที่ขังน้ํา เชน โองน้ํา กระปองเพ่ือประเมินความชุกของลูกน้ํายุงลาย3. คนในชุมชนพูดถึงโอกาสเส่ียงและความรุนแรงของโรคไขเลือดออกที่จะเกิดกับทานและคนในครอบครัว4. ครอบครัวของทานมีสวนรวมการรวมรณรงคปองกันโรคไขเลือดออกรวมกับเจาหนาที่สาธารณสุข5. ภาชนะที่บรรจุน้ําดื่ม น้ําใชในบานของทานมีฝาปดมิดชิด6. ชุมชนของทานมีการพนหมอกควันจากสารเคมีเพ่ือกําจัดยุง7. เจาหนาสาธารณสุขรวมรณรงค จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ แกปญหาโรคไขเลือดออกภายในหมูบาน8. คนในครอบครัวทานมีการกําจัดแหลงเพาะพันธุยุงอยูตลอดทุกๆ 7 วัน9. ทานและคนในครอบครัวของทานชวยกันปดประตู มุงลวดหรอืนอนในมุงกลางวันและกลางคืน10. ทานสามารถตัดสินใจและแสดงบทบาทการเฝาระวัง ปองกันโรคไขเลือดออกไดอยางชัดเจน

Page 86: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

66

สวนท่ี 4 ขอมูลปจจัยเสริม ไดแก การไดรับคําแนะนําจากบุคคลในครอบครัว สื่อมวลชน เจาหนาที่สาธารณสุขเกี่ยวกับการปองกันโรคไขเลือดออกของประชาชน จํานวน 15 ขอคําชี้แจง : โปรดทําเคร่ืองหมาย(ถูก) ในขอที่ทานไดรับขอมูลจากแหลงขอมูลตามความเปนจริง

ไดรับขอมูลมากที่สุด หมายถึง ไดรับ 6-7 คร้ังใน 1 เดือนไดรับขอมูลมาก หมายถึง ไดรับ 4-5 คร้ังใน 1 เดือนไดรับขอมูลนอย หมายถึง ไดรับ 2-3 คร้ังใน 1 เดือนไดรับขอมูลนอยที่สุด หมายถึง ไดรับ 0-1 คร้ังใน 1 เดือน

การับรูขอมูลขอคําถามมากที่สุด มาก นอย นอยที่สุด

การไดรับคําแนะนําเก่ียวกับโรคไขเลือดออก การติดตามสนับสนนุ การปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของเจาหนาที่สาธารณสุข1. ทานไดรบัคําแนะนํา การดูแลเอาใจใสการรบัฟงปญหาในการปองกันโรคไขเลือดออกเม่ือปวยจากเจาหนาทีส่าธารณสุข2. ทานไดรับคําแนะนําและการกระตุนในการปองกันโรคไขเลือดออกจากเจาหนาที่สาธารณสุข3. ทานปวยไดรบัคําแนะนําวิธีการดูแลตนเองเม่ือมีไขสูงจากเจาหนาที่สาธารณสุข4. ทาน ไดรับคําแนะนําวิธีปองกันไมใหปวยเปนโรคไขเลือดออก5. ทานไดรบัทรายอะเบทหรืออปุกรณปองกันโรคไขเลือดออกจาก เจาหนาที่สาธารณสุขอยางพอเพียงการติดตามสนับสนุน การปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของเจาหนาที่สาธารณสุข6. ทานมีการจัดอปุกรณในการปองกันยุง เชน ยาฉีดยุง ยาทากันยุง7. ทานไดรับทรายอะเบท ปองกันยุงลายจากเจาหนาที่อยางเพียงพอและมีเจาหนาที่มาตรวจดูจํานวนลูกน้ํายุงลายหลังจากใสแลว8. ทานใสทรายอะเบทกําจัดลูกน้าํในน้ําใชทุก 3 เดือน9. ทานใสเกลือ น้ําสมสายชู หรือผงซักฟอกในจานรองขาตูกับขาว

Page 87: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

67

การับรูขอมูลขอคําถาม

มากที่สุด มาก นอย นอยที่สุด

10. ทานมีการสํารวจภาชนะที่มีน้าํขังและลูกน้ํายุงลายบริเวณในและนอกบานการไดรับขอมลูขาวสารเกี่ยวกบัโรคไขเลือดออก11. ทานไดรับขอมูล ความรูเก่ียวกับโรคไขเลือดออกจากเสียงตามสายและส่ือประชาสัมพันธ12. เจาหนาที่สาธารณสุขมีคําแนะนําใหเล้ียงปลาหางนกยูงเพ่ือทําลายลูกน้ํายุงลายปองกันไขเลือดอก13. เจาหนาที่สาธารณสุขชักชวนใหรวมรณรงคทําลายแหลงพันธุยุงในบานและนอกบาน14. ทานแนะนําและชักชวนใหเพ่ือนบานรวมดําเนินกิจกรรมปองกันไขเลือดออก15. เจาหนาที่สาธารณสุขแนะนําวิธีการทําลายแหลงเพาะพันธุยุง ตองทําพรอมเพรียงกัน ทุกหลังคาเรือน

Page 88: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

68

สวนที่5 พฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก จํานวน 30 ขอคําชี้แจง : โปรดทําเคร่ืองหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเห็นของทานมากที่สุดและขอใหคําตอบใหครบทุกขอ ซึ่งแตละขอคําถามจะมีคําตอบใหเลือก ดังน้ี

ปฏิบัติมากที่สุด หมายถึง ปฏิบัติ 6-7 คร้ัง/เดือนปฏิบัติมาก หมายถึง ปฏิบัติ 4-5 คร้ัง/เดือนปฏิบัตินอย หมายถึง ปฏิบัติ 2-3 คร้ัง/เดือนปฏิบัตินอยที่สุด หมายถึง ปฏิบัติ 0-1 คร้ัง/เดือน

ปฏิบตัิมากที่สุด

ปฏิบตัิมาก

ปฏิบตัินอย

ปฏิบตัินอยที่สุด

1. ทานใสทรายอะเบทในภาชนะเก็บน้ําใชในบานทุก 3 เดือน 2. ทานควํ่าภาชนะ ยางรถยนต ทีมี่น้ําขัง3. ทานนอนในบานที่มีมุงลวดหรือกางมุงนอนทัง้ในเวลากลางวัน-

กลางคืน4. ทานมีสระบัวทานจึงเล้ียงปลาหางนกยูงเพ่ือปองกันการวางไขของ

ลูกน้ํายุงลาย 5. ทานตักลูกน้ําทิง้เวลาพบลูกน้ําในภาชนะในน้ําอปุโภคบริโภค 6. ทานเปล่ียนถายน้ําในแจกันดอกไมทุก 7 วัน7. ทานจัดบานเรือนไมใหมืดทบึ8. ทานหาฝาปดภาชนะที่ใสน้ําอปุโภค-บริโภคในบาน 9. ทานทิ้งขยะในถังขยะที่ทาง ราชการจัดหาไวให 10. ทานชักชวนเพ่ือนบานมารวมกันรณรงคปองกันโรคไขเลือดออกในชุมชนของทาน 11. เม่ือทานปวย ไดปฏบิัติตนเองตามคําแนะนําของแพทย 12. ทานใชสารเคมีพน หรือจดุยากันยุงหรือทายากันยุงกอนนอน13. ทานขดัลางภาชนะที่ใสน้ําใชในบานทุก 7 วัน 14. เม่ือมีคนปวยดวยโรคไขเลือดออกในบานทานจะแจงเจาหนาที่

สาธารณสุขทันที 15. ทานพาบุตร-หลานไปหาหมอทนัททีี่สงสัยเปนไขเลือดออก16. ทานใหความรวมมือในการรณรงคปองกัน โรคไขเลือดออก

Page 89: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

69

ขอคําถามปฏิบตัิ

มากที่สุดปฏิบตัิมาก

ปฏิบตัินอย

ปฏิบตัินอยที่สุด

17. ทานมีสวนรวมในการเสนอแนะแนวทางปองกันโรคไขเลือดออก18. ทานยินดีใหความรวมมือในการกําจัดยุงลายในบานของทานเอง19. ทานรวมประชาสัมพันธรณรงคการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออก20. ทานเติมน้ําเดือดจดัในถวยหลอขาตูกับขาวทุก 7 วัน21. ทานตดิตามขาวสารโรคไขเลือดออกจากอินเทอรเนต็ โทรทศันวิทยุหรือหอกระจายขาว22. เม่ือทานมีไขสูงทานซ้ือยาพาราเซตามอลใหรับประทาน23. ทานปรับปรุงส่ิงแวดลอมบริเวณบานเพ่ือปองกันหรือลดปริมาณของยุง24. ทานใชเกลือแกง/ผงซักฟอก/น้ําสมสายชู/ใสจานรองขาตูกับขาวเพ่ือกําจัดลูกน้ํายุงลาย25. ทานทําลายยางรถยนตเกา กระปอง กะลา พลาสติก บริเวณรอบบานหรือบริเวณที่พบเหน็26. ทานตดิตามขาวโรคไขเลือดออกในพ้ืนทีจ่ากเจาหนาที่สาธารณสุข27. ทานใชกับดักยุง เชน กับดักแบบใชแสงไฟลอยุงหรอืกับดักไฟฟา28. ทานดัดแปลงภาชนะที่ไมใชแลว เชนยางรถยนต ไปใชเปนกระถางปลูกตนไม29. ทานใชทรายอะเบทใสน้ําใชในอัตราสวนที่กําหนด30. ทานรวมประชุมแกไขปญหาโรคไขเลือดออกในชุมชน

Page 90: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการป องกันและควบคุมโรคไข ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2560/F_Surussawad_ee

ประวัติผูศึกษา

ชื่อ-สกุล นางสาวสุรัสวดี สีหราช

วัน/เดือน/ปเกิด 16 มีนาคม 2515

สถานที่เกิด จังหวัดราชบุรี

ประวัติการศึกษาพ.ศ.2542 วิทยาศาสตรบัณฑิต (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา

พ.ศ.2553 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ประวัติการทํางาน พ.ศ.2535 เจาหนาที่พยาบาลโรงพยาบาลกลาง สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2540 เจาหนาที่อนามัย ฝายอนามัย สํานักงานเขตปอมปราบศัตรูพาย

กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2554 นักวิชาการสุขาภิบาลปฏิบัติการ ฝายสิ่งแวดลอมและสุขาภิบาล

สํานักงานเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556-ปจจุบัน นักวิชาการสุขาภิบาลปฏิบัติการ ฝายสิ่งแวดลอมและสุขาภิบาล

สํานักงานเขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร