โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล...

120
ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาด ของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดย นายประเสริฐ ปญญาภาพ สารนิพนธเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการเรียนตามหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารทองเที่ยวและบันเทิง คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2559

Upload: others

Post on 02-Aug-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาด

ของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืน

โดย

นายประเสริฐ ปญญาภาพ

สารนิพนธเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการเรียนตามหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการสื่อสารทองเที่ยวและบันเทิง

คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2559

Page 2: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

The Opinions on Thai Tourism for Promotion Marketing of Bang KohKird

Pa na-khonSri Ayutthaya as a source of sustainable tourism

By

Mr.PrasertPanyaparb

A Study Report Submitted in Partial Fulfillmentof the

Requirement for the master Degree of Communication Art

Department of Tourism and Entertainment Communication

Faculty of Communication Arts

KRIRK UNIVERSITY

2016

Page 3: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

หัวขอสารนิพนธ ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดของ

ชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืน

ชื่อผูเขียน ประเสริฐ ปญญาภาพ

สาขาวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย สาขาการสื่อสารทองเที่ยวและบันเทิง/คณะนิเทศศาสตร /

มหาวิทยาลัยเกริก

อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ รองศาสตราจารย ปรีชา พันธุแนน

ปการศึกษา 2559

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยเรื่องความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดของชุมชน

บานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืนมี

วัตถุประสงคหลักในการศึกษา ประกอบไปดวย 1)เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรของนักทองเที่ยว 2)เพื่อ

ศึกษาความคิดเห็นของนักทองเที่ยวที่มีตอการสงเสริมการตลาดชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา 3)เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักทองเที่ยวที่มีตอการสงเสริมการตลาดเพื่อ

การทองเที่ยวอยางยั่งยืน ที่แตกตางกันตามลักษณะทางประชากร เครื่องมือในการวิจัยไดแกแบบสอบถาม

กลุมตัวอยางไดแกนักทองเที่ยวที่ ที่มาทองเที่ยว ชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา จํานวน 380คน และ ใชสถิติการวิเคราะหเชิงพรรณนา ประกอบไปดวย รอยละ คาเฉลี่ย

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ในการทดสอบสมมติฐานการวิจัย ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ

0.05 เพื่อทดสอบความสัมพันธระหวางตัวแปร โดยใชสถิติ t-test และ One way ANOVA (F-test)

ผลการศึกษาสรุปได ดังนี้

ขอมูลลักษณะทางประชากรของนักทองเที่ยวที่เดินทางมาทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบาง

ปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สวนมากเปนเพศหญิง อยูในชวงอายุ 30-39 ป ระดับการศึกษาสวน

ใหญจะอยูในชวงปริญญาตรี มีอาชีพเปนพนักงานบริษัทเอกชนรายไดเฉลี่ยตอเดือนสวนใหญจะอยูในชวง

10,001 – 20,000 บาท ภูมิลําเนาของผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปน กรุงเทพฯ มีความคิดเห็นตอ

ปจจัยการสงเสริมการตลาดของชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใน

ภาพรวมระดับเห็นดวย เมื่อจําแนกเปนรายดานพบวา ใหความคิดเห็นดานการสงเสริมการขายระดับเห็น

ดวย รองลงมาไดแกดานการตลาดทางตรง ดานการประชาสัมพันธ และสวนขอที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุดคือ

ดานการโฆษณา ตามลําดับไป

(ก)

Page 4: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะทางประชากรกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดของชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา ลักษณะทางประชากรของนักทองเที่ยวที่มาทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด

อําเภอบางประอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกดานอายุ การศึกษา รายได อาชีพ ภูมิลําเนา มีความ

คิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

คําสําคัญ ความคิดเห็น การสงเสริมการตลาด ชุมชนบานเกาะเกิด

(ข)

Page 5: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธฉบับนี้สามารถเสร็จสมบูรณออกมาได ตองขอขอบพระคุณ รองศาสตาจารย

ปรีชา พันธุแนน อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ซึ่งไดสละเวลาอันมีคายิ่งในการใหคําปรึกษา

ชวยเหลือและแนะนําตลอดจนการใหขอคิดเห็นตางๆที่เปนประโยชนและคุณคาเปนอยางยิ่ง อีกทั้ง

ยังกรุณาตรวจสอบปรับปรุงและแกไขขอบกพรองตางๆเพื่อใหสารนิพนธมีความถูกตอง ผูศึกษามี

ความซาบซึ้งในพระคุณเปนอยางยิ่ง ขอกราบขอบพระคุณคณะกรรมการสอบสารนิพนธทุกทานที่

ไดสละเวลามาใหขอคิดเห็น คําแนะนําจนทําใหสารนิพนธเลมนี้สมบูรณมากยิ่งขึ้น ขอกราบ

ขอบคุณคณาจารยทุกทานที่ไดวางรากฐานความรูในการศึกษาระดับมหาบัณฑิต ของผูศึกษาทุก

ทาน ขอบคุณเพื่อน พี่ นอง ทุกทานที่รวมศึกษาดวยกันมาที่ไดชวยเหลือซึ่งกันและกัน ขอบขอบคุณ

เจาหนาที่โครงการนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคพิเศษ) ที่คอยสนับสนุนในทุกๆดาน และ

ขอขอบคุณครอบครัวที่คอยเปนกําลังใจสําคัญที่ทําใหขาพเจาประสบความสําเร็จในการศึกษาครั้ง

นี้

คุณความดีอันพึงมีจากการศึกษาในครั้งนี้ ขาพเจาขอมอบใหแก บิดามารดา ที่ไดอบรม

เลี้ยงดู ตลอดจนเปนที่พึ่งแกบุตรเสมอมา

ประเสริฐ ปญญาภาพ

มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2559

(ค)

Page 6: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

สารบัญ

หนาบทคัดยอภาษาไทย ก

กิตติกรรมประกาศ ค

สารบัญตาราง ฉ

บทที่ 1 บทนํา1.1ความเปนมาของปญหา 1

1.2วัตถุประสงคของการวิจัย 5

1.3ขอบเขตของการวิจัย 5

1.4ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 6

1.5นิยามศัพทเฉพาะ 6

บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ2.1แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว 8

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 23

2.3 แนวความคิดเกี่ยวกับความคิดเห็น 28

2.4 แนวคิดดานประชากรศาสตร 31

2.5บริบทชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 32

2.6วิจัยที่เกี่ยวของ 41

2.7กรอบแนวคิดในการทําวิจัย 49

2.8สมมติฐาน 50

(ง)

Page 7: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

สารบัญ

หนา

บทที่ 3วิธีการดําเนินการศึกษา3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 51

3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 52

3.3 การสรางและทดสอบเครื่องมือในการวิจัย 54

3.4การเก็บรวบรวมขอมูล 55

3.4 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิจัย 55

บทที่ 4ผลการวิจัย4.1ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม 56

4.2 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มี

ตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด 59

4.3การทดสอบสมมติฐาน 71

บทที่ 5 บทสรุปอภิปรายผล และขอเสนอแนะ5.1สรุปผลการวิจัย 86

5.2 อภิปรายผล 89

5.3 ขอเสนอแนะ 93

ภาคผนวก (ก) 96

ภาคผนวก (ข) 102

ภาคผนวก (ค) 103

บรรณานุกรม 108

ประวัติผูศึกษา 115

(จ)

Page 8: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

สารบัญตาราง

ตาราง หนา

4.1 แสดงจํานวนและรอยละเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม 57

4.2 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาว

ไทยทีมตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา

59

4.3 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทย

ที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ดานการโฆษณาในภาพรวม

60

4.4 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทย

ที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ดานการโฆษณา เกี่ยวกับปายโฆษณาการแจง

61

4.5 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทย

ที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ดานการโฆษณา เกี่ยวกับการโฆษณา ณ จุดขาย

62

4.6 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทย

ที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ดานการโฆษณา เกี่ยวกับทางอินเทอรเน็ต

64

4.7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทย

ที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ดานการประชาสัมพันธในภาพรวม

65

4.8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทย

ที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ดานการประชาสัมพันธ เกี่ยวกับใหขาวเกี่ยวกับสถานที่

ทองเที่ยว บุคคล ผลิตภัณฑที่นาสนใจผานสื่อ

66

(ฉ)

Page 9: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

สารบัญตาราง

ตาราง หนา

4.9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทย

ที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยาดานการประชาสัมพันธเกี่ยวกับชุมชนสัมพันธ

67

4.10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มี

ตอการส ง เสริมการตลาดการทองเที่ ยวของชุมชนบ านเกาะเกิดจั งหวัด

พระนครศรีอยุธยา ดานการสงเสริมการขาย

68

4.11 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มี

ตอการส ง เสริมการตลาดการทองเที่ ยวของชุมชนบ านเกาะเกิดจั งหวัด

พระนครศรีอยุธยา ดานการตลาดทางตรง

70

4.12 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกดานเพศ

71

4.13 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามอายุ

72

4.14 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามอายุเปนรายคู

73

4.15 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามการศึกษา

75

4.16 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามระดับการศึกษาเปนรายคู

76

(ช)

Page 10: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

สารบัญตาราง

ตาราง หนา

4.17 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามอาชีพ

77

4.18 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามอาชีพ

78

4.19 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน

80

4.20 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือนเปนรายคู

81

4.21 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามภูมิลําเนา

83

4.22 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามภูมิลําเนาเปนรายคู

84

4.23 สรุปผลการทดสอบผลสมมติฐาน 85

(ซ)

Page 11: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe
Page 12: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

1

บทที่ 1

บทนํา

1. ความเปนมาของปญหา

ปจจุบันอุตสาหกรรมการทองเที่ยวไดกลายมาเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอระบบ

เศรษฐกิจทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และในระดับโลกไมวาประเทศนั้น จะเปนประเทศที่พัฒนาแลว

หรือประเทศที่กําลังพัฒนา สําหรับอุตสาหกรรมทองเที่ยวของประเทศไทยในชวงตลอดทศวรรษที่ผานมา

ถือวาเปนพลังขับเคลื่อนที่มีบทบาทชัดเจน เปนสวนกระตุนใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจซึ่งนําไปสูการ

การสรางงาน สรางอาชีพ และการสรางความมั่นคงใหกับประชาชนและประเทศชาติซึ่งนําไปสูความสําเร็จ

ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนชาวไทย ชวงที่ประเทศไทยตื่นตัวเรื่องการทองเที่ยวและหา

ทางเลือกใหมของการทองเที่ยว ไดมีการจัดตั้งสถาบันการทองเที่ยวโดยชุมชน โดยมุงพัฒนาใหคนในชุมชน

เปนหัวใจสําคัญ ของการจัดการทองเที่ยว และไมเพียงแคตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยวเทานั้น

แตไดเนนถึงการสรางศักยภาพของคนในทองถิ่น ผูประกอบการ โดยใหคนในทองถิ่นเขามามีสวนรวม ใน

การใหบริการบานพักแบบโฮมสเตย เพื่อนําไปสูการใชทรัพยากรธรรมชาติใหมีความสมดุลกับภูมิปญญา

ทองถิ่น และอัตลักษณทางวัฒนธรรม รวมทั้งการเกื้อกูลตอเศรษฐกิจของชุมชนในอนาคต (กรมการ

ทองเที่ยว, 2557)

ชวงที่โลกตื่นตัวเรื่องการทองเที่ยวที่ยั่งยืนและหาทางเลือกใหมของการทองเที่ยว ชวงป พ.ศ.

2553หลังจากนั้น การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) เขามาเปนกระแสใหมและกระแสใหญใน

อุตสาหกรรมทองเที่ยว โดยการผลักดันของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ในขณะที่การทองเที่ยว

โดยชุมชน(Community Based Tourism - CBT) เริ่มกอตัวขึ้นเติบโตคูขนานไปกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

โดยการทํางานในระดับพื้นที่ของโครงการทองเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ (REST) ตอมา REST ไดรวมมือ

กับสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย จัดตั้ง สถาบันการทองเที่ยวโดยชุมชน ซึ่งในชวงดังกลาว ชื่อที่เรียก

ขานการทองเที่ยวรูปแบบใหม มีหลากหลายชื่อ อาทิการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ การทองเที่ยวเชิงเกษตร

การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

1

Page 13: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

2

การทองเที่ยวสีเขียว หลังวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 รัฐบาลไทยใชการทองเที่ยวเปนตัวกระตุน

เศรษฐกิจ โดยประกาศใหป 2541 – 2545 เปนปสงเสริมการทองเที่ยวไทย ในปพ.ศ.2544 มีโครงการหนึ่ง

ตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ หลังป 2545 การทองเที่ยวลงไปในชนบทหลากหลายรูปแบบ ในป 2547 มีการให

มาตรฐานโฮมสเตย ปจจุบัน การทองเที่ยวโดยชุมชนเริ่มเปนที่ยอมรับวาเปนการทองเที่ยวรูปแบบหนึ่งซึ่ง

ชุมชนเขามาบริหารจัดการการทองเที่ยวดวยตนเอง(กรมการทองเที่ยว, 2557)

การทองเที่ยวแบบชุมชนในประเทศไทยเริ่มจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่

8(พ.ศ. 2540-2544)(สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ,2555)ไดให

ความสําคัญกับการรักษาอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ ไปพรอมกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม โดยการสงเสริมองคกรประชาชน และองคกรพัฒนาเอกชนทั้งในสวนกลางและสวนทองถิ่นใหมี

บทบาทในการกําหนดโครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ รวมกันคิด รวมกันวางแผน รวมกันตัดสินใจ รวม

ดําเนินการตลอดจนรวมกันติดตามผล และการประเมินผล ความสําเร็จดังกลาวทําใหเกิดพลังประชาชน จน

นําไปสูรูปแบบการทองเที่ยวแบบการทองเที่ยวแบบชุมชนซึ่งเปนกิจกรรมทองเที่ยวที่นักทองเที่ยวพักรวมกับ

เจาของบานใชบาน เปนศูนยกลางโดยเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยว วัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถี

ชีวิตของชุมชนเขาดวยกัน ทั้งนักทองเที่ยวและเจาของบานมีวัตถุประสงครวมกัน ที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู

วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ดวยความเต็มใจ พรอมทั้งจัดที่พักและอาหาร การนําเที่ยวในแหลงทองเที่ยว

ใกลเคียง โดยไดรับคาตอบแทนตามความเหมาะสม การจัดกิจกรรมที่พักสัมผัสวิถีชีวิตชนบท จึงเปน

กิจกรรมทางการทองเที่ยวอยางหนึ่งที่สามารถนํามาพัฒนาชุมชน โดยคนในชุมชนมีสวนรวม และไดรับ

ผลประโยชนจากการทองเที่ยวทําใหคนในชุมชนรวมคิด รวมทํางานรวมกัน สรางความเขมแข็งของคนใน

ชุมชนเปนหลัก (กรมการทองเท่ียว, 2557)

อยางไรก็ตาม การดําเนินกิจกรรมการทองเที่ยวแบบชุมชนจะยั่งยืนหรือลมเหลวนั้นขึ้นอยูกับการ

จัดการของชุมชนผูเปนเจาของบานเปนสําคัญ ซึ่งเมื่อใดที่ชุมชนตองการใหมีการจัดการเพื่อมุงสนองความ

ตองการโดยเนนคุณคาของรายไดเปนหลักสําคัญจนยอมแรกกับการสูญเสียสมดุลทางธรรมชาติและสังคม

มีการจัดฉากเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยวใหเขามาเยือน หรือเพียงเพื่อเอาใจนักทองเที่ยวใหเกิดความประทับใจ

การจัดการดังกลาวยอมสรางความเปาะบางแกชุมชน ทายที่สุดก็ถูกทําลายใหแตกสลายดวยการทองเที่ยว

ที่เขามากระตุนดวยเพียงชั่วระยะเวลาหนึ่งเทานั้น แตถาหากชุมชนสามารถจัดการใหเปนการจัดการที่มีการ

Page 14: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

3

คํานึงถึงคุณคาของทรัพยากร ที่มิใชสนองตอบเฉพาะความตองการของคนในรุนปจจุบัน หรือตอบสนอง

ความตองการของนักทองเที่ยวเปนหลัก เล็งเห็นผลกระทบที่จะเกิดขึ้นและสงผลไปยังคนในชุมชนรุน

อนาคตรวมถึงการจัดสรรผลประโยชนอยางยุติธรรม ก็สามารถนําไปสูความยั่งยืนทางการทองเที่ยวได

(กรมการทองเที่ยว,2557)

ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แตเดิมเปนปาดงดิบและปาไผ เลากันวาเมื่อสมัย

กรุงศรีอยุธยาแตก ชาวบานอพยพลงมาทางทายแมน้ําเจาพระยาและมาถากถางที่ทํามาหากิน คําวา เกาะ

เกิดมีที่มาจากเรื่องเลาในอดีตวาในสมัยกรุงศรีอยุธยา พอคาชาวจีนที่ลองเรือสําเภามาคาขายตามลําน้ํา

เจาพระยาเมื่อลองมาถึงบริเวณตําบลเกาะเกิดในปจจุบัน เกิดพายุพัดเรือสําเภาลมกลางแมน้ําเจาพระยา

ตรงบริเวณหนาวัดเชิงทาใน ปจจุบัน เวลาผานไปไดมีดินตะกอนมาทับถมจนเกิดเปนเกาะอยูกลางน้ํา

ชาวบานทั่วไปจึงเรียกชาวบานที่อาศัยบริเวณเกาะนี้วาชาวเกาะเกิดจนกลายเปนชื่อตําบลในปจจุบันของ

ชุมชนบานเกาะเกิด (กรมการทองเที่ยว, 2557)

แหลงทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กอตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.

2534 โดยคุณลําพูน พรรณไวย ซึ่งเปนผูใหญบาน หมู 5เมื่อไดรับตําแหนงใหมๆ ก็ไดมีการพัฒนาชุมชนโดย

เริ่มจากถนนภายในหมูบานเชื่อมโยงกับหมู 1-7 จนสําเร็จ และเริ่มรวมกลุมแมบานทําขนมไทยหลายอยาง

ตอมารางกายเจ็บปวยดวยโรคหอบหืดและไดเขารักษาตัวในโรงพยาบาลแตอาการไมดีขึ้น จึงหันมารักษา

ดวยยาสมุนไพรโบราณของไทย เปนยาเม็ดลูกกลอน อาการก็ดีขึ้นเรื่อยๆ และหายจากอาการปวยในป

2540 ผูใหญลําพูนเห็นวายาสมุนไพรที่ใชรักษาตัวเองมีสรรพคุณที่มีประโยชนจริง จึงเริ่มมารวมกลุมกับ

ญาติ ๆ ผลิตยาลูกกลอนสมุนไพร และไดมีการชักชวนสมาชิกในหมูบานเขามาเปนสมาชิกในกลุมเพิ่มมาก

ขึ้น ตอมาเมื่อยาลูกกลอนสมุนไพรเปนที่ยอมรับแพรหลายมากขึ้นจึงมีประชาชนจากชุมชนอื่นมาดูงานการ

ผลิตยาลูกกลอนสมุนไพร ผูใหญลําพูนจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาอาชีพทําขนมไทยเพื่อใหลูกบานมีรายไดเพิ่ม

มากขึ้น เชน ขนมขาวยาคู ขนมหมอแกงโบราณ ขนมสามเกลอ ขนมกง และริเริ่มทําโฮมสเตยณ บานแกว

ในสวนเปนหลังแรก ตอมาไดมีความคิดวา การที่เราเปดบานใหคนที่ตางๆ เขาพักในตําบลไดเห็นความ

เปนอยูของชาวชนบท ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนในตําบล อีกทั้งเปนการเพิ่มรายไดใหกับ

ชาวบานจึงชักชวนชาวบานเขากลุม มีสมาชิก 10 หลังคาเรือนตอมาป พ.ศ.2551 มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเปน 20

หลังคาเรือน และมีบานพรอมใหบริการจริง 8 หลังคาเรือน ปจจุบันแหลงทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดเก็บ

Page 15: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

4

คาธรรมเนียม สมัครสมาชิกบานละ 50 และเมื่อมีแขกมาพักเก็บคาเขากลุมครั้งละ 50 บาท เพื่อเปนเงินทุน

หมุนเวียนของกลุม (http://www.โฮมสเตยเกาะเกิด.com/, 2551)

ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีมานานตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา จนมีการ

พัฒนามาถึงปจจุบัน ยังไมมีการทําวิจัย และไมเปนที่รูจักมากนัก ซึ่งอยูในจังหวัดที่ขึ้นชื่อวา นคร

ประวัติศาสตร และเปนเมืองมรดกโลก จากการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ณ กรุงคารเธจ

ประเทศตูนิเซีย เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2534(ศูนยขอมูลมรดกโลก. กระทรวงวัฒนธรรม ,2557) นคร

ประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยาและเมืองบริวาร (Historic City of Ayutthaya) เปนราชธานีเกาแกของไทย

ที่มีความเจริญรุงเรืองยาวนานถึง 417 ป แมวาภายหลังจะถูกทําลายลงจากภัยสงคราม แตยังคงเหลือ

โบราณสถานและโบราณวัตถุที่เปนหลักฐานแสดงถึงความเจริญรุงเรือง และ ความมีอัจฉริยภาพของ

บรรพบุรุษของชาวกรุงศรีอยุธยา ปจจุบันนครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยากําลังมีการขยายตัวทาง

กายภาพอยางมาก โดยมีการขยายเมือง เพื่อสรางอาคารที่อยูอาศัยตาง ๆ การสรางอาคารที่บดบัง

ทัศนียภาพที่สวยงาม เปนการทําลายคุณคาของโบราณสถาน ตลอดจนการพัฒนาของถนนหนทางภายใน

เขตเมือง เพื่อรองรับการคมนาคมที่นักทองเที่ยวตางมาเยี่ยมชมอุทยานประวัติศาสตร ทําใหเขตพัฒนา

เปนไปอยางไรทิศทางของการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม เชน การสรางเสาไฟรูปนางหงส ที่กระจายอยู

โดยทั่วของใจกลางเมืองพระนครศรีอยุธยา ปญหาของขยะมูลฝอย การสรางบานพัก ที่อยูอาศัย บาน

จัดสรร อยูโดยรอบโบราณสถาน และการถมคูคลองตาง ๆ เปนตนดังนั้นหากอุทยานประวัติศาสตรนครศรี

อยุธยาไมไดรับการเอาในใสดูแลจากหนวยงานตาง ๆ โดยเฉพาะทองถิ่นที่ตองมีความเขาใจในการพัฒนา

เมืองที่เปนเมืองเกา ที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตรของชาติ จะตองดําเนินการอยางระมัดระวัง เพื่อ

ไมใหเกิดความเสียหาย และทําลายคุณคาของความเปนเมืองเกาที่ไดรับการยอมรับเปนเมืองมรดกโลก ก็

อาจจะทําใหเมืองเกาแหงนี้ถูกลดถอยความสําคัญในอนาคตไดดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงไดเลือกชุมชนบานเกาะ

เกิด เปนพื้นที่เปาหมายในการดําเนินการศึกษาแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน กรณีศึกษา

ชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อนําผลวิจัยไปเปนแนวทางในการ

พัฒนาแหลงทองเที่ยวตอไป และจากการที่ชุมชนบานเกาะเกิดไดจัดใหเปนแหลงทองเชิงวัฒนธรรมและได

มีการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว สื่อสารไปยังนักทองเที่ยวทําใหนักทองเที่ยวสนในและเดินทางมา

ทองเที่ยวเพื่อสัมผัสการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมดังกลาว การวัดความคิดเห็นจากนักทองเที่ยวเที่ยวจึงเปน

ผลสะทอนตอการดําเนินการจัดการการทองเที่ยว ของแหลงทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางประ

Page 16: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

5

อิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงทําใหผูวิจัย มีความสนใจที่จะศึกษาวานักทองเที่ยวมีลักษณะทาง

ประชากรอยางไร มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาด ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน และความคิดเห็นของนักทองเที่ยวที่มีตอการสงเสริมการตลาดเพื่อการ

ทองเที่ยวอยางยั่งยืน มีความแตกตางกันตามลักษณะทางประชากรอยางไรหรือไม เพื่อนําขอมูลที่คนพบให

ผูสนหรือผูที่เกี่ยวของการจัดการ แหลงชุมชนทองเที่ยวบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นําไป

พัฒนาดานการสื่อสารสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว ใหสอดคลองกับความคิดเห็นนักทองเที่ยวตอไป

(กรมการทองเที่ยว, 2557)

2. วัตถุประสงคของการวิจัย

2.1 เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรของนักทองเที่ยว

2.2 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักทองเที่ยวที่มีตอการสงเสริมการตลาดชุมชนบานเกาะเกิด

จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน

2.3 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักทองเที่ยวที่มีตอการสงเสริมการตลาดของ

ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืน ที่แตกตางกันตาม

ลักษณะทางประชากร

3.ขอบเขตของการวิจัย 3.1 ขอบเขตดานเนื้อหาศึกษาเฉพาะลักษณะทางประชากรของนักทองเที่ยวชาวไทยไดแก เพศ

อายุ การศึกษา อาชีพ รายได และภูมิลําเนา รวมทั้งศึกษาเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มี

ตอการสงเสริมการตลาดเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ทางดาน การโฆษณา การประชาสัมพันธ การสงเสริมการขาย และการตลาดทางตรง เทานั้น

3.2 ขอบเขตดานพื้นที่ ศึกษาเฉพาะแหลงทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด13/1 หมู 5 ตําบลเกาะ

เกิด อําเภอบางปะอินจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทาน้ัน

3.3 ขอบเขตดานระยะเวลา ใชเวลาในการศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนาม ระหวาง

เดือน กุมภาพันธ -มีนาคม พ.ศ. 2559

4.ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 4.1 ไดทราบถึงลักษณะทางประชากรของนักทองเที่ยว

Page 17: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

6

4.2 ไดทราบถึงความคิดเห็นของนักทองเที่ยวที่มีตอการสงเสริมการตลาดชุมชนบานเกาะเกิด

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

4.3 ไดทราบถึงความคิดเห็นของนักทองเที่ยวที่มีตอการสงเสริมการตลาดเพื่อการทองเที่ยวอยาง

ยั่งยืน ที่แตกตางกันตามลักษณะทางประชากร

4.4 ไดนําขอมูลที่คนพบใหผูสนหรือผูที่เกี่ยวของการจัดการแหลงทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นําไปพัฒนาดานการสื่อสารสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว ใหเที่ยวสอดคลอง

กับความคิดเห็นนักทองเที่ยว

5. นิยามศัพทเฉพาะ

5.1 ความคิดเห็น หมายถึง ความรูสึกชอบ หรือ ไมชอบ ยอมรับ หรือ ไมยอมรับ ของนักทองเที่ยว

ชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลง

ทองเที่ยวที่ยั่งยืนในระดับตางๆ ไดแก เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย และไมเห็นดวยอยาง

ยิ่ง

5.2 การสงเสริมการตลาดหมายถึงกลยุทธทางการตลาดในการเผยแพรขอมูลขาวสารการ

ทองเที่ยวอยางยั่งยืน ของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดวยปจจัยตางๆไดแก ดานการ

โฆษณา ดานการประชาสัมพันธ ดานการสงเสริมการขาย และ ดานการตลาดทางตรง

5.2.1 ดานโฆษณาหมายถึง การใหขอมูลขาวสารการทองเที่ยวอยางยั่งยืนของชุมชนบานเกาะ

เกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผานสื่อตางๆไดแก ปายโฆษณากลางแจง การโฆษณา ณ จุดขาย และการ

โฆษณาทางอินเทอรเน็ต

5.2 .2 ดานการประชาสัมพันธ หมายถึง การสื่ อสารความคิดเห็นขาวสารไปสู กลุม

นักทองเที่ยว เปนการเสริมสรางความสัมพันธที่ดีระหวางนักทองเที่ยว และ ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ผานสื่อตางๆ ไดแก การใหขาวเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว บุคคล ผลิตภัณฑที่นาสนใจ

ผานสื่อ และ ชุมชนสัมพันธ

5. 2. 3 ดานการสงเสริมการขาย หมายถึง การจัดกิจกรรมสงเสริมการตลาดที่นอกเหนือไปจาการ

โฆษณาเพื่อกระตุนความสนใจ ของกลุมนักทองเที่ยวที่จะเขามาทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ไดแก การจัดกิจกรรมลองเรือชมแมน้ําเจาพระยา การจัดการแสดงศิลปะ วัฒนธรรมไทย

Page 18: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

7

บริเวณเวทีกลางน้ํา และ การที่มีเจาหนาที่แนะนํามีความสามารถในการนําเสนอเรื่องราวตางๆของชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดดี

5.2.4 ดานการตลาดทางตรง หมายถึง การติดตอสื่อสารสวนตัว ระหวาง ชุมชนบานเกาะเกิด

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และกลุมเปาหมาย โดยใช จดหมาย เอกสาร ประชาสัมพันธสงตรงถึง

นักทองเที่ยว การจัดจําหนายแพ็คเกจการทองเที่ยวแบบพิเศษ และการใหเจาหนาที่แนะนําสถานที่

ทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

5.3 ลักษณะทางประชากร หมายถึง คุณสมบัติเฉพาะของตนซึ่งแตกตางกันในแตละคน

คุณสมบัติเหลานี้จะมีอิทธิพลในการสื่อสารสถานการณตางๆการจําแนกลักษณะทางประชากรไดแก เพศ

อายุ การศึกษา อาชีพ รายได และภูมิลําเนา

Page 19: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

บทที่ 2แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควาแนวคิดและทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวของสําหรับนํามาใชในการ

วิจัย เรื่องความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืนจากตํารา บทความ นโยบาย และ web site รวมทั้ง

ผลงานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของเพื่อนํามาใชเปนกรอบแนวคิดในการทําวิจัย ซึ่งมีดังตอไปนี้

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

2.3 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดเห็น

2.4 แนวคิดและทฤษฎีดานประชากรศาสตร

2.5 บริบทชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

2.6งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.7กรอบแนวคิดในการทําวิจัย

2.8สมมุติฐานการวิจัย

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว2.1.1 ความหมาย

ประภาศรี สวัสดิ์อําไพรักษ (2545 : 34) ไดกลาวถึงการสงเสริมการตลาดทองเที่ยววา การ

สงเสริมการตลาดทองเที่ยว หมายถึง การตลาดโดยมุงสรางความตองการในการผลิตผลิตภัณฑ ทางการ

ทองเที่ยวโดยใชสวนประสมการตลาด ในดานการสงเสริมการการตลาด (Promotion) อันประกอบดวย การ

โฆษณา การประชาสัมพันธ การขายโดยบุคคล และการสงเสริมการขาย ดังนี้ การโฆษณา (Advertising)

8

Page 20: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

9

Michale M. Coltman (1986: 104) ไดกลาวถึงการโฆษณา (Advertising) วาหมายถึง

รูปแบบ หรือความคิดในการเสนอขายสินคาและบริการโดยผานสื่อตางๆ ที่มิใชตัวบุคคลเพื่อจูงใจ

ให ผูบริโภคกลุมเปาหมายเกิดความตองการซื้อหรือเพิ่มการใชสินคาและบริการของธุรกิจนั้นทั้งใน

ปจจุบันและอนาคต

2.1.2 สื่อในการโฆษณาการทองเที่ยว

ประภาศรี สวัสดิ์อําไพรักษ (2545 : 34) ไดอธิบายถึงสื่อที่ใชในการโฆษณาการทองเที่ยว ดังนี้

1) หนังสือพิมพ เปนสิ่งที่พบเห็นไดทั่วไปจึงเปนที่นิยมสําหรับการสงเสริมตลาดการ

ทองเที่ยว เพราะสามารถสรางความคุนเคย การรับทราบ และการรูจักสินคาหรือบริการใหแกลูกคา ไดในวง

กวาง ในขณะเดียวกันลูกคาก็สามารถทราบการเปรียบเทียบสินคาประเภทเดียวกันไดในคราวเดียว

2) วิทยุ โดยปกติแลวเปนสื่อโฆษณาที่ใชเวลาสั้นมากในการสื่อสาร คาใชจายในการ

ลงทุน โฆษณาแตละครั้งจะมากนอยก็ขึ้นอยูกับพื้นที่ของเวลาที่ใชในแตละวัน ขนาดของกลุมผูฟงและ

ความนิยมของสถานีวิทยุ จึงเปนประโยชนในการกระตุนลูกคาที่คิดวากําลังจะซื้อสินคาใหเกิดการซื้อ

ในทันที

3)โทรทัศน เปนสื่อโฆษณาที่ตองเสียคาใชจายแพงมาก แตมีขอไดเปรียบ คือ การ

มองเห็นภาพซึ่งวิทยุไมสามารถทําได หนวยงานดานการทองเที่ยวของภาครัฐจึงนิยมใชโทรทัศนเพื่อ

โฆษณาสินคาทางการทองเที่ยว โดยเฉพาะชวงฤดูกาลทองเที่ยว ซึ่งโทรทัศนสามารถกระตุนใหเกิดการซื้อ

ไดทั้งลูกคากําลังคิดจะซื้อสินคา

4)นิตยสารและวารสารทางการทองเที่ยว ถึงแมวาจะมีคาใชจายคอนขางแพงแต

สามารถ เขาถึงกลุมลูกคาเปาหมายไดโดยตรง คือ ลูกคาที่ใหความสนใจสินคาทางการทองเที่ยวมักที่จะซื้อ

นิตยสารหรือวารสารนั้นๆ สวนขอไดเปรียบ คือ สามารถลงโฆษณาสินคาไดในระยะเวลาที่ยาวนาน อีกทั้ง

ยังสามารถอานตอๆ กันไปไดในหลายๆ กลุมคน

5)จดหมายทางตรง เปนวิธีที่สามารถวัดผลของการโฆษณาไดงายวาลูกคาสนใจใน

สินคาของเราเพียงใดจากการตอบรับกลับมา ทั้งนี้รวมถึงนามบัตร ไปรษณียบัตร คูปอง รายการสินคา

รวมทั้งราคา และจดหมาย

Page 21: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

10

6)โบรชัวร และแผนพับ สวนใหญจะเปนในรูปของการโฆษณาโรงแรม แหลงทองเที่ยว

และ ที่พักตากอากาศตามแหลงทองเที่ยว เปนการบอกถึงหนวยบริการตางๆ ที่นักทองเที่ยวจะไดรับ

7)การขนสงสาธารณะ เปนการโฆษณาโดยใชพาหนะเปนสื่อ เชน รถเมล รถไฟใตดิน

หรือรถแท็กซี่ ซึ่งเปนที่นิยมใชกันแพรหลาย แมเปนการยากที่จะใชวัดการรับรูของส่ือจากลูกคาก็ตาม

8)ปายโฆษณาบนทางหลวงหรือทางสัญจร เปนที่นิยมของธุรกิจทองเที่ยวขนาดยอม

มากกวา เชน รานอาหาร หรือที่พักริมทาง กลุมเปาหมายจึงเปนนักทองเที่ยวที่ยังมิไดมีการตัดสินใจ ที่จะซื้อ

สินคาทางการทองเที่ยวมากอนลวงหนา การโฆษณาโดยปายนั้นคอนขางมีราคาสูงในแง ของการเชาปาย

โฆษณา และคาจางทําปายโฆษณา

9)การแสดงสินคาและภาพยนตรทางการทองเที่ยวผูใชสวนใหญเปนหนวยงามหรือ

สมาคม ทางการทองเที่ยวในการสงเสริมการขายสินคาของเมืองที่เปนแหลงทองเที่ยวโดยการแสดง

ภาพยนตรเพื่อดึงดูดใจเพื่อใหลูกคาเลือกเปนที่หมายในรูปแบบการทองเที่ยวตาง ๆ เชนการประชุมสัมมนา

ลักษณะเดนของการโฆษณา มีดังนี้

1.เปนการขายโดยใชสื่อตางๆ ไมใชบุคคล การเสนอขายจะใหขอมูลกับคนจํานวน

มาก ไมเฉพาะเจาะจงลูกคาคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ เปนการขายในปริมาณมาก

2.เปนการเผยแพร แสดงความอยางกวางขวาง ออกมาในรูปภาพ เสียงสิ่งพิมพ

เพื่อเสนอ ขอมูลซ้ํา ๆหลายครั้ง เพื่อใหผูบริโภคคุนเคย มั่นใจ ตรวจสอบ ยอมรับ เปรียบเทียบขอมูลระหวาง

คูแขงตางๆ เปลี่ยนทัศนคติ ทดลอง สั่งซื้อ และสรางภาพลักษณใหแกสินคาและองคกรนั้นๆ

3.เปนการเสนอขายโดยอาศัยเหตุผล ทั้งเหตุผลจริงและเหตุผลสมมติ มีการจูงใจ

บอก ความจริงแตไมทั้งหมด ไมบอกสวนที่ไมดี ผูกลาววา “สิ่งที่ปรากฏในโฆษณาทั้งหมดเปนจริงแต

ความจริงทั้งหมดไมไดปรากฏในโฆษณานั้น”

4.เปนการเสนอขายที่มีคาใชจาย และระบุตัวผูอุปถัมภการโฆษณา ลักษณะของ

งานโฆษณาที่ดี ไดแก เรียกรองความสนใจ เรงเราใหเกิดความอยากรูอยากเห็นตอไป สรางความ

นาเชื่อถือ สรางความอยากไดในสินคาที่โฆษรานั้น และเชิญชวนใหเกิดการทดลองใชหรือซื้อสื่อโฆษณา

ใช โทรทัศน เปนสื่อที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด แตเสียคาใชจายสูงมาก วิทยุ สามารถสงขอมูลไปได

กวางไกล หนังสือพิมพ ใหขอมูลรายละเอียด นิตยสารใหขอมูลเฉพาะแกกลุมเปาหมาย ปายโฆษณา

Page 22: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

11

(Billboard) และการโฆษณานอกสถานที่อื่น ๆ (Public Display) โฆษณาทางไปรษณีย หรือจดหมายตรง

(Direct Mail) สื่ออื่น ๆ เชน แผนพับ สิ่งพิมพ ภาพยนตร วิดีโอ การจัดแสดงสินคา ฯลฯ

จากความรูขางตน การโฆษณา เปนรูปแบบหรือความคิดในการเสนอขายสินคาและ

บริการโดยผานสื่อตางๆ ที่มิใชตัวบุคคลเพื่อจูงใจใหผูบริโภคกลุมเปาหมายเกิดความตองการซื้อ หรือเพิ่ม

การใชสินคาและบริการของธุรกิจทางการทองเที่ยว โดยใช การโฆษณาผานโทรทัศน การโฆษณาผานวิทยุ

การโฆษณาผานนิตยสารการทองเที่ยว การโฆษณาผานวารสารการทองเที่ยว การโฆษณาผานหนังสือพิมพ

การโฆษณาผานเว็บไซต การโฆษณาผานโซเชียลมีเดีย (Youtube, Facebook, Twitter) การโฆษณาผาน

สื่อกลางแจง (ปายโฆษณากลางแจง) และการ โฆษณาผานแผนพับและโปสเตอร การโฆษณาเปน รูปแบบ

หรือความคิดในการเสนอขายสินคาและบริการโดยผานสื่อ ตางๆ ที่มิใชตัวบุคคลเพื่อจูงใจใหผูบริโภค

กลุมเปาหมายเกิดความตองการซื้อหรือเพิ่มการใชสินคา และบริการของธุรกิจทางการทองเที่ยว โดยใช การ

โฆษณาผานโทรทัศน การโฆษณาผานวิทยุ การโฆษณาผานนิตยสารการทองเที่ยว การโฆษณาผาน

วารสารการทองเที่ยว การโฆษณาผาน หนังสือพิมพ การโฆษณาผานเว็บไซต การโฆษณาผานโซเชียลมี

เดีย( Youtube, Facebook, Twitter) การโฆษณาผานสื่อกลางแจง(ปายโฆษณากลางแจง) และการ

โฆษณาผานแผน พับและโปสเตอร การประชาสัมพันธ เปนการเผยแพรขาวสารดวยวิธีการตางๆ เพื่อ

ชักชวนให กลุมเปาหมายใหมาใชธุรกิจทางการทองเที่ยวเพื่อเชิญชวนโดยมี การจัดทัศนศึกษาแกสื่อมวลชน

การจัดทําจดหมายแจงขาวไปยังผูประกอบการหรือหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของกับแหลงทองเที่ยว เพื่อให

ทราบถึงกิจกรรม งานเทศกาล หรือชวงฤดูการทองเที่ยวที่จัดขึ้น การจัดแถลงขาว ใหแกสื่อมวลชนไดรับ

ทราบถึงขอมูลตางๆของแหลงทองเที่ยวการตีพิมพบทความตางๆที่เกี่ยวกับแหลงทองเที่ยว ลงในสื่อตางๆที่

เกี่ยวของกับการทองเที่ยวใหเปนที่รูจักและผูประกอบการหรือหนวยงาน ที่มีสวนเกี่ยวของกับแหลง

ทองเที่ยวมีการเขารวมกิจกรรมตางๆ ที่ชุมชนจัดขึ้นการขายโดยบุคคล เปนการนําสินคาและบริการขายตรง

ไปยังลูกคาหรือผูที่คาดหวังวา จะเปนลูกคาเพื่อกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวสินคาและบริการโดยอาศัย

พนักงานขาย (Salesman) การรวมมือกับผูประกอบธุรกิจตางๆที่เกี่ยวของกับแหลงทองเที่ยวเสนอขาย

บริการ หรือกิจกรรมทางการทองเที่ยวใหขอมูลขาวสารแสดงรูปแบบของ package tour ใหแก องคกรหรือ

หนวยงานภาครัฐและเอกชนตางๆ และจัดบุคลากรเสนอขายบริการทางการทองเที่ยวหรือกิจกรรมตาง ๆ

ของแหลงทองเที่ยว หรือนิทรรศการ

Page 23: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

12

2.1.3) การประชาสัมพันธ (Public Relations) Victor T.C. Middleton (1994 : 18-

35) กลาวถึงการประชาสัมพันธ (Public Relations) หมายถึง การปฏิบัติงานของหนวยงาน องคกร สถาบัน

บริษัทในการเผยแพรขาวสาร และดําเนินงานวิธีอื่น ๆอยางมีแบบแผนการกระทําอยางตอเนื่อง โดยมี

วัตถุประสงค ดังนี้

.1 เพื่อเผยแพรขาวสารชี้แจงแถลงนโยบาย การดําเนินงาน กิจกรรมการ

เคลื่อนไหวของหนวยงาน องคกร สถาบัน บริษัทใหกลุมเปาหมาย และประชาชนทั่วไปรับทราบ

2 เพื่อชักชวนใหกลุมเปาหมายและสาธารณชนมีสวนรวมสนับสนุนและ

เห็นชอบกับวัตถุประสงคของหนวยงาน และใหความเชื่อถือ

3เพื่อสรางบรรยากาศแหงความเขาใจอันดีมีมนุษยสัมพันธและทัศนคติที่ดีทั้ง

ภายใน และภายนอกหนวยงาน การประชาสัมพันธของธุรกิจทองเที่ยวกระทําไดหลายวิธี เชน

การเผยแพรตอสาธารณชน (Publicity) คือ การตีพิมพบทความตางๆ ของธุรกิจ

ทองเที่ยวลงในหนังสือพิมพทองถิ่นในตลาดนักทองเที่ยวอาจไมเสียคาใชจายโดยตรงในการลงบทความ

เหมือนโฆษณาแตจะเสียคาใชจายใหผูจัดทําไปหาขอมูล กิจกรรมการเผยแพรตอสาธารณชนของการ

ทองเที่ยวที่กระทําอยูทั่วไป ไดแก

1 การจัดทัศนศึกษา (Educational Trip) คือ การเชิญผูแทนสื่อมวลชนและ

บริษัท นําเที่ยวมาทัศนศึกษาในประเทศไทย เพื่อขอมูลที่ไดไปเสนอในหนังสือพิมพ โทรทัศน วิทยุ และสื่อ

ตางๆ ซึ่งไดรับความนาเชื่อถือจากนักทองเที่ยว

2.การทําจดหมายแจงขาว (Business News or Newsletter) สํานักงาน

การ ทองเที่ยวจัดขึ้นเพื่อผลิตภัณฑใหมๆ และความเคลื่อนไหวทางการทองเที่ยว เชน การเปดโรงแรม หรือ

แหลงทองเที่ยวที่กําลังไดรับการพัฒนา

3 การแจงขาวเปนครั้งคราว (Press/News Release) เปนการแจงขาวหรือ

แถลงการณเมื่อมีเหตุการณใหมๆ เกิดขึ้นที่เกี่ยวของกับสินคาและองคกร

4 การสัมภาษณบุคคล (Photo Release) เปนการเผยแพรขาวการ

สัมภาษณพรอมรูปถายของบุคคลในองคกรหรือในวงการธุรกิจที่เกี่ยวของ

5 การจัดแถลงขาวสื่อมวลชน (Press Conference) เปนการจัดแถลงขาว

ใหกับ สื่อมวลชนตางๆเพื่อใหขอมูลขาวสารใหมๆ เกี่ยวกับสินคาและบริการ

Page 24: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

13

6 การเขารวมกิจกรรมกับชุมชนตาง ๆ (Community Relations) เชน

รวมงานประจําป ของเมืองสําคัญ หรือของประเทศ การทองเที่ยวแหงประเทศไทยเคยจัดรถบุปผาชาติเขา

รวมในงาน Rose Parade ของเมืองลอสแองเจอลีส เพื่อเปนการประชาสัมพันธประเทศไทย

7 การจัดกิจกรรมในโอกาสพิเศษ (Special Event) เปนการจัดกิจกรรมเปน

ครั้งคราวใน โอกาสหรือวาระพิเศษ เชน งานกีฬา การประกวาดแขงขันตางๆ เพื่อเปนการประชาสัมพันธ

เผยแพร และสรางภาพลักษณที่ดีใหแกองคกร จากความรูขางตน การประชาสัมพันธ เปนการเผยแพร

ขาวสารดวยวิธีการตาง ๆ เพื่อ ชักชวนใหกลุมเปาหมายใหมาใชธุรกิจทางการทองเที่ยวเพื่อเชิญชวนโดยมี

การจัดทัศนศึกษาแก สื่อมวลชน การจัดทําจดหมายแจงขาวไปยังผูประกอบการหรือหนวยงานที่มีสวน

เกี่ยวของกับแหลงทองเที่ยว เพื่อใหทราบถึงกิจกรรม งานเทศกาล หรือชวงฤดูการทองเที่ยวที่จัดขึ้น การจัด

แถลงขาว ใหแกสื่อมวลชนไดรับทราบถึงขอมูลตางๆของแหลงทองเที่ยวการตีพิมพบทความตางๆที่เกี่ยวกับ

แหลงทองเที่ยว ลงในสื่อตางๆที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวใหเปนที่รูจัก และผูประกอบการหรือ หนวยงานที่

มีสวนเกี่ยวของกับแหลงทองเที่ยวมีการเขารวมกิจกรรมตางๆ ที่ชุมชนจัดขึ้น

2.1.4) การขายโดยบุคคล (Personal Selling) R.K. Malhotra (1998 : 42) กลาววา

การขายโดยบุคคล (Personal Selling) หมายถึง การนําสินคาและบริการขายตรงไปยังลูกคาหรือผูที่

คาดหวังวาจะเปนลูกคาเพื่อกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ในตัวสินคาและบริการโดยอาศัยพนักงานขาย

(Salesman) ซึ่งจะตองมีความรูความสามารถทางดาน ทฤษฎีกระบวนการ และเทคนิคการขาย จึงจะ

สามารถขายสินคาและบริการใหแกกลุมเปาหมายได อยางมีประสิทธิภาพ ขอแตกตางระหวางการขายโดย

บุคคลกับการโฆษณา

1 การขายโดยบุคคลเปนการเสนอขาวสารแบบตัวตอตัวสามารถเขาถึง

กลุมเปาหมายไดดีวาการขายแบบ Mass selling

2.การขายโดยบุคคลมีความยืดหยุนในการปฏิบัติงานสามารถเปลี่ยนแปลง

การ ดําเนินงานไดดีกวาการโฆษณาเพราะทราบถึงความตองการ แรงจูงใจ และมูลเหตุของการซื้อ

ตลอดจนปฏิกิริยา ขอโตแยงจากลูกคา

3การขายโดยบุคคลเปนเครื่องมือที่ใชขายจริงและพนักงานขายสามารถ

ใหบริการอื่น นอกเหนือจากการขายดวย เชนแนะนําเทคนิค ชักชวน การเก็บรักษา การขายโดยบุคคล

เรียกรอง ความสนใจกอใหเกิดการตัดสินใจ ซึ่งมีผลดีกวาการโฆษณาแตบริษัทอาจเสียคาใชจายสูงกวา

Page 25: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

14

เชน ตองจายเงินเดือน เบี้ยเลี้ยง คาเดินทาง คานายหนา เปนตนการขายโดยบุคคลในธุรกิจทองเที่ยว

หมายถึง การขายตรงใหแกตัวแทนจําหนายและ ลูกคาทั่วไป กิจกรรมการขายที่นิยมกระทํามีดังนี้

4 การไปเยี่ยมเยียนพบปะลูกคา (Sales Call / Sales Program) โดยเฉพาะ

การไปพบประผูประกอบธุรกิจการจัดนําเที่ยว (Tour Operator) และตัวแทนจําหนายสินคาและบริการ

ทองเที่ยว (Travel Agent) เพื่อนําขาวสารใหม ๆ ไปแจงใหทราบ เปนการรักษาความสัมพันธระหวางธุรกิจ

การทองเที่ยวและลูกคาอยางสม่ําเสมอ

5 การเสนอซื้อขายสินคาและบริการการทองเที่ยว เปนกิจกรรมที่จัดใหผูซื้อ

และผูขาย ธุรกิจไดพบปะ เจรจา ตกลงการซื้อขายสินคาและบริการในขณะนั้นหรือในโอกาสตอไป โดยแบง

กิจกรรมออกเปนหลายลักษณะ ดังนี้ Trade Presentation / Seminar / Workshop ไดแก กิจกรรมการซื้อ

ขายของผู ดําเนินธุรกิจการทองเที่ยวแบบคาสง (Tour Wholesaler) เสนอขายรายการนําเที่ยวตอตัวแทน

จําหนายสินคาและบริการทองเที่ยว (Travel Agent) ที่เปนลูกคาของตน และกิจกรรมของสมาคม การ

ทองเที่ยวตาง ๆ เพื่อใหผูประกอบธุรกิจการจัดนําเที่ยวมาเสนอขายสินคาและบริการตอตัวแทน จําหนายได

โดยมีวิธีเสนอขาย ไดแก การใหขอมูล การบรรยาย ตอบขอซักถาม สัมมนา การฉายสไลด ภาพยนตร

เพื่อใหผูซื้อตัดสินใจเดินทางมาประเทศไทย หรือใหผูประกอบธุรกิจการจัดนําเที่ยวบรรจุรายการทองเที่ยว

ประเทศไทยไวในรายการนําเที่ยวแบบเหมาจาย (Travel Mart / Trade Meet)ไดแก กิจกรรมการซื้อขาย

ระหวางผูประกอบธุรกิจ การทองเที่ยว และผูประกอบธุรกิจจัดหาสินคาและบริการตางๆ (Suppliers) เชน

สายการบิน โรงแรม ผูประกอบธุรกิจสามารถเขารวมงานเอง หรือรวมกับองคกรภาคเอกชนทั้งในประเทศ

และ ตางประเทศกิจกรรมนี้ลูกคาทั่วไปอาจเขาชมไดเพื่อทราบขอมูลที่เปนประโยชนในการตัดสินใจซื้อ

สินคาและบริการและเดินทางทองเที่ยว (Trade Show / Fair Show / Exhibition)ไดแก กิจกรรมการซื้อขาย

ระหวางผูประกอบธุรกิจทองเที่ยว และลูกคาทั่วไป เพื่อใหลูกคามีโอกาสพบปะตัวแทนจําหนาย ไดรูจักและ

เกิดความสนใจสินคาการทองเที่ยวจนสามารถติดตอซื้อขายในโอกาสตอไปได (Consumer Presentation /

Sales)ไดแกกิจกรรมการซื้อขายระหวางผูประกอบธุรกิจการจัดนําเที่ยวและลูกคาผูสนใจทั่วไป ตลอดจนผูที่

คาดวาจะเปนผูซื้อโดยตรง โดยมีวิธีการ ขายหลายรูปแบบ เชน การบรรยาย ใหขอมูลขาวสาร แสดงรูปแบบ

ของ package tour และเสนอขาย ใหแกลูกคาในปจจุบันการเสนอขายสินคาและบริการแบบนี้กระทําอยาง

แพรหลายทั้งในประเทศ และตางประเทศโดยมีองคกรการทองเที่ยวทั้งของรัฐและเอกชนเปนผูประสานงาน

มีการเผยแพร และประชาสัมพันธใหบุคคลทั่วไปไดทราบอยางกวางขวาง จากความรูขางตน การขายโดย

Page 26: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

15

บุคคล เปนการนําสินคาและบริการขายตรงไปยังลูกคาหรือผูที่ คาดหวังวาจะเปนลูกคาเพื่อกอใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงในตัวสินคาและบริการโดยอาศัยพนักงานขาย (Salesman) การรวมมือกับผูประกอบธุรกิจ

ตางๆที่เกี่ยวของกับแหลงทองเที่ยว เสนอขาย บริการหรือกิจกรรมทางการทองเที่ยวใหขอมูลขาวสาร แสดง

รูปแบบของ package tour ใหแก องคกรหรือหนวยงานภาครัฐและเอกชนตางๆ และจัดบุคลากรเสนอขาย

บริการทางการทองเที่ยว หรือกิจกรรมตางของแหลงทองเที่ยว ในรูปแบบของงานกิจกรรม หรือนิทรรศการ

2.1.5)การสงเสริมการขาย (Sale Promotion) Victor T.C. Middleton (1994 : 18-

35) กลาววาการสงเสริมการขาย (Sale Promotion) เปนกิจกรรมหรือเครื่องมือทางการตลาดอยางหนึ่งที่

กระตุนใหรานคาและผูประกอบการสนใจซื้อขาย สินคามากขึ้น เปนการผลักดันใหสินคาที่ขายอยูสามารถ

ทํายอดขายไดสูงกวาคูแขง และการกระตุนใหผูบริโภคเกิดการซื้อเร็วขึ้น และในการสงเสริมการขายสินคา

ทางการทองเที่ยวนั้น ผูผลิตทางการ ทองเที่ยวหลายๆ รายมักใหความสําคัญกับการสงเสริมการขาย ณ จุด

ขาย ซึ่งมีรูปแบบของจุดขาย 3 รูปแบบ ที่ความตางกันของสถานที่ขายดังนี้ Esternal POS ตัวอยางเชน

บริษัทตัวแทนจําหนายสินคาทางการทองเที่ยว (Travel Agency) ในการรับรองหรือขายสินคาในลักษณะ

การขายปลีก เชน โปรแกรมทัวร บัตรโดยสาร หองพัก และแหลงทองเที่ยว เปนตน หรือศูนยการ

ประชาสัมพันธทางการทองเที่ยว (Tourist Information Centre) Internal POS ตัวอยางเชน เคานเตอร

แผนกตอนรับของโรงแรม หรือสถานที่ทองเที่ยว ตางๆ ที่มีระบบการเชื่อมโยงกันกับสินคาและบริการอื่น ๆ ที่

เกี่ยวของ อาทิ บารรานอาหาร รานขายสินคาที่ระลึก รานขายสินคาปลอดภาษี เปนตน Customer’s home

as POS คือ การตอบรับ ถามหา หรือการขอจองสินคาและบริการจาก ลูกคาที่ไดรับหรือพบเห็นการเสนอ

ขายสินคาและบริการโดยการสงเสริมการขายผานโทรทัศนวิทยุ จดหมายตรง หรือโทรศัพท

ศิรสา สอนศรี (2541) พูดถึงการสงเสริมการขายวา เปนกิจกรรมหรือเครื่องมือทาง

การตลาดอยางหนึ่งที่กระตุนให รานคาและผูประกอบการสนใจซื้อขายสินคามากขึ้น เปนการผลักดันให

สินคาที่ขายอยูสามารถทํายอดขายไดสูงกวาคูแขง และการกระตุนใหผูบริโภคเกิดการซื้อ มีการจัดโปรโมชั่น

ราคาพิเศษ สําหรับบริการตางๆในแหลงทองเที่ยว (การขนสง,ที่พักแรม, บริการอาหารและบันเทิง, บริการ

นําเที่ยวและมัคคุเทศก, สินคาที่ระลึก)การแจกคูปองสวนลดคาบริการตางๆในแหลงทองเที่ยว (การขนสง,

ที่พักแรม, บริการอาหารและบันเทิง, บริการนําเที่ยวและมัคคุเทศก, สินคาที่ระลึก) การแจกของที่ระลึก

ใหกับนักทองเที่ยว การจัดกิจกรรมแขงขันชิงรางวัลและการจัดอบรมใหความรู เกี่ยวกับขอมูลตางๆของ

แหลงทองเที่ยวใหกับคนในชุมชน หรือบุคคลอื่นๆที่มีความสนใจ ความสําคัญของการสงเสริมการตลาด

Page 27: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

16

การทางทองเที่ยว การสงเสริมการตลาดทางการทองเที่ยว มีความสําคัญอยางยิ่งในกระบวนการวางแผน

โดยเปนสวนหนึ่งในการคาดการณเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของ

ปจจัยตางๆ ในปจจุบัน การคาดการณที่แมนยําใหการกําหนดเปาหมายและ การดําเนินงานการตลาด

รวมทั้งการกําหนดราคาขายผลิตภัณฑเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และ กอใหเกิดผลกําไรสูงสุด การ

คาดการณที่ลมเหลวสามารถกอใหเกิดการขาดทุนและความสูญเสียตอ องคกร ตัวอยางเชน การจางงานไม

เหมาะสมกับจํานวนงาน เชน การจางงานที่นอยกวาปริมาณงานทําให คุณภาพของผลิตภัณฑต่ําลง

เนื่องจากพนักงานตองทํางานหลายอยางในเวลาเดียวกันและเกินกําลัง ซึ่งทําใหขาดความระมัดระวังในการ

ปฏิบัติงานแตละอยาง สงผลใหผลงานมีคุณภาพต่ํา โดยในอุตสาหกรรมทองเที่ยวซึ่งเปนอุตสาหกรรมที่

เกี่ยวของกับคนและการควบคุมมาตรฐาน เปนไปไดยาก การทํางานหนักเกินกําลังประกอบกับการบริการ

ลูกคาที่มีความตองการแตกตางกัน อาจทําใหพนักงานเหนื่อยลาหยอนประสิทธิภาพ ขาดความรอบคอบใน

การปฏิบัติงาน ดูแลลูกคาไมทั่วถึง หรือไมสามารถควบคุมอารมณได กอใหเกิดผลเสีย เชน การไมสุภาพกับ

ลูกคา การหยอนประสิทธิภาพในการควบคุมความสะอาด ซึ่งผลที่ตามมาคือ การสูญเสียลูกคาในที่สุด

ในทางกลับกันหากจางพนักงานเกินจํานวนงานจะทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้นสงผลใหตองปรับราคาขาย ซึ่ง

เปนผลใหลูกคาที่มาเขารับบริการหรือซื้อสินคานอยลง หรือหากลดราคาลงอาจทําใหขาดทุนกอผลเสีย

ใหแกกิจการได ดังนั้น การจางงานจําเปนตองใช เหมาะสมกับจํานวนงานและลักษณะของผลิตภัณฑที่

เสนอขาย เชน การบริการลูกคาในหอง อาหาร หรือ Coffee Shop ในโรงแรมอาจกําหนดพนักงานบริการ 2

คนสําหรับ 15 โตะ ในขณะที่ใน หองอาหารที่มีความหรูหราใหบริการลูกคาระดับ Vipออกกําหนดพนักงาน

ใหบริการมากกวา 1 คน สําหรับ 1 โตะไดแตจะตองจางงานใหเหมาะสมกับจํานวนผูเขาบริการทั้งหมดที่มา

เขารับบริการใน แตละหองไมใชจํานวนโตะที่รับไดในแตละหองมาเปนตัวกําหนดเนื่องจากจํานวนผูเขารับ

บริการอาจเขาไมเต็มทุกหองทุกวัน การกักตุนสินคาไมเหมาะสมกับจํานวนขายเปนอีกประเด็นหนึ่ง ซึ่ง

สามารถสรางความสูญเสียใหแกองคกรไดหากการคาดการณจํานวนผูเขารับบริการผิดพลาด เชน ใน

รานอาหาร มักคาดการณยอดขายในแตละวัน เพื่อสั่งซื้ออาหารสดและอาหารแหงที่จะนํามาประกอบ

อาหาร ซึ่งการกักตุนอาหารสดมาเกินไปและไมสามารถเก็บไวใชในวันตอๆ ไปไดนั้น จะทําใหเปน การเพิ่ม

ตนทุนการผลิตโดยไมจําเปน สงผลใหผลกําไรลดลงหรือขาดทุน แตหากกักตุนสินคานอย เกินไป จะ

กอใหเกิดผลเสียตอการใหบริการ ลูกคาเกิดความไมพอใจและไมกลับมารับบริการอีก ดังนั้นเพื่อไมให

เกิดผลดังกลาว รานอาหารจึงควรเก็บสถิติจํานวนลูกคาและรายการอาหารประเภท ตางๆ ที่ขายไดในแตละ

Page 28: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

17

วันที่เหมาะสมทั้งอาหารสดและแหง เพื่อปองกันอาหารขาดแคลนและไมเปนการกักตุนมากเกินไปซึ่งทําให

ตนทุนการผลิตสูงและนําไปสูการประกอบกิจการที่ลมเหลวในที่สุดจากการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการสงเสริม

การตลาดการทองเที่ยว

ดรุณี อัศวพรชัย (2533: 44)ไดอธิบายถึงการตลาดทางตรง(Direct Marketing)วา เปน

การติดตอสื่อสารสวนตัว ระหวางนักการตลาดและกลุมเปาหมาย โดยใช การสงจดหมายตรง โทรศัพท หรือ

วิธีการอื่นๆ ผานสื่ออยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน โดยนักการตลาดสามารถวัดผลการตอบสนอง

จาก ผูบริโภคได

การตลาดทางตรง มีความสําคัญดานของเจาของสินคาหรือบริการ

1. ชวยใหกําหนดกลุมเปาหมายไดชัดเจน

2. สงขาวสารขอมูลเกี่ยวกับสินคาหรือบริการไปยังกลุมเปาหมายไดโดยตรง

3. ใหความสะดวกสบายแกพนักงานขาย ไมวาจะเปนการขายโดยพนักงานหรือการขาย

ทางโทรศัพท

4. สามารถประเมินผลได รูจํานวนผูสนใจสินคาอยางชัดเจน

5. รวบรวมขอมูลของกลุมเปาหมายได

การตลาดทางตรง มีความสําคัญดานผูบริโภค

1. มีขอมูลประกอบการตัดสินใจ

2. มีความสะดวกสบายมากขึ้นในการซื้อสินคา

3. สรางความพึงพอใจแกใหกลุมเปาหมายได เนื่องจากสิทธิพิเศษที่เหนือผูอื่น

สมาคมการตลาดทางตรงของสหรัฐอเมริกา ไดใหความหมายการตลาดทางตรงวา หมายถึง

ระบบตลาดที่ติดตอซึ่งกันและกันโดยใชสื่อโฆษณาเพียงหนึ่งหรือมากกวานั้น เพื่อเปนการถายทอดขาวสาร

ในที่ตางๆ โดยสามารถวัดผลการตอบสนองได ในปจจุบันมีคําที่นักสื่อสารการตลาดใชเรียกกิจกรรมการ

ติดตอกับกลุมเปาหมายโดยตรงหลายคํา เชน การตลาดทางตรง (Direct Marketing) การขายตรง (Direct

selling, Direct Sales) การโฆษณาตอบกลับโดยตรง(Direct-response Advertising) และการสงจดหมาย

โดยตรง (Direct Mail) การตลาดทางตรงไดรับความนิยมจากนักการตลาดอยางมาก เพราะมีลักษณะเดน

คือ สามารถเลือกเขาถึงกลุมเปาหมายได เพราะขอมูลชัดเจนเกี่ยวกับผูบริโภค ทําใหลดการ สูญเปลาใน

การใชสื่อ และสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพสูง ตัวอยางเชน การทําการตลาดเปดตัวรถยนตโฟกสวากอน

Page 29: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

18

New Bettleในไทยทีการใชการประมูลรถผาน website www.thailifestyle.com ซึ่งประสบความสําเร็จใน

การเขาถึงกลุมเปาหมายอยางมาก สามารถสงขอมูลไปยังกลุมเปาหมายยอยๆได โดยพิจารณาจากขอมูล

ขั้นตนที่มีการจัด รวบรวมไว เชน อายุ เพศ อาชีพ การศึกษา ประวัติการซื้อสินคาในอดีต ตัวอยางเชน การ

จัด กิจกรรมสงเสริมการขายของบัตรเครดิตจะใชฐานขอมูลลูกคาและประวัติการซื้อสินคาเพื่อกําหนด

รูปแบบกิจกรรมการตลาดตรงที่จะเสนอให สามารถเพิ่มหรือลดความถี่ไดตามความเหมาะสม ลักษณะ

เชนนี้อาจจะดูไมตางจากสื่อวิทยุ โทรทัศน หรือสื่อสิ่งพิมพ เพราะสื่อดังกลาวก็สามารถเลือกความถี่ได แต

การตลาดทางตรงจะมีลักษณะเดนกวาตรงที่นักการตลาดสามารถตรวจสอบไดวามีกลุมเปาหมายตอบรับ

หรือปฏิเสธ และที่สําคัญการสื่อสารการตลาดลักษณะเชนนี้เราสามารถมั่นใจวาถึงกลุมเปาหมายไดอยาง

แนนอน สามารถปรับเปลี่ยน ใหเหมาะสมกับกลุมเปาหมายแตละประเภทไดโดยไมจําเปนตองใช ขอมูล

หรือเนื้อหาเดียวกับกลุมเปาหมายทุกคนเหมือนการดูโฆษณา เชน ถาตองการจําหนาย สินคาชนิดหนึ่งแตมี

กลุมเปาหมาย 2 กลุมใหญ ก็ใชรูปแบบและเนื้อหาของจดหมายที่ตางกันใหเหมาะสมกับแตละกลุมที่

ตองการสื่อสาร ประหยัดเวลา หมายถึง สามารถใชเวลาไมมากนักในการผลิตสื่อตางๆ และจัดสงใหกลุม

เปาหมาย เชน การโทรศัพท มีลักษณะสวนบุคคล ทําใหผูรับสารรูสึกดีที่มีขาวสารสงถึงเฉพาะ เนื่องจากมี

การระบุชื่อ นามสกุลที่ซองจดหมาย ตัวอยางเชน การสงเสริมการตลาดตรงของบัตรเครดิตในโปรแกรมวัน

เกิดของเจาของบัตร ตนทุนกิจกรรม คาเฉลี่ยของการตลาดโดยตรงจะต่ํา เพราะสงขอมูลไปยัง

กลุมเปาหมายได ชัดเจน และสามารถทราบถึงการตอบรับดวยวาจะมีการซื้อสินคาหรือไม สามารถวัดผลได

ถือเปนขอไดเปรียบเหนือกิจกรรมอื่นๆ ทั้งนี้เพราะการโฆษณาโทรทัศน แมวาจะครอบคลุมไดกวางกวา แต

ไมสามารถทราบไดวามีการตัดสินใจซื้อภายใตการโฆษณานั้นหรือไม ขณะที่การตลาดโดยกลุมเปาหมาย

จะมีการสงใบสั่งสินคากลับเขามาที่บริษัท ทําใหสามารถคิดเปนสัดสวนไดวาเปนจํานวนเทาใดเมื่อเทียบกับ

จดหมายที่ออกไปยังกลุมเปาหมาย

Page 30: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

19

2.1.3กลยุทธการสงเสริมตลาดเพื่อการทองเที่ยว

2.1.3.1 ความหมายของกลยุทธ

Learned, Christensen, Kenneth and Bower (1980: 15) ใหความหมายของกลยุทธไว

วาแบบของวัตถุประสงค ความมุงหมายหรือเปาหมายและนโยบายหลัก รวมทั้งแผนงานตางๆ ในอัน ที่จะ

ชวยใหสามารถบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายตางๆ ไดหรือถาจะกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือการพิจารณาวา

องคการธุรกิจของเราอยูหรือควรจะอยูในธุรกิจประเภทใด และองคกรของเราจําเปน หรือควรจะเปนองคกร

ธุรกิจชนิดใดจึงจะเหมาะสมและดีที่สุด

Tregoe and Zimmerman (1980 : 77 ) ไดสรุปวา กลยุทธ หมายถึงกรอบของเรื่องราวที่

ใชนําทางทางเลือกทั้งหลาย ซึ่งจะเปนตัวกําหนดลักษณะและทิศทางขององคการโดยทางเลือกเหลานั้น ก็

คือ เรื่องที่เกี่ยวกับขอบเขตความกวางของผลิตภัณฑหรือบริการที่องคการเสนอขายตลาดที่ บริษัทกําลัง

ทุมเททําการคาอยู การเติบโต ผลตอบแทนที่ไดรับจากการดําเนินงานและการแบงสรร ทรัพยากรของ

องคการ

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2541 : 54)ใหความหมายของการวางแผนกลยุทธวา เปนการ

วางแผนระยะยาวขององคกรบนรากฐานทางการวิเคราะหจุดแข็ง และจุดออนของกิจการจากการ ประเมิน

สภาวะแวดลอมภายใน ประกอบกับการแสวงหาโอกาสและอุปสรรคจากการประเมิน สภาวะแวดลอม

ภายนอก กระบวนการที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจเกี่ยวกับวัตถุประสงคขององคการ

2.1.3.2 การวางแผนเชิงกลยุทธ

การวางแผนเชิงกลยุทธนับไดวาเปนสิ่งที่มีความสําคัญมากสําหรับความสําเร็จ

ของกิจการ ทั้งนี้เพราะเหตุผลความจําเปน 3 ประการ (ธงชัย สันติวงศ 2540 : 81-86) ตอไปนี้ คือ สืบเนื่อง

จากธุรกิจ รัฐบาลและสังคม ไดขยายตัวเติบโตขึ้นและเกี่ยวของกันมากขึ้น ทั้งนี้ในรูปแบบของการรวมมือ

และการตองเผชิญหนากันอีกทั้งธุรกิจระหวางประเทศที่ขยายตัว มากมายทําใหเกิดบริษัทที่ทําธุรกิจขาม

ชาติคาบเกี่ยวกับประเทศตางๆ มากมาย ซึ่งยอมมีผลทําให ธุรกิจตางๆ สนใจติดตามปญหา ที่เกิดขึ้นในโลก

กวางดวยการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นไมวาจะใน ซีกโลกใดก็ตาม ตางมีอิทธิพลกระทบตอกิจการได

ตลอดเวลา ทั้งในแงของการเปนโอกาสหรือ กลายเปนขอจํากัด ดวย การขยายตัวอยางรวดเร็วของเทคนิค

Page 31: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

20

วิธีการตางๆ โดยเฉพาะดานคอมพิวเตอรและ การสื่อสารตางๆ ไดมีผลทําใหผูบริหารสามารถทํางานยากๆ

ไดสําเร็จลงงายขึ้นการคิดวิเคราะห ทางเลือกเพื่อตัดสินใจที่มีขอมูลตัวเลขมากมายนั้น เมื่อมีเครื่อง

คอมพิวเตอรเขามาชวยก็ทําให สามารถตัดสินใจไดเร็วขึ้น การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายตางๆ ที่มีผลใน

การรักษาประโยชนของกลุมตางๆ เชน การออกกฎหมายควบคุมสถาบันการเงิน หรือกฎหมายควบคุม

สภาพแวดลอมรวมทั้งเพื่อสวัสดิภาพความเปนอยูของผูใชแรงงาน เหลานี้ตางก็เปนขอจํากัดที่ทําใหกิจการ

ตางๆ ขอปรับ ตัวเองใหสามารถประสานประโยชนกับกลุมตาง ๆ ได เปนที่แนนอนวา ถาหากกิจการไม

สามารถที่จะสรางความเจริญเติบโตใหมีตอไปได ตลอดเวลา โดยไมสามารถนําการวางแผนกลยุทธเขามา

ใชก็ยอมเปนที่แนนอนวาในทาง ตางๆ จะเกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว ราคาหุนตางก็จะตกตาง ลง และจาก

ปญหาที่ซ้ําเติมลงไปก็จะทําให การลงทุนเพื่อพัฒนาตางๆ พลอยหมดไปดวย ทางแกไขที่ชวยใหองคการมี

ความเขมแข็งและเติบโต ตอไปไดจึงอยูที่การตองรูจักทําการวางแผนในเชิงกลยุทธที่มีการวางแผน และ

ควบคุมทาง งบประมาณที่ดี ซึ่งการจะทําเชนนี้ได ผูบริหารจะตองมีการวางแผนที่ดีมีประสิทธิภาพ และมี

การ ประเมินกระบวนการแบงสรรทรัพยากรตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักการของการจัดทํา

แผนพัฒนาการทองเที่ยว 5 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ศึกษา สํารวจขอมูล และจัดหมวดหมูขอมูล เปนการจัดทําแผนพัฒนาการ

ทองเที่ยว ขอมูลที่จําเปนในการจัดทําแผนพัฒนา การทองเที่ยวจึงตองอาศัยขอมูลในดานตางๆ ประกอบ

นอกเหนือจากขอมูลทางดานการทองเที่ยว เพื่อใหไดภาพระดับกวาง และการพัฒนาการทองเที่ยวจะได

สอดคลองกับการพัฒนาดานอื่นๆ ดวย ขอมูลที่ตองทําการศึกษานั้นประกอบไปดวย 4 ดาน คือ ดานทั่วไป

ดานแหลงทองเที่ยวดานโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวก และดานการตลาด ซึ่งขอมูลทั้ง 4

ดานนี้อาจมีวิธีรวบรวมที่แตกตางกันออกไป เชน ขอมูลเกี่ยวกับสภาพพื้นฐานทั่วไป สวนใหญจะสามารถ

รวบรวม ไดจากเอกสารและสวนราชการที่เกี่ยวของโดยตรง แตขอมูลดานการทองเที่ยวทั้งดานทรัพยากร

การ ทองเที่ยว การตลาดการทองเที่ยว และความพรอมดานการทองเที่ยว ตองอาศัยเทคนิคในการเก็บ

ขอมูลเพิ่มขึ้น เชน การสํารวจภาคสนาม เพื่อจะไดรูจักพื้นที่ สัมผัสความรูสึก และรับรูปญหาที่ แทจริง การ

สังเกตการณและการออกแบบสัมภาษณเก็บขอมูลก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่จะชวยใหไดมาซึ่ง ขอมูลดานการ

ทองเที่ยวที่คอนขางเที่ยงตรง

ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะหและกําหนดขอไดเปรียบเสียเปรียบดานการทองเที่ยว เปนการนําขอมูล

ที่ไดจากการศึกษาเบื้องตนมาทําการวิเคราะหเพื่อหาจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรคดานการสงเสริม

Page 32: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

21

การทองเที่ยวของทองถิ่น โดยการเปรียบเทียบกับพื้นที่ ใกลเคียงวาศักยภาพดานการทองเที่ยวของพื้นที่

สามารถแขงขันกับพื้นที่เปนแบบเดียวกันได หรือไม อยางไร ประเด็นที่ควรนํามาพิจารณาในการวิเคราะห

และกําหนดขอไดเปรียบเสียเปรียบ ดานการทองเที่ยว

ขั้นตอนที่ 3 กําหนดวัตถุประสงคและเปาหมาย หลังจากที่ไดวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง

โอกาส และอุปสรรคแลวจะทําใหมีขอมูลในการ วางแผนและตัดสินใจ ดังนั้น จึงควรมีการกําหนด

วัตถุประสงคและเปาหมายใหสอดคลองกับ นโยบายและแผนของประเทศ ของจังหวัด ของกระทรวงการ

ทองเที่ยวและกีฬา และการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

ขั้นตอนที่ 4 เขียนแผนงานและโครงการเมื่อมีวัตถุประสงคและเปาหมายที่มีความชัดเจนและ

ทิศทางที่แนนอนแลวจําเปนที่จะตอง เขียนแผนงานและโครงการ โดยแผนงานและโครงการควรจะ

สอดคลองกับนโยบาย และโครงการ ดังกลาวตองคํานึงถึงมาตรฐานดานการสงเสริมการทองเที่ยว

ขั้นตอนที่ 5 ดําเนินการตามแผนงานและโครงการ ในขั้นตอนนี้ควรจะดําเนินการใหเปนไปตาม

ระยะเวลาที่กําหนดไว มีการใชงบประมาณ ไดอยางเหมาะสม มีการอํานวยการและประสานงานไดอยางมี

ประสิทธิภาพ

จากการดําเนินการจัดทําแผนแมบทเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวทั้ง5 ขั้นตอนนั้น องคกร

ปกครองสวนทองถิ่นจะเห็นถึง ภาพรวมของพื้นที่ทั่วไป ดานแหลงทองเที่ยว โครงสรางพื้นฐาน และ

การตลาดการทองเที่ยว ซึ่งสามารถนํามาวิเคราะห SWOT ในแงมุมของจุดออน จุดแข็ง โอกาส และ

อุปสรรค ตลอดจน ขอไดเปรียบเสียเปรียบทางการทองเที่ยว สุดทายก็จะเกิดแผนงาน โครงการตางๆ ที่

สอดคลองกัน เพื่อสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยวในทองถิ่น ซึ่งในหลักการนั้น การพัฒนาการทองเที่ยว

จะเนนหนักไปที่องคประกอบ 3 ดาน ไดแก ดานแหลงทองเที่ยว ดานบริการทางการทองเที่ยว และ ดาน

การตลาดและประชาสัมพันธการทองเที่ยว

ขอดีของการจัดทํากลยุทธ (ธงชัย สันติวงศ 2540 : 81-86) การประยุกตแนวความคิดเชิงกล

ยุทธในการบริหาร จะชวยใหผูบริหารสามารถ มองเห็นภาพรวมและขอบเขตของการทําธุรกิจไดกวางขวาง

และชัดเจนเปนรูปธรรมมากขึ้น เพราะ การดําเนินงานเชิงกลยุทธ จะมีความลึกซึ้งในการวิเคราะหปญหาใน

ระดับที่มีนัยสําคัญตออนาคต ขององคการ ซึ่งเราสามารถกลาวไดวาการบริหารเชิงกลยุทธเปนงานของ

ผูบริหารระดับสูงอยาง แทจริง กลยุทธขององคการจะสงเสริม และสนับสนุนการกําหนดและการดําเนิน

กิจกรรม ตางๆ ภายในองคการตามทิศทางที่ชัดเจน ซึ่งจะเปนกรอบความคิดและเปนเครื่องนําทางที่เปน

Page 33: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

22

รูปธรรมสําหรับสมาชิกในองคการ โดยกลยุทธชวยใหสมาชิกเขาใจในวิสัยทัศน วัตถุประสงคและ ทิศทางที่

แนนอนขององคการ ไมกอใหเกิดความสับสนหรือความขัดแยงในการทํางาน หรือ กลาวไดวา กลยุทธเปน

เครื่องมือสําคัญที่ทําใหองคการสามารถบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคที่ตองการการอยางมีประสิทธิภาพ

กลยุทธองคการที่เปดเผยตอสาธารณะ จะเปนประโยชนตอองคการในการสรางความเขาใจระหวางธุรกิจแล

บุคคลทุกฝายที่เกี่ยวของโดยเฉพาะผูมีสวนไดเสียของธุรกิจ เชน ผูถือ หุนชุมชน กลุมผลประโยชน และ

หนวยราชการที่จะสามารถติดตามตรวจสอบการดําเนินงานและ ความสําเร็จในการบรรลุเปาหมายของ

องคการ การจัดการเชิงกลยุทธจะชวยใหองคการสามารถดําเนินงาน และใชทรัพยากรในการแขงขันอยางมี

ประสิทธิภาพและไดผลสําเร็จดีกวาการบริหารงานตามปกติ เนื่องจากการดําเนินงานเชิงกลยุทธจะมี

การศึกษา วิเคราะห และจัดระบบความสัมพันธเชิงกลยุทธขององคการอยางรัดกุมและชัดเจน ทําใหการ

ดําเนินงานและการจัดสรรทรัพยากรเปนไปอยางมีระบบและมีประสิทธิภาพ

2.1.3.3ความสําคัญของกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2541 :54) การวิเคราะหสภาพแวดลอมทางธุรกิจหรือการ

วิเคราะห SWOT เปนการศึกษา ปจจัยแวดลอมที่มีผลตอการดําเนินงานและอนาคตขององคการโดย

สามารถแบงการวิเคราะห สภาพแวดลอมออกเปน 2 ระดับ ไดแก

1. การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกองคการ ซึ่งประกอบดวยปจจัยแวดลอม

ที่จะ บงชี้โอกาสหรือขอจํากัดของธุรกิจ ไดแก เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยีการตางประเทศ และ

สภาพแวดลอมในการดําเนินงาน เชน ชุมชน ผูขายวัตถุดิบ ลูกคา และคูแขงขัน เปนตน

2. การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในองคการ เปนการตรวจสอบและประเมิน

ศักยภาพ ความสามารถ และความพรอมขององคการโดยจะสะทอนออกมาในรูปของจุดแข็งและ จุดออน

ของธุรกิจ การกําหนดกลยุทธ เปนการกําหนดเปาหมายและกรอบความคิดเชิงกลยุทธที่เปน รูปธรรม โดย

ปกติจะมีการจัดลําดับกลยุทธไว 3ลําดับ ไดแก

1) กลยุทธระดับบริษัท

2) กลยุทธระดับธุรกิจ

3) กลยุทธระดับหนาที่

Page 34: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

23

การปฏิบัติตามกลยุทธ เปนการแปรรูปกลยุทธและนโยบายไปสูแผนการ ดําเนินงาน

งบประมาณ และขั้นตอนการปฏิบัติที่เปนรูปธรรม ซึ่งถือเปนหัวใจสําคัญในความสําเร็จ ของการจัดการ

เชิงกลยุทธ เนื่องจากเปนขั้นตอนในการแปรแนวความคิดและสมมุติฐานใหเปน ผลลัพธที่เปนรูปธรรม การ

ประเมินและการควบคุมกลยุทธ เปนกระบวนการ กําหนดเกณฑและ มาตรฐานการติดตาม ตรวจสอบ

แกไขและปรับปรุงใหการดําเนินงานเปนไปตามแนวทางที่กําหนด โดยสอดคลองกับความเปนจริงและ

ขอจํากัดในแตละเหตุการณ จากกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธนั้น จะเห็นไดวาการวิเคราะห

สภาพแวดลอมทั้งภายใน และภายนอกองคการเปนสิ่งสําคัญที่ตองทําเปนอันดับแรก เพื่อใหรูศักยภาพของ

ตนเอง เมื่อเปรียบเทียบกับคูแขงขัน ดังคํากลาวที่วา รูเขารูเรารบรอยครั้งชนะรอยครั้ง ดังนั้นจึงจําเปนที่

จะตองมีเครื่องที่จะใชในการวิเคราะหสิ่งแวดลอมตางๆ เหลานี้ ซึ่งปจจุบันมีผูพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห

สภาพแวดลอมเชิงกลยุทธของธุรกิจ (Business Analysis Instruments) ที่มีความสะดวก เชื่อถือได และมี

ประสิทธิภาพในการใชงาน

กลาวโดยสรุป การสงเสริมการตลาด เปนการนําเสนอขอมูลขาวสารของสินคาและบริการ

ใหแกลูกคากลุมเปาหมายและประชาชนทั่วไปใหเกิดความสนใจและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสูการตัดสินใจ

ซื้อ ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดของชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผูวิจัยจึงไดนําปจจัยสําคัญของการสงเสริมการตลาดทางดานการ

โฆษณา การประชาสัมพันธ การสงเสริมการขาย และการตลาดทางตรงมาเปนปจจัยในการวิเคราะหวา

นักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นในระดับใดตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะ

เกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยามาเปนสวนหนึ่งของการศึกษาปจจัยดานตัวแปรตาม

2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการทองเที่ยวอยางยั่งยืน2.2.1 ความหมายของการทองเที่ยวแบบยั่งยืน

(กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม, 2547, หนา 16) ไดกลาวถึงความหมายของการพัฒนาการ

ทองเที่ยวยั่งยืนคือ “การบริหารจัดการทองเที่ยวใหพัฒนาในทุกๆดานอยางรอบคอบระมัดระวังเกิดผลดีตอ

เศรษฐกิจสังคมและความงดงามทางสุนทรียภาพการจัดการทรัพยากร”

ประเวศวะสี, (2540: 12)อางอิงในศรัณยเลิศรักษมงคล, หนา 12) ไดใหความหมายของการ

ทองเที่ยวแบบยั่งยืนไววา “การพัฒนาการทองเที่ยวใหมีลักษณะของการถายทอดวัฒนธรรมใหนักทองเที่ยว

Page 35: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

24

ไดเรียนรูวัฒนธรรมที่ดีไดเขาใจคุณคาอันสูงสงของวัฒนธรรมนั้นจะเปนสิ่งกอใหเกิดประโยชนแกทุกฝายทํา

ใหคนไทยมีความรูมากขึ้นไดรายไดจากความรูและนักทองเที่ยวไดอรรถประโยชนจากพุทธศาสนาซึ่งสิ่ง

เหลานี้ทําใหมีคุณภาพของการพัฒนาเกิดขึ้น”

สฤษฏ แสงอรัญ, (2548 : 50) การประชุม Globe 1990 ณประเทศแคนาดาไดใหคําจํากัด

ความของการทองเที่ยวแบบยั่งยืนวา “การพัฒนาที่สามารถตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยวและผู

เปนเจาของทองถิ่นในปจจุบันโดยมีการปกปองและสงวนรักษาโอกาสตางๆของอนุชนรุนหลังดวยการ

ทองเที่ยวนี้มีความหมายรวมถึงการจัดการทรัพยากรเพื่อตอบสนองความจําเปนทางเศรษฐกิจสังคมและ

ความงามทางสุนทรียภาพในขณะที่สามารถรักษาเอกลักษณทางวัฒนธรรมและระบบนิเวศดวย"

รําไพพรรณ แกวสุริยะ (2543 : 3) ไดใหความหมายการทองเที่ยวที่ยั่งยืนวาหมายถึงการ

พัฒนาทรัพยากรทองเที่ยวเพื่อตอบสนองความจําเปนทางเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมและสุนทรียภาพโดยใช

ทรัพยากรอันทรงคุณคาอยางชาญฉลาดสามารถรักษาเอกลักษณของธรรมชาติและวัฒนธรรมไวนานที่สุด

เกิดผลกระทบนอยที่สุดและใชประโยชนไดตลอดกาลยาวนานที่สุด

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2549 : 7) อธิบายวา การทองเที่ยวแบบยั่งยืน(Sustainable Tourism)

หมายถึงการทองเที่ยวกลุมใหญและกลุมเล็กที่มีการจัดการอยางดีเยี่ยมเพื่อสามารถดํารงไวซึ่งทรัพยากร

ทองเที่ยวใหมีความดึงดูดใจอยางไมเสื่อมคลายธุรกิจทองเที่ยวมีการปรับปรุงคุณภาพใหมีผลกําไรอยางเปน

ธรรมชุมชนทองถิ่นมีสวนรวมไดรับผลประโยชนตอบแทนอยางเหมาะสมโดยมีนักทองเที่ยวเขามาเยี่ยม

เยือนสม่ําเสมออยางเพียงพอแตมีผลกระทบทางลบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุดหรือไมมีเลยอยางยืนยาว

World Tourism Organization,1998 : 21-22 ไดกลาวถึงวาการพัฒนาการทองเที่ยวที่ยั่งยืน

วาเพื่อสนองตอบความตองการของนักทองเที่ยวและชุมชนในแหลงทองเที่ยว โดยปกปองและรักษาโอกาส

ใหกับคนในรุนตอๆ ไปในอนาคต ซึ่งจะนําไปสูการจัดการทรัพยากรทั้งมวลที่จะสนองความตองการดาน

เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ในขณะที่จะสามารถธํารงรักษาเนื้อหาทางวัฒนธรรม กระบวนการทาง

นิเวศวิทยาที่จําเปน ความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเกื้อหนุนและระบบตางๆ ที่

เกื้อหนุนชีวิต พืช สัตว และมนุษยทั้งหลาย ซึ่งจากกรอบแนวคิดดังกลาวสามารถเปนหลักการได 5 ขอ คือ

1. ทรัพยากรทางธรรมชาติ ทรัพยากรทางประวัติศาสตร ทรัพยากรทางวัฒนธรรมและ

ทรัพยากรอื่น ๆ ในการทองเที่ยว จะตองไดรับการอนุรักษไวเพื่อใหสามารถใชประโยชนไดอยางตอเนื่องใน

อนาคต โดยจะยังสามารถอํานวยประโยชนใหแกสังคมปจจุบันได

Page 36: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

25

2. จะตองมีการวางแผนและจัดการในการพัฒนาการทองเที่ยวเพื่อปองกันมิใหเกิดปญหา

ทางสิ่งแวดลอมและสังคม วัฒนธรรมในพื้นที่แหงทองเที่ยว

3. คุณภาพของสิ่งแวดลอมในแหลงทองเที่ยวโดยภาพรวมจะยังคงไดรับการรักษาไวได

และปรับปรุงใหดีขึ้นไดเมื่อจําเปนที่จะตองจัดทํา

4. จะตองรักษาระดับความพึงพอใจของนักทองเที่ยวเอาไวเพื่อใหแหลงทองเที่ยวนั้นจะ

ยังคงสามารถรักษาความเปนที่นิยมอยูได และสามารถทําการตลาดตอไปได

5. ผลประโยชนของการทองเที่ยวจะตองเผื่อแผหรือกระจายไปในทุกภาคสวนของสังคม

ทองเที่ยวและสิ่งแวดลอมทองถิ่นดวย

รูปแบบของการทองเที่ยวแบบยั่งยืนประเทศตางๆพยายามหารูปแบบการทองเที่ยวใหมที่

จะนําไปสูการทองเที่ยวใหมที่จะนําไปสูการทองเที่ยวแบบยั่งยืนจึงเปนเหตุใหเกิดการจัดประชุม

สหประชาชาติวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา (The United Nations Conference onEnvironment and

Development) หรือที่เรียกวาประชุม Earth Summitขึ้นที่กรุงรีโอเดอจาเนโรประเทศบราซิลเมื่อเดือน

มิถุนายนค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) หรือที่เรียกอีกชื่อวา Rio Summit (ปริญญารีโอ) และไดรวมนามรับรอง

เอกสารสําคัญ 5 ฉบับคือ

1.ปริญญาริโอวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา (The Rio Declaration on

Environmentand Development) ประกอบดวยหลักการ 27 ประการเกี่ยวกับสิทธิและความรับผิดชอบของ

ประชามติในการดําเนินงานพัฒนาเพื่อปรับปรุงความเปนอยูของประชาชนใหดียิ่งขึ้น

2.แผนปฏิบัติการ 21 (Agenda 21) เปนแผนแมบทของโลกสําหรับการดําเนินงานที่จะทํา

ใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืนทั้งในดานสังคมเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม

3.คําแถลงเกี่ยวกับหลักการเรื่องปาไม (Statement of Principles on Forests) เปน

แนวทางในการจัดการการอนุรักษและการพัฒนาอยางยั่งยืนสําหรับปาไมทุกประเภทอันเปนสิ่งสําคัญ

สําหรับการพัฒนาเศรษฐกิจและการรักษาไวซึ่งสิ่งมีชีวิตในทุกรูปแบบ

4. กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UN

Framework Convention on Climate Change) มีวัตถุประสงคที่จะรักษาระดับกาซเรือนกระจก

(Greenhouse Cases) ในบรรยากาศที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสภาวะอากาศทั่วโลกโดยลดปริมาณการ

Page 37: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

26

ปลอยกาซบางชนิดขึ้นสูอากาศเชนคารบอนไดออกไซดซึ่งเกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงเพื่อใชเปนพลังงาน

เปนตน

5.อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on BiologicalDiversity)

เพื่อใหประเทศตางๆยอมรับเอาวิธีการที่จะอนุรักษความหลากหลายชนิดพันธุของสิ่งมีชีวิต (Living

Species) และเพื่อใหเกิดการแบงปนผลตอบแทนอยางเปนธรรมและเทาเทียมกันจากการใชประโยชนความ

หลากหลายทางชีวภาพจะเห็นไดวาแผนปฏิบัติการ 21 (Agenda 21) เปนหนึ่งในหาของเอกสารสําคัญของ

RioSummitโดยมีผูนําจากทั่วโลก 179 ประเทศรวมลงนามรับรองซึ่งแผนปฏิบัติการ 21 นี้เปนแนวทางเพื่อ

การพัฒนาอยางยั่งยืนดวยการกําหนดนโยบายของภาครัฐบาลเอกชนและสําหรับเปนทางเลือกของบุคคล

ในศตวรรษที่ 21 ที่กลาววาประชากรการบริโภคและเทคโนโลยีนับเปนพลังงานผลักดันหลักที่ทําใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมมีการเสนอนโยบายและของโลกตอการค้ําจุนสิ่งมีชีวิตรวมทั้งการพัฒนา

เทคโนโลยีและเทคนิคตางๆที่จะตองตอบสนองความตองการของมนุษยในขณะเดียวกันจะตองมีการจัดการ

ทรัพยากรทางธรรมชาติอยางระมัดระวังพรอมทั้งไดย้ําถึงการพัฒนาอยางยั่งยืนที่จะเปนหนทางเอาชนะใน

เรื่องของความยากจนและการทําลายสิ่งแวดลอมโดยความรวมมือความรับผิดชอบรวมกันระดับโลก

(Global Partnership) ที่ทําใหมั่นใจวาทุกๆประเทศจะมีอนาคตมั่นคงและปลอดภัยรวมกันมากยิ่งขึ้น

เทิดชาย ชวยบํารุง (2559 : 4) ไดอธิบายถึงการพัฒนาที่ยงยั่งยืนไวซึ่งสามารถแบง

ออกเปน 4 ประการคือ

1.การพัฒนาที่ยั่งยืนคือการพัฒนาที่ตรงกับความตองการตามความจําเปนในปจจุบันโดย

สามารถรองรับความตองการและความจําเปนที่จะเกิดแกชนรุนหลังๆดวยทั้งนี้มาตรฐานการครองชีพที่เลย

ขีดความจําเปนขั้นพื้นฐานต่ําสุดจะยั่งยืนก็ตอเมื่อมาตรฐานการบริโภคในทุกหนทุกแหงคํานึงถึงความยั่งยืน

ในระยะยาว (Long – Term Sustainability)

2.การพัฒนาที่ยั่งยืนครอบคลุมมาตรการรักษามรดกทางทรัพยากรที่จะตกกับชนรุนหลัง

โดยอยางนอยใหไดมากพอๆกับชนรุนปจจุบันไดรับมา

3.การพัฒนาที่ยั่งยืนเปนการพัฒนาที่กระจายประโยชนของความกาวหนาทางเศรษฐกิจได

อยางทั่วถึงตลอดจนเปนการพัฒนาที่ปกปองสิ่งแวดลอมทั้งในระดับทองถิ่นและในระดับโลกโดยรวมเพื่อชน

รุนหลังและเปนการพัฒนาที่ทําใหคุณภาพชีวิตดีขึ้นอยางแทจริง

Page 38: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

27

4.การพัฒนาที่ยั่งยืนคือการทําใหคุณภาพชีวิตมนุษยดีขึ้นภายในระบบนิเวศวิทยาที่

สามารถจะรองรับการดําเนินชีวิตตอไปในลักษณะเศรษฐกิจแบบยั่งยืนคงตองเปนเศรษฐกิจที่ธํารงรักษา

แหลงทรัพยากรธรรมชาติของตนไวไดโดยเศรษฐกิจแบบนี้ยังสามารถควบคูไปกับการรักษาแหลงทรัพยากร

ไดตอไปดวยการปรับตัวและโดยอาศัยการยกระดับความรูปรับปรุงองคกรตลอดจนปรับประสิทธิภาพทาง

เทคนิคและเชาวปญญา

Murph(1994, อางในนิรันดรบุญเนตร, 2547:28) กลาวถึงองคกรประกอบของการพัฒนาอยาง

ยั่งยืนประกอบไปดวย

1.การกําหนดขีดจํากัดและมาตรฐานเชิงนิเวศวิทยาอยางสมเหตุสมผล

2.การกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจและจัดสรรทรัพยากรใหม

3.การควบคุมจํานวนประชากร

4.การอนุรักษทรัพยากรพื้นฐาน

5.การเขาถึงแหลงทรัพยากรอยางเสมอภาคและการเพิ่มความพยายามในการใช

เทคโนโลยีอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น

6.ขีดความสามารถในการรองรับและผลลัพธแบบยั่งยืน

7.การธํารงรักษาทรัพยากร

8.ความหลากหลายทางชีวภาพ

9.ลดผลกระทบทางลบใหเหลือนอยที่สุด

10.การควบคุมโดยชุมชน

11.กรอบความคิดเชิงนโยบายระดับชาติและนานาชาติ

12.ความอยูรอดทางเศรษฐกิจ

13.คุณภาพสิ่งแวดลอม

14.การตรวจสอบเชิงสิ่งแวดลอม

การพัฒนาแหลงทองเที่ยวใหมีประสิทธิภาพในทุกๆดานไมวาจะเปนในดานสถานที่

ทองเที่ยวบุคลากรภายในองคกรชุมชนใกลเคียงนอกจากภายในสถานที่ทองเที่ยวและชุมชนใกลเคียงแลว

ยังตองหาแนวทางพัฒนาที่จะสงผลตอเนื่องในระยะยาวเพื่อใหเปนการพัฒนาแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืนที่

มีประสิทธิภาพได

Page 39: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

28

แนวคิดเกี่ยวกับการทองเที่ยวที่ยั่งยืน สามารถนํามาประยุกตใชกับแหลงทองเที่ยวชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดเปนอยางดีโดยการใหองคความรูดานแนวคิดเกี่ยวกับการ

ทองเที่ยวกับคนในชุมชน ทั้ง 3 มิติ 1.มิติดานเศรษฐกิจ 2.มิติดานการมีสวนรวม และ 3. มิติดานการจัดการ

สิ่งแวดลอม เมื่อคนในชุมชนมีองคความรูดังกลาวแลวก็จะสามารถรวมกันจัดการแหลงทองเที่ยวชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใหเปนแหลงทองเที่ยวที่มีความยั่งยืนไดตอไป

2.3 แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดเห็น2.3.1 ความหมายของความคิดเห็น

Nunnally (1959 : 78, อางถึงใน ประภาเพ็ญ สุวรรณ 2520 : 3) ไดใหความเห็นวา ทั้ง

ความคิดเห็นและทัศนคตินั้นเปนเรื่องของการแสดงออกของแตละบุคคลตอประชาชนทั่วไปตอ

ขนบธรรมเนียมประเพณีและการแสดงความคิดในโลกที่เกี่ยวกับตัวเขาและความคิดเห็นนั้นยังจะใชในเรื่อง

เกี่ยวกับการลงความเห็นและความรู ในขณะที่ทัศนคตินั้นใชกันมากในเรื่องเกี่ยวกับความรูสึกและ

ความชอบพอ

ประสาท หลักศิลา (2559 : 398 – 399) กลาวา มติหรือความคิดเห็นตางๆ ของคนนั้นเกิดจากการ

พบประสังสรรคประจําวันของคนเรา แตคนเราก็จะมีภูมิหลังทางสังคมจํากัดอยู ภูมิหลังทางสังคมของแตละ

คนก็ยอมเปนผลทําใหการกระทําการตอบสนองตอเหตุการณและเกิดความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณนั้นๆ

อุทัย หิรัญโต (2522 : 80-81) ใหความเห็นไววาความคิดเห็นของคนเรามีหลายระดับคืออยางผิว

เผินก็มี อยางลึกซึ้งก็มี สําหรับความคิดเห็นที่เปนทัศนคตินั้นเปนความคิดเห็นที่ลึกซึ้งและติดตัวไปเปน

เวลานาน ความคิดเห็นทั่วๆ ไป ซึ่งมีประจําตัวบุคคลทุกคนเปนความคิดเห็นที่ไมลึกซึ้งและเปนความคิดเห็น

เฉพาะอยางมีอยูระยะสั้น เปนความคิดเห็นประเภทที่ไมตั้งอยูบนรากฐานของพยานหลักฐานที่เพียงพอตอ

การพิสูจนได เกิดขึ้นไดงายแตสลายตัวเร็ว

สุชา จันทรเอม (2527 : 8 ) กลาวถึงความหมายของความคิดเห็นวา เปนความรูสึกของบุคคลแต

เปนลักษณะที่ไมลึกซึ้งเทากับทัศนคติ คนเราจะมีความคิดเห็นที่แตกตางกันและความคิดเห็นจะเปนสวน

หนึ่งของทัศนคติ

Page 40: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

29

ประภาเพ็ญ สุวรรณ ( 2520 : 3 ) ไดใหความหมายของความคิดเห็นวา เปนการแสดงออกทางดาน

ทัศนคติอยางหนึ่ง แตเปนการแสดงความคิดเห็นมักจะมีอารมณเปนสวนประกอบและเปนสวนที่พรอมที่จะ

มีปฏิกิริยาตอสถานการณภายนอก

เรืองเวทย แสงรัตนา (2522 : 20) ใหความหมายของความคิดเห็นวาเปนการแสดงออกทางดาน

ความรูสึกตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งดวยการพูดหรือการเขียน โดยอาศัยพื้นฐานความรูประสบการณและ

สภาพแวดลอม การแสดงความคิดเห็นอาจไดรับการยอมรับหรือปฏิเสธจากคนอื่นได

จากแนวคิด และความหมายดังกลาวจึงสรุปไดวา ความคิดเห็นเปนการแสดงออกทางดาน

ความรูสึก ความเชื่อและการตัดสินใจตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยอาศัยความรู การรับรู ประสบการณ และ

สภาพแวดลอมในขณะนั้นเปนพื้นฐาน ซึ่งความคิดเห็นของแตละบุคคลอาจเปนที่ยอมรับ หรือปฏิเสธจาก

คนอื่นได

2.3.2.ปจจัยที่มีผลตอความคิดเห็น

Foster (1952,อางถึงใน เรืองเวทย แสงรัตนา, 2522 : 20 ) ไดกลาวถึงปจจัยเกี่ยวกับความ

คิดเห็นวามีมูล 2 ประการ คือ

1. ประสบการณที่บุคคลมีตอสิ่งของ บุคคล หมูคณะ เรื่องราวตางๆ หรือประสบการณความคิดเห็น

ที่เกิดจากตัวบุคคลจากการพบเห็น ความคุนเคย อาจถือไดวา ประสบการณตรง และจากการไดยินไดฟง

ไดเห็นรูปถายหรือจากการอานหนังสือ โดยไมไดพบเห็นหรือถือเปนประสบการณทางออม

2. ระบบคานิยม และการตัดสินใจคานิยม เนื่องมาจากกลุมชนแตละกลุมมีคานิยมและการ

ตัดสินใจ คานิยมไมเหมือนกัน คนแตละกลุมจึงมีความคิดเห็นในสิ่งตางๆ แตกตางกัน

Oskamp (1977,อางถึงใน ประสาท หลักศิลา, 2529 : 398-399) ไดกลาวสรุปถึงปจจัยที่มีอิทธิพล

ตอความคิดเห็นไว ดังนี้ คือ

1. ปจจัยทางพันธุกรรมและสรีระ คือ อวัยวะตางๆ ของบุคคลที่ใชรับรูผิดปกติของอวัยวะ ความ

บกพรองของอวัยวะสัมผัส ซึ่งมีผลตอความคิดเห็นที่ไมดีของบุคคลภายนอก

2. ประสบการณโดยตรงของบุคคล คือ บุคคลไดประสบกับเหตุการณดวยตนเองการกระทําดวย

ตนเองหรือไดพบเห็นทําใหบุคคลมีความฝงใจและเกิดประสบการณนั้นแตกตางกัน

3. อิทธิพลของผูปกครอง คือ เมื่อเปนเด็ก ผูปกครองจะอยูใกลชิดและใหขอมูลแกเด็กไดมาก ซึ่งมี

ผลตอพฤติกรรมและความคิดเห็นของเด็กดวย

Page 41: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

30

4. ทัศนคติและความคิดเห็นของกลุม คือ เมื่อบุคคลเจริญเติบโตยอมจะตองมีกลุมและสังคม ดังนั้น

ความคิดเห็นของกลุมเพื่อน กลุมอางอิงหรือการอบรมสั่งสอนของโรงเรียน หนวยงานที่มีความคิดเหมือนกัน

หรือแตกตางกัน ยอมมีผลตอความคิดเห็นของบุคคลดวย

5. สื่อมวลชน คือ สื่อตางๆ ที่เขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของตัวเรา ดังนั้นสื่อเหลานี้ซึ่งไดแก

วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ นิตยสาร อินเตอรเน็ต จึงเปนปจจัยอันหนึ่งที่มีผลตอความคิดเห็นของบุคคล

2.3.3ความสําคัญของความคิดเห็น

Feldman (1972 : 53, อางถึงใน สุชา จันทรเอม, 2527 : 5) อธิบายวาการสํารวจความคิดเห็นเปน

การศึกษาความรูสึกของบุคคล กลุมคน ที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แตละคนจะแสดงความเชื่อความรูสึกใดๆ

ออกมาโดยการพูด การเขียน เปนตน การสํารวจความคิดเห็น จะเปนประโยชน ตอการวางนโยบายตางๆ

เพราะจะทําใหการดําเนินงานตางๆ เปนไปดวยความเรียบรอย

ชัยอนันต สมุทรวานิช (2537 : 29)อธิบายวาโครงการพัฒนาใดๆ ใหสําเร็จและบรรลุเปาหมาย

อยางแทจริงแลว ควรจะตองไดรับความรวมมือจากประชาชน การเผยแพรโครงการและการรับฟงความ

คิดเห็นจากประชาชนตอโครงการจะกอใหเกิดผลดี คือ จะชวยโครงการนั้นสอดคลองกับความตองการของ

ทองถิ่นอันเปนสิ่งแวดลอมทางสังคมทีใชประเมินคาของโครงการและทําใหประชาชนเกิดความรูสึกในการ

เขามามีสวนรวมทําใหไมเกิดการตอตาน ถาสาธารณะชนมีสวนมีสิทธิ์แสดงความคิดเห็นในโครงการพัฒนา

ใดๆ ก็จะทําใหประชาชนเกิดความสํานึกในการเปนเจาของ เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือรักษาไว

2.3.4การวัดความคิดเห็น

Zadrozny (1959,อางถึงใน พัชนี วรกวิน2526 :78)กลาววาการวัดความคิดเห็นโดยทั่วไปตองมี

สวนประกอบ 3 อยาง คือ บุคคลที่ถูกวัด สิ่งเราและการตอบสนองซึ่งจะออกมาเปนระดับสูงต่ํามากนอย

วิธีการวัดความคิดเห็นโดยมากจะใชการตอบแบบสอบถามและการสัมภาษณโดยใหผูตอบคําถามตอบ

แบบสอบถาม และ เบส (Best อางถึงใน สุชา จันทรเอม , 2527 : 8) ไดเสนอแนะวิธีที่งายที่สุดที่จะบอก

ความคิดเห็นก็คือการแสดงใหเห็นถึงรอยละของคําตอบแตละคําถาม เพราะจะทําใหเห็นวาความคิดเห็น

ออกมาในลักษณะใดและจะทําใหไดขอคิดเห็นเหลานั้นมา

Page 42: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

31

จากแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดเห็นสามารถสรุปไดวาความคิดเห็นเปนการแสดงออกของ

บุคคลดานความเชื่อและความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะโดยขึ้นอยูกับความรูกับประสบการณ

ของตนเองเปนเครื่องชวยตัดสินใจในการทําวิจัยครั้งนี้ จึงไดนําแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดเห็นมา

ออกแบบสอบถามเพื่อใหกลุมประชากรไดตอบแบบสอบถามโดยการแบงแบบสอบถามเปน 5 ระดับคือเห็น

ดวยอยายิ่ง เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย และ ไมเห็นดวยอยางยิ่ง และนําผลที่ไดวาวิเคราะหตอไป

2.4แนวคิดและทฤษฎีดานประชากรศาสตร2.4.1 ความหมายของแนวคิด และทฤษฎีดานประชากรศาสตร

Kotler (1972 : 264-266)อธิบายวา เปนการศึกษาถึงความเปนไปไดในการกําหนดตลาด

เปาหมายประชากรศาสตรซึ่งเปนศาสตรที่ใหความรูเกี่ยวกับขนาดองคประกอบการกระจายและการ

เปลี่ยนแปลงของประชากรกประชากรเหลานี้คือมนุษยผูมีความตองการอันธรรมชาติอยูแลวนั่นเองกสวน

นักการตลาดเปนผูที่มีหนาที่ตองเขาไปสรางความอยากไดในผลิตภัณฑของบริษัทใหบังเกิดในมนุษยดวย

เหตุนี้นักการตลาดจึงตองสนใจติดตามตรวจสอบความเคลื่อนไหวทางดานลักษณะประชากรกโดยอาศัย

ความรูทางดานประชากรศาสตรในประเด็นตางๆกอยูเสมอขนาดของประชากรกหมายถึงจํานวนมนุษยใน

อาณาเขตใดอาณาเขตหนึ่งซึ่งนับไดณเวลาใดเวลาหนึ่งยิ่งประชากรมีขนาดใหญเทาใดความตองการของ

ประชากรก็จะยิ่งมีขนาดใหญและเอกภพของบุคคลยิ่งมีจํานวนมากเปนเงาตามตัวทําใหความอยากไดยิ่ง

หลากหลายชองทางในการทําธุรกิจก็ยิ่งมีมากขึ้นแตขนาดของตลาดจะคุมคากับการลงทุนหรือไมนั้นตอง

อาศัยตัวแปรอื่นมาประกอบเชนอํานาจซื้อของประชากรเหลานั้นนักการตลาดจึงตองสนใจติดตาม

ตรวจสอบแนวโนมของประชากรตลอดเวลามีการแบงตลาดออกเปนกลุมๆกโดยมีการใชเกณฑหลายเกณฑ

ตัวแปรประชากรศาสตรเชนอายุขนาดครอบครัววงจรชีวิตของครอบครัวกรายไดอาชีพการศึกษาศาสนาเชื้อ

ชาติสัญชาติเปนตนตัวแปรเหลานี้นิยมใชกันมากในการระบุความแตกตางระหวางกลุมลูกคาทั้งหลาย

เหตุผลอีกประการหนึ่งก็คือความตองการหรือความชอบของผูบริโภครวมทั้งอัตราการใชมักเกี่ยวพันเปน

อยางมากกับตัวแปรทางประชากรศาสตร

2.4.2 ลักษณะทางประชากรของมวลชนผูรับสารดานสถานะทางสังคมและเศรษฐกิจ

ยุคล เบ็ญจรงคกิจ (2542:49-50)สถานะทางสังคมและเศรษฐกิจ (Social and Economic

Status) ประกอบดวยอาชีพ รายได เชื้อชาติและชาติพันธ ตลอดจนภูมิหลังของครอบครัว เปนปจจัยที่ทําให

Page 43: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

32

คนมีวัฒนธรรมที่แตกตางกัน มีประสบการณที่แตกตางกัน มีทัศนคติ คานิยม และเปาหมายที่แตกตางกัน

สถานะทางสังคมและเศรษฐกิจเปนตัวแปรสําคัญเชนเดียวกับการศึกษา ซึ่งผูที่มีการศึกษาสูงมักมีรายไดสูง

ตามไปดวย สวนผูที่มีการศึกษานอยมักมีรายไดนอยถึงปานกลาง ดังนั้นบุคคลที่มีฐานะดีและมีการศึกษา

สูงจึงเปนกลุมที่ไดรับการยอมรับในสังคม แตอยางไรก็ตามผูมีรายไดสูงมักมีปจจัยเรื่องเวลา

2.5บริบทชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาชุมชนตําบลเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แตเดิมเปนปาดงดิบและ

ปาไผ เลากันวาเมื่อสมัยกรุงศรีอยุธยาแตก ชาวบานอพยพลงมาทางทายแมน้ําเจาพระยาและมาถากถางที่

ทํามาหากิน คําวา “เกาะเกิด” มีที่มาจากเรื่องเลาในอดีตวาในสมัยกรุงศรีอยุธยา พอคาชาวจีนที่ลองเรือ

สําเภามาคาขายตามลําน้ําเจาพระยาเมื่อลองมาถึงบริเวณตําบลเกาะเกิดในปจจุบัน เกิดพายุพัดเรือสําเภา

ลมกลางแมน้ําเจาพระยาตรงบริเวณหนาวัดเชิงทาใน ปจจุบัน เวลาผานไปไดมีดินตะกอนมาทับถมจนเกิด

เปนเกาะอยูกลางน้ํา ชาวบานทั่วไปจึงเรียกชาวบานที่อาศัยบริเวณเกาะนี้วา“ชาวเกาะเกิด”จนกลายเปนชื่อ

ตําบลในปจจุบันของชุมชนตําบลเกาะเกิด (www.cbtdatabase.org)

หมูบานทองเที่ยวโอท็อปเกาะเกิด มีพัฒนาการเริ่มตั้งแตป 2537 นําโดยนางลําพูน พรรณ

ไวย อดีตผูใหญบานหมู 5 บานทายวัดตําบลเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเริ่ม

จากกลุมผลิตภัณฑสมุนไพรอายุวัฒนะ มีสวนสมุนไพร กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กองทุนหมูบาน กลุม

อาชีพ OTOP ตางๆ ไดแก กลุมปนจิ๋ว กลุมทําลูกประคบ กลุมทํายาสระผม กลุมปุยน้ําชีวภาพและตอมาใน

ป 2547 ไดรับการจัดตั้งเปนศูนยเรียนรูชุมชน ในป 548 ไดรับคัดสรรเปนหมูบานทองเที่ยว OTOP Village

ผูใหญลําพูน จึงรวมกับชาวบานจัดบานพักเปนโฮมสเตยขึ้นมา และในป 2550-2551 ไดรับการสนับสนุน

จากโครงการ SML จัดหารถลากจูงสําหรับนักทองเที่ยวชมหมูบาน ทําใหมีชื่อเสียงมากยิ่งขึ้นและในป 2552

โฮมสเตยที่จัดทําอยูก็ไดรับรางวัลโฮมสเตยที่ไดมาตรฐานรับรองจากสํานักงาน พัฒนาการทองเที่ยว

กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา รวมท้ังไดรับเลือกเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง “อยูดีมีสุข” อีกดวย

2.5.1 แหลงทองเที่ยวภายในชุมชน

ลักษณะการทองเที่ยวเพื่อสรางความเปนศิริมงคลตอตัวเอง ไดแก

Page 44: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

33

1.วัดใหญชัยมงคล ม“ีพระเจดียชัยมงคล” สรางขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติยศที่ไดชัยในการ

ทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา แหงกรุงหงสาวดี มีเจดียขนาดใหญที่สุดในจึงหวัดอยุธยา

2.วัดพนัญเชิงวรวิหาร ตามตํานานเลาวาวัดนี้สรางมากอนกรุงศรีอยุธยา ภายในวัดมี

“พระเจาพนัญเชิง” หรือ “หลวงพอโต” เปนพระพุทธรูปองคสําคัญ

3.หลวงพอมงคลบพิตร อยูในวิหารมงคลบพิตร ถือเปนพระคูบานคูเมืองอยุธยา เปน

พระพุทธรูปบุสัมฤทธิ์ขนาดใหญและถูกพมาลอกทองไปเมื่อคราวเสียกรุงครั้ง ที่ 2

4.วัดธรรมิกราช วัดเกาแกมีเจดียประธานทรงลังกาที่เปนรูปพญานาค 7 เศียรแผพังพาน

ที่นี่เคยเปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสําริดขนาดใหญ แตถูกเผาทําลายเหลือแตเศียรพระ เปนศิลปะสมัยอู

ทองมีพระพักตรสี่เหลี่ยมดูเครงเครียดจนชาวบานเรียกกัน วา “หลวงพอแก” ปจจุบันเก็บรักษาไวที่

พิพิธภัณฑฯสามพระยา

5.วัดพุทไธศวรรย มีพระปรางคประธานองคใหญศิลปะแบบขอมที่มีสีขาวโดดเดน

มองเห็นแตไกล

6.วัดกษัตราธิราชวรวิหาร มีพระประธานที่มีแทนฐานผาทิพยปูนปน ชางทําดวยฝมือ

ประณีต มีความงดงามมาก

7.วัดธรรมาราม อายุ 400 กวาปแลว ภายในวัดมี “ตนโพธิ์” จากศรีลังกา ซึ่งเปนหนอจาก

ตนโพธิ์ตนที่พระพุทธเจาตรัสรู มีอายุเกาแกกวาสองพันปปลูกอยูในวัด

8.วัดหนาพระเมรุราชิการาม เปนวัดเดียวในกรุงศรีอยุธยาที่ไมถูกเผาทําลาย เมื่อคราว

เสียกรุงครั้งที่ 2 การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ยกใหเปนหนึ่งในวัดอันซีนไทยแลนด เนื่องจากวามี

พระพุทธนิมิตรวิชิตมารโมลีศรีสรรเพ็ชรญบรมไตรโลกนาถ ที่เปนพระพุทธรูปปางมารวิชัยทรงเครื่องที่ใหญ

และงดงามที่สุดในเมืองไทย

9.วัดนครหลวง มีพระพุทธบาท 4 รอย และธรรมจักรศิลา (ศาลาพระจันทรลอย)

2.5.2 กิจกรรมและการบริการดานการทองเที่ยวของชุมชน

1.ทรัพยากรการทองเที่ยวภายในชุมชนของฝาก เปนสินคาทองถิ่นที่ผลิตโดยฝมือ

ชาวบาน เปนผลิตภัณฑชุมชนที่สรางรายไดใหกับชาวบาน ผลิตจากวัตถุดิบในชุมชนเอง จึงรับรองในเรื่อง

ความสะอาด ปลอดภัย

Page 45: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

34

2. กลุมยาสมุนไพรเชน ยาลูกกลอนสมุนไพรอายุวัฒนะ, ลูกประคบ พื้นที่ตําบลเกาะเกิด

เต็มไปดวยสมุนไพร การนําภูมิปญญาชาวบานในเรื่องนี้มาใชในชีวิตประจําวันแลวไดผล จนผลิตออกมา

เปนผลิตภัณฑชุมชน นับวาเปนการพัฒนาชุมชนของชาวเกาะเกิดอยางแทจริง

3.กลุมขนมเชน ขนมกง, ขนมครกสูตรคุณยาย, ขนมขาวยาคู, ขนมไทยยอสวน (จากดิน

ไทย) ขนมไทยที่อยุธยาขึ้นชื่อเรื่องความเกาแกและอรอย เปนสูตรไทยแทที่รับรองวากินแลวจะลืมรสชาติ

ขนมฝรั่งไปเลย

4. กลุมผลิตภัณฑของใชเชน น้ํายาสระผม, ปุยน้ําชีวภาพ ปุยเพื่อทําใหตนไมงอกงาม,

น้ําสมควันไม (สารปรับปรุงดินที่ชวยทําใหดินมีคุณภาพ) ผานการทดลองลงมือทํา และพิสูจนดวยตัวเองวา

วิธีการจากธรรมชาตินั้นดีและใชไดผล จึงผลิตออกมาเพื่อใหนักทองเที่ยวไดซื้อเปนของฝากและของที่ระลึก

หรือนําไปใชเองก็จะประทับใจถึงคุณภาพในผลิตภัณฑของชาวบาน

2.5.3 กิจกรรมการทองเที่ยวภายในชุมชน

ชุมชนตําบลเกาะเกิดเปนชุมชนริมแมน้ําเจา พระยา มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ที่อุดมสมบูรณ สงบรมรื่น พื้นที่โดยรอบของชุมชนตําบลเกาะเกิด มีทั้งแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ แหลง

ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ซึ่งเมื่อมาถึงแลวนักทองเที่ยวจะไดสัมผัสอากาศที่สดชื่นและบริสุทธิ์ สัมผัสกับ

วัฒนธรรมทองถิ่นผานการพักแบบโฮมสเตยเมื่อมาพักแบบโฮมสเตย ชาวบานจะจัดกิจกรรมเพื่อให

นักทองเที่ยวไดสัมผัสกับวิถีชีวิตความเปน อยูแบบชาวบาน และสัมผัสกับธรรมชาติชุมชนเกาะเกิด ซึ่งมี

หลากหลายโปรแกรมใหเลือก ดังนี้

2.5.4 ปฏิทินและโปรแกรมการทองเที่ยว

1.เชาไหวพระ ตักบาตร และนมัสการหลวงพอดําหลวงพอดําเปนพระพุทธรูปเกาแก

สมัยกรุงศรีอยุธยาในวัดพยาญาติ เปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ โดยชาวบานมักจะมาตักบาตรกันที่วัด

2. ชมนาฏศิลปะ การชมนาฏศิลปจากกลุมนาฏศิลปของชุมชน เปนกิจกรรมที่อยูใน

โปรแกรมการทองเที่ยว สําหรับนักทองเที่ยวตางชาติซึ่งนิยมชมการแสดงชนิดนี้ สําหรับนักทองเที่ยวชาวไทย

ที่สนใจชม ตองแจงแกทางชุมชนใหจัดเตรียมไวให โดยมีอัตราคาบริการชุดละ 1,000 บาท

Page 46: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

35

3.ชมกลุมอาชีพตางๆ ในชุมชนการชมกลุมอาชีพตางๆ และทดลองทําขนมและสินคา

ตาง ๆ ดวยตนเอง เชน ขนมกง ขนมครกสูตรคุณยาย ขนมขาวยาคู เปนกิจกรรมที่ไดรับความนิยมจาก

นักทองเที่ยว โดยเฉพาะนักทองเที่ยวชาวตางชาติ

2.5.5 การบริการดานการทองเที่ยวของชุมชน

1.จุดวางสื่อประชาสัมพันธ

จุดวางสื่อประชาสัมพันธของชุมชนบานเกาะเกิด จะอยูที่ บานผูใหญ ลําพูน พรรณไวย

บานเลขที่ 13/1 หมูที่ 5 ตําบลเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

2.ที่พักและโฮมสเตย กลุมโฮมสเตยเกาะเกิด

มีบานพักรูปแบบโฮมสเตยกับนักทองเที่ยวจํานวน 10 หลัง โดยในป พ.ศ.2552 ชุมชน

ไดรับมาตรฐานโฮมสเตยจากสํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว อัตราคาบริการที่พักโฮมสเตย หองแอร250

บาท / คน / คืน, หองพัดลม 150 บาท / คน / คืน บริการอาหารเชา 80 บาท / คน, อาหารกลางวัน 100 บาท

/ คน, อาหารเย็น 150 บาท / คน, อาหารวาง 20 บาท/คน ติดตอคุณลําพูน พรรณไวย โทร. 08 1851 6632,

08 1372 6038 คุณสุชิน อุมญาติ โทร.08 1423 0708

3.เอกลักษณของชุมชน

ชุมชนบานเกาะเกิด มีพระพุทธรูป “หลวงพอดํา” ซึ่งเปนพระประธานในอุโบสถวัดพยา

ญาติมีลักษณะเปนรูปเรือสําเภาโบราณที่เปนเอกลักษณ และยาเม็ดลูกกลอนสมุนไพรที่มีชื่อเสียงในการ

รักษาโรคใหกับผูเจ็บไขไดปวยไดอยางมีประสิทธิภาพ

4.ระบบสาธารณูปโภค /สิ่งอํานวยความสะดวกภายในชุมชน

ปจจุบันชุมชนบานตําบลเกาะเกิดมีไฟฟาเขา ถึงทุกบานและสามารถใชไดตลอด 24

ชั่วโมง สําหรับน้ําใชเพื่อการอุปโภคบริโภคนั้น ชาวบานจะใชประปาหมูบานโดยใชรวมกับหมูที่ 4 ซึ่งเปน

ที่ตั้งของระบบประปาที่ไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานเรงรัดพัฒนา ชนบทซึ่งไมคอยพอใช โดยใชรวมกับ

น้ําฝนและน้ําในแมน้ําเจาพระยา สวนน้ําดื่มจะซื้อน้ําดื่มบรรจุขวดจากแหลงจําหนายน้ําดื่มทั่วไป ในชุมชน

ตําบลเกาะเกิดมีโทรศัพทสาธารณะ 2 เครื่อง พื้นที่ทั้งหมดในชุมชนสามารถรับสัญญาณโทรศัพทมือถือได

ทุกเครือขาย จึงไมมีปญหาในการติดตอสื่อสาร

Page 47: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

36

2.5.6การจัดการทองเที่ยวของชุมชน

การจัดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด ดําเนินการในลักษณะของกลุม โดยสมาชิก

ในชุมชนรวมกันบริหารจัดการและเปนเจาของกิจกรรมการทองเที่ยวของชุมชนรวมกันมีการจัดการที่เปน

ระบบและเปนธรรมสมาชิกในชุมชนมีสวนรวมในฐานะเจาบานที่ดีดวยการทักทายนักทองเที่ยว ชวยการ

ดูแลเก็บขยะมูลฝอยตามถนน แมนํ้าลําคลองใหดูสะอาด ตลอดจนชวยกันปรับภูมิทัศนบริเวณหนาบานของ

ตนและที่สวนรวม ใหความรวมมือในการประชุม ชวยกันสอดสองยาเสพติดในชุมชนจนไดรับเลือกใหเปน

ครอบครัวสานใยรัก

2.5.7 การดําเนินงานดานเครือขายการทองเที่ยวของชุมชน

ตลาดโกงโคง ตําบลบานโพธิ์ อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาศูนยศิลปาชีพ

บางไทร อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระราชวังบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาชุมชน

โฮมสเตยดาบเริงชัย ตําบลรางจระเข อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชุมชนโฮมสเตยบานอรัญญิก

อําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รีสอรทบานสวนริมน้ํา ตําบลบางกระสั้น อําเภอบางปะอิน

จังหวัด พระนครศรีอยุธยา มีการประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนระหวางกลุมสินคา/โฮมสเตย ทั้งระดับอําเภอ

จังหวัดเปนประจํา และมีการศึกษาดูงานระหวางเครือขายระดับจังหวัด

2.5.8 รางวัลที่ไดรับเกี่ยวกับการจัดการทองเที่ยวของชุมชน

1. รางวัลสงเสริมกิจกรรมนันทนาการดีเดน ปพ.ศ.2553

2. รางวัลชนะเลิศกลุมองคกรชุมชนแกนหลักสําคัญในการพัฒนาหมูบานดีเดน ปพ.ศ.

2552

3. รางวัลชนะเลิศ กลุมอาชีพดีเดน ปพ.ศ.2552

4. รางวัลชนะเลิศ โครงการคัดเลือกหมูบานเศรษฐกิจแบบพอเพียงระดับจังหวัด ปพ.ศ.

2252

5.รางวัลชนะเลิศแผนชุมชนดีเดน ปพ.ศ.2552

Page 48: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

37

2.5.9 การเดินทาง

รถยนต จากกรุงเทพ ฯ สามารถเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดหลายเสนทาง

ดังนี้ -ใชทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ผานประตูน้ําพระอินทร แลวแยกเขาทางหลวงหมายเลข

32 เลี้ยวซายไปตามทางหลวงหมายเลข 309 เขาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยาใชทางหลวงหมายเลข 304

(ถนนแจงวัฒนะ) หรือทางหลวงหมายเลข 302 (ถนนงามวงศวาน) เลี้ยวขวาเขาทางหลวงหมายเลข 306

(ถนนติวานนท) แลวขามสะพานนนทบุรีหรือสะพานนวลฉวี ไปยังจังหวัดปทุมธานีตอดวยเสนทาง

ปทุมธานี-สามโคก-เสนา (ทางหลวงหมายเลข 3111) เลี้ยวแยกขวาที่อําเภอเสนา เขาสูทางหลวงหมายเลข

3263 เขาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยา -ใชเสนทางกรุงเทพ ฯ – นนทบุรี – ปทุมธานี ทางหลวงหมายเลข 306

ถึงทางแยกสะพานปทุมธานี เลี้ยวเขาสูทางหลวงหมายเลข 347 แลวไปแยกเขาทางหลวงหมายเลข 3309

ผานศูนยศิลปาชีพบางไทรอําเภอบางปะอิน เขาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

รถไฟจากกรุงเทพ ฯ สามารถใชบริการรถไฟโดยสารที่มีปลายทางสูภาคเหนือและภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีบริการทุกวัน ขบวนรถไฟจะผานจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในเขตอําเภอบางปะอิน

อําเภอพระนครศรีอยุธยา และอําเภอภาชี แลวรถไฟจะแยกไปภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่

สถานีชุมทางบานภาชี

นอกจากนี้ การรถไฟฯ ยั งจัดขบวนรถจักรไ อน้ํ า เดินทางระหวางกรุ ง เทพ ฯ –

พระนครศรีอยุธยาในโอกาสพิเศษ ปละ 3 ขบวน คือ วันที่ 26 มีนาคม (วันสถาปนาการรถไฟฯ และเปนวันที่

ระลึกถึงการเปดทางรถไฟสายแรกวิ่งระหวางกรุงเทพ ฯ – นครราชสีมา ในป พ.ศ. 2433) วันที่ 23 ตุลาคม

(วันปยมหาราช เพื่อรําลึกถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ผูทรงใหกําเนิดกิจการรถไฟไทย)

และวันที่ 5 ธันวาคม (วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช) สอบถามราย

เพิ่มเติมไดที่การรถไฟแหงประเทศไทย โทร.0 2220 4334, 0 2220 4444, 0 2223 7010, 0 2223 7020,

1690 หรือเว็บไซต www.railway.co.th (สถานีรถไฟอยุธยามีบริการรับฝากสัมภาระ)

รถโดยสารประจําทาง บริษัท ขนสง จํากัด มีบริการรถโดยสารธรรมดาและรถโดยสาร

ปรับอากาศไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาทุกวัน วันละหลายเที่ยว โดยออกจากสถานีขนสงหมอชิต ถนน

กําแพงเพชร 2 รถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 กรุงเทพ ฯ – พระนครศรีอยุธยา และรถโดยสารปรับอากาศชั้น 2

กรุงเทพ ฯ – ศูนยศิลปาชีพบางไทร – พระนครศรีอยุธยา สอบถามเพิ่มเติมไดที่ โทร. 0 2936 2852-66 หรือ

ที่เว็บไซตwww.transport.co.th

Page 49: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

38

เรือการเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาโดยทางน้ําเปนที่นิยมของชาวตางประเทศ

เพราะนอกจากจะไดชมทัศนียภาพ และชีวิตความเปนอยูของประชาชนริมสองฝงแมน้ําเจาพระยาแลว ยัง

เปนการยอนใหเห็นถึงประวัติศาสตรสมัยที่กรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี และมีการติดตอคาขายกับ

ชาวตางชาติทางเรือบนสายน้ํา เจาพระยาแหงนี้ บริการเรือนําเที่ยวจากกรุงเทพ ฯ ไปจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา

2.5.10 คําสัมภาษณบุคลากรที่เกี่ยวของกับชุมชนบานเกาะเกิด

นายอิสสระพงษแทบศิริ ผูอํานวยการ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงาน

พระนครศรีอยุธยาผูตอบแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการทองเที่ยวอยางยั่งยืน กรณีศึกษา โฮมสเตย

ชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางประอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จากนโยบายการทองเที่ยวหรือเปาหมาย

ในการจัดการการทองเที่ยวโฮมสเตยมีแนวทางในการรักษาสภาพใหคงอยูตลอดไป โดยการปรับเปลี่ยนทัส

นคติและแนวคิดของคนในชุมชนกอนเริ่มจากการเขาใจความหมายของโฮมสเตย เพราะตอนนี้ชุมชนให

ความหมายของคําวาโฮมสเตยที่คลาดเคลื่อน เขาใจไปแนวทางรีสอรทมากกวาโฮมสเตย อยากใหคนใน

ชุมชนปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตกลับมาเปนแบบโฮมสเตยแบบยั่งยืน รักษาขนบธรรมเนียม การดําเนินชีวิตให

เหมือนในอดีต เพราในปจจุบันเสนหของโฮมสเตยไดหายไป ความเจริญเขามาในโฮมสเตยมากจึงทําใหเกิด

การเปลี่ยนแปลงไปมาก ยกตัวอยาง ปาย จังหวัดแมฮองสอน เมื่อกอนมีกิจกรรมลองแพ มีตนไม มีน้ําพุรอน

มีทุงนาแตปจจุบันไมมีแลว ในสวนของกระทรวงการทองเที่ยวมีหนาที่ประชาสัมพันธและแนะแนวทางการ

รักษาความยั่งยืน แตไมสามารถเขาไปกาวกายงานของกรมการทองเที่ยวไดจึงมีแนวทางคือใหคนในชุมชน

รักษาความเปนโฮมสเตยไว ในเรื่องการจํากัดจํานวนนักทองเที่ยวที่เขามาพักเพื่อใหเกิดความเหมาะสมกับ

ศักยภาพของพื้นที่บริการ ควรมีการจํากัดนักทองเที่ยวเพราะนักทองเที่ยวยิ่งมากความเสื่อมโทรมยิ่งตามมา

มากดวยเชนกัน ยกตัวอยางเชน โฮมสเตยเกาะยาวมีการจํากัดนักทองเที่ยว เปนการเพิ่มคุณคาของสถานที่

ทองเที่ยวรักษาความเปนธรรมชาติของโฮมสเตย หรืออีกที่เปนโฮมสเตยสรางบานยื่นไปกลางทะเล รับ

นักทองเที่ยวไดจํากัดจนเริ่มมีการขยายทําใหผิดกฎหมายและมาตรฐานของโฮมสเตยในที่สุดโฮมสเตยใน

สวนนั้นขาดทุนและปดกิจการไปเพราะนักทองเที่ยวตองการการทองเที่ยวแบบธรรมชาติ ในเรื่องของการ

Page 50: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

39

สรางความเขาใจในการอนุรักษทรัพยากรการทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวโฮมสเตยชุมชนบานเกาะเกิดควร

มีการบอกกลาวนักทองเที่ยวเก่ียวกับการอนุรักษวิถีชุมชน เพราะการเพิ่มสิ่งอํานวยความสะดวกมากเกินไป

ทําใหไมเกิดความเปนธรรมชาติและทําใหสูญเสียเอกลักษณในวิถีชุมชน ตอมาในเรื่องของกิจกรรมของ

โฮมสเตยบานเกาะเกิด จะมีกิจกรรมเปนจุดๆอาทิการเรียนรูการทํายาลูกกลอน การทําขนมโบราณ และอีก

มากมายเพียงพอตอความตองการของนักทองเที่ยว ขีดความสามารถในการรองรับนักทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิดสามารถรองรับได 100 – 200 คน เปนการเพียงพอตอการจัดการประสิทธิภาพของทรัพยากรถา

มากกวานี้ จะทําใหการจัดการไมเพียงพอเพราะอาจจะมีปญหาในดานสาธารณุปโภคดานการใชน้ํา ในสวน

ของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมจากอดีตถึงปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงคอนขางมากพอสมควรแตยังคง

อนุรักษวิถีชุมชน วิถีโฮมสเตยไวมีการเปลี่ยนแปลงเรื่องรายไดที่เพิ่มมากขึ้น สาธารณูปโภคตางๆมีมากขึ้น

ตนไมมีการจัดระเบียบตัดแตงทุกเดือนสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆมีมากขึ้น มีการเพิ่มลานการแสดงเพื่อ

แสดงกิจกรรมของชุมชน นับวาเปนสิ่งที่ดี ในเรื่องของปญหาสิ่งแวดลอมทางโฮมสเตยชุมชนบานเกาะเกิดมี

การจัดการเกี่ยวกับน้ํา มีถังแยกนํ้ามันนับวาไมคอยมีปญหาดานสิ่งแวดลอม เรื่องการมีสวนรวมของชุมชนมี

การจัดตั้งคณะกรรมการชุมชนมีประมาณ 10 คน ชวยกันดูแลโฮมสเตย จัดกิจกรรมหนาบานนามอง ใหคน

ในชุมชนมีสวนรวม ตั้งกลุมกิจกรรมแตละจุดมีผูดูแลทุกกลุมกิจกรรมซึ่งเปนคนของชุมชน ตอมาเรื่อง

นโยบายการสงเสริมการตลาดกระทรวงการทองเที่ยวมีหนาที่ประชาสัมพันธ เปนสื่อสาธารณะโปรโมต ควร

เปนแคพี่เลี้ยงไมควรเขาไปกาวกายมากเกินไปเพราะจะทําใหเสียกระบวนการ การประชาสัมพันธของ

กระทรวงการทองเที่ยวไมไดเห็นผลที่สุดแตเปนชองทางที่ดีที่สุดในปจจุบันเพราะในปจจุบันสมารทโฟนตอบ

โจทยมากที่สุดในเรื่องการเขาถึงขอมูล เรื่องมิติของเศรษฐกิจไมควรใหมันเยอะเกินไปการเปนโฮมสเตยควร

มีความพอเพียงเพราะจะเปนการเพิ่มคุณคาและมีความยั่งยืน

นางวิภาพรรณ หามาลา เลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบลเกาะเกิด จากเรื่องการมีสวน

รวมในการจัดการและมีแนวทางในการกระจายรายไดใหชุมชนรอบๆโฮมสเตย ทางโฮมสเตยชุมชนบาน

เกาะเกิดมีการจัดระเบียบเปนคิวสมมติมีนักทองเที่ยว 50 คนพักโฮมสเตยของกลุมนี้ ตอไปมีนักทองเที่ยว

มาก็จะเปนกลุมตอไปกระจายรายไดใหกับทุกกลุมอยางเทาเทียมกัน ทาง อบต. จะเสนอความชวยเหลือก็

ตอเมื่อทางประธานโฮมสเตยรองขอมา ในเรื่องการดูแลพื้นที่เชนเรื่องการทําความสะอาดชุมชนทางเราก็จะ

มีวิธีการคือ ทุกหมูมีหนาที่ของตัวเองเชนการตัดหญาก็ตัดเดือนละครั้ง ในเรื่องการทําความสะอาดคูคลอง

เรื่องน้ํารั่ว จะมีการจัดการตรวจเช็ค อบต.จะเปนการกําหนดนโยบายทุกคนตองมีสวนรวมใหความรวมใน

Page 51: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

40

การจัดการชุมชน นโยบายตางๆของภาครัฐทางเราจะชวยจัดการประสานงานตามที่ชุมชนรองขอ เราจะเปน

ภาคสนับสนุนหลักในการจัดการตางๆ

นายสุชิน อุมญาติประธานชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเริ่ม

เขามาทํางาน 2551 เริ่มจากเปนผูรับผิดชอบรถราง ไดขอเสนอใหทางชุมชนมีรถรางจึงทําโครงการเสนอขึ้น

ไปไดรับการอนุมัติงบมาจํานวนหนึ่งแสนสี่หมื่นบาท โดยทําเสนอโปรเจคใหกับนักศึกษาเพื่อบูรณาการงบ

ใหชางเชื่อมมาชวยตอเปนตัวถัง ชางตางๆ มาชวยกันทําใชระยะเวลา 6 เดือน ตอเมื่อตอน ป 2551

นักทองเที่ยวเริ่มเขามาดูงานมากยิ่งขึ้นมีการจับจายใชสอยจึงเกิดแนวความคิดขยายรายไดใหกับคนใน

ชุมชน ใชรถรางในการ กระจายทองเที่ยวไปในแตละจุด เปนการกระจายรายไดทางออม ในสวนของการ

กระจายรายได มีแนวคิดมาจากการเปนอาสาพัฒนาชุมชน ไดมีโอกาส สัมมนาอบรม ไดองคความรูมาเพื่อ

นํามาใชประโยชนใหกับชุมชน ไดใหโอกาสชุมชนการทํากิจกรรมรวมกันทุกคนจะรูจักหมด มีกิจกรรม

รวมกันแตละกลุมที่จัดตั้งขึ้นมา สิ่งสําคัญคือเรื่องเงินเขามาเกี่ยวของจะทําใหมีปญหา จึงทําบัญชีเปดเผย

กลุม 8 กลุม ใครอยูกลุมไหน จะไดไมเทากันมีการเปดเผยขอมูลทั้งหมด จะมีการแบงออกเปน 3 สวน ของ

ชุมชน ของผูประสานงาน และ กลุมกองกลาง แตละกลุมสวนมากเปนอุตสากรรมครัวเรือนจักการในรูปแบบ

วิสาหกิจชุมชน ผูใหญลําพูน จะเปน ตนแบบ ของการมีสวนรวมแตละกลุมมารวมกัน ไมมีองคความรูชวย

ตอยอด เกิดการลมเหลว ไป 10 กวาครั้ง ตอไปก็เชิญนักวิชาการมาใหความรูพอรวมกัน ลงหุน คนละ 500

บาท สองเดือนตอมาคืนทุนแตหลังจากนั้น ขาดทุน จึงแยกกลุมออกมาเพราะชุมชนลงทุนแลวอยากไดเงิน

เลยไมไดคิดถึงความยั่งยืน ทุกคนถอนหุน ในเวลาตอมา ผูใหญลําพูนปวยหลายโรค เบาหวาน ความดัน ตัว

บวม เริ่มกินยาลูกกลอน พอหายคนเริ่มมาดูงาน และเริ่มทําใหชาวชุมชนเริ่มเห็น ตอมาคนกินเริ่มหาย และ

ไดทําการเปดตลาด กลุมก็มารวมใหม ลงหุน หุนละ 100 บาททางชุมชนจึงมีนโยบายแบบยั่งยืนโดยใชหลัก

ของโฮมสเตย ไมตองสรางบานเพียงแตจัดหองใหมใหเปนระเบียบเรียบรอย บานหลังมีหองวางก็ใหเปดเปน

โฮมสเตยเริ่มมีรายไดมากขึ้น บานเรียบรอย แขกไมมา บานก็เรียบรอย แขกมาบานก็มีรายได และตอมามี

การพัฒนาปรับปรุง คือ เริ่มจากศึกษาดูงาน ดูยาสมุนไพร อายุวัฒนะ และเริ่มขยาย ไปสูเรื่องการทําขนม

หวาน เริ่มมีกิจกรรมเสริมมาเรื่อยๆ และไดขอมูลจากวิชาการ เปนพี่เลี้ยง จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ชวยทําวิจัยมาเปนแนวทางในการพัฒนาโฮมสเตย ในสวนของดานสภาพแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงไป

เยอะพอสมควรมีการพัฒนาทัศนียภาพตางๆ มีการตัดตนไมขางทาง ทุกๆเดือน จัดทําโครงการประกวด

หนาบานนามอง เพื่อพัฒนาโฮมสเตยมีการนําผักตบมาทําปุย นําสมุนไพรมาทดแทนสารเคมี ในเรื่องของ

Page 52: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

41

มลภาวะยังไมเกิดปญหา มีที่ปรึกษาหนวยงานของทางจังหวัดมาชวยดูแล ทําถังดักไขมัน ทุกอยางเราทํา

ครบมาตรฐาน สิ่งที่ตองการจากภาครัฐเกี่ยวกับการสงเสริมการขาย ทางโฮมสเตยชุมชนบานเกาะเกิด

ตองการAppicationเปนแบบแอพโฮมสเตยโดยเฉพาะอยากใหทางภาครัฐชวยโปรโมตการทองเที่ยวโฮมส

เตย โดยการเพิ่มชองทางการขายออนไลนสุดทายการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม คนหลากวัฒนธรรมมา ไมทํา

ใหเปลี่ยนวิถีชีวิต แตมาเรียนรู มาแบงปนประสบการณ มาดูการดําเนินชีวิตของเรา และทําทุกอยางให

ยั่งยืนมันจะทําใหเราประสบความสําเร็จ

2.6 วิจัยที่เกี่ยวของสุพิชญนันท พรหมณี, (2555) ไดทําวิจัยเรื่อง การสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของคลัส

เตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ กรณีศึกษาการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของคลัสเตอรผาไหม

แพรวา จังหวัดกาฬสินธุ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและวิเคราะหเพื่อศึกษาสภาพทางการตลาดปจจุบัน

ของคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ การสงเสริมการตลาดของคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัด

กาฬสินธุ แนวทางแผนการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวในการปฏิบัติเพื่อผลักดันใหอุตสาหกรรม

ของคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุเปนผูนําของตลาดในประเทศไทยได โดยการเก็บขอมูล จาก

แบบสัมภาษณหนวยงานหรือองคกรภาครัฐมีสวนเกี่ยวของในการกําหนดนโยบายการทองเที่ยว ที่เกี่ยวของ

ในอําเภอคํามวง จังหวัดกาฬสินธุ จํานวน 5 คน ไดแก กรมสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 5 บุคคลสําคัญใน

กลุมวิสาหกิจ หรือ ผูประกอบการของคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ จํานวน23คน และจาก

แบบสอบถามสําหรับนักทองเที่ยวชาวไทย จํานวน400 คน ผลการศึกษาดังนี้ พบวา การสงเสริมการตลาด

การทองเที่ยวของกลุมคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ มีความสําคัญตอจํานวนของนักทองเที่ยวที่

จะเดินทางมาทองเที่ยวยังกลุมคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ หนวยงานที่รับผิดชอบควรทําการ

สงเสริมการตลาดการทองเที่ยวโดยเฉพาะอยางยิ่ง ดานการประชาสัมพันธ และการโฆษณาขอมูลการ

ทองเที่ยวของกลุมคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ ใหเปนที่รูจักมากขึ้น โดยจัดกิจกรรมการ

ทองเที่ยวเพิ่มเติมเพื่อเปนการสงเสริมการ ทองเที่ยวของกลุมคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ ซึ่ง

เปนการเขาถึงกลุมนักทองเที่ยวไดดี ยิ่งขึ้น และผูวิจัยไดเสนอแนะแนวทางแผนในการสงเสริมการตลาดการ

ทองเที่ยวของคลัสเตอรผา ไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาการสงเสริม

Page 53: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

42

การตลาดการทองเที่ยวและ ยังสงผลดีแกผูประกอบการของคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุและ

ชุมชนในทองถิ่นซึ่ง จะนําไปสูการพัฒนาการทองเที่ยวที่ยั่งยืนไดในที่สุด

สําราญ นามอินทร (2554) ไดทําวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาวัดนิเวศธรรมประวัติราช

วิหารเพื่อการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกี่ยวกับการวิจัยไดพบวา

ศักยภาพดานสถานที่ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดนิเวศธรรมประวัติ อําเภอบางปะอิน จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา โดยภาพรวมทุกดานอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ที่ควรไดรับ

การพัฒนามีอยู 5 ดาน คือ ดานสิ่งดึงดูดใจ ดานความปลอดภัย ดานความสามารถในการรองรับ

นักทองเที่ยว ดานการเขาถึง และดานสิ่งอํานวยความสะดวก จากแนวทางการพัฒนาสถานที่ทองเที่ยวเชิง

วัฒนธรรมของวัดนิเวศธรรมประวัติ ไดจัดแผนกลยุทธ ไว 4 กลยุทธคือ

1. แนวทางการประชาสัมพันธและกระตุนตลาดนักทองเที่ยว

2. พัฒนาแหลงทองเที่ยวและปรับปรุงภูมิทัศน

3. การสรางศักยภาพบุคลากรทองเที่ยวภายใน

4. จัดกิจกรรมเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยว และโครงการ 8 โครงการคือ

1) โครงการจัดพิมพสื่อสิ่งพิมพเผยแผประวัติวัดทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

2) โครงการสงเสริมเสนทางการเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวอื่น

3) โครงการปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณพิพิธภัณฑ

4) โครงการปรับปรุงภูมิทัศนรานคา และสิ่งอํานวยความสะดวก

5) โครงการสรางพัฒนาบุคลากรดานการทองเที่ยว อบรมเสริมทักษะภาษาตางประเทศ

6) โครงการจัดการศึกษานอกสถานที่เพื่อการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ

7) โครงการวัดนิเวศธรรมประวัติเที่ยวไดทั้งป

8) โครงการไหวพระ 9 วัด รวมกับการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

สรุปไดวา การวางโครงการตางๆ เพื่อพัฒนาวัดนิเวศธรรมประวัติราชวิหารมีประโยชนใน

การเพิ่มประสิทธิภาพ และศักยภาพในการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ชุมพล พืชพันธุไพศาล (2555) ไดทําวิจัยเรื่อง การจัดการการทองเที่ยวชุมชน กรณีศึกษา

เทศบาลตําบลบานเลน และเทศบาลตําบลบางกระสั้น จังหวัดพระนครศรีอยุธยาการศึกษาครั้งนี้มี

วัตถุประสงคเพื่อ 1. ศึกษาการจัดการการทองเที่ยวชุมชนของเทศบาลตําบลบานเลน และ เทศบาล

Page 54: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

43

ตําบลบางกระสั้น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ 2. ศึกษาเพื่อหาแนวทางการจัดการการทองเที่ยวชุมชน

ที่ เหมาะสมตามทิศทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนการวิจัยเชิงสํารวจโดยการเก็บ

ขอมูลตามแบบ สํารวจจากกลุมตัวอยาง 3 กลุม ไดแก เจาหนาที่ของหนวยงานเทศบาลและหนวยงาน

ภาครัฐที่มีบทบาทตอการ พัฒนาการทองเที่ยวในชุมชนจํานวน 28 คน ภาคเอกชนที่มีสวนเกี่ยวของกับ

แหลงทองเที่ยวเชนผูจําหนายของที่ระลึก จําหนายอาหาร ผูขับรถรับจางในแหลงทองเที่ยว รวม 17 คน

และภาคประชาชนในพื้นที่ใกลเคียงแหลงทองเที่ยว ชุมชนจํานวน 35 คน รวม 80 คน การวิเคราะห

ขอมูลโดยสถิติพื้นฐาน ผลการวิจัยพบวาในสวนของการจัดการการ ทองเที่ยวของเทศบาลตําบลบานเลน

โดยรวมอยูในระดับคอนขางสูง โดยมีดานที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุดคือดานการ ประชาสัมพันธและการตลาด

รองลงมาคือดานการพัฒนาสาธารณูปโภค สําหรับเทศบาลตําบลบางกระสั้นมีการจัดการ การทองเที่ยว

โดยรวมอยูในระดับมีบาง โดยมีดานที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุดคือดานการประชาสัมพันธและการตลาด

รองลงมา คือดานการกํากับดูแลและการจัดกิจกรรมการทองเที่ยว สวนผลการวิเคราะหเพื่อหาแนวทาง

สงเสริมและการจัดการการทองเที่ยวพบวา เทศบาลตําบลบานเลนควรใหความสําคัญกับปจจัยภายใน

ดานงบประมาณ และดานธรรมาภิบาล ปจจัยภายนอกคือดานชุมชนและดานผูประกอบการ ในขณะที่

เทศบาลตําบลบางกระสั้นควรใหความสําคัญกับปจจัย ภายในดานงบประมาณ และดานอุปกรณเครื่องมือ

ปจจัยภายนอกคือดานผูประกอบการ และดานชุมชน

ซาเบีย บุญสนธิ (2556) ไดจัดทําวิจัยเรื่อง กลยุทธการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

ทะเลบัวแดงหนองหาน บานเดียม ตําบลเชียงแหว อําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานีการศึกษากลยุทธการ

สงเสริมการตลาดการทองเที่ยวทะเลบัวแดงหนองหาน บานเดียม ตําบลเชียงแหว อําเภอกุมภวาป จังหวัด

อุดรธานี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและวิเคราะหการสงเสริมการตลาดแหลงทองเที่ยวทะเลบัวแดงหนองหาน

และเสนอแนวทางการพัฒนากลยุทธการสงเสริมการตลาดการพัฒนาแหลงทองเที่ยวทะเลบัวแดงหนอง

หาน โดยการเก็บ ขอมูลจากแบบสัมภาษณบุคลากรในหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของกับการสงเสริมการตลาด

การทองเที่ยวทะเลบัวแดง หนองหาน จํานวน 2 ทาน และจากการแจกแบบสอบถามใหแก นักทองเที่ยวชาว

ไทย จํานวน 400 คน ผลการศึกษาดังนี้ นักทองเที่ยวชาวไทยที่มาทองเที่ยวยังทะเลบัวแดงหนองหานสวน

ใหญเปนเพศหญิง ในชวงอายุมีอายุ 21-30 ป ที่มีสถานะภาพโสด ประกอบอาชีพที่หลากหลาย เชน

แมบาน / พอบาน นักเรียน/นักศึกษา มีระดับการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนอยูที่

5,000 – 10,000 บาท โดยในดานพฤติกรรมการทองเที่ยวในภาพรวมนักทองเที่ยวชาวไทยมาทองเที่ยวยัง

Page 55: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

44

ทะเลบัวแดงหนองหานเปนครั้งแรก และเดินทางโดยใชรถยนตสวนตัว มีคาใชจาย ในการทองเที่ยว

โดยประมาณอยูที่1,001 – 5,000 บาท ใชเวลาในการทองเที่ยวเพียง 1 วัน โดยใช เวลาในวันหยุด ในการ

เดินทางทองเที่ยว มีจํานวนผูรวมเดินทางทองเที่ยวโดยประมาณ 3-4 คน มี ความพึงพอใจตอการสงเสริม

การตลาดการทองเที่ยวทะเลบัวแดงหนองหาน บานเดียม ตําบล เชียงแหว อําเภอกุมภวาป จังหวัด

อุดรธานี 1.ดานการโฆษณา อยูในระดับปานกลาง 2. ดานการ ประชาสัมพันธ อยูในระดับปานกลาง 3.ดาน

การสงเสริมการตลาด อยูในระดับปานกลาง 4.ดานการขายโดยบุคคล อยูในระดับปานกลาง จากขอมูลที่

ไดผูศึกษาไดนําขอที่มีคาเฉลี่ยความพึงพอใจรายดานที่มีคะแนนนอยสุด มาจัดทําแนวทางการพัฒนากล

ยุทธการสงเสริมการตลาดการพัฒนาแหลงทองเที่ยวทะเลบัวแดง หนองหาน บานเดียม ตําบลเชียงแหว

อําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี โดยนําเสนอในรูปแบบ ของแผนพัฒนากลยุทธการสงเสริมการตลาดการ

พัฒนาแหลงทองเที่ยวทะเลบัวแดง ในการจัดตกแตงพื้นที่บริเวณโดยรอบใหมีความสวยงามเพื่อเปนการ

ดึงดูดนักทองเท่ียวเพิ่มขึ้นและ แบงเปนแผนระยะสั้น 6 เดือน และแผนระยะยาว 1 ป

เอกภพ พงษพิพัฒน (2556) ไดจัดทําวิจัยเรื่อง ความคิดเห็นที่มีตอสวนประสมการตลาดใน

การบริการสินเชื่อธุรกิจรายกลาง ของธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ

ศึกษา (1) สวนประสมการตลาดในการบริการดานสินเชื่อธุรกิจรายกลาง (2) ปญหาของผูบริการสินเชื่อ

ธุรกิจรายกลาง กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ไดแก ลูกคาที่ไดรับอนุมัติสินเชื่อธุรกิจรายกลาง ธนาคาร

กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาถนนศรีสุริยะวงศ จังหวัดราชบุรี จํานวน 272 ราย โดยเลือกกลุมตัวอยาง

แบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามทั้งหมดที่ใชคือคารอยละ คาความถี่

คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตราฐาน และการวิเคราะหเนื้อหา ผลการวิจัยพบวา (1) ผูตอบแบบสอบถามให

ความสําคัญดานกระบวนการเปนอันดับแรก คือ การใหบริการที่รวดเร็ว รองลงมาเปนดานผลิตภัณฑ คือ

วงเงินสินเชื่อที่ธนาคารใหแกลูกคา ดานบุคลกร คือความมีน้ําใจความมีมนุษยสัมพันธ เปนกันเองและมี

บุคลิกและมีมารยาทที่ดี ดานราคา คือคาธรรมเนียมประเมินราคาหลักทรัพย ดานชองทางการจัดจําหนาย

คือทําเลที่ตั้งธนาคาร ดานการสรางและการนําเสนอหลักฐานทางกายภาพ ของการใหบริการคือ ความมี

ชื่อเสียงและความมั่นคง ดานการสงเสริมการตลาด การใหขอมูลขาวสารครบถวน (2) ปญหาการรับบริการ

สินเชื่อธุรกิจรายกลางธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ผูตอบแบบสอบถามมีปญหาดานผลิตภัณฑ คือ

วงเงินที่ไดรับอนุมัตินอยกวาความตองการของลูกคา ดานราคา คือ อัตราดอกเบี้ยและคาธรรมเนียมสูง

ดานการสงเสริมการตลาด คือ ขอมูลไมทันสมัย และไมมีโปรโมชั่น ดานบุคลากร คือ พนักงานอธิบายไม

Page 56: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

45

คอยชัดเจน และขาดความรูเกี่ยวกับผลิตภัณฑของธนาคาร ดานกระบวนการ คือ การขออนุมัติยุงยากและ

ตองใชเอกสารประกอบหลายประเภท ตามลําดับ

ศศิมา ทองปุย (2555) ไดจัดทําวิจัยเรื่อง กลยุทธการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

ปราสาทเปอยนอย อําเภอเปอยนอย จังหวัดขอนแกน การศึกษาในสวนของกลยุทธการสงเสริมการตลาด

การทองเที่ยวปราสาทเปอยนอย อําเภอเปอยนอย จังหวัดขอนแกนนั้น ไดทําการศึกษาและการวิเคราะหใน

สวนของการสงเสริมการตลาดในปจจุบัน รวมทั้งเสนอแนวทางในการสงเสริมกาตลาดที่มีความเหมาะสม

กับการจัดการการทองเที่ยว และผูมีสวนเกี่ยวของเพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาการสงเสริมการตลาด

ของปราสาทเปอยนอย ผลการศึกษาพบวา (1) จากการศึกษาในเรื่องการสงเสริมการตลาดในปจจุบันและ

การวิเคราะหการสงเสริมการตลาดในปจจุบันของการทองเที่ยวปราสาทเปอยนอย โดยใชเครื่องมือการตอบ

แบบสอบถามพบวาอยูในระดับนอย เนื่องจากยังมีการทําการตลาดที่ไมทั่วถึงและรูปแบบในการนําเสนอยัง

ไมนาสนเทาที่ควร ทําใหไมสามารถเขาถึงกลุมนักทองเที่ยว (2) ในสวนของการเสนอแนวทางการสงเสริม

การตลาดที่มีความเหมาะสมกับการจัดการการทองเที่ยวของปราสาทเปอยนอยโดยใชเครื่องมือทํา

แบบสอบถามและแบบสัมภาษณนั้นพบวา ควรมีการสนับสนุนใหชุมชนมีสวนรวม และควรมีการจัด

กิจกรรมตางๆเพื่อเปนการดึงดูดนักทองเที่ยว เชน การจัดกิจกรรมแสง สี เสียง และการจัดงานเนื่องใน

โอกาสพิเศษ หรือวันสําคัญตางๆ สรุปผลการศึกษา พบวาในปจจุบันนี้ทําการสงเสริมการตลาดของ

ปราสาทเปอยนอย ยังไมดีเทาที่ควร สงผลใหจํานวนนักทองเที่ยวที่เขาชมมีจํานวนนอย ดังนั้นจึงควรมีการ

พัฒนาการสงเสริมทางการตลาดใหดียิ่งขึ้น เชน การพัฒนาสื่อใหมีความนาสนใจ การพัฒนา กิจกรรมตางๆ

ใหมีความนาสนใจ และใหความรูแกนักทองเที่ยว เปนตน ขอเสนอแนะควรมีการปรับปรุงและพัฒนา ใน

เรื่องของการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวปราสาทเปอยนอย ใหมีความนาสนใจ สวยงามและมีความ

ทันสมัย เพื่อตอบสนองและสามารถรองรับความตองการของนักทองเที่ยว ที่มาเที่ยวชมปราสาทเปอยนอย

จังหวัดขอนแกน

พูนสุข เปยมวาริน (2557) ไดทําการวิจัยเรื่องปจจัยสวนประสมทางการตลาดที่มีผลตอ

ความพึงพอใจในการ ใหบริการของโฮมสเตยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา โฮมสเตย เขต หนองจอก

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยสวนประสมทางการตลาดที่มีผลตอ ความพึงพอใจใน

การใหบริการของโฮมสเตยในเขต หนองจอก กรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยางที่ใช ในการศึกษาคือ

นักทองเที่ยวหรือผูใชบริการชาวไทยที่เขาพักโฮมสเตย ในเขตหนองจอก จังหวัด กรุงเทพมหานคร จํานวน

Page 57: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

46

204 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคือ แบบสอบถาม การวิเคราะหขอมูล ไดใชสถิติเชิงพรรณนา ไดแก

คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใชสถิติ อนุมาน โดยใชสถิติวิเคราะหถดถอย

พหุคูณ (Multiple Regression Analysis) โดยใชวิธี Stepwise Method ผลการศึกษาพบวา ปจจัยสวน

ประสมทางการตลาด ดานราคา ดานกระบวนการ ใหบริการ มีอิทธิพลตอความพึงพอใจในการใหบริการ

ของโฮมสเตยในเขตหนองจอก ดาน ผลิตภัณฑ ปจจัยสวนประสมทางการตลาดดานผลิตภัณฑ ดานราคา

ดานการสงเสริมการตลาด ดานบุคลากรหรือพนักงาน ดานการสรางและนําเสนอลักษณะทางกายภาพ

และดานชองทางการ จัดจําหนาย มีอิทธิพลตอความพึงพอใจในการใหบริการของโฮมสเตยในเขตหนอง

จอกดานราคา ปจจัยสวนประสมทางการตลาด ดานผลิตภัณฑ ดานชองทางการจัดจําหนาย และดาน

บุคลากร หรือพนักงานมีอิทธิพลตอความพึงพอใจในการใหบริการของโฮมสเตยในเขตหนองจอก ดาน ชอง

ทางการจัดจําหนาย ปจจัยสวนประสมทางการตลาด ดานชองทางการจัดจําหนาย และดานบุคลากรหรือ

พนักงานมีอิทธิพลตอความพึงพอใจในการใหบริการของโฮมสเตยในเขตหนองจอก ดานการสงเสริม

การตลาด ปจจัยสวนประสมทางการตลาด ดานกระบวนการใหบริการ ดาน บุคลากรหรือพนักงาน และ

ดานการสรางและนําเสนอลักษณะทางกายภาพมีอิทธิพลตอความพึง พอใจในการใหบริการของโฮมสเตย

ในเขตหนองจอกดานกระบวนการใหบริการ ปจจัยสวนประสมทางการตลาด ดานการสงเสริมการตลาด

ดานกระบวนการใหบริการ และดานบุคลากรหรือ พนักงาน มีอิทธิพลตอความพึงพอใจในการใหบริการของ

โฮมสเตยในเขตหนองจอกดานบุคลากร หรือพนักงาน ปจจัยสวนประสมทางการตลาด ดานราคา ดานการ

สงเสริมการตลาด ดานกระบวนการใหบริการ และดานการสรางและนําเสนอลักษณะทางกายภาพ มี

อิทธิพลตอความพึง พอใจในการใหบริการของโฮมสเตยในเขตหนองจอกดานการสรางและนําเสนอลักษณะ

ทาง กายภาพ สําหรับขอเสนอแนะนั้น โฮมสเตยในเขตหนองจอก ควรมีการรักษามาตรฐานการบริการ ของ

บุคลากรหรือพนักงานไวใหดีอยางสม่ําเสมอ และสามารถพัฒนาใหดียิ่งขึ้นเพื่อที่จะสงผลให นักทองเที่ยว

เกิดความประทับใจในการเขามาใชบริการในโฮมสเตยมากยิ่งขึ้น และควรรักษา มาตรฐานของการบริการ

อยางสม่ําเสมอ หรือมีการพัฒนาปรับปรุงทางดานบุคลากรและบริการให ดียิ่งขึ้น มีการจัดอบรมอยาง

สม่ําเสมอใหกับพนักงานของโฮมสเตยในเรื่องการใหบริการตอลูกคา นอกจากนี้ ควรเพิ่มชองทางการจัด

จําหนายใหมีความหลากหลายเพื่อเพิ่มทางเลือกใหกับ นักทองเที่ยวและผูใชบริการที่สนใจมาพักที่โฮมส

เตย มีการลดราคาหรือมีโปรโมชั่นตาง ๆ ตาม เทศกาล ซึ่งสงผลใหนักทองเที่ยวมีความพึงพอใจในการ

Page 58: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

47

ใหบริการของโฮมสเตยในเขตหนองจอก ดานชองทางการจัดจําหนาย และดานการสงเสริมการตลาดมาก

ขึ้นดวย

สุพรรณิกา สังกะสินสู (2555) ไดจัดทําวิจัยเรื่อง ความคิดเห็นของสมาชิกเกี่ยวกับการมี

ประสิทธิภาพเครื่องมือการตลาดทางตรงของหางสรรพสินคาเจริญศรีโรบินสันอุดรธานี การเจริญเติบโตของ

ธุรกิจคาปลีกสมัยใหมโดยเฉพาะหางสรรพสินคาและศูนยการคาในปจจุบันมีการขยายตัวมากขึ้น เนื่องจาก

เศรษฐกิจมีการขยายสูง สงผลใหผูบริโภคที่มีอํานาจซื้อเพิ่มขึ้น ทําใหผูประกอบการคาปลีกตางๆตองเผชิญ

กับการแขงขันอยางรุนแรง ดังนั้น เพื่อความอยูรอดของกิจการและทําใหผูบริโภคเกิดความพึงพอใจสูงสุด

ดังนั้น ผูศึกษาจึงมีความสนใจศึกษาความคิดเห็นของสมาชิกเกี่ยวกับประสิทธิภาพเครื่องมือการตลาด

ทางตรงของหางสรรพสินคาเจริญศรีโรบินสันอุดรธานี จํานวน 380 คน และใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือ

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก รอยละ คาเฉลี่ย t-test F-test (Onr – way ANOVA) ผลการศึกษา

พบวาสมาชิกหางสรรพสินคาเจริญศรีโรบินสันอุดรธานี สวนใหญ เปน เพศหญิง อายุ 21-30 ป อาชีพ

นักเรียน / นักศึกษาและรายไดสวนบุคคลตอเดือนนอยกวา 5,000 บาท สมาชิกหางสรรพสินคาเจริญศรีโร

บินสัน มีความคิดเห็นดวยเกี่ยวกับการมีประสิทธิภาพเครื่องมือการตลาดทางตรง โดยรวมและเปนรายดาน

อยูในระดับมาก สมาชิกหางสรรพสินคาเจริญศรีโรบินสัน ที่เปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย สมาชิก

หางสรรพสินคาเจริญศรีโรบินสันที่มีอายุมากกวา 41 ป มีความคิดเห็นดวยเกี่ยวกับการมีประสิทธิภาพ

เครื่องมือการตลาดทางตรง มากกวา อายุ 31 – 40 ป สมาชิกหางสรรพสินคาเจริญศรีโรบินสันที่ประกอบ

อาชีพธุรกิจสวนตัว มีความคิดเห็นดวยเกี่ยวกับการมีประสิทธิภาพเครื่องมือการตลาดทางตรง มากวาอาชีพ

นักเรียน/นักศึกษา โดยสรุป สมาชิกหางสรรพสินคาเจริญศรีโรบินสันมีความคิดเห็นดวยเกี่ยวกับการมี

ประสิทธิภาพเครื่องมือการตลาดทางตรง อยูในระดับมากโดยการจัดใหมีสิทธิพิเศษใหกับสมาชิกชวย

สงเสริมยอดขายไดเปนอยางดี ดังนั้นหางสรรพสินคาเจริญศรีโรบินสัน สามารถนําขอมูลมาใชพิจารณา

ปรับปรุงความสําคัญของปจจัยตางๆ ใหสอดคลองกับผูมาใชบริการ และใหเกิดประโยชนที่จะเปนขอมูลใน

การกําหนดกลยุทธเครื่องมือการตลาดทางตรงที่กับความคิดเห็นของผูบริโภคได

บัว ศรีคช (2556) ไดจัดทําวิจัยเรื่อง การมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนาแหลงทองเที่ยว

เชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนบางตะบูน อําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรีการศึกษาวิจัยเรื่องการมีสวนรวม

ของชุมชนในการพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศกรณีศึกษา ชุมชนบางตะบูน อําเภอบานแหลม จังหวัด

Page 59: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

48

เพชรบุรี ศึกษาความรูความเขาใจ และทัศนคติของประชาชน ศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชนที่

มีตอการพัฒนาการทองเที่ยว กรณีศึกษา ชุมชนบางตะบูน อําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยใช

แบบสอบถามเก็บรวบรวม ขอมูลจากประชาชนอาศัยอยูในเขตตลาดสามชุกรอยป จํานวน 400 คน ผล

การศึกษาพบวา ประชาชนในชุมชนสวนใหญเปนเพศหญิง อายุอยูระหวาง 25-35 ป มีระดับการศึกษา

ปริญญาตรี เปนสวนใหญ ประกอบอาชีพรับราชการ มีรายไดมากกวา 9,000 บาท และสวนใหญอาศัยอยู

ใน พื้นที่ชุมชนบางตะบูน 16-20 ป ความคิดเห็นในเรื่องการรับรูขาวสารเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ของ

ประชาชนสวนใหญไดรับขาวสารจากสื่อประเภทเอกสารทางราชการ มีความถี่ในการรับ ขาวสาร 2 เดือน

ครั้งหรือมากกวา ประชาชนสวนใหญมีความตองการทราบขาวสารเกี่ยวกับการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศในเรื่อง

ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ การมีสวนรวมของชุมชนใน การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ในดานการหาสาเหตุของปญหา ดานการมีสวนรวมในการ วางแผน ดานการมีสวนรวมในการดําเนินงาน

และปฏิบัติงาน ดานการมีสวนรวมติดตามและ ประเมินผล ดานการมีสวนรวมในการบํารุงรักษาและ

ปรับปรุงแกไข โดยรวมการมีสวนรวมทุกดาน อยูในระดับปานกลาง ดานการมีสวนรวมโดยรวมมากที่สุดคือ

การมีสวนรวมในการหาสาเหตุของ ปญหาซึ่งอยูในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบวา ประชาชนที่มี

เพศ ระดับการศึกษา รายไดและระยะเวลา ที่อาศัยที่แตกตางกันมี สวนรวมตอการพัฒนาการทองเที่ยวไม

แตกตางกัน สวนอายุ การศึกษา อาชีพและรายไดตอเดือน ที่แตกตางกันการมีสวนรวมตอการพัฒนาการ

ทองเที่ยวแตกตางกัน อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได และภูมิลําเนามีความสัมพันธกันกับระดับการมี

สวนรวมตอการพัฒนาการทองเที่ยว ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอระดับการมีสวนรวมตอการพัฒนาการทองเที่ยว

มาก ที่สุดคือ คือ อาชีพ รายได อายุ ระดับการศึกษา ภูมิลําเนา และเพศ ตามลําดับ

ผลการสรุปทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการศึกษาเรื่อง ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการ

สงเสริมการตลาดของ ชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทอง

เที่ยวอยางยั่งยืนในดานแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว คือ การตลาดโดยมุง

สรางความตองการในการผลิตผลิตภัณฑ ทางการทองเที่ยวโดยใชสวนประสมการตลาด ในดานการสงเสริม

การการตลาด (Promotion) อันประกอบดวย การโฆษณา การประชาสัมพันธ การสงเสริมการขาย และ

การตลาดทางตรง ดังนี้ การโฆษณา คือ รูปแบบ หรือความคิดในการเสนอขายสินคาและบริการโดยผาน

สื่อตางๆ ที่มิใชตัวบุคคลเพื่อจูงใจให ผูบริโภคกลุมเปาหมายเกิดความตองการซื้อหรือเพิ่มการใชสินคาและ

บริการของธุรกิจนั้นทั้งใน ปจจุบันและอนาคตการประชาสัมพันธ คือ การปฏิบัติงานของหนวยงาน องคกร

Page 60: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

49

สถาบัน บริษัทในการเผยแพรขาวสาร และดําเนินงานวิธีอื่น ๆ อยางมีแบบแผนการกระทําอยางตอเนื่องเพื่อ

เผยแพรขาวสาร ชี้แจงแถลงนโยบาย การดําเนินงาน กิจกรรมการเคลื่อนไหวของ หนวยงาน องคกร สถาบัน

บริษัทใหกลุมเปาหมาย และประชาชนทั่วไปรับทราบเพื่อชักชวนใหกลุมเปาหมายและสาธารณชนมีสวน

รวมสนับสนุนและเห็นชอบกับ วัตถุประสงคของหนวยงาน และใหความเชื่อถือ เพื่อสรางบรรยากาศแหง

ความเขาใจอันดี มีมนุษยสัมพันธและทัศนคติที่ดีทั้งภายใน และภายนอกหนวยงาน การประชาสัมพันธของ

ธุรกิจทองเที่ยวการสงเสริมการขาย เปนกิจกรรมหรือเครื่องมือทางการตลาดอยางหนึ่งที่กระตุนให รานคา

และผูประกอบการสนใจซื้อขายสินคามากขึ้น เปนการผลักดันใหสินคาที่ขายอยูสามารถทํายอดขายไดสูง

กวาคูแขง และการกระตุนใหผูบริโภคเกิดการซื้อ มีการจัดโปรโมชั่นราคาพิเศษ การตลาดทางตรง ระบบ

ตลาดที่ติดตอซึ่งกันและกันโดยใชสื่อโฆษณาเพียงหนึ่งหรือมากกวานั้น เพื่อเปนการถายทอดขาวสารในที่

ตางๆ โดยสามารถวัดผลการตอบสนองได ในปจจุบันมีคําที่นักสื่อสารการตลาดใชเรียกกิจกรรมการติดตอ

กับกลุมเปาหมายโดยตรงหลายคํา เชน การตลาดทางตรง (Direct Marketing) การขายตรง (Direct

selling, Direct Sales) การโฆษณาตอบกลับโดยตรง(Direct-response Advertising) และการสงจดหมาย

โดยตรง (Direct Mail) การตลาดทางตรงไดรับความนิยมจากนักการตลาดอยางมาก เพราะมีลักษณะเดน

คือ สามารถเลือกเขาถึงกลุมเปาหมายได เพราะขอมูลชัดเจนเกี่ยวกับผูบริโภค ทําใหลดการ สูญเปลาใน

การใชสื่อ และสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพสูง

2.7 กรอบแนวคิดในการทําวิจัยจากการศึกษาและวิเคราะหขอมูลจากแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยจึงไดกําหนด

กรอบแนวคิดในการวิจัย ไดดังนี้ คือ

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ลักษณะปจจัยสวนบุคคลของนักทองเที่ยว1. เพศ

2. อายุ

3. ระดับการศึกษา

4. อาชีพ

5. รายได

6. ภูมิลําเนา

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยทีม่ีตอการสงเสริมการตลาดการ ของ ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

การโฆษณา

การประชาสัมพันธ

การสงเสริมการขาย

การตลาดทางตรง

-

Page 61: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

50

2.8 สมมติฐาน1. นักทองเที่ยวที่มีลักษณะทางประชากรจําแนกดาน เพศ ที่แตกตางกันมีความคิดเห็นตอการ

สงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตกตางกัน

2. นักทองเที่ยวที่มีลักษณะทางประชากรจําแนกดาน อายุ ที่แตกตางกันมีความคิดเห็นตอการ

สงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตกตางกัน

3. นักทองเที่ยวที่มีลักษณะทางประชากรจําแนกดาน ระดับการศึกษา ที่แตกตางกันมีความคิดเห็น

ตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตกตางกัน

4. นักทองเที่ยวที่มีลักษณะทางประชากรจําแนกดาน อาชีพ ที่แตกตางกันมีความคิดเห็นตอการ

สงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตกตางกัน

5. นักทองเที่ยวที่มีลักษณะทางประชากรจําแนกดาน รายได ที่แตกตางกันมีความคิดเห็นตอการ

สงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตกตางกัน

6. นักทองเที่ยวที่มีลักษณะทางประชากรจําแนกดาน ภูมิลําเนา ที่แตกตางกันมีความคิดเห็นตอ

การสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตกตางกัน

Page 62: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

บทที่ 3วิธีดําเนินการศึกษา

การวิจัยเรื่องความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดของชุมชน

บานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืนเปนการวิจัย

เชิงผสม คือ เชิงคุณภาพและ เชิงปริมาณประกอบกัน โดยในสวนของเชิงคุณภาพศึกษาถึงแนวทางการ

พัฒนาแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืน และ ในสวนของเชิงปริมาณศึกษาการสงเสริมการตลาดที่นักทองเที่ยว

แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชุมชนบานเกาะเกิด โดยมีวิธีการดําเนินการวิจัย ดังนี้

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจัย

3.3 การสรางและทดสอบเครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจัย

3.4การเก็บรวบรวมขอมูล

3.5การวิเคราะหขอมูลและสถิตที่ใชในการศึกษาวิจัย

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง3.1.1 ประชากร (Population) ในการศึกษาครั้งนี้ไดแก

1. นักทองเที่ยวชาวไทยที่เขามาทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จํานวน 5,850 คน(ขอมูลสถิติจํานวนนักทองเที่ยวป 2558 ของชุมชนบานเกาะเกิด จ.พระนครศรีอยุธยา)

2. บุคคลากรที่เกี่ยวของและปฏิบัติหนาที่ใน ชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา จํานวนทั้งหมด 3 ทาน ไดแก

2.1 นายอิสสระพงษแทบศิริ ผูอํานวยการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

สํานักงานพระนครศรีอยุธยา

2.2 นางวิภาพรรณ หามาลา เลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบลเกาะเกิด

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

2.3 นายสุชิน อุมญาติ ประธานชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา

51

Page 63: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

52

3.1.2 กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยาง (Sample)ที่ใชในการวิจัย ไดแก ผูที่เดินทางมาทองเที่ยวที่ชุมชนบานเกาะเกิด

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยไดมีการกําหนดสูตรในการคิดจํานวนประชากรกลุมตัวอยางตอไปนี้ ผูวิจัยใช

สูตรของทาโร ยามาเน(Taro Yamane, อางถึงในสุทธนู ศรีไสย, 2551) กําหนดขอบเขตความคลาดเคลื่อน

ไวที่ 0.05

สูตรการคํานวณหากลุมตัวอยางดังนี้ คือ

n =

เมื่อ n = จํานวนกลุมตัวอยาง

N = จํานวนประชากรทั้งหมด

e = คาความคลาดเคลื่อนสูงสุดที่ยอมใหมีได

n =

n = 375คน

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดปรับกลุมตัวอยางเปนจํานวน 380คนเผื่อสําหรับการเก็บขอมูลที่ไม

สมบูรณ

3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัยการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ใชแบบสอบถาม (Questionnaire)ที่สรางขึ้นเอง

จากการรวบรวมขอมูลจากทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของแลวนํามาประยุกตโดยมีการตรวจสอบความ

ถูกตองและการใหคําปรึกษาจากอาจารยที่ปรึกษาโดยแบบสอบถามแบงออกเปน 2 ตอนดังนี้

ตอนที่ 1แบบสอบถามเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ

อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได และภูมิลําเนาจํานวน 6 ขอ เปนคําถามปลายปดแบบเลือกตอบ

Page 64: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

53

ตอนที่ 2แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มาทองเที่ยวชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภายใตปจจัยการสงเสริมการตลาดเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

โดยการศึกษานั้นครอบคลุมปจจัยการสงเสริมการตลาดดังตอไปนี้

1.การโฆษณา

2. การประชาสัมพันธ

3.การสงเสริมการขาย

4.การตลาดทางตรง

โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนในมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ จํานวน 28 ขอเปนคําถาม

แบบมาตรวัดประมาณคา (Rating Scale) คือ เลือกตอบได 5 ระดับดังนี้

เห็นดวยมากที่สุด เทากับ 5 คะแนน

เห็นดวย เทากับ 4 คะแนน

ไมแนใจ เทากับ 3 คะแนน

ไมเห็นดวย เทากับ 2 คะแนน

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง เทากับ 1 คะแนน

เกณฑการวัดระดับความคิดเห็นแบงออกเปน 5 ระดับ โดยการคํานวณหาคาอันตรภาคชั้น

(Class interval)

ชั้นหางของคะแนน

=

= 0.80

จะไดเกณฑการวัดระดับคะแนนที่แบงเปน 5 ชวงดังนี้

คะแนนเฉลี่ยกก4.21 – 5.00กกหมายถึงกกมีความเห็นอยูในระดับเห็นดวยมากที่สุด

Page 65: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

54

t

i

V

V1

1K

คะแนนเฉลี่ยกก3.41 – 4.20กกหมายถึงกกมีความเห็นอยูในระดับเห็นดวย

คะแนนเฉลี่ยกก2.61 – 3.40กกหมายถึงกกมีความเห็นระดับไมแนใจ

คะแนนเฉลี่ยกก1.81 – 2.60กกหมายถึงกกมีความเห็นระดับไมเห็นดวย

คะแนนเฉลี่ยกก1.00 – 1.80กกหมายถึงกกมีความเห็นระดับไมเห็นดวยอยางยิ่ง

3.3 การสรางและทดสอบเครื่องมือในการศึกษาวิจัย เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลมีขั้นตอนในดังนี้

1.ศึกษาขอมูลจากเอกสารทางวิชาการ และงานวิจัยที่ เกี่ยวของแลวนํามาปรับปรุง

แบบสอบถามใหครอบคลุมตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว

2.รางแบบสอบถามโดยเขียนขอความคําถามตางๆใหสอคลองกับหัวขอและวัตถุประสงคที่ตั้ง

ไวเสนอตออาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ เพื่อตรวจสอบความถูกตอง

3.นําแบบสอบถามตรวจสอบเนื้อหาของแบบสอบถามวาครอบคลุมวัตถุประสงคหรือไม

จากนั้นนําสงผูทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมความชัดเจนในการใชภาษา และขอบเขตของ

เนื้อหา แลวนํามาปรับปรุงตามคําแนะนําของผูทรงคุณวุฒิ

การตรวจสอบความเชื่อถือของเครื่องมือ

1.หาคาความตรง(Validity) ของแบบสอบถามโดยผูวิจัยไดปรึกษาอาจารยที่ปรึกษา และ

ผูทรงคุณวุฒิ เพื่อตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (ContentValidity) และการใชภาษาที่ถูกตองชัดเจน

2.หาความเชื่อถือไดของแบบสอบถาม (Reliability) โดยการนําแบบสอบถามไปทดสอบ(Pre-

Test)ใช (Try out) กับนักทองเที่ยวบริเวณชุมชนบานเกาะเกิดที่ไมใชกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน โดย

คํานวณหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา(Coefficient Alpha ) (Cronbach’s Alpha)โดยใชสูตร

a = ความเชื่อถือได

เมื่อ k = จํานวนขอ

Page 66: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

55

Vi = ความแปรปรวนของคะแนนแตละขอ

Vt= ความแปรปรวนของคะแนนรวมทุกขอ

จากการคํานวณหาคาความเชื่อถือไดของเครื่องมือ (Reliability)จากแบบสอบถามคา (Alpha

Coefficient) ของความคิดเห็นนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดของชุมชนบานเกาะเกิด

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดเทากับ 0.75ซึ่งอยูในระดับที่เชื่อถือได

3.4การเก็บรวบรวมขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูลในการศึกษาวิจัย คร้ังนี้ประกอบดวย

1.ขอมูลปฐมภูมิ(Primary Data) เปนการศึกษาขอมูลลักษณะทางประชากรของนักทองเที่ยว

โดยการเก็บตัวอยางโดยบังเอิญ (Accident Sampling) ณ ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ผูวิจัยทําการแจกแบบสอบถามไปยังกลุมตัวอยางจํานวน 380 ชุด ในวันเสาร และวันอาทิตย ในชวงเวลา

ตั้งแต 11.00 น. –18.00 น. ระหวางเดือนกุมภาพันธ – มีนาคม พ.ศ.2559จํานวน 380 ชุด และผูศึกษาวิจัย

จะรอรับแบบสอบถามกลับคืนทันทีในกรณีที่ผูตอบแบบสอบถามมีขอสงสัยหรือไมเขาใจในคําถาม ผูวิจัยจะ

ใหคําชี้แจงแกผูตอบแบบสอบถามจากนั้นนําขอมูลที่ไดไปตรวจสอบความถูกตอง และวิเคราะหเหตุผล

พรอมทั้งสรุปงานวิจัยตอไป

2. ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เปนการศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีตางๆ ที่

เกี่ยวของ เชน แนวคิดดานการสงเสริมการตลาดทองเที่ยว แนวคิดเกี่ยวและทฤษฎีกับความคิดเห็น แนวคิด

เกี่ยวกับลักษณะทางประชากรศาสตร บทความเกี่ยวกับชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

3.5การวิเคราะหขอมูล และสถิติที่ใชในการวิจัยการวิเคราะหขอมูลที่ใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางดานสังคมศาสตร ดังน้ี

1.สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) สําหรับวิเคราะหขอมูลลักษณะทางประชากร

ใชในการสรุปหรือบรรยายคุณลักษณะ โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percentage)

สวนในการวิเคราะห ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดของชุมชนบานเกาะ

เกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใชคาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) 2 .

Page 67: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

56

สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) สําหรับหาคาเปรียบเทียบความแตกตางระหวางตัวแปรอิสระและ

ตัวแปรตามโดยใชการทดสอบสมมุติฐานดวยสถิต t – test ,One way ANOVA (F – test)

Page 68: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

บทที่ 4

ผลการวิจัย

การวิเคราะหและการนําเสนอผลการวิจัยเรื่องความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการ

ส ง เ ส ริ ม ก า ร ตล า ด ข อ งชุ ม ช นบ า น เ ก า ะ เ กิ ด อํ า เ ภ อ บ าง ป ะ อิ น จั ง หวั ด พ ร ะ นค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า

เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืน นําเสนอในรูปตารางประกอบคําบรรยาย โดยการแบงการนําเสนอ

ดังนี้

การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล

การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลผูวิจัยไดนําเสนอออกเปน 4ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการ

สงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด

ตอนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน

56

Page 69: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

57

ตอนที่ 1ผลการวิเคราะหขอมูลลักษณะทางประชากรของผูตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 4.1 แสดงจํานวนและรอยละเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรของผูตอบแบบสอบถาม

(N = 380)

ลักษณะประชากร จํานวน รอยละ

เพศ

ชาย 170 44.7

หญิง 210 55.3

อายุ

นอยกวา20 ป 32 8.4

20-29 ป 111 29.2

30 – 39 ป 160 42.1

40-49 ป 55 14.5

50-59 ป 18 4.7

ตั้งแต 60 ปขึ้นไป 4 1.1

ระดับการศึกษา

ต่ํากวาปริญญาตรี 108 28.4

ปริญญาตรี 257 67.6

สูงกวาปริญญาตรี 15 3.9

อาชีพ

นักเรียน / นักศึกษา 68 17.9

คาขาย / ธุรกิจสวนตัว 73 19.2

ขาราชการ / พนักงานรัฐวิสาหกิจ 50 13.2

พนักงานบริษัทเอกชน 173 45.5

อื่นๆ 16 4.2

Page 70: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

58

รายไดเฉลี่ยตอเดือน ต่ํากวา 10,000 บาท 60 15.8

10,001 – 20,000 บาท 127 33.4

20,001 – 30,000 บาท 111 29.2

30,001 – 40,000 บาท 68 17.9

40,001 บาท ขึ้นไป 14 3.7

ภูมิลําเนา

กรุงเทพฯ 263 69.2

พระนครศรีอยุธยา 80 21.1

อื่น ๆ 37 9.7

รวม 380 100.0

จากตาราง4.1 พบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดทองเที่ยวชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน สวนใหญมีลักษณะทางประชากร

เปนเพศหญิง(รอยละ 55.3) มีอายุระหวาง 30-39 ป(รอยละ 42.1) มีการศึกษาระดับปริญญาตรี (รอยละ

67.6) มีอาชีพเปนพนักงานบริษัทเอกชน (รอยละ 45.5) มีรายไดเฉลี่ยตอเดือน 10,001 – 20,000 บาท(รอย

ละ 33.4)และภูมิลําเนาอยูใน กรุงเทพฯ (รอยละ 69.2)

Page 71: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

59

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด

ตาราง 4.2 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ในภาพรวม

จากตารางที่ 4.2พบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นที่มีตอการสงเสริมการตลาดการ

ทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ภาพรวมอยูใน

ระดับเห็นดวย(คาเฉลี่ย = 4.00)เมื่อจําแนกเปนรายขอพบวาความคิดเห็นระดับเห็นดวยไดแกดานการ

สงเสริมการขาย (คาเฉลี่ย = 4.14 ) รองลงมาไดแกดานการตลาดทางตรง(คาเฉลี่ย = 3.96 )

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด

X S.D แปลผล

1. ดานการโฆษณา 3.90 0.52 เห็นดวย

2. ดานการประชาสัมพันธ 3.95 0.55 เห็นดวย

3. ดานสงเสริมการขาย 4.20 0.63 เห็นดวย

4. ดานการตลาดทางตรง 3.96 0.69 เห็นดวย

รวม 4.00 0.51 เห็นดวย

Page 72: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

60

ตาราง 4.3 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนดานการโฆษณาในภาพรวม

การสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด ดานการโฆษณา

X S.D แปลผล

1.ปายโฆษณากลางแจง 3.82 0.62 เห็นดวย

2. การโฆษณา ณ จุดขาย 3.95 0.60 เห็นดวย

3.อินเทอรเน็ต 3.94 0.60 เห็นดวย

รวม 3.90 0.52 เห็นดวย

จากตาราง 4.3พบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

ของชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการโฆษณาใน

ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 3.90) เมื่อจําแนกเปนรายดานพบวา ความคิดเห็นระดับเห็นดวย

ไดแกการโฆษณา ณ จุดขาย (คาเฉลี่ย = 3.95) รองลงมาเปนการโฆษณาทางอินเทอรเน็ต(คาเฉลี่ย =

3.94) และ ปายโฆษณากลางแจง (คาเฉลี่ย = 3.82) ตามลําดับ

Page 73: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

61

ตาราง 4.4 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนดานการโฆษณา เกี่ยวกับปายโฆษณาการแจง

การสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด

เกี่ยวกับปายโฆษณากลางแจง

X S.D แปลผล

1.ปายโฆษณาบริเวณทางเขาชุมชนบานเกาะเกิดมีขนาดที่

เหมาะสม

3.84 0.71 เห็นดวย

2. ปายโฆษณาดังกลาวมีความชัดเจนในขอความที่ใชในการสื่อ

ความหมาย

3.82 0.80 เห็นดวย

3.ปายโฆษณาดังกลาวมีรูปภาพและขอความที่นําเสนอ

สอดคลองและสัมพันธและสงเสริมกัน

3.89 0.75 เห็นดวย

4.ปายโฆษณาดังกลาวสามารถดึงดูดความสนใจนักทองเที่ยว

ไดดีที่สุด

3.75 0.76 เห็นดวย

เฉลี่ยรวม 3.82 0.62 เห็นดวย

จากตาราง 4.4พบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

ของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน เกี่ยวกับปายโฆษณา

กลางแจง ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 3.82 ) เมื่อจําแนกเปนรายขอพบวา ความคิดเห็นระดับ

เห็นดวยไดแก ปายโฆษณาดังกลาวมีรูปภาพและขอความที่นําเสนอสอดคลองสัมพันธและสงเสริมกัน

(คาเฉลี่ย =3.89) รองลงมาไดแก ปายโฆษณาบริเวณทางเขาชุมชนบานเกาะเกิดมีขนาดที่เหมาะสม

(คาเฉลี่ย = 3.84)

Page 74: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

62

ตาราง 4.5 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการโฆษณา เกี่ยวกับการโฆษณา ณ จุดขาย

การสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด

ดานการโฆษณา ณ จุดขาย

X S.D แปลผล

1.ชุมชนบานเกาะเกิดมีการจัดการตกแตงสถานที่สวยงามและมี

จุดถายภาพที่สามารถดึงดูด นักทองเที่ยว

4.05 0.75 เห็นดวย

2.จุดเรียนรูการทําสมุนไพรอายุวัฒนะของชุมชนบานเกาะเกิด

เปนสิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยว

3.94 0.77 เห็นดวย

3.จุดเรียนรูการทําน้ํากลั่นสมุนไพรไลแมลงของชุมชนบานเกาะ

เกิดเปนสิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวได

3.92 0.81 เห็นดวย

4. จุดเรียนรูการทําขนมไทยโบราณของชุมชนบานเกาะเกิดเปน

สิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวได

4.04 0.80 เห็นดวย

5.จุดเรียนรูการทําน้ํานมขาวยาคูของชุมชนบานเกาะเกิดเปน

สิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวได

3.96 0.82 เห็นดวย

6. จุดเรียนรูการทําหมี่กรอบโบราณของชุมชนบานเกาะเกิด

เปนสิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวได

4.01 0.80 เห็นดวย

7.จุดเรียนรูโรงเห็ดของชุมชนบานเกาะเกิดเปนสิ่งจูงใจที่

สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวได

3.93 0.76 เห็นดวย

8.จุดเรียนรูการทํามายืนเพื่อสุขภาพของชุมชนบานเกาะเกิด

เปนสิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวได

3.78 0.89 เห็นดวย

รวม 3.95 0.60 เห็นดวย

Page 75: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

63

จากตาราง 4.5พบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

ของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนเกี่ยวกับโฆษณา ณ จุด

ขาย ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 3.95) เมื่อจําแนกเปนรายขอพบวาความคิดเห็นระดับเห็น

ดวยไดแก ชุมชนบานเกาะเกิดมีการจัดตกแตงสถานที่สวยงามและมีจุดถายภาพที่สามารถดึงดูด

นักทองเที่ยว (คาเฉลี่ย = 4.05) รองลงมาไดแก จุดเรียนรูการทําขนมไทยโบราณของชุมชนบานเกาะเกิด

(คาเฉลี่ย = 4.04)ตามลําดับ

Page 76: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

64

ตาราง 4.6แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการโฆษณา เกี่ยวกับทางอินเทอรเน็ต

การสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด

ดานการโฆษณาทางอินเทอรเน็ต

X S.D แปลผล

1. เว็บไซต ผิดพลาด! การอางอิงการเชื่อมโยงหลายมิติไม

ถูกตองFacebook โฮมสเตยบานเกาะเกิดมีขอมูลสําหรับการ

ทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดครบถวน

4.04 0.66 เห็นดวย

2. เว็บไซต ผิดพลาด! การอางอิงการเชื่อมโยงหลายมิติไม

ถูกตองFacebook โฮมสเตยบานเกาะเกิดมีการจัดวางขอมูล

และรูปภาพที่สวยงาม เหมาะสมเขาใจงาย

3.92 0.70 เห็นดวย

3. . เว็บไซต ผิดพลาด! การอางอิงการเชื่อมโยงหลายมิติไม

ถูกตองFacebook โฮมสเตยบานเกาะเกิด เขาถึงไดงาย

3.98 0.68 เห็นดวย

4. . เว็บไซต ผิดพลาด! การอางอิงการเชื่อมโยงหลายมิติไม

ถูกตองFacebook โฮมสเตยบานเกาะเกิด มีการเพิ่มขอมูลและ

รูปภาพกิจกรรมใหมๆ อยางสม่ําเสมอ

3.85 0.77 เห็นดวย

รวม 3.94 0.60 เห็นดวย

จากตาราง 4.6 พบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

ของชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการโฆษณา

เกี่ยวกับทางอินเทอรเน็ต ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 3.94) เมื่อจําแนกเปนรายขอพบวา

ความคิดเห็นระดับเห็นดวยไดแกโฮมสเตยบานเกาะเกิดมีขอมูลสําหรับการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด

ครบถวน(คาเฉลี่ย = 4.04) รองลงมาคือ เว็บไซต ผิดพลาด! การอางอิงการเชื่อมโยงหลายมิติไม

ถูกตองFacebook โฮมสเตยบานเกาะเกิด เขาถึงไดงาย (คาเฉลี่ย = 3.98)

Page 77: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

65

ตาราง 4.7แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการประชาสัมพันธในภาพรวม

การสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด ดานการประชาสัมพันธ

X S.D แปลผล

1.การใหขาวเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว บุคคล ผลิตภัณฑที่นาสนใจผานสื่อ 3.88 0.72 เห็นดวย

2.ชุมชนสัมพันธ 4.01 0.56 เห็นดวย

เฉลี่ยรวม 3.95 0.55 เห็นดวย

จากตาราง 4.7 พบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

ของชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการประชาสัมพันธใน

ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย(คาเฉลี่ย = 3.95)เมื่อจําแนกเปนรายดานพบวาความคิดเห็นระดับเห็นดวย

ไดแกชุมชนสัมพันธ(คาเฉลี่ย = 4.01)รองลงมาไดแกการใหขาวเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว บุคคล ผลิตภัณฑ

ที่นาสนใจผานสื่อ(คาเฉลี่ย = 3.88)

Page 78: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

66

ตาราง 4.8แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการประชาสัมพันธ เกี่ยวกับใหขาวเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว บุคคล ผลิตภัณฑที่นาสนใจผานสื่อ

การสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด ดานการใหขาวเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว บุคคล ผลิตภัณฑที่

นาสนใจผานสื่อ

X S.D แปลผล

1.การจัดเอกสารเผยแพร ประเภท แผนพับ ใบปลิวชุมชน บานเกาะเกิด มี

ความสวยงามมีขอมูลและรูปภาพเปนที่ดึงดูไดดี

3.89 0.75 เห็นดวย

2.การใหสัมภาษณของประธานกลุมสตรี ชุมชนบานเกาะเกิด ผานทาง

หนังสือพิมพคมชัดลึก สรางความนาสนใจและดึงดูดนักทองเที่ยว

3.86 0.79 เห็นดวย

รวม 3.87 0.72 เห็นดวย

จากตาราง4.8พบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

ของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ภาพรวมในดานการให

ขาวเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว บุคคล ผลิตภัณฑที่นาสนใจผานสื่อ อยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 3.87)

เมื่อจําแนกเปนรายขอพบวาการจัดเอกสารเผยแพร ประเภท แผนพับ ใบปลิวชุมชน บานเกาะเกิด มีความ

สวยงามมีขอมูลและรูปภาพเปนที่ดึงดูดไดดี (คาเฉลี่ย = 3.89)รองลงมาการใหสัมภาษณของประธานกลุม

สตรี ชุมชนบานเกาะเกิด ผานทางหนังสือพิมพคมชัดลึก สรางความนาสนใจและดึงดูดนักทองเที่ยว

(คาเฉลี่ย = 3.86)

Page 79: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

67

ตาราง 4.9แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนดานการประชาสัมพันธเกี่ยวกับชุมชนสัมพันธ

การสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดานการประชาสัมพันธ ชุมชนสัมพันธ

X S.D แปลผล

3.การรวมกลุมของคนในชุมชนบานเกาะเกิดในการบริหารจัดการดาน

รายไดเปนไปดวยความสมัครสมานสามัคคี

4.01 0.69 เห็นดวย

4.ชุมชนบานเกาะเกิดมีการรวมกันในการผลิตสินคาชุมชน (OTOP) เพื่อ

ชวยสงเสริมรายไดใหกับผูคนในชุมชน

4.12 0.61 เห็นดวย

5. ชุมชนบานเกาะเกิดมีการรวมมือกันในการบริหารจัดการเรื่อง

ทรัพยากรธรรมชาติ และ ขยะที่เกิดจากการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวได

เปนอยางดี

3.95 0.71 เห็นดวย

6. การใหบริการของคนในชุมชนตอนักทองเที่ยวเต็มไปดวยมิตรไมตรี และ

น้ําใจ ซึ่งจะสงผลใหชุมชนบานเกาะเกิดมีภาพลักษณที่ดี

4.00 0.71 เห็นดวย

รวม 4.01 0.56 เห็นดวย

จากตาราง 4.9 พบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

ของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการประชาสัมพันธ

เกี่ยวกับชุมชนสัมพันธภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 4.01)เมื่อจําแนกเปนรายขอพบวาความ

คิดเห็นระดับเห็นดวยไดแกชุมชนบานเกาะเกิดมีการรวมกันในการผลิตสินคาชุมชน (OTOP)เพื่อชวย

สงเสริมรายไดใหกับผูคนในชุมชน (คาเฉลี่ย = 4.12) รองลงมาคือ การรวมกลุมของคนในชุมชนบานเกาะ

เกิดในการบริหารจัดการดานรายไดเปนไปดวยความสมัครสมานสามัคคี (คาเฉลี่ย = 4.01)

Page 80: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

68

ตาราง 4.10แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการสงเสริมการขาย

การสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดานการสงเสริมการขาย

X S.D แปลผล

1.การจัดกิจกรรมการลองเรือชมแมน้ําเจาพระยากระตุนใหนักทองเที่ยว

อยากใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น

4.35 0.73 เห็น

ดวย

อยาง

ยิ่ง

2.การจัดกิจกรรมการแสดงศิลปะ วัฒนธรรมไทย บริเวณเวทีกลางน้ําใน

ชวงเวลาอาหารเย็นกระตุนใหนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบาน

เกาะเกิดมากขึ้น

4.24 0.81 เห็น

ดวย

อยาง

ยิ่ง

3.เจาหนาที่แนะนํามีความสามารถในการนําเสนอไดดีกระตุนนักทองเที่ยว

อยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น

4.06 0.77 เห็น

ดวย

4.การจัดกิจกรรมการเยี่ยมชมศูนย ศิลปาชีพ บานเกาะเกิด กระตุนให

นักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น

4.17 0.73 เห็น

ดวย

รวม 4.20 0.63 เห็น

ดวย

จากตาราง 4.10พบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

ของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการสงเสริมการขาย

ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 4.20) เมื่อจําแนกเปนรายขอพบวา ความคิดเห็นระดับเห็นดวย

อยางยิ่ง ไดแก การจัดกิจกรรมการลองเรือชมแมน้ําเจาพระยากระตุนใหนักทองเที่ยวอยากใชบริการที่ชุมชน

บานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น (คาเฉลี่ย = 4.35 ) รองลงมาไดแก การจัดกิจกรรมการแสดงศิลปะ วัฒนธรรม

Page 81: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

69

ไทย บริเวณเวทีกลางน้ําในชวงเวลาอาหารเย็นกระตุนใหนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะ

เกิดมากขึ้น (คาเฉลี่ย = 4.24)สวนความคิดเห็นระดับเห็นดวย ไดแก การจัดกิจกรรมเยี่ยมชมศูนยศิลปาชีพ

บานเกาะเกิด กระตุนใหนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น (คาเฉลี่ย = 4.16)

และเจาหนาที่แนะนํามีความสามารถในการนําเสนอไดดีกระตุนนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบาน

เกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น(คาเฉลี่ย = 4.06)

Page 82: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

70

ตาราง 4.11แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการตลาดทางตรง

( n = 380)

การสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิดดานการตลาดทางตรง

X S.D แปลผล

1จดหมาย เอกสาร ประชาสัมพันธ ที่สงตรงถึงนักทองเที่ยว ของชุมชน

บานเกาะเกิด กระตุนใหนักทองเที่ยวอยากมาใช บริการที่ชุมชนบานเกาะ

เกิด

3.85 0.73

6

เห็น

ดวย

2.การจัดจําหนายแพ็คเกจการทองเที่ยวแบบพิเศษเพื่อสรางความสัมพันธ

กับนักทองเที่ยวเฉพาะบุคคลหรือองคกรของชุมชนบานเกาะเกิด กระตุน

ใหนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น

4.04 0.80 เห็น

ดวย

3.เจาหนาที่แนะนํามีความสามารถในการนําเสนอไดดีกระตุนให

นักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น

3.99 0.77 เห็น

ดวย

รวม 3.96 0.69 เห็น

ดวย

จากตาราง 4.11 พบวานักทองเที่ยวมีความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริม

การตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน

ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย(คาเฉลี่ย = 3.96) เมื่อจําแนกเปนรายขอพบวา ความคิดเห็นระดับเห็นดวย

ไดแก การจัดจําหนายแพ็คเกจการทองเที่ยวแบบพิเศษเพื่อสรางความสัมพันธกับนักทองเที่ยวเฉพาะบุคคล

หรือองคกรของชุมชนบานเกาะเกิด กระตุนใหนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมาก

ขึ้น(คาเฉลี่ย = 4.04) รองลงมาไดแกเจาหนาที่แนะนํามีความสามารถในการนําเสนอไดดีกระตุนให

นักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น (คาเฉลี่ย = 3.99 )

Page 83: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

71

ตอนที่ 3 การทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ตาราง 4.12 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน จําแนกดานเพศ

เพศ จํานวน X S.D Sig

ชาย 170 4.16 0.64

หญิง 210 4.20 0.68

2.436 0.496

*มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.12ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับ

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน จําแนกดานเพศพบวานักทองเที่ยวชาวไทยที่มีเพศ

ตางกันมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด ไมแตกตางกัน

Page 84: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

72

ตาราง4.13แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนจําแนกตามอายุ

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยว

แหลงความแปรปรวน

S.S. M.S Sig

อายุ ระหวางกลุม

ภายในกลุม

7.942

161.003

5

374

1.588

413

3.688* .003

รวม 169.004 379

*มีระดับนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ 0.05

จากตาราง 4.13 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับ

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน จําแนกดานอายุ พบวา กลุมอายุตางๆนักทองเที่ยวชาว

ไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อขอมูล Sig จึงไดวิเคราะหความแตกตางเปนรายคู

ดวยวิธีการ Scheffeดังตารางที่ 4.14

Page 85: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

73

ตาราง 4.14 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนจําแนกตามอายุเปนรายคู

X1 X2 X3 X4 X5 X6อายุ X

4.12 4.28 4.05 4.30 4.33 5.00

นอยกวา 20ป (X1) 4.12 - .0158 .0.737 .0184 .208 .875*

20-29ป (X2) 4.28 - .231 .026 .050 .716*

30-39 ป(X3) 4.05 - .1985* .2906* .6239*

40-49 ป(X4) 4.30 - .024 .690*

50-59 ป(X5) 4.33 - .666

-ตั้งแต 60 ปขึ้นไป(X6)

5.00 -

จากตาราง4.14ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนจําแนกตามอายุเปนรายคู พบวากลุมอายุตางๆ

นักทองเที่ยวชาวไทย มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา จําแนกดานอายุเปนรายคูมีจํานวน 6 คูไดแก

1.นักทองเที่ยวที่มีอายุนอยกวา 20 ป มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการทองเที่ยว

ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอายุ 60 ป ขึ้นไป

2.นักทองเที่ยวที่มี อายุ 20 - 29 ป มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการทองเที่ยว

ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอายุ 60 ป ขึ้นไป

3.นักทองเที่ยวที่มี อายุ 30 - 39 ป มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการทองเที่ยวชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอายุ 40 - 49 ป

Page 86: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

74

4.นักทองเที่ยวที่มี อายุ 30 - 39 ป มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการทองเที่ยวชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอาย ุ50 – 59 ป

5.นักทองเที่ยวที่มี อายุ 30 - 39 ป มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการทองเที่ยวชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป

6. นักทองเที่ยวที่มี อายุ 40 - 49 ป มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการทองเที่ยวชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป

Page 87: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

75

ตาราง 4.15 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนจําแนกตามการศึกษา

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยว

แหลงความแปรปรวน

S.S. M.S Sig

การศึกษา ระหวางกลุม

ภายในกลุม

11.912

157.092

2

377

5.956

.417

14.293 .000

รวม 169.004 379

*มีระดับนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ 0.05

จากตาราง 4.15 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับ

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน จําแนกดานการศึกษา พบวา กลุมระดับการศึกษาตางๆ

นักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติมีระดับ 0.05 เมื่อขอมูล Sig จึงไดวิเคราะหความ

แตกตางเปนรายคูดวยวิธีการ Scheffeดังตารางที่ 4.16

Page 88: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

76

ตาราง 4.16แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนจําแนกตามระดับการศึกษาเปนรายคู

XI X2 X3ระดับการศึกษา X

4.46 4.07 4.06

ต่ํากวาปริญญาตรี(X1)

4.46 - .392* .400*

ปริญญาตรี (X2) 4.07 - - .008

สูงกวาปริญญาตรี(X3)

4.06 - - -

จากตาราง 4.16ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับ

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ในภาพรวม จําแนกตามระดับการศึกษาเปนรายคู พบวากลุมระดับการศึกษาตางๆ

นักทองเที่ยวชาวไทย มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา จําแนกดานระดับการศึกษาเปนรายคูมี 2 คูไดแก

1.นักทองเที่ยวที่มีระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการ

การทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีระดับการศึกษา

ปริญญาตรี

2.นักทองเที่ยวที่มีระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการ

การทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีระดับการศึกษาสูง

กวาปริญญาตรี

Page 89: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

77

ตาราง 4.17แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนจําแนกตามอาชีพ

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยว

แหลงความแปรปรวน

S.S. M.S P

อาชีพ ระหวางกลุม

ภายในกลุม

18.404

150.600

4

375

4.601

.402

11.456 .000

รวม 169.004 379

*มีระดับนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ 0.05

จากตาราง 4.17 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับ

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน จําแนกดานอาชีพ พบวา กลุมอาชีพตางๆนักทองเที่ยว

ชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติมีระดับ 0.05 เมื่อขอมูลSig จึงไดวิเคราะหความแตกตางเปนรายคู

ดวยวิธีการ Scheffeดังตารางที่ 4.18

Page 90: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

78

ตาราง 4.18 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน จําแนกตามอาชีพเปนรายคู

X1 X2 X3 X4 X5

อาชีพ X 4.20 4.08 3.95 3.83 4.47

นักเรียน/นักศึกษา (X1)

4.20 - .224 .172* .483* .442*

คาขาย / ธุรกิจสวนตัว (X2)

4.08 - - .051 .214* .666*

ขาราชการ /พนักงานรัฐวิสาหกิจ(X3)

3.95 - - - .265* .615*

พนักงานบริษัทเอกชน(X4)

3.83 - - - - .5912*

อื่นๆ (X5) 4.47 - - - - -

จากตาราง 4.18ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับ

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนในภาพรวม จําแนกตามอาชีพเปนรายคู พบวากลุมอาชีพ

ตางๆนักทองเที่ยวชาวไทย มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา จําแนกดานอาชีพ เปนรายคูมี 8 คูไดแก

Page 91: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

79

1.นักทองเที่ยวที่มีอาชีพนักเรียน /นักศึกษา มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการ

ทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอาชีพขาราชการ /

พนักงานรัฐวิสาหกิจ

2.นักทองเที่ยวที่มีอาชีพนักเรียน /นักศึกษา มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการ

ทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอาชีพพนักงาน

บริษัทเอกชน

3. นักทองเที่ยวที่มีอาชีพนักเรียน /นักศึกษา มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการ

ทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอาชีพอื่น

4 .นักทองเที่ยวที่มีอาชีพคาขาย / ธุรกิจสวนตัว มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการ

ทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอาชีพพนักงาน

บริษัทเอกชน

5. นักทองเที่ยวที่มีอาชีพคาขาย / ธุรกิจสวนตัว มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการ

ทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอาชีพอื่นๆ

6. นักทองเที่ยวที่มีอาชีพขาราชการ /พนักงานรัฐวิสาหกิจมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาด

การการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอาชีพพนักงาน

บริษัทเอกชน

7. นักทองเที่ยวที่มีอาชีพขาราชการ /พนักงานรัฐวิสาหกิจมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาด

การการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอาชีพอื่นๆ

8. นักทองเที่ยวที่มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการ

ทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีอาชีพอื่นๆ

Page 92: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

80

ตาราง 4.19 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยว

แหลงความแปรปรวน

S.S. M.S P

รายไดตอเดือน ระหวางกลุม

ภายในกลุม

11.492

91.172

4

375

2.873

.243

11.817 .000*

รวม 102.665 379

*มีระดับนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ 0.05

จากตาราง 4.19 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับ

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน จําแนกรายไดตอเดือนพบวา กลุมรายไดตอเดือนตางๆ

นักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติมีระดับ 0.05เมื่อขอมูล Sig จึงไดวิเคราะหความ

แตกตางเปนรายคูดวยวิธีการ Scheffeดังตารางที่ 4.20

Page 93: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

81

ตาราง 4.20 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนจําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือนเปนรายคู

X1 X2 X3 X4 X5รายได X 4.21 3.97 3.76 4.19 4.01

ต่ํากวา 10,000 บาท (X1)

4.21 - .2388* .4455* .0118 .2125

10,001 – 20,000บาท (X2)

3.97 - - .2388* .2056* 0.395

20,001 – 30,000 บาท (X3)

3.76 - - - .4326* .2006

30,001 – 40,000บาท (X4)

4.19 - - - - .1447

40,001 ขึ้นไป (X5) 4.01 - - - - -

จากตาราง4.20ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ในภาพรวม จําแนกตามรายไดตอเดือนเปนรายคู พบวา

กลุมรายไดตอเดือนตางๆนักทองเที่ยวชาวไทย มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดทองเที่ยวชุมชนบาน

เกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกดานรายไดตอเดือน เปนรายคู มี 5 คูไดแก

1.นักทองเที่ยวที่มีรายไดตอเดือนต่ํากวา 10,000 บาท มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการ

การทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีรายไดตอเดือน

10,001 – 20,000บาท

Page 94: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

82

2. นักทองเที่ยวที่มีรายไดตอเดือนต่ํากวา 10,000 บาท มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการ

การทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีรายไดตอเดือน

20,001 – 30,000 บาท

3. นักทองเที่ยวที่มีรายไดตอเดือน10,001– 20,000บาท มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาด

การการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีรายไดตอเดือน

20,001 – 30,000 บาท

4. นักทองเที่ยวที่มีรายไดตอเดือน10,001– 20,000บาท มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาด

การการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีรายไดตอเดือน

30,001 – 40,000บาท

5. นักทองเที่ยวที่มีรายไดตอเดือน20,001– 30,000 บาท มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาด

การการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีรายไดตอเดือน

30,001 – 40,000บาท

Page 95: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

83

ตาราง 4.21 แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนจําแนกตามภูมิลําเนา

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยว

แหลงความแปรปรวน

S.S. M.S P

รวม ระหวางกลุม

ภายในกลุม

7.764

94.901

2

377

3.882

.252

15.422 .000*

รวม 102.665 379

*มีระดับนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ 0.05

จากตาราง 4.23 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับ

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน จําแนกตามภูมิลําเนาพบวา กลุมภูมิลําเนาตางๆ

นักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติมีระดับ 0.05 เมื่อขอมูล Sig จึงไดวิเคราะหความ

แตกตางเปนรายคูดวยวิธีการ Scheffeดังตารางที่ 4.22

Page 96: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

84

ตาราง 4.23แสดงคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนจําแนกตามภูมิลําเนาเปนรายคู

X1 X2 X3ภูมิลําเนา X

3.93 4.24 3.82

กรุงเทพฯ (X1) 3.93 - .3270* .1136

พระนครศรีอยุธยา

(X2)

4.24 - - .4406*

อื่น ๆ(X3) 3.82 - - -

จากตาราง4.22 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับ

ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ในภาพรวม จําแนกตามภูมิลําเนา เปนรายคู พบวากลุม

ภูมิลําเนา ตางๆนักทองเที่ยวชาวไทย มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกดานภูมิลําเนา เปนรายคู มี 2 คูไดแก

1.นักทองเที่ยวที่มีภูมิลําเนากรุงเทพ ฯ มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการการทองเที่ยว

ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีภูมิลําเนาพระนครศรีอยุธยา

2. นักทองเที่ยวที่มีภูมิลําเนาพระนครศรีอยุธยา มีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการ

ทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอยกวา นักทองเที่ยวที่มีภูมิลําเนาอื่น

Page 97: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

85

สรุปผลการทดลองสมมติฐานตารางที่ 4.23สรุปผลการทดสอบผลสมมติฐาน

ขอมูลทั่วไปสวนบุคคล ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริม

การตลาดของชุมชน บานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน

เพศ

อายุ

การศึกษา

อาชีพ

รายไดตอเดือน

ภูมิลําเนา

หมายเหตุ = แตกตาง = ไมแตกตาง

Page 98: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

บทที่ 5

บทสรุปอภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาวิจัยเรื่องความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดของ

ชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืนผูศึกษามี

วัตถุประสงคหลักในการศึกษาประกอบไปดวย 1) เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรของนักทองเที่ยว 2) เพื่อ

ศึกษาความคิดเห็นของนักทองเที่ยวที่มีตอการสงเสริมการตลาดชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

3)เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักทองเที่ยวที่มีตอการสงเสริมการตลาดเพื่อการทองเที่ยวอยาง

ยั่งยืน ที่แตกตางกันตามลักษณะทางประชากรในการวิจัยครั้งนี้เปนวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีเครื่องมือในการวิจัย

ไดแกแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอการสงเสริมการตลาดแหลงทองเที่ยว ประชากรและกลุมตัวอยางใน

การศึกษาครั้งนี้ไดแก นักทองเที่ยวที่เขามาที่เขามาทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา และนักทองเที่ยวที่เขามาเยี่ยมชม แหลงทองเที่ยวใกลเคียงกับชุมชนบานเกาะเกิด โดยเก็บ

ตัวอยางบริเวณแหลงชุมชนบานเกาะเกิด จํานวน 380 คนจากการใชสูตรของ ทาโร ยามาเน (Taro Yamane,

อางถึง ใน สุทธนู ศรีไสย, 2551 ) กําหนดขอบเขตความคลาดเคลื่อน 0.05 วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม

สําเร็จรูปทางสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือการแจกแจงความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐานสาหรับผลการทดสอบสมมติฐานใชสถิติ (t-test) การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (F-

test)ผูวิจัยจะไดนําเสนอตามลําดับดังนี้

86

Page 99: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

87

5.1 สรุปผลการวิจัย5.1.1 ผลวิเคราะหพบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความเคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดทองเที่ยวชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน สวนใหญมีลักษณะทางประชากร เปน

เพศหญิง (รอยละ 55.3 ) มีอายุระหวาง 30-39 ป(รอยละ 42.1) มีการศึกษาระดับปริญญาตรี (รอยละ 67.6) มี

อาชีพเปนพนักงานบริษัทเอกชน (รอยละ 45.5) มีรายไดเฉลี่ยตอเดือน 10,001 – 20,000 บาท(รอยละ 33.4)

และภูมิลําเนาอยูใน กรุงเทพฯ (รอยละ 69.2)

5.1.2 ความคิดเห็นของการสงเสริมการตลาดนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาด ชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ในภาพรวมผลวิเคราะหพบวา

นักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นที่มีตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 4.00) เมื่อ

จําแนกเปนรายดาน พบวาความคิดเห็นระดับเห็นดวยไดแกดานการสงเสริมการขาย (คาเฉลี่ย = 4.14 )

รองลงมาไดแกดานการตลาดทางตรง (คาเฉลี่ย = 3.96 )

5.1.3 ความคิดเห็นของการสงเสริมการตลาดนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดชุมชน

บานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนดานโฆษณา ผล

วิเคราะหพบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะ

เกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการโฆษณาในภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย

(คาเฉลี่ย = 3.90) เมื่อจําแนกเปนรายดานพบวา ความคิดเห็นระดับเห็นดวยไดแกการโฆษณา ณ จุดขาย

(คาเฉลี่ย = 3.95 ) รองลงมาเปนการโฆษณาทางอินเทอรเน็ต(คาเฉลี่ย = 3.94) และ ปายโฆษณากลางแจง

(คาเฉลี่ย = 3.82) ตามลําดับ

5.1.4 ความคิดเห็นของการสงเสริมการตลาดนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดดาน

ประชาสัมพันธ ชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน

ในผลการวิเคราะหพบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวของชุมชน

Page 100: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

88

บานเกาะเกิดจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนดานการประชาสัมพันธในภาพรวมอยูใน

ระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 3.95) เมื่อจําแนกเปนรายดานพบวาความคิดเห็นระดับเห็นดวยไดแกชุมชน

สัมพันธ (คาเฉลี่ย = 4.01) รองลงมาไดแกการใหขาวเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว บุคคล ผลิตภัณฑที่นาสนใจ

ผานสื่อ (คาเฉลี่ย = 3.88)

5.1.5 ความคิดเห็นของการสงเสริมการตลาดนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดดานการ

สงเสริมการขาย กรณีศึกษา ชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลง

ทองเที่ยวที่ยั่งยืน ผลการวิเคราะหพบวานักทองเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการ

ทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาดานการสงเสริมการขาย ภาพรวมอยูในระดับเห็น

ดวย (คาเฉลี่ย = 4.20) เมื่อจําแนกเปนรายขอพบวา ความคิดเห็นระดับเห็นดวยอยางยิ่ง ไดแก การจัด

กิจกรรมการลองเรือชมแมน้ําเจาพระยากระตุนใหนักทองเที่ยวอยากใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น

(คาเฉลี่ย = 4.35 ) รองลงมาไดแก การจัดกิจกรรมการแสดงศิลปะ วัฒนธรรมไทย บริเวณเวทีกลางน้ําใน

ชวงเวลาอาหารเย็นกระตุนใหนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดมากขึ้น (คาเฉลี่ย = 4.24)

สวนความคิดเห็นระดับเห็นดวย ไดแก การจัดกิจกรรมเยี่ยมชมศูนยศิลปาชีพบานเกาะเกิด กระตุนให

นักทองเที่ยวอยากมาใชบริการชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น (คาเฉลี่ย = 4.16) และเจาหนาที่แนะนํามี

ความสามารถในการนําเสนอไดดีกระตุนนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น

(คาเฉลี่ย = 4.06)

5.1.6 ความคิดเห็นของการสงเสริมการตลาดนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดดาน

การตลาดทางตรง กรณีศึกษา ชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลง

ทองเที่ยวที่ยั่งยืน ผลการวิเคราะหพบวานักทองเที่ยวมีความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริม

การตลาดการทองเที่ยวของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน

ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 3.96) เมื่อจําแนกเปนรายขอพบวา ความคิดเห็นระดับเห็นดวยไดแก

การจัดจําหนายแพ็คเกจการทองเที่ยวแบบพิเศษเพื่อสรางความสัมพันธกับนักทองเที่ยวเฉพาะบุคคลหรือ

องคกรของชุมชนบานเกาะเกิด กระตุนใหนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น

Page 101: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

89

(คาเฉลี่ย = 4.04) รองลงมาไดแกเจาหนาที่แนะนํามีความสามารถในการนําเสนอไดดีกระตุนใหนักทองเที่ยว

อยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น (คาเฉลี่ย = 3.99 )

5.1.7 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยตอการสงเสริมจําแนกดานอายุ การศึกษา อาชีพ รายได และภูมิลําเนาที่

แตกตางกันนักทองเที่ยวชาวไทยมีคิดเห็นตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน แตกตางกันอยางนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเวน

ดานเพศที่ไมมีความคิดเห็นที่แตกตางกัน

5.2 อภิปรายผลการวิจัยจากผลการศึกษา เรื่องความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาด

ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน มีประเด็นที่สามารถนํามา

อภิปรายผลได ดังนี้

5.2.1ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอปจจัยการสงเสริมการตลาด

ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ผลการศึกษาพบวา ความคิดเห็น

ตอปจจัยการสงเสริมการตลาด จําแนกดานการประชาสัมพันธ ชุมชนสัมพันธ เกี่ยวกับชุมชนบานเกาะเกิดมีการ

รวมกันในการผลิตสินคาชุมชน (OTOP) เพื่อชวยสงเสริมรายไดใหกับผูคนในชุมชนอยูในระดับเห็นดวย

(คาเฉลี่ย = 4.12)ขอคนพบดังกลาวสอดคลองกับการศึกษาของสุพิชญนันท พรหมณี (2555) เรื่อง การสงเสริม

การตลาดการทองเที่ยวของคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ ผลการศึกษาพบวาดานการ

ประชาสัมพันธ และการโฆษณาขอมูลการทองเที่ยวของกลุมคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ ชวยให

คลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ เปนที่รูจักมากขึ้น โดยจัดกิจกรรมการทองเที่ยวเพิ่มเติมเพื่อเปนการ

สงเสริมการ ทองเที่ยวของกลุมคลัสเตอรผาไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ ซึ่งเปนการเขาถึงกลุมนักทองเที่ยวไดดี

ยิ่งขึ้น อยูในระดับเห็นดวย อาจเปนเพราะวา การปฏิบัติงานของหนวยงาน องคกร สถาบัน บริษัทในการ

เผยแพรขาวสาร และดําเนินงานวิธีอื่น ๆ อยางมีแบบแผนการกระทําอยางตอเนื่องเพื่อชักชวนใหกลุมเปาหมาย

และสาธารณชนมีสวนรวมและเห็นชอบกันกับ วัตถุประสงคของหนวยงาน และ ใหความเชื่อถือ และ สราง

Page 102: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

90

บรรยากาศแหงความเขาใจอันดี มีมนุษยสัมพันธ (Victor T.C. Middleton,1994) ดังนั้นจากการศึกษาที่พบวา

ชุมชนบานเกาะเกิดมีการรวมกันในการผลิตสินคาชุมชน (OTOP) เพื่อชวยสงเสริมรายไดใหกับผูคนในชุมชนจึง

เปนการเผยแพรขาวสาร และดําเนินงาน เพื่อชักชวนใหกลุมเปาหมายที่เปนชาวบานในชุมชนบานเกาะเกิด มี

สวนรวมและเห็นชอบกันกับ วัตถุประสงคของชุมชนจึงเปนขอคนพบที่เชื่อถือได

5.2.2 ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ผลการศึกษาพบวา ความคิดเห็นตอ

ปจจัยการสงเสริม จําแนกดานการโฆษณา ณ จุดขายเกี่ยวกับ การจัดตกแตงสถานที่ใหสวยงามมีความคิดเห็น

อยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย= 4.05) ขอคนพบดังกลาวใกลเคียงกับงานวิจัยของ ซาเบีย บุญสนธิ (2556) ได

ศึกษาเรื่อง กลยุทธการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวทะเลบัวแดงหนองหาน บานเดียม ตําบลเชียงแหว

อําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี ผลการศึกษาพบวา ความพึงพอใจตอการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยว

ทะเลบัวแดงหนองหาน บานเดียม ตําบล เชียงแหว อําเภอกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี ดานการโฆษณาอยูใน

ระดับปานกลาง เกี่ยวกับควรมีการตกแตงสถานที่ใหสวยงามเปนสิ่งที่สามารถดึงดูด นักทองเที่ยวทั้งนี้อาจเปน

เพราะการโฆษณาเปน รูปแบบ หรือความคิดในการเสนอขายสินคาและบริการโดยผานสื่อตางๆ ที่มิใชตัวบุคคล

เพื่อจูงใจให ผูบริโภคกลุมเปาหมายเกิดความตองการซื้อหรือเพิ่มการใชสินคาและบริการของธุรกิจนั้นทั้งใน

ปจจุบันและอนาคต (Michale M. Coltman, 1986 ) ดังนั้นจากการศึกษาที่พบวาชุมชนบานเกาะเกิดมีการ

จัดการตกแตงสถานที่สวยงามเพื่อมีจุดถายภาพ เสนอขายสินคาและบริการดึงดูดในนักทองเที่ยวสนใจซื้อ

สินคาเพิ่มขึ้น จึงเปนขอคนพบที่เชื่อถือได

5.2.3 ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ผลการศึกษาพบวา ความคิดเห็นตอ

ปจจัยการสงเสริมการตลาด จําแนกดานการสงเสริมการขาย เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการลองเรือชมแมน้ํา

เจาพระยาอยูในระดับเห็นดวยอยางยิ่ง (คาเฉลี่ย = 4.35)ซึ่งขอคนพบดังกลาวใกลเคียงกับการศึกษาของ ศศิ

มา ทองปุย (2555) ไดศึกษาเรื่อง กลยุทธการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวปราสาทเปอยนอย อําเภอเปอย

นอย จังหวัดขอนแกน ผลการศึกษาพบวา ปจจัยการสงเสริมการตลาดดานการสงเสริมการขาย โดยรวมอยูใน

Page 103: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

91

ระดับมาก คือ ควรมีการสนับสนุนชุมชนมีสวนรวม และควรมีการจัดกิจกรรมตางๆเพื่อเปนการดึงดูด

นักทองเที่ยว ทั้งนี้อาจเปนเพราะ การจัดกิจกรรมแสง สี เสียง และการจัดงานเนื่องในโอกาสพิเศษ หรือวัน

สําคัญตางๆ เปนการสงเสริมการขาย (Sale Promotion) เปนกิจกรรมหรือเครื่องมือทางการตลาดอยางหนึ่งที่

กระตุนใหรานคาและผูประกอบการสนใจซื้อขาย สินคามากขึ้น เปนการผลักดันใหสินคาที่ขายอยูสามารถทํา

ยอดขายไดสูงกวาคูแขง และการกระตุน ใหผูบริโภคเกิดการซื้อเร็วขึ้น และในการสงเสริมการขายสินคาทางการ

ทองเที่ยวนั้น ผูผลิตทางการทองเที่ยวหลายๆ รายมักใหความสําคัญกับการสงเสริมการขาย ณ จุดขาย(Victor

,T.C. Middleton,1994) ดังนั้นจากขอคนพบที่พบวา ชุมชนบานเกาะ ไดทําเกิดการสงเสริมการขาย เกี่ยวกับ

การจัดกิจกรรมการลองเรือชมแมน้ําเจาพระยา จึงเปนกิจกรรมที่ผลักดันใหนักทองเที่ยวสนใจมากขึ้นและสราง

ยอดขายใหกับชุมชนบานเกาะเกิด จึงเปนขอคนพบที่สมเหตุสมผล

5.2.4 ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดชุมชน

บานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ผลการศึกษาพบวา ความคิดเห็นตอ

ปจจัยการสงเสริมการตลาด จําแนกดาน การตลาดทางตรง เกี่ยวกับ การจัดจําหนายแพ็คเกจการทองเที่ยว

แบบพิเศษเพื่อสรางความสัมพันธกับนักทองเที่ยวเฉพาะบุคคลหรือองคกรของชุมชนบานเกาะเกิด กระตุนให

นักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น อยูในระดับ เห็นดวย (คาเฉลี่ย =4.04) ซึ่งขอ

คนพบดังกลาวสอดคลองกับการศึกษาของ สุพรรณิกา สังกะสินสู (2555) ไดจัดทําวิจัยเรื่อง ความคิดเห็นของ

สมาชิกเกี่ยวกับการมีประสิทธิภาพเครื่องมือการตลาดทางตรงของหางสรรพสินคาเจริญศรีโรบินสันอุดรธานี ผล

การศึกษาพบวาความคิดเห็นของผูบริโภคเรื่องการสงเสริมการตลาดในดานการการตลาดทาง มีระดับความ

คิดเห็นอยูในระดับมากเกี่ยวกับการจัดใหมีสิทธิพิเศษแกสมาชิกชวยสงเสริมยอดขายไดเปนอยางดีทั้งนี้อาจเปน

เพราะระบบตลาดที่ติดตอซึ่งกันและกันเปนการถายทอดขาวสารในที่ตางๆ โดยสามารถวัดผลการตอบสนองได

ในปจจุบันมีคําที่นักสื่อสารการตลาดใชเรียกกิจกรรมการติดตอกับกลุมเปาหมายโดยตรงหลายคํา เชน

การตลาดทางตรง (Direct Marketing) การขายตรง (Direct selling, Direct Sales) ไดรับความนิยมจากนักการ

ตลาดอยางมาก เพราะมีลักษณะเดน คือ สามารถเลือกเขาถึงกลุมเปาหมายได เพราะขอมูลชัดเจนเกี่ยวกับ

ผูบริโภค ทําใหลดการ สูญเปลาในการใชสื่อ และสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ(ดรุณี อัศวพรชัย ,2553) ดังนั้น

จากขอคนพบที่ชุมชนบานเกาะเกิด มีการสงเสริมการตลาดทางตรงเกี่ยวกับการจัดจําหนายแพ็คเกจการ

Page 104: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

92

ทองเที่ยวแบบพิเศษเพื่อสรางความสัมพันธกับนักทองเที่ยว เพื่อเขาถึงนักทองเที่ยวโดยตรงและลดการสูญเปลา

ในการใชสื่อจึงเปนคนพบที่เชื่อที่ได

5.2.5ผลการทดสอบสมมุติฐานเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อ

เปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน พบวา กลุมอายุตางๆของนักทองเที่ยวมีความเห็นตอการตอการสงเสริมการตลาด

ชุมชนบานเกาะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้อาจเปน

เพราะ ประสบการณโดยตรงของบุคคล คือ บุคคลไดประสบกับเหตุการณดวยตนเองการกระทําดวยตนเองหรือ

ไดพบเห็นทําใหบุคคลมีความฝงใจและเกิดประสบการณนั้นแตกตางกันอิทธิพลของผูปกครอง คือ เมื่อเปนเด็ก

ผูปกครองจะอยูใกลชิดและใหขอมูลแกเด็กไดมาก ซึ่งมีผลตอพฤติกรรมและความคิดเห็นของเด็กดวย

(Oskamp, 1977) ดังนั้นผลการศึกษาที่พบวากลุมอายุตางๆของนักทองเที่ยวมีความเห็นตอการตอการสงเสริม

การตลาดชุมชนบานเกาะอําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แตกตางกัน จึงอธิบายไดวาวัยที่แตกตาง

กันของนักทองเที่ยวขึ้นอยูกับประสบการณตรงของแตละบุคคลที่ประสบกับเหตุการณดวยตนเอง เมื่อมาได

สัมผัสกับการสงเสริมการตลาดชุมชนบานเกาะเกิดก็จะมีความคิดเห็นแตกตางกันไป จึงเปนขอคนพบที่สมเหตุ

สมผล

5.2.6ผลการทดสอบสมมุติฐานเปรียบเทียบความแตกตางระหวางขอมูลทั่วไปสวนบุคคลกับความ

คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อ

เปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน พบวา กลุมอาชีพตางๆของนักทองเที่ยวมีความเห็นตอการสงเสริมการตลาดชุมชน

บานเกาะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้อาจเปนเพราะ

นักทองเที่ยวมีอาชีพ นักทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีหลากหลายอาชีพและแตละ

อาชีพก็มีการศึกษาและรายไดที่แตกตางกันไป ดังนั้นจึงทําใหใหความคิดเห็นที่มีตอการสงเสริมการตลาดที่

แตกตางกันไปดวย ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรของมวลชนผูรับสารดานสถานะทาง

สังคมและเศรษฐกิจสถานะทางสังคม และเศรษฐกิจ ประกอบดวย อาชีพ รายได เชื้อชาติและชาติพันธ

Page 105: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

93

ตลอดจนภูมิหลังของครอบครัว เปนปจจัยที่ทําใหคนมีวัฒนธรรมที่ตางกัน สถานะทางสังคม และ เศรษฐกิจเปน

ตัวแปรที่มีความสัมพันธสูงมาก(ยุบล เบ็ญจรงคกิจ , 2542)

5.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษาพบวานักทองเที่ยวที่มาใชบริการในชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ภาพรวมใหความสําคัญของปจจัยการสงเสริมการตลาดอยูในระดับเห็นดวย ซึ่งผูวิจัยขอเสนอแนะเพื่อนําไป

ประยุกตใชในการวิจัยครั้งตอไปเพื่อใหรักษามาตรฐานใหดีอยูในระดับมากตอไปและพัฒนาเพื่อใหอยูในระดับ

เห็นดวยเปนอยางยิ่งตอไป

5.3.1ดานการโฆษณา ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาด

ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานโฆษณา ภาพรวมอยูใน

ระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 3.90) จําแนกเปนดานการจัดการตกแตงสถานที่สวยงามและมีจุดถายภาพที่

สามารถดึงดูด นักทองเที่ยว เปนอันดับแรก (คาเฉลี่ย = 3.95) สวนปายโฆษณาดังกลาวสามารถดึงดูดความ

สนใจนักทองเที่ยวไดดีที่สุดมี (คาเฉลี่ย = 3.75) ซึ่งนอยที่สุด ดังนั้น ชุมชนบานเกาะเกิด ควรจัดทําปายโฆษณา

ใหมีความสวยงามและโดดเดน สะดุดสายตานักทองเที่ยวมากยิ่งขึ้น

5.3.2ดานการประชาสัมพันธ ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริม

การตลาด ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานประชาสัมพันธ

ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 3.95) จําแนกเปนเกี่ยวกับชุมชนบานเกาะเกิดมีการรวมกันในการผลิต

สินคาชุมชน (OTOP) เพื่อชวยสงเสริมรายไดใหกับผูคนในชุมชนอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 4.12)เปน

อันดับแรกสวนการใหสัมภาษณของประธานกลุมสตรี ชุมชนบานเกาะเกิด ผานทางหนังสือพิมพคมชัดลึก สราง

ความนาสนใจและดึงดูดนักทองเที่ยว (คาเฉลี่ย = 3.86) ซึ่งนอยที่สุด ดังนั้นชุมชนบานเกาะเกิด ควรพัฒนาเรื่อง

การใหสัมภาษณ ทางหนังสือพิมพ โดยอาจใหผูที่มีทักษะในการตอบคําถามของสื่อมวลชนมาเปนผูตอบคําถาม

หรือ ใหสัมภาษณรวมกับผูบริหารชุมชนบานเกาะเกิด

Page 106: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

94

5.3.3 ดานการสงเสริมการขายความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริม

การตลาด ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการสงเสริมการ

ขาย ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 4.20) จําแนกเปน การจัดกิจกรรมการลองเรือชมแมน้ํา

เจาพระยากระตุนใหนักทองเที่ยวอยากใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น อยูในระดับเห็นดวยอยางยิ่ง

(คาเฉลี่ย = 4.35) เปนอันดับแรกสวนเจาหนาที่แนะนํามีความสามารถในการนําเสนอไดดีกระตุนนักทองเที่ยว

อยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น (คาเฉลี่ย = 4.06)ซึ่งนอยที่สุด ดังนั้นชุมชนบานเกาะเกิด

ควรจัดการพัฒนาบุคคลากรเจาหนาที่ที่แนะนํา(วิทยากร)นักทองเที่ยวที่เขาชมชุมชนบานเกาะเกิดในทักษะดาน

การพูดเพื่อใหตรงกับความตองการของนักทองเที่ยว

5.3.4. ดานการตลาดทางตรง ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริม

การตลาด ชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน ดานการสงเสริมการ

ขาย ภาพรวมอยูในระดับเห็นดวย (คาเฉลี่ย = 3.96) จําแนกเปน การจัดจําหนายแพ็คเกจการทองเที่ยวแบบ

พิเศษเพื่อสรางความสัมพันธกับนักทองเที่ยวเฉพาะบุคคลหรือองคกรของชุมชนบานเกาะเกิด กระตุนให

นักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น (คาเฉลี่ย = 4.35) เปนอันดับแรก สวน

จดหมาย เอกสาร ประชาสัมพันธ ที่สงตรงถึงนักทองเที่ยว ของชุมชนบานเกาะเกิด กระตุนใหนักทองเที่ยวอยาก

มาใช บริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดมี (คาเฉลี่ย = 3.85)ซึ่งนอยที่สุด ดังนั้น ชุมชนบานเกาะเกิด ควรพัฒนาการ

ออกแบบเอกสารประชาสัมพันธ จดหมาย ตางๆที่จะสงถึงนักทองเที่ยวใหมีความนาสนใจ โดดเดน เพื่อดึงดูดให

นักทองเที่ยวที่ไดรับเอกสารเกิดความสนใจและเปดอานเนื้อหา

Page 107: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

95

ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไปจากการศึกษาในครั้งนี้นอกจากผลการศึกษาที่ไดรับแลวผูศึกษาไดพบประเด็นอื่นๆที่นาสนใจที่

คาดวาจะเปนประโยชนตอผูสนใจนําผลการศึกษาในครั้งนี้ไปขยายเพื่อเปนประเด็นศึกษาตอในโอกาสตอๆไป

จึงขอเสนอแนะ

1. ศึกษาถึงพฤติกรรมและความพึงพอใจของนักทองเที่ยวที่มาใชบริการชุมชนบานเกาะเกิด

เพิ่มเติมเพราะวาความพึงพอใจอาจมีผลตอการจัดรูปแบบการนําเสนอกิจกรรมตางๆของชุมชนบานเกาะเกิด

แตกตางกัน

2. ศึกษาความสําคัญของปจจัยสวนประสมการตลาดของนักทองเที่ยวตอแนวทางการพัฒนา

ชุมชนชนบานเกาะเกิด เพื่อนําผลจาการศึกษาเปนแนวทางในการปรับปรุงใหชุมชนบานเกาะเกิด มีคุณภาพ

มากยิ่งขึ้นและเปนแนวทางในการพัฒนาชุมชน หรือ โฮมสเตย ตางๆในประเทศไทยดวย

3. ควรมีการศึกษาวิเคราะหกลยุทธทางการตลาดเพื่อนําผลจากการศึกษามาเปนแนวทางในการ

ปรับปรุงกลยุทธการพัฒนาการทองเที่ยวในชุมชนบานเกาะเกิดใหมีประสิทธิผลเพิ่มเพิ่มมากขึ้น

4. ควรศึกษาถึงจัดการแหลงทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อใหเปน

แหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน

Page 108: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

96

ภาคผนวก ก.ตัวอยางแบบสอบถาม

การวิจัยเรื่อง ความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยที่มีตอการสงเสริการตลาดชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนตอนที่ 1 คําถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปสวนบุคคล

คําชี้แจง : กรุณาทําเครื่องหมาย✓หรือเติมคําในชอง ตามความเปนจริง

1.เพศ 1) ชาย 2) หญิง

2.อายุ

1) นอยกวา 20 ป 2) 20 – 29 ป

3) 30 – 39 ป 4) 40 - 49 ป

5) 50 - 59 ป 6) 60 ปและมากกวา 3. ระดับการศึกษา

1) ต่ํากวาปริญญาตรี 2) ปริญญาตรี

2) สูงกวาปริญญาตรี

4.อาชีพ1) นักเรียน/นักศึกษา 2) คาขาย / ธุรกิจสวนตัว3) ขาราชการ/) พนักงานรัฐวิสาหกิจ 4) พนักงานบริษัทเอกชน 5) อื่น ๆ (โปรดระบุ).....................................

5. รายไดเฉลี่ยตอเดือน

1) ต่ํากวาหรือ 10,000 บาท 2) 10,001 – 20,000 บาท 3) 20,001 – 30,000 บาท 4) 30,001 - 40,000 บาท 5) 40,001 ขึ้นไป

6.ภูมิลําเนา

1) กรุงเทพฯ 2) พระนครศรีอยุธยา 3) อื่น ๆโปรดระบุ............................

Page 109: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

97

ตอนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาไทยที่มีตอการสงเสริมการตลาดของชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืน

คําชี้แจง : กรุณาทําเครื่องหมาย✓ในชองวางหนาขอความที่ตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุด

ระดับการเห็นดวย

ปจจัยการสงเสริมการตลาดท่ีนักทองเที่ยวแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อ

เปนแหลงทองเท่ียวอยางยั่งยืน

5

เห็นดวยอยางยิ่ง

4

เห็นดวย

3

ไมแนใจ

2

ไมเห็นดวย

1

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

การโฆษณา (Advertising)

1.ปายโฆษณากลางแจง1. ปายโฆษณาบริเวณทางเขาชุมชนบานเกาะเกิดมีขนาดที่

เหมาะสม

2. ปายโฆษณาดังกลาวมีความชัดเจนในขอความที่ใชในการ

สื่อความหมาย

3. ปายโฆษณาดังกลาวรูปภาพและขอความที่นําเสนอ

สอดคลองและสัมพันธสงเสริมกัน

4. ปายโฆษณาดังกลาวสามารถดึงดูดความสนใจ

นักทองเที่ยวไดดีที่สุด

Page 110: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

98

ระดับการเห็นดวย

ปจจัยการสงเสริมการตลาดท่ีนักทองเที่ยวแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อ

เปนแหลงทองเท่ียวอยางยั่งยืน

5

เห็นดวยอยางยิ่ง

4

เห็นดวย

3

ไมแนใจ

2

ไมเห็นดวย

1

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

2. การโฆษณา ณ จุดขาย1. ชุมชนบานเกาะเกิดมีการจัดตกแตงสถานที่สวยงาม และ

มีจุดถายภาพที่สามารถดึงดูด นกัทองเที่ยวได

2. จุดเรียนรูการทําสมุนไพรอายุวัฒนะของชุมชนบานเกาะ

เกิดเปนสิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวได

3. จุดเรียนรูการทํานํ้ากลั่นสมุนไพรไลแมลงของชุมชนบาน

เกาะเกิดเปนสิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวได

4. จุดเรียนรูการทําขนมไทยโบราณของชุมชนบานเกาะเกิด

เปนสิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนกัทองเท่ียวได

5. จุดเรียนรูการทํานํ้านมขาวยาคูของชุมชนบานเกาะเกิด

เปนสิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนกัทองเท่ียวได

6. จุดเรียนรูการทําหมี่กรอบโบราณของชุมชนบานเกาะเกิด

เปนสิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนกัทองเท่ียวได

7. จุดเรียนรูการโรงเห็ดของชุมชนบานเกาะเกิดเปนสิ่งจูงใจที่

สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวได

8. จุดเรียนรูการทํามายืนเพื่อสุขภาพของชุมชนบานเกาะเกิด

เปนสิ่งจูงใจที่สามารถดึงดูดนกัทองเท่ียวได

Page 111: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

99

ระดับการเห็นดวย

ปจจัยการสงเสริมการตลาดท่ีนักทองเที่ยวแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อ

เปนแหลงทองเท่ียวอยางยั่งยืน

5

เห็นดวยอยางยิ่ง

4

เห็นดวย

3

ไมแนใจ

2

ไมเห็นดวย

1

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

การโฆษณา (Advertising)

3. อินเทอรเน็ต1. เว็บไซต(ผิดพลาด! การอางอิงการเชื่อมโยงหลายมิติ

ไมถูกตองfacebook / โฮมสเตยบานเกาะเกิดมีขอมูล

สําหรับการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิดครบถวน

2. เว็บไซต(ผิดพลาด! การอางอิงการเชื่อมโยงหลายมิติไมถูกตองfacebook / โฮมสเตยชุมชนบานเกาะเกิดมีการ

จัดวางขอมูลและรูปภาพที่สวยงาม เหมาะสม เขาใจงาย

3. เว็บไซต(ผิดพลาด! การอางอิงการเชื่อมโยงหลายมิติไมถูกตองfacebook / โฮมสเตยบานเกาะเกิด

นักทองเที่ยวสามารถเขาถึงไดงาย

4. เว็บไซต(ผิดพลาด! การอางอิงการเชื่อมโยงหลายมิติไมถูกตองfacebook / โฮมสเตยบานเกาะเกิดมีการเพิ่ม

ขอมูลและรูปภาพกิจกรรมใหมๆอยางสม่ําเสมอ

การประชาสัมพันธ1. การใหขาวเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว บุคคล ผลิตภัณฑทีน่าสนใจโดยผานสื่อ

1. การจัดทําเอกสารเผยแพร ประเภท แผนพับ ใบปลิวชุมชน

บานเกาะเกิด มีความสวยงามมีขอมูลและรูปภาพเปนที่ดึงดูด

ไดดี

2. การใหสัมภาษณของประธานกลุมสตรี ชุมชนบานเกาะ

เกิดผานทางหนังสือพิมพคม ชัด ลึก สรางความนาสนใจและ

ดึงดูดนักทองเที่ยวได

Page 112: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

100

ปจจัยการสงเสริมการตลาดท่ีนักทองเที่ยวแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบัชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อ

ระดับการเห็นดวย

Page 113: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

101

ระดับการเห็นดวย

เกี่ยวกับชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเท่ียวอยางยั่งยืน 5

เห็นดวยอยางยิ่ง

4

เห็นดวย

3

ไมแนใจ

2

ไมเห็นดวย

1

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

2. ชุมชนสัมพันธ

1. การรวมกลุมของคนในชุมชนบานเกาะเกิดในการบริหาร

จัดการดานรายไดเปนไปดวยความสมัครสมานสามัคคี

2. ชุมชนบานเกาะเกิดมีการรวมกันในการผลิตสินคาชุมชน

(OTOP)เพื่อชวยสงเสริมรายไดใหกับผูคนในชุมชน

3. ชุมชนบานเกาะเกิดมีการรวมมือกันในการบริหารจัดการ

เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ และ ขยะที่เกิดจากการทองเที่ยว

ของนักทองเที่ยวไดเปนอยางดี

4. การใหบริการของคนในชุมชนตอนักทองเที่ยวเต็มไปดวย

มิตรไมตรีและมีน้ําใจ ซึ่งจะสงผลใหชุมชนบานเกาะเกิดมี

ภาพลักษณที่ดี

การสงเสริมการขาย (Sales Promotion)

1. การจัดกิจกรรมการลองเรือชมแมน้ําเจาพระยากระตุนให

นักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพ่ิม

มากขึ้น

2. การจัดกิจกรรมการแสดงศิลปะ วัฒนธรรม ไทย บริเวณ

เวทีกลางน้ําในชวงเวลาอาหารเย็นกระตุนใหนักทองเท่ียว

อยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น

3. เจาหนาที่แนะนํามีความสามารถในการนําเสนอไดดี

กระตุนใหนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะ

เกิดเพิ่มมากขึ้น

Page 114: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

102

เกี่ยวกับชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืน 5

เห็นดวยอยางยิ่ง

4

เห็นดวย

3

ไมแนใจ

2

ไมเห็นดวย

1

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

การตลาดทางตรง1. จดหมาย เอกสาร ประชาสัมพันธ ที่สงตรงถึงนักทองเที่ยว

ของชุมชนบานเกาะเกิดกระตุนใหนักทองเที่ยวอยากมาใช

บริการที่ชุมชนบานเกาะเกิดเพิ่มมากขึ้น

2. การจัดจําหนายแพ็คเกจการทองเที่ยวแบบพิเศษเพื่อสราง

ความสัมพันธกับนักทองเท่ียวเฉพาะบุคคลหรือองคกรของ

ชุมชนบานเกาะเกิดกระตุนใหนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่

ชุมชนบานเกาะเกิดเพ่ิมมากขึ้น

4. เจาหนาที่แนะนํามีความสามารถในการขายสินคาและ

บริการใหนักทองเที่ยวอยากมาใชบริการที่ชุมชนบานเกาะ

เกิดเพิ่มมากขึ้น

ตอนที่3 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติม1.เกี่ยวกับการสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวชุมชนบานเกาะเกิด อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โฆษณา..........................................................................................................................................................ประชาสัมพันธ..........................................................................................................................................................การขายโดยใชพนักงาน..........................................................................................................................................................การสงเสริมการขาย..........................................................................................................................................................การตลาดทางตรง..........................................................................................................................................................

ขอบพระคุณเปนอยางสูงในความรวมมือกรอกแบบสอบถามภาคผนวก ข.

Page 115: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

103

รายชื่อผูเชี่ยวชาญและผูทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบความถูกตองแบบสอบถาม

ชื่อ – สกุล ตําแหนง

ผูชวยศาสตราจารย ดวงทิพย จันทรอวม รองคณบดี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย

เกริก

คุณ อิสสระพงษแทนศิริ ผูอํานวยการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

สํานักงานพระนครศรีอยุธยา

คุณ สุชิน อุมญาติ ประธานกลุมทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ชุมชนบาน

เกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ภาคผนวก ค.

Page 116: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

104

ภาพชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา

ภาคผนวก ค.(ตอ)

Page 117: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

105

ภาพชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ภาคผนวก ค.(ตอ)

Page 118: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

106

ภาพชุมชนบานเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Page 119: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

107

Page 120: โดย นายประเสริฐ ป ญญาภาพ สารนิพนธ เล มนี้เป นส วนหนึ่งของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/Arts/2559/F_Prasert_Panyaparb.pdfThe

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ – สกุล นายประเสริฐ ปญญาภาพ

วัน เดือน ปเกิด 1 กรกฎาคม 2519

สถานที่เกิด กรุงเทพมหานคร

ประวัติการศึกษา นิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการโฆษณา และการประชาสัมพันธ มหาวิทยาลัยเกริก

ประวัติการทํางาน กรรมการผูจดัการ

บริษัท คาเฟออกแกไนซเซอร จํากัด