รายงานภาคที่ 2 - trfttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 ·...

121
144 รายงานภาคที2 ประมวล วิเคราะห สังเคราะหเหตุการณและแนวโนมประเทศไทย (ตุลาคม-ธันวาคม 2544)

Upload: others

Post on 05-Mar-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

144

รายงานภาคที่ 2

ประมวล วิเคราะห สังเคราะหเหตุการณและแนวโนมประเทศไทย(ตุลาคม-ธันวาคม 2544)

Page 2: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

145

สารบัญ

รายงานภาคที่ 2.......................................................................................................................144สารบัญ....................................................................................................................................145ประมวลสถานการณและแนวโนมประเทศไทย .......................................................................146

ความเคลื่อนไหวดานการผลิตและการคา .......................................................................................................146ความเคลื่อนไหวดานประชากร ส่ิงแวดลอม และพลังงาน ................................................................................172ความเคลื่อนไหวดานการเมืองการปกครอง ....................................................................................................190ความเคลื่อนไหวดานการศึกษา .....................................................................................................................216ความเคลื่อนไหวดานอาหารและสาธารณสุข ..................................................................................................227ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับทวงทํ านองการดํ าเนินชีวิต........................................................................................242

ภาคผนวก ...............................................................................................................................264รายชื่อคณะผูดํ าเนินงานโครงการขาวสารทิศทางประเทศ................................................................................264

Page 3: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

146

ประมวลสถานการณและแนวโนมประเทศไทย(ตลุาคม-ธันวาคม 2544)

----------------------

ความเคลื่อนไหวดานการผลิตและการคานํ าเร่ือง

สถานการณเศรษฐกิจโลกในชวง 3 เดือนสุดทายของป 2544 โดยทั่วไปเปนการประเมินผลและรวบรวมสรุปความเคลื่อนไหวในชวงเวลาตลอดปที่ผานมา และเฉพาะปนี้มีเหตุการณช็อกโลกกรณีการกอวินาศกรรมในสหรัฐ ทํ าใหหลายฝายตองเพิ่มตัวแปรในการวิเคราะหแนวโนมเศรษฐกิจจากกรณีนี้เขาไปอีก ตะวันตกใหความสํ าคัญกับเหตุการณนี้ โดยถือวาเปนตัวแปรสํ าคัญที่สงผลสะเทือนอยางกวางขวางตอบริษัทธุรกิจ ถือวาสงผลสะเทือนทางดานจิตใจตอนักลงทุนอยางรุนแรง และเปนการซํ้ าเติมภาวะเศรษฐกิจสหรัฐที่งอนแงนอยูแลวใหหลนลงสูเหวหายนะอยางรุนแรง ทางการสหรัฐตองออกมาประกาศวา เศรษฐกิจของประเทศเขาสูภาวะซบเซาอยางเปนทางการ และวาความจริงเขามาตั้งแตเดือน มี.ค. 2544 แลว นายอลัน กรีนสแปน ที่เปรียบเสมือนพระเจาของนักลงทุน ก็ดูเหมือนพยายามออกมาเตือนสติหลายครั้ง เมื่อเห็นวาทุกคนกํ าลังมะรุมมะตุมพยายามแกปญหาเฉพาะหนาดวยวิธี "หวาดเสียว" ตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการตัดสินใจทํ าสงครามกับผูกอการรายของผูนํ าสหรัฐ ตลอดจนการอนุมัติอัดเงินพยุงเศรษฐกิจในชวงสั้นๆ ภายหลังเหตุการณกอการรายถึงกวาแสนลานดอลลารสหรัฐ โดยกลาวสํ าทับอยางออมๆ วา เงินที่ใสเขาระบบในนามแผนกระตุนเศรษฐกิจ หรือพยุงอุตสาหกรรมไมใหลมนั้นจะใชในชวงระยะสั้นๆ เทานั้น และใหคํ านึงถึงเรื่องการประกันแหลงพลังงานนํ้ ามัน ราวกับจะบอกวา อยาใหสงครามลุกลามไปจนถึงตะวันออกกลางเด็ดขาด !

ที่นาสนใจของสถานการณเศรษฐกิจโลกก็คือ เกือบทุกองคกรสํ าคัญๆ ของโลก ไมวาจะเปน ไอเอ็มเอฟ โออีซีดีธนาคารโลก องคการการคาโลก จนถึง องคการสหประชาชาติ ออกมาบอกเปนเอกฉันทเรื่องเศรษฐกิจโลกเขาสูภาวะถดถอย โดยเฉพาะองคการสหประชาชาติที่ระบุดวยวา กลุมประเทศกํ าลังพัฒนาจะไดรับผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกครั้งนี้มากที่สุด ขณะเดียวกัน เกือบทุกฝายยอมรับวากลุมประเทศแนวสังคมนิยม เชน จีน อินเดีย รัสเซียจะไมไดรับผลกระทบมากนัก และคาดการณเศรษฐกิจโลกป 2545 จะมีการเติบโตไมเกิน 1% เลวรายที่สุดในรอบ 20 ป

สถานการณเศรษฐกิจในประเทศไทยรอบสามเดือนสุดทายป 2544 เกือบทุกสํ านักคาดการณอัตราการขยายตัวเศรษฐกิจปหนาไมเกิน 3% โดยการคาดการณของหนวยงานภาครัฐวาอยูในอัตราระหวาง 1-3% นายกรัฐมนตรีไทยกลาวอยางมั่นใจขณะพบปะนักธุรกิจชั้นนํ าที่นิวยอรกเมื่อกลางเดือน ธ.ค. นี้วา เศรษฐกิจไทยจะโตไดถึง 3% แนนอน ศูนยวิจัยกสิกรไทย คาดการณวา หากทุกอยางเปนไปตามนโยบายที่รัฐตั้งไว และภาวะเศรษฐกิจของประเทศคูคาสํ าคัญคือ สหรัฐ และญี่ปุน สามารถฟนตัวไดในครึ่งหลังของปหนา เศรษฐกิจไทยก็อาจสามารถขยายตัวไดถึง 2.8% แตสํ านักวิเคราะหภาคเอกชนสวนใหญคาดการณอัตราการขยายตัวประมาณ 1-2% เปนสวนใหญ

ในดานความพยายามปูรากฐานและฟนฟูบูรณะเศรษฐกิจของภาครัฐในชวงนี้ เปนความพยายามที่จะขมวดการทํ างานใหเขาแนวทางที่วางเอาไวในแตละจุดตั้งแตตนป ใหมีผลออกมาใหเห็นในชวงสิ้นป ไมวาจะเปนเรื่องของบรรษัทบริหารสินทรัพยไทย (บสท.) ที่สามารถโอนสินทรัพยดอยคุณภาพทั้งจากสถาบันการเงินภาคเอกชนและภาครัฐไปไดเกือบ 5 พันราย เปนมูลคาสินทรัพยเกือบ 7 แสนลานบาท สวนใหญเปนจากสถาบันการเงินภาครัฐ ซึ่งรับโอนไปในราคาที่ถูกมากไมถึง 30% ของมูลคาทรัพยสินตามบัญชี นอกจากนั้นก็ในเรื่องของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจนํ าเขาซื้อขายในตลาดหลักทรัพย ทํ าสํ าเร็จ 2 ราย คือ ปตท. กับ INET สงผลใหยอดการซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยเดือน พ.ย.

Page 4: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

147

2544 สูงขึ้นจากเดือน ต.ค. ถึง 77.31% และดัชนีตลาดหลักทรัพยเงยหัวขึ้นทะลุผานแนว 300 จุดขึ้นมาไดอีกครั้ง สรางความคึกคักใหตลาดหลักทรัพยชวงกอนส้ินป นอกเหนือจากการพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑการดํ าเนินการเรื่องอื่นๆ ในตลาด เชนการนํ าชวงราคาหุน หรือสเปรดใหมมาใชเพื่อขจัดบรรดานักเก็งกํ าไรในตลาดหุน ซึ่งตองรอดูผลตอไปในป 2545 อยางไรก็ตาม สํ าหรับการทํ านายดัชนีตลาดในปหนา ฝายบริหารของตลาดฯ และภาครัฐ มีความมั่นใจมากวา ดวยสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจภายในประเทศที่ดีหลายประการ บวกกับคาดการณแนวโนมเศรษฐกิจสหรัฐวาจะฟนตัวไดในครึ่งหลังของป จะทํ าใหดัชนีหุนไทยในปหนาสามารถโลดขึ้นเหนือระดับ 500 จุดแนนอน ขณะที่ภาคเอกชนอื่นๆ เกือบไมมีใครกลาทํ านายไปถึงระดับนั้น

นอกจากนั้น ยังมีความเคลื่อนไหวของรัฐเพื่อสรางรายไดหาเม็ดเงินเขาระบบจากหลายทาง เชน ดํ าเนินการกระตุนธุรกิจอสังหาริมทรัพยอยางเอาจริงเอาจังอีกครั้ง อาทิ โดยการอนุมัติมาตรการภาษี ลดคาธรรมเนียมการโอนที่ดินจาก 1% เหลือเพียง 0.01% ยอมสูญเสียรายไดถึง 2,230 ลานบาท เพื่อไดเม็ดเงินมากกวานั้นในอนาคต เปนตน นายกรัฐมนตรีและคณะเดินทางไปเยือนสหรัฐอเมริกาอยางเปนทางการ ตั้งเปาอยางนอยใหไดจับเขาพูดคุยกับ "เพื่อนเกา"(ประธานาธิบดีจอรจ ดับเบิลยู. บุช) และบรรดานักธุรกิจชั้นนํ า ณ ศูนยกลางแหงระบบทุนนิยมโลก -มหานครนิวยอรกเพื่อใหเขาใจและเห็นดีเห็นงามกับแนวคิดอุดมการการพัฒนา "เศรษฐกิจแบบทักษิณ" วาโดยมิติสวนบนนั้น ยังอยูในแนวคิดแบบทุนนิยม และจะเปนประโยชนตอทุกฝายอยางแทจริง อีกทั้งเศรษฐกิจในประเทศไทยนั้นปหนาจะขยายตัวนาดูเพียงใด นอกจากนั้นก็มีความเคลื่อนไหวผลักดันการกอสรางโครงการใหญๆ อาทิ โครงการสนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่งคืบหนาไปคอนขางชาเนื่องจากมีผลประโยชนแอบแฝงมหาศาล และในชวงปลายเดือน ธ.ค. ยังมีการหยิบเอาโครงการขุดคลองกระขึ้นมาพิจารณาผลักดันอีกครั้ง

ที่นาสนใจติดตาม คือความเคลื่อนไหวทางดานธนาคารและสถาบันการเงิน ขณะที่ธนาคารพาณิชยของเอกชนยังกระอักอยูกับปญหาสภาพคลองลนระบบ ปลอยสินเชื่อไมเขาเปาและคาดแนวโนมสินเชื่อปหนาปลอยไดนอยมากนั้นมีความเคลื่อนไหวในทิศทางตรงกันขามในกลุมธนาคารพาณิชยภาครัฐ เชนธนาคารออมสินประสบความสํ าเร็จในการปลอยสินเชื่อรายยอยจนมีกํ าไร เตรียมขยายวงเงินปลอยกูในโครงการธนาคารคนจนจากเดิมรายละ 10,000 บาท เปน30,000 บาท แลว เนื่องจากพบวาคนจนไมเบี้ยวหนี้ นอกจากนั้น ธนาคารออมสิน และธนาคารกรุงไทยยังเตรียมจัดตั้งธนาคารอิสลาม เพื่อเปดบริการใหแกพี่นองชาวมุสลิมที่มีหลักคํ าสอนทางศาสนาในเรื่องเกี่ยวกับดอกเบี้ยที่แตกตางออกไปอีกดวย อยางไรก็ตาม ในกรณีพิพาทระหวาง ธปท. กับวุฒิสภาในเรื่อง พ.ร.บ. ธุรกิจสถาบันการเงินที่มีบางมาตราใหกํ าหนดผลตางอัตราดอกเบี้ยเงินกู-ฝาก ไมใหเกิน 5% หากผิดนัดใหเพิ่มไดอีกไมเกิน 2% นั้น สะทอนใหเห็นถึงความไมพอใจของภาคราชการที่มีตอกลุมทุนภาคเอกชนที่ถูกมองวาเห็นแกไดและแสวงหาแตกํ าไรเฉพาะตัว ไมยอมที่จะเสียสละผลประโยชนสวนตัวเพื่อสวนรวมเสียบาง แตจากกลไกที่ซับซอนของระบบที่เรารับเอาของทุนโลกมาใช ทํ าใหเกิดคํ าถามตามมาวา จะลงโทษรายใหญๆ แตความเจ็บแสบกลับตกไปอยูกับรายเล็กๆ อีกตามเคยละหรือ? เรื่องยังไมจบตองติดตามตอไปในปหนา

ความเคลื่อนไหวภาคเศรษฐกิจที่แทจริง ที่รัฐใหความสํ าคัญมาตั้งแตตนก็คือ ภาคการเกษตร โดยเฉพาะเรื่องขาว ไดเห็นความพยายามในการเขาไปจัดการปญหาเรื่องขาว เชน การรับจํ านํ าขาว เพื่อใหผลประโยชนตกอยูในมือของเกษตรกรอยางแทจริง ทํ าใหมีการเลนเอาเถิดซอนหากับการตรวจสตอกขาวหลายยก จากนั้นมีการเตรียมรับมือในเรื่องราคาสินคาเกษตร ซึ่งคาดวาในปหนาอาจจะมีราคาตกตํ่ าลงไป รวมทั้งการเตรียมวางแผนโดยใชวงเงินถึงประมาณ 7.4หมื่นลานบาทเพื่อจัดแบงโซนการปลูกพืชเศรษฐกิจตางๆ และที่นาสนใจที่สุดก็คือ การเคลื่อนไหวจัดตั้งสมาคมผูสงออกขาว ประกอบดวยประเทศผูผลิตขาว 6 ชาติ ที่ผลิตขาวรวมกันถึง 70% ของขาวในตลาดโลกทั้งหมด นั่นคือ จีน อินเดียเวียดนาม ปากีสถาน พมา และไทย โดยนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ของไทย เปนผูริเริ่ม

Page 5: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

148

1. สถานการณและคาดการณเศรษฐกิจโลกและภูมิภาคตางๆ1.1 สถานการณเศรษฐกิจโลก1.1.1 ซีเอ็นเอ็นเสนอ 10 ขาวใหญดานเศรษฐกิจในรอบปเมือ่วันที ่17 ธ.ค. 2544 กองบรรณาธิการซีเอ็นเอ็น/ภาคการเงิน ไดจัดทํ ารายงานพิเศษ วิเคราะหเจาะลึก และสรุปเหตุ

การณสํ าคัญทางดานเศรษฐกิจธุรกิจที่เกิดขึ้นในรอบป 2544 ทั้งหมด 10 เหตุการณดวยกัน คือ เร่ืองที่ 1 เหตุการณวินาศกรรมอาคารเวิลดเทรดเซ็นเตอรและตึกเพนตากอนในสหรัฐ เมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2544 เร่ืองที่ 2 การเขาสูภาวะเศรษฐกิจซบเซาอยางเปนทางการของสหรัฐ เร่ืองที่ 3 ปทีภ่าวะตลาดหุนที่เลวรายอยูแลวยิ่งรายมากขึ้น เร่ืองที่ 4 ความลมเหลวของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจดานพลังงานในสหรัฐ เร่ืองที่ 5 ความลมเหลวของการควบรวมกิจการของบริษัทตางๆ เร่ืองที่ 6 ภาวะปนปวนใหญในกิจการดานโทรคมนาคม เร่ืองที่ 7 โลกเขาสูภาวะเศรษฐกิจหลอมละลาย เร่ืองที่ 8 กรณไีมโครซอฟตยังยืดเยื้อตอไป เร่ืองที่ 9 ความปนปวนในอุตสาหกรรมการบิน และเร่ืองที่ 10 การกระตุนการบริโภคและธุรกิจอสังหาริมทรัพย-ความหวังสุดทาย

เรื่องที่ 1 เหตกุารณวินาศกรรมในสหรัฐ ซีเอ็นเอ็นระบุวา เปนเหตุการณที่สงผลสะเทือนอยางกวางขวางตอบริษัทธุรกิจในสหรัฐ ตอนักลงทุนรวมทั้งตอภาวะดานจิตใจของเขาเหลานี้อยางรุนแรง เหตุการณนี้ไดกอความหายนะใหแกเศรษฐกิจที่งอนแงนอยูแลวของสหรัฐ ความสูญเสียทั้งภาคอสังหาริมทรัพย ตํ าแหนงการงาน และรายไดในเดือน ก.ย. เพียงเดือนเดียวรวมประมาณ 60,000 ลานดอลลารสหรัฐ สายการบินตางๆ ไดรองขอความชวยเหลือจากรัฐ 5,000 ลานดอลลารสหรัฐ เพื่อที่จะสามารถดํ าเนินธุรกิจใหตอเนื่องไป ตลาดหุนนิวยอรก ซ่ึงกลับมาเปดทํ าการในวันที่ 17 ก.ย. 2544 ปรากฏวาเมื่อสิ้นสุดสัปดาหนั้นหุนดาวโจนสหายไปเกือบ 1,370 จุด เหลือเพียง 8,235 จุดเปน 5 วันทํ าการที่เลวรายที่สุดสํ าหรับหุนช้ันดีนับต้ังแตเมื่อครั้งเกิดเศรษฐกิจซบเซาครั้งใหญ สวนตลาดหุนไฮเทคแนสแดกส หายไป 220 จุดเหลือ 1,423 จุด ซ่ึงแมหลังจากนั้นทั้งสองตลาดจะพยายามจนฟนตัวขึ้นมาในระดับใกลๆ กอนเกิดเหตุการณ แตก็ไมเคยสูงขึ้นกวาระดับตนป 2000 อีกเลย

เรื่องที่ 2 เศรษฐกิจสหรัฐเขาสูภาวะซบเซาอยางเปนทางการ ไดมีผูพยายามคาดการณวา เศรษฐกิจสหรัฐจะกระเตื้องดีขึ้นในชวงครึ่งหลังของปนี้ แตเหตุการณนั้นก็ไมเปนจริง มีแตปรากฏการณที่ธนาคารกลางของสหรัฐประกาศลดอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นลงถึง 11ครั้งในรอบป จาก 6.5% จนสุดทายเหลือเพียง 1.75% ซ่ึงเปนอัตราที่ต่ํ าสุดในรอบ 40 ป และเปนสถิติการลดดอกเบี้ยที่ถี่ที่สุดที่เคยมีมา นอกจากนั้น ทํ าเนียบขาวที่นํ าโดยรัฐบาลพรรครีพับลิกัน ยังกาวเขามาผานมาตรการกระตุนเศรษฐกิจซ่ึงรวมถึงการลดอัตราการเก็บภาษีเงินไดจากคนอเมริกันมูลคารวมถึง 1.35 ลานลานดอลลารสหรัฐ แตจนแลวจนรอดก็ไมกอใหเกิดผลดังที่ตองการ สถิติคนถูกออกจากงานในเดือนพ.ย. 2544 พุงถึง 1.8 ลานคน และสถาบันวิจัยเศรษฐกิจแหงชาติของสหรัฐก็ออกมาใหขาววา สถาบันเช่ือวาเศรษฐกิจของสหรัฐนั้นไดเขาสูภาวะถดถอยอยางเปนทางการมาตั้งแตเดือน มี.ค. 2544 แลว

เรือ่งที ่3 ภาวะตลาดหุนที่ทรุดหนักลงเรื่อยๆ ต้ังแตวันที่ 1 ม.ค. 2544 จนถึงปจจุบัน ตลาดหุนอุตสาหกรรมดาวโจนสตกลงโดยเฉลี่ยเหลือประมาณ 9,850 จุด จาก 10,787 จุด สวนตลาดแนสแด็กสก็หลนจาก 2,470 เหลือประมาณ 1,990 และตลาดเอส&พี 500 ก็หลนจาก 1,320 เหลือประมาณ 1,158 จุด หุนกลุมพลังงาน กลุมไอที และกลุมสาธารณูปโภค ตกหนักที่สุด เนื่องมาจากราคานํ้ ามันที่พุงสูงขึ้น และการชะลอการใชจายของบริษัทผูประกอบการตางๆ รายงานซีเอ็นเอ็นกลาววา ถาหากถือวาราคาหุนปที่แลวแย ปนี้ยิ่งแยกวา เพราะในป 2001 ราคาหุนตกลงตํ่ าสุดในรอบสามป ตลาดหุนอุตสาหกรรมดาวโจนสนั้นหลังจากตกลง 6.2% ในป 2000 มาในปนี้ตกลงไปอีก9.4% ซ่ึงไมไดเปนไปตามการคาดหมายของนักวิเคราะหที่คิดวาในเมื่อปนี้อัตราดอกเบี้ยลดตํ่ าลง หุนจะตองพุงสูงขึ้น แตปรากฏวาดอกเบี้ยก็ตกตํ่ า หุนก็ตกตํ่ าลงพรอมกันไปดวย แมแตนักยุทธศาสตรช้ันแนวหนาของวอลสตรีท ไมวาจะจากโกลแมนแซคส เลหแมน บราเธอรส เมอรริล ลินช และที่อื่นๆ ตางก็ทํ านายผิดทั้งสิ้น

เรือ่งที ่ 4 ความลมเหลวของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจดานพลังงานในสหรัฐ รายงานกลาววา แผนการหยอนคลายกฎระเบียบและการแปรรูปรัฐวิสาหกิจของสหรัฐ ยังผลใหมลรัฐแคลิฟอรเนีย ซ่ึงเริ่มแปรรูปโดยขายอุตสาหกรรมพลังงานทั้งหมดใหบริษัทเอกชนต้ังแตป ค.ศ. 1996 ตองเผชิญกับภาวะราคาพลังงานพุงสูงขึ้นถึง 7-8 เทาในระยะเวลา 2-3 ป ขณะที่ผูบริโภคตองทนทรมานกับภาวะไฟดับทั่วไปถึง 8 ครั้งในชวงปที่แลวทั้งป ทางดานบริษัทคาพลังงานใหญนอยที่เขามาดํ าเนินธุรกิจ บางทํ าเงินไดเปนกอบเปนกํ าบางก็ลมเหลว โดยเฉพาะในปนี้ บริษัทคาพลังงานยักษใหญสองแหงไดขอใหศาลสั่งลมละลาย สรางความตระหนกตกใจทั่วทั้งวงการ นั่นคือ บริษัทแปซิฟกแกสแอนดอิเล็กทริก และ ลาสุดคือบริษัท เอนรอน ซ่ึงเปนบริษัทคาพลังงานที่ใหญที่สุดและทรงอิทธิพลที่สุดในสหรัฐ และถือเปนการลมละลายของบริษัทที่ใหญที่สุดในประวัติศาสตรสหรัฐเลยทีเดียว

Page 6: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

149

เรือ่งที่ 5 ความลมเหลวของการควบรวมกิจการในสหรัฐ รายงานกลาววาในรอบป 2544 ปริมาณการควบรวมกิจการในสหรัฐตกลงถึง 38% โกลแมน แซคส ช้ีวาความลมเหลวของการเจรจาเพื่อควบรวมกิจการถือเปนเหตุการณธรรมดาที่เกิดขึ้นทั่วไปในชวงป2544 ทั้งนี้เนื่องจากเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่ าและการไมฟนคืนกลับมาของหุนไอที ทํ าใหอัตราความสํ าเร็จของการควบรวมกิจการในป2544 รวงลง 38% และเหตุการณกอวินาศกรรมวันที่ 11 ก.ย. ยิ่งทํ าใหภาวะเลวรายลงไปอีก โดยในปนี้ในสหรัฐมีการควบรวมกิจการทั้งหมดเพียง 6,793 ราย ขณะปที่แลวมีถึง 10,990 ราย ที่สํ าคัญเนื่องจากมูลคาหุนตกลงอยางมาก รายใหญที่เปนขาวเกรียวกราวก็คือ ความลมเหลวของบริษัทเจนเนอรัล อิเล็กทริกที่จะเขาควบรวมกิจการของฮันนีเวลล อินเตอรเนชันแนล ขณะเดียวกัน ฮิวเล็ต แพคการด ก็กํ าลังเผชิญปญหามากมายในความพยายามที่จะเขาควบรวมกิจการของบริษัทคอมแพ็ค คอมพิวเตอร เปนตน

เรือ่งที่ 6 ภาวะปนปวนใหญในกิจการโทรคมนาคม สํ าหรับกิจการในภาคโทรคมนาคม ป 2001 เปนปแหงการสูญเสียและลมละลาย ซ่ึงไมสมควรที่จะเกิดขึ้นอยางยิ่งในสายตาของนักลงทุน หุนในกิจการดานโทรคมนาคมนั้นตรงกันขามกับพวกกลุมอินเทอรเน็ตในแงของความหนักแนนมั่นคงจริงจัง และราคาหุนก็ยังคงสูง แตปรากฏวาบริษัทขายอุปกรณโทรคมนาคมยักษใหญอยางเชนลูเซนต และนอรเทล กลับประสบภาวะขาดทุน ตองลอยแพคนงานจํ านวนมาก เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกตํ่ า ทํ าใหมีสินคาคางสต็อกจํ านวนมาก ขณะเดียวกัน ก็เกิดความสูญเสียในสวนของลูกคาที่ซ้ือสินคาดวยเงินกูยืมโดยไมมีการตรวจสอบขีดความสามารถในการจายเงินคืนอีกดวย ทํ าใหบริษัทแมตองประสบภาวะเงินขาดมืออยางรุนแรง ในป 2544 มีบริษัทธุรกิจโทรคมนาคมจํ านวนมากตองขอคํ าสั่งศาลประกาศลมละลายเชน นอรธพอยต, พีเอสไอเน็ต, เมตริคอม, ริธึมส เน็ตคอนเนคชัน, โควาด, เอกโซดัส เปนตน

เรือ่งที่ 7 โลกเขาสูภาวะเศรษฐกิจหลอมละลาย เมื่อเร็วๆ นี้ องคการ โออีซีดี หรือองคการเพื่อความรวมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ช้ีวาเศรษฐกิจโลกไดกาวเขาสูภาวะซบเซาเปนครั้งแรกในรอบ 20 ป ดวยการหดตัวอยางตอเนื่องของผลผลิตรวมในชวงสองไตรมาสสุดทายของปนี้ และมีความเปนไปไดที่จะออนแอตอไปใน 2 ไตรมาสแรกของป 2002 แมวาเศรษฐกิจทั่วโลกจะจมลงสูภาวะซบเซาอยางรวดเร็วหลังเหตุการณวินาศกรรม 11 ก.ย. แตชาติผูนํ าทางเศรษฐกิจที่สํ าคัญของโลกทั้งสามจุด ไดตกลงสูภาวะดังกลาวกอนหนานั้นแลว กลุมนักเศรษฐศาสตรอิสระกลุมหนึ่งช้ีวาเศรษฐกิจของสหรัฐ ผูนํ าเศรษฐกิจใหญที่สุดของโลก ไดเขาสูภาวะซบเซาอยางเปนทางการตั้งแตเดือน มี.ค. ปนี้แลว สวนญี่ปุน ซ่ึงเปนประเทศเศรษฐกิจสํ าคัญอันดับสองรองจากสหรัฐ ไดประสบภาวะจีดีพีหดตัวอยางรุนแรงตอเนื่องระหวางเดือนเม.ย. และ ก.ย. ปนี้ ขณะที่ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจใน 12 ประเทศเขตยูโร ตกสูภาวะวิกฤติในชวงไตรมาสที่สองและที่สามตอเนื่องกัน และยังไมมีทีทาวาจะฟนคืนกลับมาในเร็วๆ นี้แตอยางใด นักเศรษฐศาสตรช้ีวา เศรษฐกิจโลกจะยังคงออนแอตอเนื่องตอไปจนตลอดป 2002 แลวจึงคอยกระเตื้องขึ้นในป 2003 และช้ีดวยวา นับแตนี้ตอไปจะไมมีปญหาใดที่เล็กเกินไปจนไมจํ าเปนตองสนใจอีกแลว

เรือ่งที่ 8 กรณีไมโครซอฟตจะยังยืดเยื้อตอไป กรณีไมโครซอฟตซ่ึงไดถูกนํ าขึ้นศาลโดยก.ยุติธรรมดวยความรวมมือจากอีก19 มลรัฐเมื่อป 1997 และในป 2000 ถูกศาลชั้นตนตัดสินวามีความผิด และถูกสั่งใหแตกบริษัทเปนบริษัทยอย แตปรากฏวาในชวงฤดูรอนปนี้ ศาลอุทธรณก็ทํ าการตัดสินโดยยืนคํ าตัดสินในเรื่องความผิดในการผูกขาด แตไดกลับคํ าสั่งเรื่องการแตกบริษัท ปรากฏวาระหวางที่ศาลอทุธรณสงเรื่องกลับมายังศาลชั้นตนและขอใหเปลี่ยนเปนการลงโทษอยางอื่นนั้น ก็มีการพยายามใหกระทรวงยุติธรรมหาทางประนีประนอมกับไมโครซอฟตจนสํ าเร็จ แตทวารัฐที่เขารวมกับกระทรวงยุติธรรมในการสงฟองบางรัฐไมเห็นดวยกับการประนีประนอม และดํ าเนินเรื่องตอไป ขณะเดียวกัน มีรายงานขาววา เมื่อประมาณเดือน ส.ค. ที่ผานมา มีการเคลื่อนไหวตรวจสอบพฤติกรรมของบริษัทไมโครซอฟตในทํ านองเดียวกันในยุโรปอีกดวย ดังนั้น กรณีของไมโครซอฟตยังไมมีทีทาวาจะจบลงไดงายๆ แนนอน

เรือ่งที่ 9 ความปนปวนในอุตสาหกรรมการบินในสหรัฐ รายงานกลาววา มีการคาดการณวา ผลประกอบการในอุตสาหกรรมการบินในป 2001 นั้น จะขาดทุนระหวาง 3 พันลาน ถึง 3.5 พันลานดอลลารสหรัฐ ต้ังแตกอนเหตุการณวินาศกรรมในสหรัฐแลว ตัวเลขผลขาดทุนทั้งสิ้นในไตรมาสที่ 3 เทากับ 2.4 พันลานดอลลารสหรัฐ แมวารัฐบาลกลางใหเงินอุดหนุน 2.4 พันลานดอลลารสหรัฐหลังจากเหตุวินาศกรรมเพียง 20 วัน ตัวเลขคาดการณในไตรมาสที่ 4 คือทุกสายการบินจะขาดทุนมากกวาไตรมาสที่ผานมา และรวมทั้งปแลวตัวเลขขาดทุนจะสูงถึงประมาณ 10,000 ลานดอลลารสหรัฐ โดยไมนับเงินอุดหนุนที่รัฐบาลใหความชวยเหลือเขามา

เรือ่งที ่ 10 การกระตุนการบริโภคและธุรกิจอสังหาริมทรัพย-ความหวังสุดทาย นักวิเคราะหตลาดคาปลีกบางคนกลาววา"ถาหากทางการสหรัฐสามารถจับตัว โอซามะ บิน ลาดินไดในวันพรุงนี้ ในชวงวันหยุดสุดสัปดาหนี้ของคงขายดีเปนเทนํ้ าเททาแนนอน"เศรษฐกิจสหรัฐจะฟนหรือไม ก็ฝากความหวังไวที่การใชจายของผูบริโภค ซ่ึงจากรายงานจนถึงวันที่ 16 ธ.ค. 2544 การคาปลีกในวันหยุดสุดสัปดาหตามหางใหญๆ ยังต่ํ ากวาชวงเวลาเดียวกันของปกอน 3% ผลการสํ ารวจของอเมริกันเอกเพรสวาปนี้ ผูบริโภคจะใชจายในการซื้อขาวของนอยกวาปที่แลวประมาณ 7%

Page 7: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

150

1.1.2 การประเมินผลกระทบตอเศรษฐกิจโลกและภูมิภาคตางๆ จากเหตุวินาศกรรมในสหรัฐ- หลายองคกรประเมินผลกระทบเหตุวินาศกรรมตอเศรษฐกิจโลกรายแรงจากเหตุการณการกอวินาศกรรมจี้เครื่องบิน 4 ลํ า บินเขาชนอาคารเวิลดเทรด เซ็นเตอร ในมหานครนิวยอรก และตึกเพนตากอน

หรือกระทรวงกลาโหมสหรัฐ ในกรุงวอชิงตัน ดีซี จนไดรับความเสียหายอาคารถลมและมีผูบาดเจ็บลมตายนับจํ านวนไมถวน โดยเหตุการณเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2544 ในชวงเดือน ต.ค. 2544 ไดมีองคกรและหนวยงานที่นาเช่ือถือตางๆ ออกมาเผยแพรการประเมินผลกระทบของเหตุการณที่มีตอภาวะเศรษฐกิจโลก เชน องคการเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา หรือโออีซีดี ระบุวา กิจกรรมทางเศรษฐกิจในชวงไตรมาส 3 ของปนี้จะไดรับผลสะเทือนโดยตรงจากเหตุการณ และอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของสหรัฐในชวง 6 เดือนหลังของปนี้จะติดลบ ซ่ึงหมายถึงสัญญาณของการถดถอย ขณะที่ธนาคารโลก ก็ออกมาประเมินผลกระทบและปรับลดตัวเลขคาดการณอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของกลุมประเทศพัฒนาแลววาปนี้จะลดลงมาอยูที่ 0.9% จากที่เคยคาดไวที่ 1.1% และปหนาจะลดลงจาก2.2% เหลือ 1-1.5% สวนประเทศกํ าลังพัฒนานั้น ปนี้อัตราการเติบโตจะลดลงมาอยูที่ 2.8% จาก 2.9% และปหนาจาก 4.3% เหลือ 3.5-3.8% (ผูจัดการ 031044) สวนองคการการคาโลก หรือดับเบิลยูทีโอ เมื่อวันที่ 25 ต.ค. 2544 ก็ไดเปดเผยรายงานผลการศึกษาวิเคราะหภาวะการคาของโลกในป 2544 วาจะไดรับผลกระทบอยางหนักจากกรณีการกอวินาศกรรมในสหรัฐ จนทํ าใหปริมาณการคาเฉพาะสินคาอุปโภคตางๆ ที่เคยคาดวาจะโตได 7% นั้นตองลดลงเหลือเพียง 2% เทานั้น และวาภูมิภาคที่เกิดการชะลอตัวของการเติบโตทางการคามากที่สุดคือเอเชีย ยกเวนจีน (มติชน 261044) องคการแรงงานสากล หรือ ไอแอลโอ ระบุวาสถานการณวินาศกรรมในสหรัฐ ไดสงผลใหสายการบินทั่วโลกกวา 2 แสนคนจากจํ านวนทั้งหมด 4 ลานคน ตองตกงาน อุตสาหกรรมการบินจะตองใชเวลาหลายปกวาจะฟนคืนกลับสูสภาพเดิม (สยามรัฐ 011144) องคการการเงินระหวางประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟ ออกแถลงการณเมื่อวันที่ 17 พ.ย. 2544 ยอมรับวาเศรษฐกิจของหลายประเทศยํ่ าแยกวาที่ประเมินไวกอนที่จะเกิดเหตุการณวินาศกรรมในสหรัฐ และช้ีวา ในความเปนจริงนั้น เศรษฐกิจโลกตกอยูในภาวะยํ่ าแยต้ังแตกอนที่จะเกิดเหตุการณรายแรงดังกลาวแลว และหลังจากเหตุการณ ความเชื่อมั่นของผูบริโภคและนักธุรกิจไดออนตัวลงอยางมากในทุกๆ ประเทศทั่วโลก (กรุงเทพธุรกิจ 17-191144) องคการสหประชาชาติ หรือ ยูเอ็น โดยนายเอียน คินนิเบิรก นักวิเคราะหนโยบายเศรษฐศาสตรของยูเอ็น กลาววา เหตุการณกอการรายที่มหานครนิวยอรก ไดสงคลื่นแรงสั่นสะเทือนทางเศรษฐกิจ ทํ าใหการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกทวีความรุนแรงและรวดเร็วมากขึ้น และวากลุมประเทศกํ าลังพัฒนาจะไดรับผลกระทบมากที่สุด (กรุงเทพธุรกิจ 121044)

-- หลายฝายประเมินผลกระทบเหตุวินาศกรรมตอเศรษฐกิจของประเทศตางๆเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2544 นายอลัน กรีนสแปน ประธานธนาคารกลางสหรัฐ หรือ เฟด ระบุในคํ าแถลงตอรัฐสภาวา ผลกระทบทาง

เศรษฐกิจจากเหตุการณวินาศกรรมในสหรัฐเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2544 นั้น "แรงเกินคาด" "มากเกินหยั่งถึง ไมมีใครสามารถวัดผลกระทบไดทั้งหมด" (กรุงเทพธุรกิจ 181044) กอนหนานายกรีนสแปนแถลงตอรัฐสภานั้น เมื่อวันที่ 3 ต.ค. 2544 นายพอล โอนีล รมต.คลังสหรัฐ กลาวในการแถลงตอคณะกรรมาธิการการเงินของวุฒิสภาสหรัฐ ยอมรับเปนครั้งแรกวา เศรษฐกิจทั่วโลกเผชิญกับภาวะถดถอย และเปนไปไดที่อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ติดลบ 2 ไตรมาสติดตอกันคือไตรมาส 3 และ 4 ในป 2544 และอาจจะถึงไตรมาสแรกของป 2545 ดวย (กรุงเทพธุรกิจ 051044) สํ านักขาวดาวโจนส และรอยเตอร สํ ารวจภาวะเศรษฐกิจเอเชียภายหลังเหตุการณกอวินาศกรรมในสหรัฐ พบวาเหตุการณดังกลาวไดเร่ิมสงผลกระทบรายแรงตอภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกแลว สํ านักขาวดาวโจนส วันที่ 1 ต.ค. 2544 อางรายงานของบริษัทเมอรริลลินชในญี่ปุน ระบุวา ญี่ปุนกํ าลังตกอยูในภาวะถดถอยที่ลึกและขยายวงกวาง จากโรงงานอุตสาหกรรม ไปจนถึงผูใหบริการและบริษัททุกขนาด (กรุงเทพธุรกิจ 021044) สวนรายงานจากสํ านักขาวรอยเตอร วันที่ 10 ต.ค. 2544 กลาววา รัฐบาลเกาหลีใตไดปรับลดตัวเลขคาดการณขยายตัวของจีดีพีมาอยูที่ระดับ 2-3% เทียบกับระดับ 8.8% เมื่อปกอน สวนไตหวัน ยอดการสงออกประจํ าป 2544 ลดลงถึง 20% มองไมเห็นลูทางการฟนตัวจนถึงไตรมาส 3 ของป 2545 ฟลิปปนสตัวเลขการสงออกลดตํ่ าสุดในรอบ 21 ป รัฐบาลประกาศปรับลดตัวเลขคาดการณสงออกอยูที่ระดับ 0% ดานมาเลเซีย รัฐบาลคาดการณวายอดสงออกไปสหรัฐลดลง 4% หลังเหตุการณกอการรายในสหรัฐ (กรุงเทพธุรกิจ 111044) เมื่อวันที่ 10 ต.ค. 2544 รมต.การคาของสิงคโปร ระบุตัวเลขคาดการณเศรษฐกิจไตรมาส 3 ติดลบสูงสุดถึง -5.6% ตลอดทั้งปมีแนวโนมหดตัว 3% จากเดิมที่คาดไววาจะอยูที่ 0.5-1.5% (ผูจัดการ 111044)

รายงานขาวเมื่อวันที่ 10 ต.ค. 2544 ระบุวาไดมีการประเมินผลกระทบ 1 เดือนหลังจากเหตุการณวินาศกรรมตอเศรษฐกิจในสหรัฐวา ไดสงผลลุกลามไปยังธุรกิจตาง ๆ เกือบทั่วทุกภาคของสหรัฐ ความเสียหายเฉพาะในปนี้ประเมินวาเทากับประมาณ 100,000 ลานดอลลารสหรัฐ และบรรดานักเศรษฐศาสตรคาดหมายตัวเลขผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศจะหดตัวลงเกือบ 1% แทนที่จะขยายตัวขึ้นกวา 1% ดังที่เคยคาดการณไวเดิม ธุรกิจที่ไดรับผลกระทบรุนแรงที่สุดจากเหตุการณนี้คือ ธุรกิจสายการบิน รวมทั้งบริษัทผลิตเครื่องบินยักษใหญ ที่ตองปรับลดพนักงานนับหมื่นๆ คน นอกจากนั้น ยังมีรายงานประเมินผลกระทบตอตลาดหุนในเอเชียในรอบ 1 เดือนหลังเหตุการณวา ตลาดหุนเอเชียอยูในภาวะขาลงเกือบทุกแหง โดยตลาดมะนิลา ฟลิปปนส และจาการตา อินโดนีเซีย ไดรับผลกระทบรุนแรงที่สุด โดยตก

Page 8: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

151

ไปถึง 23.58% และ 16.64% ตามลํ าดับ สวนตลาดไทเป สิงคโปร และโซล ตกไป 15.62%, 12.38% และ 8.58% ตามลํ าดับ สวนตลาดฮองกง และออสเตรเลีย ไดรับผลกระทบนอยเนื่องจาก ฮองกงไดรับการคุมครองจากเศรษฐกิจจีน และออสเตรเลียถูกมองวาเปนแหลงพึ่งพิงที่ปลอดภัย (กรุงเทพธุรกิจ 121044)

อนึ่ง รายงานการศึกษาผลกระทบโดยตรงตอเมืองใหญๆ ในสหรัฐ จากการโจมตีของผูกอการราย จัดทํ าโดย สถาบันมิลเคน ฉบับลาสุด ระบุวา ผลกระทบโดยตรงโดยรวมตอหัวเมืองใหญๆ ในสหรัฐในปนี้และปหนา โดยในปนี้ทํ าใหคนตกงานโดยรวมประมาณ 1.64 ลานคน สวนใหญเปนเมืองที่เปนสถานที่ทองเที่ยว เชน ลาสเวกัส, เรโน, เมืองในแอตแลนติก เชน ออรลันโด และ โฮโนลูลู และคาดวา ลาสเวกัสจะมีคนตกงานมากถึงเกือบ 5% แมไมมีเหตุการณวินาศกรรม เมืองที่มาอันดับสองที่มีคนตกงานมากคือ ไมรเทิล บีช เอส ซี วางงาน 3.6%อันดับที่ 3 คือ มหานครนิวยอรก วางงาน 3.42% และอีก 10 อันดับถัดมาจะมีคนตกงานระหวาง 3.15% ถึง 2.45% รายงานยังระบุวา มหานครนิวยอรก จะเปนเมืองที่มีคนตกงานมากที่สุดในป 2545 คือเกือบ 150,000 คน อันดับตอมาคือ ลอส แองเจลีส ตกงาน 69,000 คน ชิคาโก 68,000 คน และอีก 10 อันดับถัดลงมา วางงานระหวาง 40,770 คน ที่ลาส เวกัส ถึง 29,000 คนที่เมืองดัลลัส รายงานกลาวดวยวา เมืองที่ไดรับผลกระทบรุนแรงที่สุด คือมหานครนิวยอรก นั้น อาจตองเผชิญปญหาสูญเสียตํ าแหนงงานตอเนื่องไปจนถึงป 2547 นอกจากนั้น เมืองที่ขึ้นอยูกับอุตสาหกรรมที่ถูกกระทบจากเหตุการณมาก ก็ประสบเคราะหกรรมมาก เชน เมืองที่ต้ังอุตสาหกรรมการบิน เชน ซีแอตเติล และวิชิตา เมืองที่มีทาอากาศยาน เชน ฟอรต เวิรธ เซ็นตหลุยส และแอตแลนตา รวมทั้งเมืองที่เปนศูนยกลางอุตสาหกรรมการเงินเชน นิวยอรก ชิคาโก และ ซานฟรานซิสโก เปนตน (เว็บไซต สถาบันมิลเคน 110145)

1.1.3 การคาดแนวโนมภาวะเศรษฐกิจโลกในรอบระยะการรายงานชวง 3 เดือนสุดทายของป 2544 หลายสถาบันและองคกรตางๆ ออกมาคาดการณภาวะเศรษฐกิจโลกไป

ในทิศทางราย เชน บริษัทเจ.พี.มอรแกน เชส คาดการณวาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของโลกในปนี้และปหนาจะอยูระดับไมเกิน 1% ซ่ึงเลวรายที่สุดในรอบ 20 ป โดยรายงานระบุวา นอกเหนือจากกลุมประเทศแนวสังคมนิยมที่ยังยึดนโยบายปกปองตลาด และตอตานการทุมเขาตลาดโลกเต็มตัวอยางเชน จีน อินเดีย รัสเซีย และยุโรปตะวันออก ซ่ึงดูเหมือนจะไมไดรับผลกระทบมากนักแลว นอกนั้นลวนตองเผชิญกับปญหายุงยากมากมาย เชน การผลิตภาคอุตสาหกรรมลดลง อัตราการวางงานสูงขึ้น ราคาและกํ าไรจากการคาหลักทรัพยทรุดตัว รวมทั้งปริมาณการคาและการลงทุนขามประเทศลดฮวบลง ภาครัฐก็จะเผชิญกับปญหาการเก็บภาษีไดต่ํ ากวาเปาหมาย หนี้สาธารณะเพิ่มพูนขึ้นสงผลใหตองลดคาใชจาย โดยการปลดพนักงานและลดสวัสดิการสังคมลง เจ.พี.มอรแกนฯ ยังระบุดวยวา อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกลุมประเทศอุตสาหกรรมเชน สหรัฐ แคนาดา ญี่ปุน และยุโรป จะหดตัวลง และคาดวา ญี่ปุน สิงคโปร มาเลเซีย ไทย และไตหวัน จะเขาสูภาวะถดถอยในไตรมาส 4 ป 2544 รวมทั้งเกาหลีใตและฮองกง ก็จะถดถอยติดขอบเชนกันหากไมมีสหรัฐ-ญี่ปุนชวยพยุงไว และในอนาคตประเทศเหลานี้อาจเผชิญปญหาเศรษฐกิจตกตํ่ ายาวนานกวาวิกฤติเอเชียครั้งแรกเมื่อ 3 ปกอน และเชื่อวาเศรษฐกิจของญี่ปุน มาเลเซีย และสิงคโปรจะติดลบไปจนถึงครึ่งปแรกของป 2545 (กรุงเทพธุรกิจ 061144, มติชน 101144)

อนึ่ง บริษัทมอรแกน สแตนเลย รวมทั้ง รายงานของโออีซีดี ก็มองภาวะเศรษฐกิจโนมไปในทางเดียวกัน โดยมอรแกน สแตนเลยระบุวา เศรษฐกิจโลกกํ าลังตกอยูในภาวะเสี่ยงตอการถดถอยครั้งใหญ เนื่องดวยเหตุการณรายสองเรื่อง คือ 1. ภาวะความตองการสินคาเทคโนโลยีสารสนเทศทรุดหนัก และ 2. เหตุวินาศกรรมครั้งประวัติศาสตรในสหรัฐ ที่ทํ าใหผูบริโภคอเมริกันช็อก ขาดความเชื่อมั่น และลดกิจกรรมทางธุรกิจลง สวนโออีซีดี ระบุวา ในครึ่งแรกของป 2545 จีดีพีสหรัฐจะติดลบ 0.1% กอนจะฟนตัวมาที่ 3.8% ในครึ่งหลัง ซ่ึงสอดคลองกับรายงานคาดการณของ ไอเอ็มเอฟ ซ่ึงเผยแพรไปกอนหนาแลว นอกจากนั้น โออีซีดี ยังไดคาดการณแนวโนมเศรษฐกิจของยูโรโซน วาในป2544 จะโต 1.6% สวนป 2545 และ 2546 จะโตในอัตรา 1.4% และ 3.0% ตามลํ าดับ สวนแนวโนมเศรษฐกิจของญี่ปุน โออีซีดี คาดหมายวาจะหดตัว 0.7% ในปนี้ และหดตัวถึง 1.0% ในป 2545 หลังจากนั้นจะฟนตัวในอัตรา 0.8% ในป 2546 (ผูจัดการ 211144) กอนหนานี้ องคการสหประชาชาติ หรือยูเอ็น ระบุในรายงานประเมินแนวโนมเศรษฐกิจโลก ที่ตีพิมพเผยแพรเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 2544 วา ในปนี้เศรษฐกิจโลกนาจะขยายตัวที่ระดับ 1.4% ซ่ึงถือวาต่ํ าสุดในรอบ 10 ป (กรุงเทพธุรกิจ 121044)

ดร.ศุภชัย พาณิชภักด์ิ วาที่ผูอํ านวยการองคการการคาโลก หรือดับบิลวทีโอ และอดีตรองนายกรัฐมนตรีฝายเศรษฐกิจของไทยใหสัมภาษณในการเขารวมงานสัมมนาทางเศรษฐกิจระดับประเทศที่กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย เมื่อวันที่ 6 พ.ย. 2544 กลาวยอมรับวา แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2545 เขาขั้นถดถอย โดยระบุวา "สินคาเกี่ยวกับเทคโนโลยีขอมูลขาวสารที่มีอยูในสต็อก ไมมีแนวโนมลดลงจนกวาจะถึงไตรมาสสุดทายของปหนา" และวาหลายประเทศไดปรับลดคาดการณการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ป 2545 ดร.ศุภชัย ยังกลาวถึงเอเชียวา ยังดํ าเนินการเรื่องปฏิรูปไมมากพอ ตองใชเวลาเพื่อแกปญหาหนี้ไมกอใหเกิดรายไดจํ านวนมหาศาลเปนเวลานาน รัฐบาลชาติตางๆในเอเชียไดเขาแบกรับหนี้ภาคเอกชนจํ านวนมาก และตอนนี้ตองรอบคอบในการทํ าใหหนี้เหลานี้ลดลง นอกจากนี้ ยังกลาวเพิ่มเติมวา ยุโรป

Page 9: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

152

จะไมสามารถชวยเหลือใหโลกฟนตัวไดมากนัก เปนผลจากความตึงตัวทางการเงิน โดยเฉพาะผลกระทบในแงเสถียรภาพซ่ึงจํ าเปน ประเทศตาง ๆ ในสหภาพยุโรปจะคงงบประมาณขาดดุลไวในระดับไมเกิน 3% ของจีดีพี (กรุงเทพธุรกิจ 071144)

1.2 ความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจในภูมิภาคและประเทศตางๆ1.2.1 ความเคลื่อนไหวเศรษฐกิจในสหรัฐในชวงระหวางเดือน ต.ค. - ธ.ค. 2544 ในสหรัฐ มีการเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจที่นาจับตาสํ าคัญๆ หลายเรื่อง ทั้งการเคลื่อนไหว

ในภาคธุรกิจเอกชน และภาครัฐ ในทามกลางสถานการณทางเศรษฐกิจที่เลวรายลงเรื่อย ๆ- การวิเคราะหสถานการณเศรษฐกิจของสหรัฐจากสถาบันและนักเศรษฐศาสตรตางๆ ผลออกมาทํ านองเดียวกัน เชน ความ

เห็นของนักเศรษฐศาสตร 47 ราย จากผลการสํ ารวจของ ยูเอสเอทูเดย สื่อสิ่งพิมพช้ันนํ าของสหรัฐระหวาง 25-30 ต.ค. 2544 สรุปวา พวกเขามองสถานการณเศรษฐกิจของสหรัฐจากนี้ไปจะยิ่งเลวรายลงเรื่อยๆ และจะเริ่มฟนตัวในปลายเดือน มี.ค. 2545 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจจะมีอัตราเทากับ 1.5% ในไตรมาสสุดทายของปนี้ คิดเปนอัตราลดลง 4 เทาเทียบกับการขยายตัวลดลง 0.4% ในไตรมาส 3 ปเดียวกัน เทากับอัตราการขยายตัวของจีดีพี ลดลงติดตอกัน 2 ไตรมาส เขาขั้นถดถอย และทั้งปเทากับมีการขยายตัวเทากับ 0% ผลสํ ารวจยังคาดการณวา ในป 2545 อัตราการขยายตัวของจีดีพีจะเทากับ 3.5% ในไตรมาส 3 และขยายตัว 3.6% ในไตรมาส 4 รวมทั้งป 2545 จะขยายตัวเทากับ 2.4% อนึ่ง ในชวงเวลาเดียวกันนี้ มีรายงานการสํ ารวจออกมาวา ความเชื่อมั่นของผูบริโภคอเมริกันตกตํ่ าที่สุดในรอบ 7 ปและการใชจายของผูบริโภคตกลงทามกลางความตื่นกลัวจากเหตุวินาศกรรมเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2544 กอนหนานี้เล็กนอย ก.แรงงานสหรัฐรายงานตัวเลขผูวางงานรุนแรงที่สุดในรอบ 21 ป โดยมีอัตราเพิ่มขึ้น 0.5% อยูที่ระดับ 5.4% (กรุงเทพธุรกิจ 071144)

- ความเคลื่อนไหวภาคธุรกิจเอกชนที่เปนขาวครึกโครมคือ กรณีวิกฤติเอนรอนคอรป บริษัทยักษใหญดานพลังงานของสหรัฐที่ตองประกาศขออํ านาจศาลพิทักษทรัพยภายใตกฎหมายลมละลายมาตราที่ 11 ภายหลังจากที่บริษัทไดเนอจี ซ่ึงเปนบริษัทคูแขงและกอนหนานี้กํ าลังเตรียมจะควบรวมกิจการเขาดวยกันภายใตขอตกลงที่มีมูลคาสูงถึง 9,300 ลานดอลลารสหรัฐ แตกลับประกาศถอนขอตกลงเมื่อวันที่ 28 พ.ย. 2544 ดวยเหตุผลวาเอนรอนละเมิดขอตกลงในการเขาถือครองกิจการที่ลงนามกันไว โดยไมนํ าเสนอขอมูลประกอบการพิจารณาซื้อกิจการอยางตรงไปตรงมา และจากการที่ทางบริษัทเผยตัวเลขผลประกอบการไตรมาส 3-2001 วาขาดทุนถึง 638 ลานดอลลารสหรัฐ ทั้งๆ ที่เมื่อปที่แลวมีตัวเลขวาทํ ากํ าไรไดมากกวา 1,000 ลานดอลลารสหรัฐ ซ่ึงทางเอนรอนก็ออกมายอมรับวา ยอดกํ าไรนั้นเกิดจากการซุกซอนผลขาดทุนเปนจํ านวนเงินมหาศาลเอาไว ไดเนอจีระบุวา หายนะทางการเงินของเอนรอนทั้งหมดนั้น ไดถูกซุกซอนเอาไวนานเกินกวาที่จะรับได รายงานขาวกลาววา วิกฤติการณทางการเงินครั้งรุนแรงของเอนรอน ไดจุดชนวนความวิตกลุกลามไปทั่วเอเชีย รวมทั้งสรางความเสียหายใหแกการลงทุนในญี่ปุน บอนทํ าลายธุรกิจตาง ๆ ในเกาหลีใต และออสเตรเลียอยางรุนแรง บรรดานักกฎหมาย มองวาภาวะลมละลายของเอนรอนถือเปน 1 ในวิกฤติที่รุนแรงที่สุด และเปนการลมละลายที่ซับซอนที่สุดเทาที่เคยมีมา เพราะวาครั้งหนึ่งเอนรอนเคยเปนเจาของธุรกิจที่เฟองฟู ซ่ึงไดรวมเอาธุรกิจพลังงานทั่วโลกเขากับธุรกิจคาเงินจํ านวนมหาศาล ครอบคลุมถึงสัญญาขอตกลงอันซับซอนที่มีมูลคาหลายหมื่นลานดอลลารสหรัฐ นอกจากนั้น กลุมธนาคารในเอเชีย อาจตองประสบภาวะขาดทุนจํ านวนหลายพันลานดอลลารสหรัฐหากเอนรอนตองลมสลายลง โดยเฉพาะกลุมธนาคารของอินเดีย ที่ใหกูหลายพันลานดอลลารสหรัฐแกโรงงานพลังงานดับโฮลที่เอนรอนถือหุนอยูรวมทั้งบรรดาผูใหกูของอินเดียที่ไดปลอยกูหรือค้ํ าประกันเงินกูแกดับโฮลเปนจํ านวนทั้งหมดถึง 1,400 ลานดอลลารสหรัฐ (กรุงเทพธุรกิจ011244)

หนังสือพิมพวอลลสตรีท เจอรนัล วันที่ 3 ธ.ค. 2544 รายงานวา บรรดาลูกคาในภาคอุตสาหกรรมและการคาของเอนรอน คอรปรวมถึงผูประกอบการรายใหญๆ บริษัทไฮเทคโนโลยี และเครือขายโรงแรม กํ าลังเรงหาซัพพลายเออรทางเลือกใหม ปองกันในกรณีที่ผูใหบริการดานพลังงานยักษใหญเอนรอน ไมสามารถใหบริการพลังงานไดตามขอตกลงระยะยาวที่ทํ ารวมกันไว นอกจากนั้น ยังพยายามเคลื่อนไหวในแงของกฎหมายเพื่อเปลี่ยนแปลงรายละเอียดขอตกลงบางอยางที่ทํ าไว เพื่อเปดทางใหสามารถหันไปทํ าขอตกลงซ้ือพลังงานจากซัพพลายเออรรายอื่นๆ ได (กรุงเทพธุรกิจ 041244)

รายงานเมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 2544 กลาววา เอนรอน ที่เพิ่งยื่นขอความคุมครองจากศาลตามกฎหมายลมละลาย ไดรับเงินกูเพื่อตออายุการดํ าเนินธุรกิจจากธนาคารเจาหนี้เดิม คือ เจ.พี.มอรแกน เชส แอนด โค. และซิต้ี กรุป มูลคา 1,500 ลานดอลลารสหรัฐ ตามแผนปรับโครงสรางภายใตความคุมครองของศาลลมละลาย ตอมาในวันที่ 13 ธ.ค. 2544 มีรายงานขาววา เอนรอนไดเปดเผยแผนปรับโครงสราง ภายใตความคุมครองของกฎหมายลมละลาย ซ่ึงรวมถึงการนํ าสินทรัพยออกขายทอดตลาด คิดเปนมูลคาทั้งสิ้น 6 พันลานดอลลารสหรัฐ และการขายธุรกิจหลักๆ อันไดแก ทอสงแกส และหนวยงานดานพลังงานอื่นๆ เชน อะซูริกซ คอรป ซ่ึงเปนหนวยงานผลิตพลังงานจากนํ้ า ตลอดจนหนวยงานทางธุรกิจอื่นๆ ทํ าใหมีเงินสดเขามาประมาณ 4-6 พันลานดอลลารสหรัฐ

Page 10: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

153

อยางไรก็ตาม รายงานขาวลาสุดๆ กลาววา ขณะที่เอนรอนพยายามที่จะทํ าทุกวิถีทางเพื่อเรียกความมั่นใจกลับมาอีกครั้งในหมูเจาหนี้ แตช่ือเสียงและความยิ่งใหญของเอนรอนก็กํ าลังถูกกรอนลงไปเรื่อยๆ จากการถูกฟองรองเปดเผยความไมดีงามตางๆ จากธุรกิจที่เกี่ยวของ เชน การเปดโปงจากบริษัทตรวจสอบบัญชีช้ันนํ าของสหรัฐในเรื่องการปกปดขอมูลของเอนรอน การถูกยื่นฟองจากคณะกรรมการกํ ากับตลาดหลักทรัพย เร่ืองการไมยอมช้ีแจงถึงความลมเหลวในการบริหารการเงินตอคณะกรรมการควบคุมกฎระเบียบ และการถูกธนาคารเจาหนี้อยาง เจ.พี.มอรแกน เชส ฟองเรียกคาเสียหาย เปนตน (กรุงเทพธุรกิจ ผูจัดการ 301144, 141244)

- ความเคลื่อนไหวภาครัฐ ในชวง 3 เดือนสุดทายของป 2544 ที่สํ าคัญคือการที่ ธนาคารกลางของสหรัฐ หรือ เฟดไดประกาศลดอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นลงอีกถึง 3 ครั้ง ซ่ึงหากนับต้ังแตหลังเหตุการณวินาศกรรมวันที่ 11 ก.ย. เปนตนมาก็เปน 4ครั้ง และหากนับทั้งปก็เปนการลดดอกเบี้ยรวมทั้งหมด 11 ครั้งจากอัตรา 6% เมื่อวันที่ 3 ม.ค. 2544 เหลือ 1.75% เมื่อวันที่ 11ธ.ค. 2544 เพื่อเปนการกระตุนและฟนฟูเศรษฐกิจของสหรัฐที่เขาสูภาวะถดถอยใหขยายตัวอีกครั้ง รายงานขาวกลาววา หลังจากการประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยวันที่ 11 ธ.ค. 2544 ซ่ึงเปนการฉุดอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นลดลงตํ่ าสุดในรอบ 40 ป บรรดาสื่อมวลชนและบรรดาผูที่เกี่ยวของในตลาดเงินสหรัฐ ตางวิเคราะหและคาดหมายกันวา เฟดจะปรับทาทีอยางรวดเร็วในทันทีที่เห็นชัดวาเศรษฐกิจสหรัฐกลับมาขยายตัวอีกครั้ง โดยการเริ่มตนปรับขึ้น

อัตราดอกเบี้ยอีกครั้ง เพื่อขจัดแรงกดดันจากเงินเฟอ นักวิเคราะหการตลาดบางคนระบุวา มีสัญญาณวาเฟดจะเริ่มตนขึ้นดอกเบี้ยในเดือนมิ.ย. 2545 และอาจจะขึ้นมากถึง 1.50% ชวงครึ่งหลังของป 2545 ดวย (กรุงเทพธุรกิจ 291244)

อนึ่ง ความเคลื่อนไหวของรัฐบาลสหรัฐ เพื่อแกปญหาเฉพาะหนาในชวงหลังเหตุการณกอวินาศกรรม ก็มีการดํ าเนินการอยางตอเนื่อง เชน เมื่อวันที่ 3 ต.ค. 2544 ประธานาธิบดี จอรจ ดับเบิลยู บุช แหงสหรัฐ ไดขอใหรัฐสภาอเมริกันอนุมัติแผนกระตุนเศรษฐกิจวงเงินประมาณ 75,000 ลานดอลลารสหรัฐ ซ่ึงองคประกอบสวนใหญเปนการเรงมาตรการลดภาษีใหมีผลบังคับใชเร็วขึ้น จากกํ าหนดเดิมในป2547 ทั้งยังพยายามผลักดันใหมีการเพิ่มผลประโยชนสํ าหรับผูวางงานดวย ทั้งนี้กอนหนานี้ รัฐบาลไดขออนุมัติใชแผนฉุกเฉิน 40,000 ลานดอลลารสหรัฐ และเงินชวยเหลืออุตสาหกรรมการบินอีก 15,000 ลานดอลลารสหรัฐ ที่รัฐสภาอนุมัติไปแลว และเมื่อวันที่ 24 ต.ค. 2544 รัฐสภาก็อนุมัติแผนกระตุนเศรษฐกิจวงเงิน 75,000 ลานดอลลารสหรัฐ ดวยคะแนนเสียง 216 ตอ 214 เสียง

- ทศันะที่นาสนใจของนายกรีนสแปน นายอลัน กรีนสแปน ประธานธนาคารกลางสหรัฐ ใหความเห็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการเสนอแผนกระตุนเศรษฐกิจของประธานาธิบดีวา แผนกระตุนเศรษฐกิจนี้จะเปนการชั่วคราว ใชเพียง 1-2 ป เพราะวงเงินนี้เมื่อรวมกับมาตรการกระตุนเศรษฐกิจนับจากเกิดเหตุการณกอวินาศกรรมเปนตนมานั้นสูงเกินกวา 100,000 ลานดอลลารสหรัฐแลว (กรุงเทพธุรกิจ 051044)นอกจากนั้น ในการปราศรัยเมื่อวันที่ 13 พ.ย. 2544 นายกรีนสแปนยังไดกลาวเตือนบรรดาผูกํ าหนดนโยบายสหรัฐวา อยาลืมคํ านึงถึงเปาหมายระยะยาวดวย ในขณะที่พยายามหาทางกระตุนเศรษฐกิจของประเทศหลังเหตุการณวินาศกรรม และช้ีดวยวา การลดดอกเบี้ยไมใชการแกไขปญหาเรงดวนไดทุกปญหา พรอมกันนั้น นายกรีนสแปน ยังไดกลาวเชิงเตือนสติผูบริหารสหรัฐใหระมัดระวังความตึงเครียดของสถานการณในตะวันออกกลางดวย เพราะการพัฒนาตลาดพลังงานนั้นยังเปนเรื่องที่สํ าคัญตอภาวะเศรษฐกิจในระยะยาวของประเทศดวยเขายํ้ าดวยวา สหรัฐตองไมสูญเสียความสามารถในการมองนโยบายที่จํ าเปนตอการขยายตัวของเศรษฐกิจระยะยาว และควรจะรับประกันไดวา เราจะสามารถหาพลังงานไดโดยงาย (กรุงเทพธุรกิจ 151144) และมีรายงานขาววา เมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 2544 ประธานาธิบดี จอรจ ดับเบิลยู บุช แหงสหรัฐ ไดเชิญนายกรีนสแปน มาหารือที่ทํ าเนียบขาวเพราะเปนหวงปญหาเศรษฐกิจของสหรัฐ การพบกันระหวางประธานาธิบดีบุชกับนายกรีนสแปน ครั้งนี้ถือเปนครั้งแรก หลังจากที่ศูนยวิจัยเศรษฐกิจแหงชาติ (เอ็นบีอีอาร) ออกมาระบุวาเศรษฐกิจสหรัฐเขาสูภาวะถดถอยมาตั้งแตเดือนมี.ค. 2544 แลว (กรุงเทพธุรกิจ, มติชน 051244)

1.2.2 สถานการณและความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจในเอเชีย-การวิเคราะหและคาดการณสถานการณทั่วไปจากการวิเคราะหและคาดการณภาวะเศรษฐกิจทั่วโลกขององคการเพื่อความ

รวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา หรือโออีซีดี ระบุวา ภาวะเศรษฐกิจในเอเชีย คาดวาจะยังคงไดรับผลกระทบจากความออนแอของเศรษฐกิจสหรัฐ แตไมมีแนวโนมตองเผชิญวิกฤติการเงินสํ าคัญอีก โดยระบุวา เศรษฐกิจเอเชียยังพึ่งพิงการสงออกไปยังสหรัฐเปนหลัก แตมี

Page 11: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

154

เสถียรภาพมากขึ้น เปราะบางนอยลงตอการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของกระแสเงินทุนเทียบกับเมื่อป 2540 ซ่ึงขณะนั้นเอเชียไดรับผลกระทบอยางหนักจากวิกฤติเศรษฐกิจจนกระทั่งนํ าไปสูภาวะถดถอย โออีซีดีคาดการณภาวะเศรษฐกิจของญี่ปุนวา ปญหาอัตราการวางงานสูงเปนประวัติการณ เศรษฐกิจหดตัว และภาระหนี้สินสาธารณะจํ านวนมาก จะทํ าใหญี่ปุน ซ่ึงมีขนาดเศรษฐกิจใหญที่สุดในเอเชีย ตองประสบภาวะทรุดตัวยาวนานถึง 1 ทศวรรษ สอดคลองกับนักเศรษฐศาสตรหลายรายที่ทํ านายวา เศรษฐกิจญี่ปุนจะยังคงออนแอตอไป ตามขอมูลของโออีซีดีระบุวา เศรษฐกิจญี่ปุนจะหดตัว 0.7% ในปนี้ และหดตัวอีก 1% ในปหนา และในป 2546 อยางดีที่สุด จีดีพีญี่ปุนอาจจะเติบโตไดประมาณ 0.7%

สํ าหรับประเทศจีน องคการการเงินระหวางประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ มองวา คอนขางปลอดภัยจากสถานการณที่เลวรายของเศรษฐกิจโลก โดยจีนเพิ่งเขารวมเปนสมาชิกองคการการคาโลก (ดับเบิลยูทีโอ) อยางเปนทางการเมื่อวันที่ 11 ธ.ค. 2544 เปนการกาวสูศักราชใหมในการเพิ่มทางเลือกแกผูบริโภค และเพิ่มโอกาสแกนักลงทุนตางชาติ นักเศรษฐศาสตรแหงมอรแกน สแตนเลย ในฮองกงคนหนึ่งกลาววา คาดวาจีนจะเปนแมเหล็กดึงดูดการลงทุนจากตางชาติเพิ่มขึ้น เนื่องจากคาจางแรงงานตํ่ า ขณะที่เปนแรงงานที่คอนขางมีการศึกษาซ่ึงจะเปนเครื่องลอใจบริษัทตางชาติใหยายการผลิตเขาไปยังจีน และวาเฉพาะการลงทุนจากตางชาติเพียงอยางเดียว ก็จะชวยเพิ่มจีดีพีของจีนไดถึง 2% ในปหนา และคาดวา จีดีพีของจีนจะเติบโตประมาณ 7% ในป 2545 อนึ่ง รายงานทิศทางเศรษฐกิจโลกของไอเอ็มเอฟ ระบุดวยวา เศรษฐกิจมาเลเซีย สิงคโปร และไตหวัน อยูในระยะถดถอย เกาหลีใตยังคงเติบโตตอเนื่อง และที่อนาคตสดใสที่สุดคือออสเตรเลียซ่ึงนักเศรษฐศาสตรคาดวาจีดีพีจะโตถึง 3.2% ในป 2545 (กรุงเทพธุรกิจ 191244)

- ความเคลื่อนไหวเศรษฐกิจในญี่ปุน เมื่อวันที่ 4 ธ.ค. 2544 สํ านักคณะรัฐมนตรีญี่ปุนเผยรายงาน "ปกขาว" ที่ใชช่ือวา "รายงานวาดวยเศรษฐกิจสาธารณะประจํ าปงบประมาณแผนดิน 2544" ระบุวา เศรษฐกิจญี่ปุนมีแนวโนมฟนตัวในชวงปลายปงบประมาณ 2545แตก็ช้ีวา หากผลกระทบจากเหตุการณโจมตีสหรัฐเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2544 ยังรุนแรงตอเนื่องไมหยุด ญี่ปุนก็อาจเสี่ยงตอการเผชิญภาวะตกต่ํ าเนิ่นนานออกไปอีก โดยระบุรายละเอียดวา เศรษฐกิจญี่ปุนจะเติบโตอยางจํ ากัดในระดับ 1% ในชวง 2-3 ปขางหนาซ่ึงอยูระหวางการดํ าเนินการตามแผนปฏิรูปเศรษฐกิจ จากนั้นเศรษฐกิจจะขยายตัวราว 2% หรือมากกวา ภายใตเงื่อนไขวาตองประสบความสํ าเร็จในการปฏิรูปเศรษฐกิจ แตหากแผนดังกลาวลมเหลว และไมสามารถจัดการปญหาหนี้เสียกอนใหญในประเทศ อัตราเติบโตจะจํ ากัดอยูที่ระดับ 1%ไปอีก 10 ปขางหนาเชนกัน พรอมกันนั้น นายเฮโซ ทาเคนาดะ รมต.เศรษฐกิจญี่ปุน ไดยํ้ าเตือนดวยวา ยังมีความเปนไปไดสูงที่เศรษฐกิจจะถดถอย ญี่ปุนตองเรงปฏิรูปโครงสรางโดยผานนโยบายเพิ่มคาใชจายภาครัฐ ขณะที่ธนาคารกลาง (บีโอเจ) จะตองเรงกระตุนสภาพคลองและปองกันภาวะเงินฝด สวนหนึ่งโดยผานการซื้อพันธบัตรรัฐบาล หรือสินทรัพยอื่นๆ เชนหุนกูภาคธุรกิจ ตราสารการคา และตราสารที่มีทรัพยสินคํ้ าประกัน เปนตน (กรุงเทพธุรกิจ 051244)

ขณะเดียวกัน รายงานภาวะเศรษฐกิจในญี่ปุนตลอดชวง 3 เดือนสุดทายของป 2544 และการคาดการณแนวโนมป 2545 ยังมองไมเห็นความสดใสแตอยางใด เมื่อวันที่ 8 ต.ค. 2544 บรรดานักเศรษฐศาสตรใหความเห็นวา ญี่ปุนขาดเครื่องมือทางการเงิน-การคลังที่มีประสิทธิภาพ ในการปกปองเศรษฐกิจจากผลกระทบทางลบที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากสงครามตอตานผูกอการรายที่สหรัฐและพันธมิตรกํ าลังดํ าเนินการอยู และวา เนื่องจากประสิทธิภาพของการจัดทํ างบประมาณรายจายในวงเงินที่จํ ากัดของญี่ปุนจะเกิดผลนอย ทํ าใหญี่ปุนไมมีทางเลือกอะไรเหลือ นอกจากการอาศัยนโยบายผอนคลายทางการเงินเชิงปริมาณของบีโอเจ มาชวยปองกันผลกระทบทางเศรษฐกิจของประเทศ ที่เกิดจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยในสหรัฐ (กรุงเทพธุรกิจ 091044) รายงานขาวกลาววา เมื่อวันที่ 7 ธ.ค. 2544 รัฐบาลญี่ปุนไดออกมาประกาศอยางเปนทางการวา ญี่ปุนไดกาวเขาสูภาวะถดถอยครั้งที่ 3 ในรอบทศวรรษ ขณะที่นโยบายการเงินของบีโอเจ กํ าลังใกลถึงขีดจํ ากัด โดยขณะนี้อัตราดอกเบี้ยยืนอยูที่เกือบ 0% และความสามารถของบีโอเจ ในการอัดฉีดสภาพคลองเขาสูระบบธนาคาร ถูกขัดขวางดวยปญหาเอ็นพีแอล (ผูจัดการ 08-091244)

- การถกเถียงเรื่องแกปญหาเศรษฐกิจในญี่ปุน จะไปทางไหนดี? การถกเถียงเรื่องญี่ปุนจะแกไขปญหาอยางไรมีมากขึ้นเร่ือยๆ ทั้งในกรุงโตเกียวและวอชิงตัน รัฐบาลญี่ปุนยังคงยึดมั่นกับการสานแผนปฏิรูป โดยครอบคลุมถึงการปดกวาดภาคการธนาคาร การจํ ากัดการออกพันธบัตรรัฐบาล และการยกระดับการจัดสรรงบประมาณรายจาย แมมีความเกรงกลัวกันวา แผนปฏิรูปอาจทํ าใหเศรษฐกิจของประเทศชะงักงันตอไปอีก นายโคอิซูมิ ผูนํ าญี่ปุนสํ าทับวา หนทางขางหนาเหลือเพียงทางเดียว คือการบรรลุมาตรการปฏิรูป และเรียกรองใหคลอดงบประมาณพิเศษฉบับที่ 2 มูลคาเพียง 4 ลานลานเยน เพื่อจํ ากัดงบกระตุนเศรษฐกิจสํ าหรับปนี้ไวที่ 7 ลานลานเยน ขณะที่รัฐบาลวอชิงตันพิจารณาวา สิ่งที่ญี่ปุนควรทํ าเปนอันดับแรก คือจัดการหนี้เสีย และเงินฝด นายเกลน ฮับบารด ประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจสหรัฐแนะนํ าวา ถึงเวลาแลวที่ธนาคารญี่ปุนควรจะเริ่มขายหนี้เสียจํ านวนมากใหกับนักลงทุนเอกชนอยางจริงจัง พรอมยํ้ าวา ความเสี่ยงดานเงินฝดระยะสั้น จะสามารถกลบลบไดดวยการเสริมสรางความเชื่อมั่นในระยะยาวกวา (กรุงเทพธุรกิจ 08-09, 111244)

Page 12: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

155

นายโจเซฟ สติกลิตซ อดีตหัวหนานักเศรษฐศาสตรของธนาคารโลกผูเพิ่งไดรับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตรในฤดูใบไมรวงที่ผานมา กลาวในการใหสัมภาษณผูสื่อขาว โยมิอุริ ชิมบุน ประจํ านิวยอรก กลาววา รัฐบาลญี่ปุนนั้นสามารถดํ าเนินนโยบายการเงินเชิงรุกมากขึ้นได เขายกตัวอยางสิ่งที่บีโอเจนาจะทํ าได เชนพิมพธนบัตรออกมาเพื่อผอนคลานยอดขาดดุลของรัฐ หรือลดภาษีการขายชั่วคราว ซ่ึงเปนโอกาสเหมาะที่เงินเยนจะออนลง ซ่ึงจะชวยเสริมการสงออกและลดความกดดันดานเงินฝด สติกลิตซ ยังระบุวา การปฏิรูปเชิงโครงสรางเปนสิ่งที่ควรปฏิบัติ แตถาผิดวิธี อาจทํ าใหเศรษฐกิจชะลอตัวแรงขึ้น บริษัทจํ านวมากขึ้นจะลมละลาย ธนาคารจะออนแอลง "การปฏิรูปที่นํ าไปสูการลดการกูยืมรังแตจะทํ าใหเศรษฐกิจเปลี้ยลง" นายสติกลิตซกลาว (ผูจัดการ 121244)

- คาเงินเยนออนยวบ เชื่อวาทางการสหรัฐไฟเขียวเพื่อชวยญี่ปุนใหฟนตัว จะสํ าเร็จหรือไม? วันที่ 10 ธ.ค. 2544 มีรายงานวาคาเงินเยนดิ่งลงทะลุแนวรับที่ 126 เยนตอดอลลารสหรัฐ เปนครั้งแรกในรอบ 8 เดือน ในเบื้องตนนักวิเคราะหระบุวา เปนเพราะสถานการณเศรษฐกิจโลก รวมทั้งขาวรายตอเนื่องกันในญี่ปุนเอง และมีการวิเคราะหแพรหลายวาเงินเยนอาจจะรูดดิ่งลงอยางรวดเร็ว ทั้งในระยะกลางถึงระยะยาว รายงานวันที่ 13 ธ.ค. 2544 กระแสตลาดเชียรกันอยางกวางขวางวา ทางการญี่ปุนพึงใจจะเห็นเงินเยนออนคา เพื่อใชเงื่อนไขตรงนี้ชวยผลประกอบการของภาคเอกชน อันจะสามารถนํ าพาใหเศรษฐกิจญี่ปุนฟนตัวได และไดต้ังเปาที่จะเห็นเงินเยนออนถึง 130เยนตอดอลลารสหรัฐ นอกจากนั้น ยังเปนที่เช่ือกันอยางกวางขวางดวยวา ทางการสหรัฐนั้นเปนใจใหเงินเยนออนตัว เผื่อวาญี่ปุนจะฟนตัวกลับไปเปนลูกคาซ้ือสินคาจากสหรัฐอีกครั้ง (ผูจัดการ 11,141244)

อยางไรก็ตาม สถานการณคาเงินเยนออนตัวอยางยวบยาบตอเนื่องถึงชวงปลายเดือน ธ.ค. 2544 ทํ าใหเกิดกระแสความกังวลตามมาจากประเทศตางๆ ทั่วทั้งภูมิภาค วา หากมีการปรับคาเงินเยนใหออนตัวอยางรุนแรง อาจเปนชนวนทํ าใหเกิดการแขงขันลดคาเงินทั่วทั้งเอเชีย อันจะนํ าไปสูตนทุนการชํ าระหนี้แพงขึ้น อัตราเงินเฟอและอัตราดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งอํ านาจซื้อปริมาณมหาศาลก็จะถูกถายโอนไปสูผูบริโภคในโลกตะวันตก ในญี่ปุนเองแนวความคิดก็แตกออกเปนสองขั้วเชนกัน นักเศรษฐศาสตรบางสวนมองวา สถานการณเงินเยนออนเปนหนทางเดียวที่จะหลุดออกจากภาวะเงินฝด แตอีกสวนหนึ่งเห็นวา เงินเยนออนไมมีอํ านาจชวยการฟนตัวในระยะยาว เชนปญหาอุปสงคที่ออนตัว และผลตอบแทนการลงทุนที่ต่ํ าเตี้ย รวมทั้งการเตรียมรับมือกับแนวโนมประชากรโดยรวมที่มีอายุสูงขึ้นของญี่ปุนนักเศรษฐศาสตรอีกสวนหนึ่งกลับเสนอแนวทางจูงใจใหธุรกิจภายในญี่ปุนปรับตัวออกจากการทํ ากิจการโรงงานอุตสาหกรรมเสีย เพราะถึงอยางไรจีนก็กํ าลังจะเขามาแทนที่ญี่ปุนในดานนี้อยูแลว (ผูจัดการ 251244)

ความเคลื่อนไหวเศรษฐกิจในประเทศเอเชียอื่นๆ- เศรษฐกิจสิงคโปรอนาคตยังมืดมน เมื่อวันที่ 10 ต.ค. 2544 ธนาคารกลางแหงสิงคโปรออกแถลงการณวา อนาคตเศรษฐกิจ

ระยะสั้นเต็มไปดวยความมืดมนและไมแนนอน แตเห็นไดชัดวาความตกตํ่ าจะขยายตัวมากขึ้นเรื่อยๆ และรายแรงกวาที่คาดไว พรอมกันนั้นก็ไดประกาศขยายชวงเวลาการซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลลารสิงคโปร เพื่อใหอัตราแลกเปลี่ยนมีความยืดหยุนมากขึ้น ตอมาในวันที่12 ต.ค. 2544 นายลี เซียน หลุง รองนายกรัฐมนตรีสิงคโปร เปดเผยแผนกระตุนเศรษฐกิจฉบับลาสุดของสิงคโปร ระบุวาเปนแผนที่ครอบคลุมถึงการแจกจายหุนใหประชาชนถือครอง โดยจะเริ่มต้ังแตวันที่ 1 พ.ย. 2544 รวมเปนจํ านวนเงินทั้งสิ้น 2,700 ลานดอลลารสิงคโปร โดยประชาชนจะไดรับเงินปนผลทุก ๆ 5 ป นับจากป 2545 ถึง 2550 โดยประกันจะจายดอกเบี้ยในอัตรา 3% ตอป และอัตราปนผลสูงสุดขึ้นอยูกับอัตราการขยายตัวของจีดีพีของประเทศ นอกจากนั้น ยังมีรายงานขาวเมื่อวันที่ 24 ต.ค. 2544 ระบุวา รัฐบาลสิงคโปร โดยผานคณะกรรมการดานการจดทะเบียนและกรอบกฎระเบียบภาคธุรกิจ กํ าลังเสนอใหบริษัทจดทะเบียนที่ซ้ือหุนคืนของบริษัทเอง สามารถเก็บหุนที่ซ้ือไวแลวในนามบริษัทตอไปไดอีกดวย อยางไรก็ตาม มีรายงานขาวเมื่อวันที่ 13 พ.ย. 2544 วา หลังจากไดรับจัดสรรหุนไมนาน ชาวสิงคโปรประมาณ 800,000 คน นํ าหุนประเทศที่รัฐบาลจัดสรรใหออกขายคิดเปนสัดสวน 40% ประชาชนที่นํ าหุนออกขายกลาววา พวกเขาตองการเงินสดมากกวาในชวงที่ประเทศกํ าลังเผชิญภาวะเศรษฐกิจตกตํ่ ารุนแรงที่สุดในรอบ 37 ป (กรุงเทพธุรกิจ 11,13,241044, 131144)

อนึ่ง รายงานลาสุดเมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 2544 นายกรัฐมนตรี โกะ จก ตง ของสิงคโปรไดออกมาแถลงวา เศรษฐกิจสิงคโปรในป2544 หดตัวประมาณ 2.2% นับเปนการหดตัวครั้งรุนแรงที่สุดนับต้ังแตเปนอิสระจากมาเลเซียเมื่อป ค.ศ. 1965 เปนตนมา อยางไรก็ตามนายกรัฐมนตรีโกะ กลาวแสดงความเชื่อมั่นวา ในชวงระยะ 10 ปขางหนา จะไดเห็นการเติบโตของสิงคโปรในอัตราเฉลี่ย 4-6% ตอปแนนอนแตทั้งนี้จะตองดํ าเนินการโดยลดตนทุนใหต่ํ าลง รักษาตํ าแหนงงานปจจุบันและสรางงานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และที่สํ าคัญ นายโกะเนนวาสิงคโปรจํ าตองปรับเปลี่ยนกรอบความคิดและสภาพแวดลอมทางการทํ างานเสียใหม เพื่อใหทันกับการเปลี่ยนแปลง (บางกอกโพสต 010145)

- สถานการณเศรษฐกิจในจีน ขาวใหญขึ้นพาดหัวสื่อทั่วโลกคือ ขาวสมาชิก 142 ชาติขององคการการคาโลกหรือดับบลิวทีโอตกลงเปนเอกฉันท รับสาธารณรัฐประชาชนจีนเขาเปนสมาชิกใหม เมื่อวันที่ 10 พ.ย. 2544 หลังจากที่พยายามมาตลอดเวลา 15 ป นักวิเคราะหกลาววาความสํ าเร็จในครั้งนี้ของจีนในระยะสั้น จีนมีทั้งไดและเสียพอ ๆ กัน โดยระบุวา ภาคการเกษตรและปศุสัตวของจีนจะไดรับความเสียหายมากที่สุด เพราะนอกจากรัฐบาลกลางจะตองลดเงินอุดหนุนสินคาเกษตรลงเหลือไมเกิน 8.5% ของการผลิตในประเทศ กํ าแพง

Page 13: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

156

ภาษีที่เคยสูงถึง 22% ก็จะลดลง 17% ภายในป 2557 ทํ าใหผูผลิตที่ดอยประสิทธิภาพในประเทศตองเผชิญการแขงขันสูงจากสินคานํ าเขาราคาถูกและมีคุณภาพสูงกวา นอกจากนั้น บริษัทรวมทุนผลิตรถยนตของตางชาติในจีนจะไดรับผลกระทบเนื่องจากการแขงขันดวย งานวิจัยของ ก.เกษตรสหรัฐช้ินหนึ่ง ประเมินวา ในชวง 10 ปขางหนา จีนจะนํ าเขาสินคาอุตสาหกรรมที่ใชเงินลงทุนมาก อาทิ ยานยนต เครื่องจักรและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เพิ่มขึ้นเปนมูลคา 264,000 ลานดอลลารสหรัฐ ซ่ึงครึ่งหนึ่งของสินคาเหลานี้จะนํ าเขาจากสหภาพยุโรป สหรัฐและญี่ปุน สวนหนึ่งเปนเพราะภายในป 2558 จีนจะตองลดภาษีนํ าเขาสินคาอุตสาหกรรมลงอีกประมาณ 10% ซ่ึงทํ าใหอัตราภาษีโดยเฉลี่ยต่ํ ากวาของประเทศกํ าลังพัฒนาเกือบทั้งหมด

นอกจากนั้น การปรับตัวของจีนเพื่อใหสอดคลองกับกติกาการคาโลก อาจทํ าใหจีนตองเผชิญปญหาในหลายๆ ดาน รวมทั้งผลกระทบที่ไมพึงประสงคมากมาย เชน การแขงขันสูงจากตางประเทศจะบีบใหรัฐบาลปกกิ่งตองยกเครื่องรัฐวิสาหกิจที่ไรประสิทธิภาพของตนซ่ึงจะยังผลใหมีคนตกงานเปนจํ านวนมาก ซ่ึงหากปญหาการวางงานทวีความรุนแรง บวกกับความเสียเปรียบของเกษตรกร อาจนํ าไปสูการประทวงและความรุนแรงวุนวายทางสังคมตามมา ประกอบกับตะวันตกเองยังระแวงอิทธิพลของพรรคคอมมิวนิสตจีน ซ่ึงเช่ือกันวายังคงควบคุมเศรษฐกิจของจีนอยูอยางเหนียวแนน รวมทั้งมีการสงกํ าลังคนเขาไปแทรกอยูในทุกจุด ทั้งในหนวยราชการระดับกรมกองสํ าคัญๆ สถาบันการศึกษาของรัฐ โรงงานอุตสาหกรรมและรัฐวิสาหกิจ ไมเวนแมแตในบริษัทเอกชน และบริษัทรวมทุน ซ่ึงหากธุรกิจใดยังไมสามารถสงคนเขาไปได ก็จะมีคนของพรรคไปประจํ ายังสํ านักจัดหางาน เพื่อคอยปอนแรงงานใหกับบริษัทตางชาติตางๆ (กรุงเทพธุรกิจ 241244)

ในชวงระยะเวลา 3 เดือนสุดทายของป 2544 ยังมีความเคลื่อนไหวอื่นๆ ในเอเชียที่นาสนใจอีก เชนการเปดเผยขาวจีนกับอาเซียนไดทํ าความตกลงที่จะจัดตั้งเขตการคาเสรีที่มีประชากรหนาแนนที่สุดในโลกภายใน 10 ป โดยตกลงกันระหวางที่มีการประชุมสุดยอดผูนํ าสมาชิกอาเซียนที่กรุงเสรีเบกาวัน เมืองหลวงของประเทศบรูไน เมื่อวันที่ 6 พ.ย. 2544 ซ่ึงก็มีนักเศรษฐศาสตรหลายคนออกมาทํ านายไวลวงหนาวา เขตการคานี้เปนไปไดยากเนื่องจากมีความหลากหลายมากมายของประเทศที่เกี่ยวของ (ผูจัดการ 07-081144) กอนหนานี้ก็มีความเคลื่อนไหวที่นาจับตาในทํ านองเดียวกันเกิดขึ้น นั่นคือ กลุมประเทศอาหรับเคลื่อนไหวตั้งสหภาพการเงินและการใชเงินสกุลเดียว รวมทั้งเตรียมการจัดตั้งสันนิบาตชาติเพื่อควบคุมพิกัดอัตราภาษีศุลกากร ซ่ึงกํ าหนดเปาหมายไวในป 2553 และป 2546 ตามลํ าดับ ทั้งนี้จากการแถลงขาวของนายอับดุลเลาะห ฮัสซัน ซาอิฟ รมต.คลังประเทศบาหเรน เมื่อวันที่ 14 ต.ค. 2544 (กรุงเทพธุรกิจ 151044)

- สถานการณและความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจในเขตอื่นๆความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจในภูมิภาคอื่นๆ ในชวงระยะเวลาการรายงาน 3 เดือนสุดทายของปนี้ก็ยังมีอีก เชน สถานการณใน

อารเจนตินา ที่ตองเผชิญวิกฤติทั้งทางเศรษฐกิจและการเมืองครั้งรายแรงที่สุดในรอบ 10 ป โดยวิกฤติทางเศรษฐกิจที่ยืดเยื้อเรื้อรังมานาน ไดระเบิดขึ้นเปนความไมพอใจของประชาชนหมูเหลาตางๆ ไดมีการลุกฮือขึ้นของประชาชนสวนใหญเปนคนตกงาน คนยากคนจน รวมทั้งพวกฉวยโอกาส มีการกอเหตุจลาจลและการประทวงตามหัวเมืองตางๆ ทั่วประเทศ มีทั้งการปลนสะดม ฉกชิงทรัพยสิน มีผูบาดเจ็บลมตายไปแลวนับรอยคน แมเมื่อประธานาธิบดี เดอ ลารัว พยายามแกไขสถานการณโดยการประกาศภาวะฉุกเฉินเปนเวลา 30 วัน แตก็ไมสามารถยับยั้งประชาชนที่กํ าลังคลั่งแคนไวได เหตุการณกลับยิ่งลุกลามหนัก จนกระทั่งประธานาธิบดีตองลาออก เมื่อไดผูนํ าคนใหม ประกาศนโยบายใหมเพื่อแกไขปญหา แตก็ดํ าเนินการไดเพียงไมกี่วัน ลาสุดเมื่อวันที่ 30 ธ.ค. 2544 เหตุการณชุมนุมประทวงการดํ าเนินการแกปญหาของผูนํ าคนใหมก็เร่ิมขึ้นอีกครั้ง แผนดินอารเจนตินายังคงลุกเปนไฟ ใครจะเปนผูมาชวยกอบกู และใครจะตองรับผิดชอบตอเหตุการณที่เกิดขึ้นนี้

(กรุณาอานรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ได ในรายงาน update ประจํ าเดือนธ.ค. 2544 ของโครงการขาวสารทิศทางประเทศไทย)

1.3 สถานการณและคาดการณแนวโนมตลาดหุนตลาดเงินสํ าคัญๆ ของโลก1.3.1 ตลาดหุนโลกหลังเหตุการณวินาศกรรมในสหรัฐ- กงัวลสงครามจะทํ าใหตลาดหุนตลาดเงินพังพินาศบรรดานักวิเคราะหตลาดหุนช้ีวา การกอวินาศกรรมในสหรัฐเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2544 ไดสงผลกระทบทํ าใหตลาดหุนทั่วโลกเกิดผัน

ผวน โดยเฉพาะอยางยิ่งหลังจากที่สหรัฐเปดฉากโจมตีอัฟกานิสถานเพื่อแกแคนในวันที่ 7 ต.ค. 2544 นักวิเคราะหช้ีวาแนวโนมตลาดหุนไดเผชิญกับภาวะไรเสถียรภาพอีกครั้ง ทั้งนี้เนื่องจากความไมแนนอนเรื่องขอบเขต ระยะเวลา และความสํ าเร็จของปฏิบัติการตอบโตครั้งนี้ เปนปจจัยลบที่เขาไปเสริมความวิตกเรื่องกํ าไรจากผลประกอบการบริษัท และแนวโนมเศรษฐกิจที่ไมสดใสอยูแลว (กรุงเทพธุรกิจ 091044)

นอกจากนั้น เมื่อสหรัฐเริ่มปฏิบัติการลางแคน สํ านักขาวดาวโจนสไดรายงานวา "ขณะนี้ สงครามที่แทจริงของดอลลารสหรัฐไดเร่ิมขึ้นแลว เนื่องจากภัยสงครามอยางการปฏิบัติการทางทหารของสหรัฐ-อังกฤษในอัฟกานิสถาน ถือเปนวิกฤติที่ไมไดเปนขาวดีสํ าหรับเงิน

Page 14: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

157

ดอลลาร" อยางไรก็ตาม ดอลลารสหรัฐยังมีปจจัยบวกอยูบาง จากแนวโนมที่ธนาคารกลางญี่ปุนจะเขาสนับสนุนดอลลาร หากออนตัวลงต่ํ ากวาระดับ 120 เยน มากเกินไป (กรุงเทพธุรกิจ 101044)

-นักวิเคราะหเตือนอยาไวใจตลาดที่กํ าลังปรับตัวขึ้น เพราะอาจหลนวูบโดยไมทันรูตัว!

เมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2544 โกลบอล แอสเซท แมเนจเมนท กองทุนบริหารความเสี่ยงช้ันนํ าของอังกฤษ ใหความเห็นวา ภายในไตรมาสแรกของป 2545 ตลาดหลักทรัพยโลกอาจปรับตัวขึ้น 10-15% และหลังจากนั้นอาจเกิดการปรับฐานขาลงมากถึง 40% หรือลงไปอยูในระดับเดียวกันกับชวงการเกิดวินาศกรรม 11 ก.ย. 2544 ทั้งนี้ โกลบอล แอสเซทฯ ระบุวา การปรับตัวลงดังกลาวจะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อ บรรดานักลงทุนโดนดูดเขาไปอยูในตลาดจนหมด ซ่ึงเปนสิ่งที่นากังวลใจอยางยิ่ง ทั้งนี้

หัวหนาผูอํ านวยการดานการลงทุนของโกลบอล แอสเซทฯ ช้ีวาต้ังแตวันที่ 22 ก.ย. 2544 ดัชนีเอส แอนด พี 500 ดัชนีตลาดหลักทรัพยยุโรป และดัชนีตลาดหลักทรัพยในเอเชียบางแหง สามารถมีการปรับตัวขึ้นราว 20-25% ได หรือบางแหงอาจสูงกวานี้ จึงไมมีเหตุผลวาทํ าไม "แรงขับดันในแงดี" เหลานี้ จะไมสามารถผลักดันใหกลุมตลาดหุนตางๆ ปรับตัวดีขึ้นอีก 10-15% ในชวงเวลาดังกลาวไมได(กรุงเทพธุรกิจ 211144)

- ตลาดวอลลสตรีทปดทายรอบปดวยมูลคาลดลงเปนปที่สองติดตอกัน

รายงานขาวหลังการปดตลาดเมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 2544 วาจากเดือน ธ.ค. 2543 ถึง ธ.ค. 2544 ดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนสเฉลี่ยของหุนช้ันนํ าในวอลลสตรีท 30 ตัวรวงลง 7.1% หรือ 765.28 จุด มา

อยูที่ 10,021.57 จุด ขณะที่ปดตลาดปลายปที่แลว หุนเสียหายไป 6.2% สวนดัชนีตลาดหุนแน็สแดกส ไดรับผลกระทบรุนแรงที่สุด มูลคาหุนหายไปถึง 21.05% โดยตกลง 520.1 จุดมาอยูที่ 1,950.42 จุด ขณะที่ปดตลาดปที่แลวเสียหายไปประมาณ40% สํ าหรับดัชนีสแตนดารดแอนดพัวร 500 ปนี้ตกลง 172.2 จุด หรือ 13.04% มาอยูที่ 1,148.08 จุด โดยปดตลาดปที่แลวเสียไปประมาณ 10.1% อยางไรก็ตาม ตัวเลขดังกลาวถือเปนการตีต้ืนขึ้นมารวดเร็วมาก จากสภาพตลาดเมื่อสิบวันหลังเหตุการณกอวินาศกรรม (22 ก.ย. 2544) ดัชนีหุนดาวโจนสอยูที่เพียง 8,235.81 จุดแน็สแดกสอยูที่ 1,423.19 จุด และเอสแอนดพี500 อยูที่ 965.80 จุด ถึง 31 ธ.ค.2544 เพิ่มขึ้น 21.7, 37.04 และ 18.9% ตามลํ าดับ นักลงทุนพากันลิงโลดชี้วาภาวะถดถอยในสหรัฐครั้งนี้เปนเพียงชวงสั้นๆ และคาดวาในป 2545 ตลาดหุนจะเปนชวงขาขึ้น แตอยางไรก็ตาม บรรดานักยุทธศาสตรตลาดหุนยังคงระมัดระวังในเร่ืองการคาดแนวโนมขางหนา และคอนขางกังวลกับการลิงโลดและมองโลกในแงดี

ของบรรดานักลงทุน เพราะพวกเขามีความรูสึกวาตลาดตีกลับขึ้นรวดเร็วเกินไป และก็ยังเร็วเกินไปที่จะเชื่อวาเศรษฐกิจฟนตัวแลว(Bangkok post 020102)

1.3.2 นกัวเิคราะหหุนเอเชียไมเชื่อม่ันภาวะทะยานของดัชนีตลาดลาสุด ขณะผูจัดการกองทุน ชี้ตลาดหุนโลกปหนาสดใส

รายงานดิ เอเชียน วอลลสตรีท เจอรนัล ฉบับวันที่ 6 ธ.ค. 2544 รายงานวา ภาวะทะยานของตลาดหุนเอเชียที่มีหุนไฮเทคเปนแกนนํ าขาขึ้นอยูขณะนี้ อันเปนผลพวงของการติดบวกของตลาดหุนสหรัฐ และขาวอีกหลายๆ ช้ินที่เพิ่มความหวังที่จะเห็นเศรษฐกิจและธุรกิจระหวางประเทศฟนตัวขึ้นในปหนา แตบรรดานักวิเคราะหหุนยังสงสัยถึงความยั่งยืนของการทะยานขึ้นของตลาดหุนเอเชีย โดยระบุวาเงินทุนเคลื่อนตัวอยางรวดเร็วเขาสูตลาด สงผลใหดัชนีตลาดปรับตัวขึ้น ทั้ง ๆ ที่ไมมีสัญญาณที่ชัดเจนของการปรับปรุงพื้นฐานธุรกิจ แตก็มีนักวิเคราะหบางรายกลาววา การปรับพื้นฐานของตลาดหุนคงเกิดขึ้นในเร็ว ๆ นี้

Dow Jones Industrial Index (Oct-Dec 2001)

8000850090009500

1000010500

Oct-01 Nov-01 Dec-01

NASDAQ

120014001600180020002200

Oct-01 Nov-01 Dec-01

Page 15: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

158

นายมารค แมทธิวส หัวหนาฝายกลยุทธประจํ าภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟก ของสแตนดารดแอนดพัวรในสิงคโปร ใหความเห็นวา บททดสอบครั้งสํ าคัญของตลาดเอเชียจะเกิดขึ้นในชวง 2 สัปดาหแรกของเดือน ม.ค. 2545 และโดยสวนตัวของเขาแลว คาดการณวาจะมีแรงเทขายครั้งใหญเกิดขึ้น (กรุงเทพธุรกิจ 071244)

อยางไรก็ตาม ตามรายงานการสํ ารวจความเห็นของผูจัดการกองทุนตางชาติ กลุมตัวอยางของ เอพี-ดาวโจนส ประจํ าเดือน ธ.ค.2544 ระบุวา กลุมตัวอยางเหลานี้แนะนํ านักลงทุนทั่วโลกใหเพิ่มนํ้ าหนักลงทุนในหลักทรัพยเหนือเกณฑเฉลี่ย เพื่อจะใหทันกับการปรับตัวขึ้นของตลาดหุนทั่วโลก และฉวยโอกาสทํ ากํ าไรจากการปรับตัวของหลักทรัพยอยางตอเนื่อง โดยคาดวาสภาพคลองสวนเกินที่มีอยูมากมายประกอบกับภาวะแวดลอมดอกเบี้ยต่ํ า จะชวยสรางบรรยากาศใหตลาดหุนทั่วโลกคึกคักสดใสตลอดป 2545 (กรุงเทพธุรกิจ 281244)

2. สถานการณและคาดการณภาวะเศรษฐกิจในประเทศไทย2.1 สถานการณและคาดการณภาวะเศรษฐกิจไทยโดยนักวิเคราะหเอกชน2.1.1 คาดการใชจายภาครัฐและการสงออกจะชวยใหเศรษฐกิจขยายตัวไดในปหนานักวิเคราะหและผูบริหารระดับสูงจากเมอรริลล ลินช ภัทร และซิต้ีแบงก ระบุวา การขยายตัวของการสงออก และการเพิ่มอัตรา

การใชจายภาครัฐ จะชวยใหเศรษฐกิจขยายตัวไดในปหนา โดยคาดวาการสงออกจะขยายตัวในครึ่งหลังของป พรอมๆ กับเศรษฐกิจโลกที่ฟนตัวดีขึ้นในชวงนั้น

รายงานขาวเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2544 นายศุภวุฒิ สายเชื้อ รองประธาน บล.เมอรริลล ลินช ภัทร วิเคราะหคาดการณเศรษฐกิจประเทศไทยป 2545 วาคาดวาเศรษฐกิจไทยในปหนาจะขยายตัวไดในอัตรา 2.0% และตามดวย 3.5% ในป 2546 โดยนายศุภวุฒิกลาววาดูจากในชวง 3 เดือนสุดทายของป 2544 รัฐบาลสามารถเบิกจายงบประมาณเปนที่นาพอใจในอัตราประมาณ 80,000 ลานบาทตอเดือน และวา ปจจัยสํ าคัญหนึ่งที่จะชวยใหเศรษฐกิจขยายตัวในระดับปานกลาง คือประสิทธิภาพการทํ างานแกปญหาหนี้เสียของบรรษัทบริหารสินทรัพยไทย (ทีเอเอ็มซี) และกระบวนการแกปญหาสภาพคลองลนเกิน ซ่ึงจะทํ าใหภาคเอกชนสามารถกลับมาลงทุนไดใหมอีกครั้ง ทั้งนี้ นายศุภวุฒิ คาดหมายวาอัตราการลงทุนของภาคเอกชนในปนี้และปหนาจะอยูในระดับประมาณ 3% ขณะที่การลงทุนภาครัฐในปนี้จะอยูที่6.2% และ 6.0% ในปหนา และคาดวาปญหาสภาพคลองลนเกินจะคลี่คลายลงในปหนาเนื่องจากภาครัฐจะออกพันธบัตรจํ านวนมาก อาทิพันธบัตรจากกองทุนฟนฟูระบบสถาบันการเงิน 320,000 ลาน จากการชดเชยการขาดดุลงบประมาณของรัฐบาลอีก 200,000 ลานบาทและจากแหลงอื่น ๆ เชน จากที่ภาครัฐตองคํ้ าประกันหนี้ของ 56 ไฟแนนซที่ถูกปดระหวางวิกฤติเศรษฐกิจเมื่อป 2540 เปนตน นายศุภวุฒิยังกลาวดวยวา ในปหนาอัตราดอกเบี้ยเงินกูและเงินฝากของธนาคารจะลดลงประมาณ 0.25%

ดานนายอนุสรณ ธรรมใจ ผูบริหารอาวุโส ธนาคารซิต้ีแบงก กลาววา ปหนาการขยายตัวของเศรษฐกิจจะเห็นไดชัดขึ้นในชวงไตรมาสที่ 3 โดยจะมีอัตราการเติบโตไตรมาสตอไตรมาสเทากับ 4% และคาดหมายวาการคาโลกจะปรับตัวดีขึ้นเล็กนอยโดยอยูที่ระดับ 1.7%ในปนี้ และที่ 3.7% ในปหนา เขากลาวดวยวา รัฐบาลควรดํ าเนินนโยบายทางการเงินที่ผอนคลาย เพื่อชวยใหการเติบโตเปนไปโดยราบรื่น(Bangkok Post 221201)

2.1.2 คาดปหนาการลงทุนภาคเอกชนจะขยายตัวไดประมาณ 4-5%นายสุรชัย ประมวลกิจเจริญ นักวิเคราะหหลักทรัพย บล.หยวนตา (ประเทศไทย) จํ ากัด กลาววา คาดวาในป 2544 เศรษฐกิจจะ

ขยายตัวเพียง 1% เนื่องจากการสงออกของไทยไดรับผลกระทบจากภาวะตกตํ่ าของเศรษฐกิจโลก สวนในป 2545 คาดวาอัตราการขยายตัวจะดีขึ้นเปน 2.0% เนื่องจากเศรษฐกิจสหรัฐเริ่มฟนตัวดีขึ้น นายสุรชัยกลาววา งบประมาณคาใชจายสํ ารองเพื่อกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลไทยจํ านวน 58,000 ลานบาท ซ่ึงเริ่มเบิกจายตั้งแตไตรมาส 4 ของป 2544 รวมทั้งกองทุนหมูบานนั้น จะกระตุนเศรษฐกิจไดไมมาก แตในป2545 คาดวาการใชจายเพื่ออุปโภคบริโภคของครัวเรือนจะเติบโตขึ้น 2% ตอเนื่องจากป 2544 ที่ขยายตัวขึ้น 3.08% และคาดวาการลงทุนภาคเอกชนจะขยายตัวประมาณ 4-5% ตามการฟนตัวของภาวะเศรษฐกิจโลก ประกอบกับจะมีการลงทุนขนาดใหญของภาครัฐ เชน โครงการสนามบินสุวรรณภูมิ สวนการลงทุนของภาครัฐในปหนาคาดวาจะขยายตัวประมาณ 5.2% จากการเรงใชจายของรัฐบาลตามแผนงบประมาณขาดดุลป 2545 ที่จะขาดดุลที่ประมาณ 200,000 ลานบาท (ผูจัดการ 241244)

2.1.3 "อาจารยรังสรรค" หวงเศรษฐกิจไทยอาจถดถอยยาวนานตามภาวะเศรษฐกิจโลกนายรังสรรค ธนะพรพันธุ อาจารยประจํ าคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปดเผยวาสถานการณเศรษฐกิจไทยนา

เปนหวง โดยภาวะถดถอยของเศรษฐกิจอาจลากยาวตามภาวะการซบเซาของเศรษฐกิจโลก โดยตนเริ่มมั่นใจวา ภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐอาจจะไมสามารถฟนตัวไดในสิ้นป 2545 ทั้งนี้เพราะอุตสาหกรรมสํ าคัญยังไมสามารถผลิตไดเต็มกํ าลัง และสงครามกอการรายที่สหรัฐเปด

Page 16: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

159

ฉากขึ้นในอัฟกานิสถานก็จะบานปลาย ทํ าใหการใชจายอุปโภคบริโภคชะลอลง นายรังสรรคมีความเห็นวา รัฐบาลไทยนั้นไมสามารถอัดฉีดเงินเพื่อเรงการเติบโตไดอีกแลว เพราะมีขีดจํ ากัดในเรื่องฐานะการคลังในงบประมาณ

นายรังสรรคมีความเห็นดวยวา การที่รัฐบาลใชเงินนอกงบประมาณมาอัดฉีดระบบเศรษฐกิจผานสถาบันการเงินของรัฐ ไมวาจะเปนโครงการพักหนี้เกษตรกร โครงการกองทุนหมูบาน โครงการธนาคารประชาชน โครงการฟนอสังหาริมทรัพย เหลานี้จะสรางผลกระทบตอฐานะความมั่นคงในอนาคตใหกับสถาบันการเงินของรัฐ ประกอบดวยธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) และธนาคารอาคารสงเคราะห (ธ.อ.ส.) รวมทั้งธนาคารของรัฐแหงอื่น ทั้งนี้นายรังสรรคระบุวา การดํ าเนินการตามโครงการเหลานี้ไมไดมีระบบการจัดการและปองกันที่ดี รวมทั้งไมไดมีการวางโครงสรางรูปแบบขององคกรที่ดีไวดวย (ไทยโพสต 131244)

2.1.4 ศูนยวิจัยกสิกรไทยชี้ หากเศรษฐกิจสหรัฐฟนตัวดี เศรษฐกิจไทยปหนาอาจขยายตัวไดถึง 2.8%ศุนยวิจัยกสิกรไทย เผยแพรบทวิเคราะหคาดการณภาวะเศรษฐกิจไทยเมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 2544 ระบุวา อัตราการขยายตัวของ

เศรษฐกิจไทยป 2544 คงจะไมเกิน 1.5% ทั้งนี้เนื่องจากการสงออกป 2544 หดตัวประมาณ 6.5% การนํ าเขาหดตัวประมาณ 1.9% การใชจายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน เนื่องจากการถดถอยของความเชื่อมั่น ทํ าใหการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวเพียงประมาณ 2.5-2.7% ลดลงจากป 2543 ที่ขยายตัวไดประมาณ 4.6% นอกจากนั้น การใชจายเพื่อการลงทุนทั้งภาคเอกชนและการเบิกจายงบประมาณภาครัฐชะลอตัวลง ทํ าใหมูลคาทั้งปขยายตัวเพียง 0-0.5% เมื่อเทียบกับปกอนที่ขยายตัวถึง 5.4% สวนอัตราเงินเฟอเฉลี่ยทั้งปจะอยูที่ 1.7% เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากปที่แลว

สํ าหรับการคาดการณเศรษฐกิจป 2545 ศูนยวิจัยกสิกรไทยชี้วา กรณีที่ 1 เปนกรณีพื้นฐานที่สภาพการสงออกของไทยไมขยายตัวเพิ่มขึ้นจากป 2544 คือขยายตัวเปน 0% โดยเศรษฐกิจสหรัฐอาจขยายตัวเพียง 0-0.1% และเศรษฐกิจญี่ปุนอาจหดตัว 0.5% ตอเนื่องจากการหดตัวประมาณ 1% ในปนี้ การใชจายเพื่อการบริโภคของครัวเรือนขยายตัวเพียงประมาณ 2.5-2.7% การใชจายเพื่อการลงทุนภาคเอกชนซึ่งขึ้นกับการสงออกและนํ าเขาในกรณีพื้นฐานอาจขยายตัวเพียงประมาณ 0-1% อัตราเงินเฟออยูที่ประมาณ 1.5% ก็คาดวาอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปหนาจะอยูที่ประมาณ 1.6-2% สวนในกรณีที่ 2 กรณีที่การสงออกอาจจะพอขยายตัวได กรณีที่เศรษฐกิจสหรัฐฟนตัวดีขึ้นกวากรณีพื้นฐาน มาอยูที่ประมาณ 0.3-0.5% แทนที่จะเพียงแค 0-0.1% ก็คาดวาการสงออกของไทยจะขยายไดประมาณ3% และการนํ าเขาก็จะขยายตัวไดประมาณ 5% การใชจายเพื่อการบริโภคภาคครัวเรือน ในกรณีนี้ก็อาจจะขยายตัวไดประมาณ 3-3.3%การใชจายเพื่อการลงทุนภาคเอกชนก็จะเพิ่มขึ้นตามกิจกรรมการสงออกและนํ าเขาเปนประมาณ 3-5% อัตราเงินเฟอก็จะเพิ่มขึ้นตามไปอยูที่ประมาณ 1.7-2% ดังนั้น ในกรณีนี้อัตราการขยายตัวก็คาดวาจะไปไดถึงประมาณ 2.5-2.8% ได

อยางไรก็ตาม อัตราการขยายตัวที่จะเพิ่มขึ้นไมวากรณีไหนนั้น สวนหนึ่งเปนผลมาจากการคาดการณวา คาเงินบาทโดยเฉลี่ยจะออนตัวลงในป 2545 อยูในชวงระหวาง 45.20-45.80 บาท/ดอลลารสหรัฐ ซ่ึงจะทํ าใหมูลคาการเกินดุลการคาในรูปเงินบาทมีคาสูงขึ้น และเปนผลบวกตอการคํ านวณมูลคารายไดประชาชาติดวย (ผูจัดการ 191244)

2.2 สถานการณและคาดการณภาวะเศรษฐกิจไทยโดยหนวยงานภาครัฐ2.2.1 ธนาคารแหงประเทศไทยประเมินการขยายตัวเศรษฐกิจปหนา 1-3%ธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) โดย ดร.อัจนา ไวความดี ผูอํ านวยการอาวุโสฝายเศรษฐกิจในประเทศสายนโยบายการเงิน ได

ประเมินการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยป 2545 วาจะเติบโตประมาณ 1-3% โดยขึ้นอยูกับเงื่อนไข 2 ประการ คือ 1. การฟนตัวของประเทศคูคา ซ่ึงคาดวาจะเริ่มฟนตัวในครึ่งหลังของป 2545 แตหากเกิดขึ้นชากวานี้ จะมีโอกาสขยายตัวต่ํ ากวานี้ ประการที่ 2 บทบาทภาครัฐจะเปนเงื่อนไขสํ าคัญในการกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศ ทดแทนการลงทุนภาคเอกชน โดยธปท.เห็นวาการดํ าเนินการภาครัฐจะตองกระทํ าอยางมีประสิทธิภาพใน 3 เร่ืองคือ 1. การใชงบฉุกเฉิน 5.8 หมื่นลานบาท ซ่ึงจะตองมีการเบิกจายในปงบประมาณ 2545 ไมนอยกวา 80%ในแตละไตรมาส 2. การกระจายเงินกองทุนหมูบาน ซ่ึงจะมีการเบิกจายในงบประมาณปหนาประมาณ 51.9% และ 3. การลงทุนภาครัฐวิสาหกิจ จะตองมีการจายเพื่อการลงทุนที่กาวหนา ซ่ึงหากการใชจายภาครัฐเปนไปตามแผนที่ ธปท.คาดการณไว การกระตุนเศรษฐกิจภาครัฐจะมีสัดสวน 4.7% ของจีดีพี หรือเปนการอัดเงินเขาไปประมาณ 2.4 แสนลานบาท

อนึ่ง กอนหนานี้ ธปท. ประมาณการวา การสงออกของป 2544 จะมีมูลคา 64,000 ลานดอลลารสหรัฐ หรือขยายตัวลดลง 6%สวนป 2545 คาดวาจะมีมูลคา 66,000 ลานดอลลารสหรัฐ หรือขยายตัวเพิ่มขึ้น 3-4% สวนการนํ าเขาป 2544 มีมูลคาประมาณ 62,000ลานดอลลารสหรัฐ หรือลดลง 1% สวนปหนาคาดวาจะนํ าเขาประมาณ 66,000 ลานดอลลารสหรัฐ หรือขยายตัวเพิ่มขึ้น 7% สวนดุลการคาในป 2544 เกินดุล 1,800 ลานดอลลารสหรัฐ และป 2545 การเกินดุลจะเขาใกลศูนย เนื่องจากมูลคาการสงออก-นํ าเขาอยูในระดับใกลเคียง

Page 17: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

160

กัน สํ าหรับดุลบัญชีเดินสะพัดป 2544 คาดวาจะเกินดุล 5,000 ลานดอลลารสหรัฐ และป 2545 จะเกินดุล 3,000 ลานดอลลารสหรัฐ(กรุงเทพธุรกิจ 291244)

2.2.2 สภาพัฒนฯ เตือนแนวโนมการฟนตัวเศรษฐกิจโลกครึ่งหลังปหนามีความไมแนนอนสูงเมื่อวันที่ 17 ธ.ค. 2544 สํ านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ หรือสภาพัฒนฯ แถลงภาวะเศรษฐกิจ

ไทยและคาดการณเศรษฐกิจป 2545 โดยกลาววา แนวโนมเศรษฐกิจไทยไตรมาส 4 คาดวาจะขยายตัวไดเพียงประมาณ 0.8% ทํ าใหคาดการณอัตราขยายตัวทั้งป 2544 อยูในอัตรา 1.5% โดยตัวเลขการใชจายเพื่อการบริโภคครัวเรือนอยูที่ประมาณ 2.5% การลงทุนภาคเอกชนอยูที่ประมาณ 3% การใชจายภาครัฐอยูที่ประมาณ 2% การสงออกลดลง 6.7% การนํ าเขาลดลง 1.8% ทํ าใหการเกิลดุลบัญชีเดินสะพัดเพียงประมาณ 5,000 ลานดอลลารสหรัฐ หรือเพียง 7.5% และอัตราเงินเฟออยูที่ 1.7%

สวนประมาณการเศรษฐกิจป 2545 สภาพัฒนฯคาดวาจะขยายตัวประมาณ 2% โดยการลงทุนภาคเอกชนมีประมาณ 3.5% การลงทุนภาครัฐเพิ่มขึ้นเปน 3% การบริโภคภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น 3% การสงออกขยายตัว 1.5% มูลคา 6.43 หมื่นลานดอลลารสหรัฐ นํ าเขาเพิ่มขึ้น 3.7% มูลคา 6.35 หมื่นลานดอลลารสหรัฐ ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล 3.4 พันลานดอลลารสหรัฐ คิดเปน 2.9% ของจีดีพี อัตราเงินเฟอประมาณ 2%

อยางไรก็ตาม สภาพัฒนฯ ระบุวา แนวโนมเศรษฐกิจของไทยในป 2545 นั้น คาดวาในชวงครึ่งหลังของป ขอจํ ากัดของเศรษฐกิจโลกตอไทยจะลดลงกวาชวงปลายป 2544 แตก็ยังไมเอื้ออํ านวยตอการสงออก การลงทุน และการทองเที่ยวมากนัก ทํ าใหการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกในครึ่งหลังของป 2545 ยังมีความไมแนนอนสูง ในกรณีที่เศรษฐกิจโลกฟนตัวชาโดยยังไมฟนภายในป 2545 สภาพัฒนฯ ช้ีวาหากสมมติฐานเศรษฐกิจสหรัฐขยายตัวที่ 0% จะทํ าใหการสงออกของไทยหดตัวอยูที่ระดับ 0% เชนกัน ขณะการนํ าเขาจะขยายตัวประมาณ2.6% ซ่ึงสงผลกระทบตอการผลิต การลงทุน และการใชจายภาคเอกชน ในกรณีนี้จะทํ าใหเศรษฐกิจไทยขยายตัวประมาณ 1.3% ในป 2545และในกรณีเชนนี้ สภาพัฒนมีความเห็นวา การกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศทั้งจากการใชจายของภาครัฐ และมาตรการสนับสนุนการดํ าเนินกิจการของเอกชน เปนสิ่งสํ าคัญ ดังนั้น ปจจัยเสี่ยงของสมมติฐานในกรณีหลังนี้จะประกอบไปดวย 1. ตองดํ าเนินการอยางเปนรูปธรรมและใหเห็นผลชัดเจนในการใชจายภาครัฐเพื่อกระตุนเศรษฐกิจภายใตงบประมาณป 2545 รวมทั้งนโยบายที่สํ าคัญ เชนโครงการธนาคารเพื่อประชาชน โครงการกองทุนหมูบาน รวมทั้งโครงการสินเช่ือเพื่อที่อยูอาศัย 2. การเรงแกปญหาความยากจนใหมากขึ้น รวมทั้งการพยายามเนนการจางงานเพื่อรองรับกับนักศึกษาที่เพิ่งจบใหมประมาณปละ 3-4 แสนคน 3. การเนนเพิ่มขีดความสามารถของประเทศโดยเฉพาะอยางยิ่งการปรับโครงสรางภาครัฐ และการสรางบรรษัทภิบาลในภาคเอกชน 4. เรงรัดการลงทุนจากตางประเทศ รวมทั้งโครงการขนาดใหญของรัฐบาล เชน โครงการสนามบินสุวรรณภูมิ และรถไฟฟามหานคร จะตองมีประสิทธิภาพและเปนไปตามเปาหมาย เพื่อสรางบรรยากาศในการลงทุนใหเกิดขึ้น (มติชน 181244)

2.2.3 นายกรัฐมนตรีไทยใหความหวังปหนาเศรษฐกิจของประเทศจะขยายตัวไมตํ่ ากวา 3%รายงานขาวกลาววา พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กลาวกับนักธุรกิจช้ันนํ าในมหานครนิวยอรก ระหวางการเดินทางไป

เยือนสหรัฐอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 17 ธ.ค. 2544 วา ประเทศไทยมีศักยภาพในการลงทุนที่ดี มีบุคลากรที่มีความพรอม สามารถเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจในอาเซียนไดแนนอน เพราะบรรยากาศทางการเมืองเปนไปดวยดี เมื่อเปรียบเทียบกับอินโดนีเซียและสิงคโปร และยังไดกลาววา เศรษฐกิจของไทยป 2545 มีแนวโนมขยายตัวไมต่ํ ากวา 3% เพราะรัฐบาลไดดํ าเนินมาตรการทั้งกระตุนการสงออก ดึงการลงทุนจากตางประเทศ และที่สํ าคัญมีการดํ าเนินนโยบายเพื่อกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศ ดังนั้น หากตัวใดตัวหนึ่งมีปญหา เศรษฐกิจของไทยก็ยังจะขยายตัวได นอกจากนั้น นายกรัฐมนตรียังกลาวดวยวา ถาหากสหรัฐและญี่ปุนฟนตัวดี จะเปนผลดีตอการสงออกของไทย โดยการสงออกจะขยายตัวไดระหวาง 5-10% แตทั้งนี้ ไดขอใหอธิบดีกรมสงเสริมการสงออกไปรวบรวมตัวเลขแลวประกาศออกมาอยางเปนทางการอีกครั้งหนึ่ง (ไทยโพสต 191244)

3. ความเคลื่อนไหวภาครัฐ3.1 ความเคลื่อนไหวดานนโยบายและการกระตุนเศรษฐกิจ3.1.1 นายกรัฐมนตรีเผยแนวทางการฟนฟูและผลักดันสถานการณเศรษฐกิจในประเทศรายงานพิมพเผยแพรเมื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2544 ในการใหสัมภาษณหนังสือพิมพมติชน กอนการเดินทางไปเยือนประเทศสหรัฐอยาง

เปนทางการ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดกลาวเกี่ยวกับแนวทางการแกปญหาประเทศชาติวา สิ่งที่หวงใยคืองบประมาณ เพราะงบประมาณตองเก็บไวสํ าหรับใชหนี้เงินกู ขณะที่เศรษฐกิจก็ตองการเงินกู ตองใชงบประมาณขาดดุล ตองเพิ่มหนี้ และวารัฐบาลจึงตองทํ า 2 เร่ืองคือพยายามควบคุมหนี้ใหไดมากที่สุด ขณะเดียวกันก็ตองสรางรายไดใหไดมากที่สุด ทั้งการแปรรูป ทั้งทองเที่ยว และสงออก

Page 18: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

161

นายกรัฐมนตรีกลาววา ในการสรางรายไดเพิ่มนั้น อันดับที่หนึ่ง คือการสรางรายไดจากการทองเที่ยว โดยจะมีการพัฒนาผลิตภัณฑดวย ทํ าดานการตลาดสินคารวมกับประเทศเพื่อนบานดวย อันดับที่สอง คือการนํ ารัฐวิสาหกิจเขาตลาดหลักทรัพยฯ และอันดับที่สามคือการสงออก โดยเปลี่ยนวิธีใหม แทนที่ประเทศในเอเชียจะแขงขันกันเองในตลาดยุโรป อเมริกา ก็ไปเปดตลาดใหม โดยวิธีบุกเบิกเสนทางใหม เชนการไปปาฐกถาที่งานฟอรจูน ฟอร่ัม โกลเบิล ที่ฮองกง จากนั้นก็เดินสาย จับจีน จับอินเดีย จับญี่ปุน จับมาเลเซีย จะมีการตั้งทีมงานเพื่อวางแผนวา เอเชียควรจะคาขายกันแบบไหน อยางไร เพื่อใหเกิดการคาขายรวมกันมากขึ้น ไมใหมีกํ าแพงภาษี เชนการเริ่มเรื่องกลุมรวมมือคาขาว เปนตน นอกจากนั้น นายกรัฐมนตรียังไดกลาวถึงการที่จะดึงดูดเงินลงทุนจากตางประเทศใหไหลเขามาวา 1. ตองมีความมั่นคง2. ตองกระจายทุนไวในตลาดเงิน 3. มีวิธีการทํ าใหประเทศเปนที่นาลงทุน เงินก็จะไหลเขามาเอง และไดกลาวถึงวิธีวาจะตองบริหารเศรษฐกิจสวนบนแบบทุนนิยม ขณะเดียวกันบริหารสวนลางแบบสังคมนิยม (มติชน 081244)

3.1.2 นายกรัฐมนตรีและคณะ เดินทางเยือนสหรัฐอยางเปนทางการ เพ่ือกระชับความรวมมือดานเศรษฐกิจและอื่นๆ

ระหวางวันที่ 13-19 ธ.ค. 2544 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี พรอมดวยคณะ อาทิ นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกฯและรมต.คลัง นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รมต.ตางประเทศ นายอดิศัย โพธารามิก รมต.พาณิชย และตัวแทนจากภาคเอกชน เดินทางไปเยือนสหรัฐอยางเปนทางการ โดยมีจุดประสงคเพื่อกระชับความรวมมือดานเศรษฐกิจ การลงทุน และความมั่นคง โดยมีการลงนามบันทึกความเขาใจวาดวยกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจไทย-สหรัฐ ซ่ึงระบุถึงความรวมมือและสงผลประโยชนซ่ึงกันและกันในดานตาง ๆ เชน ความรวมมือดานการคาและการลงทุน ความรวมมือภาคเอกชน การสงเสริมอุตสาหกรรมขนาดกลาง-ยอม การขจัดอุปสรรคดานภาษี รวมถึงการสงเสริมไทยใหเปนศูนยกลางของการขนสงทางอากาศยานของภูมิภาค และความรวมมือพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยางลอเครื่องบิน เปนตนนอกจากนั้น จะมีการหารือในเรื่องความมั่นคง ในประเด็นการตอตานการกอการราย และในการเยือนครั้งนี้ นายกรัฐมนตรีมีกํ าหนดไปเปนสักขีพยานการลงนามความตกลงวาดวยกองทุนรวมทุน (Matching Fund) ระหวางนายสมคิด จาติศรีพิทักษ รมต.คลัง กับนายแดน เควลอดีตรองประธานาธิบดี และประธานบริษัทเซอรเบรัส แคปตอล แมเนจเมนท ในวันที่ 13 ธ.ค. 2544 ดวย โดยเซอรเบรัสกํ าหนดเงินลงทุนในเบ้ืองตนจํ านวน 500 ลานดอลลารสหรัฐ โดยทางรัฐบาลไทยจะรวมลงขันดวยในวงเงิน 100 ลานดอลลารสหรัฐ (มติชน 081244, พิมพไทย151244)

3.1.3 ก.คลังอนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมทุนทองถิ่น (Local Matching Fund) วงเงิน 3 หมื่นลานบาทแลวจากการเปดเผยของนายสมใจนึก เองตระกูล ปลัด ก.คลัง วา ก.คลังไดเห็นชอบในหลักการใหจัดตั้งกองทุนเพื่อการรวมทุนทอง

ถิ่น ที่รวมกันระหวาง กองทุนบํ าเหน็จบํ านาญขาราชการ (กบข.)เปนแกนนํ า รวมกับภาครัฐ ซ่ึงมีธนาคารกรุงไทยและธนาคารออมสินเปนแกนนํ า ในวงเงิน 3 หมื่นลานบาท โดยจะเริ่มตนในเดือน ม.ค. 2545 ทั้งนี้โดยมี ก.คลังเปนผูค้ํ าประกันความเสียหายใหกับสถาบันการเงินของรัฐ 100% หากเกิดความเสียหายขึ้น ทั้งนี้ จะเนนการลงทุนโดยนํ าเงินเขาไปลงทุนในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย โดยเฉพาะบริษัทที่ตองการเพิ่มทุน บริษัทที่มีมูลคาหุนตํ่ ากวามูลคาทางบัญชี และบริษัทที่ตองการขายหุนแบบเฉพาะเจาะจง (กรุงเทพธุรกิจ 271244)

3.1.4 โครงการเรงดวนเพ่ือกระตุนเศรษฐกิจ ในวงเงินงบประมาณ 5.8 หมื่นลานบาท คืบหนาไปอยางไร

จากการที่รัฐบาลไดอนุมัติงบฉุกเฉินวงเงิน 5.8 หมื่นลานบาท เพื่อการกระตุนเศรษฐกิจ โดยไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองโครงการขึ้นมาเพื่อทํ าการพิจารณาอนุมัติโครงการที่นํ าเสนอ ซ่ึงแบงออกเปน 5 สาขา คือสาขาเกษตร 1.55 หมื่นลานบาท สาขาอุตสาหกรรมและเอสเอ็มอี 8 พันลานบาท การทองเที่ยว 6 พันลานบาท ดานชุมชนของสภาพัฒนฯ 8.5 พันลานบาท และการฝกอบรมของสภาพัฒนฯอีก 8 พันลานบาท รวมวงเงินทั้งหมด 4.6 หมื่นลานบาท สวนวงเงินที่เหลือ 1.2 หมื่นลานบาทนั้น สํ าหรับการแกไขปญหาราคาสินคาเกษตรตกตํ่ า รายงานขาวกลาววา การดํ าเนินงานตามโครงการยังไมสามารถเดินหนาไดอยางเต็มที่ เพราะโครงการตางๆ ที่ยื่นเขามา สวนใหญตองนํ ากลับมารื้อใหม มีความซํ้ าซอน และไมอาจกอใหเกิดการกระตุนเศรษฐกิจไดอยางแทจริง รวมทั้งยังไมตรงตามวัตถุประสงคอีกจํ านวนมาก นายจาตุรนต ฉายแสง รมต.ประจํ าสํ านักนายกรัฐมนตรี ที่กํ ากับดูแลเรื่องนี้ กลาวยอมรับวา สาเหตุที่โครงการลาชา เนื่องจากในชวงแรก หนวยงานตางๆ ยังขาดความเขาใจในหลักเกณฑ และการเสนอโครงการ โดยคิดวาเปนโครงการตามงบประมาณปกติ จึงมีการนํ าเอาโครงการเดิมที่ไมกอใหเกิดการกระตุนเศรษฐกิจมานํ าเสนอ ขณะเดียวกัน การพิจารณาอนุมัติก็ตองใชเวลามากพอสมควร ประกอบกับการเตรียมโครงการมีเวลาไมมากนัก และอยูในชวงคาบเกี่ยวปงบประมาณใหม จึงทํ าใหโครงการที่ไดรับการอนุมัติเบิกจายงบประมาณจริงมีนอย

รายงานขาวกลาววา ปจจุบัน มีโครงการที่ผานความเห็นชอบของคณะกรรมการกลั่นกรองจํ านวนทั้งสิ้น 27 โครงการ วงเงิน16,425.6 ลานบาท คิดเปน 35.7% ของกรอบวงเงินทั้งหมด และมีโครงการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติแลว 21 โครงการ วงเงินรวม 12,586.5

Page 19: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

162

ลานบาท แตมีเพียง 2 โครงการเทานั้นที่สํ านักงบประมาณอนุมัติไป วงเงินทั้งหมด 5,115.52 ลานบาท นอกจากนี้ ยังมีโครงการที่อยูระหวางการพิจารณาอนุมัติ คือโครงการฟนฟูอาชีพเกษตรกรหลังการพักชํ าระหนี้ วงเงิน 1,790.62 ลานบาท (พิมพไทย 311244)

3.1.5 ก.คลัง วางกรอบงบประมาณป 2546 ใหเปนไปตามแนวทางใหมนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี และรมต.คลัง เปดเผยภายหลังการหารือรวมกับผูบริหารระดับสูงของ ก.คลัง และ

กรมจัดเก็บภาษีวา การหารือเปนการมอบหมายนโยบายใหวางกรอบของงบประมาณป 2546 โดยใหเร่ิมพิจารณาการจัดทํ าต้ังแตตนป และตองใหสอดคลองกับแนวทางการทํ างบประมาณแบบใหมดวย และวางบประมาณรายจายป 2546 นั้นยังตองมีบทบาทในการกระตุนเศรษฐกิจ และการใชเงินจะตางจากเดิมที่หนวยงานราชการเสนอมา โดยจะเปลี่ยนเปนการวางนโยบายกอน จึงคอยจัดสรรเงินตามนโยบายและขึ้นอยูกับความจํ าเปน เพราะมีทรัพยากรคอนขางจํ ากัด สํ าหรับทางดานรายไดนั้น 3 กรมภาษีรายงานวาอยูในระดับที่นาพอใจ ทางดานรายจายนั้น หากไมจํ าเปนก็ตองลดลง เพราะการผลักดันใหเศรษฐกิจดีขึ้น ไมไดอยูที่เงินงบประมาณอยางเดียว ตองอยูที่การขับเคลื่อนของภาคเอกชนดวย

รายงานอางแหลงขาวจาก ก.คลังกลาววา การจัดทํ างบประมาณป 2546 ไดเร่ิมมีการหารือรวมกันระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อนํ ากรอบการจัดทํ างบประมาณและปจจัยตางๆ มาเปนตัวกํ าหนดกรอบรายไดรายจาย และการขาดดุลงบประมาณที่ชัดเจน โดยคาดวาจะไดขอสรุปภายในเดือน ม.ค. 2546 แหลงขาวกลาวอีกวา การจัดทํ างบประมาณครั้งนี้ นอกจากจะคํ านึงถึงภาวะขอจํ ากัดของฐานะการคลังแลว ยังตองคํ านึงถึงภาวะเศรษฐกิจดวย โดยตองมองแนวโนมเศรษฐกิจในระยะ 3 ปขางหนาดวยวา จํ าเปนตองใชงบประมาณเพื่อการกระตุนเศรษฐกิจหรือไม และวา หากตองการใหเศรษฐกิจขยายตัวมากกวา 2-2.5% ดังที่คาดการณไวในป 2545 งบประมาณก็ตองขยายตัวมากกวาปกติ ความจริงแลวจากฐานรายจายป 2545 เศรษฐกิจควรจะโตประมาณ 5-7% หากไมหักงบฉุกเฉิน 5.8 หมื่นลานบาทออกไป แตเนื่องจากรัฐตองการกันงบฉุกเฉินไวกระตุนเศรษฐกิจ จึงดูวางบฯป 2545 มีการขยายตัวผิดปกติไป อยางไรก็ตาม หากเศรษฐกิจเริ่มฟนตัวอยางที่คาดการณไว ก็ไมจํ าเปนตองตั้งงบประมาณรายจายสูงเกินไป เพราะขณะนี้ฐานะการคลังคอนขางมีความออนไหว (กรุงเทพธุรกิจ011244)

3.1.6 ประชุม ครม.นัดพิเศษหรือ "ครม.ยุทธศาสตร" เปนแบบไมเปนทางการ นัดกันทุกบายวันพุธเมื่อวันที่ 26 ธ.ค. 2544 เปนครั้งแรกในการประชุมครม.นัดพิเศษ นายยงยุทธ ติยะไพรัช โฆษกประจํ าสํ านักนายกรัฐมนตรี แถลง

ภายหลังการประชุมวา ในที่ประชุม นายกรัฐมนตรีไดเสนอยุทธศาสตร 5 เร่ือง เพื่อปรับทิศทางในการทํ างานที่ผานมาใหมีความถูกตองชัดเจนยิ่งขึ้น พรอมกับซักซอมทํ าความเขาใจรวมกัน หลังจากนั้น รัฐมนตรีแตละทานจะนํ ายุทธศาสตรใหมๆ ที่ศึกษาคนควาในแตละกระทรวงมาปรึกษาหารือในที่ประชุม ครม. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ยุทธศาสตรทั้ง 5 เร่ืองประกอบดวย 1. ยุทธศาสตรการเสริมสรางมาตรการจูงใจใหนักลงทุนตางชาติหันมาลงทุนในประเทศไทย โดย พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนตรี และรมต.กลาโหม เปนหัวหนาคณะในการศึกษา นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รมต.คลัง รับผิดชอบในสวนที่เกี่ยวของดานการเงินการคลัง นายจาตุรนต ฉายแสง รมต.ประจํ าสํ านักนายกฯ ดูแลเรื่องการลงทุน เปนตน 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟตแวรของไทย มอบใหนายสุวิทย คุณกิตติ รมต.ศึกษา เปนหัวหนาคณะ 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาการทองเที่ยว ไดมอบใหนายสมคิด จาตุศรีพิทักษเปนประธาน ประกอบดวยนายปองพล อดิเรกสารรมต.ประจํ าสํ านักนายกฯ นายสมศักด์ิ เทพสุทิน รมต.ประจํ าสํ านักนายกฯ เปนตน 4. ยุทธศาสตรการแกไขปญหาความยากจน นายพิทักษอินทรวิทยนันท รมต.ประจํ าสํ านักนายกฯ เปนประธาน 5. ยุทธศาสตรฟนฟูภาคการกอสราง จะมีเร่ืองอสังหาริมทรัพยที่มอบใหนายปองพลเปนผูดูแล ทั้งนี้ยังมีโครงสรางพื้นฐานที่รวมอยูในยุทธศาสตรที่ 5 ซ่ึงไดมอบหมายให นายวันมูหะหมัดนอร มะทา รมต.คมนาคม รวมกับนายประชา มาลีนนท รมช.คมนาคม ทํ าการศึกษา โดยทั้ง 5 ยุทธศาสตร แตละคณะมีเวลาศึกษา 1 เดือน โดยนัดประชุมเสนอผลวันที่ 30 ม.ค.2545 (ผูจัดการ, มติชน 271244)

4. ความเคลื่อนไหวภาครัฐวิสาหกิจและอสังหาริมทรัพย4.1 ความเคลื่อนไหวดานอสังหาริมทรัพย4.1.1 ครม.เห็นชอบมาตรการสนับสนุนธุรกิจอสังหาริมทรัพย- ใหนํ าดอกเบี้ยกูยืมเพื่อซ้ือหรือเชาที่อยูอาศัยมาหักลดภาษีไดในการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 ธ.ค. 2544 ที่ประชุมไดมีการอนุมัติมาตรการตางๆ เพื่อสนับสนุนธุรกิจที่อยูอาศัย เชน 1.

อนุมัติใหนํ าดอกเบี้ยกูยืมเพื่อใชซ้ือ เชาซ้ือ หรือกอสรางอาคารที่อยูอาศัย มาหักลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา โดยใหรวมไปถึงการกูยืมจากกองทุนบํ าเหน็จบํ านาญขาราชการ (กบข.) ดวย จากเดิมใหกูยืมเฉพาะสถาบันการเงินเทานั้น ทั้งนี้โดยกํ าหนดใหนํ ามาหักลดหยอนไดไมเกิน 50,000 บาทตอปภาษี (ผูจัดการ 121244)

Page 20: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

163

- อนุมัติยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะและอากรแสตมปให กบข.ที่ประชุม ครม. ยังไดอนุมัติใหมีการยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะและอากรแสตมปให กบข. ในกรณีที่ กบข. ไดรับดอกเบี้ยเงินกูยืมจาก

ขาราชการ ซ่ึงเปนการยกเวนเชนเดียวกับที่ใหกับกองทุนสํ ารองเลี้ยงชีพ รวมทั้งยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมปสํ าหรับการขายอสังหาริมทรัพยของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย ที่สํ านักงานคณะกรรมการกํ ากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.)อนุมัติใหจัดตั้งขึ้นเพื่อฟนอสังหาริมทรัพย ซ่ึงขณะนี้จัดตั้งขึ้นแลว 3 กองทุน (ผูจัดการ 121244)

- อนมัุตมิาตรการภาษีกระตุนอสังหาริมทรัพย ลดคาธรรมเนียมการโอนที่ดินจาก 1% เหลือ 0.01% รฐัยอมสูญเสียรายได 2,230 ลานบาทตอป

นอกจากนั้นที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 ธ.ค. 2544 ยังไดอนุมัติมาตรการกระตุนอสังหาริมทรัพย โดยขยายเวลาลดคาธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรม จาก 1% เหลือ 0.01% ออกไปอีก 1 ป โดยประเภทอสังหาริมทรัพยที่ไดรับการลดหยอนประกอบดวย 1. ที่ดิน อาคาร หรืออาคารพรอมที่ดินตามกฎหมายวาดวยการควบคุมการจัดสรรที่ดิน หรือที่ดํ าเนินการจัดสรรที่ดินโดยทางราชการ หรือองคการของรัฐบาล ที่มีอํ านาจหนาที่ในการจัดสรรที่ดิน 2. หองชุดทั้งหมดในอาคารชุด 3. อาคารสํ านักงาน โดยตองเปนอาคาร หรืออาคารพรอมที่ดินที่ไดรับอนุญาตใหปลูกสรางตามกฎหมาย

ในการขออนุมัติครั้งนี้ มีผลกระทบที่จะเกิดขึ้นคือ จะทํ าใหรัฐบาลตองสูญเสียรายไดทั้งสิ้น 2,230 ลานบาท แบงเปนรายไดจากคาจดทะเบียนการจํ านองประมาณ 400 ลานบาท คาจดทะเบียนการโอนที่อยูอาศัยประมาณ 730 ลานบาท ที่ดินเปลาประมาณ 100 ลานบาท และอาคารสํ านักงานประมาณ 1,000 ลานบาท แตทั้งนี้ ทางการก็เช่ือวาจะทํ าใหเกิดแรงจูงใจใหมีการโอนและจํ านองอสังหาริมทรัพยและหองชุดเพิ่มมากขึ้น (กรุงเทพธุรกิจ 101244)

4.1.2 ธนาคารอาคารสงเคราะหจัดงานมหกรรมบาน ธอส.-กบข. เพ่ือที่อยูอาศัยของขาราชการ ยอดจองนอยกวาที่คาด

งานมหกรรมดังกลาวจัดขึ้นระหวางวันที่ 22-24 ธ.ค. 2544 ที่อิมแพคเมืองทองธานี ผูสื่อขาวรายงานวา บรรยากาศงานวันสุดทายคอนขางเงียบเหงา มีคนไปชมงานนอยมาก แมชวงที่เปดใหมีการจองสิทธิกูจะมีขาราชการไปใชสิทธิกันจํ านวนมากถึงกวา 8.4 หมื่นรายและเปดงานวันแรกคอนขางคึกคักก็ตาม แหลงขาวจากบรรษัทบริหารสินทรัพยสถาบันการเงิน (บบส.) กลาววา โครงการมหกรรมบานธอส.-กบข. เพื่อที่อยูอาศัยขาราชการครั้งนี้ มีขาราชการมาจองซื้อนอยมาก เพราะขาราชการเกรงวาจะไมสามารถผอนชํ าระหนี้ไดตลอดอายุสัญญา ภายหลังจากคํ านวณรายไดสุทธิแลว หรือรายไดคอนขางจํ ากัด ขาราชการจึงไมมีศักยภาพพอที่จะกู (มติชน 251244)

4.2 ความเคลื่อนไหวดานการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ4.2.1 ก.คลัง ลงมติใหองคการโทรศัพทฯ จดทะเบียนบริษัทตามมูลคาทางบัญชี ทุนประเดิม 6 หมื่น

ลานบาทในการประชุมคณะกรรมการเตรียมการจัดตั้ง บริษัทองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท.) และการสื่อสารแหงประเทศไทย

(กสท.) เมื่อวันที่ 30 พ.ย. 2544 จากการเปดเผยของนายอารีพงศ ภูชะอุม รองโฆษกคณะกรรมการฯ กลาววา ที่ประชุมมีมติใหนํ า ทศท. เขาจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท โดยใชมูลคาทรัพยสินทางบัญชีเบ้ืองตน 6 หมื่นลานบาท ซ่ึงเปนแนวทางเดียวกับการปโตรเลียมแหงประเทศไทย(ปตท.) ทั้งนี้ ทศท. มีมูลคาทรัพยสินรวมประมาณ 180,000 ลานบาท แตหากหักสัมปทานและหนี้สินมูลคา 120,000 ลานบาท จะเหลือมูลคาทางบัญชีประมาณ 6 หมื่นลานบาท ทั้งนี้ เปนแนวทางที่แตกตางจากแผนงานที่ ทศท. กํ าหนดไว ที่จะจดทะเบียนตั้งบริษัทประมาณ28,000 ลานบาทเทานั้น

นอกจากนี้ ยังมีนโยบายใหรวมกับ กสท. กอนที่จะนํ าบริษัทเขาไประดมทุนในตลาดหลักทรัพย แตในการประชุมครั้งนี้ กสท. ยังไมไดสงมูลคาทรัพยสิน และการประเมินราคาหุนใหที่ประชุม ถาหากใหทั้งสององคกรรวมกันกอนนํ าเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย มูลคาการจดทะเบียนอาจจะตองมีการปรับเปลี่ยน ดังนั้น จึงตองขึ้นอยูกับนโยบายและวิธีการรวมกันระหวางสององคกรนี้

นายไกรสร พรสุธี รองปลัด ก.คมนาคม ประธานคณะทํ างานศึกษาการรวมองคการโทรศัพทแหงประเทศไทยและการสื่อสารแหงประเทศไทย กลาวภายหลังการประชุมวา ที่ประชุมไดสรุปหลักการรวมเปน 2 แนวทาง คือ 1. รวม ทศท. และ กสท. โทรคมนาคม เปนหนึ่งบริษัท แลวเขาตลาดหลักทรัพยเพื่อระดมทุน 2. นํ าบริษัทโฮลดิ้ง ที่มี บริษัท ทศท. จํ ากัด และบริษัท กสท. โทรคมนาคม จํ ากัด เขาตลาดโดยมอบหมายใหทั้ง 2 หนวยงานไปศึกษาแนวทางความเปนไปไดที่จะรวมกับที่ปรึกษาที่ทั้ง 2 องคกรจางเขามาศึกษาเรื่องดังกลาว ยังไมสามารถใหคํ าตอบไดวาวิธีไหนจะมีมูลคาหุนเทาไร ซ่ึงสองหนวยงานจะนํ ามาเสนอตอไป (กรุงเทพธุรกิจ 011244)

4.2.2 ครม. อนุมัติแกกฎหมายสื่อสารใหตางชาติถือหุนเพิ่มเปน 49%

Page 21: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

164

จากการเปดเผยของนายวันมูหะหมัดนอร มะทา รมต.คมนาคม วา ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 ธ.ค. 2544 ไดรับทราบและเห็นชอบการขอแกไข พ.ร.บ.ประกอบกิจการโทรคมนาคม ที่มีผลบังคับใชแลว ในมาตรา 8 แกไขใหตางชาติถือหุนไดไมเกิน 49% จากเดิมที่กํ าหนดไว 25% และมาตรา 58 ขอแกไขเก็บเงินคาบริการลวงหนา จากเดิมหามเก็บเงินลวงหนา สํ าหรับขั้นตอนแกไข ตองเสนอใหคณะกรรมการกลั่นกรองพิจารณา และเสนอกลับเขาครม. อนุมัติอยางเปนทางการอีกครั้ง เพื่อเสนอเรื่องไปยังสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาพิจารณา โดยระหวางแกไขกฎหมาย ผูประกอบการไมไดรับผลกระทบ เพราะกฎหมายไมมีผลยอนหลัง สวนประเด็นการคืนเงินประกันตามมาตรา 58 นั้น เพื่อความชอบธรรม ก.คมนาคมมีนโยบายใหองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย และการสื่อสารแหงประเทศไทย รวมทั้งเอกชนผูรับสัมปทาน คืนเงินประกันเลขหมายที่เคยเก็บทั้งหมดใหกับผูใชบริการโดยเร็วที่สุด (ไทยโพสต 121244)

4.2.3 หุน ปตท. เขาซื้อขายในตลาดวันแรกคึกคัก ดันวอลุมพุงขึ้นเกือบ 2 หมื่นลานบาทรายงานบรรยากาศการซื้อขายหุนการปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) ที่เขาตลาดวันแรกเมื่อวันที่ 6 ธ.ค. 2544 วาการซื้อขาย

เต็มไปดวยความคึกคัก ราคาเปดที่ 38 บาท สูงกวาราคาจองที่หุนละ 35 บาท หรือคิดเปนสัดสวน 8.57% และสูงสุดระหวางวันที่ 38.25บาท เพิ่มขึ้น 9.28% หลังเปดซ้ือขายเพียงไมกี่นาที แตหลังจากนั้น โดนแรงขายทํ ากํ าไรออกมาราคาปดที่ 35.75 บาท สูงกวาราคาจอง 0.75บาท หรือ 2.14% ดวยมูลคาการซื้อขายทั้งสิ้น 6,376.03 ลานบาท จากมูลคาการซื้อขายรวมของตลาดที่ 19,536.23 ลานบาท ถือวาสูงสุดในรอบ 11 เดือน สวนดัชนีตลาดหลักทรัพยปดที่ 305.25 จุด เพิ่มขึ้น 1.44 จุด (มติชน 071244)

นักวิเคราะหรายหนึ่งกลาววา ราคาหุนปรับตัวขึ้นไปไมสูงนัก สวนหนึ่งอาจเปนผลมาจาก ตัวแทนผูจัดจํ าหนายและรับประกันการจํ าหนาย หรืออันเดอรไรทเตอร ไดมีการเขาไปพยุงราคา เพราะจะตองรอชอนซ้ือหุนจํ านวน 120 ลานหุน ที่เปนสวนของกรีนชู ออฟช่ัน กลับคืนใหกับ ก.คลัง ในระดับราคาตํ่ าที่สุด บวกกับแรงขายทํ ากํ าไรของนักลงทุนรายยอย ที่เทออกมาอยางหนัก หลังจากที่ราคาหุนไมสามารถทรงตัวอยูที่ 38 บาทได (กรุงเทพธุรกิจ 071244)

- หุน ปตท. หลุดราคาจองในวันที่ 3 ของการซื้อขายในตลาด เหตุตางชาติเทขายตอมาในตลาดการซื้อขายหุนวันที่ 11 ธ.ค. 2544 วันที่ 3 ของการเขาซ้ือขาย มีรายงานวาเนื่องจากนักลงทุนเริ่มไมมั่นใจหุน ปตท.

เกรงรัฐเขาแทรกแซง ไมสามารถจายปนผลไดอยางตอเนื่อง ทํ าใหมีแรงเทขายจนหลุดราคาจองไปอยูที่ 34 บาท ลดลง 1.50 บาท หรือ4.23% ดวยมูลคาการซื้อขาย 1,424.41 ลานบาท ติดอันดับหุน 10 อันดับแรกที่มีการซ้ือขายสูงสุดในวันนี้ นายกิตติรัตน ณ ระนอง กรรมการและผูจัดการตลาดหลักทรัพยกลาววา ราคาหุนของ ปตท. ที่ปรับตัวลงต่ํ ากวาราคาจอง ถือวาเปนการแสดงสัญญาณที่ไมดี และอาจสงผลกระทบตอการขายหุนรัฐวิสาหกิจตัวอื่น ๆ ได ขณะที่โบรกเกอรตางชาติหลายรายกลาวถึงสาเหตุที่หุนปตท.ปรับตัวลงต่ํ ากวาราคาจองวาเนื่องจากมีแรงเทขายจากนักลงทุนตางชาติ เชนการเทขายของลูกคาตางชาติเอบีเอ็น แอมโร ซอคเจน และ ซีเอส เฟรส บอสตัน กอนหนานี้ในวันแรกของการซื้อขาย ก็มีแรงเทขายของเลหแมน บราเธอรส ราว 1,000 ลานบาท ผาน บ.แอดคินซัน (มติชน, กรุงเทพธุรกิจ 121244)

สวน ม.ล.ชโยทิต กฤดากร กรรมการผูจัดการ บล.ไทยพาณิชย จํ ากัด กลาววา การที่หุน บจม. ปตท. ปรับตัวลดตํ่ ากวาราคาจองเนื่องจาก นักลงทุนเก็งกํ าไรระยะสั้น โดยซื้อขายภายในวันเดียว พอจังหวะราคาหุนไมเพิ่ม จึงจํ าเปนตองเทขายหุนออกมา ดานนายฉัตรพีตันติเฉลิม ผูอํ านวยการฝายวานิชธนกิจ บล.ไทยพาณิชย ในฐานะแกนนํ าอันเดอรไรทหุน ปตท. เปดเผยวา หากเปนไปตามกระแสขาวที่วาเครดิต สวิส เฟรส บอสตัน เปนผูขายออกมาก็ไมถือวาเปนเรื่องผิด และไมไดมีการตกลงหรือทํ าสัญญาวา แกนนํ าการขายหุนใหตางประเทศหามขายหุน ปตท. ออกมา เพราะนักลงทุนมีทางเลือกที่จะไปหาแหลงลงทุนใหไดผลตอบแทนมากกวาอยูแลว (พิมพไทย 131244)

- บอรดตลาดหลักทรัพยรื้อหลักเกณฑ "กรีนชู ออฟชั่น" ใหมรายงานขาวอางแหลงขาวจากตลาดหลักทรัพยวา คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย ไดเรียกประชุมวาระดวนเมื่อวันที่ 13 ธ.ค.

2544 เพื่อแกไขระเบียบปฏิบัติในการทํ ากรีนชู ออฟช่ันใหม หลังเกิดปญหาทางเทคนิคที่ บล.เมอรริล ลินช ภัทร ซ่ึงเปนอันเดอรไรทเตอรหุนปตท. ไมสามารถเขาไปซ้ือเพื่อพยุงราคาหุน ปตท. ไดตามวัตถุประสงคในการรักษาเสถียรภาพของราคาหุน จนทํ าใหราคาหุน ปตท. รูดลงจนหลุดตํ่ ากวาราคาจอง เมื่อวันที่ 11 ธ.ค. 2544 ทั้งนี้ โดยกรอบกรีนชู ออฟช่ัน คือการที่ ก.คลัง ใหอันเดอรไรทเตอรยืมหุน ปตท.จํ านวน 120ลานหุน เพื่อนํ ามาเสนอขายใหกับผูลงทุนทั่วไปในราคาหุนละ 35 บาท โดยมีสัญญาสงมอบหุนคืนเปนเงินคาหุนใหแก ก.คลังภายใน 30 วันหลังจาก ปตท.เขาซ้ือขายในตลาดหลักทรัพย สวนหลักเกณฑกรีนชู ออฟช่ันที่ปรับปรุงใหมคือ ใหอันเดอรไรทเตอร สามารถสงคํ าสั่งซ้ือหุนในราคาแรกไดจากระเบียบเดิม ทั้งนี้โดยจะมีผลเปนการทั่วไปไมเฉพาะกรณีกรีนชู ออฟช่ัน ของ ปตท. เทานั้น (กรุงเทพธุรกิจ 141244)

อนึ่ง ขาวความเคลื่อนไหวในชวงตอมาวา บริษัทที่ปรึกษาการเงินทั้ง 6 รายของ ปตท. ไดพรอมใจกันประกาศวา ในสัดสวนของกรีนชู ออฟช่ัน หากมีสวนตางของผลตอบแทนเขามา ที่ปรึกษาทางการเงินทั้ง 6 ราย จะไมรับผลประโยชนจากสวนตางดังกลาว อยางไรก็ตาม ลาสุด ทางสํ านักงานกํ ากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ระบุวา ก.ล.ต. มีการจับตามองการซื้อหุนคืนของที่ปรึกษาทางการเงิน เนื่องจากมีนักลงทุนรองเรียนมา ดร.ประสาร ไตรรัตนวรกุล แหง สํ านักงาน ก.ล.ต. เผยวา ก.ล.ต.ไดตรวจพบขอผิดสังเกตในการจองหุน

Page 22: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

165

ของ ปตท. จึงขอใหบริษัทที่ปรึกษาการเงิน 3 ราย และธนาคารพาณิชยที่มีการจองหุนผิดสังเกตอีก 2 แหง สงขอมูลช้ีแจงเกี่ยวกับการจองซ้ือหุนมายัง ก.ล.ต. แลว (กรุงเทพธุรกิจ, พิมพไทย 18-211244)

5. ความเคลื่อนไหวภาคเอกชนและสถาบันการเงิน5.1 ความเคลื่อนไหวธนาคาร5.1.1 รัฐบาลผลักดันตั้งธนาคารอิสลาม ทาบ 10 ประเทศอาหรับ ถือหุน 75% กํ าหนดทุนจดทะเบียน

1,000 ลานบาทรายงานขาววันที่ 1 ต.ค. 2544 อางแหลงขาวจากคณะกรรมการจัดตั้งธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย วา ขณะนี้ ราง พ.ร.บ. จัด

ต้ังธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย อยูระหวางการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา ขณะเดียวกัน นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รมต.คลังไดจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นมา 1 ชุด ทํ าหนาที่เตรียมความพรอมในการจัดตั้งธนาคารดังกลาว โดยทํ าหนาที่วางหลักการในการทํ างาน จัดเตรียมสถานที่ต้ังสํ านักงาน รวมทั้งทาบทามกลุมนักลงทุนที่จะเขามาลงทุนในธนาคาร ทั้งนี้ กลุมเปาหมายที่จะชักชวนใหมาลงทุนซ้ือหุนในเบ้ืองตน คือ ประเทศอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามประมาณ 10 ประเทศ โดยเฉลี่ยถือหุนรวมกันไมเกิน 75% ของทุนจดทะเบียน แตจะไมมีรายใดเปนผูถือหุนใหญเกินสัดสวนของรัฐบาลไทย โดยกฎหมายจะกํ าหนดวา ผูที่จะเขามารวมทุนจะตองถือหุนในธนาคารไมนอยกวา 25%(ผูจัดการ, มติชน 011044, ผูจัดการ 191044)

บทรายงานตีพิมพใน ผูจัดการฉบับวันที่ 13 ธ.ค. 2544 ระบุวา ธนาคารพาณิชยหลายแหงเริ่มเคลื่อนไหวเพื่อเตรียมเปดบริการทางการเงินที่สอดคลองกับศาสนาอิสลาม แกชาวไทยมุสลิมทั่วไป คาดวาจะสงผลใหชาวไทยมุสลิมที่อาศัยอยูริมชายแดนภาคใตของไทยหันมาใชบริการธนาคารอิสลามในประเทศทดแทนการใชบริการธนาคารอิสลามในประเทศมาเลเซีย รายงานกลาววา ธนาคารไทยที่ริเร่ิมโครงการนํ ารองใหบริการแกลูกคาชาวไทยมุสลิมเปนแหงแรกแลวคือ ธนาคารออมสิน โดยเปดเคานเตอรพิเศษ สวนธนาคารกรุงไทยนั้น อยูในระหวางการปรึกษาหารือกับเจาหนาที่ธนาคารมาเลเซียที่เช่ียวชาญเกี่ยวกับกฎเกณฑการใหบริการธนาคารอิสลาม และประกาศพรอมที่จะเปดใหบริการเต็มรูปแบบในเดือน ก.พ. 2545 (ผูจัดการ 13-141244)

5.1.2 ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับ "ดอกเบ้ีย" อาร/พี- ธปท.ยืนยันไมปรับลดอัตราดอกเบี้ยตามคํ าแนะนํ าของไอเอ็มเอฟรายงานขาวกลาววา เมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2544 นายโลเรนโซ จิออรจิอานี ตัวแทนกองทุนการเงินระหวางประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟ

ประจํ ากรุงเทพ ไดเสนอแนะใหไทยลดอัตราดอกเบี้ยลงเพื่อเรงแกปญหาหนี้ไมกอใหเกิดรายได (เอ็นพีแอล) และชวยกระตุนเศรษฐกิจ ขณะที่การสงออกตกตํ่ าเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ตอมาในวันรุงขึ้น ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผูวาการ ธปท. ไดออกมาแถลงขอบคุณขอเสนอแนะของไอเอ็มเอฟ แต ธปท. ขอยืนยันวา จะยังไมมีการพิจารณาปรับลดอัตราดอกเบี้ยในขณะนี้ แต ธปท. ก็อยูระหวางการติดตามและประเมินสถานการณอยูตลอดเวลา รวมทั้งยังตองรอตัวเลขเศรษฐกิจรายไตรมาสมาประกอบดวย (ผูจัดการ, กรุงเทพธุรกิจ 031044)

ตอมาเมื่อวันที่ 8 ต.ค. 2544 หลังการประชุมคณะกรรมการติดตามและเรงรัดฟนฟูเศรษฐกิจ ก.คลัง ก็ประกาศยํ้ าอีกวา เห็นวาอัตราดอกเบี้ยในระดับปจจุบันในตลาดซื้อคืนพันธบัตร (อาร/พี) อายุ 14 วันที่ระดับ 2.5% ที่ ธปท.ดูแลอยูถือวาเหมาะสมแลว แมของตางประเทศจะปรับตัวลดลง หากปรับลดลงต่ํ ากวานี้เช่ือวาจะมีผลเสียมากกวาผลดี และอาจไมมีผลชวยกระตุนเศรษฐกิจแตอยางใด ขณะที่นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รมต.คลัง ประเมินวาจะมีผลดีดึงเงินทุนตางประเทศเขาไทย (กรุงเทพธุรกิจ 091044)

- คณะกก.นโยบายการเงินฯ ยืนยันอัตราดอกเบี้ยเดิมตอจนกวาจะพิจารณาการดํ าเนินนโยบายการเงินระยะยาวในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน ธปท. เมื่อวันที่ 27 พ.ย. 2544 ดร.บัณฑิต นิจถาวร ผูชวยผูวาการ ธปท.สาย

นโยบายการเงิน กลาววา ที่ประชุมตัดสินใจยืนนโยบายอัตราดอกเบี้ยอางอิงสํ าคัญในตลาดอาร/พี 14 วัน ที่ระดับเดิม 2.5% ตอไปจนกวาจะมีการพิจารณาแนวทางการดํ าเนินนโยบายการเงินในระยะยาวภายใตภาวะเศรษฐกิจดานตางๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงคอนขางรวดเร็ว โดยเฉพาะภาวะเศรษฐกิจในตางประเทศ ทั้งนี้ นโยบายคงที่อัตราดอกเบี้ยดังกลาวนี้ ธปท.ไดดํ านินการตอเนื่องมาเปนเวลา 7 เดือน เพื่อใหโครงสรางอัตราดอกเบี้ยในประเทศลดการบิดเบือนลง (กรุงเทพธุรกิจ 281144)

-ผูวาการ ธปท. สงสัญญาณพรอมปรับลดดอกเบี้ยอาร/พี เพื่อกระตุนเศรษฐกิจแลว ขอเวลาดูสถานการณ 3 เดือนรายงานขาวเมื่อวันที่ 30 พ.ย. 2544 ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) กลาววา ขณะนี้ถือไดวา

เศรษฐกิจมีเสถียรภาพระดับหนึ่งแลว โดยฐานะทุนสํ ารองทางการระหวางประเทศอยูที่ระดับ 33 พันลานดอลลารสหรัฐ เทียบกับสัดสวนหนี้ระยะสั้นของภาคเอกชนรวมกับหนี้ระยะยาวที่จะตองใชอีก 12 เดือนขางหนาแลว อยูในระดับ 140% ซ่ึงถือวาแข็งแรง และวา "ระดับทุน

Page 23: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

166

สํ ารองตอหนี้ระยะสั้นในชวง 4-5 เดือนที่ผานมานี้อยูในจุดนี้ได ทํ าใหอุนใจขึ้นเยอะ เพราะหมายถึงวา จากนี้ตอไป ถาหากมีความจํ าเปนจะตองใชนโยบายการเงินชวยกระตุนเศรษฐกิจใหมีการเติบโต ก็สามารถทํ าไดแลว แตจะใชก็ตอเมื่อมีความจํ าเปนเทานั้น"

พรอมกันนี้ ผูวา ธปท. กลาววา ตองรอดูสถานการณเศรษฐกิจจากนี้ตอไปอีก 3 เดือน เพื่อดูแนวโนมของการขยายตัวในปหนา วาจะยังคงเติบโตไดตามเปาหมายที่คาดการณไวที่ระดับ 1-3% หรือไม หากแนวโนมตัวเลขตํ่ ากวาที่คาดการณไว ก็จะใชนโยบายการเงินออกมาชวยกระตุนเศรษฐกิจ (ผูจัดการ 301144)

- ธปท. ตัดสินใจผอนคลายนโยบายการเงิน ปรับลดดอกเบี้ยอาร/พี ลง 0.25% เหลือ 2.25%ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน ธปท. เมื่อวันที่ 25 ธ.ค. 2544 ที่ประชุมไดพิจารณาสถานการณทางเศรษฐกิจทั้ง

ภายในและตางประเทศ เพื่อกํ าหนดแนวนโยบายการเงินที่จะดํ าเนินการในระยะตอไป แลวไดมีมติใหผอนคลายนโยบายการเงินไดมากขึ้นเพื่อสนับสนุนการฟนตัวของเศรษฐกิจ จึงไดปรับลดอัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตร (อาร/พี) 14 วัน จาก 2.50% ลง 0.25% เหลือ2.25% ตอป ทั้งนี้เนื่องจาก คณะกรรมการไดประเมินวา ในปจจุบันฐานะการเงินดานตางประเทศของไทย มีความมั่นคงมากขึ้นในระดับนาพอใจ โดยคาเงินบาทมีเสถียรภาพ และทุนสํ ารองทางการอยูระดับสูงเพียงพอที่จะสรางความมั่นใจแกนักธุรกิจทั้งในและตางประเทศ นอกจากนี้ ขอมูลดานตางประเทศลาสุด สะทอนใหเห็นถึงเศรษฐกิจโลกที่ยังไมแนนอน และอาจจะมีแนวโนมชะลอตัวลงอีก ทั้งในสหรัฐและญี่ปุน ซ่ึงเปนประเทศคูคาที่สํ าคัญของไทย อาจจะกระทบตอการสงออกและการฟนตัวทางเศรษฐกิจของไทยอยางมีนัยสํ าคัญ ขณะเดียวกันแนวโนมการลดลงของอัตราเงินเฟอ ทํ าใหอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงในปจจุบันสูงขึ้น ซ่ึงจะเปนอุปสรรคตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และคณะกรรมการพิจารณาเห็นวา แนวโนมอัตราเงินเฟอพื้นฐานที่อยูระดับต่ํ า 1.5-2.5% ตอป ในป 2545 และฐานะการเงินตางประเทศที่ปรับตัวดีขึ้น ทํ าใหสามารถผอนคลายนโยบายการเงินไดมากขึ้น

อนึ่ง ม.ร.ว.ปรีดิยาธร ไดขึ้นอัตราดอกเบี้ยอาร/พี ระยะ 14 วัน จาก 1.50% เปน 2.50% เมื่อวันที่ 8 มิ.ย. 2544 ดวยเหตุผลเพื่อปองกันเงินทุนไหลออก และแกปญหากลไกที่บิดเบือน เนื่องจากในขณะนั้นอัตราดอกเบี้ยอินเตอรแบงก ต่ํ ากวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก

รายงานขาวไดกลาวถึงการคาดแนวโนมอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชยหลังจาก ธปท. ปรับลดอาร/พี โดยนายจุลกร สิงหโกวินทประธานสมาคมธนาคารไทยกลาววา ทิศทางอัตราดอกเบี้ยในป 2545 มีความเปนไปไดที่อาจจะปรับลดลงอีก ถาภาวะเศรษฐกิจยังไมมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นมากกวาที่ ธปท. กํ าหนดไว (กรุงเทพธุรกิจ 261244)

5.1.3 กรณีพิพาทระหวางแบงกชาติ กับวุฒิสภาเรื่อง พ.ร.บ. ธุรกิจสถาบันการเงิน ที่กํ าหนดผลตางอตัราดอกเบ้ียเงินฝาก - เงินกูไมใหเกิน 5%

เมื่อวันที่ 12 ต.ค. 2544 ที่รัฐสภา มีการประชุมวุฒิสภา ที่มีการพิจารณาผานราง พ.ร.บ.ธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. … วาระ 3โดยใหมีผลบังคับใชเมื่อพนกํ าหนด 180 วัน นับต้ังแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซ่ึงมีประเด็นนาสนใจคือมาตรา 37 ที่กํ าหนดใหสวนตางดอกเบี้ยเงินกูและเงินฝาก (สเปรด) ไมใหเกิน 5% และในกรณีผิดนัดใหเพิ่มไดอีกไมเกิน 2% จากอัตราดอกเบี้ยปกติ ซ่ึงกอใหเกิดเสียงคัดคานและมีการอภิปรายโตแยงยืดเยื้อในวงการนายธนาคารอยางกวางขวาง ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย(ธปท.) กลาววา ธปท. กํ าลังศึกษาหาทางออกเพื่อไมใหมีการกํ าหนดสเปรด เพราะไมมีประเทศใดในโลกที่กํ าหนดสเปรด เนื่องจากจะทํ าใหธนาคารพาณิชยดํ าเนินงานลํ าบาก เพราะแตละธนาคารมีความแตกตางกัน การกํ าหนดสเปรดควรใหผูบริโภคเปนผูตัดสิน การกํ าหนดสเปรดจะเปนอันตรายตอสถาบันการเงินอยางยิ่ง และธนาคารอาจจะตองปดสาขาในตางจังหวัด ซ่ึงมีอัตราเงินกูต่ํ า นายพรสนอง ตูจินดากรรมการผูจัดการธนาคารดีบีเอสไทยทนุ กลาววา การกํ าหนดสเปรดที่ระดับ 5% จะสงผลกระทบโดยตรงตอการดํ าเนินธุรกิจของธนาคารพาณิชย เพราะจะทํ าใหผลการดํ าเนินงานของธนาคารลดลง และกระทบโดยตรงตอฐานะการเงิน "หรือถาหากรัฐบาลตองการใหธนาคารพาณิชยทั้งระบบเปนของรัฐบาล ก็ใหกํ าหนดสเปรดไปเลย" นายพรสนองกลาว สวนนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี และ รมต.คลังกลาววา กรณีนี้กลไกตลาดจะเปนตัวกํ าหนดอยูแลว จึงไมจํ าเปนตองมีกฎหมายกํ าหนดเอาไว เพราะปจจุบันนี้ รัฐบาลไทย โดยธนาคารแหงประเทศไทย ทํ าหนาที่ดูแลไมใหสถาบันการเงินมีกํ าไรมากเกินควรอยูแลว และวา หากกฎหมายธุรกิจสถาบันการเงิน กํ าหนดสวนตางอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกูไว จะทํ าใหธนาคารพาณิชยขนาดเล็กและขนาดกลางเสียเปรียบธนาคารพาณิชยตางประเทศ ที่มีตนทุนในการดํ าเนินธุรกิจที่ต่ํ ากวา ตนเชื่อวา ถาหาก ม.ร.ว. ปรีดิยาธร ไดนํ าขอมูลตนทุนในการดํ าเนินธุรกิจของธนาคารพาณิชย รวมถึงขอมูลอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารพาณิชยควรจะอยูรอดไดตองเปนเทาใด แจกแจงใหกับคณะกรรมาธิการวุฒิสภาไดรับทราบแลว เช่ือวาเรื่องก็จะจบลงได(มติชน, กรุงเทพธุรกิจ 13, 241044, ผูจัดการ 221044)

อยางไรก็ตาม สว. หลายคนที่เห็นดวยออกมาโตแยงวา ราง พ.ร.บ. ดังกลาวเปนการรักษาผลประโยชนของประชาชน ขณะที่อีกฝายหนึ่งรักษาผลประโยชนของธนาคารและธุรกิจเอกชนที่โกยผลประโยชนเขาตัวเอาเปรียบประชาชน นายวิโรจน อมตกุลชัย สว. ชลบุรีกลาววา "ที่ผานมา ธนาคารทํ าตัวเหมือนนายหนาที่นํ าเงินจากตางประเทศมาสงผานใหผูประกอบการในประเทศ ถาเราไมมีมาตรการ ภาวะ

Page 24: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

167

เศรษฐกิจฟองสบูอาจกลับมาอีก การกํ าหนดสวนตางดอกเบี้ยอาจไมใชมาตรการที่ดีที่สุด แตจะเปนมาตรการหนึ่งที่จะชวยไมใหเงินตางประเทศไหลเขามามากเกินไป" นอกจากนั้น ในวันที่ 24 ต.ค. 2544 คณะกรรมาธิการการคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน ไดรวมกับคณะกรรมาธิการการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชนวุฒิสภา จัดเสวนาเรื่อง "ผลกระทบอันเกิดจากรางพระราชบัญญัติสถาบันการเงิน พ.ศ…."พรอมเชิญ ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เขาช้ีแจง กมธ.เพื่อรับทราบขอมูล ซ่ึง ม.ร.ว.ปรีดิยาธร ไดช้ีแจงวา สวนตางเฉลี่ยที่ทํ าใหธนาคารอยูไดขณะนี้เทากับ 4.5-4.7% ซ่ึงเมื่อกฎหมายกํ าหนดไวที่ 5% นาจะรับได แตแทจริงไมใชเชนนั้น เพราะวาดอกเบี้ยเงินฝากขณะนี้อยูที่ 3% สวนเงินกูปลอยใหรายใหญระยะสั้นไมเกิน 1 เดือน คิดอัตราดอกเบี้ยประมาณ 4-4.5% สวนผูสงออกรายใหญซ่ึงถือวามีสภาพคลองมาก คิดดอกเบี้ยเงินกูต่ํ ากวารายยอย ซ่ึงทํ ากันอยางนี้ทั่วโลก ดังนั้น การกํ าหนดไว 5% ไมไดทํ าใหแบงกในกรุงเทพฯเดือดรอน แตมันเดือดรอนสํ าหรับตางจังหวัด(กรุงเทพธุรกิจ 181044 มติชน, สยามรัฐ 251044)

ตอมาในวันที่ 25 ต.ค. 2544 ที่ประชุมสภาผูแทนราษฎร ไดมีมติใหต้ังคณะกรรมาธิการรวมกันพิจารณาขึ้น 24 คน โดยคณะกรรมการประสานงานสภาผูแทนราษฎรทํ าการคัดสรรตัวแทนในสวนของ ส.ส. เขารวมในคณะกรรมาธิการ 12 คน และในวันที่ 26 ต.ค.2544 มีการเคลื่อนไหวของสมาคมธนาคารไทย โดยนายธวัชชัย ยงกิตติคุณ เลขาธิการสมาคมฯ ออกมายืนยันวา กฎหมายจํ ากัดสเปรด 5%จะมีผลกระทบอยางรุนแรงตอธุรกิจสถาบันการเงิน ในระยะสั้น สถาบันการเงินตองเรงหามาตรการลดตนทุน เชนปดสาขา ลดพนักงาน ในระยะยาววิธีการปลอยสินเช่ือจะเปลี่ยนไปจากเดิม และกิจการที่จะไดรับผลกระทบมากคือ วิสาหกิจเอสเอ็มอี ในเรื่องนี้ นายจุลกร สิงหโกวินท กรรมการผูจัดการใหญธนาคารเอเชีย ในฐานะประธานสมาคมธนาคารไทย เสนอความเห็นวา ควรที่จะใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อศึกษาเรื่องสวนตางอัตราดอกเบี้ยวาจะมีผลกระทบอยางไรบาง (กรุงเทพธุรกิจ, มติชน 271044,Bangkok post 271001)

5.1.4 ธนาคารพาณิชยพากันปรับลดอัตราดอกเบ้ียลงหลังจาก ธปท.สงสัญญาณผอนคลายนโยบายการเงิน

หลังจากที่ ธปท. สงสัญญาณผอนคลายนโยบายการเงินเมื่อวันที่ 30 พ.ย. 2544 ซ่ึงเปนวันศุกรสิ้นเดือน พอเปดวันจันทรที่ 3 ธ.ค.2544 ธนาคารไทยพาณิชย ก็ประเดิมประกาศลดอัตราดอกเบี้ยลง 0.25% ทันที กอนที่ธนาคารพาณิชยอื่นๆ คอยๆ ทะยอยลดดอกเบี้ยตามมาเปนละลอก ทํ าใหอัตราดอกเบี้ยเงินกูลูกคาช้ันดีแบบมีระยะเวลา (เอ็มแอลอาร) เหลือ 7.25% อัตราดอกเบี้ยเงินกูแบบมีระยะเวลา (เอ็มโออาร) และดอกเบี้ยเงินกูลูกคารายยอยช้ันดี (เอ็มอารอาร) จะลดเหลือ 7.75% จาก 8% สวนอัตราดอกเบี้ยออมทรัพยเหลือ 1.75% จาก2% เงินฝากประจํ า 12 เดือนเหลือ 2.75% จาก 3% ถือเปนการปรับดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบ 9 เดือน นับจากครั้งสุดทายที่ธนาคารมีการปรับลดเมื่อเดือน ก.พ. 2544 (กรุงเทพธุรกิจ 041244)

5.1.5 สภาผานราง พ.ร.บ.ธนาคารเอสเอ็มอี แลวในการประชุมรัฐสภาเมื่อวันที่ 28 พ.ย. 2544 ที่ประชุมไดพิจารณาราง พ.ร.บ. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

แหงประเทศไทย (เอสเอ็มอี) โดยนายรุงเรือง พิทยะศิริ ส.ส.บัญชีรายช่ือ พรรคไทยรักไทย อภิปรายวา รัฐบาลเสนอกฎหมายฉบับนี้เขามาเนื่องจากบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดยอม (บอย.) ตองดูแลฟนฟูผูประกอบการที่มีอยูในปจจุบันกวา 90% มีเงินทุน 2.8 พันลานบาทแตไดปลอยกูไปแลว 4.6 พันลานบาท จึงจํ าเปนตองยกระดับ บอย. ใหเปนธนาคารเพื่อการพัฒนาขึ้นมา โดยการจัดตั้งธนาคารวิสาหกิจขนาดกลางขนาดยอม ซ่ึงในภูมิภาคนี้ก็ทํ ากันหมดแลว สวนนายสุริยะ จึงรุงเรืองกิจ รมต.อุตสาหกรรม กลาววา ธนาคารนี้เปนธนาคารเพื่อการพัฒนา ไมใชธนาคารพาณิชย จึงตองไดรับการดูแลเปนการเฉพาะ สํ าหรับการกูเงินนั้น ไมวาจะมีหลักทรัพยค้ํ าประกันหรือไมมี ก็ไมใชทุกรายจะไดสินเช่ือ แตไดต้ังเงื่อนไขการพิจารณาไวอยางดี ดูความนาเช่ือถือของกิจการ และดูความเปนไปไดของโครงการเปนหลัก สวนกรณีที่มีหลักทรัพยค้ํ าประกัน แตไมเพียงพอ ก็ให บสย. เขามาเปนผูค้ํ าประกันได

ในการอภิปรายครั้งนี้ ฝายคานไดต้ังขอสังเกตหลายประการ เชน กฎหมายอาจจะเสี่ยงที่จะเกิดปญหาในอนาคต โดยเฉพาะการที่สามารถใหทํ าธุรกรรมตางๆ ไดยิ่งกวาธนาคารพาณิชย รัฐมนตรีที่กํ ากับดูแลก็มีอํ านาจลนฟา อาจทํ าใหกลไกการบริหารงานของรัฐมนตรีถูกบิดเบือนไปในทางไมสุจริตได อาจใชอํ านาจชวยเหลือเกื้อกูลพวกพองตัวเอง ซ่ึงมีความเสี่ยงสูง เพราะสามารถออกกฎกระทรวงได(กรุงเทพธุรกิจ 291144)

5.1.6 บสท. รับโอนหนี้เสียจากสถาบันการเงินทั้งระบบ 6.9 แสนลานบาทรายงานขาวบรรษัทบริหารสินทรัพยไทย (บสท.) ระบุวา บสท. ไดรับโอนหนี้เสียจากสถาบันการเงินทั้งระบบ ณ สิ้นเดือน พ.ย.

2544 จํ านวน 4,856 ราย คิดเปนมูลคา 688,761 ลานบาท ในราคารับโอนเฉลี่ยที่ 33.02% ทั้งนี้โดยสถาบันการเงินเอกชน โอนเอ็นพีแอลใหบสท. 826 ราย มูลหนี้ 113,872 ลานบาท ราคารับโอน 52.54% และสถาบันการเงินของรัฐจํ านวน 4,007 ราย มูลหนี้ 574,889 ลานบาท ในราคา 29.15% (กรุงเทพธุรกิจ 020145)

Page 25: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

168

รายงานขาวกลาววา บสท. ไดรับโอนสินทรัพยดอยคุณภาพมาทั้งหมด 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 15 ต.ค. 2544 จากสถาบันการเงิน หรือบริษัทบริหารสินทรัพยของรัฐที่มีเจาหนี้รายเดียว และมียอดหนี้คงคาง ณ 31 ต.ค. 2543 ต้ังแต 50 ลานบาทขึ้นไป โดยมีลูกหนี้รับโอนรวมทั้งสิ้น 1,080 ราย มูลคาตามบัญชี ณ 14 ต.ค. 2544 จํ านวน 297,728.90 ลานบาท มีราคาโอนคิดเปน 30-40% ของมูลคาตามบัญชี การโอนหนี้ครั้งที่ 2 บสท. รับโอนเมื่อวันที่ 31 ต.ค. 2544 โดยมีสถาบันการเงินและบริษัทบริหารสินทรัพยของรัฐและเอกชน ที่มีเจาหนี้ต้ังแต 2 รายขึ้นไป และมียอดหนี้คงคาง ณ 31 ธ.ค. 2543 รวมสูงสุด 300 ลานบาท ปรากฏมีลูกหนี้รับโอน 240 ราย มูลหนี้ตามที่กํ าหนด279,586.45 ลานบาท มีราคารับโอนประมาณ 32.46% ของมูลคาตามบัญชี ในการรับโอนครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 30 พ.ย. 2544 จากสถาบันการเงินและบริษัทบริหารสินทรัพยทั้งของรัฐและเอกชนที่เหลืออยูทั้งหมด 6,217 ราย มูลหนี้ 193.2 พันลานบาท ณ 31 ธ.ค. 2543 แตเมื่อทํ าการตรวจสอบตามหลักเกณฑแลว มีเหลือเพียง 3,150 รายที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑการรับโอน มูลหนี้รวมทั้งสิ้น 113.9 พันลานบาท ในราคา 40% ของมูลคาตามบัญชี (สยามรัฐ, ผูจัดการ 03, 041144, Bangkok Post 061201)

5.2 ความเคลื่อนไหวตลาดเงินตลาดทุน5.2.1 ความเคลื่อนไหวดัชนีการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยไทย- ตลาดหลกัทรัพยระบุวินาศกรรมในสหรัฐฉุดปริมาณการซื้อขายทรุดฮวบรายงานขาวเมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2544 กลาววา ดัชนีตลาดหุนไทยขณะที่รายงานนี้ตกลงไปแลวเกือบ 20% มากสุดรองจากสิงคโปร

ทํ าใหมูลคาตลาดรวมลดลงกวา 2.78 แสนลานบาท รายงานขาวกลาววา ภาวะตลาดหุนไทยที่ไดรับผลสะเทือนจากเหตุการณวินาศกรรมในสหรัฐ มีการเคลื่อนไหวผันผวนระหวางวันที่ 11-28 ก.ย.2544 มูลคาการซื้อขายหุนในชวงระหวางวันที่ 13-28 ก.ย.2544 มีปริมาณรวม 49,244.50 ลานบาท เฉลี่ยมีการซื้อขายตอวัน 4,103.70 ลานบาท เมื่อเทียบกับการซ้ือขายกอนหนานี้ คือชวงระหวาง 3-11 ก.ย. 2544 มีการซ้ือขายเฉลี่ยกันที่7,194.26 ลานบาท เชนเดียวกับดัชนีราคาหุนที่ปรับลดลงอยางตอเนื่องถึง 53.33 จุด หรือคิดเปน 19.24% จากเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2544 ที่อยูในระดับ 330.37 จุด เมื่อวันที่ 28 ก.ย.2544 ปดที่ระดับ 277.04 จุด สงผลใหมูลคาหลักทรัพยตามราคาตลาดรวมหายไปกวา 278.041 ลานบาท จากระดับ

1.61 ลานลานบาท เหลือเพียง 1.33 ลานลานบาท นักวิเคราะหรายหนึ่งกลาวเปรียบเทียบวา เหตุการณครั้งนี้อาจเรียกไดวารุนแรงกวาสงครามอาวเปอรเซีย (กรุงเทพธุรกิจ 011044)

นอกจากนั้น มีการประเมินตลาดหุนไทยหลังการกอวินาศกรรม 1 เดือน พบวาตลาดหุนไทยปรับลดลงไป 43.95 จุด ติดเปน13.3% มูลคาตลาดหายไปกวา 2 แสนลานบาท และมูลคาการซื้อขายมีแนวโนมชะลอตัวลงทุกขณะ นักวิเคราะหหลักทรัพยถือวา ตลาดหุนไทยปรับลดคอนขางมาก ขณะที่ดาวโจนสเองปรับตัวดีขึ้น ติดลบเพียงประมาณ 4% (ผูจัดการ 121044)

- ดชันตีลาดเดือน พ.ย. เงยหัวขึ้นมาที่ระดับทะลุ 300 จุดแลวจากการรายงานของนายกิตติรัตน ณ ระนอง กรรมการผูจัดการตลาดหลักทรัพย วา การซ้ือขายหลักทรัพยเดือน พ.ย. 2544 มีมูล

คาทั้งหมด 120,578.87 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากเดือน ต.ค. 2544 จํ านวน 52,575.33 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 77.31% โดยปริมาณหุนที่ซ้ือขายมีจํ านวน 18,369.38 ลานหุน ดัชนีตลาดหลักทรัพยปดเมื่อวันที่ 30 พ.ย. 2544 ที่ระดับ 302.62 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน ต.ค. 27.53 จุด หรือคิดเปน 10.01% โดยหุนอินเทอรเน็ตประเทศไทย (INET) มีการซ้ือขายสูงสุด ปจจัยที่ทํ าใหมูลคาการซื้อขายเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเสนอขายหุนของรัฐวิสาหกิจที่มีการแปรรูป คือบริษัทอินเทอรเน็ตประเทศไทย และ ปตท. (PTT) ตลอดจนบริษัทอิออน ธนสินทรัพย ที่ประสบความสํ าเร็จอยางมาก จึงชวยสรางความนาสนใจใหตลาดมากขึ้น นอกจากนั้นการเพิ่มขึ้นของผลประกอบการบริษัทจดทะเบียนงวด 9 เดือน ยังมีผลโดยตรงตอพื้นฐานการลงทุนในหุนของบริษัทจดทะเบียน และทํ าใหการลงทุนในตลาดหลักทรัพยนาสนใจมากขึ้นดวย (กรุงเทพธุรกิจ 061244)

- ตลาดสรุปภาพรวมการซ้ือขายป 2544 เพิ่มขึ้น 70%นายกิตติรัตน ณ ระนอง กรรมการผูจัดการตลาดหลักทรัพย กลาวถึงภาพรวมการดํ าเนินงานของตลาดหลักทรัพยในป 2544 วา

ปรับตัวดีขึ้นกวาปที่ผานมา โดยมีมูลคาการซื้อขายหลักทรัพยเพิ่มขึ้น 70% เมื่อเทียบกับปกอน โดยมีมูลคาซ้ือขายเฉลี่ยตอวัน 6,352.82ลานบาท สูงขึ้นจากปกอนที่มีมูลคาซ้ือขายเฉลี่ยที่ 3,739.66 ลานบาทเทานั้น ทั้งนี้ เปนผลมาจากการที่ภาครัฐใหความสํ าคัญโดยการสนับสนุนและเรงฟนฟูตลาดทุน โดยการชวยสรางความเชื่อมั่นของผูลงทุนตอการลงทุนในตลาดหลักทรัพยเปนอยางมาก และเปนผลมาจาก

ดชันีตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ( ต.ค. - ธ.ค. 2544)

260270280290300310

Oct-01 Nov-01 Dec-01

Page 26: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

169

ความสํ าเร็จของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ 2 แหงที่เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย รวมถึงมูลคาหุนที่ตราไวของบริษัทจดทะเบียนจํ านวน 15บริษัท นอกจากนี้ มารเก็ตแคปในปนี้ยังปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 1.3 ลานลานบาท เปน 1.67 ลานลานบาท ณ วันที่ 25 ธ.ค. 2544 ผลจากการเขาจดทะเบียนใหมของบริษัทและรัฐวิสาหกิจปนี้มีถึง 10 แหง รวมถึงการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยดวย (กรุงเทพธุรกิจ 271244)

5.2.2 ตลาดหลักทรัพยใชชวงราคาหุน (Spread) ใหมชวยสรางเสถียรภาพตลาดหุน บางคนวาจังหวะเวลาไมเหมาะสม

เมื่อวันที่ 5 พ.ย. 2544 ตลาดหลักทรัพยไดนํ าชวงราคาหุน หรือ สเปรด ใหมมาใช แตปรากฏวาสงผลใหมูลคาการซื้อขายหุนในตลาดซบเซาลง โดยเฉพาะการซื้อขายระหวางวันที่ 5-6 พ.ย. ปริมาณการซื้อขายตกตํ่ าเหลือเพียง 1,000 ลานบาทเศษและในการซื้อขายวันที่ 7 พ.ย. 2544 หุนไดปรับตัวลดลงไปอยูในระดับต่ํ าสุดในรอบ 11 เดือน มาอยูที่ 265 จุด ทํ าใหการซ้ือขายวันที่ 8 พ.ย. ดัชนีปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กนอย 3.12 จุด มาอยูที่ 268.34 จุด มีปริมาณการซื้อขาย 2,468.19 ลานบาท

นายอดิเรก ศรีประทักษ ประธานผูบริหารฝายปฏิบัติการ บ.เจริญโภคภัณฑอาหาร (ซีพีเอฟ) กลาววา การเปลี่ยนชวงขึ้นลงของราคาใหมนั้น เปนหลักการที่ดี แตเวลาที่นํ ามาใชในขณะนี้ถือวายังไมเหมาะสม เนื่องจากภาวะตลาดหุนยังซบเซา ทํ าใหนักลงทุนประเภทที่ซ้ือขายเก็งกํ าไรหายไป การซื้อขายลักษณะหักกลบลบหนี้ในหุนตัวเดียวกันวันเดียวกัน (เน็ตเซทเทิลเมนท) ก็ลดลง สงผลใหมูลคาการซื้อขายของตลาดหุนโดยรวมลดลงอยางมากในชวงที่ผานมา แตหากนํ ามาใชในชวงที่สภาพตลาดหุนดี มีการซ้ือขายตอวันหนาแนน จะมีความเหมาะสมมากกวา เปนการชวยทํ าใหสภาพตลาดหุนมีเสถียรภาพมากขึ้น

อยางไรก็ตาม นายสมเจตน หมูศิริเลิศ ประธานกรรมการบริหาร บล.ธนชาติ ในฐานะนายกสมาคมบริษัทหลักทรัพย กลาววาการนํ าสเปรดใหมมาใชเปนสิ่งที่ถูกตอง จะทํ าใหกลไกการเคลื่อนไหวของราคาเกิดเสถียรภาพ การที่วอลุมหายไปจนเปนเพียงชวงสั้นๆ หากนักลงทุนปรับตัวไดวอลุมก็จะกลับมา โบรกเกอรตางชาติรายหนึ่งก็มีความเห็นวา การกํ าหนดสเปรดใหมจะมีผลกระทบตอการซื้อขายหุนเฉพาะที่มีชวงราคา 0.10-2 บาท และนักลงทุนรายยอยที่ซ้ือขายล็อตเล็ก ๆ จะไดกํ าไรนอย ดังนั้นจึงเอื้อประโยชนตอรายใหมมากกวา แตที่รายใหญไมพอใจ เนื่องจากไมสามารถดึงรายยอยเขามารวมวงเปนเหยื่อในการซื้อขายไดมากขึ้น (กรุงเทพธุรกิจ 08-091144)

5.2.3 ผูจัดการตลาดหลักทรัพย ตั้งเปาดัชนีหุนยืนเหนือระดับ 500 จุด หลังการแปรรูปรัฐวิสาหกิจสํ าเร็จ ขณะโบรกเกอรบางรายชี้แนวโนมอยูแคระดับ 200-300 จุดเทานั้น

นายกิตติรัตน ณ ระนอง กรรมการและผูจัดการตลาดหลักทรัพย กลาววา จากภาวะอัตราดอกเบี้ยที่ปรับตัวลดลง และสภาพแวดลอมภายในประเทศที่ดี คาดวาจะมีเม็ดเงินไหลเขามาลงทุนในตลาดหุนมากขึ้น รวมทั้งยังมีรัฐวิสาหกิจขนาดใหญอีกหลายแหงที่จะแปรรูปและเขาซ้ือขายในตลาด จึงต้ังเปาหมายที่จะเห็นตลาดหลักทรัพยที่ระดับ 500 จุด ทั้งนี้ แผนแปรรูปรัฐวิสาหกิจเขาตลาดในป 2545 ที่รัฐบาลวางไว ประกอบดวย การนํ าองคการโทรศัพท (ทศท.) เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แปรรูปการสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) ขายหุนธนาคารกรุงไทย ธนาคารไทยธนาคาร และการบินไทย เปนตน โดยเฉพาะ ทศท. คาดวาจะทํ าใหสามารถระดมทุนใหมได 6 หมื่นลานบาท

นายกิตติรัตน กลาวดวยวา แนวทางของตลาดหลักทรัพยในการผลักดันดัชนีราคาหุนใหปรับตัวเพิ่มขึ้น คือการจูงใจใหบริษัทจดทะเบียนเห็นความสํ าคัญของการมีบรรษัทภิบาลที่ดี โดยจะรวมกับหนวยงานหลักของรัฐ คือ ก.คลัง กรมสรรพากร สํ านักงานกํ ากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย หามาตรการตางๆ เพื่อจูงใจบริษัทจดทะเบียน ใหป 2545 เปนปแหงบรรษัทภิบาล และตลาดหุนไทยเองก็จํ าเปนตองเรงสรางความโปรงใสในการกํ ากับดูแลกิจการที่ดีอยางรวดเร็วดวย (กรุงเทพธุรกิจ 061244)

อนึ่ง รายงานขาววันที่ 17 ธ.ค. 2544 นายวพันธุ วงศพนิช ผูอํ านวยการฝายวิจัย บล.ไทยพาณิชย ระบุวาแนวโนมดัชนีตลาดหลักทรัพยในป 2545 วาจะเคลื่อนไหวในระดับ 200-300 จุด และมีโอกาสแตะที่ 200 จุด แมวารัฐบาลมีแผนจะนํ ารัฐวิสาหกิจอยางนอย 7 แหงเขาจดทะเบียนในตลาด แตคาดวาคงไมสามารถทํ าใหตลาดหลักทรัพยกลับมาคึกคักได ทั้งนี้นายวพันธุกลาววา ตองยอมรับวาในป 2545เศรษฐกิจไทยยังอยูในภาวะที่นาเปนหวง และจะเปนปที่ยากลํ าบาก ขณะที่รัฐบาลมีเครื่องมือและมาตรการในการแกไขปญหาไดนอยลงเขาระบุวา ปจจัยหลักๆ ที่จะผลักดันใหเศรษฐกิจฟนได จะตองมาจากการลงทุนของภาคเอกชนเปนหลัก เพราะหวังพึ่งการสงออกไมได ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนยังไมเกิดขึ้น กํ าลังการผลิตยังเหลือกวา 50% การใชจายเพื่อการบริโภคในประเทศก็เร่ิมลดลงเชนกัน อีกทั้งปญหาการวางงานจะเพิ่มมากขึ้นดวย (มติชน 171244)

อยางไรก็ตาม บทวิเคราะหของศูนยวิจัยกสิกรไทยที่เผยแพรเมื่อวันที่ 24 ธ.ค. 2544 ระบุวา ตลาดหุนไทยในปหนานาจะอยูในทิศทางที่ดีขึ้น และอาจเคลื่อนไหวเหนือระดับ 300 จุดได โดยหากมองในแงดีวา นโยบายของรัฐไดผลดังคาด ดัชนีหุนไทยอาจจะมีโอกาสขึ้นไปทดสอบแนวตานที่ระดับ 350 จุด ได ขณะที่มีแนวรับที่ 270-280 จุด และโดยภาพรวมแลว ศูนยวิจัยกสิกรไทยเห็นวา ตลาดหุนไทยยังมีความนาสนใจในการลงทุนอยู (กรุงเทพธุรกิจ 241244)

Page 27: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

170

5.2.4 ศูนยวิจัยกสิกรไทย มองแนวโนมคาเงินบาทป 2545 จะออนคากวาป 2544 เล็กนอยรายงานบทวิเคราะหของศูนยวิจัยกสิกรไทย เผยแพรเมื่อวันที่ 20 ธ.ค. 2544 ระบุวา ในชวงป 2544 ที่ผานมา เงินบาทคอนขางมี

เสถียรภาพ แมวามีคาเฉลี่ยที่ออนตัวลงมาประมาณ 44.5 บาท/ดอลลารสหรัฐ จากคาเฉลี่ยที่ 40.2 บาท/ดอลลารสหรัฐ เมื่อป 2543 แตมีความผันผวนนอยกวา โดยความเคลื่อนไหวของเงินบาทมีคาความเบี่ยงเบนคิดเปนเพียง 2.2% ของคาเฉลี่ย เมื่อเทียบกับคาความเบี่ยงเบน5.8% ในป 2543 ศูนยวิจัยกสิกรไทย ไดวิเคราะหถึงปจจัยที่จะมีผลตอทิศทางคาเงินบาทในป 2545 วา หากเศรษฐกิจสหรัฐสามารถฟนตัวไดในชวงครึ่งปหลัง ก็นาจะสงผลใหคาเงินดอลลารสหรัฐแข็งคาขึ้นเมื่อเทียบกับเงินสกุลตางๆ ซ่ึงก็ยอมที่จะเปนปจจัยกดดันคาเงินบาทไทยดวยเชนกัน ขณะเดียวกัน การออนตัวของคาเงินเยน ที่วิเคราะหกันวาอาจจะอยูที่คาเฉลี่ย 130-135 เยน/ดอลลารสหรัฐ ในป 2545 ยอมสงผลกระทบตอคาเงินบาทไทยอยางหลีกเลี่ยงไมได อยางไรก็ตาม หาก ธปท. พิจารณาปรับลดดอกเบี้ยในตลาดเงินลง เชน อีก 0.5% เพื่อสงสัญญาณใหธนาคารพาณิชยปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงไดอีกตามภาวะการชะลอตัวของเศรษฐกิจไทยแลวก็จะทํ าใหอัตราดอกเบี้ย Interbankของไทยอยูในระดับที่ใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ย LOBOR 3 เดือน ไมนาจะมีผลทํ าใหเงินทุนไหลออก

อยางไรก็ตาม ศูนยวิจัยกสิกรไทยมองวา ในป 2545 แรงกดดันจากคาเงินในภูมิภาค โดยเฉพาะการออนคาลงของเงินเยน อาจจะทํ าใหเงินบาทออนคาลงจากป 2544 โดยคาดวา ในกรณีที่เศรษฐกิจไทยยังคงอยูในภาวะชะงักงันตอเนื่องจากป 2544 และการสงออกไมสามารถที่จะกระเตื้องขึ้นไดมากนัก เงินบาทอาจจะมีคาเฉลี่ยประมาณ 45.8 บาท/ดอลลารสหรัฐ แตหากการสงออกและเศรษฐกิจไทยสามารถฟนตัวขึ้นไดบางตามเศรษฐกิจสหรัฐ ก็คาดวาคาเงินบาทอาจจะมีคาเฉลี่ยประมาณ 45.2 บาท/ดอลลารสหรัฐ (ผูจัดการ 201244)

6. ความเคลื่อนไหวภาคเศรษฐกิจที่แทจริง6.1 ความเคลื่อนไหวดานการเกษตร6.1.1 ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปนี้ขยายตัวประมาณ 2.12% ปหนาจะขยายตัวตอเนื่องตอไปรายงานจากสํ านักงานเศรษฐกิจการเกษตรเปดเผยเมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2544 ระบุวา การที่ภาวะเศรษฐกิจโดยทั่วไปชะลอตัวลง

และเกิดเหตุการณวินาศกรรมในสหรัฐ แตเหตุการณและสภาพดังกลาวไมไดมีผลตอการผลิตภาคเกษตรของไทยในป 2544 โดยระบุวาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปนี้มีอัตราการขยายตัวประมาณ 2.12% เนื่องจากราคาที่เกษตรกรไทยใชตัดสินใจทํ าการผลิตเปนระดับราคาที่เหมาะสม ประกอบกับภาวะฝนฟาโดยทั่วไปอยูในเกณฑดี และรัฐบาลไดดํ าเนินการอยางจริงจังในการสรางความเขมแข็งใหแกเกษตรกร ไมวาจะเปนเรื่องปจจัยการผลิต เชนปุย แหลงนํ้ า การกระจายพันธุดี การปองกันและกํ าจัดศัตรูพืช การเพิ่มประสิทธิภาพการใชที่ดิน การถายทอดเทคโนโลยีและขอมูลขาวสาร การชวยเหลือบรรเทาผลกระทบจากราคานํ้ ามัน ทํ าใหการผลิตทุกสาขาของภาคเกษตรเพิ่มขึ้น ยกเวนสาขาปาไม กลาวคือ สาขาพืช ขยายตัวประมาณ 2.13% สาขาปศุสัตว เพิ่มขึ้นประมาณ 4.32% มาจากขยายตัวของสุกร ไก เนื้อ นม ฯลฯสาขาประมง ขยายตัวเพิ่มขึ้น 0.51% สาขาปาไม ลดลง 7.4% เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายปดปาและยกเลิกสัมปทานปาไม สาขาบริการทางการเกษตร เพิ่มขึ้นประมาณ 2.28% และสาขาการแปรรูปการเกษตรอยางงาย ขยายตัวเพิ่มขึ้น 2.67% ไปตามการขยายตัวของการผลิต

สวนทางดานการสงออก ปริมาณการสงออกสินคาเกษตรสํ าคัญหลายชนิดมีการขยายตัวคอนขางสูง แตมูลคาการสงออกเปนเงินบาทขยายตัวเพียงประมาณ 9.64% และมูลคาการสงออกในรูปเงินดอลลารสหรัฐกลับลดลงประมาณ 1.17% เนื่องจากคาเงินบาทที่ออนตัวลง ประกอบกับอุปทานขยายตัวมากกวาอุปสงคในตลาดโลก ทํ าใหเกิดภาวะราคาสินคาเกษตรตกตํ่ า โดยเฉพาะขาว

สํ าหรับแนวโนมเศรษฐกิจการเกษตรในป 2545 สํ านักงานเศรษฐกิจการเกษตรระบุวา จะมีการขยายตัวตอเนื่องจากป 2544เพราะราคาสินคาเกษตรหลายชนิดอยูในเกณฑที่เกษตรกรจะตัดสินใจทํ าการผลิตตอไปในป 2545 และภาวะฝนฟาจะยังคงอยูในเกณฑปกติ ภัยธรรมชาติจะไมมีความรุนแรง และรัฐบาลโดยหนวยงานที่เกี่ยวของคอยเฝาระวัง และสงสัญญาณเตือนภัยอยางตอเนื่องอยูแลว แตอยางไรก็ตาม คาดวาการขยายตัวจะไมอยูในเกณฑที่สูงมากนัก เมื่อเทียบกับฐานการผลิตที่ขยายตัวตอเนื่องกันมา 3 ป และคาดวาขาว ซ่ึงเปนพืชสํ าคัญจะมีการผลิตที่ลดลง โดยเฉพาะนาปรัง เพราะราคาไมสูจูงใจ อีกทั้งการผลิตในสาขาประมงที่คอนขางทรงตัว และมีแนวโนมที่จะลดลง การขยายตัวของการผลิตในสาขาปศุสัตว ก็อยูในระดับที่ไมสูงนัก ดังนั้น ในป 2545 คาดวามูลคาผลิตภัณฑภาคเกษตรจะขยายตัวประมาณ 1.56% ในดานการสงออก คาดวาจะขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งในรูปเงินบาทและเงินดอลลารสหรัฐ แมจะไมสูงมากนัก(ไทยโพสต 281244)

6.1.2 ไทยสงออกขาวป 2544 เพ่ิมขึ้นสูงสุดในรอบครึ่งศตวรรษรายงานขาวจากกรมการคาตางประเทศ ก.พาณิชย วา ทางกรมฯไดรวบรวมสถิติการสงออกขาวของไทยในป 2544 คือต้ังแตวันที่

1 ม.ค. - 26 ธ.ค. สามารถสงออกไดในปริมาณทั้งสิ้น 7,401,751 ตัน เพิ่มขึ้น 11.68% จากชวงเดียวกันของปกอนที่สงออกไดปริมาณ6,630,487 ตัน โดยในปริมาณดังกลาว เปนการสงออกของเอกชน 7.12 ลานตัน และรัฐบาล 2.82 แสนตัน ทั้งนี้ กรมการคาตางประเทศระบุ

Page 28: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

171

วา เปนการสงออกขาวที่สูงที่สุดเปนประวัติการณในรอบครึ่งศตวรรษ นับต้ังแตไทยเริ่มสงออกขาวเปนตนมา สวนในปหนา คาดวาจะสงออกไดประมาณ 6.5 ลานตัน โดยเปนไปตามปริมาณผลผลิตที่จะออกมา (กรุงเทพธุรกิจ 281244)

6.2 ความเคลื่อนไหวดานการอุตสาหกรรมและการลงทุน6.2.1 บีโอไอ ยอมรับโครงการการลงทุนและมูลคาปนี้ลดลง 15% และ 40% ตามลํ าดับจากการเปดเผยของนายจักรมณฑ ผาสุกวณิช เลขาธิการคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ภายหลังการประชุมคณะ

กรรมการที่มี ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี และ รมต.คลัง เปนประธานเมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2544 วา บีโอไอรายงานภาวะการลงทุนตลอดป 2544 วาชะลอตัวลง 15% ในสวนของโครงการ โดยมีโครงการที่ขอรับการสงเสริมทั้งสิ้น 877 โครงการ มูลคา 193,300 ลานบาทโดยในสวนของเงินลงทุนลดลงถึง 40% จากชวงเดียวกันของปกอน นอกจากนั้น การจางแรงงานในปนี้ก็ลดลงเชนกัน โดยในเดือน พ.ย.2544 มีบริษัทในเขตสงเสริมการลงทุนจํ านวน 5,013 แหง จางแรงงาน 1.7 ลานคน ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอน 1.28% เนื่องจากภาวะการสงออกที่ชะลอตัวลง ทํ าใหบริษัทในเขตการสงเสริมจางแรงงานนอยลง และบางแหงมีการปลดคนงานออก

รายงานกลาววา บีโอไอ ไดสรุปผลการดํ าเนินงานในป 2544 ถึงวันที่ 21 ธ.ค. 2544 ไดอนุมัติโครงการจํ านวน 797 ราย วงเงินลงทุน 232,500 ลานบาท ทุนจดทะเบียน 38,600 ลานบาท เปนสวนของหุนบริษัทไทย 9,800 ลานบาท เปนสวนของหุนตางชาติ 28,800 ลานบาท กอใหเกิดการจางงาน 146,213 คน โดยเงินลงทุนสวนใหญอยูในกลุมอุตสาหกรรมการเกษตร จํ านวน 179 โครงการ วงเงิน 42,900ลานบาท เพิ่มขึ้น 13% และ 62% ตามลํ าดับ และมีการลงทุนมากในกิจการสงออกไกสดแชแข็ง ที่เหลือเปนอุตสาหกรรมบริการ และสาธารณูปโภค 131 โครงการ วงเงิน 33,500 ลานบาท เพิ่มขึ้นเชนกัน สวนใหญเปนการขอรับการสงเสริมในกิจการสนับสนุนการคาและการลงทุน รองลงมาเปนกิจการขนสงมวลชน และกิจการศูนยการจัดหาจัดซ้ือช้ินสวนและผลิตภัณฑระหวางประเทศ

สํ าหรับการลงทุนในป 2545 จะยังคงทรงตัว แตก็มีปจจัยหลายประการที่จะชวยผลักดันใหมีแนวโนมดีขึ้น เชน การยายฐานการผลิตของบริษัทขามชาติ เพื่อกระจายความเสี่ยงและแสวงหาผลตอบแทน เพื่อทดแทนภูมิภาคที่กํ าลังมีปญหาเศรษฐกิจ เชน อเมริกาใตสหรัฐ และยุโรป นอกจากนั้นก็จะมีคํ าสั่งซ้ือสินคาจากประเทศเพื่อนบาน เชน อุตสาหกรรมรองเทา เปนตน สํ าหรับอุตสาหกรรมที่คาดวาจะมีแนวโนมการลงทุนที่ดีในปหนา ประกอบดวยอุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมบริการ อุตสาหกรรมยานยนตและช้ินสวน และคาดวาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส และอุตสาหกรรมเบา จะเริ่มฟนตัวในครึ่งหลังของป 2545 (กรุงเทพธุรกิจ 291244)

6.2.2 สมาคมวิชาชีพอุตสาหกรรมกอสราง 15 แหงผนึกกํ าลังยื่นสมุดปกขาวขอความชวยเหลือจากรัฐบาล

รายงานขาวเมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 2544 กลาววา นายภูมิสัน โรจนเลิศจรรยา เลขาธิการสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย เปดเผยวา15 สมาคมวิชาชีพกอสราง ภายใตการนํ าของสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย สมาคมสถาปนิกสยาม วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแหงประเทศไทย และสมาคมอุตสาหกรรมคอนกรีตไทย ไดรวบรวมปญหาและแนวทางแกไข โดยทํ าเปนสมุดปกขาวเพื่อเตรียมยื่นเสนอตอ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในวันที่ 17 ม.ค. 2545 ทั้งนี้ ในสมุดปกขาวประกอบดวยขอเสนอแนะเบื้องตนหลายแนวทาง เชน ภาครัฐควรชักชวนกลุมประเทศอาเซียน จีน และอินเดีย รวมกันพัฒนาโครงการกอสรางขนาดใหญ เชนเครือขายระบบขนสงระหวางประเทศ โครงการสวนขยายรถไฟฟามหานคร ฯลฯ ภาครัฐควรใชอุตสาหกรรมกอสรางเปนเครื่องมือแกปญหาเศรษฐกิจ โดยเพิ่มมาตรการชวยเหลือทั้งตลาดภายในและตางประเทศ นายตอตระกูล ยมนาค อุปนายกวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ยืนยันวา การฟนฟูเศรษฐกิจที่ดีที่สุด ตองเริ่มจากการสนับสนุนวงการอุตสาหกรรมกอสรางใหมีงานมากขึ้น รวมทั้งภาครัฐควรออกกฎระเบียบใหหนวยงานรัฐและรัฐวิสาหกิจใชแรงงานไทย และผลิตภัณฑที่ผลิตในประเทศ ซ่ึงจะสามารถสรางรายไดใหคนไทยไดมาก

นายภูมิสัน ไดเปดเผยขอมูลวา ในชวงที่อุตสาหกรรมกอสรางเจริญรุงเรืองนั้น มีมูลคากอสรางรวมกวา 400,000 ลานบาท แตภายหลังเกิดวิกฤติป 2540-2544 มูลคาการกอสรางลดลงกวา 50% เหลือเพียง 1.2-1.4 แสนลานบาท คาดวาในป 2545 มูลคารวมการกอสรางทั้งระบบจะเหลือเพียง 2.4 หมื่นลานบาทเทานั้น ภาวะการหดตัวดังกลาว สงผลใหระหวางป 2541-2543 บริษัทผูรับเหมากอสรางตองปดตัวเองไปถึง 6,261 แหง คิดเปนความสูญเสียถึง 14,857.31 ลานบาท จากทุนจดทะเบียน ดานการจางงานก็มีจํ านวนลดลง และเกิดการเลิกจางสูงมากจากเดิม 2.6 ลานคน หรือ 8.2% ของแรงงานทั้งหมด เลิกจางไปถึง 1.1 ลานคน เหลือจางงานปจจุบัน 1.5 ลานคน หรือ 4.8%ของแรงงานทั้งหมดเทานั้น สํ าหรับบริษัทสถาปนิกออกแบบจากกวา 300 บริษัท เหลือเพียง 55 บริษัท เชนเดียวกันอุตสาหกรรมคอนกรีตและวัสดุกอสราง มีมูลคาตลาดรวมลดลงจากเฉลี่ย 50,000 ลานบาทตอป เหลือไมถึง 20,000 ลานบาทตอป ผูประกอบการกลุมธุรกิจผลิตคอนกรีตปดกิจการกวา 50% ขณะบริษัทที่ยังผลิตอยูไมมีผลกํ าไร เนื่องจากไมมีโครงการกอสรางเกิดใหม (ไทยโพสต 191244)

Page 29: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

172

ความเคลื่อนไหวดานประชากร สิ่งแวดลอม และพลังงานนํ าเร่ือง

ความเคลื่อนไหวดานประชากรและคุณภาพชีวิต สํ านักงานสถิติแหงชาติ ไดสํ ารวจความเดือดรอนของราษฎรชนบททั่วประเทศพบทุกภาคประสบปญหาราคาสินคาเกษตรตกตํ่ ามากเปนอันดับที่ 1 ตามดวยไมมีทุนประกอบอาชีพสวนความตองการของราษฎรที่ตองการใหรัฐบาลชวยเหลือมากที่สุด 10 อันดับแรกคือ 1.ใหกูเงินลงทุนในการประกอบอาชีพ 2. ประกันราคาผลผลิตทางการเกษตร 3. ชวยพยุงราคาขาวหรือผลผลิตทางการเกษตร 4. ประกันราคาปุยหรือชวยหาปุยราคาถูกและทันฤดูกาล 5. หางานใหทํ าหรือหาอาชีพเสริมใหกับราษฎร 6. ตองการถนนคอนกรีตหรือถนนลาดยางในหมูบาน 7. กองทุนหมุนเวียนประจํ าหมูบาน 8. หาแหลงนํ้ าเพื่อการเกษตร 9. จัดหาที่ดินทํ ากิน และ10. แกปญหายาเสพติดและการพนัน ในสวนของผลสํ ารวจการครองชีพของขาราชการไทยนั้นพบวา ขาราชการในระดับ 1-8ยังมีรายไดมากกวารายจาย และมีหนี้สินอยูสูง เฉล่ียทั่วประเทศมีหนี้สินครอบครัวละกวา 340,000 บาท และขาราชการในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดสวนการเปนหนี้มากที่สุดเมื่อเทียบกับขาราชการทั้งหมด ทางดานกองทุนประชากรแหงสหประชาชาติไดคาดการณวา ประชากรโลกอาจจะเพิ่มขึ้นเปน 10,900 ลานคน ภายในป พ.ศ. 2593 หรือในอีกประมาณ 49 ปขางหนา และวาการเพิ่มขึ้นของประชากรและการบริโภค จะดํ าเนินไปอยางตอเนื่อง จนเปลี่ยนแปลงโลกในขอบเขตที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน ซึ่งก็จะสงผลกระทบตอสภาวะแวดลอมทั่วโลก ทั้งปญหาดินเสื่อมสภาพ นํ้ า และอากาศเปนมลพิษ ภูเขานํ้ าแข็งหลอมละลายและทํ าลายแหลงอาศัยตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สวนความเคลื่อนไหวดานเด็กและสตรีนั้น มีแนวโนมที่ผูหญิงไทยอายุตํ่ ากวา 20 ป ทํ าแทงและเกิดความเสี่ยงตอการติดเชื้อและภาวะแทรกซอน และผลวิจัย "ความรุนแรงในชีวิตคูกับสุขภาพผูหญิง" พบหญิงไทยอยางนอย 8 ลานคน ถูกทํ ารายทางกายและจิตใจ ซึ่งการแกปญหาความรุนแรงตอผูหญิงและเด็กจํ าเปนตองสรางใหเปนกระแสสังคมพรอมที่จะเขารวมกันยุติปญหาดวยการนํ าฐานขอมูลของสังคมเปนตัวแกไมใชอารมณ ตองการใหสังคมใหความสํ าคัญกับเรื่องนี้ โดยเฉพาะนโยบายของรัฐบาลควรแปรผลไปในทางปฏิบัติ และจากสถิติปญหาความรุนแรงของผูหญิงที่ศูนยพิทักษสตรีมูลนิธิเพื่อนหญิงไดสํ ารวจและเก็บรวบรวมจากการโทรศัพทเขามาปรึกษาดวยตัวเอง พบวาจํ านวนผูที่เขามาใหปรึกษามีทั้งส้ิน 703 รายปญหาที่พบมากที่สุดคือ ปญหาความรุนแรงในครอบครัว และพบวาสามีภรรยาที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปครองแชมปการหยารางกันมากที่สุด และจากผลที่เศรษฐกิจโลกทรุดนั้นทํ าใหปญหาแรงงานเด็กมีแนวโนมสูงขึ้น ซึ่งปญหานี้กํ าลังเติบโตอยางรวดเร็ว แมหลายประเทศในเอเชียจะพยายามยุติปญหาก็ตาม ในสวนความเคลื่อนไหวดานองคกร แรงงาน คาจาง และสวัสดิการทางสังคม มีความเคลื่อนไหวของเครือขายสลัม 4 ภาคกวา 2,000 คน ไดเดินทางมาที่ศาลาวาการ กทม.เพื่อยื่นหนังสือหนังสือตอปลัด กทม. เรียกรองการสรางที่อยูอาศัยคนจนในเมือง ในวันที่อยูอาศัยสากล (1 ต.ค.) ทางดานเครือขายเหลาพื้นบานเตรียมยื่นฟองศาลปกครอง กรณีไมไดรับความเปนธรรมจากนโยบายสุราเสรี ขณะเดียวกันทางเครือขายไดเตรียมพรอมเพื่อเคลื่อนไหวในชวงเปดสมัยประชุมสภาคราวหนา เพื่อผลักดันพ.ร.บ.เหลาพื้นบานฉบับประชาชน ซึ่งไดยกรางไวเรียบรอยแลว ดานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน คาจาง มีความเคลื่อนไหวจาก ก.แรงงานฯ ที่คาดวาแนวโนมการวางงานในป 2545 จะมีผูวางงานประมาณ 1.7 ลานคน คิดเปนรอยละ 5 ของกํ าลังแรงงานรวมที่มีประมาณ 33 ลานคน ทั้งนี้ทาง ก.แรงงานฯไดสนองนโยบายเรงดวนเพื่อกระตุนเศรษฐกิจและชะลอปญหาการวางงานในป 2545 โดยจัดตั้งหนวยงานกลางเพื่อทํ าหนาที่กล่ันกรอง ปรับปรุงและกํ ากับดูแลโครงการกระตุนเศรษฐกิจใหเปนไปอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ไดรวมมือกับ ก.ศึกษาธิการ ก.การคลัง ก.อุตสาหกรรม รวมทั้งสถาบันการเงินของคณะกรรมการกลั่นกรองฯ สํ าหรับในสวนของ ก.แรงงานฯไดเสนอในเบื้องตน 3 มาตรการ 5 โครงการเปนเงินกวา 3 พันลานบาท ซึ่งสามารถชวยเหลือผูวางงาน ผูใชแรงงาน ผูถูกเลิกจาง และคนพิการ รวมแลวกวา 7 แสน

Page 30: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

173

คน ความเคลื่อนไหวเพื่อสรางชุมชนเขมแข็ง มีความเคลื่อนไหวดานธนาคารชุมชน ซึ่งเปนเรื่องที่นายินดีที่ทางธนาคารกรุงไทยไดปรับปรุงรูปแบบโครงการ "ธนาคารชุมชน" ใหม ดึงองคกรเครือขายชุมชนรวมพัฒนารูปแบบการปลอยสินเชื่อผลิตภัณฑ การจัดจํ าหนาย เนนการทํ าโครงการที่เกิดขึ้นจริง สํ าหรับการปลอยกูนั้นมีการปลอยใหกับกลุมของชุมชนและปลอยกูลูกคารายยอย และคาดวาดอกเบี้ยที่ธนาคารจะคิดสํ าหรับการปลอยกูอยูระหวาง 6-12% สวนความเคลื่อนไหวดานกองทุนหมูบานนั้นยังมีปญหาการกูเงินของประชาชนในแตละหมูบานทั่วประเทศ จากการสํ ารวจพบวามีการโอนเงินไปยังหมูบานตาง ๆ แลวกวา 40,000 ลานบาท แตมีการขอกูเงินไปเพียง 5,000 กวาลานบาท ทํ าใหการแกปญหาเศรษฐกิจของรัฐบาลไมเปนไปตามเปาหมายที่วางไว สวนกรณีความเคลื่อนไหวของเบี้ยกุดชุมนั้น ชาวกุดชุมยํ้ าเจตนารมณตองการใชเบี้ยฯเพื่อการพึ่งตนเองตามแนวพระราชดํ าริ โดยไดออกเบี้ยเพื่อใชเปนส่ือกลางแลกเปลี่ยนสิ่งของที่ผลิตในชุมชน เพื่อลดการไหลเวียนออกนอกชุมชนของเงินบาท และทรัพยากรในชุมชนเมื่อเดือนมี.ค. 2543 แตทางธปท.และก.การคลังไดส่ังใหชาวบานยุติกิจกรรมดังกลาวโดยเด็ดขาด โดยใหเหตุผลวาการใชเบี้ยกุดชุมเปนการละเมิดกฎหมายการเงินการธนาคาร และบั่นทอนความมั่นคงของระบบเงินบาท ซึ่งชาวบานไดเรียกรองขอความเปนธรรมจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ทั้งนี้กรรมการสิทธิมนุษยชนฯ ระบุคํ าส่ังธปท. อางเหตุผลเล่ือนลอย หามชาวบานใชเบี้ยฯ ซึ่งเขาขายละเมิดสิทธิตามรัฐธรรมนูญ และเรียกชี้แจงรายละเอียดดวนพรอมขอหลักฐานใชเบี้ยสงผลใหเงินบาทปนปวนจริงหรือไม ทางดานความเคลื่อนไหวดานแรงงานตางดาวนั้นเปนเรื่องของนักรองตางชาติที่เขามาขุดทองในเมืองไทยกันเปนจํ านวนมาก โดยเฉพาะประเทศฟลิปปนสมีมากที่สุด ซึ่งแตละปขนเงินไทยออกนอกประเทศนับรอยลานบาท ซึ่งทางกรมจัดหางาน ก.แรงงานฯไดเขามาควบคุม โดยไดวางหลักเกณฑวา หากสถานประกอบการที่มีความจํ าเปนจริง ๆ เชน โรงแรมใหญ ๆ เปนผูมาขออนุญาตจะพิจารณาให แตถาเปนบริษัทนายหนามาขอจะไมอนุญาต สวนความเคลื่อนไหวแรงงานในตางประเทศ มีขาวที่นาเสียใจสํ าหรับชาวญี่ปุนก็คือในป 2544 นี้ 82 บริษัทยักษใหญในญี่ปุนทั้งที่ผลิตอิเล็กทรอนิกส ผูใหบริการขอมูลไปจนถึงหางคาปลีก และบริษัทเวชภัณฑมีแผนปลดคนงานในประเทศกวา 120,000 คน และเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย บริษัทตาง ๆ ตองปลดพนักงาน ทํ าใหอัตราการวางงานในประเทศญี่ปุนสูงขึ้นเปนประวัติการณถึงรอยละ 5.5 เมื่อเดือน พ.ย. 2544 ทางดานแมบานชาวตางชาติในฮองกงกวา700 คน จากฟลิปปนส อินโดนีเซีย และไทยไดรวมประทวงที่ทางการฮองกงไดปรับลดคาจางลงอีกรอยละ 20 ทั้งที่มีการปรับลดคาจางของแมบานตางชาติมาแลวครั้งหนึ่งในชวงที่เกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจ

ความเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอม ทางดานสารพิษในส่ิงแวดลอมมีความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับชีวิตของคนในกทม.ที่ตองดํ าเนินชีวิตอยูทามกลางมลพิษ ซึ่งสงผลกระทบตอสุขภาพอนามัย และจากกรณีที่เกิดเหตุรถบรรทุกสารเคมีพลิกควํ่ า คลังแสงสรรพาวุธทหารระเบิด ทํ าใหประชาชนวิตกถึงพื้นที่ที่จัดเก็บสารเคมีที่อาจทํ าใหเกิดอันตรายได ทาง ก.มหาดไทยไดมีคํ าส่ังใหสํ านักผังเมืองทุกจังหวัดตรวจสอบ และหาวิธีปองกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น ในกทม.นั้นมีแหลงที่มีวัตถุอันตรายถึง 1,764 แหง ซึ่งทางกทม. ไดมีการประสานไปยังหนวยงานตาง ๆ ใหมีมาตรการควบคุมดูแลสถานที่เหลานั้นไมใหเกิดอันตรายใด ๆ กับประชาชน และในปจจุบันยังพบวาประชาชนในกทม.และปริมณฑลถูกแวดลอมดวยสารเคมีอันตรายกวา 200 ชนิด จากโรงงานที่ใชสารเคมีถึง 500 แหง ทางดานส่ิงแวดลอมเมืองมีความเคลื่อนไหวที่นายินดีเปนอยางมากที่ทางสํ านักผังเมืองจัดทํ าโครงการ "แผนแมบทพื้นที่สีเขียวของกทม." โดยมี ม.เกษตรฯเปนที่ปรึกษาเพื่อใชเปนกรอบในการชี้แนวปฏิบัติตามนโยบายดานสิ่งแวดลอมของเมือง และเพื่อเปนแนวทางใหผูบริหาร กทม.ใชเปนนโยบายในการมอบหมายงาน รวมถึงประสานแนวทางการพัฒนาพื้นที่สีเขียวกับโครงการอื่น ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพความเคลื่อนไหวดาน ดิน นํ้ า ปา มีความเคลื่อนไหววาดวยดินเกี่ยวกับวิกฤติพื้นที่ดินของประเทศไทยมากกวา 60% นั้นอยูในสภาพที่เส่ือมโทรมและมีปญหา และถึงแมวาในขณะนี้ประเทศไทยยังไมถึงจุดวิกฤติการเสื่อมโทรมของดินก็ตามแตถาประมาทหรือไมดูแลรักษาอีกไมนานก็อาจเกิดปญหาขึ้นได ทางดานกรมทรัพยากรธรณีไดออกประกาศหามทํ านา

Page 31: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

174

เกลือสินเธาว 5 จังหวัดในภาคอีสานคือ สกลนคร อุดรธานี นครราชสีมา เลย และหนองคาย เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวเกิดปญหาแผนดินทรุดและเปนโพรงจํ านวนมาก สวนปญหาเรื่องการยึดคืนที่ดินอัลไพนนั้นตามผลสอบของกรมที่ดินไดสรุปออกมาแลววาที่ดินนั้นเปนที่ธรณีสงฆ โดยยึดตามมติคณะกรรมการกฤษฎีกา ซึ่งประชาชนที่อาศัยอยูในที่ดินดังกลาวก็สามารถใชสิทธิ์ในการอุทธรณได แตคงตองใชเวลานานพอสมควร ความเคลื่อนไหววาดวยนํ้ า เปนเรื่องที่เรงดวนที่ทางกรมชลประทานตองแกปญหานํ้ าทวม อ.หาดใหญอยางถาวร ซึ่งแผนเรงดวนในการปองกันนํ้ าทวมในป 2544 นี้เสร็จเรียบรอยแลว ทั้งการขุดลอกคูคลอง การจัดทํ าแบบจํ าลองปริมาณนํ้ าและสภาพนํ้ าทวม ตลอดจนการติดตั้งระบบเตือนภัย ทั้งนี้ใชงบประมาณกวา 7 พันลานบาท และมีความมั่นใจหากโครงการเสร็จตามแผนที่กํ าหนดจะไมเกิดนํ้ าทวมอีกตอไป ความเคลื่อนไหววาดวยปา เปนเรื่องที่นาเศราใจมากที่มีขบวนการลักลอบตัดไมสงขายประเทศเพื่อนบาน ยังมีการลักลอบตัดไมอยางตอเนื่องใน จ. สตูล ถึงแมวาทางจังหวัดจะมีมาตรการอยางจริงจังก็ตาม สวนทางดานมูลนิธิสืบฯไดวิงวอนรัฐบาลในการแกไขรางพ.ร.บ.ปาชุมชน เพราะเกรงวาปาอนุรักษและปาตนนํ้ าจะหมดไปอยางแนนอน ความเคลื่อนไหวดานความหลากหลายทางชีวภาพ มีธุรกิจการซื้อขายปลาสวยงานที่เปนอีกสาเหตุหนึ่งที่ทํ าใหปะการังนํ้ าตื้นตายไปเปนจํ านวนมาก เพราะมีชาวบานรูเทาไมถึงการณใชสารเคมีโรยลงไปตามซอกปะการัง ทํ าใหปะการังนํ้ าตื้นหลายแหง เชน บริเวณ จ.ตราด จ.ภูเก็ต เสียหายไปเปนจํ านวนมาก ทางดานกรมปศุสัตวไดมีการปรับตัวครั้งใหญ หลังพบวาตางชาติผลักดันกฎหมายฉบับใหมเกี่ยวกับ 'การยายพันธุสัตวขามถิ่น' โดยระบุโทษวา หากนํ าสัตวพื้นเมืองออกนอกประเทศแลวมีการผสมขามพันธุและพันธุใหมที่ไดกลับไปทํ าลายสายพันธุสัตวที่มีอยูเดิม ประเทศตนกํ าเนิดตองรับผิดชอบดวย สวนกฎหมายที่มีอยูไมไดคุมครองถึง ไก แมว และสุนัขพื้นเมือง ซึ่งเตรียมออกกฎหมายใหม คาดวาอีก 2 ปมีผลบังคับใช และเปนที่นายินดีอยางยิ่งที่ทางสหรัฐยืนยันไมจดสิทธิบัตรขาวหอมมะลิไทย และชี้ใหคนไทยควรแยกความแตกตางระหวางสิทธิบัตรและเครื่องหมายการคาใหถูกตอง พรอมทั้งแนะนํ าใหสรางเครื่องหมายการคาใหกับขาวหอมมะลิไทยเพื่อชิงความไดเปรียบในตลาดขาว ความเคลื่อนไหวสิ่งแวดลอมตางประเทศ เปนเรื่องที่ดีสํ าหรับชาวนิวซีแลนดที่ทางสถาบันวิจัยของรัฐบาลยอมฆาเชื้อพื้นที่ที่ปลูกพืชจีเอ็มโอ เพราะเปนหวงชุมชน แมไมมีหลักฐานที่แสดงถึงการคุกคามสิ่งแวดลอม ทางดานความเคลื่อนไหวสิ่งแวดลอมโลก มีความเคลื่อนไหวของกองทุนประชากรแหงสหประชาชาติเตือนภัยโลกกํ าลังตกอยูในภาวะวิกฤตสิ่งแวดลอม ระบุสัญญาณของสิ่งแวดลอม ระบุสัญญาณภัยของสิ่งแวดลอมทวีความรุนแรงทุกแหง เพราะการบริโภคทรัพยากรอยางไมยั้งคิด คาดอีก 50 ป ประชากรจะลนโลก มีประชากรเกือบหมื่นลานคน ขณะที่ประธานสถาบันส่ิงแวดลอมไทย เปดเผยวา ไทยถือวาประสบความสํ าเร็จในการคุมกํ าเนิด สามารถลดอัตราการเกิดผล แตจํ าเปนตองรณรงคเปล่ียนนิสัยคนไทยใหลดการบริโภคลง สวนทางยูเอ็นไดออกมาเตือนถึงปญหาโลกรอน สงผลใหผลผลิตธัญพืชลดลงถึง 30% ในชวง 100 ปขางหนา

ความเคลื่อนไหวดานพลังงาน มีความเคลื่อนไหวดานพลังงานภายในประเทศที่นาติดตามอยางใกลชิดก็คือ ก.วิทยฯมีนโยบายเรงดวนในการประหยัดพลังงาน โดยใหกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน (พพ.) จัดทํ าแผนพัฒนาพลังงานทดแทน พ.ศ. 2545-2549 เพื่อพัฒนาพลังงานอื่นทดแทนนํ้ ามัน โดยเลือกพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน 8เทคโนโลยี ทั้งนี้คาดวาจะใชงบประมาณ 6.4 พันลานบาท ทางดาน สพช. ไดมีการปรับคาเอฟทีในรอบใหมชวงเดือน ต.ค. 2544 - ม.ค. 2545 ลดลง 4.36 ส.ต./หนวย อีกทั้งไดระบุทิศทางพลังงานป 2545 มีแนวโนมขาลง เนื่องจากราคานํ้ ามันดิบไมนาจะเพิ่มสูงขึ้นมากนัก ยิ่งหากอยูที่เฉล่ีย 20 เหรียญตอบารเรล ไทยจะประหยัดเงินตราตางประเทศไดถึง100,000 ลานบาท สงผลให ราคากาซธรรมชาติจะปรับลดตาม แตราคากาซหุงตมคงปรับลดลงไมได เพราะยังมีหนี้กองทุนนํ้ ามันคํ้ าคออยู เตือนคนไทยยังตองยึดหลักประหยัดพลังงานตอไป สวนความเคลื่อนไหวดานพลังงานตางประเทศ มีการคาดการณถึงการประชุมโอเปกในรอบตอไป โดย รมต.นํ้ ามันซาอุดีอาระเบีย วา อาจมีการผลักดันใหมีการลดกํ าลังการผลิตนํ้ ามันถึง 1.5 ลานบารเรล/วัน เพื่อกระตุนราคานํ้ ามันที่ซบเซา

Page 32: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

175

1. ความเคลื่อนไหวดานประชากร1.1 ความเคลื่อนไหวดานประชากรและคุณภาพชีวิต1.1.1 สํ านักงานสถิติฯ รายงานสรุปผลสํ ารวจหมูบานทั่วประเทศ พบ 10 ปญหาความเดือดรอน ราย

ไดตํ่ า – ทุนหมดติดอันดับที่ 1 และ 2 ตามลํ าดับทุกภาคของประเทศสํ านักงานสถิติแหงชาติทํ าการเก็บรวบรวมขอมูลจากทุกหมูบานทั่วประเทศ ระหวางเดือน ก.พ. – มี.ค. 2544 โดยประสานงานขอ

ความรวมมือ ก.มหาดไทยในการใหกํ านันผูใหญบาน หรือเจาหนาที่องคการบริหารสวนตํ าบล (อบต.) เปนผูบันทึกขอมูล ซ่ึงการเก็บขอมูลจะสอบถามถึงความเดือดรอนสวนใหญของราษฎรในหมูบานทั่วประเทศจํ านวน 59,614 หมูบาน ผลสํ ารวจ พบวา ความเดือดรอนของราษฎรที่ไดรับมากที่สุด 10 อันดับแรกคือ 1. ขายผลผลิตไดราคาตํ่ า จํ านวน 32,414 หมูบาน 2. ไมมีทุนในการประกอบอาชีพ จํ านวน26,292 หมูบาน 3.ปุยและยาฆาแมลงมีราคาแพง จํ านวน 20,561 หมูบาน 4. ตกงานไมมีงานทํ า จํ านวน 12,551 หมูบาน 5.ปญหายาเสพติด จํ านวน 10,332 หมูบาน 6. การคมนาคมไมสะดวก จํ านวน 9,440 หมูบาน 7. ปญหาอุทกภัย จํ านวน 8,482 หมูบาน 8. ไมมีที่ทํ ากินจํ านวน 8,474 หมูบาน 9. ปญหาความแหงแลง จํ านวน 7,658 หมูบาน 10. โรคระบาดพืช จํ านวน 2,446 หมูบาน

อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาความเดือดรอนมากที่สุด 5 อันดับแรกในระดับภาค ภาคกลางคือ ขายผลผลิตไดราคาตกตํ่ า ไมมีทุนในการประกอบอาชีพ ปุยและยาปราบศัตรูพืชมีราคาแพง ปญหายาเสพติด และตกงานไมมีงานทํ า ตามลํ าดับ ภาคเหนือคือ ขายผลผลิตไดราคาตกตํ่ า ไมมีทุนในการประกอบอาชีพ ปุยและยาปราบศัตรูพืชมีราคาแพง ปญหายาเสพติด และตกงานไมมีงานทํ า ตามลํ าดับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือคือ ขายผลผลิตไดราคาตกตํ่ า ไมมีทุนในการประกอบอาชีพ ปุยและยาปราบศัตรูพืชมีราคาแพง ปญหายาเสพติด ตกงานไมมีงานทํ า และการคมนาคมไมสะดวก ตามลํ าดับ สวนภาคใตคือ ขายผลผลิตไดราคาตกตํ่ า ไมมีทุนในการประกอบอาชีพ อุทกภัยการคมนาคมไมสะดวก และปุยและยาปราบศัตรูพืชมีราคาแพง ตามลํ าดับ ทั้งนี้เปนที่นาสังเกตวา ราษฎรในชนบททุกภาคไดรับความเดือดรอนเรื่องขายผลผลิตไดราคาตํ่ า ไมมีทุนในการประกอบอาชีพสูงเปนอันดับที่ 1 และ 2 เหมือนกันทุกภาค

สวนความตองการของราษฎรที่ตองการใหรัฐบาลชวยเหลือมากที่สุด 10 อันดับแรกคือ 1.ใหกูเงินลงทุนในการประกอบอาชีพ 2.ประกันราคาผลผลิตทางการเกษตร 3. ชวยพยุงราคาขาวหรือผลผลิตทางการเกษตร 4. ประกันราคาปุยหรือชวยหาปุยราคาถูกและทันฤดูกาล 5. หางานใหทํ าหรือหาอาชีพเสริมใหกับราษฎร 6. ตองการถนนคอนกรีตหรือถนนลาดยางในหมูบาน 7. กองทุนหมุนเวียนประจํ าหมูบาน 8. หาแหลงนํ้ าเพื่อการเกษตร 9. จัดหาที่ดินทํ ากิน และ10. แกปญหายาเสพติดและการพนัน (มติชน 191044)

1.1.2 ขาราชการระดับ 1 - 8 มีหนี้สินสูง เฉล่ียทั่วประเทศมีหนี้สินครอบครัวละกวา 340,000 บาทรายงานจากสํ านักงานสถิติแหงชาติเปดเผยถึงผลการสํ ารวจภาวะคาครองชีพของขาราชการไทยระดับ 1 - 8 ทั่วประเทศในป

2544 วา ในแงรายไดและรายจายของขาราชการทั่วประเทศพบวา โดยเฉลี่ยขาราชการจะมีรายได 25,441 บาทตอเดือนตอครอบครัว แตมีรายจาย 20,334 บาทตอเดือนตอครอบครัว ขาราชการใน กทม. และ 3 จังหวัดรอบกทม. มีรายไดและรายจายตอเดือนตอครอบครัวมากที่สุด โดยมีรายได 27,509 บาท รายจาย 21,339 บาท ขาราชการภาคกลาง มีรายได 25,727 บาท รายจาย 20,208 บาท ภาคเหนือ รายได24,546 บาท รายจาย 19,221 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รายได 24,563 บาท รายจาย 20,279 บาท ภาคใต รายได 24,571 บาท และรายจาย 20,087 บาท

ขาราชการทั่วประเทศประมาณรอยละ 76.8 จากขาราชการทั้งหมดมีภาระหนี้สิน โดยมีหนี้สินเฉลี่ยสํ าหรับครอบครัวที่เปนหนี้343,184 บาท ขาราชการในระดับ 1 - 2 มีหนี้สินเฉลี่ยครอบครัวละ 105,772 บาท ขาราชการในระดับ 3 - 4 มีหนี้สินเฉลี่ยครอบครัวละ279,760 บาท และขาราชการในระดับ 6 - 8 มีหนี้สินเฉลี่ยครอบครัวละ 461,075 บาท

สวนหนี้สินขาราชการตามภาคตาง ๆ พบวา ขาราชการในกทม. และ 3 จังหวัดรอบกทม. มีหนี้สินคิดเปนสัดสวนรอยละ 69.6 ของขาราชการในพื้นที่ดังกลาวทั้งหมด โดยมีหนี้สินเฉลี่ยอยูที่ 349,267 บาทตอครอบครัว ขาราชการภาคกลาง มีสัดสวนหนี้สินรอยละ 73.9 หนี้สินเฉลี่ย 351,630 บาท ภาคเหนือ มีสัดสวนรอยละ 83.8 หนี้สินเฉลี่ย 340,850 บาท และขาราชการภาคใตมีสัดสวนรอยละ 77.5 และมีหนี้สินเฉลี่ย 321,079 บาทตอครอบครัว (กรุงเทพธุรกิจ,พิมพไทย,ผูจัดการ 051144)

1.1.3 คาดอีกประมาณ 49 ปขางหนา ประชากรโลกเพิ่มรอยละ 50กองทุนประชากรแหงสหประชาชาติ กลาวในรายงานสถานะของประชากรโลกประจํ าป ค.ศ.2001 วา ประชากรโลกอาจจะเพิ่ม

ขึ้นเปน 10,900 ลานคน ภายในป พ.ศ. 2593 หรือในอีกประมาณ 49 ปขางหนา หากยังไมมีการปรับปรุงโอกาสทางการศึกษา และการดูแลสุขภาพของสตรี ทั้งนี้จากการคาดการณการขยายตัวของประชากรดังกลาว จากในปจจุบัน 6,100 ลานคน เปน 9,300 ลานคน จะเกิดขึ้นในประเทศกํ าลังพัฒนา และการเพิ่มขึ้นของประชากรและการบริโภค จะดํ าเนินไปอยางตอเนื่องจนเปลี่ยนแปลงโลกในขอบเขตที่ไมเคยเกิดขึ้น

Page 33: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

176

มากอน ซ่ึงจะสงผลกระทบตอสภาวะแวดลอมทั่วโลก ทั้งปญหาดินเสื่อมสภาพ นํ้ า และอากาศเปนมลพิษ ภูเขานํ้ าแข็งหลอมละลาย และทํ าลายแหลงอาศัยตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (ผูจัดการ 071144)

1.2 ความเคลื่อนไหวดานเด็ก เยาวชน สตรี และคนชรา1.2.1 แนวโนมหญิงไทยอายุตํ่ ากวา 20 ป ทํ าแทงเส่ียงตอการติดเช้ือและภาวะแทรกซอนพญ.สุวรรณา วรคามิน ผูอํ านวยการกองวางแผนครอบครัวและประชากร กรมอนามัย ก.สาธารณสุข กลาววา สถานการณการ

ทํ าแทงในประเทศไทยเปนปญหาสาธารณสุขที่บ่ันทอนสุขภาพและเปนอันตรายตอชีวิตของผูหญิง ประมาณวาแตละปทั่วโลกมีผูหญิงเสียชีวิตจากการทํ าแทงราว 50,000 – 100,000 คน และพบวามีปญหาภายหลังจากการทํ าแทงคือ มีภาวะแทรกซอน

ทั้งนี้ ผลการศึกษาจากรายงานตลอดป 2542 เก็บตัวอยาง 45,990 ราย รอยละ 28.5 เปนการทํ าแทง อัตราการทํ าแทงเทากับ19.54 ตอเด็กเกิดมีชีวิต 1,000 ราย ในกลุมทํ าแทงรอยละ 46.8 มีอายุ 24 ป และตํ่ ากวารอยละ 30.0 เปนวัยรุนอายุต่ํ ากวา 20 ป รอยละ60.2 ทํ าแทงเนื่องจากเหตุผลทางเศรษฐกิจและสังคม และรอยละ 39.8 มีขอบงช้ีทางการแพทยพบผูที่มีภาวะแทรกซอนรุนแรงรอยละ 28.8และมีผูเสียชีวิตจากการทํ าแทง 14 ราย

สวนเหตุผลในการทํ าแทงคือ มีปญหาทางเศรษฐกิจ ปญหาสังคม วางแผนครอบครัวหรือเวนระยะการมีบุตรไมเหมาะสม ยังเรียนหนังสือไมจบ มีปญหาครอบครัว และตั้งครรภเนื่องจากคุมกํ าเนิดลมเหลว (กรุงเทพธุรกิจ 081044)

1.2.2 เศรษฐกิจโลกทรุดกอปญหาใหเกิดแรงงานเด็กจํ านวนมากรายงานขาวจากกรุงมะนิลา ระบุวา การคาเด็กรวมถึงการบังคับใหเด็กขายบริการทางเพศมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นทามกลางภาวะ

เศรษฐกิจโลกชะลอตัว โดยองคการแรงงานสากล (ไอแอลโอ) รายงานวา เด็กอายุระหวาง 5 – 14 ป ประมาณ 250 ลานคนในประเทศกํ าลังพัฒนาตองทํ างานหนักเปนเวลานานภายใตสภาพแวดลอมที่เสี่ยงอันตราย เฉพาะในเอเชียมีแรงงานเด็กประมาณ 153 ลานคน เด็กเหลานี้ถูกซ้ือขายขามประเทศ เพื่อใชแรงงานในโรงงาน โครงการกอสราง ตลอดจนการใหบริการทางเพศ และถูกบังคับใหเปนขอทาน

นายฟรานซ โรสเลเออส ผูอํ านวยการโครงการขจัดแรงงานเด็กของไอแอลโอ ยํ้ าวา ปญหานี้กํ าลังเติบโตอยางรวดเร็วแมหลายประเทศในเอเชียพยายามยุติปญหาดังกลาว (กรุงเทพธุรกิจ 111044)

1.2.3 ผลวิจัย "ความรุนแรงในชีวิตคูกับสุขภาพผูหญิง" พบหญิงไทยอยางนอย 8 ลานคน ถูกทํ ารายทางกายและจิตใจ

รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล นักวิชาการจากสถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล เปดเผยผลการวิจัยเรื่อง "ความรุนแรงในชีวิตคูกับสุขภาพผูหญิง" โดยสุมตัวอยางจากผูหญิงทั่วไปที่มีคูหรือเคยมีคูอายุระหวาง 15 - 49 ป จํ านวน 2,818 คน จากกทม. และนครสวรรค ในป 2543 พบวา ผูหญิงรอยละ 44 หรืออยางตํ่ า 8 ลานคนเคยถูกทํ ารายจากสามีหรือคนรัก แยกเปนถูกทํ ารายทางกายรอยละ28 และถูกทํ ารายทางเพศรอยละ 29 เคยถูกดูถูกเหยียดหยามทํ ารายจิตใจรอยละ 22 และเคยถูกทํ ารายทั้งทางกายและเพศรอยละ 14สํ าหรับผูที่เคยถูกทํ ารายทางเพศระบุวามาจากแฟน สามีหรือคูรักขมขืนรอยละ 9 ทั้งนี้เมื่อเจาะถึงการศึกษาแลวพบวา ผูหญิงทุกระดับการศึกษาและระดับรายไดถูกทํ ารายจากสามีหรือคนรัก เพียงแตคนระดับสูงมักจะรักษาหนาตาไมยอมเปดเผย ผิดกับคนที่มีการศึกษานอยหรือไมมีการศึกษา

สวนประเภทของสามีที่มีแนวโนมจะทํ ารายเมียสูงคือ สามีขี้เหลา สามีขี้หึง สามีเจาชู และปญหาทางเศรษฐกิจของครอบครัวก็เปนสวนหนึ่ง และยังพบดวยวา รอยละ 40 ของผูหญิงที่ถูกทํ ารายจากสามีหรือคนรัก เคยคิดฆาตัวตาย และ 1 ใน 3 เคยพยายามฆาตัวตายแลว

อยางไรก็ตาม การแกปญหาความรุนแรงตอผูหญิงและเด็กจํ าเปนตองสรางใหเปนกระแสสังคมที่พรอมจะเขารวมกันยุติปญหาดวยการนํ าฐานขอมูลของสังคมเปนตัวแกไมใชอารมณ และตองการใหสังคมใหความสํ าคัญกับเร่ืองนี้ โดยเฉพาะนโยบายของรัฐบาลควรแปรผลไปในทางปฏิบัติ (ผูจัดการ,สยามรัฐ 021144)

1.2.4 พบปญหาครอบครัวกอเหตุรุนแรงมากที่สุด สามี-ภรรยาวุฒิปริญญาตรีครองแชมปหยารางจากสถิติปญหาความรุนแรงของผูหญิงที่ศูนยพิทักษสตรีมูลนิธิเพื่อนหญิงไดสํ ารวจไวระหวางเดือนม.ค. - ต.ค. 2544 ซ่ึงเก็บรวบ

รวมจากการโทรศัพทเขามาปรึกษาดวยตัวเองและพบวาจํ านวนผูที่เขามาใหปรึกษามีทั้งสิ้น 703 ราย ปญหาที่พบมากที่สุดคือ ปญหาความรุนแรงในครอบครัว มีถึง 446 ราย หรือคิดเปนรอยละ 63.4 รองลงมาไดแก การปรึกษาดานกฎหมาย เชน การฟองหยา มี 184 ราย หรือรอยละ 26.2 การถูกละเมิดทางเพศมี 45 ราย หรือรอยละ 6.4 และทองไมพึงประสงคมี 28 ราย หรือรอยละ 4

Page 34: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

177

ปญหาความรุนแรงในครอบครัวที่พบมากที่สุดคือ เกิดจากกรณีที่ภรรยาตองการฟองรองสามีมากที่สุดถึงรอยละ 34.1 รองลงมาไดแกปญหาชีวิตรอยละ 26 ฝายชายไมอุปการะเลี้ยงดูบุตรรอยละ 16.8 สามีมีหญิงอื่นรอยละ 9.6 และสามีทํ ารายรางกายมีรอยละ 8.7 และสุดทายการแยงปกครองบุตรมีรอยละ 4.8 โดยสามีภรรยาที่ฟองหยาสวนใหญอยูในชวงอายุ 31-40 ป สวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพทํ างานบริษัทเปนสวนใหญ รองลงมาคือ กลุมรับราชการ

สาเหตุสํ าคัญของการหยาราง อันดับหนึ่งคือ ผูชายไปมีผูหญิงอื่น รองลงมาผูชายมักทํ ารายรางกาย และตามดวยผูชายขาดความรับผิดชอบ ไมยอมอุปการะเลี้ยงดูบุตร หลังการหยามักจะมีปญหาติดตามมาคือ การแบงทรัพยสิน และการเรียกคาอุปการะเลี้ยงดูบุตร

สํ าหรับปญหาการลวงเกินทางเพศ ซ่ึงมีจํ านวน 45 ราย ที่มาขอคํ าปรึกษาที่มูลนิธิเพื่อนหญิงพบวามีถึงรอยละ 70 เกิดจากรณีถูกขมขืนกระทํ าชํ าเรา รองลงมาคือ ถูกทํ าอนาจารมีรอยละ 18 โดยทั้งสองกรณีพบวา ผูชายที่ลวงละเมิดทางเพศ เปนคนที่รูจักกันเปนอันดับหนึ่ง ตามมาดวยคนในครอบครัว และสุดทายคือ คนแปลกหนา

อาชีพของผูละเมิดทางเพศ มีต้ังแตรับจาง รับราชการ และนายแพทย การศึกษาตั้งแตป.4 จนถึงปริญญาโท ซ่ึงผูหญิงที่โดนละเมิดทางเพศ สวนใหญมักถูกฝายชายชวนไปเที่ยวแลวมอมเหลา-เบียร หรือแอบใสยานอนหลับใหกิน แลวพาไปขมขืน นอกจากนี้ พบวาเหตุการณที่เกิดขึ้นมักมีเร่ืองของยาเสพติดเขามาพัวพัน

อยางไรก็ตาม ปญหาความรุนแรงที่กระทํ าตอผูหญิง ยังมีความรุนแรงมากขึ้น แมการปองกันไมใหผูหญิงถูกทํ ารายจะถูกกํ าหนดไวเปนนโยบาย แตในสภาพความเปนจริงยังมีผูหญิงจํ านวนมากถูกทํ ารายอยูเนือง ๆ ในรูปแบบตาง ๆ ทั้งนี้จุดสํ าคัญคือ ทัศนคติและความเช่ือของสังคม ซ่ึงมองกันวา การถูกสามีทุบตี การถูกละเมิดทางเพศ การตั้งครรภไมพึงประสงค เปนเรื่องสวนตัว และเปนความผิดของผูหญิงเอง โดยไมไดมองกันที่ฝายชายเลยวาเปนตัวปญหา ฉะนั้นการรณรงคแกไขลดความรุนแรงที่กระทํ าตอผูหญิงนั้น จะตองทํ าใหครบทุกดานไมวาดานกฎหมาย ครอบครัว การศึกษาและสังคม หรือจากทุกสถาบันของสังคม (ผูจัดการ 101244)

1.3 ความเคลื่อนไหวดานองคกร แรงงาน คาจาง และสวัสดิการทางสังคม1.3.1 ความเคลื่อนไหวดานเครือขาย และองคกร- ชาวสลัม 4 ภาค เดินขบวนมายัง กทม. เรียกรองใหรัฐบาลปฏิรูปที่ดินเมืองสรางที่อยูคนจนรายงานขาวเมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2544 ระบุวา กลุมชาวบานจากเครือขายสลัม 4 ภาค กวา 2,000 คน นํ าโดยนายพงษอนันต ชวง

ธรรม ประธานเครือขายฯ นางสมศรี สายทอง ผูแทนเครือขายสิทธิที่อยูอาศัยชุมชนเมือง นายสุวิทย วัดหนู กรรมการมูลนิธิพัฒนาที่อยูอาศัย(มพศ.) เดินขบวนไปยังศาลาวาการ กทม. เพื่อยื่นหนังสือตอ ร.ต.ต.เกรียงศักด์ิ โลหะชาละ ปลัด กทม. เรียกรองใหรัฐบาลปฏิรูปที่ดินเมืองเพื่อที่อยูอาศัยคนจนเมือง เนื่องในวันที่อยูอาศัยสากล 2544

นายพงษอนันต เปดเผยวา จากการสํ ารวจชุมชนแออัดทั่วประเทศ มี 2,486 ชุมชน รวม 580,000 ครอบครัว โดยเฉพาะในพื้นที่ช้ันในของ กทม.นั้นมีมากถึง 1,048 ชุมชน โดยจํ านวนดังกลาวยังไมไดนับรวมชุมชนชานเมืองที่มีกวา 1,000 ชุมชน แตที่ผานมาวิธีการแกไขปญหาของภาครัฐบาลคือ การยายคนสลัมไปอยูชานเมือง ซ่ึงกลับยิ่งไปสรางปญหาใหกับพื้นที่แหงใหมและเปนการแกไขปญหาไมสิ้นสุดเนื่องจากสภาพคนสลัมเมื่ออยูไกลแหลงงานก็จะยายกลับไปสูที่เดิม แมวารัฐบาลจะสรางแฟลตใหเปนที่อยูอาศัย แตยังไมสอดคลองกับอาชีพ เชน หาของเกา หาบเร ซ่ึงมีรายไดนอย จึงเสนอแนวทางใหมโดยใหหนวยงานราชการปรับปรุงสภาพที่อยูอาศัยเดิมบางสวนใหคนสลัมเมือง ทั้งนี้รัฐบาลจะตองปฏิรูปที่ดินเพื่อจัดสรรใหเปนหลักประกันความมั่นคง

ดาน ร.ต.ต.เกรียงศักด์ิ โลหะชาละ ปลัด กทม. กลาววา ปญหานี้ถือเปนปญหาระดับชาติ จะตองใหรัฐบาลเปนแกนนํ าในการแกไขปญหาอยางเปนระบบในทิศทางเดียวกัน เพื่อจะไดมีความชัดเจนในกรอบความรับผิดชอบ และในอนาคตรัฐบาลควรหาวิธีวาจะทํ าอยางไรใหคนในทองถิ่นสามารถดํ ารงชีพไดโดยไมตองอพยพเขาเมืองเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม กทม.ไดพยายามทํ าอยางดีที่สุดแลว และกทม.ไมมีอํ านาจในการแกปญหามากนัก คงตองรอกฎหมายกระจายอํ านาจกอน เช่ือวาถึงเวลานั้น กทม.จะชวยเหลือชาวบานไดอยางเต็มที่และมีสิทธิขาดในการจัดระเบียบที่อยูอาศัย( มติชน,ผูจัดการ 021044)

- เครือขายเหลาพื้นบานมีมติยื่นฟองศาลปกครอง กรณีไมไดรับความเปนธรรมจากนโยบายสุราเสรีนายสมเกียรติ พงษไพบูลย อาจารยสถาบันราชภัฏนครราชสีมา ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการแกไขปญหาเหลาพื้นบานที่

แตงตั้งโดยร.ม.ต.เกษตรฯ เปดเผยวา ภายหลังจากตัวแทนเครือขายเหลาพื้นบานแหงประเทศไทย (คลท.) จากภาคอีสาน และภาคเหนือ ไดเขาช้ีแจงตอคณะกรรมาธิการการมีสวนรวมของประชาชน วุฒิสภา เมื่อวันที่ 26 ธ.ค. 2544 ตัวแทนเครือขายไดมีมติรวมกันวา จะมีการยื่นฟองตอศาลปกครองในเดือน ม.ค. ศกหนา กรณีไมไดรับความเปนธรรมจากประกาศของทางการ 2 ฉบับ ที่เกี่ยวกับนโยบายสุราเสรี ไดแก

Page 35: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

178

ประกาศกระทรวงการคลัง เร่ืองวิธีบริหารนโยบายสุรา พ.ศ. 2543 ลงนาม โดยนายธารินทร นิมมานเหมินท ร.ม.ต.คลัง เมื่อวันที่6 ต.ค. 2543 และประกาศก.อุตสาหกรรม เร่ืองหลักเกณฑและเงื่อนไขการพิจารณาอนุญาตโรงงานสุรา วันที่ 3 เม.ย. 2543 ลงนามโดยนายสุวัจน ลิปตพัลลภ ร.ม.ต.อุตสาหกรรมขณะนั้น

นายสมเกียรติกลาววา ในระหวางการชี้แจงตอคณะกรรมาธิการฯนั้น นายเจิมศักด์ิ ปนทอง ส.ว.กทม. ในฐานะประธานคณะกรรมาธิการการมีสวนรวมของประชาชน ไดใหขอมูลวา ประกาศทั้ง 2 ฉบับ นาจะขัดตอรัฐรรมนูญ หลายมาตรา เชน มาตรา 30 มาตรา 50มาตรา 87 และถือเปนการเลือกปฏิบัติ ซ่ึงเห็นไดชัดเจนจากประกาศก.อุตสาหกรรมฯ ในขอ 2.4 ที่กํ าหนดใหที่ต้ังโรงงานสุราใหม ตองหางจากแมนํ้ าอยางนอย 2 กิโลเมตร แตประกาศดังกลาว กลับไมบังคับใชกับโรงงานสุราของกลุมนายทุน 12 โรงงาน ที่ซ้ือไปจากก.การคลัง โดยตัวแทนของกรมโรงงานที่เขาไปช้ีแจงตอคณะกรรมาธิการใหเหตุผลเพียงวา ประกาศดังกลาวใชบังคับเฉพาะโรงงานสุราที่จะเกิดใหม

ทั้งนี้ ตัวแทนเครือขายเหลาพื้นบานไดคุยกับกรรมาธิการแลว เห็นวาประกาศทั้งสองฉบับเปนการเอาปญหาทางเทคนิค เชนปญหาดานสิ่งแวดลอม ปญหาเรื่องคุณภาพสุรา พรอม ๆ กับการโฆษณาชวนเชื่อเรื่องคุณภาพเหลาที่ชาวบานผลิตวามีสารพิษ มากลบเจตนารมณที่แทจริง ที่จะไมใหประชาชนทั่วไปทํ าการผลิตเหลาไดตามนโยบายสุราเสรี เพื่อที่จะผูกขาดการผลิตเหลาไวใหนายทุนตามเดิมนอกจากนี้ ยังมีกลไกการผูกขาดที่จะยึดทั้งจังหวัดแบบเสร็จสรรพ โดยในที่ประชุมกรรมาธิการฯ มีการใหขอมูลวา ผูวาราชการจังหวัดขนาดใหญ จะไดสวนแบงผลประโยชน 2 หมื่นบาทตอเดือน สวนจังหวัดเล็กได 5 พันบาทตอเดือน

ดานนายวีรพล โสภา ผูประสานงานเครือขายเหลาพื้นบานแหงประเทศไทย กลาววา จนถึงขณะนี้ ทางเครือขายตระหนักดีแลววาถาชาวบานจะรอทํ าเหลาอยางถูกตองตามกฎหมาย คงจะไมมีทางเปนไปได หลักการที่เราตกลงกันตอนนี้ ก็คือ ถาใครอยากจะไดสิทธิในการทํ าเหลาตามภูมิปญญาพื้นบานกลับคืนมาก็ใหทํ าไดเลย ซ่ึงขณะนี้เครือขายในภาคอีสานไดคุยกันแลววาจะจัดงานมหกรรมภูมิปญญาเหลาพื้นบานอาหารพื้นเมืองเพื่อการพึ่งตนเอง กระจายไปตามจุดตาง ๆ เพื่อการรณรงคอีกครั้ง แลวเปนการแกขอกลาวหาและการโฆษณาชวนเชื่อของกรมสรรพสามิตที่บอกวา เหลาที่ชาวบานทํ า มีการใสสารพิษ ซ่ึงขณะนี้ทั้ง 19 จังหวัด พรอมเปนเจาภาพแลว โดยในชวงหลังปใหม จะมีการหารือกันวาจะจัดที่จังหวัดไหนกอนหลังตอไป

ขณะเดียวกัน ทางเครือขายไดเตรียมพรอมเพื่อเคลื่อนไหวในชวงเปดสมัยประชุมสภาคราวหนา เพื่อผลักดันพ.ร.บ.เหลาพื้นบานฉบับประชาชน ซ่ึงไดยกรางไวเรียบรอยแลว (ผูจัดการ 261244)

1.3.2 ความเคลื่อนไหวดานแรงงาน คาจาง- ป 2545 คาดวาคนตกงาน 1.7 ลานคนนายอิระวัชร จันทรประเสริฐ ปลัด ก.แรงงานฯ กลาวถึงแนวโนมการวางงานในป 2545 วา จากเหตุการณวินาศกรรมที่สหรัฐ

สํ านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ไดประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในชวงแผนฯ 9 ไววาจะขยายตัวประมาณรอยละ 4 – 5 ตอป ซ่ึงจากสถานการณดังกลาว ก.แรงงานฯ โดยกองวิชาการและแผนงาน กรมการจัดหางานไดประเมินในเบ้ืองตนวาจะทํ าใหมีผูวางงานในป 2545 ประมาณ 1.7 ลานคน คิดเปนรอยละ 5 ของกํ าลังแรงงานรวมที่มีประมาณ 33 ลานคน

ในจํ านวนผูวางงานประมาณ 1.7 ลานคนนี้ จะมีผูวางงานที่เปนผูที่เพิ่งจบการศึกษา ประมาณ 2.7 – 3.7 แสนคน ทั้งนี้ตองขึ้นอยูกับอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศดวยวา หากเปนไปตามที่ สศช. คาดการณคือ รอยละ 4 – 5 ก็จะทํ าใหมีผูวางงานกลุมนี้ในจํ านวนดังกลาว แตหากอัตราการเติบโตตํ่ ากวานั้น ก็จะทํ าใหมีผูวางงานที่เพิ่งจบการศึกษาเพิ่มขึ้น กลาวคือ สศช. ไดประเมินไววา หากอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศอยูในอัตรารอยละ 4 – 5 จะสามารถดูดซับแรงงานที่เพิ่งจบการศึกษาไดประมาณ 2.3 แสนคนจากจํ านวนผูที่เพิ่งจบการศึกษา และกํ าลังเขาสูตลาดแรงงานใหม 5 – 6 แสนคน เมื่อหักลบกันแลวจะทํ าใหมีผูวางงานในกลุมนี้ประมาณ2.7– 3.7 แสนคน (มติชน 041044)

- ก.แรงงานฯ รวมมือกับ 3 กระทรวง ชะลอปญหาการวางงาน ทุมเงิน 3 พันลานบาทนายอิระวัชร จันทรประเสริฐ ปลัด ก.แรงงานฯ เปดเผยถึงความคืบหนาการดํ าเนินมาตรการบรรเทาและแกไขการวางงานวา ตาม

ที่รัฐบาลไดเห็นชอบในหลักการโครงการในความรวมมือของ 4 กระทรวง ซ่ึงประกอบดวย ก.แรงงานฯ ก.ศึกษาธิการ ก.การคลัง และก.อุตสาหกรรม รวมทั้งสถาบันการเงินของคณะกรรมการกลั่นกรองฯ กอนนํ าเสนอ ครม.นั้น ในสวนของก.แรงงานฯ ไดเสนอในเบื้องตน 3 มาตรการ 5 โครงการ มีวงเงิน 3,402.2 ลานบาท ซ่ึงจะสามารถชวยเหลือผูวางงาน ผูใชแรงงาน ผูถูกเลิกจาง และคนพิการ รวมแลวกวา 7 แสนคน อยางไรก็ตาม เพื่อเปนการเตรียมการรองรับการดํ าเนินโครงการเพื่อบรรเทาและแกไขปญหาการวางงาน จึงไดแตงตั้งคณะกรรมการอํ านวยการโครงการกระตุนเศรษฐกิจป 2545 ขึ้น โดยมีปลัด ก.แรงงานฯ เปนประธาน อธิบดีทุกกรม และเลขาธิการสํ านักงานประกันสังคมเปนกรรมการ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเปนหนวยงานกลางทํ าหนาที่พิจารณากลั่นกรองโครงการฯ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการติดตามและ

Page 36: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

179

ประเมินผล ตลอดจนการประชาสัมพันธแผนงานโครงการฯ โดยใหสอดคลองกับหลักเกณฑที่กํ าหนด กอนนํ าเสนอผูบริหารของกระทรวงฯและหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งนี้เพื่อใหการดํ าเนินโครงการฯ เปนไปอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ (พิมพไทย 071244)

1.4 ความเคลื่อนไหวเพื่อสรางชุมชนเขมแข็ง1.4.1 ความเคลื่อนไหวดานธนาคารชุมชน- แบงกกรุงไทยไดฤกษเปดบริการโครงการ'ธนาคารชุมชน' คิดดอกเบี้ยขั้นตํ่ า 6%นายปรีชา ภูขํ า ผูชวยผูจัดการใหญ ธ.กรุงไทย ในฐานะประธานคณะทํ างานธนาคารชุมชน เปดเผยถึงความคืบหนาของโครงการ

ธนาคารชุมชนวา เดือน พ.ย. 2544 ธ.กรุงไทยเริ่มดํ าเนินการตามแผนที่วางไวคือ ปลอยกูทั้ง 4 ภาค ภาคละ 2 จังหวัดกอน เพื่อเปนการทดลองโครงการธนาคารชุมชนวามีขอบกพรองจุดไหน หาความเสี่ยงตาง ๆ เพื่อนํ ามาประมวลผลและกํ าหนดเปนแนวทางของทุนและรวมถึงวิธีการพิจารณาสินเช่ือที่เปนมาตรฐานในอนาคตอีก

สํ าหรับการปลอยกูนั้น มีการปลอยใหกับกลุมของชุมชนและปลอยกูลูกคารายยอย คือในสวนของชุมชน ธนาคารมีขอมูลอยูแลวซ่ึงบางชุมชนธนาคารอาจปลอยกู 10 ลานขึ้นไปแลวแตประเภทธุรกิจ สวนการปลอยกูลูกคารายยอยนั้นตองเปนคนในชุมชน เพราะธนาคารไมตองการปลอยกูมั่ว ซ่ึงผิดวัตถุประสงคของธนาคาร ทั้งนี้ชุมชนจะตองมีกิจกรรมรวมกันอยางนอย 1-2 ป โดยธนาคารเนนกูเงินเพื่อไปผลิตจริง ๆ โดยปลอยกูรายยอยไมจํ ากัดวงเงินวาตองปลอย 3 - 5 หมื่นบาทตอรายหรือไม แตหามใชจายเพื่อสวนสวนตัวหรือสุรุยสุรายอยางเด็ดขาด สํ าหรับอัตราดอกเบี้ยธนาคารจะพิจารณาศักยภาพและความเสี่ยงของธนาคาร คาดวาดอกเบี้ยที่ธนาคารจะคิดสํ าหรับการปลอยกูอยูระหวาง 6-12%

ในสวนผลของโครงการที่จะเกิดขึ้นกับธนาคารนั้น ถาธนาคารปลอยกู 35,000 หมูบาน และรวมปลอยกูเปนกลุมแลวทํ าใหธนาคารสามารถปลอยกูไดถึง 70,000 - 100,000 ลานบาท แตทั้งนี้จะตองพิจารณาถึงความสามารถของโครงการดวย สวนเรื่องดอกเบี้ยแมธนาคารจะมีตนทุนการดํ าเนินงานที่ตองรับผิดชอบ ธนาคารก็จะพิจารณาใหรอบคอบวา Function ใดในกระบวนการผลิตของเครือขายชวยสรางมูลคาเพิ่มตอผลิตภัณฑมวลรวม ธนาคารจะคิดการคืนดอกเบี้ยในอัตราสุดทายที่ไมสูง ทั้งนี้ธนาคารจะเพิ่มแรงจูงใจใหกับคนกูหรือชุมชน โดยจะลดดอกเบี้ยเงินกูใหในปที่ 2 ถาปฏิบัติตามเกณฑของธนาคาร โดยธนาคารจะออกแบบระบบรวมกันกับเครือขายองคกรชุมชนที่มีศักยภาพในการมีเปาหมายใหธุรกิจเติบโตคูกับความเขมแข็งของชุมชน (ผูจัดการ 01 - 021144)

1.4.2 ความเคลื่อนไหวดานกองทุนหมูบาน- กระตุนประชาชนกูเงินกองทุนหมูบาน พบโอนเงินไปแลว 40,000 ลานบาทขอกูเพียง 5,000 ลานบาทนายสุจริต ปจฉิมนันท อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เปดเผยเมื่อวันที่ 3 ต.ค. 2544 วา การดํ าเนินการตามนโยบายเรื่องกองทุนหมู

บานยังมีปญหาการกูเงินของประชาชนในแตละหมูบานทั่วประเทศ จากการสํ ารวจพบวา หลังจากมีการโอนเงินไปยังหมูบานตาง ๆ แลวกวา40,000 ลานบาท แตปรากฏวาไดมีการขอกูเงินไปทั้งสิ้นเพียง 5,000 กวาลานบาท ทํ าใหการแกปญหาเศรษฐกิจของรัฐบาลไมเปนไปตามเปาหมายที่วางไว ซ่ึงไดมีการกํ าชับไปยังพัฒนาการจังหวัดและพัฒนาการอํ าเภอ ใหเรงรัดทํ าความเขาใจกับประชาชน เพื่อใหมีการขอกูเงินไปใชในการลงทุนดานตาง ๆ

ดานนายสยุมพร ลิ่มไทย รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (พช.) ไดช้ีแจงวา วงเงินงวดแรกที่รัฐบาลไดใหไปจํ านวน 8,000 ลานบาทนั้นไดไปถึงมือประชาชนแลว สวนที่เพิ่งจัดสรรลงไปนั้นอาจจะกระชั้นชิดเกินไปทํ าใหมีการเตรียมการไมทัน และอยูระหวางการตรวจสอบของกรรมการหมูบานที่ตองเตรียมเอกสารการกูเงิน ซ่ึงคณะกรรมการบริหารหมูบานตองใชความรอบคอบสูงในการพิจารณาวาใครกูไปแลวตองมีเงินมาคืนได นอกจากนี้ในแตละหมูบานยังมีหลายกองทุนที่ประชาชนจะกูยืมได เชน โครงการ กข.คจ. ของกรมการปกครองที่จัดสรรใหกับ อบต. ละ 1 แสนบาท จึงทํ าใหความตองการของประชาชนที่จะกูเงินกองทุนอื่นอีกมีไมมาก เพราะไมอยากเปนหนี้ใหม

ทางดานนายสุวิทย คุณกิตติ รองนายกฯ ในฐานะประธานกรรมการกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ กลาววา จํ าเปนอยางยิ่งที่จะตองพิจารณาการใชงบประมาณ เพื่อกระตุนเศรษฐกิจมาสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนากํ าลังคนที่จะลงไปชวยดูแลบริหารจัดการเงินกองทุนหมูบาน ซ่ึงไดปรึกษากับ รมต.ศึกษาธิการ เพื่อจัดทํ าโครงการประกาศนียบัตรบัณฑิต ที่จะใหนักศึกษาลงไปทํ างานกับคณะกรรมการกองทุนหมูบาน หมูบานละ 1 คน จะไดมีโอกาสติดตามประมวลผลการบริหารจัดการเงินกองทุนหมูบานของคณะกรรมการหมูบานและจะไดชวยการประเมินผลการดํ าเนินงานในสวนของเงินที่ใหกูกับผูกูรายยอยวา โครงการที่ทํ าเกิดผลผลิตรายไดและชวยกระตุนเศรษฐกิจมากนอยแคไหน ทั้งนี้ไดโอนเงินกองทุนหมูบานไปแลวประมาณรอยละ 63 ของหมูบานทั้งหมด และใหกูยืมไปแลวทั้งหมด 10,146ลานบาท (มติชน 041044)

1.4.3 ความเคลื่อนไหวกรณีหามใชเบ้ียกุดชุม

Page 37: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

180

จากกรณีชุมชน 5 หมูบาน ในตํ าบลนาโส อ.กุดชุม จ.ยโสธร ไดออกเบี้ยเพื่อใชเปนสื่อกลางแลกเปลี่ยนสิ่งของที่ผลิตในชุมชน เพื่อลดการไหลเวียนออกนอกชุมชนของเงินบาทและทรัพยากรในชุมชน เมื่อปลายเดือนมี.ค. 2543 แตธนาคารแหงประเทศไทยและก.การคลังไดสั่งใหชาวบานยุติกิจกรรมดังกลาวโดยเด็ดขาด โดยใหเหตุผลวาการใชเบ้ียกุดชุมเปนการละเมิดกฎหมายการเงินการธนาคาร และปนทอนความมั่นคงของระบบเงินบาท ทั้งนี้ชาวบานในชุมชนกุดชุมไดออกมาเคลื่อนไหวเรียกรองความเปนธรรมอีกครั้ง โดยทํ าหนังสือขอความชวยเหลือจากคระกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ซ่ึงเปนองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญที่จัดตั้งขึ้นใหม

ดานนางบัวทอง บุญศรี ตัวแทนกลุมพัฒนาชุมชนพึ่งตนเอง เบ้ียกุดชุม บานสันติสุข ต.นาโส อ.กุดชุม จ.ยโสธร กลาววา ทางชุมชนเห็นวาการกระทํ าของธนาคารแหงประเทศไทยและก.การคลังกรณีเบ้ียกุดชุม เปนการละเมิดสิทธิของชุมชนในการวางแผนการพัฒนาชุมชนของตนเองใหเกิดความเขมแข็งและยั่งยืน และเชื่อมั่นวาแนวทางพัฒนาชุมชนดวยการใชเบ้ียเปนสื่อกลางแลกเปลี่ยน เปนการพัฒนาความคิดริเร่ิมสรางสรรคของชุมชน และดํ าเนินตามรอยพระราชดํ าริและนโยบายของรัฐบาล ชุมชนไมมีเจตนาที่จะละเมิดกฎหมายบานเมืองแตอยางใด จึงไดขอความชวยเหลือไปยังคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติสวนจะชวยเหลืออยางไรนั้น ก็แลวแตทางสํ านักงานสิทธิมนุษยชนจะเห็นเหมาะสม

การใชเบ้ียกุดชุมเปนสื่อกลางแลกเปลี่ยนสินคาก็เพื่อใหเกิดการพึ่งตนเองในชุมชน ลดการพึ่งพาภายนอก ที่สํ าคัญตองการสรางความสัมพันธที่ดีตอกันระหวางคนในชุมชน แตธนาคารแหงประเทศไทยกลับวินิจฉัยวา เบ้ียกุดชุมที่ชุมชนใชนั้นเขาขายผิดมาตรา 9 แหงพระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ. 2501 ที่วา หามไมใหผูใดทํ า จํ าหนาย ใช หรือนํ าออกใชซ่ึงวัตถุแทนเงินตรา นอกเสียแตวาวัตถุแทนเงินตรานั้นๆ จะไดรับอนุญาตจากรมต. คลัง และการที่ชาวบานตั้งธนาคารเบี้ยกุดชุมขึ้นมาดูแลการใชเบ้ียนั้นผิดมาตรา 9 แหงพระราชบัญญัติธนาคารพาณิชย พ.ศ.2505 ที่วาบุคคลผูใด นอกจากธนาคารพานิชยจะใชช่ือหรือคํ าแสดงชื่อในธุรกิจวา ธนาคาร ไมได

ทางดานนายวสันต พานิช กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ไดเปดเผยวา ไดประมวลขอมูลแวดลอมตาง ๆ โดยเฉพาะเจตนารมณของการใชเบ้ียกุดชุมแลว เห็นไดวาชาวบานพยายามใชภูมิปญญาทองถิ่นมาใชประโยชนเพื่อสรางความเขมแข็งใหกับระบบเศรษฐกิจในชุมชน เปนการยอนไปสูวิถีชีวิตดั้งเดิมของบรรพบุรุษที่ยึดระบบการแลกเปลี่ยนอาหารและปจจัยสี่เปนหลัก สํ าหรับแนวคิดการใชเบ้ียกุดชุมดังกลาวก็เพื่อหาทางออกใหกับสมาชิกในชุมชนที่ตางประสบปญหาการขาดแคลนเงินบาท ไมมีเงินมากพอที่จะใชจาย จึงริเร่ิมนํ าเบี้ยมาเปนสัญลักษณในการแลกเปลี่ยนระหวางสมาชิกดวยกันเอง ขณะที่เงินบาทก็ยังมีบทบาทอยูคือนํ าไปใชซ้ือสิ่งของจํ าเปนนอกชุมชน เจตนารมยของการใชเบ้ียกุดชุมจึงอยูบนหลักการการพึ่งตนเอง มุงชวยเหลือสมาชิกในชุมชนที่ใหมีความเขมแข็งทั้งดานเศรษฐกิจและดานสังคมเปนการดํ าเนินตามรอยพระราชดํ าริเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง

อยางไรก็ตาม เมื่อเจตนารมยของการใชเบ้ียกุดชุมของชาวบานชัดเจนเชนนี้แลว ทางคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจะเรงดํ าเนินการชวยเหลือชาวบานตามที่รองทุกขเขามาวาถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยจะทํ าหนังสือถึงธนาคารแหงประเทศไทยและก.การคลังเพื่อขอคํ าอธิบายอยางละเอียด กรณีที่กลาวอางวา การใชเบ้ียกุดชุมของชาวบานเปนการขัดตอกฎหมาย จะนํ าไปสูความวุนวายสับสน กอใหเกิดความไมสงบ ความเสียหายตอระบบเศรษฐกิจชาติจนถึงขั้นสั่งยุติการใชเบ้ียของชาวบาน สํ าหรับประเด็นปญหาเบี้ยกุดชุมนี้ไมใชไมมีทางออก แตควรจะมีคํ าอธิบายใหกับชาวบานใหกับสังคมมากกวานี้ เมื่อธปท.ยังไมมีหลักฐานชัดเจนเปนรูปธรรมวา เบ้ียกุดชุมจะนํ าไปสูความเสียหายทางเศรษฐกิจของชาติอยางไร จะเกิดผลกระทบจริงหรือไม ก็ควรปลอยใหชุมชนชาวบานไดมีโอกาสทดลองใชตอ หากใชแลวสงผลดีตอการดํ ารงชีวิตของเขา ทั้งนี้ควรจะมี องคกรใดองคกรหนึ่งเขาไปศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใชเบ้ียวาใชแลวใหผลดีมากกวาก็ควรจะเผยแพรไปยังชุมชนอื่น ๆ ที่มีความพรอมจะทํ าลองใช แตหากมีผลเสียมากกวา ก็คงไมมีใครอยากดํ าเนินการตอ

อนึ่ง ธนาคารเบี้ยกุดชุมเปนการรวมตัวจัดตั้งของสมาชิกที่เปนชาวบานราว 120 คน กระจายอยูในพื้นที่ 5 หมูบานคือ บานกุดหินหมู 4 ต.กํ าแมด อ.กุดชุม บานโคกกลาง หมู 6 ต.ไผ อ.ทรายมูล บานทาลาด หมู 3 ต.นาโส อ.กุดชุม จ.ยโสธร เปดโครงการทดลองใชเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2543 มูลคาเบี้ยกุดชุมกํ าหนดใหมีคาเทากับเงินบาทคือ 1 เบ้ีย เทากับ 1 บาท 5 เบ้ีย เทากับ 5 บาท 10 เบ้ีย เทากับ 10 บาท20 เบ้ีย เทากับ 20 บาท 50 เบ้ีย เทากับ 50 บาท (ผูจัดการ 181244)

1.5 ความเคลื่อนไหวดานแรงงานตางดาว1.5.1 นกัรองตางชาติเขามาขุดทองในเมืองไทยกันคึกคักตามโรงแรม 5 ดาว แตละปขนเงินออกกวา

100 ลานบาทจากขอมูลของกองงานคนตางดาว กรมการจัดหางาน ก.แรงงานฯ พบวามีจํ านวนนักรองนักดนตรีและศิลปนตางชาติไดขอรับใบ

อนุญาตทํ างาน (เวิรก เพอรมิต) ในประเทศไทยมากกวา 200 คน ถือวาเพิ่มขึ้นจากปกอน ๆ โดยสวนใหญเปนชาวฟลิปปนส ในสวนของนักรอง นักดนตรีที่เปนชาวฟลิปปนสนั้น แบงเปนนักรองจํ านวน 43 คน นักดนตรี 35 คน นักรองและนักดนตรี 30 คน นอกนั้นเปนนักแตงเพลง

Page 38: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

181

นักแสดงอีกจํ านวนหนึ่ง สวนชาวตางชาติอื่นที่ขอใบอนุญาตประกอบอาชีพนี้ดวยนั้นมีทั้งชาวอังกฤษ อเมริกัน เนเธอรแลนด อินเดีย สิงคโปรหรือแมกระทั่งชาวพมา ซ่ึงจํ านวนตัวเลขถือเปนขั้นตนเทานั้น เนื่องจากโดยขอเท็จจริงแลวมีชาวตางชาติมากกวานี้อีกหลายเทาที่เขามาประกอบอาชีพนักรอง - นักดนตรีในประเทศไทย แตคนเหลานี้พยายามหลบเลี่ยงกฎหมาย โดยเดินทางมาในรูปแบบของนักทองเที่ยวที่อนุญาตใหอยูได 3 เดือน ซ่ึงดูไดตามโรงแรมใหญ ๆ ระดับ 5 ดาว เชน โรงแรมดุสิตธานี โรงแรมโซลทวิน โรงแรมแอมบาสซาเดอร และโรงแรมแกรนดไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ เปนตน ที่มักมีนักรองตางชาติมารองเพลงในยามคํ่ าคืน โดยแตละคนมีรายไดสูงไมนอยกวาเดือนละ30,000 บาท ซ่ึงในแตละปประเทศไทยตองเสียเงินใหกับชาวตางชาติเหลานี้นับรอยลานบาท

นายจีรศักด์ิ สุคนธชาติ รองอธิบดีกรมการจัดหางาน กลาววา ในแตละปมีชาวตางชาติมาขอรับอนุญาตทํ างานในประเทศไทยนับแสนคน และมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นตามลํ าดับ ซ่ึงถือเปนสาเหตุหนึ่งที่แยงงานคนไทยไปทํ า ดังนั้น จึงควรมีการควบคุมใหอยูในจํ านวนที่เหมาะสม โดยการสกัดกั้นแรงงานตางชาติที่เขามาทํ างานในงานที่คนไทยสามารถทํ าได ซ่ึงไดต้ังเปาไววาจะควบคุมยอดของแรงงานตางชาติกลุมนี้ลดลงจากเดิมประมาณรอยละ 20 - 30 สํ าหรับกรณีนักรองตางชาติที่เขามาประกอบอาชีพในประเทศไทยก็จะมีการควบคุมเชนกัน เพราะมีจํ านวนมาก โดยไดวางหลักเกณฑไววา หากสถานประกอบการที่มีความจํ าเปนจริง ๆ เชน โรงแรมใหญ ๆ เปนผูมาขออนุญาตจะพิจารณาให แตถาบริษัทนายหนามาขอจะไมอนุญาต ทั้งนี้ จากสถิติพบวา โรงแรมใหญ ๆ มาขออนุญาตไมมากนัก ในชวงเดือน พ.ย. ที่ผานมามีมาขออนุญาตไมถึง 10 ราย

ทางดาน นายวีระวัธน เทพโสธร นายกสมาคมดนตรี กลาววา เห็นดวยที่ ก.แรงงานฯ จะเอาจริงเอาจังเพราะเรื่องนี้เปนปญหากับนักรอง นักดนตรีไทย เพราะนอกจากแยงงานนักรองนักดนตรีไทยแลว ยังมาแยงงานอื่น ๆ ดวย นอกจากนี้ชาวตางชาติที่เขามาโดยไมถูกตอง ยังมากออาชญากรรมตาง ๆ ดวย รวมไปถึงการไมจายเงินภาษีใหแกรัฐบาล ถาออกไปใหหมดก็เปนสิ่งที่ดี ทั้งนี้ทางสมาคมยังมีโครงการผลักดันใหเกิดสภาดนตรีขึ้นโดยทํ าหนาที่เปนองคกรที่คอยควบคุมดูแลนักดนตรี นักรอง หรือผูที่เกี่ยวของ รวมทั้งนักดนตรีชาวตางชาติใหอยูในขอบังคับของกฎหมายไทย (มติชน 03 - 041244)

1.6 ความเคลื่อนไหวดานแรงงานในตางประเทศ1.6.1 บริษัทยักษใหญ 82 แหงในญี่ปุนมีแผนปลดคนงานในประเทศกวา 120,000 คนในป 2544หนังสือพิมพนิฮอน เคอิไซรายงานเมื่อวันที่ 18 พ.ย. 2544 วา บริษัทตาง ๆ ต้ังแตผูผลิตอิเล็กทรอนิกส ผูใหบริการขอมูลไปจนถึง

หางคาปลีกและบริษัทเวชภัณฑ มีแผนออกโครงการปลดเกษียณกอนกํ าหนด บริษัทเหลานี้เตรียมโอนยายพนักงานไปยังกิจการในเครือเดียวกัน และตัดลดปฏิบัติการซึ่งหลายครั้งออกมาในรูปของการลดคาจาง โดยจะมีพนักงาน 120,000 คน ถูกปลดออกโดยธรรมชาติ จากการปลดเกษียณปกติ ซ่ึงในบรรดา 82 บริษัทที่ใชแผนปลดเกษียณกอนกํ าหนด หรือสนับสนุนใหพนักงานลาออกโดยความสมัครใจนั้น ผูผลิตอิเล็กทรอนิกสและผูใหบริการขอมูลมีแผนปลดพนักงานมากที่สุดคือ 65,000 คน

ทางดานนายเฮโซ ทาเคนากะ รมต.วางแผนเศรษฐกิจและการคลังของญี่ปุน ไดใหสัมภาษณทางสถานีโทรทัศนฟูจิวา มีความเปนไปไดที่รัฐบาลอาจตองออกงบประมาณเพิ่มเติมฉบับที่ 2 ภายในป 2544 นี้ แตในทางกลับกัน ก็ตองรักษาวินัยทางการคลังอยางเครงครัดดวยเชนกัน อยางไรก็ตาม รัฐสภาของญี่ปุนไดลงมติผานงบประมาณพิเศษมูลคา 3 ลานลานเยน สํ าหรับปการเงินปจจุบันที่จะสิ้นสุดเดือนมี.ค. 2545 เพื่อรับมือยอดคนตกงานที่พุงโดง ทวากลับมีเสียงเรียกรองออกมาทันควันใหรัฐกระตุนเศรษฐกิจเพิ่มเติม งบประมาณพิเศษฉบับลาสุดมีมูลคาต่ํ ากวางบประมาณกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดกอน ๆ อยางชัดเจน ซ่ึงสะทอนถึงพันธสัญญาของโตเกียวในการจํ ากัดการใชจาย ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของแผนปฏิรูปเศรษฐกิจของนายกฯ จุนอิชิโร โคอิซูมิ ที่สัญญาวาจะจํ ากัดการออกพันธบัตรใหมเพียง 3 ลานลานเยนเทานั้น (ผูจัดการ 191144,Bangkok Post 191101)

1.6.2 แมบานตางชาติประทวงที่ทางการฮองกงปรับลดคาจางลงอีกรอยละ 20สํ านักขาวตางประเทศ รายงานเมื่อวันที่ 2 ธ.ค. 2544 วา บรรดาแมบานตางชาติในฮองกงกวา 700 คน จากฟลิปปนส อินโดนีเซีย

และไทย รวมชุมนุมกันที่บริเวณวิคตอเรียปารก กอนจะเดินขบวนประทวงไปตามถนน หลังจากที่ทางการฮองกงกํ าลังพิจารณาปรับลดคาจางขั้นตํ่ าของแมบานตางชาติลงอีกรอยละ 20 หลังจากที่กอนหนานี้ในชวงเกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจ ทางการฮองกงไดปรับลดคาจางขั้นตํ่ าของแมบานตางชาติมาแลวครั้งหนึ่ง (มติชน 031244)

1.6.3 อัตราการวางงานของญี่ปุนสูงขึ้นเปนประวัติการณถึงรอยละ 5.5อัตราการวางงานของญี่ปุนสูงขึ้นเปนประวัติการณถึงรอยละ 5.5 เมื่อเดือนพ.ศ. 2544 เมื่อเทียบกับเดือนต.ค 2544 รอยละ 5.4

เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย ทํ าใหบริษัทตาง ๆ ตองปลดพนักงาน ทั้งนี้ นักวิเคราะหไดเตือนวาสถานการณจะเลวรายลงไปอีกใน 2-3เดือนขางหนา

Page 39: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

182

นายโยตาโร ซาวากิ ผูอํ านวยการสํ านักงานความมั่นคงในการจางงานของก.แรงงานญี่ปุน กลาววา การหางานทํ าจะยากมากขึ้นโดยปจจุบันจํ านวนผูวางงานเพิ่มขึ้นจาก 410,000 คน เปน 3,500,000 คนแลว ซ่ึงสถิติการวางงานดังกลาว สะทอนใหเห็นถึงการลดขนาดของตลาดแรงงาน รวมทั้งการที่บริษัทรานคาตางๆ ลดจํ านวนพนักงานตามสภาพเศรษฐกิจ

ดานนายยาสุโอะ ฟูกูดะ เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กลาววา ภาวะถดถอยและปฏิรูปโครงสรางทํ าใหอัตราการวางงานสูงขึ้น แตรัฐบาลก็มีความจํ าเปนที่จะตองผลักดันการปฏิรูปตอไป เพื่อแกไขปญหาเศรษฐกิจ (ผูจัดการ 281244)

2. ความเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอม2.1 ความเคลื่อนไหวสารพิษในสิ่งแวดลอม2.1.1 ชีวิตคน กทม. เต็มไปดวยมลพิษ บ่ันทอนสุขภาพอนามันทั้งอากาศและเสียงนายศิริธัญญ ไพโรจนบริบูรณ อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) ก.วิทยฯ กลาววา จากการที่ คพ.ดํ าเนินการติดตามตรวจสอบคุณ

ภาพอากาศในประเทศไทยอยางตอเนื่อง เพื่อเฝาระวังผลกระทบจากปญหามลพิษที่จะเกิดขึ้นกับสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยตรวจวัดสารมลพิษทางอากาศ คือ ฝุนละออง กาซโอโซน กาซคารบอนมอนนอกไซด กาซซัลเฟอรไดออกไซด กาซไนโตรเจนไดออกไซด และสารตะกั่ว รวมทั้งตรวจวัดสภาพอุตุนิยมวิทยา ไดแก กระแสลม อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ ความกดอากาศ ปริมาณนํ้ าฝนและการแผรังสี โดยตรวจวัดทั้งใน กทม. และตางจังหวัด

ทั้งนี้ จากการตรวจวัดในเขต กทม. พบวา ยังมีปริมาณฝุนขนาดเล็กและโอโซนเกินมาตรฐานเกือบทุกพื้นที่ คาเฉลี่ย 24 ช่ัวโมงโดยฝุนขนาดเล็กพบสูงสุดบริเวณ ร.ร.สิงหราชพิทยาคม เขตบางขุนเทียน วัดได 169.4 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร ซ่ึงสูงถึง 1.4 เทาของคามาตรฐาน 120 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร สวนปริมาณกาซโอโซนนั้น พบปริมาณสูงสุดที่บริเวณมหาวิทยาลัยรามคํ าแหงวัดได 203 สวนในพันลานสวน สูงเปน 2 เทาของมาตรฐาน โดยคามาตรฐาน 100 สวนในลานสวน สวนการตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบกึ่งถาวรบริเวณริมถนนใน กทม. พบวาบริเวณที่มีปญหาเรื่องปริมาณฝุนขนาดเล็กมากที่สุดคือ บริเวณถนนพหลโยธิน บริเวณกรมการขนสงทางบก คาเฉลี่ย24 ช่ัวโมง สูงสุดเทากับ 244 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร สูงเปน 2 เทาของคามาตรฐาน ขณะเดียวกันในบริเวณเดียวกันนี้ก็มีปริมาณกาซคารบอนมอนนอกไซดเฉลี่ย 8 ช่ัวโมงเทากับ 10.50 สวนในลานสวน สูงเปน 1.2 เทาของคามาตรฐาน สวนปริมาณกาซโอโซนเฉลี่ย 1 ช่ัวโมงพบปริมาณสูงสุด 136 สวนในลานสวน ที่ริมถนนลาดพราว บริเวณอาคารที่พักตํ ารวจจราจร สูงเปน 1.4 เทาของมาตรฐาน

สวนการตรวจวัดระดับเสียงรายชั่วโมงริมถนนในเขต กทม. พบวาถนนสายหลักที่มีการสัญจรตลอด 24 ช่ัวโมง จํ านวน 4 แหง คืออาคารที่พักตํ ารวจจราจร ถนนลาดพราว เคหะชุมชนดินแดง สถานีการไฟฟายอยธนบุรี ถนนอินทรพิทักษ และบริเวณแยกพาหุรัด ถนนตรีเพชร มีระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง เกินมาตรฐานระดับเสียงทั่วไป คือมากกวา 70 เดซิเบลเอ โดยเฉพาะบริเวณแยกพาหุรัดนั้น บางชวงพบวามีระดับเสียงสูงถึง 80.5 เดซิเบลเอ ซ่ึงอาจจะเปนปญหาและมีผลกระทบตอการไดยินของประชาชนที่อยูบริเวณดังกลาว หากไดฟงเปนเวลานาน

สวนที่บริเวณริมคลองแสนแสบที่เปดบริการเดินเรือโดยสารระหวางเวลา 05.30 - 19.00 น.นั้น พบวาวังสระปทุม และบริเวณซอยเอกมัย 30 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง อยูในชวง 58.9 - 626 เดซิเบลเอ และ 62.2 - 64.5 เดซิเบลเอ ตามลํ าดับ ถือวาเสียงอยูในระดับไมเปนอันตรายตอการไดยินของประชาชนแตอยางใด (ผูจัดการ 051144)

2.1.2 กทม. มีพ้ืนที่ที่จัดเก็บสารเคมีอันตรายถึง 1,764 แหงนายนิคม ไวยรัชพานิช ผูอํ านวยการสํ านักผังเมือง เปดเผยวา จากกรณีที่เกิดเหตุรถบรรทุกสารเคมีพลิกควํ่ า คลังแสงกรมสรรพา

วุธทหารระเบิด ทํ าใหประชาชนตางวิตกถึงพื้นที่ที่จัดเก็บสารเคมีหรือผลิตสารเคมีที่อาจจะทํ าใหเกิดอันตรายขึ้นมาได ทางก.มหาดไทยไดมีคํ าสั่งไปยังสํ านักผังเมืองทุกจังหวัดใหตรวจสอบ สํ ารวจ และหาวิธีปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ซ่ึงแหลงที่มีวัตถุอันตรายใน กทม. มี 1,764แหง คือ เขตจตุจักร 124 แหง เขตคลองเตย 113 แหง เขตบางกะป 73 แหง และเขตบางขุนเทียน 49 แหง สวนเขตอื่น ๆ มีไมเกิน 49 แหง ทั้งนี้ในเขตพื้นที่ กทม. ตามพ.ร.บ. ผังเมือง พ.ศ. 2542 (ฉบับปรับปรุง) หามไมใหมีสถานที่ผลิต เก็บจํ าหนายในพื้นที่เขต 39 เขต เนื่องจากเปนพื้นที่เขตชั้นในของ กทม.

ทั้งนี้ การขออนุญาตผลิต จํ าหนาย เก็บวัตถุอันตรายเหลานี้ตองขออนุญาตผานทาง ก.อุตสาหกรรม ก.เกษตรฯ ก.วิทยาศาสตรฯและ ก.สาธารณสุข สวน กทม. เปนเพียงเจาของพื้นที่ไมมีอํ านาจอนุญาตใหกระทํ าการใด ๆ ซ่ึงถาหากเกิดอัคคีภัยขึ้น ทาง กทม. จะตองรับผิดชอบดวย ดังนั้น กทม. จึงไดประสานงานและขอความรวมมือไปยังหนวยงานตาง ๆ ใหมีมาตรการควบคุมดูแลสถานที่ดังกลาว ไมไหเกิดอันตรายใด ๆ กับประชาชน และ กทม. ไดขอใหแจงขาวสารกับประชาชนทราบดวย หากมีเหตุที่อาจกอใหเกิดอันตรายกับประชาชน (สยามรัฐ 131144)

Page 40: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

183

2.1.3 คนกทม.และปริมณฑลถูกแวดลอมดวยสารเคมีอันตรายกวา 200 ชนิด จาก 500 โรงงานนายอุดม ไกรวัตนุสรณ เลขานุการครม. สํ านักนายกฯ เปดเผยวา นพ.กระแส ชนะวงศ รมต.สํ านักนายกฯ ซ่ึงกํ ากับดูแลกรม

วิเทศสหการ ไดลงนามหนังสือแลกเปลี่ยนขอตกลงความรวมมือทางวิชาการระหวางรัฐบาลไทยกับรัฐบาลเยอรมนี ซ่ึงไดใหความชวยเหลือทางวิชาการแกประเทศไทยในเรื่องโครงการระบบความปลอดภัยดานการขนสงและจัดเก็บสินคาอันตราย ซ่ึงจะมีผลใหเกิดการปรับปรุงกฎระเบียบดานการขนสงสินคาอันตรายใหแกหนายงานที่เกี่ยวของ

ปจจุบันพบวา ประเทศไทยมีการนํ าเขาสารเคมี 200 ชนิด ซ่ึงเปนวัตถุอันตรายมาใช และขนสงผานชุมชนหนาแนน เชน กทม.กวา6 ลานคน จ.สมุทรปราการ 8 แสนคน จ.สมุทรสาคร 2 แสนคน มีความเสี่ยงที่อาจจะไดรับอันตรายจากสารเคมีที่มีการขนสงในเขตชุมชน ในสวนโรงงานที่ใชสารเคมีมีถึง 500 แหง แบงเปนเขต กทม. 193 แหง จ.สมุทรปราการ 109 แหง จ.สมุทรสาคร 95 แหง จ.นครปฐม 42 แหง จ.ปทุมธานี 40 แหง และจ.นนทบุรี 27 แหง สํ าหรับถนนที่รถบรรทุกสารเคมีใชเปนเสนทางในการขนสง ไดแก ถ.อาจณรงค ถ.สุขสวัสด์ิ ถ.พระราม 2 ถ.สุขาภิบาล ถ.เลียบทางรถไฟสายเกา ถ.บางนา-ตราด และอ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ (ไทยโพสต 031244)

2.2 ความเคลื่อนไหวสิ่งแวดลอมเมือง2.2.1 ตั้ง ม.เกษตรฯ เปนที่ปรึกษารื้อผังเมืองพื้นที่สีเขียวใหมนายนิคม ไวยรัชพานิช ผูอํ านวยการสํ านักงานผังเมือง เปดเผยวา สํ านักผังเมืองมีโครงการจัดทํ า "แผนแมบทพื้นที่สีเขียวของ

กรุงเทพมหานคร" (GREEN MASTER PLAN OF BMA) เพื่อใชเปนกรอบในการชี้แนวทางปฏิบัติตามนโยบายดานสิ่งแวดลอมของเมืองเนื่องจากปจจุบัน กทม. ประสบปญหาดานสิ่งแวดลอมมาก อีกทั้งโครงการสิ่งแวดลอมหลายโครงการที่ยังปฏิบัติกันอยูในปจจุบัน เชน โครงการปลูกตนไม โครงการเพิ่มพื้นที่สวนหยอม - สวนสาธารณะ และโครงการลานกีฬา พบวายังไมมีการปฏิบัติที่ถูกตองและไมเปนระบบหลายประการ ทั้งดานพฤกษศาสตร เศรษฐศาสตร และผังเมือง

โครงการทํ าแผนแมบทดังกลาว มี ม.เกษตรฯ เปนที่ปรึกษา ซ่ึงจะดํ าเนินการเสร็จภายใน 1 ป มีวัตถุประสงคเพื่อจัดทํ าแผนแมบทการพัฒนาพื้นที่สีเขียวของ กทม. ทั้งในระยะยาว (25 ป) ระยะปานกลาง (5 ป) และแผนประจํ าป พรอมทั้งจัดทํ าขอมูลพื้นที่สีเขียวในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรที่สามารถปฏิบัติไดอยางรูปธรรม และเพื่อเปนแนวทางใหผูบริหาร กทม. ใชเปนนโยบายในการมอบหมายงาน รวมถึงประสานแนวทางการพัฒนาพื้นที่สีเขียวกับโครงการอื่น ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ (สยามรัฐ 131044)

2.3 ความเคลื่อนไหวดิน นํ้ า ปา2.3.1 ความเคลื่อนไหววาดวยดิน- ประเทศไทยใกลวิกฤติพื้นที่ดินมากกวา 60% เสื่อมโทรม

นายไชยสิทธิ์ เอนกสัมพันธ นายกสมาคมอนุรักษดินและนํ้ าแหงประเทศไทย เปดเผยวา ปญหาการเสื่อมโทรมของดินและที่ดินเปนปญหาที่คุกคามประชากรทั้งโลก รวมทั้งในประเทศไทยดวย ซ่ึงพบวามากกวา 60% ของที่ดินทั้งประเทศประมาณ 192 ลานไร อยูในสภาพเสื่อมโทรมและมีปญหา โดยมีปญหาดินตื้น ประมาณ 41 ลานไร และดินคอนขางเปนทราย มีถึงประมาณ 40 ลานไร ซ่ึงปญหาการเสื่อมโทรมมีผลโดยตรงตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก การฟนฟูและแกไขที่ดินเสื่อมโทรมใหดีขึ้นมาเปนเรื่องจํ าเปนอยางยิ่ง กอนที่ประชากรโลกอาจจะขาดที่ทํ ากินหรือขาดแคลนอาหาร ถึงแมในขณะนี้ประเทศไทยยังไมถึงจุดวิกฤติการเสื่อมโทรมของดินก็ตาม แตถาประมาทหรือไมดูแลรักษาแลวอีกไมนานก็อาจเกิดปญหาได (กรุงเทพธุรกิจ 301144,พิมพไทย 051244)

- กรมทรัพยากรธรณีออกประกาศหามทํ านาเกลือสินเธาว 5 จังหวัดภาคอีสานรายงานขาวจาก ก.อุตสาหกรรม แจงวา กรมทรัพยากรธรณีออกประกาศยกเลิกการใหใบอนุญาตการขอทํ าเกลือสินเธาวในพื้นที่

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบดวย จ.สกลนคร อุดรธานี นครราชสีมา เลย และหนองคาย สวนรายที่ทํ าอยูเดิมจะพิจารณาอีกครั้ง เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวเกิดปญหาแผนดินทรุดและโพรงจํ านวนมาก รวมทั้งเปนสาเหตุทํ าใหนํ้ าเค็มแพรกระจายสูแหลงนํ้ าจืด จนไมสามารถใชนํ้ าอุปโภคบริโภคได

สํ าหรับแนวทางแกไขปญหาประกอบดวย การควบคุมผูประกอบการทํ านาเกลือใหดํ าเนินงานอยางถูกตองตามเงื่อนไขของราชการในใบแนบทายใบอนุญาต การประชาสัมพันธใหผูผลิตเกลือและประชาชนเขาใจและแกปญหาสิ่งแวดลอม ใหขุดลอกลํ าหวย และสรางทํ านบคันดินกั้นนํ้ าเกลือไหลลงแหลงนํ้ าจืด รังวัดขอบเขตพื้นที่ทํ านาเกลืออยางชัดเจน พรอมทั้งปกหมุดประกาศ นอกจากนี้ จะมีเจาหนาที่เฝาระวังและตรวจสอบสภาพสิ่งแวดลอม

Page 41: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

184

อยางไรก็ตาม พื้นที่ กทม. และปริมณฑลเกิดการทรุดตัวปละ 1 - 2 ซม. หรือบางแหงเกิดการทรุดตัวเปนหลุมกวางและลึกกอใหเกิดความเสียหายกับทรัพยสินและชีวิต ซ่ึงสาเหตุหลักมาจากการสูบนํ้ าบาดาลมาใชมากเกินไป ทางกรมทรัพยากรธรณีจึงประกาศยกเลิกการอนุญาตขุดเจาะนํ้ าบาดาลในพื้นที่ที่มีนํ้ าประปาเขาถึง แตก็ยังมีบางพื้นที่ที่ฝาฝนอยู (พิมพไทย 031244)

- ยดึคนืทีด่ินอัลไพน ตามผลสอบกรมที่ดินสรุปเปนที่ดินธรณีสงฆตามมติกฤษฏีกานายบุญเชิด คิดเห็น ผูอํ านวยการกองงานเลขาธิการคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ เปดเผยเมื่อวันที่ 16 ธ.ค. 2544 วา ภาย

หลังนาย ประวิทย สีหโสภณ อธิบดีกรมที่ดิน ไดมีคํ าสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อพิจารณาดํ าเนินการเพิกถอนรายการจดทะเบียนเอกสารสิทธิที่ดินตามพินัยกรรมของนางเนื่อม ชํ านาญชาติศักดา โฉนดเลขที่ 20 และ 1446 อํ าเภอคลองหลวง เมื่อวันที่ 30 ส.ค 2544 โดยมีตัวเองเปนประธาน ผลการตรวจสอบและรับฟงคํ าช้ีแจงจากประชาชน และบริษัท อัลไพน เรียลเอสเตท ไดขอยุติแลว โดยยึดตามมติคณะกรรมการกฤษฎีกา

ประธานคณะกรรมการสอบสวนกลาววา คณะกรรมการไดสงหนังสือสรุปผลการสอบสวนขอเท็จจริง และเหตุที่มีการออกโฉนดที่ดินอยางเปนทางการสงไปใหทางกรมที่ดินแลวเมื่อชวงเย็นวันศุกรที่ 14 ธ.ค.ที่ผานมา โดยผลสรุปของคณะกรรมการมีความเห็นวา การออกรายการจดทะเบียน เอกสารสิทธิที่ดินดังกลาวกระทํ าโดยไมถูกตองเนื่องจากเปนที่ธรณีสงฆ

อนึ่ง ที่ดินบริษัท อัลไพน เรียลเอสเตท ตกเปนขาวอื้อฉาวเมื่อปลายป 2540 เนื่องจากมีหลักฐานวา นางเนื่อม ชํ านาญชาติศักดาไดทํ าพินัยกรรมยกใหกับวัดธรรมิการาม จังหวัดประจวบคีรีขันธ มาแตป 2512 โดยใหมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยเปนผูจัดการผลประโยชนให ซ่ึงที่ผานมา ไมมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน เนื่องจากอดีตเจาอาวาสตองการเงินมาตั้งเปนมูลนิธิมากกวา แตก็ติดขอกฎหมาย จนกระทั่งในป 2531 เมื่อนายเสนาะ เทียนทอง เปนรมช.มหาดไทย ไดมีการตั้งเรื่องโอนกรรมสิทธิ์ใหกับวัด แตนายเสนาะในฐานะรักษาการรมช.มหาดไทย มีคํ าสั่งไมอนุญาตใหวัดไดมาซ่ึงที่ดินดังกลาว และใหปฏิบัติตามพินัยกรรมขอที่ 4 ซ่ึงระบุใหมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยเปนผูดูแลผลประโยชน แตกลับมีการตีความใหวัดโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินนางเนื่อมเปนของมูลนิธิเพื่อจัดการผลประโยชนแทน โดยเจาพนักงานที่ดินจังหวัดปทุมธานีจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ให ซ่ึงหลังจากนั้นเพียงวันเดียว มูลนิธิก็โอนใหบริษัท อัลไพน เรียลเอสเตท ซ่ึงมีนายเสนาะเปนหุนสวนดวย และตอมานายเสนาะไดขายใหกับ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กอนเขาสังกัดพรรคไทยรักไทยไมนาน

กอนหนานี้ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย กระทรวงศึกษาธิการ ไดสงเรื่องใหคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความ โดยที่ประชุมใหญคณะกรรมการกฤษฎีกามีมติเปนเอกฉันทเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2544 วา ที่ดินสนามกอลฟอัลไพน จํ านวน 924 ไร ของบริษัท อัลไพน กอลฟแอนด สปอรตคลับ จํ ากัด และบริษัท อัลไพน เรียลเอสเตท จํ ากัด เปนที่ธรณีสงฆ ของวัดธรรมิการาม จังหวัดประจวบคีรีขันธ ตามมาตรา33 (1) แหง พ.ร.บ.คณะสงฆ พ.ศ. 2505 เนื่องจากวัดธรรมิการามวรวิหารไดกรรมสิทธิ์ ที่ดินมรดกตามพินัยกรรมของนางเนื่อม ชํ านาญชาติศักดา ทันทีที่นางเนื่อม ถึงแกกรรม และมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยในฐานะผูจัดการมรดกนางเนื่อม ตองโอนที่ดินมรดกตามพินัยกรรมใหแกวัด จะโอนใหแกบุคคลอื่นนอกเหนือจากวัดไมได การโอนใหบุคคลอื่นจึงเปนการกระทํ าที่ขัดตอเจตนารมณของเจาของมรดก ซ่ึงไมผูกพันทายาท และตองรับผิดตอทายาทตามมาตรา 1720 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

นายบุญเชิด ยืนยันวาคณะกรรมการไดทํ าทุกอยางถูกตองตามกระบวนการสอบสวนแลว จากการรวบรวมพยานเอกสารหลักฐานตางๆ ทั้งการสอบพยานบุคคล ขอเท็จจริงทั้งหมดที่ไดคณะกรรมการไมมีทางมีความเห็นเปนอยางอื่น นอกจากการทํ าตามมติคณะกรรมการกฤษฎีกาเพียงอยางเดียว เพราะเคยมีมติคณะรัฐมนตรีบอกไววาทุกหนวยงานราชการตองฟง ความเห็นกฤษฎีกา เมื่อเปนเชนนั้นทางออกของประชาชนก็คือไปอุทธรณ ฟองตอศาล ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติทางปกครอง พ.ศ. 2539 ตอไป ซ่ึงก็คงตองฟองกรมที่ดินเปนจํ าเลย

น.พ.บุญ วนาสิน ประธานกรรมการบริหารบริษัท อัลไพน เรียลเอสเตท จํ ากัด ใหสัมภาษณวา ทราบผลอยูแลววาคณะกรรมการสอบ สวนจะตองมีมติวาที่ดินดังกลาวเปนที่ธรณีสงฆ อีกทั้งรูมาวา ในวันที่ 20 ธ.ค.นี้ กรมที่ดินจะออกหนังสือสั่งเพิกถอนเอกสารสิทธิที่ดินของหมูบานอัลไพนทั้งหมด ดังนั้นทางบริษัท อัลไพนฯ และประชาชนที่ซ้ือบานและ ที่ดินจึงเตรียมการตอสูทางกฎหมายกับกรมที่ดินแลว โดยทุกคนมั่นใจวาคํ าสั่งของกรมที่ดินเปนคํ าสั่งที่ไมชอบดวยกฎหมาย ซ่ึงตามขั้นตอนนั้น หลังจากกรมที่ดินมีหนังสือเพิกถอนเอกสารสิทธิออกมาแลว ก็จะทํ าการยื่นอุทธรณไปยังก.มหาดไทยภายใน 15 วัน หากก.มหาดไทย ยังยืนยันก็จะยื่นฟองตอศาลแพงเรียกรองคาเสียหายตอไป

ทางดานนายสมบัติ อุทัยสาง รมช.มหาดไทย กลาวเมื่อวันที่ 21 ธ.ค. ถึงความคืบหนาในการแกปญหาที่ดินอัลไพน ภายหลังคณะกรรมการสอบสวนของกรมที่ดินไดสรุปเปนที่ธรณีสงฆวา ขณะนี้อยูในขั้นที่คณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงเสนอรายงานสรุปผลการ

Page 42: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

185

สอบสวนใหกับนายสมศักด์ิ เอี่ยมไธสง รองอธิบดีกรมที่ดิน ซ่ึงหากเห็นดวยกับผลสรุป คณะกรรมการสอบสวนฯ ก็จะไดมีคํ าสั่งเพิกถอน ซ่ึงประชาชนก็จะไดใชสิทธิในชวงนี้คือการอุทธรณ ซ่ึงจะตองใชเวลาพอสมควร (ผูจัดการ,ไทยโพสต 17,221244,พิมพไทย,มติชน191244)

2.3.2 ความเคลื่อนไหววาดวยนํ้ า- กรมชลประทานทุมงบฯ กวา 7 พันลานบาท แกปญหานํ้ าทวมหาดใหญอยางถาวรนายกิจจา ผลภาษี อธิบดีกรมชลประทานไดเตรียมแผนเผชิญเหตุนํ้ าทวมรับมือกับรองมรสุมไดเคลื่อนตัวลงสูภาคใต โดยเฉพาะ

ในพื้นที่ อ.หาดใหญ จ.สงขลา ที่ประสบภาวะนํ้ าทวมอยางรุนแรงในป 2543 ทั้งนี้ในระยะเรงดวน ปงบประมาณ 2544 กรมชลประทานไดดํ าเนินการขุดลอกคูคลองจํ านวน 4 สายที่ผานตัวเมืองหาดใหญคือ คลองอูตะเภาชวง 1 คลองอูตะเภาแยก 1 คลองอูตะเภาแยก 2 และคลองทาชาง - บางกลํ่ าแลวเสร็จ 100% โดยใชงบประมาณ 34 ลานบาท สามารถระบายนํ้ าลงสูทะเลไดเร็วยิ่งขึ้นจากเดิมวันละ 32 ลานลูกบาศกเมตรตอวินาทีเปน 52 ลานลูกบาศกเมตรตอวินาที นอกจากนี้ยังไดดํ าเนินโครงการจัดทํ าแบบจํ าลองปริมาณนํ้ า การไหลและสภาพนํ้ าทวม ตลอดจนการติดตั้งระบบเตือนภัย โดยไดวาจางม.เกษตรศาสตรดํ าเนินการศึกษาการบริหารจัดการนํ้ าในลุมนํ้ าคลองอูตะเภา พรอมไดติดตั้งเครื่องวัดปริมาณนํ้ าแบบอัตโนมัติจํ านวน 7 ชุด ในพื้นที่ลุมนํ้ าคลองอูตะเภาเสร็จเรียบรอยแลว ใชงบประมาณ 100 ลานบาท รวมทั้งไดประสานกับกรมอุตุนิยมวิทยานํ ารถเรดารตรวจอากาศเคลื่อนที่มาตรวจวัดอากาศตลอด 24 ช่ัวโมง

สํ าหรับในปงบประมาณ 2545 - 2546 กรมชลประทานจะเริ่มขุดคลองอูตะเภาทั้งสายใหเสร็จแลวทั้งหมด พรอมดํ าเนินการขุดลอกลํ าธารธรรมชาติดวยโดยใชงบประมาณ 57 ลานบาท รวมทั้งยังดํ าเนินการขุดลอกระบายนํ้ าสายใหมอีก 5 สาย ใชงบประมาณ 1,800ลานบาท กํ าหนดแลวเสร็จในป 2548 อยางไรก็ตามขณะนี้คลองระบายนํ้ า ร.1 ไดดํ าเนินการเสร็จภายในระยะเวลาที่กํ าหนดแนนอน สวนระยะปานกลางตั้งแตป 2545 - 2547 กรมชลประทานจะดํ าเนินการสํ ารวจและออกแบบอางเก็บนํ้ าบนลํ านํ้ าสาขาคลองอูตะเภาจํ านวน 6แหง ใชงบประมาณ 19 ลานบาท และในระยะยาวตั้งแตป 2548 เปนตนไปจะดํ าเนินการกอสรางอางเก็บนํ้ าบนลํ านํ้ าทั้ง 6 แหงดังกลาว คาดวาจะใชงบประมาณ 5,430 ลานบาท ทั้งนี้เพื่อที่จะกักเก็บนํ้ าไมใหลงสู อ. หาดใหญ ซ่ึงตั้งอยูในภูมิประเทศที่เปนแองกะทะ (ผูจัดการ071244)

2.3.3 ความเคลื่อนไหววาดวยปา- พืน้ที่ปาชายเลน จ.สตูล เปนพื้นที่เสี่ยงลอบตัดไมพื้นที่ปาชายเลน จ. สตูล หลังกรมปาไมประกาศยกเลิกเตาเผาถานโดยเด็ดขาดตั้งแตวันที่ 13 พ.ย. 2544 ปรากฏวามีขบวนการ

ลักลอบตัดไมสงขายประเทศเพื่อนบาน ยังคงมีการลักลอบตัดไมอยางตอเนื่อง ถึงแมทางจังหวัดจะมีมาตรการเอาจริงเอาจังก็ตามนายวิศิษฐ สุทธิสวาง หัวหนาชุดปฏิบัติการปาชายเลน ศูนยปฏิบัติการปาชายเลนที่ 1 จ. สตูล กลาววา พื้นที่ปาชายเลน จ. สตูล

มีถึง 253,612 ไร ปาบริเวณนี้ยังจัดวาสมบูรณที่สุดอีกแหงหนึ่งของประเทศ จากพื้นที่กวางใหญและมีลํ าคลองมากมาย ทํ าใหงายตอการลักลอบตัดไมโกงกางขนาด 11 ศอก นอกจากนี้มูลคาไมสงไปขายยังตางประเทศมีราคาสูงถึง 70 บาทตอ 1 ทอน ทํ าใหเปนแรงจูงใจในการลักลอบตัดไม ประกอบกับใกลชวงเทศกาลฮารีรายอหและเทศกาลปใหม พบวา มีการลักลอบตัดไมมากยิ่งขึ้น (ผูจัดการ 131244)

- มูลนธิสิบืฯ วอนรัฐเรงแกรางพ.ร.บ.ปาชุมชนเกรงปาอนุรักษ-ปาตนนํ้ าหมดแนนอน ชี้กระแสทุนนิยมตนเหตุรุกปาเมื่อวันที่ 17 ธ.ค. 2544 สโมสรนิสิตคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รวมกับมูลนิธิสืบนาคะเสถียร สํ านักงานโครงการ

จัดการผืนปาตะวันตก กรมปาไม จัดการอภิปรายเรื่อง เร่ือง"ผลกระทบตอมหาชน กรณี (ราง) พ.ร.บ.ปาชุมชน" ที่หองประชุมคณะวนศาสตรซ่ึงผูรวมอภิปรายไดแก นางรตยา จันทรเทียร กรรมการที่ปรึกษามูลนิธิสืบ นาคะเสถียร นายพรมมา สุวรรณศรี ประธานเครือขายปาชุมชนผืนปาตะวันตก และดร.อรรฆ พัฒนวิบูลย ผูจัดการภาคสนาม โครงการจัดการผืนปาตะวันตกเชิงระบบนิเวศ

นางรตยา กลาวถึงความเปนมาของพ.ร.บ.ปาชุมชนวา พ.ร.บ.ปาชุมชนเกิดจากกรณีที่กรมปาไมใหสัมปทานปลูกปาเชิงดอยสุเทพ เมื่อป พ.ศ.2532 แตชุมชนที่เขาดูแลปาตรงนั้นมานานแลวไมพอใจที่อยู ๆ มีบริษัทมาไถปาที่เขาดูแล จึงเกิดการตอสูกัน และทายที่สุดผูนํ าชาวบานคนหนึ่งก็ถูกฆาตาย ต้ังแตนั้นมาจึงเกิดแนวคิดวาตองมีพ.ร.บ.รองรับการทํ างานของชาวบานที่รักษาปา ซ่ึงหัวใจของการทํ าปาชุมชนนั้นอยูที่ประชาชนตองเห็นคุณคาของปา มีการตั้งกติกาการใชปา เชน ตองชวยกันดับไฟปา ลาดตระเวนปองกันไมใหมีการลักลอบตัดไม หลังจากนั้นรางพ.ร.บ.ฉบับประชาชนเสร็จก็สงไปใหสภาผูแทนราษฎรพิจารณาและมีการแกไขแลวผานไปยังวุฒิสภาพิจารณา ซ่ึงคณะกรรมาธิการวุฒิสภาจะใชเวลาพิจารณาใหเสร็จภายใน 13 ก.พ. 2545 แลวสงกลับสภาผูแทนอีกครั้ง

ดานนายพรมมา กลาวถึงประสบการณการทํ าปาชุมชนนอกเขตอุทยานแมวงกวา เมื่อปพ.ศ. 2537 ปารอบ ๆ อุทยานแหงชาติแมวงกเปนปาผืนเล็ก กระจายเปนหยอมๆ แตตนไมที่มีอยูก็พอชวยดึงนํ้ าอยู แตเมื่อชาวบานตองการพื้นที่ทํ ากินมากขึ้น ก็บุกที่ดินใกลลํ าหวยเพื่อปลูกขาวโพดมากขึ้นเพื่อจะนํ าเงินไปซ้ือทีวี ซ้ือรถเครื่องตามกระแสทุนนิยมที่เขามาในหมูบาน แตยิ่งทํ าไปที่ดินก็ยิ่งขาดความอุดมสมบูรณตองเปดพื้นที่มากขึ้น ฝนตกลงมาก็ชะหนาดินมาปดคลอง นํ้ าก็ขาดแคลน ตอนนั้นก็มีองคกรพัฒนาเอกชนมาพูดถึงเรื่องการปลูกปา

Page 43: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

186

ทดแทนในพื้นที่ที่ไมเหมาะสมกับการเพาะปลูก ต้ังแตนั้นเราก็มีปาชุมชนของตัวเอง โดยใชกองทุนสิ่งแวดลอมที่หักมาจากกลุมออมทรัพย 30กลุม มาเลี้ยงอาสาสมัครปาชุมชน174 คน ที่คอยชวยดูแลปา 13 ผืน เนื้อที่ 27,000 ไร สวนการใชประโยชนก็มีการตั้งกติกากันขึ้นมาวาจะเก็บเห็ดเก็บหนอไดในชวงไหน ชวงไหนตองปดเพื่อใหปาฟน นี่เปนแนวทางที่ยั่งยืนในอนาคต และถาปลอยใหพ.ร.บ.นี้ออกมาโดยไมแกไขเราก็จะสูญเสียปาอนุรักษไป

ทางดานดร.อรรฆ กลาววา วิกฤติการณดานทรัพยากรชีวภาพนั้นเกิดจาก 1. การขยายตัวของชุมชนและพื้นที่ครอบครอง เชนการเปลี่ยนสภาพผืนปาเปนหยอมปา การทํ าใหปาเสื่อมโทรม 2. การใชทรัพยากรในอัตราที่นาเปนหวง เชน การใชไมจากปาธรรมชาติ การลาสัตว การเก็บของปา 3. การนํ าสัตว/พืชตางถิ่นปลอยสูธรรมชาติ เชนการเลี้ยงปศุสัตว การปลอยสัตวเลี้ยงสิ่งเหลานี้เปนการนํ าโรคติดตอไปสูสัตวปา ซ่ึงจะทํ าใหเราสูญเสียทรัพยากรสัตวปาและจะกระทบตอทรัพยากรพืชดวย 4. การอนุรักษและจัดการที่ยังไมเปนวิทยาศาสตรปจจุบันเราเนนการใชกฎหมายโดยที่ขาดขอมูลที่เสริมการอนุรักษ การจัดการ และการตรวจสอบ อยางในกรณีการเปดปาชุมชนเราไมเคยมีขอมูลวาหลังจากทํ าปาชุมชนแลวมีผลกระทบตอสัตวปาและพันธุพืชอยางไรบาง และสุดทายคือ อุปสรรคในการประสานงานระหวางเจาหนาที่ผูจัดการและนักวิจัย

ทั้งนี้การใชทรัพยากรธรรมชาติแบงกันเปน 2 ขั้ว คือ 1. สนใจแตมนุษย 2.สนใจทรัพยากรธรรมชาติ มนุษยจะแตะตองไมได แตในความเปนจริงแลว การจัดการใชทรัพยากรธรรมชาติกับการอนุรักษสามารถไปดวยกันได เชนกรณีชาวกระเหรี่ยงในทุงใหญนเรศวร กรมปาไมไมจํ าเปนตองอพยพพวกเขาออกจากปา แตตองมีการตรวจสอบวาการดํ ารงอยูของชาวกระเหรี่ยงกระทบตอทรัพยากรพืชและสัตวปาหรือไม ตรงนี้ถามีการใชวิทยาศาสตร ขอมูลมาชวยกันคิด ก็จะมีจุดที่เราสามารถปรับเขาหากันได

ทางดานรศ.อุทิศ กุลอินทร คณบดีคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรฯ เสนอวา การที่รัฐบาลรางพ.ร.บ.ฉบับนี้ตองคิดใหลึกซ้ึงวาจะบริหารกันอยางไร แลวรัฐบาลจะทํ าอยางไรหากพ.ร.บ.ซอนพ.ร.บ. เชน ถาเปนปาชุมชนแลวใหขึ้นอยูกับพ.ร.บ.ปาชุมชนไมขึ้นอยูกับพ.ร.บ.ฉบับอื่น คนที่มีปาชุมชนเขาไปเก็บของในปาได แตคนขางนอกเขาไปเก็บของแลวถูกจับตามพ.ร.บ.อุทยาน หากเปนเชนนี้เทากับรัฐบาลกํ าลังสรางความไมเทาเทียมกัน การที่รัฐบาลจะออกพ.ร.บ.เพื่อแกปญหาคน 4 ลาน แตคน 58 ลานคนแตะปาตรงนั้นไมได นี่จะกลายเปนจุดออนของประเทศไทย ปาชุมชนควรเปนเพียงฟงกช่ันหนึ่งในการจัดการปา โดยออกเปนมติครม.แทน (ผูจัดการ 171244)

2.4 ความเคลื่อนไหวดานความหลากหลายทางชีวภาพ2.4.1 ธุรกิจการซื้อ - ขายปลาสวยงามเปนสาเหตุที่ทํ าใหปะการังนํ้ าตื้นตายเปนจํ านวนมากนายสุรพล สุดารา นักวิชาการดานวิทยาศาสตรทางทะเล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาววา ธุรกิจการซ้ือ - ขายปลาสวยงามเปน

อีกสาเหตุหนึ่งที่ทํ าใหปะการังนํ้ าต้ืนตายไปเปนจํ านวนมาก เพราะมีชาวบานที่ยังรูเทาไมถึงการณบางคนใชสารเคมีจํ าพวกสารไซยาไนตโรยลงไปตามซอกปะการัง เพื่อทํ าใหปลาสลบและใหจับไดงาย ๆ แตสารไซยาไนตจะตกคางอยูตามซอกปะการังทํ าใหปะการังตายไปเปนจํ านวนมาก และปลาสวยงามสวนหนึ่งเปนปลาหายากอีกดวย ซ่ึงขณะนี้ยังไมมีหนวยงานใดเขาไปดูแลกวดขันในเรื่องเหลานี้แตอยางใดปจจุบันปะการังนํ้ าต้ืนหลายแหง เชน ที่บริเวณ จ.ตราด จ.ภูเก็ต ฯลฯ เสียหายไปเปนจํ านวนมากแลว

ในปจจุบันนี้ตางประเทศ โดยเฉพาะฟลิปปนส ไดรณรงคเร่ืองการอนุรักษปะการังและปลาสวยงามไดผลเปนอยางมาก โดยชาวประมงจะใชอวนขนาดเล็กครอบในแนวปะการังที่เปนที่อาศัยของปลาสวยงาม เมื่อปลาออกมาจากแนวปะการังก็คอย ๆ ปลดออกไป ในประเทศไทยควรเริ่มรณรงคเร่ืองนี้กันไดแลว ถาไมคิดตอนนี้อนาคตปลาสวยงามและปะการังนํ้ าต้ืนในประเทศไทยคงไมเหลืออยางแนนอน(มติชน 131144)

2.4.2 กรมปศุสัตวเกรงสัตวนํ าเขาทํ าลายพันธุพ้ืนเมือง เรงออกกฎหมายคุมครองพันธุสัตวพ้ืนเมืองของไทย

ดร.สวัสด์ิ ธรรมบุตร ผูอํ านวยการกองบํ ารุงพันธุสัตว กรมปศุสัตว เปดเผยวา การแขงขันดานการคาในตลาดโลกมีสวนสํ าคัญยิ่งที่ทํ าใหภาครัฐตองตื่นตัวในการปรับปรุงแกไขกฎเกณฑการคาใหสอดคลองกับกฎหมายสากลฉบับใหม ซ่ึงเปนกฎหมายเกี่ยวกับ ' การยายพันธุตางถิ่น' ที่ทุกประเทศทั่วโลกตองเตรียมการรางกฎหมายในลักษณะดังกลาวไว เพื่อเปนเครื่องมือปองกันการดูแลพันธุสัตวและพันธุพืชพื้นเมืองที่เปนของตนเองอยางเครงครัด เนื่องจากหากเกิดกรณีมีการนํ าพันธุสัตวพื้นเมืองออกนอกประเทศแลวเกิดมีการผสมขามพันธุเกิดขึ้น และมีความเสียหายจากการผสมพันธุดังกลาว กฎหมายการยายพันธุตางถิ่นระบุชัดเจนวา ประเทศตนกํ าเนิดสายพันธุสัตวพื้นเมืองดังกลาวจะตองรับผิดชอบความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยตรง

ทางกรมปศุสัตวจึงเรงผลักดันการรางกฎหมายฉบับใหมที่เปนกฎหมายลักษณะพิเศษ ระบุถึงการอนุรักษและสงเสริมพันธุสัตวพื้นเมือง โดยคาดวาภายในระยะ 1 - 2 ปนี้ กฎหมายดังกลาวจะยกรางเสร็จสมบูรณ ซ่ึงการออกกฎหมายคุมครองพันธุสัตวพื้นเมืองของไทย

Page 44: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

187

ถือเปนสิ่งที่ตองเรงดํ าเนินการมากที่สุดในเวลานี้ เนื่องจากมีกระแสจากกลุมบุคคลตางชาติบางกลุมพยายามบิดเบือนขอมูลสัตวพื้นเมืองประเภทไกชน ที่ถือเปนไกพันธุดี ไปในเชิงทํ าลายวัฒนธรรมดั้งเดิมของภูมิปญญาไทย ขณะเดียวกันก็ยังมีความพยายามไมใหภาครัฐสงเสริมการเลี้ยงไกชน เพื่อเปดชองวางใหไกตางชาติที่เปนประเภท ไกเนื้อ เขามาครองตลาดแทน เพราะถาไทยไมเลี้ยงไกชน ตางชาติก็จะไดประโยชนสงไกขาวเขามาตีตลาดในไทย

อนึ่ง ประเทศไทยปจจุบันมีไกพื้นเมืองประมาณ 78 ลานตัว โดยในจํ านวนดังกลาวมีไกแมพันธุคละอยูประมาณ 22% ซ่ึงแมพันธุแตละตัวสามารถออกลูกไดประมาณ 38 - 40 ตัวตอป ดังนั้น ในแตละปจะมีลูกไกพื้นเมืองใหเกษตรกรทั่วประเทศเลี้ยงไดประมาณ 800 -900 ตัว โดยไกพื้นเมืองสวนหนึ่งก็นํ าไปเพื่อการบริโภคและเลี้ยงเปนไกสวยงามหรือเลี้ยงเพื่อพัฒนาเปนไกชนในเชิงกีฬา

ทางดาน ศ.ดร.จรัญ จันทลักขณา อดีตนายกสมาคมสัตวบาลแหงประเทศไทย กลาววา ประเทศไทยไมควรตกเปนเหยื่อของโจรสลัดทางชีวภาพ ซ่ึงทางสมาคมสัตวบาลฯ เองก็ไดตระหนักถึงเรื่อง โจรสลัดชีวภาพ เปนอยางดี และเชื่อวาในอนาคตอันใกล นอกจากการขโมยพันธุพืชแลวการขโมยพันธุสัตวทองถิ่นในแตละประเทศจะเกิดติดตามมาอยางเชนกรณีเดียวกับขาวหอมมะลิ เนื่องจากในปจจุบัน มีศูนยวิจัยสวนกลางของโลก ที่ไดเก็บพันธุพืช สัตว นานาประเทศเพื่อวิจัย และโจรสลัดชีวภาพก็มักอาศัยชองทางนี้เขาไปขโมยพันธุพืช สัตวไปวิจัย และปรับปรุงพันธุกรรม ประเทศไทยจะประมาทไมไดอีกแลว เพราะการเคลื่อนไหวของนักวิจัยตางชาติรุนแรงและแสวงหาผลประโยชนกันอยางไรจรรยา ดังนั้น รัฐบาลไทย จึงตองเรงจัดทํ าพิมพเขียวสัตวพื้นเมืองไทยใหเปนหลักฐานเพื่อปองกันกลุมโจรสลัดชีวภาพ(ผูจัดการ 301144)

2.4.3 สหรัฐยืนยันไมจดสิทธิบัตรขาวหอมมะลิไทย เกรงสหรัฐคิดพันธุขาวหอมชนิดใหมเปนคูแขงกับไทยในอนาคต

นายราเชนทร พจนสุนทร โฆษก ก.พาณิชย เปดเผยภายหลังประชุมคณะผูบริหารกระทรวงพาณิชยวา นายอดิศัย โพธารามิกรมต.พาณิชยไดแจงตอที่ประชุมวา ไดรับหนังสือตอบกลับจากรัฐมนตรีพาณิชยของสหรัฐ เมื่อวันที่ 11 ธ.ค. 2544 หลังจากที่รัฐบาลไทยไดสงหนังสือความไมสบายใจเกี่ยวกับปญหาที่ทางนักวิจัยสหรัฐไดนํ าพันธุขาวหอมมะลิไทยไปคิดคนพันธุขาวขึ้นมาใหมและเตรียมที่จะยื่นขอจดสิทธิบัตรเพื่อเตรียมทํ าการคาแขงกับประเทศไทยในอนาคตได ซ่ึงเนื้อหาของหนังสือที่ทางรมต.พาณิชยสหรัฐไดตอบกลับมายังไทยมีใจความวา รัฐบาลสหรัฐไมมีเจตนาที่จะกระทํ าไมถูกกฎหมาย และพรอมที่จะรวมมือกับประเทศไทยที่จะทํ าใหถูกตอง และขอยืนยันจะทํ าใหถูกในดานบวก ที่จะไมใหมีการยื่นจดสิทธิบัตรตามที่เปนขาวอยางแนนอน โดยเห็นวาเรื่องเหลานี้เปนเรื่องสํ าคัญของคนไทยทั้งประเทศ ซ่ึงรัฐบาลสหรัฐพรอมใหความรวมมือกับไทยเต็มที่ จึงอยากใหคนไทยทั้งประเทศสบายใจในเรื่องนี้ได

ทางดานนายพีระศักด์ิ ศรีนิเวศน นายกสมาคมปรับปรุงพันธุและขยายพันธุพืชฯ เปดเผยวา ทางสมาคมไมเปนหวงกรณีที่ทางนักวิจัยสหรัฐนํ าพันธุขาวหอมมะลิ 105 ไปทํ าการคิดคนพันธุขึ้นมาใหมและเตรียมที่จดสิทธิบัตร เพื่อเปนคูแขงทางการคากับไทยในอนาคตนั้นเพราะสหรัฐจะไปจดสิทธิบัตรเปนพันธุขาวของตนเองไมได เพราะตามกฎหมายพันธุพืชไทยจะใหการคุมครองพันธุพื้นเมือง พันธุประจํ าถิ่นและพันธุที่ขึ้นทั่วไปในประเทศไทย แตกฎหมายสหรัฐจะเนนใหพันธุพืชใหม ดังนั้น คนไทยไมตองกังวลเพราะพันธุขาวขาวหอมมะลิ 105เปนพันธุเกาแกของไทย โอกาสที่สหรัฐจะจดสิทธิบัตรซ้ํ าซอนของไทยทํ าไมไดอยูแลว สิ่งที่นากลัวหากนักวิจัยสหรัฐนํ าเช้ือพันธุขาวหอมไทยบางสวนไปผสมพันธุและไดพันธุใหมออกมา โดยลักษณะอื่นๆ ไมเหมือนกัน ยกเวนคุณภาพเมล็ด ตรงนี้การปกปองไมใหสหรัฐจดสิทธิบัตรคงทํ าไดลํ าบาก ซ่ึงอาจจะเปนพันธุขาวหอมเมล็ดสั้นแตหอมเหมือนกับขาวหอมมะลิไทย ถอืเปนพันธุพิเศษใหมออกมา แตก็ยังเช่ือวาในระยะอันสั้นการคิดคนพันธุขาวของสหรัฐที่จะใหเหมือนกับพันธุขาวของไทยทุกอยางคงทํ าไดยาก แตในอนาคตเปนเรื่องที่นากลัว เพราะดวยเทคโนโลยีความกาวหนาที่ทันสมัย เช่ือวาทางสหรัฐคงไมหยุดการวิจัยเทานี้ ซ่ึงอาจจะตองมีการคิดคนพันธุขาวหอมออกมาอยางแนนอน

ดานนายบิล เดยตัน เลขานุการเอกฝายกิจการเศรษฐกิจของสถานทูตสหรัฐประจํ าประเทศไทย ไดต้ังขอสังเกตวา หากเปนปญหาเร่ืองการแขงขันแลว ในฐานะที่เปนคนอเมริกันคนหนึ่งไมสามารถใหคํ าแนะนํ าตรง ๆ แตพอจะใหขอสังเกตไดวา ปญหาในลักษณะนี้สามารถเกิดขึ้นไดทั่วโลกไมเฉพาะกับไทยหรือสหรัฐ เพราะเมื่อมีการวิจัยอะไรสักอยางขึ้นมาเพื่อประโยชนในแงของการแขงขันคงไมมีนักวิจัยคนใดหยุดวิจัยเพื่อใคร ดังนั้น การจัดการแกปญหาขาวตองทํ าในลักษณะที่บริษัททํ าคือ ใชกลยุทธทางธุรกิจที่มีมากมายมาใช รวมทั้งกลยุทธดานการตลาด ซ่ึงเครื่องหมายการคาสามารถเปนอาวุธที่ใชไดผลมาโดยตลอด (กรุงเทพธุรกิจ,มติชน 071244,ผูจัดการ12,161244)

2.5 ความเคลื่อนไหวสิ่งแวดลอมตางประเทศ2.5.1 นิวซีแลนดฆาเช้ือพื้นที่ปลูกพืชจีเอ็มโอประเทศนิวซีแลนดจะขจัดสิ่งปนเปอนในพื้นที่ที่เคยใชเพาะปลูกไมผลตัดตอยีนเปนครั้งแรก โดยฮอรทรีเสิรช สถาบันวิจัยของรัฐ

บาลนิวซีแลนด ตกลงจะฆาเช้ือในพื้นดินบริเวณตอนเหนือของโอคแลนด ที่เคยใชเพาะปลูกมะเขือเทศตัดตอยีนระหวางเดือนม.ค. - ก.พ.

Page 45: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

188

2541 ซ่ึงขอตกลงนี้ถือเปนชัยชนะสํ าคัญของกลุมตอตานพันธุวิศวกรรมที่ผลักดันมานาน 2 ปใหมีการฆาเช้ือในแปลงทดลอง หลังจากฮอรทรีเสรชขุดตนมะเขือเทศออกไปทํ าลายเมื่อสิ้นสุดโครงการ ดร.จอหน ชอว หัวหนาฝายวิทยาศาสตรของฮอรทรีเสรช กลาววา ทางสถาบันยอมฆาเช้ือเพราะเปนหวงชุมชน แมไมมีหลักฐานทางวิทยาศาสตรที่แสดงถึงการคุกคามสิ่งแวดลอม (กรุงเทพธุรกิจ 171044)

2.6 ความเคลื่อนไหวสิ่งแวดลอมโลก2.6.1 เตือนภัยวิกฤติ ' สิ่งแวดลอมโลก ' ทรัพยากรถูกเผาผลาญอยางบาคลั่งกองทุนประชากรแหงสหประชาชาติ (ยูเอ็นเอฟพีเอ) รวมกับสถาบันสิ่งแวดลอมไทย จัดประชุมรายงานสภาวะประชากรโลกป

2544 : ประชากรและการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม โดยมีการนํ าเสนอรายงานสภาวะประชากรโลกป 2544 สรุปวา การเพิ่มขึ้นของประชากรและการบริโภคทรัพยากรอยางมหาศาลของมนุษยทํ าใหโลกเปลี่ยนแปลงอยางไมเคยเปนมากอน สัญญาณภัยของสิ่งแวดลอมทวีความรุนแรงขึ้นทุกแหง ระบบนิเวศถูกทํ าลาย พืชและสัตวบางชนิดเสี่ยงตอภาวะสูญพันธ ความหลากหลายทางชีวภาพเสียสมดุล ดินเสื่อมคุณภาพเกิดมลพิษในอากาศและนํ้ า

ปญหาสิ่งแวดลอมเหลานี้สืบเนื่องมาจากการบริโภคทรัพยากรอยางไมยั้งคิดในเวลาอันรวดเร็ว ตลอดจนปญหาความยากจน มลพิษ และสิ่งปฏิกูลที่เนนเปนปญหาเกี่ยวเนื่องกับประชากรขณะเดียวกันคาดวาในป 2593 จํ านวนประชากรของโลกจะเพิ่มขึ้นเปน 9,300ลานคนจากจํ านวนประชากรที่เพิ่มขึ้นมาตลอดนับต้ังแตป 2503 ในปจจุบันประชากรโลกมีจํ านวนทั้งสิ้น 6,200 ลานคน ทั้งนี้จํ านวนประชากรที่เพิ่มขึ้นยิ่งทํ าใหการบริโภคทรัพยากรมีมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศที่ร่ํ ารวยจะใชทรัพยากรมากกวาประเทศที่ยากจน โดยเฉลี่ยรอยละ 86ขณะที่ประเทศที่ยากจนบริโภคทรัพยากรเพียงรอยละ 1.3 เพราะปญหาความยากจน และการมีที่ทํ ากินไมเพียงพอเปนสาเหตุใหคนยากจนทํ าลายทรัพยากรธรรมชาติเพื่อความอยูรอด

ทางดาน ศ.ดร.ธงชัย พรรณสวัสด์ิ ประธานสถาบันสิ่งแวดลอมไทย กลาววา ในสวนของประเทศไทยพยายามดํ าเนินการควบคุมจํ านวนประชากรมาโดยตลอดทั้งของหนวยงานภาครัฐและเอกชน เชน โครงการของนายมีชัย วีระไวทยะ ซ่ึงถือวาประสบความสํ าเร็จในการลดอัตราการเพิ่มจํ านวนประชากร และหลายประเทศก็ช่ืนชมความสามารถของประเทศไทย เพราะการลดจํ านวนประชากรทํ าใหลดการบริโภค ลดการใชทรัพยากร และลดการสรางมลพิษทางสิ่งแวดลอมได (ผูจัดการ, กรุงเทพธุรกิจ 081144,Bangkok Post 081101)

2.6.2 ยูเอ็นเตือน ' โลกรอน' ทํ าผลผลิตอาหารลด 30% ชวง 100 ปขางหนารายงานของโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ หรือยูเอ็นอีพี ซ่ึงนํ าออกเผยแพรในการประชุมวาดวยการปญหาการเปลี่ยน

แปลงของสภาพบรรยากาศโลก ที่เมืองมารราเกช ประเทศโมร็อกโก เมื่อวันที่ 8 พ.ย. 2544 ระบุวา ภาวะโลกรอน อาจจะทํ าใหปริมาณผลผลิตธัญพืช เปนอาหารสํ าคัญของโลกลดลงถึง 30% ในชวง 100 ปขางหนา

รายงานฉบับดังกลาว อางผลการศึกษาของนักวิทยาศาสตรวา อุณหภูมิโลกที่เพิ่มสูงขึ้นเกี่ยวของกับการปลอยกาซที่กอใหเกิดภาวะเรือนกระจกอาจจะสงผลกระทบตอปริมาณผลผลิตของธัญพืชสํ าคัญ อาทิ ขาวเจา ขาวสาลี และขาวโพด อาจลดลงถึง 10% ตออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส ในพื้นที่เขตรอน และอางตัวเลขของคณะกรรมการระหวางประเทศ วาดวยการเปลี่ยนแปลงของสภาพบรรยากาศ (ไอพีซีซี) ซ่ึงเปนคณะที่ปรึกษาทางดานวิทยาศาสตรของยูเอ็นที่ประเมินวา อุณหภูมิโลกในพื้นที่เขตรอนอาจเพิ่มขึ้นถึง 3 องศาเซลเซียส ภายในป พ.ศ. 2643

นอกจากนี้ ผลการศึกษาของไอพีซีซี ระบุวา พืชผลทางการเกษตรอื่น ๆ เชน กาแฟและชา อาจไดรับผลกระทบจากอุณหภูมิโลกที่เพิ่มสูงขึ้นเชนกัน สวนผลที่ตามมาก็คือ บรรดาเกษตรกรผูปลูกพืชผลเหลานี้จะถูกกดดันใหเคลื่อนยายแหลงทํ าการเกษตรไปยังที่สูง เพราะมีอุณหภูมิต่ํ า ซ่ึงสงผลกระทบตอผืนปาและสัตวปา รวมถึงปริมาณแหลงนํ้ าสํ ารองของโลกดวย (กรุงเทพธุรกิจ 091144)

3. ความเคลื่อนไหวดานพลังงาน3.1 ความเคลื่อนไหวดานพลังงานภายในประเทศ3.1.1 กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน จัดทํ าแผนพัฒนาและสงเสริมพลังงานทดแทน 8 เทคโนโลยี

ใชงบฯ 6.4 พันลานบาทนางสิริพร ไศละสูต อธิบดีกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน (พพ.) ก.วิทยาศาสตรฯ กลาววา พพ. ไดเสนอแผนพัฒนาพลังงานทด

แทนสํ าหรับเปนกรอบนโยบายและทิศทางการดํ าเนินงานพัฒนาพลังงานทดแทนในระยะ 5 ป เพื่อนํ าไปผนวกเขาเปนสวนหนึ่งของแผนแมบทการวิจัยพัฒนาและสงเสริมพลังงานทดแทน ของ ก.วิทยาศาสตรฯ ซ่ึงแผนดังกลาวตั้งงบประมาณไว 6,400 ลานบาท และจะเรงดํ าเนินการใหเปนผลอยางเร็วภายในป 2545

Page 46: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

189

ทัง้นี้ โดยเลือกพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน 8 เทคโนโลยี ที่มีความพรอมทั้งดานศักยภาพของแหลงพลังงาน ความรู ความชํ านาญ และประสบการณของบุคลากรมาใชเปนลํ าดับแรกคือ 1) เทคโนโลยีเซลลแสงอาทิตยสํ าหรับผลิตกระแสไฟฟา 2) เทคโนโลยีการผลิตความรอนจากพลังงานแสงอาทิตย 3) เทคโนโลยีการผลิตความรอนจากพลังงานลมผลิตกระแสไฟฟาและสูบนํ้ า 4) เทคโนโลยีการผลิตกาซชีวภาพจากนํ้ าเสียของโรงงานอุตสาหกรรมและมูลชาง 5) เทคโนโลยีการผลิตไฟฟาและเชื้อเพลิงเหลวจากชีวมวล 6) เทคโนโลยีเตาเผาชีวมวลและเตาหุงตมประสิทธิภาพสูง 7) เทคโนโลยีการผลิตไฟฟาจากพลังนํ้ าขนาดเล็กระดับหมูบาน และ 8) เทคโนโลยีถานหินสะอาด ซ่ึงงบประมาณจะมุงเนนไปที่เทคโนโลยีเซลลแสงอาทิตยสํ าหรับผลิตกระแสไฟฟา 1,700 ลานบาท เทคโนโลยีการผลิตไฟฟาและเชื้อเพลิงเหลวจากชีวมวลตั้งงบประมาณไว 1,700 ลานบาท และเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาจากพลังงานนํ้ าขนาดเล็กและระดับหมูบานตั้งงบประมาณไว1,400 ลานบาท

อยางไรก็ตาม แตละเทคโนโลยีมีแผนงานและโครงการรองรับชัดเจนสามารถนํ ามาใชไดทันที โดยจะเริ่มตนดํ าเนินโครงการในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการใชพลังงานแสงอาทิตย เชน ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพื้นที่ที่มีศักยภาพในการใชพลังงานลม เชน พื้นที่ภาคใต รวมทั้งพื้นที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรม โดยจะเนนการมีสวนรวมของราษฎรและภาคเอกชน และการนํ าเทคโนโลยีสมัยใหมมาพัฒนาใหเขากับภูมิปญญาทองถิ่นไปพรอมกับการพัฒนาบุคลากร โดยตั้งเปาวา 5 ป หลังจากนี้ ประเทศไทยจะสามารถผลิตพลังงานทดแทนมาใชทดแทนนํ้ ามันเตาไดไมนอยกวา 400 ลานลิตร/ป และจะชวยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากการใชพลังงานไดไมนอยกวา 2,836 ลานบาท/ป (มติชน 011044)

3.1.2 สพช. ลดคาไฟรอบใหม 4.36 ส.ต. /หนวยนายปยสวัสด์ิ อัมระนันทน เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกํ ากับ

สูตรการปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (คาเอฟที) เปดเผยภายหลังการประชุมคณะอนุกรรมการ เมื่อวันที่ 12 ต.ค.2544 วา ที่ประชุมมีมติเห็นชอบการปรับคาเอฟทีรอบเดือนต.ค. 2544 - ม.ค. 2545 ลดลง 4.36 ส.ต./หนวย หรือลดลงจากคาเอฟทีรอบของเดือนมิ.ย. - ก.ย. 2544ที่ราคา 27.13 ส.ต./หนวย เหลือ 22.77 ส.ต./หนวย สงผลใหคาไฟฟาเฉลี่ยที่เรียกเก็บจากบิลประชาชนเหลือ 2.43 บาท/หนวย หรือลดลงประมาณ 2% คิดเปนเงินที่ชวยใหประชาชนประหยัดไดกวา 4,000 ลานบาท

สวนภาคอุตสาหกรรมไดปรับลดมากที่สุด เพราะมีการใชไฟฟามากถึง 50% ของการใชไฟฟาทั้งหมด หรือลดลงได 4,000 ลานบาท สวนบานอยูอาศัยประมาณ 20% หรือประมาณ 800 ลานบาท และหากสามารถประหยัดไฟไดอีก 10% ตามโครงการประหยัดไฟฟาจะไดรับการลดอีก 800 ลานบาท และธุรกิจตาง ๆ ประมาณ 30% ลดลง 1,230 ลานบาท

สาเหตุที่มีการปรับลดคาเฟที เนื่องจาก สพช. ไดพิจารณาปรับลดงบฯลงทุนของการไฟฟาทั้ง 3 แหง ในป 2545 - 2546 ลงไดประมาณ 55,000 ลานบาท เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว สงผลใหความตองการรายไดในการสมทบทุนลดลง 14,000 ลานบาท ซ่ึงจะนํ ามาเฉลี่ยลดคาไฟฟาใหกับประชาชนปละ 7,000 ลานบาท หรือคิดเปนคาไฟฟาที่ลดลง 7 ส.ต./หนวย เปนเวลา 2 ป ซ่ึงจะเกลี่ยคิดทุกรอบเอฟทีตลอด 7 ครั้ง หลังจากนั้นคือชวงคาบเกี่ยวปลายป 2546 และตนป 2547 ยังไมสามารถระบุไดวาคาเอฟทีจะปรับขึ้นหรือไม เพราะยังไมทราบราคาตนทุนที่จะนํ าไปคิดคํ านวณในสูตรคาเอฟที ไมวาจะเปนราคาเชื้อเพลิง อัตราแลกเปลี่ยน เปนตน (มติชน 131044)

3.1.3 สพช.คาดการณวาในป 2545 พลังงานมีแนวโนมราคาถูกลงนายปยสวัสด์ิ อัมระนันทน เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ คาดการณวาราคาพลังงานในป 2545 มีแนวโนม

คงที่หรือเอนเอียงไปทางลดลง ทั้งในสวนราคากาซธรรมชาติ คาไฟฟาราคานํ้ ามัน แตในสวนของกาซหุงตม นั้นคงจะลดไดลํ าบาก เพราะกองทุนนํ้ ามันยังคงติดหนี้โรงกลั่นนํ้ ามันเปนวงเงินนับหมื่นลานบาท ซ่ึงเปนหนี้ที่เกิดจาการชดเชยราคากาซเมื่อปที่แลว จึงตองมีการใชหนี้กันตอไปในสัดสวน 1,200 ลานบาทตอไตรมาส

สาเหตุที่คาดวาราคาพลังงานมีแนวโนมลดลงก็เนื่องมาจากคาดการวาราคานํ้ ามันในตลาดโลกคงจะอยูในระดับคงที่หรือไมก็เพิ่มขึ้นเล็กนอยอยูในระดับ 20-25 เหรียญสหรัฐตอบารเรล ไมไดเพิ่มขึ้นสูงเหมือนกับตนปที่ผานมา เพราะสํ ารองนํ้ ามันสหรัฐอยูในเกณฑสูงกํ าลังผลิตมีมากเกินความตองการ และการลดกํ าลังผลิตของโอเปกคงจะเกิดขึ้นไดยาก สงผลทํ าใหราคานํ้ ามันในไทยไมนาจะปรับขึ้นไปถึงระดับ 17 บาท/ลิตร ปจจัยดังกลาวจะสงผลใหราคากาซธรรมชาติปรับตัวลดลงตาม สงผลตอคาไฟฟาเอฟทีจะปรับลดลงตามในที่สุด โดยปจจัยทั้งหมดจะตองอยูบนพื้นฐานที่คาเงินบาทไมไดออนตัวไปกวาระดับปจจุบันดวย ซ่ึงหากราคานํ้ ามับดิบมีแนวโนมราคาอยูที่ประมาณ20 เหรียญตอบารเรลแลวก็นาจะเปนเรื่องที่นายินดียิ่งขึ้น เพราะมูลคานํ าเขานํ้ ามันจะลดลงจาก 300,000 ลานบาทตอป เหลือเพียง200,000 ลานบาทตอป ในสวน 100,000 ลานบาท จะไดนํ ามาใชหมุนเวียนในประเทศชวยกระตุนเศรษฐกิจ ซ่ึงเปนตัวเงินที่มีมูลคาสูงกวางบกระตุนเศรษฐกิจ 58,000 ลานบาทเสียอีก ถาหากราคานํ้ ามันดิบเพิ่มขึ้นเปน สูงสุดประมาณ 5 เหรียญ แตละ1 เหรียญจะสงผลตอราคานํ้ ามันในไทยประมาณ 30 สตางคตอลิตร เพิ่มขึ้น 5 เหรียญก็จะปรับขึ้นไมเกิน 1.50 บาท ดังนั้น หากเบนซินในไทยปรับขึ้นสูงสุดในปหนาก็นา

Page 47: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

190

อยูที่ประมาณ 15 บาทตอลิตร ก็ถือวาเปนขาวดีสํ าหรับคนไทย สํ าหรับราคานํ้ ามับดิบในปจจุบัน ราคาดูไบอยูที่ประมาณ 17.73 เหรียญ/บารเรล สวนราคานํ้ ามันสํ าเร็จรูปสิงคโปร เบนซินออกเทน 95 ราคา 22.65 เหรียญ/บารเรล ดีเซล 20.53 เหรียญ/บารเรล ราคานํ้ ามันในไทยเบนซินออกเทน 95 ราคา 13.59 บาท/ลิตร ออกเทน 91 ราคา 12.59 บาท/ลิตร ดีเซล ราคา 10.99 บาท/ลิตร

ในสวนของความตองการใชพลังงานในป 2545 เมื่อเทียบกับป 2544 คาดวาในสวนของนํ้ ามันจะเพิ่มจากความตองการลดลงรอยละ 3 ในปนี้ เปนการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 5.7 หรือบริโภคประมาณ 600,000 บารเรล/วัน เหตุผลเพราะมีรถยนตใหมเพิ่มขึ้นในขณะที่ราคานํ้ ามันถูกลง ประชาชนอาจจะไมคอยประหยัดพลังงาน ซ่ึงจะตองมีการทํ าแผนประหยัดพลังงานกันอยางตอเนื่อง โดยในสวนของแผนประหยัดพลังงาน จะมีการจัดระดมความคิดเห็นในวันที่ 20 ธันวาคม เพื่อจัดทํ าแผนที่เปนรูปธรรมในป 2545 สวนความตองการใชกาซธรรมชาติปหนาคาดวาจะมีการขยายตัวรอยละ 5.6 ในขณะที่ความตองการใชไฟฟาคาดวาจะขยายตัวรอยละ 6-7 (ผูจัดการ 191244)

3.2 ความเคลื่อนไหวดานพลังงานตางประเทศ3.2.1 ประชุมโอเปกรอบตอไปอาจมีการลดกํ าลังการผลิตถึง 1.5 ลานบารเรลตอวัน เพ่ือกระตุนราคา

นํ้ ามันที่ซบเซานายอาลี อัล - ไนมี รมต.นํ้ ามันซาอุดีอาระเบีย กลาวเมื่อวันที่ 8 พ.ย. 2544 วา ในการประชุมรมต.โอเปก หรือกลุมประเทศผูสง

ออกนํ้ ามัน ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรเลีย ในวันที่ 14 พ.ย. 2544 อาจมีการผลักดันใหมีการลดกํ าลังการผลิตนํ้ ามันถึง 1.5 ลานบารเรลตอวัน ซ่ึงการลดกํ าลังการผลิตวันละ 1 ลานบารเรลตอวันไมเพียงพอที่จะแกปญหาราคานํ้ ามันที่ตกตํ่ าในชวงที่ภาวะเศรษฐกิจโลกซบเซา ซ่ึงถาโอเปกลดกํ าลังการผลิตวันละ 1.5 ลานบารเรล กลุมประเทศผูผลิตนํ้ ามันนอกกลุมโอเปกก็ควรจะลดกํ าลังการผลิตของตนลงวันละ500,000 บารเรลดวย ขณะที่นายอาลี โรดริเกซ เลขาธิการโอเปก คาดวา ผลจากการประชุมโอเปกจะมีการประกาศลดกํ าลังการผลิตวันละ1 - 1.5 ลานบารเรล หรือประมาณ 4 - 6% พรอมทั้งอาจมีการกดดันใหสมาชิกโอเปก ยึดมั่นในโควตาการผลิตใหมอยางจริงจังกวาที่ผาน ๆมา สวนโควตาการผลิตใหมจะมีผลบังคับใชต้ังแตวันที่ 1 ธ.ค. 2544

ทางดาน นายจอน ไรท นักวิเคราะหจาก HSBC แบงก ที่กรุงลอนดอน กลาววา โอเปกกํ าลังหารือกันอยางจริงจังในเรื่องการแกปญหาราคานํ้ ามันที่ตกตํ่ า และเชื่อวาในการประชุมจะมีการผลักดันการลดราคานํ้ ามันอยางแนนอน ทั้งนี้ราคานํ้ ามันดิบในตลาดโลก ทรุดลงกวา 8 ดอลลารสหรัฐ/บารเรล นับต้ังแตเหตุการณกอวินาศกรรมในสหรัฐเมื่อ 11 ก.ย. 2544 (กรุงเทพธุรกิจ 101144)

ความเคลื่อนไหวดานการเมืองการปกครองนํ าเร่ือง

ความเคลื่อนไหวดานการเมืองการปกครองในประเทศไทยในไตรมาสที่ส่ีของป บนหนากระดาษน.ส.พ.หรือขาวจากสื่อมวลชนอื่น อาทิ วิทยุ หรือโทรทัศน ปรากฏขาวคราวในเชิงการเมืองอนุรักษเปนสวนใหญ เริ่มดวย ความราวฉานภายในพรรคไทยรักไทยหลายเรื่องดวยกันโดยเฉพาะการปนเกลียวระหวางมท.1 ร.ต.อ.ปุระชัย เปยมสมบูรณ กับนายเสนาะ เทียนทอง ประธานที่ปรึกษาพรรคไทยรักไทย แตสามารถเคลียรกันไดแลวดวยกาวใจยี่หอ “พจมาน” บทบาทและการปฏิบัติหนาที่ของรัฐสภาและฉายาจากสื่อมวลชน นอกจากนี้ ยังปรากฏความเคลื่อนไหวของพรรคการเมืองสํ าคัญๆเชน พรรคไทยรักไทยโดย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในการปรับคณะรัฐมนตรี 2 ตํ าแหนง ขาวการดึงพรรคชาติพัฒนาเขารวมรัฐบาลซึ่งไลเล่ียกับขาวการยุบพรรคความหวังใหมรวมกับพรรคไทยรักไทยทามกลางกระแสการคัดคานทั้งจากคนในทั้งสองพรรค รวมทั้งประเด็นปญหาขอกฎหมาย อยางไรก็ดี ความเคลื่อนไหวเหลานี้นํ าไปสูขาวขามปเกี่ยวกับการปรับใหญคณะรัฐมนตรี นอกจากนี้ ยังมีความเคลื่อนไหวของพรรคประชาธิปตยในการปรับโครงสรางใหมของพรรคเพื่อรองรับการเลือกตั้งครั้งใหม ซึ่งปรากฏการแสดงบทบาทเดนของพล.ต.สนั่น ขจรประศาสน ที่ถูกศาลรัฐธรรมนูญหามดํ ารงตํ าแหนงทางการเมืองนาน 5 ป วายังคงมีอิทธิพลสูงภายในพรรคจนสามารถกํ าหนดทิศทางของพรรคออกมาไดอยางที่ตองการ การออกมากลาวของส.ส.ปชป.ในอันที่จะเสนอเขาชื่อถอดถอนนายกฯ ขอหาคือการแทรกแซงสื่อรวมทั้งการประณามสื่อมวลชนของอดีตนายกฯชวน หลีกภัย การเคลื่อนไหวของพรรคชาติไทยในการปรับวางแนวทางพรรคใหมและการเปดประเด็นปรับปรุงครม.แตไมสํ าเร็จ

Page 48: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

191

ความเคลื่อนไหวดานการเมืองปฏิรูปนั้น พ.ต.ท.ทักษิณ ไดปรับยุทธศาสตรและแนวนโยบายการบริหารประเทศดวยการจัดระเบียบภารกิจคณะรัฐมนตรีใหม ซึ่งปรากฏความเคลื่อนไหวไมเห็นดวยจากหนวยราชการตางๆ เชน การยุบสํ านักปลัดสํ านักนายกรัฐมนตรี การยายสํ านักงานอัยการ และสํ านักงานตํ ารวจแหงชาติเขาสังกัดก.ยุติธรรม เปนตนสวนความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการปฏิรูประบบราชการ ยังมีประเด็นขัดแยงหลายเรื่อง ซึ่งไดรับการวิจารณจากนักวิชาการวา จุดออนสํ าคัญคือการใหขาราชการพิจารณาลดทอนอํ านาจตนเอง โดยไมใชคนนอกแวดวงราชการเขามามีสวนรวมนอกจากนี้ ยังมีความเคลื่อนไหวขององคกรอิสระหลายองคกรดวยกัน ซึ่งปรากฏทั้งในทางบวกและทางลบ อาทิ ขาวการล็อบบี้รายชื่อ และปญหากระบวนการเลือกสรร กกต. ชุดใหมสวนความเคลื่อนไหวดานการเมืองการปกครองสวนทองถิ่นนั้น คณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบรางปฏิบัติการกํ าหนดขั้นตอนการกระจายอํ านาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและเตรียมถายโอนอํ านาจสูทองถิ่นแมรัฐสภาจะยังไมไดรับทราบก็ตาม นอกจากนี้ กมธ.องคกรอิสระวุฒิสภาเรงใหคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินตรวจสอบการทุจริตในองคการบริหารสวนตํ าบล ซึ่งปรากฏขาวคราวการทุจริตกันเปนกระบวนการ โดยเฉพาะอยางยิ่งการกอสรางในโครงการใหญ ๆ

การดํ าเนินงานดานการตางประเทศของประเทศนั้น จากการเปดฉากถลมประเทศอัฟกานิสถานของสหรัฐ นอกจากมีการตั้งคํ าถามเกี่ยวกับบทบาทดานการเมืองของประเทศไทย และความปลอดภัยจากกลุมกอการรายแลว ยังสงผลกระทบทั้งในดานลบและดานบวกตอเศรษฐกิจของประเทศไทย กลาวคือ ปญหาเสถียรภาพของตลาดการคาเกิดใหมของไทย เชน อินเดีย ปากีสถานและกลุมตะวันออกกลาง สวนดานบวกก็คือไทยสามารถสงออกไดเพิ่มขึ้นจากการที่อินเดีย-ปากีสถาน ที่ไดรับผลกระทบหนักจากสงคราม อีกทั้งพันธมิตรสหรัฐที่ไดรับเงินสนับสนุนจะมีการซื้อสินคาจากไทยเพิ่มขึ้น เปนตน นอกจากนี้ ยังมีความเคลื่อนไหวของชาวไทยมุสลิมในประเทศไทยตอตานการถลมอัฟกานิสถานของสหรัฐซึ่งนอกเหนือจากการชุมนุมในสถานที่ตาง ๆ แลวยังมีการกํ าหนดมาตรการไมซื้อขายสินคาสหรัฐอีกดวย การดํ าเนินงานดานตางประเทศที่สํ าคัญของไทยอีกประการหนึ่งในชวงนี้คือ การเดินทางเยือนประเทศสหรัฐของนายกฯ พ.ต.ท.ทักษิณชินวัตร ซึ่งแถลงขาววาประสบความสํ าเร็จหลายประการ

ความเคลื่อนไหวดานการเมืองการปกครองในตางประเทศ ในไตรมาสสุดทายของป 2544 นั้น ความเคลื่อนไหวของสหรัฐครองหนากระดาษของหนังสือพิมพ รวมทั้งการเสนอขาวของสื่ออื่น ๆ ตลอดไตรมาส ที่สํ าคัญ ไดแก ความเคลื่อนไหวดานการตางประเทศของสหรัฐซึ่งปรากฏหลายเรื่องดวยกัน ทั้งรางแผนยุทธศาสตรฉบับใหมที่เนนเอเชียเปนสํ าคัญ พรอม ๆ กับการรักษาพื้นที่อิทธิพลอื่น ๆ ของตนตอไป การเปดฉากถลมอัฟกานิสถานเพื่อตามลาตัวนายโอซามะห บิน ลาดิน ผูตองสงสัยกอวินาศกรรมอาคารเวิลดเทรด ฉีกหนาศูนยกลางทุนนิยมสหรัฐ ที่กบดานอยูในอัฟกานิสถาน โดยยกแรกของสงคราม อัฟกานิสถานถูกถลมดวยปฏิบัติการทางอากาศของสหรัฐเสียหายยับเยิน ตามมาดวยปฏิบัติการภาคพื้นดินอยางฉับพลันประสานกับการปฏิบัติการทางอากาศอีกแตยังไมปรากฏความสํ าเร็จตามที่สหรัฐตองการ นั่นคือยังไมสามารถลาตัวนายโอซามะห บิน ลาดิน ไดสํ าเร็จ ไมแตเทานี้ สหรัฐยังเผชิญกับสงครามเชื้อโรคแอนแทรกซ การกอการรายในรูปแบบใหมที่มาพรอมกับจดหมาย และจากเหตุการณวินาศกรรมอาคารเวิลดเทรดที่เกิดขึ้นสงผลตอการเปลี่ยนแปลงนโยบายดานความมั่นคงของสหรัฐใหม พิจารณาไดจากการประกาศความสํ าเร็จในการทดสอบโลขีปนาวุธ การขยายเวทีการทูตเขาไปในเอเชียกลางโดยมีขุมนํ้ ามันขนาดใหญเปนเปาหมาย การถอนตัวจากสนธิสัญญาตอตานขีปนาวุธซึ่งไดรับการวิจารณจากรัสเซียวาจะเปนการกระตุนการสั่งสมอาวุธในโลก รวมทั้งการใหความสํ าคัญกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมากขึ้นกวาเดิม

ไมเฉพาะแตสหรัฐเทานั้นที่ตองเผชิญกับจดหมายเชื้อโรคแอนแทรกซ หลายประเทศทั่วโลกก็ประสบปญหาเชนเดียวกัน ปรากฏวาเจาหนาที่ไปรษณียในหลายประเทศตกเปนเหยื่อหลายราย ขณะเดียวกัน สายตาของสื่อมวลชนเพงเล็งไปที่สหรัฐ รัสเซีย และอิรัก วาเปนประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตอาวุธเชื้อโรค สํ าหรับสถานการณที่คืบหนาในอัฟ

Page 49: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

192

กานิสถานนั้น ปรากฏวารัฐบาลตอลิบานคายแตกตองทิ้งเมืองหลวง แตสหรัฐยังไมเสร็จส้ินภารกิจ อัฟกานิสถานยังคงถูกถลมตอไป มีการประชุมเพื่อการจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราวของอัฟกานิสถานที่กรุงบอนน ประเทศเยอรมนี ซึ่งมีปญหาถกเถียงกันนานกวาสัปดาหจึงลงตัว สวนนายโอซามะห บิน ลาดิน ยอมรับถลมเวิลดเทรด กับขาวคราวการมีอาวุธเคมี ชีวภาพและนิวเคลียร นอกจากนี้ มีการจัดประชุมสุดยอด “เอเปก” ที่เซี่ยงไฮ ซึ่งออกแถลงการณประณามการกอวินาศกรรมอาคารเวิลดเทรดในสหรัฐ แตไมแสดงทาทีสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหารของสหรัฐในอัฟกานิสถาน สถานการณโลกดูจะเดือดเปนไฟมากขึ้น จากสถานการณตึงเครียดในตะวันออกกลาง ถึงขั้นอิสราเอลตัดความสัมพันธและถลมดินแดนปาเลสไตนในเขตเวสตแบงกและฉนวนกาซา สาเหตุจากการกอความไมสงบของกลุมมุสลิมหัวรุนแรง ไมแตเทานี้ ดินแดนอนุทวีปก็รอนรุมขึ้นมาอีกจากเหตุกอการรายถลมอาคารรัฐสภาอินเดีย ผูตองสงสัยคือกลุมแยกดินแดนแคชเมียรที่ไดรับการสนับสนุนจากปากีสถาน ซึ่งทั้งอินเดียและปากีสถาน ลวนเปนประเทศที่สะสมและเคยทดลองอาวุธนิวเคลียรมาแลว หากไมสามารถประนีประนอมกันได ก็เปนอีกจุดหนึ่งที่อาจกออันตรายใหกับโลกได

1. ความเคลื่อนไหวดานการเมืองการปกครองแบบอนุรักษ1.1 “ทรท” ราวหลายเรื่องที่โดดเดนคือการปนเกลียวระหวาง “ปุระชัย”กับ “เสนาะ” แตเคลียรกัน

แลวดวยกาวยี่หอ “พจมาน”ความขัดแยงระหวางนายเสนาะ เทียนทอง ประธานที่ปรึกษาพรรคไทยรักไทย กับร.ต.อ.ปุระชัย เปยมสมบูรณ รมต.มหาดไทย

และเลขาธิการพรรคฯเปนที่รูกันดีในแวดวงส.ส.พรรคไทยรักไทย และปรากฏตอสื่อมวลชนหลายเรื่องดวยกัน อาทิ ความเห็นคัดคานของนายเสนาะเกี่ยวกับโครงการจังหวัดทดลองแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาหรือ “ผูวา ซีอีโอ” นโยบายการจัดระเบียบสังคมของร.ต.อ.ปุระชัยเปนตน อยางไรก็ตาม ไดมีความพยายามที่จะประสานรอยราวนี้นํ าโดยคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ทํ าหนาที่แทนสามี ดวยการนํ าร.ต.อ.ปุระชัยเดินทางไปเยี่ยมอาการปวยของนายเสนาะ ถึงบานเมืองทองธานี ซ่ึง ร.ต.อ.ปุระชัย เปดเผยเมื่อวันที่ 20 พ.ย.2544 ที่ทํ าเนียบรัฐบาล ถึงการเดินทางรวมกับคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ภริยา นายกฯไปที่บานพักเมืองทองธานีของนายเสนาะ เทียนทอง ประธานที่ปรึกษาพรรคไทยรักไทยเมื่อวันที่ 19 พ.ย.2544 ที่ผานมา วานายเสนาะปวย จึงไปเยี่ยมและมีการไปพูดคุยเรื่องสวนตัว และปญหาภายในพรรควาในชวงที่ผานมามีปญหาอะไรบางและจะแกไขอยางไร เพราะใกลการประชุมใหญสามัญประจํ าปของพรรคแลว และตอบคํ าถามผูสื่อขาวที่วาการไปเยี่ยมนายเสนาะ จะทํ าใหบรรยากาศการทํ างานรวมกันดีหรือไม วาตนกับนายเสนาะไมมีปญหาอะไรกัน เพียงแตขาวที่นํ าไปพาดหัว น.ส.พ.อาจจะแรงแตที่ผานมา แตละฝายอาจไมไดคุยกัน ปญหาที่เกิดขึ้นจึงเปนการพูดกันคนละเวลา และมีการจับภาพมาชนกัน ทํ าใหเกิดความเขาใจผิดที่สํ าคัญตางคนตางก็มีงานมากทํ าใหไมมีเวลามาพูดคุยกัน และสรุปวาปญหาภายในพรรคที่ผานมาเกิดขึ้นเนื่องจากพรรคมีคนหลากหลายตางคนตางไมรูจักกันมากอน ซ่ึงในการพบปะกันครั้งนี้ มีขาวรายงานวาพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯ ใหคุณหญิงพจมาน ไปเยี่ยมนายเสนาะโดยกํ าชับใหร.ต.อ.ปุระชัยไปดวย จุดประสงคคือเพื่อกลบขาวความขัดแยงระหวางบุคคลทั้งคูและปองกันการยุแหยภายในพรรคเนื่องจากมีหลายกลุมที่ตองการสรางความแตกแยก (กรุงเทพธุรกิจ 07,091144,คม ชัด ลึก 081144,สยามรัฐ 07,08,09,14,201144,มติชน07,09,20,211144,พิมพไทย14,20,211144,สยามรัฐ 211144)

1.2 รัฐสภา : บทบาท ลักษณะการปฏิบัติงาน และฉายาที่ไดรับจากสื่อมวลชนการปฏิบัติงานของวุฒิสภาในรอบป 2544 ชวงแรกดูทาจะไปดวยดีและนาจะเปนตัวอยางของสภาผูทรงคุณวุฒิ ความเปนอิสระ

การเอาจริงเอาจังในการทํ าหนาที่เปนปากเสียงของประชาชนและการควบคุมรัฐบาลอยางเปนเรื่องเปนราว แตเมื่อเวลาลวงเลยไป ภาพของส.ว.ที่ออกมาเริ่มปรากฏความแตกแยก แบงกลุม แบงกก และถือเอาศักด์ิศรีของตัวเองอยูเหนือความถูกความควรตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ดังจะเห็นไดจากเรื่องเล็กๆนอยๆ ก็ตองลุกขึ้นอภิปรายหรือเขาช่ือกันยื่นใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตีความ เปนตนสวนเรื่องใหญๆเร่ืองสํ าคัญ ๆ ตอชาติและตอประชาชน กลับไมทํ า เชนการติดตามการดํ าเนินนโยบายของรัฐบาล อาทิ การพักชํ าระหนี้เกษตรกรรายยอย 3 ปกองทุนหมูบาน ๆ ละ 1 ลานบาท 30 บาทรักษาไดทุกโรค ฯลฯ ไมเห็นส.ว.ซ่ึงมีถึง 200 คน จัดกระบวนแหงการตรวจสอบอยางเปนเอกภาพดังนั้นเมื่อสื่อมวลชนประจํ ารัฐสภาตั้งฉายาสถาบันและบุคคลในแวดวงการเมืองอันเปนธรรมเนียมปฏิบัติของป 2544 วุฒิสภาจึงไดรับฉายาวา “สภาจับฉาย” เพราะการทํ าหนาที่ในรอบปที่ผานมาไมมีความชัดเจน สับสนในบทบาท ทํ าตัวเหมือนส.ส. จับงานทุกประเด็นที่เปนขาวสวนหนาที่โดยตรงคือ การตรวจสอบยังไมประสบความสํ าเร็จเทาที่ควร

Page 50: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

193

สวนสภาผูแทนราษฎร เร่ิมเปดประชุมในเดือนก.พ.2544 เพื่อเลือกนายกฯรมต.ภายใน 30 วัน นับจากวันเลือกต้ัง ส.ส.เมื่อวันที่ 6ม.ค.2544 ในรอบ 1 ป ของสภาผูแทนฯที่ผานมา มีการประชุม 2 สมัย สมัยละ 120 วัน สมัยแรกเปนสมัยทั่วไปและสมัยที่สองเปนสมัยนิติบัญญัติ ซ่ึงจะเนนในการพิจารณารางพ.ร.บ.เปนหลักไมสามารถยื่นญัตติอภิปรายไมไววางใจได นายอุทัย พิมพใจชน ประธานสภาผูแทนราษฎร กลาวตอที่ประชุมฯเมื่อวันที่ 28 พ.ย.2544 กอนปดการประชุมและปดสมัยประชุมเกี่ยวกับผลงานของสภาฯสมัยสามัญนิติบัญญัติวามีการพิจารณารางพ.ร.บ.192 ฉบับ เปนรางพ.ร.บ.ที่คางจากสมัยประชุมที่แลว 106 ฉบับ รับทราบการดํ าเนินการ 86 ฉบับ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว 26 ฉบับ อยูในขั้นวุฒิสภาเนื่องจากมีการแกไข 3 ฉบับ รอการพิจารณาของคณะกรรมมาธิการรวม 5 ฉบับ อยูในขั้นของวุฒิสภา 11 ฉบับ นอกจากนี้ สภาผูแทนฯไดบรรจุกระทูสด กระทูทั่วไป และกระทูที่ถามใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา รวม 453 เร่ืองพิจารณากระทูสดแลว 45 เร่ือง กระทูทั่วไป 39 เร่ือง และกระทูใหตอบในราชกิจจานุเบกษา 166 เร่ือง

การจัดทํ าโลมอบใหกับส.ส.ที่ลงช่ือมาประชุมทุกนัดตั้งแตวันที่ 5 ก.พ.2544 มาถึงวันที่ 15 พ.ย.2544 ที่ไดมาประชุมสภาผูแทนฯนัยวาเพื่อเปนการสะกิดเตือนส.ส.อีก 421 คน ที่ไมมาลงช่ือทุกนัด แตโครงการมอบโล ครั้งนี้กลับไดรับการวิพากษวิจารณวา รายช่ือของส.ส.ที่มาเซ็นไวไมไดเปนเครื่องคํ้ าประกันวาเจาของรายชื่อจะอยูในหองประชุมสภาผูแทนฯทุกครั้ง บุญเลิศ ชางใหญ ไดต้ังขอสังเกตเกี่ยวกับส.ส.ไวในคอลัมน “หมายเหตุประชาชน” ใน มติชนสุดสัปดาห 3-9 ธ.ค.2544 ไวหลายประการ อาทิ 1) ส.ส.จํ านวนมากมีสวนเชื่อมโยงกับฝายบริหารโดยการดํ ารงตํ าแหนงขาราชการการเมือง เชนเปนที่ปรึกษารมต. เปนเลขานุการรมต. ซ่ึงนาจะมีการวิจัยวาสงผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่ของการเปนส.ส.ซ่ึงอยูในฝายนิติบัญญัติหรือไม อยางไร 2) ในทางปฏิบัติ ส.ส.ไมวาจะเปนฝายคานหรือฝายรัฐบาลที่ไดรับเลือกต้ังจากประชาชนเปนตัวแทนในการควบคุมการบริหารราชการแผนดินตามรัฐธรรมนูญบัญญัตินั้น ส.ส.ฝายรัฐบาลกลาซักถาม ทวงติงวิพากษวิจารณรัฐบาลแคไหน เพราะการที่ไดรับเลือกต้ังก็ตองพึ่งพาปจจัยตาง ๆ จากหัวหนาพรรคและผูใหญในพรรค ดังนั้น การควบคุมการบริหารราชการแผนดินจึงตกอยูกับฝายคาน ซ่ึงในรอบปที่ผานมาผลงานไมนาประทับใจอาจเพราะเคยเปนรัฐบาลมากอนและไมสามารถแกปญหาไดขณะที่กระแสความนิยมรัฐบาลใหมของประชาชนยังมาแรง 3) มี ส.ส. จํ านวนเทาใดที่ลงไปประสานกับองคกรภาคประชาชนเพื่อรับฟงปญหาและหาทางแกไขของประชาชน จากผลงานของส.ส. ที่ผานมา รวมทั้งการขาดประชุมจนเกิดปญหาสภาลมเพราะสมาชิกไมครบองคประชุมถึง 3 ครั้ง ทํ าใหสภาผูแทนราษฎรจึงไดรับฉายาประจํ าป 2544 จากสื่อมวลชนประจํ ารัฐสภาวา “สภาอาชีพเสริม” เนื่องจากส.ส.สวนหนึ่งใชเวลาไปกับการลงพื้นที่และปฏิบัติภารกิจสวนตัว (มติชนสุดสัปดาห 3-91244, มติชน,ไทยโพสต 29,3012)

1.3 ความเคลื่อนไหวของพรรคการเมือง1.3.1 “ทักษิณ” ปรับเล็กครม.เงียบๆ เกรงการเมืองในพรรครัฐบาลและพรรครอรวมรัฐบาลปวน ปลายปมีขาวทั้งการ

ปรบัครม. การยุบพรรคควม.และการดึงพรรคชาติพัฒนาเขามารวมรัฐบาล แตยังไมเกิดผลในทางปฏิบัติ สวนฝายคานตอบโตวาหนีการอภิปรายและตองการแกไขรัฐธรรมนูญ

กระแสขาวปรับครม.เกิดขึ้นตลอดมา จนทายที่สุด พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯตัดสินใจปรับครม.เพียง 2 ตํ าแหนง เนื่องจากไมตองการใหเกิดความเคลื่อนไหวทั้งภายในพรรคไทยรักไทยและพรรครวมรัฐบาล ทั้งนี้ วันที่ 9 ต.ค.2544 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯใหประกาศวาตามที่ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาแตงตั้งพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เปนนายกฯเมื่อวันที่ 9 ก.พ.2544และประกาศแตงต้ังใหเปนรมต.ศึกษาฯเมื่อวันที่ 14 มิ.ย.2544 บัดนี้ พ.ต.ท.ทักษิณไดกราบบังคมทูลลาออกจากตํ าแหนงรมต.ศึกษา สมควรแตงตั้งรมต.แทนตํ าแหนงที่วางและปรับปรุงรมต.บางตํ าแหนง อาศัยอํ านาจตามความในมาตรา 201 และมาตรา 217 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหรมต.พนจากตํ าแหนงดังนี้ นายสุวิทย คุณกิตติ รองนายกฯพนจากตํ าแหนงรองนายกฯ และแตงต้ังรมต.ดังตอไปนี้ ใหนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รมต.คลังดํ ารงตํ าแหนงรองนายกฯ และนายสุวิทย คุณกิตติ เปนรมต.ศึกษา ต้ังแตบัดนี้เปนตนไป ซ่ึง พ.ต.ท.ทักษิณ ช้ีแจงเรื่องการแบงงานวาจะใหนายสมคิด มาดูแลดานเศรษฐกิจในภาพรวมในตํ าแหนงรองนายกฯเปนหลักโดยเฉพาะก.เศรษฐกิจ เพื่อทํ าใหภาพเศรษฐกิจชัดขึ้น สวนตนเองจะดูทุกสวน เพื่อมองปญหาภาพรวมของประเทศและสามารถผลักดันกลไกใหทํ างานไดเร็วกวานี้ และบอกวาสาเหตุที่ลาออกจากตํ าแหนงรมต.ศึกษาเปนเพราะงานรัดตัวไมมีเวลาทุมเทใหอยางเพียงพอ ทํ าใหถูกวิจารณจากพรรคประชาธิปตยแกนนํ าฝายคานวารัฐบาลไมจริงใจกับการปฏิรูปการศึกษา สวนคอลัมน “มติชนวิเคราะห”ในน.ส.พ.มติชนประจํ าวันที่ 10 ต.ค.2544 วิเคราะหวาหากพ.ต.ท.ทักษิณ ปรับใหญครม.ชุดนี้ยอมเกิดความปนปวนอยางแนนอน สาเหตุจากปญหาการนํ าพรรคชาติพัฒนาเขารวมรัฐบาล ความเคลื่อนไหวของพรรคชาติไทยที่เสนอนายเนวิน ชิดชอบเปนตัวเลือกตํ าแหนงรมต. รวมทั้งความพยายามกลับคืนสูตํ าแหนงรมต.ของร.ต.อ.เฉลิม อยูบํ ารุง จากพรรคความหวังใหม พ.ต.ท.ทักษิณจึงชะลอการปรับใหญไวกอนรอการปรับโครงสรางกระทรวง ทบวง กรม ที่จะเสร็จสิ้นในเดือนต.ค.2545 (มติชน 08,10,11,12,14,15,171044,อาทิตยวิเคราะหรายวัน 131044,กรุงเทพธุรกิจ 11,13,171044,สยามรัฐ 15,17 10 44,พิมพไทย 191044)

Page 51: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

194

สํ าหรับการดึงพรรคชาติพัฒนาเขารวมรัฐบาลนั้น พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ใหสัมภาษณสื่อมวลชนวาหลังจากวันที่ 27 ม.ค.2545ซ่ึงเปนวันประชุมใหญของพรรคไทยรักไทย จึงจะทราบแนนอนวาจะเชิญพรรคชาติพัฒนาเขามารวมรัฐบาลหรือไม ซ่ึงถือวาเปนคํ าพูดที่ชัดเจนเปนครั้งแรกของนายกฯในเรื่องนี้ และแสดงออกดวยการนํ านายสุวัจน ลิปตพัลลภ เลขาธิการพรรคชาติพัฒนาเดินทางเยือนสหรัฐดวยโดยอางวาเปนมิติใหม จากนั้นความเคลื่อนไหวปรับใหญครม.ไดรับการเปดประเด็นโดยพรรคชาติไทย ดวยการแพรขาวการยื่นใบลาออกของนายนที ขลิบทอง รมช.เกษตร เพื่อเปดทางใหนายเนวิน ชิดชอบ เขาดํ ารงตํ าแหนง ทํ าใหไดรับการวิจารณจากสื่อมวลชนวาการปรับครม.ที่จะเกิดขึ้น เปนการ “เอานํ้ าดีออก เอายี้เขา” แตทางพ.ต.ท.ทักษิณ นายกฯใหสัมภาษณสื่อมวลชนในเรื่องนี้วาพรรคชาติไทยสามารถเปลี่ยนตัวรมต.ไดในจังหวะที่รัฐบาลพรอม แตตอนนี้รัฐบาลยังไมสะดวกที่จะเปลี่ยนแปลงอะไร ถึงเวลาเปลี่ยนแลวจะบอก สวนนายเสนาะ เทียนทองประธานที่ปรึกษาพรรคไทยรักไทย กลาววาการปรับคณะรัฐมนตรีกับการดึงพรรคชาติพัฒนาเขารวมรัฐบาลตองรอใหรัฐบาลทํ างานครบปและตองมีการพิจารณาในคณะกรรมการบริหารพรรค

แมจะยังไมมีการปรับคณะรัฐมนตรีดวยการดึงพรรคชาติพัฒนาเขามา แตขาวคราวความเคลื่อนไหวในเรื่องนี้นํ าไปสูการตอตานพรรคชาติพัฒนา จาก รมต.พรรครวมรัฐบาลบางสวนเกี่ยวกับโควตาตํ าแหนง รมต. จน ร.ต.อ.ปุระชัย เปยมสมบูรณ รมต.มหาดไทยและเลขาธิการพรรคไทยรักไทย ตองออกมาบอกวารอใหนายกฯ กลับจากสหรัฐกอนและกํ าหนดเดิมคือตองทํ างานใหครบ 1 ป จากนั้นจึงจะมีการประเมินกัน ดานนายกร ทัพพะรังสี หัวหนาพรรคชาติพัฒนา บอกวาทางพรรคชาติพัฒนายังไมไดเรียกรองหรือเสนอเงื่อนไขวาตองได 3เกาอี้รมต.อยางที่เปนขาว

สวนขาวการยุบพรรคความหวังใหมเขากับพรรคไทยรักไทย เปนความเคลื่อนไหวที่มีการจุดประเด็นไลเลี่ยกับความเคลื่อนไหวในการดึงพรรคชาติพัฒนาเขารวมกับรัฐบาล แตตองยืดเยื้อออกไปอีก สาเหตุจากกระแสความไมพอใจของส.ส.พรรคความหวังใหมบางสวนพิจารณาไดจากการเคลื่อนไหวของส.ส.และสาขาพรรคความหวังใหมทั่วประเทศ 304 สาขา ซ่ึงสวนใหญไมเห็นดวยกับการรวมพรรค โดยใหเหตุผลวา พรรคไทยรักไทยอาจเกรงวาคะแนนเสียงส.ส.อาจลดลงเนื่องจากถูกใบแดงจากคณะกรรมการเลือกต้ังมาก และจะถูกปรับออก จึงพยายามนํ าจํ านวนของพรรคความหวังใหมเขาไปรวม สวนนายเสนาะ บอกวา ตองรอใหศาลรัฐธรรมนูญตีความเรื่อง ส.ส.บัญชีรายช่ือกอนดาน พ.ต.ท.ทักษิณ บอกวาการยุบพรรคความหวังใหมเขากับพรรคไทยรักไทย ขึ้นกับทางพรรคความหวังใหม เพราะโดยสวนตัวแลวเช่ือในทฤษฎี “ฟรีวิว”คือปลอยใหเปนไปตามความตองการของแตละคน และยอมรับวายังมีความไมชัดเจนในเรื่องส.ส.บัญชีรายช่ือ วาเมื่อรวมพรรคแลวจะเลื่อนลํ าดับกันอยางไรเพราะรัฐธรรมนูญมิไดกํ าหนดไว ซ่ึงกอนหนานี้ พ.ต.ท.ทักษิณ บอกวาพรรคความหวังใหมยังพอมีเวลาในการตัดสินใจ จนกวาพรรคไทยรักไทยจะจัดประชุมใหญสามัญในวันที่27ม.ค.2544หลังจากนั้นแลวอนาคตจะไมแนนอน

ขาวการปรับคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลไดรับการวิจารณจากนายจุรินทร ลักษณวิศิษฎ กรรมการบริหารพรรคประชาธิปตยวา รัฐบาลตองการหนีการอภิปรายไมไววางใจ และประเด็นที่กังวลก็คือการเพิ่มเสียงใหมากที่สุดเพื่อแกไขรัฐธรรมนูญเพราะเทาที่ตามเรื่องมีการกํ าหนดมาตรากันแลว สวน พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปตย กลาวถึงการดึงพรรคชาติพัฒนาเขารวมรัฐบาลวาเปนการสยบความขัดแยงภายในพรรค สวนการแกไขรับธรรมนูญตนถือวาเปนประเด็นรอง ดาน นายชวน หลีกภัย ผูนํ าฝายคานจากพรรคประชาธิปตย สนับสนุนการรวมพรรคความหวังใหมกับพรรคไทยรักไทย เพราะมีแหลงเงินทุนเดียวกันพื้นฐานอุดมการณทางการเมืองตลอดจนนโยบายก็เปนไปในทิศทางเดียวกัน(กรุงเทพธุรกิจ10,11,12,14,15,17,18,25,26,27,281244,มติชน10,11,12,13,14,15,17,18,19,24,26,271244,ไทยโพสต10,11,12,13,14,15,23,24,25,26,281244,พิมพไทย11,12,14,18,19,24,25,261244)

1.3.2 ความเคลื่อนไหวของพรรคประชาธิปตย- การปรับโครงสรางใหมของพรรคประชาธิปตยรับศึกไทยรักไทยในการเลือกตั้งสมัยหนาวันที่ 28-29 พ.ย.2544 พรรคประชาธิปตย จัดสัมมนาเพื่อพิจารณาปรับปรุงโครงสรางใหมของพรรคที่จ.สุราษฎรธานี ซ่ึงมีขาว

คราวปรากฏกอนหนานี้เปนการปรับเปลี่ยนเพื่อลดทอนอํ านาจของผูบริหารพรรคบางคนโดยพุงเปาหมายไปที่ พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน อดีตเลขาธิการพรรค จนพล.ต.สนั่น ตองออกมาเคลื่อนไหวแสดงความเห็นไมเห็นดวยรวมทั้งขาวคราวการเสนอใหต้ังพรรคใหมเปนทางเลือกที่ 3

เอกสารการปรับโครงสรางใหมของพรรคที่เสนอในที่ประชุมในสวนที่เปนโครงสรางระบบบริหารพรรคที่ปรับปรุงใหมประกอบดวย 1) ที่ประชุมใหญยังมีองคประกอบเชนเดิมหรือกํ าหนดสัดสวนนํ้ าหนักขององคประกอบของที่ประชุมใหญระหวางส.ส. ประธานสาขา และองคประกอบอื่น โดยใชสัดสวน 40 : 40 : 20 เพื่อความสมดุลในองคประกอบและการออกเสียงของที่ประชุมใหญ 2) คณะกรรมการบริหารพรรค องคประกอบและจํ านวนยังเปน 49 คนเชนเดิม 3) คณะผูบริหารพรรค องคประกอบและจํ านวน 15 คนเทาเดิม ผูที่ไดรับการแตงตั้งเปนนายกฯและรมต.ตองพนจากตํ าแหนง ยกเวนหัวหนาพรรค เลขาธิการพรรค เหรัญญิกพรรค และโฆษกพรรค 4) ที่ประชุมรวมระหวางคณะกรรมการบริหารพรรคกับ ส.ส. 5) ที่ประชุม รมต.และผูบริหารพรรคเดิมเปนที่ประชุม รมต.เทานั้นเพื่อใหพรรคมีสวนรวมในการพิจารณาการดํ าเนินตามนโยบายและประสานงานใกลชิดกับฝายบริหาร 6) ที่ประชุม ส.ส.องคประกอบและหนาที่เชนเดิม 7) คณะผูประสานงานรัฐสภา

Page 52: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

195

8) คณะโฆษกประกอบดวยโฆษกพรรค โฆษกตามจํ านวนที่คณะผูบริหารกํ าหนด 9) คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ประกอบดวยประธานและกรรมการจํ านวน 5-7 คน ที่คณะกรรมการบริหารแตงตั้งขึ้น ทํ าหนาที่ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติภารกิจตามนโยบายและแผนกลยุทธของพรรค

10) สภาที่ปรึกษาประกอบดวยประธานสภา รองประธานสภา เลขานุการสภา ผูชวยเลขานุการสภา และกรรมการสภา ที่ปรึกษาจํ านวนไมนอยกวา 19 คน และไมเกิน 29 คน โดยแตงตั้งมาจากผูที่เคยดํ ารงตํ าแหนงหัวหนาพรรค รองหัวหนาพรรค เลขาธิการพรรค รมต.และส.ส. ต้ังแตสี่สมัยขึ้นไปหรือสมาชิกที่คณะกรรมการบริหารเห็นสมควร ทั้งนี้สภาที่ปรึกษามีหนาที่ใหคํ าแนะนํ าปรึกษาแกคณะกรรมการบริหารพรรคหรือหัวหนาพรรค 11) สมัชชาพรรคประชาธิปตย ประกอบดวยสมาชิกที่ประชุมใหญ คณะกรรมการบริหารพรรค ส.ส. รมต. สภาที่ปรึกษา ประธานสาขา กรรมการบริหารสาขา ผูแทนสมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สมาชิกสภาเทศบาล หรือสภาทองถิ่นหรือสมาชิกสภาเขตที่พรรคสงลงสมัครในนามพรรคและสมาชิกพรรค โดยใหประธานที่ปรึกษาเปนประธานและจัดใหมีการประชุมสมัชชาประจํ าทุกปเพื่อรับฟงรายงานการดํ าเนินกิจการของพรรคจากหัวหนาพรรค 12) คณะกรรมการระดับจังหวัดในจังหวัดที่มี 2 สาขาขึ้นไป 13)สาขาพรรค การจัดตั้งและการบริหารสาขาพรรคเปนไปตามที่กํ าหนดไวในขอบังคับ 14) ยุวประชาธิปตยและกลุมอื่น

สวนการจัดองคกรและการจัดกลุมงานบริหารสวนกลางของพรรค จัดตามภารกิจหลักแบงเปน 5 ฝาย ไดแก 1) ฝายยุทธศาสตรอยูในกํ ากับดูแลของหัวหนาและรองหัวหนาพรรคที่หัวหนาฯมอบหมาย 2) ฝายอํ านวยการ อยูในกํ ากับดูแลของเลขาธิการและรองเลขาธิการพรรค 3) ฝายสนับสนุนทางการเมือง อยูในกํ ากับดูแลของเลขาธิการและรองเลขาธิการพรรค 4) ฝายปฏิบัติการทางการเมือง อยูในกํ ากับดูแลของเลขาธิการและรองเลขาธิการพรรค และ 5) ฝายพื้นที่อยูในกํ ากับของหัวหนาและรองหัวหนาพรรคที่หัวหนาฯมอบหมาย คนละหนึ่งหรือมากกวาหนึ่งพื้นที่ ทั้งนี้การจัดกลุมงานในแตละฝายเปนไปในลักษณะกลุมปฏิบัติการที่ทํ างานเปนทีม ภายใตการนํ าของผูอํ านวยการกลุมที่เปนมืออาชีพดานนั้น ๆ การจัดโครงสรางองคกรเปนแบบผสมผสานในลักษณะเปนแนวระนาบหรือเครือขายที่มีชวงช้ันการวินิจฉัยสั่งการสั้นไมเกิน 2-3 ชวงช้ัน เพื่อกระจายอํ านาจลงสูเบ้ืองลาง สํ าหรับคณะกรรมการดานตาง ๆ ที่ต้ังขึ้นคํ านึงถึงลักษณะงานที่ตองอาศัยความชํ านาญการ ความรอบรูของผูทรงคุณวุฒิ การประสานงานและการมีสวนรวมของหนวยงาน นอกจากนี้ จะมีการจัดตั้งสํ านักขึ้นมาใหมในแตละกลุมงาน 11 สํ านัก เชน กลุมงานยุทธศาสตร มี 4 สํ านัก ประกอบดวยสํ านักนโยบายและแผน สํ านักเทคโนโลยีการเมือง สํ านักยุทธศาสตรการเลือกต้ัง และสํ านักระดมทุน เปนตน

นอกจากนี้ คณะกรรมการจัดทํ าโครงสรางฯ ยังเสนอแนะสํ าหรับการดํ าเนินการขั้นตอไป ประกอบดวย 1) การแกไขขอบังคับพรรค10 ประเด็น เชน เปลี่ยนช่ือที่ประชุมรมต.เปนที่ประชุมรมต.และคณะผูบริหารพรรค การเพิ่มคณะผูประสานงานสภา เพิ่มคณะโฆษก เพิ่มคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล เพิ่มสมัชชาประชาธิปตยเปนองคประกอบหนึ่งของโครงสรางพรรค เพิ่มจํ านวนรองหัวหนาพรรคจาก8 คนเปน 9 คน เปนตน 2) การนํ าโครงสรางไปสูการปฏิบัติ เพื่อใหเปนไปโดยราบรื่นและตอเนื่อง พรรคควรสรางความเขาใจและความเห็นพองใหผูที่เกี่ยวของทุกฝาย โดยจัดใหมีการประชุมช้ีแจงเรื่องนี้จนเปนที่เขาใจตรงกัน และในฐานะสมาชิกของกลุมงานควรมีการฝกอบรมอยางตอเนื่อง พรอมทั้งสรรหาบุคลากรหลักที่เปนมืออาชีพ 11 คน เพื่อทํ าหนาที่หัวหนาทีมงานในแตละสํ านัก และตองมีการจัดเตรียมงบประมาณคาใชจายเพิ่ม จากปจจุบันที่มีคาใชจายเดือนละ 4 แสน อาจตองเพิ่มอีกประมาณ 2 เทาครึ่ง (1 ลาน) เนื่องจากเงินเดือนหัวหนางานมืออาชีพระดับผูอํ านวยการสํ านักทั้ง 11 คนประมาณการไวเดือนละ 50,000 บาท นอกจากนี้ พรรคตองลงทุนเพิ่มเติมในการจัดเครือขายคอมพิวเตอรและการพัฒนาระบบสารสนเทศและควรจัดระบบบริหารโดยกํ าหนดหนาที่ความรับผิดชอบของผูบริหารระดับหัวหนา รองหัวหนา เลขาธิการพรรคและรองเลขาธิการพรรค (มติชน 03-06,201144,มติชนสุดสัปดาห 19-261144,24-301244,กรุงเทพธุรกิจ 201144,ผูจัดการ 221144)

- ส.ส.ปชป.เสนอเขาชื่อถอดถอนนายกฯ ขอหาคือการแทรกแซงสื่อ นายอลงกรณ พลบุตร ส.ส.เพชรบุรี พรรคประชาธิปตย เปดเผยวา เนื่องจากขณะนี้รัฐบาสลมีพฤติกรรมแทรกแซงการปฏิบัติงาน

ของสื่อมวลชนอยางมาก ดังนั้น ตนจึงเตรียมเสนอพรรคประชาธิปตยใหใชรัฐธรรมนูญมาตรา 303 ที่ระบุวา ส.ส.สามารถเขาช่ือกัน 125 เสียงเพื่อถอดถอนนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ที่มีพฤติกรรมไมเหมาะสม โดยตนจะเสนอใหถอดถอนพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯ ทั้งนี้พรรคประชาธิปตยมีส.ส.อยูแลวจํ านวน 127 เสียง เพียงพอที่จะดํ าเนินการเรื่องนี้ได

กอนหนานี้ ในวันที่ 2 ธ.ค.2544 นายชวน หลีกภัย ผูนํ าฝายคาน หัวหนาพรรคประชาธิปตยและอดีตนายกฯ ไดไปบรรยายในงานสัมมนาพรรคประชาธิปตย ที่เกาะสมุย สุราษฎรธานี ในหัวขอ “สถานการณบานเมือง “ ซ่ึงในการบรรยายดังกลาวปรากฏขอความตอนหนึ่งที่มีลักษณะปรามาสขาราชการชั้นผูใหญในกรมประชาสัมพันธวา “ สมัยพวกผมเปนรัฐบาล …เราใหสื่อมวลชนรายงานตามความเปนจริง เพิ่งมีในยุคนี้ที่ขาราชการชั้นผูใหญบางคนสอพลอเกินเหตุ ผมไมรูวาขนหนาแข็งนักการเมืองหลุดไปเทาไหรแลว แตอยางนอย ลิ้นของขาราชการระดับสูงบางคนติดขนหนาแขงนักการเมืองเหลานี้ไปเต็มปากแลว” คํ าพูดดังกลาวของนายชวน สะทอนวุฒิภาวะของความเปนอดีตนายกฯ

Page 53: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

196

และเปนเหตุผลหนึ่งที่ทํ าใหไดรับฉายาจากสื่อมวลชนสายทํ าเนียบรัฐบาลประจํ าป 2544 วา “มีดโกนวัยทอง” (ขาวสด 031244,มติชนสุดสัปดาห 10-161244)

1.3.3 ความเคลื่อนไหวของพรรคชาติไทย : เปดเผยแนวทางการปรับปรุงพรรคและเปดประเด็นการปรับ ครม.- พรรคชาติไทยกํ าลังสรางพรรคเพื่อกาวสูปที่ 28 ของพรรควันที่ 19 พ.ย.2544 พรรคชาติไทยจัดงานสถาปนาครบรอบ 27 ป ซ่ึงนายนิกร จํ านง ผูอํ านวยการพรรค บอกวา นับเปนพรรคการ

เมืองที่มีความเกาแกเปนอันดับสองรองจากพรรคประชาธิปตย และเพิ่มเติมวาในวันงานหัวหนาพรรคชาติไทยจะปราศรัยกับสมาชิกพรรคโดยประเด็นสํ าคัญก็คือพรรคชาติไทยจะยังคงอยูตอไป โดยถือวาการสรางพรรคมีความสํ าคัญกวาการขึ้นสูตํ าแหนงนายกฯครั้งที่ 3 ของหัวหนาพรรค ดวยการพยายามดึงคนเขามาบริหารพรรคและเปนโครงสรางที่ดี คิดวาจะเปนเปาหมายสํ าคัญที่หัวหนาพรรคกํ าลังพยายามดํ าเนินการอยู การสงรมต.เขาไปรวมบริหารบานเมืองกับพรรคไทยรักไทยเปนการบอกวาพรรคชาติไทยทํ างานกับใครยอมไมมีปญหา เปาหมายคือเพื่อพิสูจนวาพรรคชาติไทยเปนอยางไรมากกวา นายนิกรใหสัมภาษณเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการทํ างานของพรรค ซ่ึงสิ่งที่ไดทํ าแลวคือเรื่องนโยบาย โดยแบงอํ านาจใหผูดูแลทางดานนโยบายกาวหนา ดานการปกครอง การศึกษา สังคม ตางประเทศ และเอาคนที่เหมาะสมมาวางเพื่อบริหารเรื่องการดํ าเนินงานนโยบายกับการปฏิบัติ ซ่ึงนโยบายที่ทํ าไปแลวในสวนที่เราไปเปนรัฐบาลเราไดใหรองหัวหนาฝายหนึ่งไปดูแลดานสังคมเกี่ยวกับเรื่องแรงงาน สวนสํ าคัญของนักการเมืองคือดานนิติบัญญัติ ทางพรรคชาติไทยก็มีคณะกรรมการกฎหมายและกิจการรัฐสภาคอยดูแลเรื่องกฎหมาย ซ่ึงตอนนี้มีการแยกฝายนิติบัญญัติและฝายบริหารออกจากกัน ทางพรรคก็พยายามรุกดานนี้ดวยการอภิปรายของส.ส.ในสภา ในสวนของพรรคการเมืองก็คือตอนนี้มีนักวิชาการติดตามขาวสารและมีโฆษกพรรคเพื่อจะไดมาชวยกันดูขอมูลขาวสารตางๆ

ไมแตเทานี้ ทางพรรคกํ าลังพิจารณาเรื่องการปรับโครงสรางของพรรค โดยหัวหนาพรรคจะมีบทบาทคลายเปนที่ปรึกษาพิจารณาเร่ืองนโยบายโดยรวมไมลงลึกในเรื่องการบริหารจัดการและใชระบบหลายคนบริหารซึ่งมีหัวหนาพรรครองรับถึง 9 คน และไดแตงตั้งคณะกรรมการดํ าเนินงาน 5 คณะ ในสวนของการขยายงานก็ใหเลขาธิการพรรคเปนประธานกรรมการกิจการสาขาและกิจการสาขาก็จะขยายไปเร่ือยๆ เปนการตั้งสาขามวลชนเพื่อพรรค โดยพรรคชาติไทยตั้งสาขาละ 1 เขต ที่เหลือเปนศูนยประสานงานส.ส. เปาหมายคือการทํ าพรรคใหแข็งแกรงมิใชเพื่อเพิ่มจํ านวน ส.ส.เพื่อจะไดโควตา รมต.มากๆ สํ าหรับคํ าถามวาจะไปรวมกับพรรคชาติพัฒนาหรือไมนั้น หากรวมกันไดก็ดีแตเพื่อเปนพรรคการเมืองที่ใหญขึ้นมิใชรวมเพื่อจะไปเปนรัฐบาลและจากบทเรียนการเลือกต้ังที่ผานมาพบวาพรรคควรจะปรับตัว 2 เร่ือง คือ1) ระบบกลไกการเคลื่อนตัว ซ่ึงพรรคเริ่มเห็นความสํ าคัญของระบบส.ส.บัญชีรายช่ือมากขึ้นและควรดํ าเนินการอยางไรในการเลือกต้ัง 2)นโยบาย เดิมพรรคชาติไทยประกาศนโยบายปฏิรูปชนบท แตหลังการเลือกต้ังพบวาตองปรับนโยบาย เพราะประชาชนจะดูวาพรรคตางๆมีนโยบายสอดคลองกับปญหาของตนหรือไม อยางไรก็ตาม แมจะมีการปรับนโยบายแตทางพรรคชาติไทยก็ยังคงเนนดานการเกษตร

ในงานสัมมนาครบรอบ 27 ปของพรรค นายบรรหาร ศิลปอาชา ไดประกาศยุทธศาสตรใหมของพรรคจากเดิมที่เนนการพัฒนาชนบท มาเปนการใหความสํ าคัญกับเมืองโดยเฉพาะกรุงเทพมหานครมากขึ้น อาทิ การแกไขปญหานํ้ าทวม การแกไขปญหานํ้ าเสีย มลพิษทางอากาศ ทางเสียง ฯลฯ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนกรุงเทพฯ สวนการรวมกับพรรคชาติพัฒนายังเปนเรื่องอนาคตที่มีความเปนไปได(สยามรัฐ 171144,มติชน 201144)

- พรรคชาติไทยเคลื่อนไหวเปดประเด็นปรับปรุงครม.แตไมสํ าเร็จวันที่ 11 ธ.ค.2544 ขาวการลาออกของนายนที ขลิบทอง รมช.เกษตรฯ มีไปถึงพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร หลังจากที่มีกระแสขาว

ปรับครม.เกิดขึ้น ซ่ึงไดรับการวิจารณจากสื่อมวลชนวาเปนการเคลื่อนไหวเพื่อรักษาโควตารัฐมนตรีของพรรคชาติไทยหากมีการดึงพรรคชาติพัฒนาเขามารวมรัฐบาล ทั้งที่ ตามกํ าหนดเดิมที่นายกฯพ.ต.ท.ทักษิณประกาศไว คือตนป 2545 ทํ าใหพ.ต.ท.ทักษิณ ตองมอบหมายใหนายประพัฒน ปญญาชาติรักษ รมช.เกษตร เปนตัวแทนประเทศไทยไปประชุมยางพาราที่อินโดนีเซียอยางกะทันหันแทนนายนที ขลิบทอง และออกมาปฏิเสธวาไมทราบเรื่องใบลาออกของนายนที เชนเดียวกับนายนที ที่ออกมายืนยันวายังดํ ารงตํ าแหนงอยู สวนทางพรรคชาติไทยก็ตองออกมาปฏิเสธเชนกันวายังไมเห็นใบลาออกของนายนที การเคลื่อนไหวในเรื่องนี้ พ.ต.ท.ทักษิณสรุปวา เปนขาวโคมลอยเทานั้น(มติชน071144,มติชนสุดสัปดาห 17-23122544)

2. ความเคลื่อนไหวดานการเมืองการปกครองแบบปฏิรูป2.1 การปรับยุทธศาสตรและการจัดระเบียบภารกิจใหมของ ครม. และความเคลื่อนไหวคัดคาน2.1.1 “ทักษิณ” ปรับยุทธศาสตรและแนวนโยบายการบริหารประเทศดวยการจัดระเบียบภารกิจครม.ใหมพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯลงนามในคํ าสั่งสํ านักนายกฯ มอบหมายและมอบอํ านาจใหรองนายกฯปฏิบัติราชการ โดยยึดหลัก

การบริหารเปนหลักโดยแบงหมวดหมูการทํ างานใหชัดเจน มิใหเกิดความซํ้ าซอน และใหรองนายกฯทํ าหนาที่แทนนายกฯในเรื่องนั้นๆ และทํ า

Page 54: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

197

หนาที่เหมือนกับเปนรมต.ประสานงานของกระทรวงที่ตนเองทํ างานอยูเพื่อบรรลุการแกปญหาในแตละเรื่องไดรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ ยังแตงต้ังคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี การจัดระเบียบภารกิจใหมมีดังนี้

1) การมอบหมายและมอบอํ านาจใหรองนายกฯปฏิบัติราชการแทน ประกอบดวย พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ดูแลก.กลาโหม ตางประเทศ มหาดไทย สํ านักงานตํ ารวจแหงชาติ (สตช.) สํ านักขาวกรองแหงชาติ สํ านักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)สํ านักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน(ป.ป.ง.) กรมวิเทศสหการ และสํ านักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ (สมช.)สํ าหรับประเด็นสํ านักงานตํ ารวจแหงชาตินั้น พ.ต.ท.ทักษิณ ตอบคํ าถามผูสื่อขาววา ตนเองทํ าหนาที่เปนประธานในเรื่องการบริหารงานบุคคลเทานั้น สวนเรื่องการปฏิบัติการ การดูแลดานความมั่นคงและดานอาชญากรรม เปนหนาที่ของพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ

นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ ดูแลก ก.คลัง พาณิชย อุตสาหกรรม เกษตรฯ สํ านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํ านักงบประมาณ(ยกเวนสวนที่เกี่ยวกับการอนุมัติงบ) สํ านักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน และการทองเที่ยวแหงประเทศไทย ซ่ึงประเด็นหนาที่ใหมนี้ ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกฯและรมต.คลัง กลาวถึงการไดรับการแตงตั้งใหมารับผิดชอบงานดานเศรษฐกิจทั้งหมดวา ไมหนักใจตอตํ าแหนงดังกลาว และหากทุกคนพยายามประสานเปนหนึ่งเดียว เพื่อใหงานที่สั่งการไปเปนผล ทุกอยางก็จะดีขึ้นและตอบคํ าถามผูสื่อขาวที่วามีความรูสึกอยางไรที่ไดรับฉายาวาเปน “ธารินทร 2” เพราะหากแกไขปญหาเศรษฐกิจไมเปนผลจะเปนแพะรับบาปเชนเดียวกับนายธารินทร นิมมานเหมินท อดีต รมต.คลัง วา ไมกลัวในเรื่องนี้ และบอกวาการมีตํ าแหนงใหมนี้ไมไดหมายความวามีอํ านาจมากขึ้นเพียงแตมีหนาที่มากขึ้น และไมไดหนีการอภิปรายไมไววางใจการแกปญหาเศรษฐกิจ ตามที่ฝายคานตั้งขอสังเกตไว สวนขอกลาวหาจากพรรครวมรัฐบาลในการแกปญหาเรื่องขาวไมตรงจุดนั้น ตนถือวาเปนการแสดงความเห็นที่แตกตางแตไมไดขัดแยงกัน

นายเดช บุญหลง ดูแล ก.แรงงานฯ ก.วิทยาศาสตรฯ สํ านักงานสถิติแหงชาติ สํ านักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ และสํ านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นายปองพล อดิเรกสาร ดูแล ก.ศึกษาฯ ทบวงมหาวิทยาลัย ยุติธรรม สาธารณสุข สํ านักงานปลัดสํ านักนายกฯ สํ านักงานเลขาครม. สํ านักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติ(สยช.) สํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ การกีฬาแหงประเทศไทย (กกท.) สํ านักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน(ก.พ.) และสํ านักงานอัยการสูงสุด(อสส.) สวนนายพิทักษ อินทรวิทยนันท ดูแล ก.คมนาคม สํ านักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ(สพช.) สจร. สคป. กรมประชาสัมพันธ องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย(อ.ส.ม.ท.) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ) การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย(รฟม.) องคการสวนสัตว องคการสวนพฤกษศาสตร การปรับภารกิจขางตนไดรับการวิจารณวามีลักษณะเปนการปรับยุทธศาสตรและแนวนโยบายในหลายประเด็น พิจารณาไดจากการแบงงานก.ตางประเทศ ใหพล.อ.ชวลิต ดูแลควบคูไปกับความมั่นคงแสดงวาแนวนโยบายก.ตางประเทศนาจะเนนดานความมั่นคงมากกวาดานเศรษฐกิจเหมือนที่ผานมา

สวนการแบงงานและมอบอํ านาจหนาที่คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอครม. มี 5 คณะประกอบดวย 1) ฝายความมั่นคงการเมืองการปกครอง ประธานกรรมการคือพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ มีอํ านาจหนาที่พิจารณากลั่นกรองเรื่องสํ าคัญในปญหาที่กระทบตอเอกราชประชาธิปไตย ความสัมพันธกับนานาประเทศ กิจการทหาร-ตํ ารวจ การรักษาความมั่นคงภายใน การรักษาความสงบเรียบรอย การปองกันและปราบปรามยาเสพติด 2) ฝายเศรษฐกิจ ประธานกรรมการคือ นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ มีอํ านาจหนาที่พิจารณากลั่นกรองเรื่องสํ าคัญในปญหาที่กระทบตอเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง การภาษีอากร สถาบันการเงิน อุตสาหกรรม เกษตรกรรม สหกรณการผลิต การหารายไดเขาประเทศ การทองเที่ยว นํ าเขา-สงออก 3) ฝายแรงงาน วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ประธานกรรมการคือ นายเดช บุญหลง มีอํ านาจหนาที่พิจารณากลั่นกรองเรื่องสํ าคัญในปญหาที่กระทบตอแรงงาน สวัสดิการสังคม การประชาสงเคราะห ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 4) ฝายสังคม ประธานกรรมการคือ นายปองพล อดิเรกสาร มีอํ านาจหนาที่พิจารณากลั่นกรองเรื่องสํ าคัญในปญหาที่เกี่ยวพันกระทบตอการศึกษาศิลปวัฒนธรรม การกีฬา ศาสนา ระเบียบบริหารราชการแผนดิน ระเบียบขาราชการการบริหารงานบุคคลภาครัฐ การปฏิรูประบบราชการ การจัดตั้งหนวยงานของรัฐ อัตรากํ าลังเจาหนาที่ภาครัฐ การสาธารณสุข การยุติธรรม 5) ฝายโครงสรางพื้นฐานและการปกครอง ประธานกรรมการคือนายพิทักษ อินทรวิทยนันท มีอํ านาจหนาที่พิจารณากลั่นกรองเรื่องสํ าคัญในปญหาเกี่ยวพันที่กระทบตอโครงสรางพื้นฐานและการพัฒนาประเทศ การคมนาคมขนสง จราจร การพลังงาน การประชาสัมพันธ

นอกจากนี้ พ.ต.ท.ทักษิณ ยังเปดเผยวาที่ประชุม ครม.ใหความเห็นชอบในการจํ ากัดจํ านวนบุคคลที่จะเขารวมประชุม ครม.เพื่อใหสามารถรักษาความลับในการประชุมไดมากขึ้น โดยยืนยันวาวาระการประชุมและผลการประชุมจะไมมีการปดบัง เพียงแตขอถกเถียงกอนที่จะไดผลการประชุมบางเรื่องไมควรนํ ามาเปดเผย เพราะบางเรื่องมีความละเอียดออนมากเกินไป บางคนไมกลาพูด แตกรณีที่ประชุม ครม.ไมมีปญหาเรื่องความลับทางราชการ ก็จะทํ าใหคนที่เขารวมประชุมสามารถพูดอะไรไดเต็มที่ ซ่ึงนอกจากจํ านวนเจาหนาที่จะลดลงแลว รองโฆษกประจํ าสํ านักนายกฯก็จะเขารวมประชุมครั้งละ 1 คน หมุนเวียนกันไปและจะแถลงขาวรวมกับโฆษกประจํ าสํ านักนายกฯ ซ่ึงจะรวม

Page 55: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

198

ประชุมทุกครั้งและสรุปวา รัฐบาลนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมออยาไปคิดวาทุกอยางจะตองเปนไปตามสูตรเดิม (อาทิตยวิเคราะหรายวัน131044,มติชน 14,15,17,181044,กรุงเทพธุรกิจ 13,171044,สยามรัฐ 15,171044,พิมพไทย 161044)

วันที่ 26 ธ.ค.2544 พ.ต.ท.ทักษิณ ไดเรียกประชุมหารือครม.อยางไมเปนทางการโดยไมมีระเบียบวาระ เพื่อกํ าหนดยุทธศาสตรรวมกัน เรียกการประชุมแบบนี้วา “ครม.ยุทธศาสตร” โดยพ.ต.ท.ทักษิณไดกํ าหนดยุทธศาสตรและผูดูแล 5 ยุทธศาสตรคือ 1) ยุทธศาสตรสรางมาตรการจงใจใหนักลงทุนตางประเทศมาลงทุนในประเทศไทย มีพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ รองนายกฯ เปนประธาน กรรมการประกอบดวยนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกฯ และรมต.คลัง นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รมต.ตางประเทศ ร.ต.อ.ปุระชัย เปยมสมบูรณ รมต.มหาดไทยและนายสมศักด์ิ เทพสสุทิน ร.ม.ต.สํ านักนายกฯ 2) ยุทธศาสตรพัฒนาสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรใหนายสุวิทย คุณกิตติ รมต.ศึกษาฯและนายสนธยา คุณปลื้ม รมต.วิทยฯ รับผิดชอบ 3) ยุทธศาสตรพัฒนาการทองเที่ยว เดิมเนนดานการตลาดมาเปนใหเพิ่มการพัฒนาแหลงทองเที่ยวเขาไปดวย โดยใหนายปองพล อดิเรกสาร รองนายกฯ นายพิทักษ อินทรวิทยนันท รองนายกฯ นายสมศักด์ิ เทพสุทิน รับผิดชอบ 4)ยุทธศาสตรแกไขปญหาความยากจน นายพิทักษ อินทรวิทยนันท รองนายกฯรับผิดชอบ และ5) ยุทธศาสตรฟนฟูภาคการกอสราง ดานอสังหาริมทรัพยและโครงสรางพื้นฐานใหนายปองพล อดิเรกสาร และนายวันมูหะหมัดนอร มะทา รับผิดชอบ (มติชนสุดสัปดาห 31-060145)

2.1.2 ความเคลื่อนไหวไมเห็นดวยกับการยายสังกัดหนวยราชการตามระเบียบภารกิจใหมของรัฐบาลพ.ต.ต.ยงยุทธ สาระสมบัติ ปลัดสํ านักนายกฯกลาววาตนไมเห็นดวยที่จะมีการยุบสํ านักปลัดสํ านักนายกรัฐมนตรี เพราะยังมี

ความจํ าเปนในการประสานงานกับหนวยราชการตาง ๆ อยู โดยเฉพาะการดูแลระเบียบการในการจัดซ้ือจัดจางตาง ๆ ของหนวยราชการ ทั้งนี้จะมีการประชุมหนวยงานตาง ๆ เพื่อระดมความเห็นในเรื่องนี้ และตนจะเปนตัวแทนในการนํ าเสนอขอสรุปตอที่ประชุมปรับโครงสรางระบบราชการในวันที่ 2 พ.ย.นี้ และเทาที่สอบถามจากเลขาธิการ ป.ป.ส. อธิบดีกรมวิเทศสหการและผูอํ านวยการสํ านักงานสถิติแหงชาติ ก็เห็นวาหนวยงานทั้งหมดควรอยูที่สํ านักงานปลัดฯตอไป เพราะมีความจํ าเปนที่จะตองอยูตรงนี้

ขณะเดียวกัน นายวิเชียร วิริยะประสิทธิ์ อัยการสูงสุด กลาววา ไดมีการเรียกประชุมระดับผูบริหารสํ านักงานอัยการ ทั้งในสวนของรองอัยการและอธิบดีสวนตางๆ เพื่อหารือเกี่ยวกับการโอนยายสังกัดเขาก.ยุติธรรม ในวันที่ 29 ต.ค.2544 เพื่อระดมความคิดเห็นของผูบริหารสํ านักงานอัยการ เกี่ยวกับการโอนยายสังกัดวามีความคิดเห็นกันอยางไรเมื่อตองไปอยูในความดูแลของก.ยุติธรรม ที่ยังไมแนวาจะตองขึ้นตรงกับนายปองพล อดิเรกสาร รองนายกฯหรือนายพงศเทพ เทพกาญจนา รมต.ยุติธรรม และระบุวารัฐบาลเองก็ยังไมมีความชัดเจนวาจะใหสํ านักงานอัยการสูงสุดขึ้นตรงกับใคร และมีสถานภาพอยางไรในตนสังกัดใหม จึงตองรีบหาขอสรุปในสวนของอัยการใหเสร็จสิ้นกอนการประชุมปฏิรูประบบราชการใหมในวันที่ 2 พ.ย.2544 นี้ เพื่อนํ าความเห็นของอัยการเขาช้ีแจงในที่ประชุมดังกลาว

ดานสํ านักงานตํ ารวจแหงชาติ (สตช.) นายชุมพล กาญจนะ ประธานคณะกรรมาธิการตํ ารวจ สภาผูแทนราษฎร กลาวในเรื่องการโอนยายวาไมเห็นดวยในเรื่องนี้และพยายามกลาวเสมอวาจะอยูตรงไหนหรือทํ าอยางไรแตประชาชนตองไดประโยชนสูงสุด ตํ ารวจตองปกปองดูแลทุกขสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนการยายไปสังกัดกับก.ยุติธรรมจึงไมเหมาะสม เนื่องจากกระบวนการยุติธรรมที่ไปเกี่ยวของกับตํ ารวจมีอยูนิดเดียวคือการสืบสวนสอบสวนทํ าสํ านวนคดี และที่สํ าคัญกระบวนการยุติธรรมหากไปรวมที่เดียวกันหมดประชาชนยอมเสียเปรียบและเสียประโยชน และสรุปวากระบวนการยุติธรรมตองมีการถวงดุล และคานอํ านาจซึ่งกันและกันและบอกวาจะจัดสัมมนาใหญในวันที่ 29 ต.ค.2544 มารวมแสดงความเห็นในเรื่องนี้ แลวขอสังเกตทั้งหมดจะนํ าเสนอตอนายกฯกอนวันที่ 2 พ.ย.เพื่อนํ าไปประกอบการพิจารณากอนการประชุมปฏิรูประบบราชการรวมทั้งเสนอสภาผูแทนราษฎร และสื่อมวลชนดวย สวน พล.อ.สัณต ศรุตานนทผบ.ตร. ยืนยันวา สตช.ควรเปนหนวยงานที่อิสระ เพราะปจจุบันกินงบประมาณมากคงรอยละ 38 ของก.มหาดไทย หากยายไปสังกัดก.ยุติธรรมเกรงวาจะไมสามารถแบกรับไดและอาจมีปญหาในการทํ างานกรณีเกิดเรื่องเรงดวน ที่เดิมสามารถหารือรวมกับฝายความมั่นคงทั้ง 3เหลาทัพไดทันที เชน การประกาศกฎอัยการศึก หากตองผานก.ยุติธรรมกอนปญหาอาจลุกลามได นอกจากนี้ ตํ ารวจยังมีระบบพัดยศแตกตางจากขาราชการที่เปนขั้น สวนพล.ต.อ.ประทิน สันติประภพ ส.ว.กทม. เห็นวาปจจุบัน สตช.ไมมีอํ านาจในการพิจารณาแตงตั้งโยกยายเองแตผานนายกฯและรองนายกฯ ดังนั้น จึงอยากใหรัฐบาลพิจารณาปรับโครงสรางใหมทั้งหมด เนื่องจากตอไปตํ ารวจภูธรจะมีความสํ าคัญมากเพราะตองขึ้นตรงกับผูวาราชการจังหวัด ดังนั้น หากสามารถจัดการใหกรมตํ ารวจมีความเปนระบบมากขึ้นจะเปนประโยชนตอประชาชน (มติชน14,17,181044,สยามรัฐ15,17,20,301044,กรุงเทพธุรกิจ 291044)

2.2 ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการปฏิรูประบบราชการ ยังมีประเด็นขัดแยงหลายเรื่อง นักวิชาการวิจารณวา จุดออนสํ าคัญคือการใหขาราชการพิจารณาลดทอนอํ านาจตนเอง โดยไมใชคนนอกแวดวงราชการเขามามีสวนรวม

วันที่ 28 ก.ย.2544 มีการประชุมปรับโครงสรางและการบริหารภาครัฐ ใชเวลานานกวา 13 ช่ัวโมง ในการยกเครื่องหนวยราชการไทยใหม ดวยวิธีการโอน ยาย ยุบ และการตั้งหนวยงานใหม มีการเพิ่มกระทรวงจาก 15 แหงเปน 17 แหง และอาจเพิ่ม 2 กระทรวงใหมคือ ก.

Page 56: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

199

พลังงานและก.ทองเที่ยว ซ่ึงไดรับการวิพากษวาเบื้องหนาของการเคลื่อนไหวดังกลาวคือการพลิกโฉมหนาของระบบราชการไทย แตเบ้ืองหลังคือเกมยื้อและแยงชิงอํ านาจระหวางรมต.พรรครวมรัฐบาล โครงสรางหรือโมเดลที่สํ านักงาน ก.พ.นํ าเสนอตอที่ประชุมถูกคัดคานปรับเปลี่ยนจนหาขอยุติไมได พิจารณาไดจาก 10 ประเด็นที่เปนที่ถกเถียงกันในที่ประชุม อาทิ งานเจรจาดานการคาตางประเทศจะขึ้นกับก.พาณิชยหรือก.ตางประเทศ กระทรวงใดจะดูแล การสหกรณ การจัดทํ างบประมาณจะโอนไปอยูก.คลังหรือสํ านักนายกฯ สํ านักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน(ป.ป.ง.) จะขึ้นกับ ก.คลังหรือก.ยุติธรรม งานดานพลังงานจะยกระดับเปนทบวงหรือไม กิจการโทรคมนาคมจะโอนนโยบายและขอตกลงมาขึ้นกับก.วิทยฯหรือไม การทองเที่ยวจะตั้งเปนทบวงหรือมีเพียงคณะกรรมการประสานงาน ทบวงกีฬาควรมีหรือไม หรือจะรวมการทองเที่ยวและบันเทิงเขาไปดวย การพัฒนาชุมชนควรอยูกับ ก.พัฒนาสังคม และงานปองกันและปราบปรามยาเสพติดควรขึ้นกับ ก.ยุติธรรมหรือไม เปนตน และที่มีปญหามากคืองานดานการสื่อสารโทรคมนาคมที่มีผลประโยชนมหาศาล เปนที่ตองการของ รมต.หลายกระทรวงที่ตองการใหไปขึ้นกับตน เชน ก.วิทยฯ สํ านักนายกฯ ขณะที่นายกฯพ.ต.ท.ทักษิณเสนอใหต้ังกระทรวงไอทีและการสื่อสารโทรคมนาคม สวนงานสํ านักงบประมาณ นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รมต.คลังเสนอใหขึ้นกับก.คลัง เพื่อใหกระบวนการจัดทํ างบประมาณและการเบิกจายเบ็ดเสร็จ แตนายจาตุรนต ฉายแสง รมต.สํ านักนายกฯ ไมเห็นดวยเพราะเกรงวาจะขาดการถวงดุล ซ่ึงทางออกในเบื้องตนคือ แยกสวนบริหารทั่วไปใหคงอยูกับสํ านักนายกฯแตสวนที่เกี่ยวของกับการจัดทํ างบประมาณการอนุมัติเงินและโครงการขึ้นกับ ก.คลัง นอกจากนี้ ยังมีขอทวงติงกรณีที่นายวันมูหะหมัดนอร มะทา รมต.คมนาคม เสนอใหรวมกลุมงานความมั่นคงภายใน ทั้งสํ านักงานตํ ารวจแหงชาติ อัยการและกรมราชทัณฑ ขึ้นกับ ก.ยุติธรรมและใหเปลี่ยนช่ือเปนก.ธรรมาภิบาล

อยางไรก็ตาม ในสวนของพ.ต.ท.ทักษิณ ยังคงสามารถกุมอํ านาจสํ าคัญในการบริหารประเทศไวไดที่สํ านักนายกฯ 6 ดานดวยกันคือ 1)ดานการเงิน คือสํ านักงบประมาณ 2) ดานคนและโครงสรางการบริหารประเทศคือสํ านักงานก.พ. 3) ดานแผนงานคือสํ านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติหรือสภาพัฒนฯ 4) งานดานขอมูลขาวสารคือกรมประชาสัมพันธ สํ านักงานสถิติแหงชาติและงานดานไอที 5) งานดานความมั่นคง คือสภาความมั่นคงแหงชาติและสํ านักงานขาวกรองแหงชาติ 6) งานดานเจรจาการคาตางประเทศคือสํ านักผูแทนการคาไทยหรือทีทีอาร และที่นาจับตาคือ การเพิ่มจํ านวนกระทรวงทํ าใหตองเพิ่มจํ านวนรมต. แตการที่รัฐธรรมนูญกํ าหนดใหมีรมต.ไดไมเกิน 36 คน ทํ าใหตองเพิ่มตํ าแหนงผูชวยรมต. เทียบเทารมช. และรมต.ประสานงาน เทียบเทารองนายกฯ จึงถูกต้ังขอสังเกตวาเตรียมตํ าแหนงไวรองรับ ส.ส.ของรัฐบาลและเอกชนที่มีความสัมพันธกับรัฐบาลและรองรับพรรคชาติพัฒนาที่จะเขามาเปนพรรครวมรัฐบาลในป 2545

วันที่ 16 ต.ค.2544 นายจาตุรนต ฉายแสง รมต.ประจํ าสํ านักนายกฯในฐานะรองประธานคณะกรรมการการปฏิรูประบบราชการ(ปรร.)และประธานอนุกรรมการจัดทํ าแผนและติดตามประเมินผลการปฏิรูประบบราชการเปดเผยวา ที่ผานมาไดทํ าหนังสือสงใหคณะอนุกรรมการ 5 คณะ ที่แบงงานตามแผนการปฏิรูประบบราชการดานตาง ๆ ทบทวนนโยบายการทํ างานและการใชงบประมาณซ่ึงเปนเงินกูจากตางประเทศกวา 3,000 ลานบาท และมีการอนุมัติใชเงินไปแลว 2,590 ลานบาท โดยชี้แจงถึงเหตุผลที่ตองสงเรื่องไปใหประธานคณะอนุกรรมการทั้ง 5 คณะ เนื่องจากเปน 5 คณะที่มีการใชงบประมาณโดยแจงไปวาขอใหทบทวน สํ าหรับกรอบการทบทวนคือ 1) โครงการควรดํ าเนินการตอไปควรเปนโครงการหรือกิจกรรมที่มีผลผลิตเปนรูปธรรม สามารถวัดผลงานไดชัดเจน สวนกิจกรรมที่เห็นผลหรือวัดผลไดในระยะยาว ขอใหใชงบประมาณปกติ 2) ขอใหพิจารณาตัดทอนโครงการที่สงผลตอการสูญเสียเงินตราออกตางประเทศ 3) หากทบทวนแลวเห็นควรใหมีการดํ าเนินการตอในสวนของการพัฒนาระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ขอใหคํ านึงถึงคาใชจายในการบํ ารุงรักษาระบบในอนาคตดวยวา คุมคาแกการลงทุนหรือไม 4) ขอใหพิจารณาปรับลดงบประมาณที่ตองใชในการผลิตสื่อประเภทตาง ๆ ที่มีราคาสูง 5) ขอใหพิจารณาปรับหรือตัดงบประมาณดานการกอสรางอาคารสถานที่ที่ไมจํ าเปน

ทั้งนี้ ในสวนของกรอบเงินงบประมาณที่ครม.ใหความเห็นชอบไปแลวไดแก 1) แผนปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจและวิธีบริหารงานของภาครัฐจํ านวน 1,428 ลานบาท ไดอนุมัติใหดํ าเนินการไปแลว 524 ลานบาท 2) แผนการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ การเงินและพัสดุกรอบเงินที่ครม.ชุดที่แลวเห็นชอบ 993 ลานบาท อนุมัติใหดํ าเนินการแลว 887 ลานบาท 3) แผนการปรับเปลี่ยนระบบบริหารบุคคลมีกรอบเงินที่ครม.ชุดที่แลวใหความเห็นชอบจํ านวน 431 ลานบาท 4) แผนการปรับเปลี่ยนกฎหมาย มีกรอบเงินที่ครม.ชุดที่แลวใหความเห็นชอบจํ านวน 321 ลานบาท ซ่ึงไดอนุมัติใหดํ าเนินการไปแลว 309 ลานบาท 5) แผนปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและคานิยม จํ านวน 345.5 ลานบาทอนุมัติใหดํ าเนินการไปแลว 343 ลานบาท นอกจากนี้ยังมีเงินสํ ารองฉุกเฉินและจํ าเปนที่ครม.ใหความเห็นชอบอีก 472 ลานบาท ไดใชจายไปแลว 17.9 ลานบาท ทั้ง 5 แผนมีกรอบเงินที่ครม.ชุดที่แลวใหความเห็นชอบจํ านวน 3,991 ลานบาท แตไดใชจายไปแลว 2,512 ลานบาท มียอดเงินเหลือที่ยังไมไดมีการอนุมัติอีกจํ านวน 1,478.8 ลานบาท เร่ืองดังกลาวไดแจงใหนายปองพล อดิเรกสาร รับทราบแลว ซ่ึงการทบทวนเสมือนเปนการรื้อแผนการปฏิรูประบบราชการสมัยรัฐบาลนายกฯชวน หลีกภัย ซ่ึงใชวงเงินกวา 4,000 ลานบาท เพราะเกรงวาจะเปนภาระกับรัฐบาลชุดนี้ โดยเลือกเฉพาะที่สอดคลองกับทิศทางการปฏิรูปของรัฐบาลชุดปจจุบัน

Page 57: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

200

สวนโครงสรางกระทรวงใหม 17 กระทรวง ในบางประเด็นควรพิจารณาใหรอบคอบและตองมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนวาเพื่อแกปญหาประเทศ และควรรวบรวมขอมูลใหครบถวนในการที่จะรวมเอาหนวยงานที่คลาย ๆ กันมารวมกันเพื่อจัดเปนกระทรวง และทบทวนใหชัดเจน สวนการปฏิรูประบบราชการที่มีการประชุมไปเมื่อวันที่ 28 ก.ย.2544 นั้นทางคณะทํ างานประกอบดวยคณะอนุกรรมการ ก.พ. และคณะกรรมการปรร. จะหารือรวมกันอีกครั้งในวันที่ 21 ต.ค.2544 ที่โรงแรมอมารี วอเตอรเกต เพื่อปรับกระบวนการทํ างานใหรวมเปนคณะเดียวกัน และจะหารือถึงการปรับปรุงเงินเดือนและคาตอบแทนของขาราชการใหม เพราะกรอบเงินเดือนและคาตอบแทนของขาราชการทั่วไปยังตํ่ ากวาราคาตลาด ทํ าใหขาดแรงจูงใจและเปนบอเกิดของการทุจริต อยางไรก็ตาม แหลงขาวจากทํ าเนียบรัฐบาลเปดเผยวาการปฏิรูประบบราชการโดยเฉพาะการปรับโครงสรางกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ ในชวงที่ผานมามีปญหาอยางมาก แมจะมีนายปองพล อดิเรกสาร รองนายกฯและประธานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนและประธานปรร. สาเหตุจากนายเฉลิม ศรีผดุง ซ่ึงเปนเลขาธิการปรร. ดํ ารงตํ าแหนงรองเลขาธิการ ก.พ.มีคุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค เลขาธิการก.พ. เปนเลขาธิการนั้น ทํ าใหฝายการเมืองมองวา ก.พ.มีบทบาทในการปฏิรูประบบราชการมากกวาคณะกรรมการปรร.

วันที่ 21 ต.ค.2544 นายจาตุรนต ฉายแสง แถลงภายหลังการประชุมคณะอนุกรรมการจัดทํ าแผนงานปฏิรูประบบราชการ วาที่ประชุมไดพิจารณาหลักการสํ าคัญเพิ่มเติมที่สอดคลองกับการกระจายอํ านาจสวนทองถิ่นจากหลักการเดิม 5 ประการคือ 1) ภารกิจของระบบราชการควรจะนอยลงเนื่องจากมีการกระจายอํ านาจไปใหทองถิ่น 2) ขจัดภารกิจที่ไมจํ าเปน ลาสมัย ไมฟงความเห็นจากภาคเอกชนและประชาชน โดยตองลดความซํ้ าซอนของหนวยราชการ ลดระบบการทํ างาน โดยเนนเรื่องการกระจายอํ านาจในการจัดกระทรวง ทบวง กรมเพื่อใหการจัดโครงสรางเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 3) ตองมีความเปนอิสระ คลองตัวในการบริหารและการตรวจสอบ 4) การปรับเปลี่ยนแนวทางและวิธีการในการจัดการเรื่องงบประมาณ ซ่ึงในที่ประชุมมีความเห็นรวมกันวาใหเนนเรื่องงบประมาณที่จัดใหเปนเครื่องมือของนโยบายในการเพิ่มบทบาทของกระทรวง ทบวง กรม นอกจากนี้ ยังเปลี่ยนวิธีการบริหารงานบุคคล ระบบเงินเดือน และคาตอบแทนอื่นๆ และ5) การสนองความตองการหรือการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม ไมแตเทานี้ นายจาตุรนตยังกลาวถึงขอสรุปของที่ประชุมเกี่ยวกับรูปแบบระบบราชการที่มีความหลากหลายอยู 4 แบบ คือ 1) กลุมแนวทางพื้นฐานที่เปนภารกิจของภาครัฐคือรูปแบบของกระทรวง 2) กลุมงานดานยุทธศาสตรของประเทศคือรูปแบบของกระทรวง 3) กลุมงานที่ดํ าเนินการแกปญหาคือองคการเฉพาะกิจ เพราะตอนนี้ยังไมรูวาจะเรียกช่ือวาอะไร และ 4) การทํ างานแบบเปนองคคณะ ต้ังขึ้นเพื่อคาดหวังเปนเฉพาะดานในภารกิจที่มีลักษณะตาง ๆ กัน

นอกจากนี้ ที่ประชุมไดมีการแสดงความคิดเห็นในสวนความรับผิดชอบของสํ านักนายกฯ ก.มหาดไทย และก.ยุติธรรม ซ่ึงเปนสายงานบริหาร โดยมีผูแสดงความคิดเห็นที่คอนขางแตกตางกัน เชน การจัดทํ างบประมาณวาจะใหขึ้นตรงกับสํ านักนายกฯและเบิกจายตรงกับก.คลัง สวนการกระจายอํ านาจนั้น มีความเห็นวาคณะกรรมการกระจายอํ านาจ ตองใหองคกรมีความเปนอิสระมากขึ้นและเพิ่มบทบาทใหสํ าคัญมากขึ้น สวนงานขาวขอมูลนั้นมีการตั้งขอสังเกตวาหากขึ้นตรงกับสํ านักนายกฯจะเปนการใชดุลพินิจทางการเมืองมากเกินไปหรือไมอีกทั้งยังมีการแสดงความเห็นเกี่ยวกับคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน(บีโอไอ) วาจะเพิ่มหรือลดบทบาทหรือจะใหขึ้นตรงกับก.อุตสาหกรรมสวนสํ านักงานสถิติแหงชาติที่ประชุมยังมีความเห็นขัดแยงกันอยูวาจะสังกัดสภาพัฒนฯหรือเปนอิสระเพื่อจะตรวจสอบขอมูลกันและกันได สํ าหรับขอมูลในการประชุมครั้งนี้ คณะกรรมการปฏิรูปรวมกับคณะอนุกรรมการก.พ.จะไดรวมกันกลั่นกรองความเห็นและทํ าเปนขอสรุปเพื่อจะไปรวมกับการประชุมในวันที่ 29 ต.ค.2544 ที่มีนายปองพล เปนประธานและประชุมคณะกรรมการจัดทํ าปฏิรูประบบราชการในวันที่ 2พ.ย. ซ่ึงมีนายกฯเปนประธาน ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการปฏิรูปฯยังคงตองประสานงานรวมกันตอไป และรวมรับฟงความคิดเห็นจากหนวยราชการที่เกี่ยวของมากกวานี้ เพราะที่ผานมา ยังไมไดรับฟงหนวยงานที่ปฏิบัติ และหลังจากการประชุมวันที่ 2 พ.ย. ซ่ึงนาจะไดเคาโครงการปฏิรูปแลว คาดวาจะสามารถสงเรื่องใหคณะกรรมการปฏิรูปฯรับฟงความเห็นจากภาคเอกชน ประชาชน และหนวยราชการเพิ่มเติม โดยจะเนนประโยชนของประชาชนเปนสํ าคัญ

อยางไรก็ตาม นักวิชาการคือนายธเนศวร เจริญเมือง อาจารยคณะสังคมศาสตร ม.เชียงใหม หนึ่งในคณะอนุกรรมการจัดทํ าแผนงานและติดตามผลการปฏิรูประบบราชการ ไดแสดงความเห็นเกี่ยวกับการปฏิรูประบบราชการวาคงไมบรรลุเปาหมาย โดยคาดหมายวาการประชุมวันที่ 2 พ.ย.จะยังคงไมมีความคืบหนาใด ๆ เนื่องจากรัฐบาลยังมีความเขาใจเรื่องการปฏิรูประบบราชการไมเพียงพอ สงผลใหขาราชการมีอํ านาจแข็งแกรงตอไป และช้ีจุดออนของรัฐบาลในเรื่องการกระจายอํ านาจสูทองถิ่น แตกลับต้ังคณะกรรมการขาราชการพลเรือนมาทํ าการปฏิรูป ซ่ึงเปนไปไมไดอยูแลวที่ขาราชการจะยอมลดอํ านาจของตัวเอง เร่ืองนี้จึงนาที่จะมีคนนอกเขามาดํ าเนินการและเปดประเด็นใหมและวิจารณวาในการประชุมเมื่อวันที่ 28 ก.ย. พ.ต.ท.ทักษิณ ยังฟงก.พ.มากเกินไป ซ่ึงฝายขาราชการก็ตองทํ าทุกอยางมิใหตนตองสูญเสียหรือสูญเสียนอยที่สุด และสรุปวาการปฏิรูประบบราชการตอนนี้ยังไมมีอะไรเลยและยังฟงคนไมรอบดาน นายกฯตองมีเจตนารมณทางการเมืองที่มุงมั่น คืออยูเพื่อใหตัวเองเล็กลง และแนะนํ านายกฯวาการปฏิรูประบบราชการจะตองยืดเยื้อจะเรงกระทํ าอยางรวดเร็วไมได และตองถือเปนงานหลักของรัฐบาล ทํ าอยางจริงจัง และสังคมตองเขามาชวย เพราะประเด็นปญหาของสังคมไทยทุกเรื่องเกี่ยวของกับเร่ืองนี้ ทุกขของ

Page 58: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

201

ประชาชนในเรื่องนี้คือปญหาของระบบราชการ นายกฯตองเดินสายฟงประชาชน และบอกวาขณะนี้มีคนเขาใจเรื่องการปฏิรูประบบราชการเพียงบางสวน บางสวนก็ถูกระบบราชการครอบงํ า ไมยอมวางมือจากอํ านาจและผลประโยชนของตนเอง รัฐบาลตองทํ าใหการปกครองสวนทองถิ่นมีความเขมแข็งมากขึ้นและเมื่อเพิ่มงานใหทองถิ่นเขาไปก็จะชวยลดงานในสวนราชการมากขึ้นโดยมี 3 วิธีการสอดประสานกันคือ 1)ปฏิรูปโดยตั้งคณะกรรมการขึ้นมาดํ าเนินการในเรื่องนี้ คิดจากบนสูลาง ซ่ึงคนที่จะทํ าในเรื่องนี้ ตองเขาใจประเด็นชัดเจน กลาที่จะสูญเสียประโยชนของตนเอง 2)เสริมขางลางขึ้นขางบน คือเสริมความเขมแข็งใหองคการปกครองสวนทองถิ่น ปลุกประชาชนใหมีความรู และ 3)ปฏิรูประบบการศึกษา ซ่ึงบอกวามีการทํ าแตไมไดทํ าเพราะยังไมปรากฏผลงานในเชิงปฏิบัติอะไรเลย เนื่องจากผูบริหารและคนในรัฐบาลไมเขาใจการปฏิรูปการศึกษาอยางถองแท (กรุงเทพธุรกิจ 02,19,22,291044,ผูจัดการ 191044,สยามรัฐ 201044,)

2.3 ความเคลื่อนไหวขององคกรอิสระ2.3.1 การล็อบบ้ี กกต.และปญหากระบวนการเลือกสรร กกต. ชุดใหมการเลือกคณะกรรมการการเลือกต้ัง(กกต)ชุดใหมเปนเรื่องขึ้นมา ประเด็นสํ าคัญคือมีใบปลิวลงช่ือนายกฯพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

สั่งล็อบบ้ีใหเลือกผูถูกเสนอชื่อเปนคณะกรรมการการเลือกต้ัง 4 คนเมื่อวันที่ 1 ต.ค.2544 ซ่ึงสมาชิกพรรคประชาธิปตยเรียกรองใหพ.ต.ท.ทักษิณ เปดเผยรายชื่อผูจัดทํ าใบปลิวดังกลาว แตพ.ต.ท.ทักษิณ บอกวาใบปลิวปลอมลายเซ็นนายกฯนี้ ยังไมออกมาจึงไมมีหลักฐานเอาผิดได สวนพล.ต.มนูญกฤต รูปขจร ประธานวุฒิสภายืนยันวา เมื่อคณะกรรมาธิการตรวจสอบประวัติผูไดรับการเสนอชื่อและพิจารณาเสร็จแลวจะบรรจุเร่ืองในวาระการประชุมกอนวันที่ 5 ต.ค.2544 โดยเลือกเรียงตามลํ าดับผูที่ไดคะแนนมากไปหานอย และเลือกใหครบ 5 คน ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 138 คงจะไมมีการหารือกันนอกรอบ แมวาจะมีขาวในเรื่องการล็อบบ้ีก็ตาม เพราะเปนเพียงคํ าพูดที่ไมมีหลักฐาน และส.ว.ทุกคนลวนแตมีความรับผิดชอบ มีความรู มีวุฒิภาวะ และตนเองก็ไมเช่ือเรื่องใบปลิว (กรุงเทพธุรกิจ 021044,สยามรัฐ 031044)

วันที่ 10 ต.ค.2544 ที่สํ านักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง(กกต.) นายธีรศักด์ิ กรรณสูต ประธาน กกต. นายสวัสด์ิ โชติพานิช นายโคทม อารียา นายจิระ บุญพจนสุนทร กกต.และ ร.ต.วิจิตร อยูสุภาพ เลขาธิการ กกต. ใหการตอนรับคณะกรรมาธิการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน วุฒิสภาจํ านวน 15 คน นํ าโดยนายคํ านวณ ชโลปถัมภ ประธานคณะกรรมาธิการ ซ่ึงนายสวัสด์ิใหสัมภาษณวา ทราบวากกต.ชุดใหมไดแบงงานกันแลว โดยใหนายปริญญา นาคฉัตรีย เปนกกต.ฝายการเลือกต้ัง นายจรัล บูรณพันธศรี เปนกกต.ฝายสืบสวนสอบสวน นายวีระชัย แนวบุญเนียร เปนกกต.ฝายพรรคการเมือง และพล.ต.ท.วาสนา เพิ่มลาภ เปนกกต.ฝายการมีสวนรวม

นอกจากขาวลือเรื่องใบปลิวล็อบบ้ีรายช่ือ กกต.แลว กระบวนการสรรหา กกต. ยังเปนประเด็นที่ถูกหยิบยกวาไมโปรงใส จะเห็นไดวา ในวันที่ 10 ต.ค.2544 ที่อาคารทิปโก คณะกรรมการรณรงคเพื่อประชาธิปไตย(ครป.) นํ าโดยนายสุริยะใส ตักกะศิลา รองเลขาธิการ ครป.เขายื่นหนังสือตอนายพิเชต สุนทรพิพิธ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา เพื่อสงเรื่องใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยกระบวนการสรรหา กกต.ชุดใหมวาขัดตอรัฐธรรมนูญหรือไม โดยนายสุริยะใส กลาววา ขณะนี้ กกต.กํ าลังมีการดํ าเนินการสอบสวนกรณีการรองคัดคานผลการเลือกต้ัง ส.ส.คางอยูกวา 200 เขต ซ่ึงทํ าใหไมมั่นใจวากกต.ชุดใหมที่เขาไปจะทํ าใหสํ านวนที่มีอยูออนลงหรือไม เนื่องจากกระบวนการสรรหาไมชอบมาพากล อยางไรก็ตาม หากมีการโปรดเกลาฯแตงต้ังแลว การคัดคานของเราก็จะเปนการสรางบรรทัดฐานในการสรรหาผูบริหารในองคกรอิสระตอไปได สวนนายพิชิต กลาววาจะรับไปศึกษาในรายละเอียดวาประเด็นที่รองขอมานั้นจะสามารถสงใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยไดหรือไม โดยตองขอขอมูลไปยังวุฒิสภา โดยเฉพาะคณะกรรมาธิการสามัญตรวจสอบฯ แตหากสงเรื่องใหศาลรัฐธรรมนูญตีความก็คงไมสงผลตอ กกต.ชุดใหมทั้ง 5 คน อีกทั้งผูรองก็ไมไดติดใจกับผูที่ไดรับเลือกเปนกกต. 5 คน แตเปนเรื่องของกระบวนการสรรหาเทานั้น สวนพล.ต.มนูญกฤต รูปขจร ตอบคํ าถามในเรื่องนี้วาเปนสิทธิของครป.

วันเดียวกันสมาพันธประชาธิปไตย นํ าโดย นพ.เหวง โตจิราการ ประธานสมาพันธฯ นายวีระ สมความคิด เลขาธิการ พรอมคณะเดินทางเขาพบนายอุทัย พิมพใจชน ประธานรัฐสภา เพื่อยื่นหนังสือขอใหพิจารณาเสนอเรื่อง “กระบวนการสรรหาและเลือกคณะกรรมการการเลือกต้ัง” ตอศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยวาขัดตอรัฐธรรมนูญหรือไม ในประเด็นกรรมการสรรหาจากตัวแทนอธิการบดี ซ่ึงการเลือกตัวแทนจํ านวน 4 คนนั้น มาจากมติที่ประชุมอธิการบดีเพียง 9 คน จากจํ านวนทั้งสิ้น 28 คน ซ่ึงนอยกวา 1 ใน 3 ของทั้งหมด ดังนั้น จึงไมครบองคประชุมของอธิการบดีทั้งหมดตามรัฐธรรมนูญมาตรา 138 ที่ระบุวาจะตองมีอธิการบดีทุกแหง และการที่คณะกรรมการสรรหาคัดช่ือนายพยนต พันธศรี ผูสมัครออกกอนการลงมติเลือกในรอบที่ 6 แลวเลือกพล.อ.ศิรินทร ธูปกลํ่ า และนายสมชัย ศรีสุทธิยากร ตองพิจารณาวาขัดตอรัฐธรรมนูญมาตรา 138 (1) หรือไม (มติชน 10,111044)

2.3.2 กมธ.องคกรอิสระวุฒิสภาเรง คตง.สอบทุจริตในอบต.วันที่ 18 ธ.ค.2544 กรรมาธิการองคกรอิสระ วุฒิสภา เดินทางเยี่ยมการทํ างานของสํ านักงานตรวจเงินแผนดิน(สตง.) โดยมีนาง

จารุวรรณ เมณฑกา วาที่ผูวาการตรวจเงินแผนดิน ใหการตอนรับและบรรยายสรุปวาการที่สัญญาการจัดซ้ือจัดจางในหนวยงานราชการยังมีขอบกพรองอีกหลายประเด็น จึงเปนชองทางที่ทํ าใหเกิดการฉอราษฎรบังหลวงในวงราชการ แตสตง.ไมสามารถทํ าอะไรไดมากนักเพราะมี

Page 59: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

202

บุคลากรและงบประมาณจํ ากัด รวมทั้งยังไมไดโปรดเกลาฯตั้งตํ าแหนงผูวาการสตง. อยางไรก็ตาม ไดวางการทํ างานไววาจะใหความสํ าคัญกับการตรวจสอบบัญชีใหมากขึ้น โดยมิใหหนวยงานที่ถูกตรวจสอบรูลวงหนา และใชวิธีการจางทีมงานอิสระเขาไปตรวจสอบบัญชีการทํ างานของขาราชการในแตละหนวยเปนงวดๆไป เพื่อใหเกิดความรวดเร็ว ดาน ม.ร.ว.กํ าลูนเทพ เทวกุล ประธานคณะกรรมาธิการองคกรอิสระแสดงความเห็นวา สตง.ไมสามารถตรวจสอบงบประมาณของอบต.ทั่วประเทศ ที่มีการทุจริตกันมากไดอยางครอบคลุม และเสนอใหสตง.ทํ างานรวมกับเจาหนาที่บัญชีของก.มหาดไทยในการเรียกบัญชีการใชงบประมาณของอบต.มาตรวจสอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งการกอสรางโครงการใหญ ๆ ซ่ึงมักมีการล็อบบ้ีและโกงกันเปนขบวน สวนนายสมเกียรติ ออนวิมล โฆษกคณะกรรมาธิการเสนอวาใหเปดเว็ปไซตสตง.ออนไลนเพื่อใหประชาชนตํ าบลตางๆรับรูขอมูลความเคลื่อนไหวภายในองคกร และสามารถสงเรื่องราวรองทุกขมาใหสตง.ตรวจสอบไดงายขึ้น สํ าหรับนายกมล มั่นภักดี รองประธานคณะกรรมาธิการเสนอใหสตง.สุมสถานที่และสงเจาหนาที่ลงไปตรวจบัญชีโดยไมตองแจงใหผูบริหารอบต.ทราบลวงหนา เพียงแตออกหนังสือเวียนวาจะมีการออกสุมตรวจสอบบัญชี เช่ือวาจะชวยลดปญหาการทุจริตลงไปไดบาง(พิมพไทย 191244)

2.4 ความเคลื่อนไหวดานการเมืองทองถิ่น2.4.1 เตรยีมถายโอนอํ านาจสูทองถิ่นแมรัฐสภายังไมไดรับทราบรางแผนการถายโอนก็ตามผศ.วุฒิสาร ตันไชย อาจารยคณะสังคมศาสตร ม.ธรรมศาสตร ในฐานะกรรมการกระจายอํ านาจสูองคกรปกครองสวนทองถิ่น เปด

เผยวา แมรางปฏิบัติการกํ าหนดขั้นตอนการกระจายอํ านาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่คณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบแลวจะยังไมไดนํ าเขารายงานตอรัฐสภา เพื่อใหมีผลบังคับใชตามกฎหมาย เนื่องจากมีการปดสมัยประชุมกอน แตสวนตัวเช่ือวาจะไมใชปญหาใหญ เพราะชวงที่รอนํ าเขารายงานในสมัยประชุมรัฐสภาหนาก็สามารถเตรียมความพรอมตางๆได ทั้งนี้ เช่ือวารัฐสภาคงจะไมยับยั้งรางดังกลาว เพราะในกฎหมายกํ าหนดเพียงแคการรายงานใหรัฐสภารับทราบเทานั้น โดยสาระสํ าคัญของรางแผนปฏิบัติการกระจายอํ านาจสูทองถิ่นจะระบุรายละเอียดเกี่ยวกับภารกิจในการถายโอนใหกับทองถิ่น องคกรทองถิ่นที่จะไดรับการถายโอน เงื่อนระยะเวลาและวิธีการถายโอน ซ่ึงตัวอยางภารกิจที่จะตองถายโอนมีทั้งหมด 245 เร่ืองจาก 50 กรม 11 กระทรวง อาทิ ภารกิจดานการกอสราง บํ ารุงถนนหนทางตางๆ ถายโอนจากกรมโยธาธิการ กรมเรงรัดพัฒนาชนบท(รพช.) โดยองคการบริหารสวนตํ าบล(อบต.)กับเทศบาล จะดูแลในพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง สวนองคการบริหารสวนจังหวัด(อบจ.) จะดูแลถนนที่เช่ือมตออํ าเภอตางๆและใหเร่ิมถายโอนตั้งแตปงบประมาณ 2545 เปนตนไป ดังนั้น ภารกิจของหนวยราชการตาง ๆ จะเหลือนอยลง เนื่องจากถายโอนใหกับทองถิ่นเพิ่มมากขึ้น (พิมพไทย 021244)

3. ประเทศไทยกับการตางประเทศ3.1 สถานการณประเทศไทยกับการเปดฉากถลมอัฟกานิสถานของสหรัฐ3.1.1 เศรษฐกิจไทยไดรับผลกระทบสถานการณสูรบในยานเอเชียขณะนี้นับเปนวิกฤติเศรษฐกิจอีกระลอกหนึ่งของประเทศไทยนั่นคือตลาดการคาเกิดใหมของไทย

อาทิ อินเดีย ปากีสถาน และกลุมตะวันออกกลางที่ไทยไดพยายามบุกเบิกและวางกลยุทธไวเพื่อเปนแหลงกระจายสินคาสงออกของไทยทามกลางความซบเซาของตลาดสงออกหลัก บริษัท ศูนยวิจัยกสิกรไทย จํ ากัด ประเมินผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยวาเหตุการณสหรัฐโจมตีอัฟกานิสถานบั่นทอนเสถียรภาพตลาดเกิดใหมของไทยในดินแดนตะวันออกกลาง และเอเชียใต ใน 3 ประเด็นหลัก ไดแก ดานการคา การสงออกไปตลาดตะวันออกกลาง-เอเชียใตสูญ 700 ลานดอลลารสหรัฐ การทองเที่ยว สูญเสียรายไดจากนักทองเที่ยวจากเอเชียใตหายไป14,000 ลานบาท และดานแรงงานไทยในตางแดนสูญเสียรายไดจากการขายแรงงานในตะวันออกกลาง-เอเชียใต สวนผลดีที่ไทยไดรับจากเหตุการณคร้ังนี้ ไดแก ไทยสามารถสงออกไดเพิ่มขึ้นจากการที่อินเดีย-ปากีสถาน ที่ไดรับผลกระทบหนักจากสงคราม พันธมิตรสหรัฐที่ไดรับเงินสนับสนุนจะมีการซ้ือสินคาเพิ่มขึ้น รวมทั้งจากไทย และชาวตะวันออกกลางหนีภัยสงครามมาไทยเพิ่มขึ้น เมื่อมีการใชการกอการรายดวยเชื้อโรคแอนแทรกซขึ้นในสหรัฐและประเทศตางๆทั่วโลกนั้น ประเทศไทยปรากฏจดหมายมรณะประเภทนี้ที่จังหวัดสุโขทัย มีตนทางจากประเทศเกาหลี แตตรวจสอบแลวไมพบเชื้อโรคแอนแทรกซแตอยางใด เปนเพียงแปงฝุนใชโรยตัวเทานั้น ที่จังหวัดสุราษฎรธานีพบซองจดหมายบรรจุแปงฝุนมีตนทางจากนครศรีธรรมราช อยูระหวางการตรวจสอบ (กรุงเทพธุรกิจ 101044,พิมพไทย 211044,สยามรัฐ 221044,พมิพไทย 231044)

3.1.2 ชาวไทยมุสลิมเคลื่อนไหวตอตานการถลมอัฟกานิสถานของสหรัฐวันที่ 17 ต.ค.2544 ชาวไทยมุสลิมมีการเคลื่อนไหวตอตานการโจมตีอัฟกานิสถานของสหรัฐ ทั้งนี้ ที่สํ านักงานคณะกรรมการอิส

ลามประจํ าจังหวัดนครศรีธรรมราช นายกริยา กิจจารักษ รองเลขาธิการ คณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย นายสติ ปนตะ ประธานคณะกรรมการอิสลามประจํ าจ.นครศรีธรรมราช ไดประชุมรวมกับแกนนํ ามุสลิมในภาคใตกวา 40 คน เพื่อวางมาตรการเตรียมการชุมนุมของ

Page 60: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

203

ชาวมุสลิม 10 จังหวัดภาคใตตอนบนในวันที่ 21 ต.ค.2544 ที่สนามหนาเมืองนครศรีธรรมราช หลังการประชุมมีการแจกแถลงการณรวมของคณะกรรมการอิสลามประจํ าจังหวัดเขต 2 จํ านวน 10 จังหวัดภาคใตตอนบน ประกอบดวย 1) สนับสนุนแถลงการณของคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทยและตางประเทศ 2) ถอนเงินฝากในธนาคารสหรัฐหรือสถาบันการเงินอื่น ๆ ที่สหรัฐมีหุนสวน และไมรวมทํ าธุรกิจใดๆกับสหรัฐ 3) เรียกรองใหผูนํ าประเทศมุสลิมตัดความสัมพันธหรือทบทวนความสัมพันธกับสหรัฐใหม 4) เชิญชวนใหมุสลิมทั่วประเทศชุมนุมคัดคานการทํ าสงครามของสหรัฐและพันธมิตร และใหยุติการเขนฆาประชาชนผูบริสุทธิ์ 5) ประสานงานและแจกแถลงการณรวมไปยังมัสยิดตาง ๆ กวา 3,000 แหงทั่วประเทศใหถือปฏิบัติพรอมกันและเปนไปอยางตอเนื่อง 6) เรียกรองใหสื่อมวลชนเสนอขาวตรงไปตรงมา โดยใหคํ านึงถึงขอเท็จจริงและใหความเปนธรรมกับทั้งสองฝาย ทั้งนี้นายฟครุดดีน บอตอ ส.ว.นราธิวาส กลาววา จุดยืนของสมาพันธมุสลิมโลกและสหพันธอาหรับโลก ไมเห็นดวยกับการโจมตีอัฟกานิสภานเปนหมื่น ๆ คน และในวันที่ 21 ต.ค.2544 จะมีการทํ าละหมาดใหญและจะควํ่ าบาตรสหรัฐดวยการไมซ้ือสินคาสหรัฐ แตมั่นใจวาการเคลื่อนไหวจะไมบานปลาย เพราะมีจุฬาราชมนตรี เปนผูนํ าควบคุมใหอยูในกรอบของกฎหมาย

วันที่ 20 ต.ค.2544 นายสุลักษณ ศิวรักษ ผูอํ านวยการสันติประชาธรรม แสดงความคิดเห็นภายใตหัวขอวิกฤติการณปจจุบันกับจิตสํ านึกของผูศรัทธา จัดโดยกลุมมุสลิมผูรักสันติ ที่มูลนิธิเพื่อศูนยกลางอิสลามแหงประเทศไทยวาการที่สหรัฐและชาติพันธมิตรรวมกันโจมตีอัฟกานิสถาน เปนการกอการรายที่รายแรงกวาผูกอการรายถลมตึกเวิลดเทรดและอาคารเพนตากอน ชาวโลกตองรวมมือกันประณามเพราะสหรัฐจะไมดูดํ าดูดีกับประเทศที่ไมเดินตามทางของสหรัฐ การที่ประธานาธิบดีสหรัฐใหเด็กชาวอเมริกันสละเงินเพื่อชวยเหลือชาวอัฟกันเปนการเลนละครตบตาชาวโลก สวนศ.ดร.อิมรอน มะลูลีม ส.ว.กทม.เรียกรองใหชาวมุสลิมลุกขึ้นมาตอสูทาทายอํ านาจของสหรัฐที่กํ าลังวางแผนจัดระเบียบโลกใหม เช่ือวาสหรัฐกํ าลังพยายามทํ าทุกวิถีทางที่จะแบงแยกโลกมุสลิมออกจากกัน โดยใหอาวุธและเงินแกพี่นองมุสลิมเขนฆากันเอง

สํ าหรับนายวันมูหะหมัดนอร มะทา รมต.คมนาคม กลาววาการรวมตัวกันของชาวไทยมุสลิมเปนไปอยางสันติ มีเหตุผลและเชื่อผูนํ า จึงไมเปนหวงวาจะมีมือที่สามเขาไปแทรกแซงหรือเบี่ยงเบนประเด็น เพราะเปนการรวมตัวเพื่อสันติภาพ มีวัตถุประสงคเพื่อสวดมนตขอพรจากพระผูเปนเจา เปนเรื่องของจิตใจเพื่อใหเกิดสันติสุขขึ้นกับประชาชนทั่วโลก ในขณะที่มีการสูรบระหวางสหรัฐกับอัฟกานิสถาน และในวันที่ 22 ต.ค.2544 ชาวไทยมุสลิมในภาคใตจะรวมกันสวดอวยพรเพื่อใหเกิดสันติสุข นอกจากนี้ ตนยังไดหารือกับจุฬาราชมนตรีตลอดเวลา และในวันที่ 21 ต.ค.2544 เวลา 14.00 ที่มัสยิดซีอารุดดีน(บานสระบัว) ริมถนนสายนครศรีธรรมราช-ทาศาลา ม.6 ต.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราชมีชาวมุสลิมจาก 10 จังหวัดภาคใตจํ านวนหลายหมื่นคนหลั่งไหลมารวมทํ าพิธีละหมาดขอพรตอพระผูเปนเจาใหสงครามในอัฟกานิสถานสงบลงโดยเร็ว และใหโลกเกิดสันติ ขณะเดียวกันบริเวณดานขางมัสยิดไดเปดเวทีปราศรัยโจมตีสหรัฐอยางรุนแรงและแจกแถลงการณหามชาวไทยมุสลิมซ้ือหรือสนับสนุนสินคาสหรัฐ เชน ไกเคเอฟซี และรานเอแอนดดับบลิว เปนตน ซ่ึงมีประกาศจากคณะกรรมการอิสลามแหงประเทศไทยวาจะไมมีการรับรองตราฮาลาลแกสินคาเหลานี้เพื่อตอตานสหรัฐ

วันที่ 22 ต.ค.2544 นายอาซิส เบ็ญฮาวัน กรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทยมีมติถอนทะเบียนตราฮาลาลรายการสินคาสหรัฐไปแลว 4 รายการและมีแนวโนมวาจะถอนตราฮาลาลเพิ่มขึ้นอีก เปนการแสดงวาชาวมุสลิมไมเห็นดวยกับการไปทํ าลายชีวิตผูบริสุทธิ์ในอัฟกานิสถานและการที่ชาวมุสลิมใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใตออกมารวมพลังละหมาดฮายัดเกือบ 100,000 คน ถือวาเปนการกระทํ าที่อยูในแนวทางตอสูแบบสันติวิธี นอกจากนี้ นายอดินันต ฮะซานี คณะกรรมการรณรงคตอตานสินคาสหรัฐและพันธมิตร สมาคมยุวมุสลิมแหงประเทศไทย กลาววา สมาคมฯ ไดประสานไปยังองคกรมุสลิมในกลุมประเทศอาเซียน เพื่อขอรายชื่อสินคาของสหรัฐ อังกฤษและพันธมิตรเพื่อนํ ามาแจกจายใหชาวมุสลิมรวมกันตอตานไมซ้ือ ไมขาย ในสวนของรานคามุสลิมในประเทศไทยไดประชุมหารือกันวาจะมีการพลิกปายโฆษณา ซ่ึงเปนสินคาของสหรัฐและพันธมิตรเพื่อมิใหเห็นขอความ ถือวาเปนการบอยคอตอีกวิธีหนึ่งที่จะเริ่มดํ าเนินการ และจะไมใชวิธีการทํ าลายปายหรือใชความรุนแรงใด ๆ

วันที่ 28 ต.ค.2544 กลุมองคกรมุสลิมในประเทศไทยไดจัดเสวนาวิเคราะหสถานการณโลกมุสลิมเรื่อง “ความแตกตางระหวางสหรัฐกับอัฟกานิสถานในการทํ าสงคราม” โดยมีนายอาณัฐ อมาตกุล อาจารยคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ม.มหิดลเปนวิทยากร ที่หองประชุมใหญมูลนิธิกลางอิสลามแหงประเทศไทย โดยนายอาณัฐกลาววาเปนสงครามที่คูสงครามมีความแตกตางกันอยางสิ้นเชิงไมวาจะเปนดานกํ าลังคนและอาวุธ โดยระบุวา สหรัฐสามารถผลิตอาวุธไดมากที่สุดในโลก และสรางความรํ่ ารวยจากการจํ าหนายอาวุธ การทํ าสงครามครั้งนี้ก็เพื่อหวังโฆษณาขายอาวุธของสหรัฐนั่นเอง รวมถึงการเขาไปมีบทบาทในตะวันออกกลาง เพราะตองการลาอาณานิคม โดยมีจุดมุงหมายหวังผลประโยชนในบอนํ้ ามัน ที่สํ าคัญสหรัฐยังมิไดเปนเจาของบอนํ้ ามันในอัฟกานิสถาน สวนกรณีนายโอซามะห บิน ลาดิน เปนเพียงตัวละครของสหรัฐที่สรางขึ้นเพื่อโจมตีอัฟกานิสถาน เพราะเปนคนเดียวที่กํ าความลับของสหรัฐเนื่องจากเคยเปนแนวรวมทํ าสงครามตอตานรัสเซียเมื่อครั้งบุกเขายึดอัฟกานิสถานมากอน และไมเห็นดวยที่สหรัฐจะเขนฆาทํ าลายลางมนุษยที่บริสุทธิ์

Page 61: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

204

วันที่ 9 พ.ย.2544 ที่บริเวณสนามกีฬาราชมังคลากีฬาสถาน หัวหมาก มีชาวไทยมุสลิมประมาณ 30,000 คน จากกทม. และอีก 5จังหวัดคือ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา นครนายก และฉะเชิงเทรา ไดรวมประกอบพิธีละหมาดฮายัด ภายใตการนํ าสวดมนตขอพรของนายสวาสดิ์ สุมาลยศักด์ิ จุฬาราชมนตรี ซ่ึงใหโอวาทวา การกระทํ าของสหรัฐที่โจมตีอัฟกานิสถานทํ าใหผูบริสุทธิ์ตองลมตายเปนการกระทํ าที่ไมสมควร และบอกวาใหพี่นองชาวมุสลิมชุมนุมดวยความสงบสันติภาพ เพราะครั้งนี้ไมใชการชุมนุมครั้งสุดทายแตจะมีการชุมนุมไปจนกวาสหรัฐจะยุติการโจมตีอัฟกานิสถาน (มติชน 181044,พิมพไทย 21,291044,สยามรัฐ 221044,พิมพไทย 111144)

3.1.3 พ.ต.ท.ทักษิณ เดินทางเยือนสหรัฐระหวางวันที่ 13-19 ธ.ค.2544 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯและคณะเดินทางเยือนสหรัฐอยางเปนทางการเปาหมายสํ าคัญคือ

การลงนามในกรอบความรวมมือดานยุทธศาสตรทางเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศโดยจะสรางความสัมพันธในลักษณะการเปนหุนสวนทางเศรษฐกิจและมีการดํ าเนินการที่เปนรูปธรรม โดยกรอบความรวมมือที่จะลงนามที่สํ าคัญ เชน ผลักดันใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการขนสงสินคาทางอากาศในภูมิภาคนี้ ใหไทยเปนศูนยกลางการผลิตช้ินสวนเครื่องบิน เชน ยางลอเครื่องบิน ศูนยกลางการซอมเครื่องบินนานาชาติโดยใชสนามบินอูตะเภา เปนตน ทั้งนี้ สหรัฐไดขอบคุณประเทศไทยที่ใหความรวมมือในการปราบปรามการกอการรายสากล โดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ขาวกรอง การใหความคุมครองสถานทูตสหรัฐในประเทศไทย คุมครองเครื่องบิน และติดตามผูตองสงสัยที่จะเปนผูกอการราย สวนนายโรนัลด รัมสเฟลด รมต.กลาโหมไดหยิบยกเรื่องการสกัดกั้นการฟอกเงินมาหารือดวย ซ่ึงไทยไดแจงวา ไทยกํ าลังจะเขาสูระบบและกระบวนการที่จะสกัดกั้นเรื่องนี้อยางจริงจังโดยไดออกกฎหมายฟอกเงินมาควบคุมแลว

ประธานาธิบดีจอรจ บุช แหงสหรัฐและพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯ ไดออกแถลงการณรวมเนนยํ้ าถึงความเปนพันธมิตรระหวางกันและยืนยันการเปนหุนสวนในการดํ าเนินความพยายามในหลายๆดานภายใตพื้นฐานของพันธะรวมกันพรอมแสดงความเชื่อมั่นวาพันธมิตรนี้เปนเสาหลักตอเสถียรภาพของภูมิภาคเอเชียแปซิฟกและภูมิภาคอื่น ๆ ซ่ึงสิ่งที่ผูนํ าทั้งสองประเทศมีความเห็นรวมกัน อาทิ ภัยวิบัติจากการกอการราย การลักลอบขนสงยาเสพติดและภัยคุกคามชาติอื่นๆ ความจํ าเปนในการมีกลุมอาเซียนที่เขมแข็งและมีเอกภาพ ฯลฯ ทั้งนี้วันที่ 15 ธ.ค.2544 พ.ต.ท.ทักษิณ และคณะเปดแถลงขาวผานระบบทางไกลผานดาวเทียม (วิดีโอคอนเฟอเรนซ) มายังประเทศไทย ณ สถานทูตสหรัฐประจํ าประเทศไทย โดยพ.ต.ท.ทักษิณ บอกวาไดเปนพยานการลงนามความรวมมือระหวางบริษัทเซอรเบอรรัส แคปปตอล แมเนจเมนทกับธนาคารกรุงไทยและสถาบันการเงินของไทยที่จะรวมกันลงทุนในโครงการกองทุนรวมทุน(แมตซซิงฟนด)คือรัฐบาลจะลงทุนดวยไมเกินรอยละ 25 และนักลงทุนตางประเทศรวมลงทุนรอยละ 75 และไดเชิญใหประธานาธิบดีจอรจ บุชเดินทางมาเยือนประเทศไทยดวย รวมทั้งเปดโอกาสใหผูสื่อขาวตั้งคํ าถามในหลายประเด็นดวยกัน อาทิ อุตสาหกรรมอะไหลและยางเครื่องบินที่สหรัฐสนับสนุนใหไทยเปนศูนยกลางจะเริ่มเมื่อใด นักธุรกิจสหรัฐสนใจจะมาลงทุนในไทยดานใดเปนพิเศษ ประเทศไทยจะสงทหารเขาไปชวยฟนฟูอัฟกานิสถานหลังสงครามอยางไร ซ่ึงในกรณีอัฟกานิสถานนี้ พ.ต.ท.ทักษิณ บอกวา สหรัฐยังไมไดรองขอใหไทยสงทหารไปยังอัฟกานิสถาน เพราะเปนเรื่องขององคการสหประชาชาติ ซ่ึงถาหากขอรองมาไทยก็พรอมที่จะใหการสนับสนุน โดยสงไปในลักษณะดานมนุษยธรรม คือไปชวยฟนฟูดานความเปนอยูเหมือนกรณีติมอรตะวันออก ซ่ึงทหารไทยทํ าไดดีมากในการเขาไปชวยเหลือในนามกองกํ าลังรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ

วันที่ 16 ธ.ค.2544 พ.ต.ท.ทักษิณเปนประธานการประชุมหัวหนาสวนราชการหรือ “ทีมไทยแลนด” ที่กรุงวอชิงตัน กอนออกเดินทางไปนิวยอรก โดยถือวาเอกอัครราชทูตประจํ าประเทศตาง ๆ ตองเปนตัวแทนของนายกฯและเปนหัวหนาทีมยุทธศาสตรเพื่อทํ างานในเชิงรุกมากกวาการตั้งรับเพราะที่ผานมาพบวาต้ังรับถึงรอยละ 98 และเตือนวาอยารังเกียจภาคเอกชนที่เขาไปลงทุน สวนนายสมคิด จาตุศรีพิทักษรองนายกฯและรมต.คลัง กลาววารัฐบาลพรอมใหการสนับสนุนงบประมาณในการดํ าเนินการจัดการของทีมไทยแลนดแตขอใหเปนยโครงการที่เนนการล็อบบ้ีและเกิดประโยชนเพราะหากเกิดปญหาทีมไทยแลนดตองสามารถทํ างานเชิงรุกได แทนที่จะตองรอใหรัฐบาลมาดํ าเนินการ

หลังจากเดินทางกลับประเทศไทย พ.ต.ท.ทักษิณ นายกฯ เปดแถลงขาวอยางเปนทางการถึงผลการเดินทางเยือนสหรัฐที่ตึกไทยคูฟา ทํ าเนียบรัฐบาลในวันที่ 20 ธ.ค.2544 วาประสบความสํ าเร็จอยางมาก เพราะที่ผานมาไดเดินทางสรางยุทธศาสตรความสัมพันธระหวางประเทศในเอเชีย โดยเฉพาะประเทศหลักๆ ไดแก จีน ญี่ปุน และอินเดีย ดังนั้น จึงจํ าเปนตองวางยุทธศาสตรรวมกับสหรัฐดวย เพื่อใหเพียงพอตอการแขงขันทางเศรษฐกิจยุคใหม ซ่ึงทางสหรัฐใหการยอมรับฐานะไทยวาปนศูนยกลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในดานเศรษฐกิจและเนนเรื่องการขนสงทางอากาศ เพราะจะทํ าใหสามารถวางแผนการใชทรัพยากรที่มีอยูเชนสนามบินทั้งสองแหงไดอยางถูกตองโดยขณะนี้ถือวาสหรัฐเปนหุนสวนทางยุทธศาสตรเศรษฐกิจและการเมืองไทยแลว ทั้งนี้ พ.ต.ท.ทักษิณบอกวาไดกลาวถึงนโยบาย 2 ดานของไทยคือการแกปญหาความยากจนและเศรษฐกิจเขมแข็ง และไดมอบหนาที่ใหนายอดิศัย โพธารามิก รมต.พาณิชย หารือกับผูแทนสหรัฐเพื่อตกลงกันในการศึกษาความเปนไปไดในการทํ า FTA หรือเขตการคาเสรีระหวางไทยกับสหรัฐ ซ่ึงถือวาเปนสิ่งที่สํ าคัญมาก เพราะไทยสงออกสินคาไปสหรัฐมากกวา ถาทํ าเขตการคาเสรีได โอกาสที่จะขยายดานการตลาดก็มีสูงและทํ าใหระบบโควตาที่มีอยูในปจจุบันเปลี่ยนไป และไดสรุปวา การเดินการเมืองระหวางประเทศเพียงแคมีความสัมพันธระหวางประเทศจะไมเกิดประโยชนอะไร แตถาเดินยุทธศาสตร ความเปน

Page 62: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

205

หุนสวนทางยุทธศาสตรก็จะทํ าใหไทยมีบทบาทมากขึ้นทั้งในเรื่องเศรษฐกิจและการเมืองระหวางประเทศ นอกจากนี้ ยังไดพบกับเลขาธิการสหประชาชาติและหารือถึงเรื่องความรวมมือสรางความปรองดองในรัฐบาลพมาอีกครั้ง โดยทางสหประชาชาติไดมอบหมายใหนายลาซารีมาเจรจากับรัฐบาลพมา และเพิ่มเติมวาสหรัฐไดกลาวช่ืนชมรัฐบาลไทยหลายรัฐบาลในการแกปญหาการแพรระบาดของโรคเอดสการปราบปรามยาเสพติด และโครงการพระราชดํ าริที่เนนการปลูกพืชทดแทนฝนไดสํ าเร็จ สํ าหรับการเขาไปฟนฟูอัฟกานิสถานนั้น ไทยจะใชโอกาสนี้สรางตลาด และสนับสนุนการปลูกพืชทดแทนฝนดวย

ดานฝายคาน นายจุรินทร ลักษณวิศิษฏ กรรมการบริหารพรรคประชาธิปตย วิจารณการเดินทางไปเยือนสหรัฐของพ.ต.ท.ทักษิณที่วาประสบความสํ าเร็จสูงสุด เปนการคุยเกินจริง และวิจารณในเรื่องความรวมมือกับสหรัฐในการผลิตยางลอเครื่องบินโดยใชวัตถุดิบยางพาราของประเทศไทยวาไมสามารถแกปญหาราคายางตกตํ่ าได เพราะการผลิตเครื่องบินไมไดผลิตจํ านวนมากและเปนเรื่องไกลตัว หัวใจสํ าคัญอยูที่การผลิตยางรถยนตมากกวา และบอกวานายกฯควรเจรจาในประเด็นใหผลิตยางรถยนตมากขึ้นโดยใชยางพาราของไทยจะแกไขปญหาราคายางไดดีกวา (กรุงเทพธุรกิจ 07,13,15-171244,มติชน 07,08,12-16,18,21,221244,ไทยโพสต 151244,ผูจัดการ 171244,พิมพไทย 211244,มติชนสุดสัปดาห 17-231244)

4.ความเคลื่อนไหวดานการเมืองการปกครองในตางประเทศ4.1 ความเคลื่อนไหวดานการตางประเทศของสหรัฐปรากฏหลายเรื่อง ทั้งรางแผนยุทธศาสตรฉบับ

ใหม การถลมอัฟกานิสถาน การเผชิญหนากับสงครามเชื้อโรค และการเปลี่ยนแปลงนโยบายในภูมิภาคเอเชียอาคเนย

4.1.1 ยุทธศาสตรปองกันฉบับใหมของสหรัฐเนนเอเชียเปนสํ าคัญ ขณะเดียวกันก็ยังรักษาพื้นที่อื่นๆดวยนายโดนัลด รัมสเฟลด รมต.กลาโหมสหรัฐ ไดเสนอราง “ยุทธศาสตรการปองกันประจํ ารอบ 4 ป” (Quadrennial Defence

Review) แกรัฐสภาในวันที่ 1 ต.ค.2544 หลังจากที่ก.กลาโหมและผูนํ าทางทหารมีการถกเถียงและทบทวนยุทธศาสตรใหมของประเทศตามรายงานฉบับนี้มาแลวหลายเดือน ทามกลางกระแสขัดแยงในกลุมผูนํ าระดับสูง ทั้งนี้ สาเหตุจากปญหาการทาทายความมั่นคงโลกไดเปลี่ยนแปลงไปหลังสงครามเย็นยุติ รางยุทธศาสตรฉบับดังกลาวตั้งสมมติฐานสํ าคัญ 2 ประการคือ 1) สหรัฐเปนผูนํ าโลกในการครอบครองอาวุธที่ใชรบตามแบบ (conventional weapon)ทุกชนิด ซ่ึงเปนการปองปรามมิใหประเทศอื่นใดดํ าเนินรอยตามอิรักในการทาทายหรือเผชิญหนากับแสนยานุภาพของกํ าลังรถถัง เครื่องบินรบหรือเฮลิคอปเตอรของสหรัฐ 2) การทาทายที่อาจจะเกิดขึ้นตอไปจึงนาจะเปนในรูปแบบของอาวุธชนิดพิเศษหรืออาวุธนอกแบบ(unconventional weapon)โดยศัตรู จะฉกฉวยความไดเปรียบจากจุดออนที่สหรัฐมีระบบสังคมและเศรษฐกิจที่เปดกวาง นอกจากนี้ ศัตรูอาจจะไมมีสถานะเปนรัฐหรือประเทศ ความคาดคะเนดังกลาวเปนลักษณะของการทํ าสงครามขามรุนหรือสงครามที่มีแสนยานุภาพตาง(asymmetrical warfare)

อยางไรก็ตาม รางยุทธศาสตรฉบับนี้มิไดเสนอแนวทางการปรับปรุงโครงสรางของกองทัพเหมือนรายงานฉบับเมื่อ 4 ปที่แลว ที่เสนอใหลดจํ านวนทหารประจํ าการลง เพื่อนํ างบประมาณไปใชมุงเนนในการพัฒนาอาวุธที่ใชเทคโนโลยีระดับสูงใหมากขึ้น แตกลับเรียกรองใหทุมเงินกอนโตปรับปรุงอาวุธยุทโธปกรณทั้งสองประเภท คือทั้งอาวุธที่ใชเทคโนโลยีระดับสูง และอาวุธที่ใชเทคโนโลยีแบบธรรมดา อีกทั้งรายงานยังไดปฏิเสธแนวคิดการโดดเดี่ยวตนเอง(Isolationism) โดยชี้วาสหรัฐมีผลประโยชนกระจายอยูทั่วทั้งโลกจึงจํ าเปนตองรุกไปขางหนาโดยเฉพาะอยางยิ่งในภูมิภาคมหาสมุทรแปซิฟกและมหาสมุทรอินเดีย โดยเนนไปที่พื้นที่ไรเสถียรภาพซ่ึงเปนแนวโคงตั้งแตตะวันออกกลางไปจดเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือในภูมิภาคแถบนี้มีทั้งพลังอํ านาจที่กํ าลังเสื่อมถอยและพลังอํ านาจที่กํ าลังกอตัวขึ้น และบางประเทศยังมีขีดความสามารถในการสรางหรือซ้ืออาวุธนอกแบบที่มีอานุภาพในการทํ าลายลางสูง

รางขอเสนอดังกลาวจึงระบุใหก.กลาโหม สั่งใหกองทัพเรือเพิ่มกองเรือบรรทุกเครื่องบินในภูมิภาคแปซิฟกตะวันตก โดยเพิ่มจํ านวนเรือรบพื้นผิวนํ้ า เรือดํ านํ้ า เพิ่มการปฏิบัติการลาดตระเวนของกองเรือบรรทุกเครื่องบิน รวมทั้งหาลูทางนํ าเรือรบและเรือดํ านํ้ าอีก 4-5 ลํ า ที่สามารถบรรทุกขีปนาวุธนํ าวิถีเขาไปลอยลํ าในภูมิภาคดังกลาว และเพิ่มที่ต้ังฐานทัพและฐานทัพอํ านวยความสะดวกในการเติมเช้ือเพลิงและซอมบํ ารุง กองทัพเรือจะตองไดรับงบประมาณเพิ่มขึ้นเพื่อใชในปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็ว โดยกองเรือจากทะเลเมดิเตอรเรเนียนหรือมหาสมุทรอินเดียหรือพื้นที่หางไกลออกไปไดโดยรวดเร็ว และเนนโดยไมระบุรายละเอียดวาจะตองมีการหาชองทางเขาสูเอเชียเพิ่มเติมใหแกกองกํ าลังของอเมริกันดวย ขณะเดียวกันก็ยังรักษาฐานทัพสํ าคัญแหลงตางๆในยุโรปตะวันตกและเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ และรวมถึงการขยายการปฏิบัติการขาวกรองอีกดวย ไมแตเทานี้ ภายในรางยุทธศาสตรยังระบุวากองทัพสหรัฐจะตองปฏิรูปในดานเทคโนโลยี เพื่อใชประโยชนจากความไดเปรียบในดานเทคโนโลยีสารสนเทศใหมากที่สุด แตถึงกระนั้นในรางฯมิไดระบุรายละเอียดเกี่ยวกับอาวุธที่กํ าลังเปนปญหาโตแยงอยูในขณะนี้ เชน ปนใหญ Crusader ที่สามารถเคลื่อนที่ไดอยางรวดเร็วและเครื่องบินใบพัดแนวตั้ง V-22วาควรดํ าเนินการจัดสรางหรือไม

Page 63: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

206

อนึ่ง นายรัมสเฟลดยํ้ ามาตลอดวาสหรัฐจะตองไมลดทอนภารกิจที่กํ าหนดไวหรือพันธมิตรในยุโรป แตขณะเดียวกันเอเชียก็ทวีความสํ าคัญมากขึ้น เพราะวาเอเชียกํ าลังเปนภูมิภาคที่มีการแขงขันทางทหารในระดับสูง ดินแดนเอเชียตะวันออกนับจากอาวเบงกอลไปถึงทะเลญี่ปุน จะเต็มไปดวยปญหาทาทายที่นาวิตกที่สุด การรักษาดุลเสถียรภาพในเอเชียนั้นเปนงานที่ยากลํ าบากมากดวยเงื่อนไขดานขนาดของพื้นที่อันกวางใหญไพศาล ระยะทางอันยาวไกล อีกทั้งฐานทัพและโครงสรางทางทหารของสหรัฐในเอเชียยังนอยกวาภูมิภาคอื่น เพียงแคมีเรือบรรทุกเครื่องบินประจํ าการอยูในญี่ปุน แตไมมีเรือบรรทุกเครื่องบินประจํ าอยูที่ใดเลยในอาณาบริเวณ

จากการโจมตีอาคารเวิลดเทรดที่เพิ่งเกิดขึ้นทํ าใหเปนที่ชัดเจนวาสหรัฐจํ าเปนตองขยายการปฏิบัติการปองกันในประเทศและเพิ่มงบประมาณสํ าหรับกองกํ าลัง 1.4 ลานคนของประเทศ และก.กลาโหมยังมีแผนจัดตั้งหนวยงานใหมคือ “ หนวยบัญชาการตอสูรวม” เพื่อชวยรับมือกับประเด็นภายในที่ซับซอนและเพื่อกํ าหนดใหมีตํ าแหนงผูบัญชาการผสมเพียงคนเดียว ทํ าหนาที่ดูแลประเด็นซับซอนระหวางหนวยงาน รวมถึงออกคํ าสั่งที่เนนการสนับสนุนดานการทหาร ซ่ึงโครงรางใหมที่นายรัมสเฟลดเสนอนี้ระบุวาสหรัฐจะเปลี่ยนแปลงแผนความมั่นคงฉบับเกาที่มีอายุนับทศวรรษ ซ่ึงกํ าหนดวาสหรัฐจะตอสูและพิชิตศึกอยางทวมทนใน 2 อาณาบริเวณพรอมกัน สํ าหรับยุทธศาสตรใหมระบุวาสหรัฐจะตอสูศึกใน 2 อาณาบริเวณอยางมีประสิทธิภาพพรอมกัน แตจะไมประสบชัยชนะอยางทวมทนเหนือพื้นที่ทั้งสองแหง โดยแนวคิดของประธานาธิบดีกองทัพอเมริกันจะสามารถพิชิตชัยชนะเหนือศัตรูไดอยางเด็ดขาดหนึ่งในสองพื้นที่ โดยวางแนวทางของสหรัฐในอาณาบริเวณนั้น และขจัดภัยคุกคามใดๆที่อาจระเบิดขึ้นในอนาคต สมรรถนะเหลานี้จะรวมถึงความสามารถในการยึดครองดินแดนและจัดเงื่อนไขเพื่อความเปลี่ยนแปลง เพราะกลยุทธใหมจะหันไปเนนที่รูปแบบการรบของศัตรูมากกวาการหาตัวศัตรูหรือจุดที่อาจเกิดสงคราม

เจาหนาที่ก.กลาโหมกลาววา จากผลการศึกษากวา 20 ชุด ที่นายรัมสเฟลดสั่งการใหหนวยงานตางๆ ลงมือทํ าหลังเผยแผนการทบทวนดานกลาโหม จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมายในอนาคต โดยผลการศึกษาจะถึงมือรมต.กลาโหมภายในฤดูรอนปหนา รางขอเสนอนี้นับเปนการเปลี่ยนแปลงกลยุทธดานความมั่นคงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ของสหรัฐอยางสิ้นเชิง (กรุงเทพธุรกิจ,ผูจัดการ 031044,มติชน301144)

4.1.2 สหรัฐเปดยุทธการทางอากาศถลม “อัฟกัน”- สงครามยกแรกเริ่มตน อัฟกานิสถานถูกถลมเสียหายยับเยิน แตยังไมปรากฏความสํ าเร็จตามที่สหรัฐตองการนับแตเหตุการณวินาศกรรมอาคารเวิลดเทรดและเพนตากอนในวันที่ 11 ก.ย.2544 เปนตนมา ไดปรากฏขาวคราวความเคลื่อน

ไหวโจมตีอัฟกานิสถานของสหรัฐรวมกับอังกฤษจากสื่อมวลชนอยางตอเนื่อง ตัวอยางเชน น.ส.พ.ดิ ออฟเซิรฟเวอร ของอังกฤษ บอกวาสหรัฐและอังกฤษจะโจมตีอัฟกานิสถานในเชาวันที่ 30 ก.ย.2544 ตามเวลาทองถิ่น เพื่อสังหารนายโอซามะห บิน ลาดิน ผูตองหากอวินาศกรรมอาคารเวิลดเทรด และปฏิบัติการทํ าลายเครื่องบินในฐานทัพอากาศ 20 ลํ าของรัฐบาลตอลิบานดวยการยิงจรวดโจมตีจากทั้งภาคอากาศและภาคพื้นดิน หนังสือ ดิ ออฟเซิรฟเวอร อินเทอรเนชันแนล ของอังกฤษ ระบุวาวันที่ 30 ก.ย.2544 ปฏิบัติการโจมตีอัฟกานิสถานจะเริ่มใน 48ช่ัวโมงขางหนา สวนนิตยสารนิวสวีค รายงานเมื่อวันที่ 1 ต.ค.2544 วา สหรัฐระงับแผนการโจมตีเนื่องจากคายผูกอการรายที่กระจายอยูทั่วประเทศกลายเปนคายรางไปแลว เปาหมายที่พอจะโจมตีได ไดแก สถานีเรดาร สถานีโทรทัศน ศูนยบัญชาการรบ คลังเช้ือเพลิง รวมทั้งรถติดต้ังปนกลและเครื่องยิงลูกระเบิด น.ส.พ.นิวยอรกไทมส รายงานโดยอางแหลงขาวระดับสูงที่เปนเจาหนาที่รัฐบาลวาประธานาธิบดีจอรจ บุชลงนามอนุมัติใหรัฐบาลสนับสนุนกํ าลังรบแกกลุมพันธมิตรภาคเหนือในอัฟกานิสถานที่ตอตานรัฐบาลตอลิบานดวย นอกเหนือจากการสนับสนุนทางการเมืองในการชิงอํ านาจจากรัฐบาลตอลิบาน สํ านักขาวเอเอฟพี รายงานวากลุมพันธมิตรทางเหนือที่ไดรับการรับรองจากนานาชาติประกาศวาจะลมรัฐบาลตอลิบานไดภายใน 6-8 สัปดาห

วันที่ 6 ต.ค.2544 ประธานาธิบดีจอรจ บุข ไดโทรศัพทถึงผูนํ ารัฐสภา เพื่อแจงใหทราบถึงแผนการโจมตีอัฟกานิสถาน และไดประชุมคณะที่ปรึกษาดานความมั่นคงผานระบบเทเลคอนเฟอเรนซ และยังไดแจงใหผูแทนของสหภาพยุโรป ประธานาธิบดีวลาดิมีร ปูตินของรัสเซีย และประธานาธิบดีฌารก ซีรัก ของฝรั่งเศส ทราบกอนการปฏิบัติการ รวมทั้งมีจดหมายแจงตอคณะมนตรีความมั่นคงองคการสหประชาชาติวาอาจเปดฉากโจมตีประเทศอื่นดวยหลังจากถลมอัฟกานิสถานแลว และช้ีแจงถึงความชอบธรรมของสหรัฐในการโจมตีอัฟกานิสถานเนื่องจากกฎบัตรประการหนึ่งขององคการสหประชาชาติใหสิทธิประเทศตาง ๆ ในการปองกันตนเอง

วันที่ 7 ต.ค.2544 เวลา 23.27 ตามเวลาในประเทศไทย สหรัฐเปดฉากโจมตีอัฟกานิสถานดวยการสงเครื่องบินทิ้งระเบิดถลมกรุงคาบูล เมืองหลวงของอัฟกานิสถาน โดยเวลา 23.50 น. ตามเวลาในประเทศไทย ประธานาธิบดีจอรจ บุข แถลงอยางเปนทางการทั่วประเทศวาสหรัฐไดปฏิบัติการทางทหารเพื่อตอบโตการกอการรายตอสหรัฐแลว เปนการปฏิบัติการรวมระหวางกองทัพสหรัฐกับอังกฤษ และบอกวาตอลิบานจะตองชดใชฐานที่ไมยอมใหความรวมมือตอคํ าเรียกรองของสหรัฐ วันที่ 8 ต.ค.2544 กองทหารของกองกํ าลังพันธมิตรสหรัฐ-อังกฤษไดเปดฉากโจมตีอัฟกานิสถานอยางตอเนื่อง บริเวณเมืองใหญหลายเมือง โดยมุงทํ าลายระบบปองกันภัยทางอากาศ เพื่อที่จะทํ าใหสหรัฐสามารถควบคุมนานฟาอัฟกานิสถานไดและปูทางไปสูการปฏิบัติการภาคพื้นดินตอไป

Page 64: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

207

พล.ร.ท.เกรกอรี นิวโบลด เจาหนาที่ก.กลาโหมสหรัฐเปดเผยวา ปฏิบัติการถลมอัฟกานิสถานนับต้ังแตวันที่ 7 ต.ค.2544 เปนตนมานั้น สหรัฐใชระเบิดและจรวดยิงโจมตีไปแลวกวา 2,000 ลูก โดยเฉพาะการโจมตีเมื่อวันที่ 16 ต.ค.2544 เพียงวันเดียวสหรัฐสงเครื่องบินรบไปปฏิบัติการกวา 100 ลํ า รวมทั้งเครื่องบินทิ้งระเบิดติดปนกลเอซี-130 มีแสนยานุภาพยิงโจมตีไดในทุกสภาพอากาศทั้งกลางวันและกลางคืนจํ านวน 2 ลํ ามาใชเปนครั้งแรกดวย วันที่ 18 ต.ค.2544 เวลา 02.30 น. กรุงคาบูลถูกโจมตีอีก ฐานทัพของตอลิบานทั่วประเทศหลายแหงถูกทํ าลาย

- สหรัฐเปดฉากปฏิบัติการภาคพื้นดินอยางฉับพลันประสานกับการปฏิบัติการทางอากาศวันที่ 21 ต.ค.2544 พล.อ. ริชารด บี เมเยอร ประธานเสนาธิการรวมกองทัพสหรัฐ เปดเผยวา สหรัฐไดเปดฉากปฏิบัติการรบภาค

พื้นดินในชวงกลางคืนวันที่ 20 ต.ค.2544 โดยหนวยทหารปฏิบัติการรบพิเศษ 2 หนวย คือ “เรนเจอร” ของกองทัพบกสหรัฐ กับหนวย “เดลตาฟอรซ” และไดรายงานผลปฎิบัติการทางทหารเฉพาะวันที่ 20-21 ต.ค.2544 วามีการโจมตีทางอากาศทั้งหมด 85 ครั้งเปาหมายคือ มุงเนนฐานที่มั่นของตอลิบานรวมทั้งเครือขายอัลกออิดะห สวนนายริชารด บูเชอร โฆษกก.ตางประเทศแถลงวาสหรัฐจะยังไมยุติปฏิบัติการทางทหารตออัฟกานิสถานในชวงเดือนถือศีลอด นอกจากจะบรรลุเปาหมายที่วางไวคือสามารถจับตัวหรือสังหารนายโอซามะห บิน ลาดินและทํ าลายเครือขายอัลกออิดะห หรือกลุมระบอบตอลิบานที่ปกครองอัฟกานิสถานยินยอมมอบตัวนายโอซามะห บิน ลาดินใหแกสหรัฐ

จากผลการโจมตีที่ผานมาอัฟกานิสถานประสบความเสียหายอยางหนัก บทสัมภาษณนายมุลเลาะห โมฮัมหมัด โอมาร ผูนํ าสูงสุดของตอลิบานของน.ส.พ.เอล ยอม ของแอลจีเรีย บอกวาสงครามที่แทจริงยังไมเร่ิมตน และบอกวาเปาหมายที่แทจริงของสหรัฐในการทํ าสงครามครั้งนี้คือ การทํ าลายลางอัฟกานิสถานและการเขาครอบครองภูมิภาคนี้ สวนประเด็นนายโอซามะห บิน ลาดินนั้น หากสหรัฐสงหลักฐานที่พิสูจนไดวามีความผิดจริงตามที่กลาวหา ทางตอลิบานก็พรอมนํ าตัวนายโอซามะห บิน ลาดิน ขึ้นศาลพิจารณาความผิดในอัฟกานิสถานหรือในประเทศอาหรับ 3 ประเทศ สวนนายอับดุล ซาลาม ชาอีฟ เอกอัครราชทูตตอลิบานประจํ าปากีสถาน กลาวตอที่ประชุมแถลงขาวในกรุงอิสลามาบัดวาในขั้นตอนแรกของสงคราม ไมปรากฏความสํ าเร็จตามที่สหรัฐตองการ ยกเวนการสังหารหมูพลเรือนชาวอัฟกัน(อาทิตยวิเคราะหรายวัน 02,003,08-131044,ผูจัดการ 08,12-15,17-19,21,23,25,29,311044,05,12,14,15,19,20,21,22,26-281144,มติชน 01,02,04,08,13,17,19,20,23,24,27,301044,03-05,07,12,14,15,19,22,241144,กรุงเทพธุรกิจ 02,04,08,12,15,20,22,24,29,311044,06,08-10,14,15,17,20,21,23,27,291144,สยามรัฐ 03,04,13,22,251044,02,04,06,141144, คม ชัด ลึก 04,05,131144,พิมพไทย 20,21,23,311044,03,05,06,07,09-12,15-17,19,20,21,22,24,26-281144,BangkokPost 231001,04,14,2111 01)

4.1.3 สหรฐัเผชิญหนาสงคราม “แอนแทรกซ” การกอการรายรูปแบบใหม มากับจดหมายมรณะหลังเหตุการณวินาศกรรมอาคารเวิลดเทรดและเพนตากอนในวันที่ 11 ก.ย.2544 เปนตนมา ปฏิบัติการกอการรายดวยอาวุธเช้ือ

โรค อาวุธเคมี ไดรับการกลาวขวัญถึงหลายครั้ง อาทิ วันที่ 30 ก.ย.2544 สํ านักขาวเอเอฟพีไดตีพิมพอางคํ าพูดของนายแอนดรูว คารด หัวหนาสํ านักบริหารประจํ าทํ าเนียบขาวที่ระบุวามีความเปนไปไดสูงที่กลุมกอการรายจะใชอาวุธเคมีและอาวุธชีวภาพในกรณีที่คิดจะกอวินาศกรรมในสหรัฐในครั้งตอไป แตรัฐบาลสหรัฐก็เตรียมพรอมที่จะรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหมดวยการกักตุนวัคซีนตลอดจนอุปกรณทางการแพทยไวแลว โดยยํ้ าวา “ เราไมใชพวกตื่นตระหนกเกินเหตุแตเรารูวาองคการกอการรายตาง ๆ เหลานี้ เตรียมใชอาวุธเคมี และชีวภาพถลมเราในครั้งตอไป” สวนนิตยสาร “นิวสวีค” รายงานโดยอางความเห็นของผูเช่ียวชาญวา การกอการรายโดยใชอาวุธเคมีและอาวุธเช้ือโรคเปนเรื่องที่ทํ าไดยาก แมที่ผานมากลุมอัลกออิดะห ของนายโอซามะห บิน ลาดิน ไดเคยพยายามที่จะใชอาวุธชีวภาพแอนแทรกซและอาวุธเช้ือโรคอื่นๆอาทิ ฝดาษ ตอมนํ้ าเหลือง โจมตีสาธารณรัฐเช็ก มาแลว ทั้งนี้นายเดวิด ฟรานซ พันเอกนอกราชการ เคยทํ างานในสถาบันวิจัยทางการแพทยและโรคติดตอประจํ ากองทัพสหรัฐกลาววา การพัฒนาเชื้อโรคใหเปนผงหรือเปนนํ้ าเพื่อใชในการฉีดพนเปนเรื่องที่ยากในทางปฏิบัติและถือวาเปนสิ่งที่ทาทายในวงการแพทย ไมแตเทานี้ “นิวสวีค” ยังรายงานอีกวามีการนํ าเครื่องตรวจจับสารเคมีเปนพิษมาติดตั้งในระบบรถไฟใตดินของสหรัฐแลวเพื่อใหเปนสวนหนึ่งของระบบเตือนภัยฉุกเฉินไฮ-เทค หลังจากที่ประชาชนหวั่นเกรงกันวากลุมกอการรายจะโจมตีสหรัฐอีกครั้งหนึ่ง และคราวนี้อาจมีการใชอาวุธเคมีและอาวุธเช้ือโรค นอกจากนี้ ยังพิจารณาที่จะติดตั้งเครื่องตรวจจับสารเคมีมีพิษและติดตั้งอุปกรณดังกลาวตามที่สาธารณะอื่น ๆ ดวยเชนกัน

ในคํ าปราศรัยของนายโคฟ อันนัน เลขาธิการองคการสหประชาชาติ ในที่ประชุมสมัชชาทั่วไปแหงองคการสหประชาชาติ ตอประเทศสมาชิกจํ านวน 189 ประเทศทั่วโลกวาดวยแผนกลยุทธระยะยาวในการปราบปรามการกอการราย ก็เรียกรองใหนานาชาติเพิ่มมาตรการเขมงวดในการปองกันการโจมตีดวยอาวุธนิวเคลียร อาวุธเคมีและอาวุธเช้ือโรค และบอกวาการวินาศกรรมในสหรัฐอาจสรางความเสียหายมากกวานี้ ถาหากมีการใชอาวุธที่มีประสิทธิภาพในการทํ าลายสูง ในขณะที่โลกไมสามารถปองกันการโจมตีดังกลาวได แตอาจชวยปองกันไดดวยการบังคับใชสนธิสัญญาวาดวยอาวุธรายแรงอยางจริงจังและประสานความรวมมือระหวางชาติตางๆอยางใกลชิด และวันที่ 2ต.ค.2544 มิเชล มูด้ี ประธานสถาบันควบคุมอาวุธเคมีและชีวภาพ เปดเผยวาแนใจวา บิน ลาดิน จะใชอาวุธที่มีพลังทํ าลายลางสูงเหลานี้

Page 65: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

208

หากสามารถทํ าได และบอกวาสหรัฐจะมีขอเสนอใหมเกี่ยวกับอนุสัญญาอาวุธชีวภาพ ค.ศ.1972 ที่ 143 ชาติรวมทั้งสหรัฐใหสัตยาบันรับรองนั้น ระบุเพียงแตหามการพัฒนา การผลิตและการสะสมวัตถุเช้ือโรค แตยังขาดมาตรการสํ าหรับตรวจสอบหรือพิสูจนวานานาชาติไดปฏิบัติตามสัญญาจริง

จากที่มีการเกริ่นถึงการกอการรายในรูปแบบใหมหลายครั้ง วันที่ 20 ก.ย.2544 ไดมีจดหมายสงจากเมืองเซนตปเตอรสเบิรกรัฐฟลอริดามายังสํ านักงานสถานีโทรทัศนเอ็นบีซี ในนครนิวยอรกในวันที่ 25 ก.ย.2544 ซ่ึงพนักงานหญิงของสถานีไดรับเช้ือโรคแอนแทรกซหลังจากเปดซองจดหมายที่มีผงสีขาวบรรจุอยูคลายคลึงกับจดหมายที่สงไปยังสํ านักพิมพนิวยอรกไทม และถูกสงมาจากที่เดียวกันและใชซองจดหมายที่เหมือนกันอีกดวยเพียงแตฉบับหลังมาถึงในวันที่ 5 ต.ค.2544 แตอาการของการติดเชื้อไมรายแรงนักเนื่องจากเปนการสัมผัสทางผิวหนัง สวนเจาหนาที่ตํ ารวจและเจาหนาที่หองปฏิบัติการที่ทํ าการสืบสวนไดรับสปอรของแอนแทรกซ แตก็ไดรับการรักษาดวยยาปฏิชีวนะแลวคาดวาจะปลอดภัย อยางไรก็ตาม ปรากฏวาในระยะตอมาทารกวัย 7 เดือนบุตรชายของพนักงานโทรทัศนเอนบีซีในนิวยอรกไดติดเช้ือแอนแทรกซทางผิวหนังอีกรายหนึ่ง และมีรายงานขาวผงสีขาวที่ติดมากับหอพัสดุที่สงมายังบริษัทไมโครซอฟตที่เมืองรีโน รัฐเนวาดาไดรับการตรวจสอบแลวปรากฏวาเปนเช้ือแอนแทรกซอยางแนนอน

หลังจากขาววาพนักงานหญิงของสถานีโทรทัศนเอ็นบีซีในนครนิวยอรกติดเชื้อโรคแอนเทรกซทางผิวหนัง ถูกเผยแพรออกไปกระแสความหวาดกลัวเช้ือรายชนิดนี้ ไดแพรสะพัดไปทั้งวงการสื่อสารมวลชนอเมริกา สถานีโทรทัศนเอ็นบีซี สั่งอพยพพนักงานออกจากอาคาร สํ านักขาวตางๆ ทั่วสหรัฐ เขมงวดระบบรักษาความปลอดภัยของหนวยรับพัสดุ พรอมสั่งการใหผูเกี่ยวของจับตาดูพัสดุและจดหมายที่นาสงสัย โดยเฉพาะสํ านักขาวเอพีและซีบีเอสตัดสินใจปดรับไปรษณียภัณฑทันที ขณะที่เครือขายโทรทัศนเอบีซี นิตยสารนิวสวีค และไทมสสั่งงดการติดตอทางไปรษณียภัณฑในเขตนิวยอรก วอชิงตันและแอตแลนตา สวนที่นิวยอรกโพสตก็พบจดหมายที่มีเช้ือแอนแทรกซเชนกัน

ประธานาธิบดีจอรจ บุช ไดออกมาเตือนชาวอเมริกันผานทางสถานีวิทยุวา สหรัฐยังอยูในภาวะที่เสี่ยงตอการตกเปนเปาการโจมตีจากกลุมกอการราย หลังจากที่มีผูติดเชื้อแอนเทรกซและเสียชีวิตไปแลว 1 ราย และไดเรียกรองใหชาวอเมริกันมิใหตกอยูในความตื่นตระหนกใหดํ าเนินชีวิตไปตามปกติและใหหลักประกันวา รัฐบาลไดดํ าเนินการทุกวิถีทางในการรักษาความปลอดภัยอยางเต็มที่ สวนนายดิ๊ก เชนียรองประธานาธิบดีสหรัฐ แถลงตั้งขอสังเกตระหวางใหสัมภาษณทางรายการ “เดอะ นิวสอาร วิธ จิม แลรเรอร” เมื่อวันที่ 13 ต.ค.2544 วาการระบาดของเชื้อแอนแทรกซที่เร่ิมขึ้นนี้อาจเปนฝมือกอการรายดวยอาวุธเช้ือโรคของเครือขายกลุมกอการรายอัลกออิดะห ของนายโอซามะหบิน ลาดิน ที่มีความพยายามลงมือมานานนับทศวรรษ แมขณะนี้สหรัฐจะยังไมมีหลักฐานที่จะปรักปรํ าผูใดไดแตจํ าเปนตองสงสัยกลุมกอการรายกลุมนี้กอน สอดคลองกับแนวคิดของประธานาธิบ ดีจอรจ บุช ที่วาแมจะยังไมปรากฏหลักฐานยืนยันวาเปนฝมือของใคร แตตนเชื่อมั่นวานายโอซามะห บิน ลาดิน ตองเปนผูอยูเบ้ืองหลังอยางแนนอน

ไมแตเทานี้ แมแตสํ านักงานของนายทอม แดสเชิน วุฒิสมาชิกผูนํ าเสียงขางมากในวุฒิสภาสหรัฐก็ไดรับจดหมายมรณะซึ่งเอฟบีไอระบุวาเปนจดหมายทํ านองเดียวกันกับจดหมายที่สงถึงสถานีโทรทัศนเอ็นบีซี สภาผูแทนราษฎรสหรัฐตองปดทํ าการเพื่อตรวจสอบเชื้อโรครายดังกลาว จนกระทั่งวันที่ 22 ต.ค.2544 สถานการณผูปวยโรคแอนแทรกซในสหรัฐยังคงลุกลามอยางตอเนื่อง เจาหนาที่ของสํ านักงานไปรษณียในเมืองเบรนดวูด รัฐวอชิงตัน สํ านักงานไปรษณียที่สงจดหมายมรณะไปใหแกนายทอม แดสเชิล ก็ติดเชื้อผานระบบทางเดินหายใจเขาสูปอด และจากการตรวจของเจาหนาที่ดานสาธารณสุขวอชิงตัน พบผูติดเชื้อเพิ่มขึ้นอีกโดยมีอาการเริ่มแรกเหมือนเปนไขหวัด เจาหนาที่สํ านักงานไปรษณียในวอชิงตันกวา 5,000 คน ถึงกับเขาคิวกันรับการตรวจเลือด และ ก.ตางประเทศออกมาเตือนชาวอเมริกันทั่วโลกใหระวังการกอการรายที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งการกอการรายดวยอาวุธชีวภาพ พรอมกับเรงใหชาวอเมริกันตรวจรางกายเพื่อดูวามีเช้ือแอนแทรกซหรือไม

การระบาดของจดหมายมรณะเขาไปถึงทํ าเนียบขาว โดยนายอารี ฟลีชเชอร โฆษกทํ าเนียบขาว เปดเผยวาเจาหนาที่สอบสวนพบสปอรแอนแทรกซจํ านวนเล็กนอยติดอยูที่เครื่องเปดซองจดหมายภายในศูนยคัดแยกจดหมายที่สงมายังทํ าเนียบขาว แตยังไมตรวจพบจดหมายเชื้อโรค ขณะที่ประธานาธิบดีจอรจ บุช ยืนยันวาตนปลอดภัยจากเชื้อโรค ลาสุดจดหมายแอนแทรกซไดแพรระบาดมาถึงสํ านักงานซีไอเอของสหรัฐแลวแตยังพบปริมาณสปอรในจํ านวนนอย และกอนหนานี้มีขาววาจดหมายตองสงสัยมีไปถึงก.ตางประเทศสหรัฐเชนกัน โดยเจาหนาที่คัดแยกจดหมายรับเช้ือ โดยการสูดดม ทายสุดเช้ือโรครายนี้ปรากฏในหองไปรษณียของสํ านักงานศาลสูงสุดของสหพันธ ของสํ านักงานสถาบันวิจัยการทหารวอลเตอรรีดในสังกัดของซีไอเอ และในกลุมอาคารลองเวิรธ ในเขตที่ทํ างานของวุฒิสมาชิกสหรัฐ ขณะเดียวกันเจาหนาที่เร่ิมตรวจตามสถานที่ตาง ๆ ราว 2,000-4,000 แหงที่ไดรับจดหมายจากศูนยไปรษณียกลางเบรนตวูด ในกรุงวอชิงตันดวย

(กรุงเทพธุรกิจ 02,27,30,311044, ผูจัดการ 04,20,21,301044, สยามรัฐ 14,17,22,251044, กรุงเทพธุรกิจ 14,181044, พิมพไทย 16,20,21,23,251044,011144, มติชน 10,16,23,25,28,301044)

Page 66: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

209

4.1.4 สหรัฐเปดเวทีการทูตในเอเชียกลางหลังเผด็จศึกในอัฟกานิสถานเปาหมายคือขุมนํ้ ามันใหญกลางเดือนธ.ค.2544 พล.อ.คอลลิน พาวเวลล รมต.ตางประเทศสหรัฐมีกํ าหนดการเดินทางเยือนประเทศในเอเชียกลาง ไดแก อุซ

เบกิสถาน คีรกีซ และคาซัคสถาน เพื่อสรางสัมพัมธภาพใหมกับบรรดารัฐดังกลาวอยางที่ไมเคยปรากฏมากอน ซ่ึงถูกต้ังขอสังเกตวา เปนการเปดเวทีการทูตใหมในอาณาบริเวณซึ่งกอนหนานี้อยูภายใตอิทธิพลของสหภาพโซเวียตและเปนพื้นที่ที่สหรัฐไมสามารถลวงลํ้ าเขาไปได แตสถานการณเปลี่ยนแปลงไปเมื่อกลุมประเทศในเอเชียกลางรวมมือกับสหรัฐในสงครามตอตานลัทธิการกอการรายในอัฟกานิสถานอยางแขงขัน และสหรัฐฉวยโอกาสพัฒนาผลประโยชนดานนํ้ ามันในแถบทะเลแคสเปยน ขั้นแรกก็คือการเขาพบปะเจรจากับประธานาธิบดีนูรซุลตานนาซารบาเยฟ และเยอลัน อีดริชอฟ รมต.ตางประเทศ คาซัคสถานเกี่ยวกับสถานการณในอัฟกานิสถาน จากนั้นจึงเดินทางเขาพบประธานาธิบดีอัสการ อาคาเยฟ แหงคีรกีซ เจรจาเกี่ยวกับความรวมมือในแนวรวมการตอตานลัทธิการกอการรายระหวางประเทศ ทั้งนี้ ผูนํ าคีรกิสถานบอกวาพรอมจะเปดฐานทัพใหสมาชิกในองคการนาโตใชบริการ สวนอุซเบกิสถานเปดทางใหทหารอเมริกันจํ านวน 1,000 คนใชฐานทัพในประเทศสํ าหรับปฏิบัติการคนหาและชวยชีวิต โดยมีการประกาศพัฒนาสัมพันธภาพใหมกับสหรัฐนอกเหนือจากความรวมมือตอตานการกอการราย ซ่ึงการกระชับสัมพันธไมตรีระหวางอุซเบกิสถานประเทศขนาดใหญและทรงอิทธิพลของเอเชียกลางกับสหรัฐสรางความกังวลใจใหกับประเทศเพื่อนบานเล็กๆหลายประเทศ อาทิ คาซัคสถานซึ่งอุดมดวยนํ้ ามันก็เกรงวาจะถูกผลักดันใหกลายเปนพันธมิตรอันดับสองของสหรัฐในภูมิภาค และบริษัทยักษใหญดานนํ้ ามันของสหรัฐหลายบริษัทตางก็มีโครงการขุดนํ้ ามันในคาซัคสถาน สาเหตุจากมีที่ต้ังหางไกลจากอัฟกานิสถานการ ใชประโยชนในการเปนฐานทัพจึงเปนเรื่องนอกความสนใจของสหรัฐ กลุมนักวิเคราะหกลุมหนึ่งบอกวาความคืบหนาของสหรัฐในภูมิภาคนี้สรางความตึงเครียดและความอึดอัด เคลือบแคลงใหกับประเทศในอาณาบริเวณ สหรัฐจึงควรตระหนักถึงความสมดุลและวางจังหวะการเคลื่อนไหวในระยะยาว (ผูจัดการ 071244)

4.1.5 สหรฐัประสบความสํ าเร็จในการทดสอบโลขีปนาวุธและถอนตัวจากสนธิสัญญาตอตานขีปนาวุธวันที่ 3 ธ.ค.2544 ก.กลาโหมสหรัฐ เปดเผยผลการทดสอบระบบปองกันภัยขีปนาวุธแหงชาติหรือระบบโลขีปนาวุธวาประสบความ

สํ าเร็จอยางงดงาม ถือเปนความสํ าเร็จครั้งที่สามจากการทดสอบทั้งหมด 5 ครั้ง ทั้งนี้ระบบดังกลาวเปนระบบปองกันภัยจากขีปนาวุธพิสัยไกลหรือขีปนาวุธขามทวีป ทํ างานดวยการจับเปาหมายขีปนาวุธฝายศัตรูและยิงจรวดสกัดกั้นเขาทํ าลายเปาหมายตั้งแตยังอยูในหวงอวกาศการทดสอบลาสุดเปนการทดสอบความแมนยํ าของจรวดสกัดกั้น ที่ปลอยจากแทนยิงบนเกาะควาจาเลนในหมูเกาะมารแชล ซ่ึงสามารถพุงเขาชนเปาหมายสมมุติที่ระดับความสูงจากมหาสมุทรแปซิฟก 232 กิโลเมตร โครงการนี้มีทั้งฝายที่คัดคานที่เห็นวาใชเงินลงทุนมากไปและไมสามารถใชไดผลในทางปฏิบัติ สวนฝายสนับสนุนซ่ึงมีประธานธิบดีจอรจ บุช ดวย บอกวาเปนระบบที่จํ าเปนเพื่อปองกันภัยจากประเทศศัตรูที่อาจคุกคามสหรัฐดวยขีปนาวุธพิสัยไกล ทั้งนี้โครงการดังกลาวไดรับการคัดคานจากประเทศรัสเซียตลอดมา โดยระบุวาขัดตอหลักการของสนธิสัญญาตอตานขีปนาวุธพิสัยไกลหรือเอบีเอ็มที่สหรัฐและรัสเซียลงนามรวมกันเมื่อป 2515

วันที่ 14 ธ.ค.2544 ประธานาธิบดีจอรจ บุช ประกาศจะถอนตัวจากสนธิสัญญาเอบีเอ็มหลังจากไดขอสรุปวาเปนอุปสรรคตอการพัฒนาแนวทางตาง ๆ ในการคุมครองประชาชนจากการกอการรายในอนาคตหรือจากการถูกโจมตีดวยขีปนาวุธจากประเทศอันธพาล อยางอิรัก และเกาหลีเหนือ เนื่องจากขอสัญญระบุใหสองฝายระงับการพัฒนาอาวุธรายแรงรวมถึงไมใหฝายใดฝายหนึ่งกดปุมโจมตีดวยอาวุธนิวเคลียรกอนเพราะอาจนํ าไปสูการตอบโตดวยอาวุธนิวเคลียรเชนกันและทันทีที่สหรัฐถอนตัวอยางเปนทางการในฤดูรอนป 2545 ก็จะเดินหนาทดลองโครงการตอตานขีปนาวุธได และยังสามารถกอสรางสถานีเรดารในอะแลสกาอันเปนสวนประกอบสํ าคัญสํ าหรับการจัดทํ าระบบปองกันขีปนาวุธ ซ่ึงจอรจ บุช บอกวาไดแจงกับรัสเซียอยางเปนทางการลวงหนา 6 เดือนเกี่ยวกับการถอนตัวครั้งนี้ ขณะที่ผูนํ ารัสเซียประธานาธิบดีวลาดิมีร ปูติน บอกวาการตัดสินใจของผูนํ าสหรัฐไมเปนภัยคุกคามรัสเซียแตความเห็นเจาหนาที่ระดับสูงในรัฐบาลบอกวาเปนการคุกคามตอเสถียรภาพทางยุทธศาสตรของโลก ทั้งนี้ผูนํ ารัสเซียบอกวาจะทํ าทุกอยางเพื่อรักษาขอตกลงไว

นายโคฟ อันนัน เลขาธิการองคการสหประชาชาติ กลาวแสดงความเสียใจตอการตัดสินใจถอนตัวของสหรัฐและเกรงวาจะกลายเปนการจุดชนวนใหนานาประเทศหันมาแขงขันกันสะสมอาวุธโดยเฉพาะพวกขีปนาวุธขามประเทศและสรางความเสียหายใหกับการลดอาวุธและการไมแพรกระจายอาวุธนิวเคลียร สวนประเทศจีนนั้น น.ส.พ.ไชนา เดลี่ ระบุวาผูเช่ียวชาญไดออกมาเตือนวาอาจเกิดความโกลาหลขึ้นบนโลกหลังจากที่สหรัฐถอนตัวออกจากสนธิสัญญเอเบีเอ็มและกลายเปนตัวบอนทํ าลายความมั่นคงของนานาประเทศ อีกทั้งการตัดสินใจดังกลาวจะทํ าใหสหรัฐเองถูกคุกคามดานความมั่นคงดวย เหมือนกับนโยบายที่ทํ าใหเกิดเหตุการณวันที่ 11 ก.ย.2544 และผลักดันใหจีนเรงปรับความทันสมัยแกกองกํ าลังนิวเคลียรเพื่อรักษาความนาเช่ือถือทางยุทธศาสตร และหันมาพิจารณาทบทวนสัญญาควบคุมอาวุธระหวางประเทศอีกหลายฉบับ อีกทั้งจะสงเสริมความรวมมือระหวางจีนกับรัสเซียซ่ึงตอตานการขยายอํ านาจครอบงํ าโลกของสหรัฐ เปนการสรางขั้วอํ านาจของโลกขึ้นอีกขั้วหนึ่ง นอกเหนือจากขั้วสหรัฐที่มีอํ านาจครอบงํ าโลกอยูประเทศเดียว (กรุงเทพธุรกิจ 05,151244,มติชน 161244,ผูจัดการ 13,171244)

Page 67: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

210

4.1.6 การเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศของสหรัฐ ที่หันมาใหความสํ าคัญกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมากขึ้น

วันที่ 29 พ.ย.2544 ไมเคิล ริชารดสัน ผูสื่อขาวอินเตอรเนชันแนล ทริบูน-ไอเอชที แสดงความคิดเห็นวาในหวงทศวรรษ 1990บรรดาประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตรองเปนเสียงเดียวกันวา ถูกสหรัฐจงใจละเลยในเชิงยุทธศาสตรไป เนื่องจากนโยบายของแตละรัฐบาลของสหรัฐลดระดับการใหความสํ าคัญตอภูมิภาคนี้ลง หลังสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียตสิ้นสุดลงดวยการลมสลายของสหภาพโซเวียตโดยหันไปใหความสํ าคัญอยางเนนหนักในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงหนือแทน สาเหตุจากการทะยานขึ้นเปนมหาอํ านาจทั้งทางดานการทหารและเศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยหยิบยกสองกรณีที่แสดงใหเห็นวาสหรัฐทอดทิ้งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยางเปนรูปธรรมก็คือปฏิกิริยาที่คอนขางเฉื่อยเนือยของสหรัฐตอวิกฤติทางการเงินในภูมิภาคนี้โดยเฉพาะในประเทศไทย และทาทีลังเลของสหรัฐในการในการสนับสนุนความพยายามในระยะแรกของออสเตรเลียในการสงทหารเขาไปในติมอรตะวันออกเพื่อฟนฟูเสรีภาพและกฎหมายในดินแดนแหงนั้น จนกลายเปนมิคสัญญีขึ้นในที่สุด

หลังเหตุการณวินาศกรรมอาคารเวิลดเทรดและเพนตากอนในวันที่ 11 ก.ย.2544 เอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้งภูมิภาคพลิกกลับมามีความสํ าคัญในเชิงยุทธศาสตรระดับหัวแถวสํ าหรับสหรัฐในทันทีทันควันที่ประธานาธิบดี จอรจ ดับเบิลยู บุช ประกาศสงครามกับการกอการรายทั่วโลก ซ่ึงสื่อมวลชนและเจาหนาที่ของสหรัฐรวมทั้งนักวิเคราะหตางมองเห็นเปนอยางเดียวกันวา “ ทํ าเนียบขาวเริ่มปูลาดพรมแดงตอนรับบรรดาผูนํ าจากประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต การเดินทางเยือนสหรัฐของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯไทยนับเปนผูนํ าประเทศลํ าดับที่ 3 จากภูมิภาคนี้ที่เดินทางไปเยือนสหรัฐ” โดยมีหัวใจสํ าคัญของการเจรจาคือเรื่องของสงครามกับการกอการราย ทั้งนี้นายไมเคิลอารมาคอส อดีตเอกอัครราชทูตสหรัฐประจํ าฟลิปปนสและญี่ปุน ปจจุบันดํ ารงตํ าแหนงประธานสถาบันบรูกกิง สถาบันทางวิชาการในกรุงวอชิงตัน บอกวา ทุกคนในรัฐบาลสหรัฐบอกวาจะละเลยเอเชียตะวันออกเฉียงใตไมไดอีกตอไป เพราะชุมชนมุสลิมขนาดใหญในฟลิปปนสและอินโดนีเซีย และเพราะประเทศเหลานี้ในภูมิภาคนี้ไดรับผลกระทบอยางแทจริงจากเหตุการณวันที่ 11 ก.ย.2544 ทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงเห็นไดอยางชัดเจนมากในระยะเริ่มแรกของการโจมตีอัฟกานิสถาน แมจะยังไมมีผูใดสามารถระบุไดชัดเจนวาสงครามในขั้นตอนตอไปกับการกอการรายของสหรัฐ จะสงผลกระทบอยางไรตอภูมิภาคนี้แมจะไดรับการยืนยันจากพลเอก เดนนิส แบลร ผูบัญชาการกองเรือที่ 7วามีโอกาสนอยมากที่กองทัพสหรัฐจะเขามาเกี่ยวของกับการสูรบโดยตรงในประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคนี้ แตแบลรก็ยํ้ าไวเชนกันวาสงครามกับการกอการรายในเอเชียจะเปนไปอยางรอบดานและกวางขวางใหมากที่สุดเทาที่จะมากไดเพื่อทํ าลายทั้งแหลงที่เปนเงินทุนสนับสนุน แหลงฝกอบรม แหลงจัดทํ าเอกสารเพื่อการเดินทางและเอกสารประจํ าตัวปลอม รวมทั้งความเคลื่อนไหวตาง ๆ ของกลุมกอการรายในภูมิภาคนี้(มติชนสุดสัปดาห 10-161244)

4.2 หลายประเทศทั่วโลกประสบปญหาสงครามเชื้อโรค4.2.1 จดหมายมรณะปวนทั่วโลก เจาหนาที่ไปรษณียในหลายประเทศตกเปนเหยื่อหลายรายไมเฉพาะภายในประเทศสหรัฐเทานั้นที่ตองประสบปญหาการแพรระบาดของเชื้อแอนแทรกซ วันที่ 16 ต.ค.2544 สถานทูตสหรัฐ

ในออสเตรเลียประจํ านครเมลเบิรน สั่งอพยพผูคนหลังจากพบสารเคมีตองสงสัยในจดหมายฉบับหนึ่งที่สงมายังสถานกงสุลปรากฏสารบางอยาง และไดใหตํ ารวจนํ าของกลางไปตรวจสอบแลว นายเดวิด ลีออง กงสุลใหญสหรัฐบอกวาการอพยพเจาหนาที่เปนเพียงมาตรการปองกันขณะเดียวกันสถานกงสุลอังกฤษในเมืองบริสเบน ออสเตรเลียก็เปนหนึ่งใน 5 สํ านักงานทั่วรัฐควีนสแลนด ออสเตรเลียที่มีรายงานวาพบจดหมายตองสงสัยปนเปอนสีขาว ในประเทศนิวซีแลนดตองอพยพประชาชนออกจากสถานที่ทํ าการเพราะหวั่นเกรงการระบาดของเชื้อแอนแทรกซหลังจากพบผงแปงตองสงสัยวาจะปนเปอนเชื้อแบคทีเรียในถุงไปรษณีย นอกจากนี้ ยังพบจดหมายตองสงสัยในประเทศฟจิดวย

ในประเทศอังกฤษประชาชนหลายรอยคนตองพากันหลบหนีออกจากวิหารแคนเทอรเบอรี หลังจากที่มีชายผูหนึ่งโปรยผงแปงสีขาวไปทั่วบริเวณหองโถง ในฝรั่งเศสมีซองจดหมายตองสงสัยสงไปยังอาคารที่ทํ าการรัฐบาลฝร่ังเศสและสํ านักงานในเมืองตาง ๆ ถึง 6 แหงโดยที่กรุงปารีสตํ ารวจตองสั่งอพยพประชาชนออกจากอาคาร 4 แหง และสงประชาชน 55 คน ไปตรวจหาเชื้อโรคดังกลาวหลังจากพบวามีผงตองสงสัยสงไปยังสํ านักงานตาง ๆ รวมทั้งสํ านักงานอวกาศของฝรั่งเศสและสํ านักงานวิจัยแหงหนึ่ง ในกรุงเบอรลินของเยอรมนี เจาหนาที่ตองปดหองรับไปรษณียภัณฑของสํ านักงานนายแกรฮารด ชโรเดอร นายกฯเยอรมนี หลังจากพบผงสีขาวรวงออกมาจากพัสดุไปรษณียและสํ านักงานไปรษณียในเมืองเอลแธม และผูใชบริการสนามบินนานาชาติในกรุงเวียนนา ออสเตรีย ตองอพยพออกจากสนามบินหลังจากที่พบผงแปงสีขาวจํ านวนหนึ่งอยูบนอาคาร สวนในประเทศอิตาลี ตํ ารวจสามคนและบุรุษอีกสองนายก็จับตองจดหมายลึกลับฉบับหนึ่งพรอมดวยการดที่มีขอความวา”แอนแทรกซ” โดยภายในมีผงสีขาวบรรจุอยู จนตองนํ าสงโรงพยาบาลแตก็ไมพบการติดเชื้อแตอยางใด สวนที่ประเทศเม็กซิโกเจาหนาที่กํ าลังวิเคราะหจดหมายตองสงสัยอยางนอย 18 ฉบับ นอกจากนี้ ยังมีรายงานจากประเทศบราซิลวาลูกเรือฝายทํ าความสะอาดพบผงแปงสีขาวหนักประมาณ 3 กรัม อยูในหนังสือพิมพของผูโดยสารบนเครื่องบินสายการบินลุฟทฮันซาที่มาจากนครแฟรงกเฟรต

Page 68: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

211

และที่สถานทูตสหรัฐประจํ ากรุงมอนเตวิเดโอ เมืองหลวงของอุรุกวัย ก็ไดรับจดหมายบรรจุผงแปงสีขาวเมื่อปลายสัปดาหกอน ในประเทศอารเจนตินาก็พบเชนกัน

ประเทศในเอเชียก็ไมพนภัยจากจดหมายมรณะดังกลาว พิจารณาไดจากในญี่ปุนเจาหนาที่ตํ ารวจในเมืองฟูกูจิมาทางภาคเหนือของประเทศพบผงแปงสีขาวรั่วมาจากซองจดหมายที่พบในสํ านักงานไปรษณียกลาง แตไมมีเช้ือแอนแทรกซอยางที่วิตกกัน แตก็ทํ าใหเจาหนาที่ตํ ารวจตองสั่งใหเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยบริเวณสถานีรถไฟฟาใตดินใหมากขึ้นและทางก.สาธารณสุขกํ าลังทํ าการตรวจสอบผงแปงอยู ขณะที่ทางการจีนสั่งเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยบริเวณสถานทูตสหรัฐและสถานทูตอังกฤษในกรุงปกกิ่ง พรอมสั่งการใหเจาหนาที่ฝายดูแลจดหมายและพัสดุเพิ่มความเขมงวดในการตรวจตราจดหมายจากตางประเทศใหมากขึ้น อีกทั้งยังพบจดหมายสงไปยังมหาวิทยาลัยจงฉานทางตะวันออกเฉียงใตของมณฑลกวางโจว ประเทศจีน ซ่ึงทางมหาวิทยาลัยไดใหนักศึกษากินยาปฏิชีวนะเพื่อปองกันเชื้อเอาไวกอน ที่ประเทศเยเมนก็พบจดหมายฝุนผงหลายฉบับจํ านวนหนึ่งสงมาจากแคนาดา ซ่ึงกอนหนานี้สถานทูตเยเมนในเบลเยียมเคยไดรับมากอน ในมาเลเซียพบจดหมายตองสงสัยที่สงไปยังสถานทูตสหรัฐและออสเตรเลียในกรุงกัวลาลัมเปอร กลุมประเทศในทะเลแคริบเบียนประเทศแรกที่เผชิญกับจดหมายมรณะคือประเทศบาฮามาส พบที่สํ านักงานไปรษณียในกรุงนัสซอ และในแอฟริกาพบที่ประเทศเคนยาเปนตน

4.2.2 ความเคลื่อนไหวของ 3 ประเทศผูตองสงสัยเจาของเชื้อโรคแอนแทรกซในสายตาของสื่อมวลชนรัสเซียเปนประเทศแรกที่ถูกน.ส.พ.วอชิงตันไทมส อางถึงวามาเฟยรัสเซียเปนผูจัดหาสารประกอบ ในการผลิตอาวุธนิวเคลียร

อาวุธชีวภาพและอาวุธเคมี รวมทั้งเช้ือโรคแอนแทรกซใหกับนายโอซามะห บิน ลาดิน กับ อัลกออิดะหขุมขายการกอการรายของนายโอซามะห บิน ลาดิน ก.ตางประเทศรัสเซียถึงกับตองออกมาแถลงการณปฏิเสธ โดยใหเหตุผลวาอาจมีใครบางคนในสหรัฐคัดคานนโยบายเชิงบวกระหวางสหรัฐกับรัสเซีย จึงพยายามบอนทํ าลายความสัมพันธดวยการนํ าเสนอขาวดังกลาว

อิรักเปนประเทศลํ าดับตอมาที่ถูกองคการสหประชาชาติโดย นายริชารด สเปรตเซล เจาหนาที่ฝายสอบสวนดานอาวุธของสหประชาชาติระบุวาเปนประเทศตองสงสัยหมายเลขหนึ่งที่จะเปนตัวการในการแพรระบาดของจดหมายแอนแทรกซในสหรัฐและประเทศตางๆ เนื่องจากอิรักเปนประเทศผูผลิตเชื้อแอนแทรกซสํ าหรับใชเปนอาวุธที่สํ าคัญที่สุด มิหนํ าซ้ํ ายังช้ีเฉพาะลงไปวาผูที่ผลิตเชื้อโรคแอนแทรกซใหกับอิรักคือ นางรีฮับ ทาฮา นักวิทยาศาสตรชาวอิรักวัย 45 ป มีสมญาวา ดร.เจิรม เปนที่รูจักกันดีในกลุมผูตรวจสอบอาวุธของสหประชาชาติและเปนที่รูจักกันดีของวงการเมืองอิรัก เนื่องจากสามีของนางคือนายอามาร ราชิด อูเบดี รมต.นํ้ ามันของอิรัก ซ่ึงดร.ทาฮา ยอมรับเปนครั้งแรกในป 2538 วาโรงงานผลิตเชื้อโรคที่ตนจัดสรางขึ้นอยูใกลกับกรุงแบกแดด เปนสถานที่ผลิตเชื้อโรคแอนแทรกซและโบตูลิสมไดหลายพันแกลลอน มากพอที่จะสังหารคนไดหลายลานคน โดยเจาหนาที่ของสหประชาชาติเช่ือวามีการใชคนทดลองเชื้อโรคที่สรางขึ้นมาดวย ขณะเดียวกันก็มีรายงานขาวจากน.ส.พ.ซันเดย เทเลกราฟ ของอังกฤษ บอกวา ซัดดัม ฮุสเซน ผูนํ าอิรักไดยายโรงงานผลิตอาวุธเคมีของตนที่ต้ังอยูโดยรอบกรุงแบกแดดไปยังที่อื่นแลว โดยสรางที่เก็บสารเคมีและเชื้อโรคที่ผลิตไดไวใตดินลึกไมนอยกวา 18 เมตร เพื่อปองกันการถูกโจมตี

น.ส.พ.วอชิงตันโพสต รายงานขาวโดยอางการเปดเผยของผูเช่ียวชาญวา มีเพียงสหรัฐ อดีตสหภาพโซเวียตและอิรักเทานั้นที่มีศักยภาพในการผลิตเชื้อแอนแทรกซ ที่มีองคประกอบซับซอน บวกกับสารเติมแตงพิเศษใหมีลักษณะเปนผงแปงละเอียดลอยตัวอยูในอากาศไดชวงระยะเวลาหนึ่งโดยไมฟุงกระจายซึ่งทํ าใหงายตอการแพรกระจายสูรางกายผานทางเดินหายใจ และรายงานวาในสวนของการสืบสวนสอบสวนของเจาหนาที่นั้นพบวาการโจมตีชาวอเมริกันดวยเชื้อแอนแทรกซนี้อาจไมมีสวนเกี่ยวของกับขบวนการกอการรายของนายโอซามะห บิน ลาดิน แตอยางใด เนื่องจากตนตอของจดหมายแอนแทรกซที่พบมีแนวโนมวาจะมาจากภายในประเทศสหรัฐเองและอาจเปนของกลุมขวาจัดหัวรุนแรงในสหรัฐ เพราะไมไดมีหลักฐานอะไรที่จะบงช้ีวาจะเปนปฏิบัติการกอการรายจากนอกประเทศสหรัฐเลย ซ่ึงสอดคลองกับการตรวจสอบของทางการสหรัฐที่ยังไมสามารถระบุแหลงที่มาของเชื้อแอนแทรกซวาเปนฝมือของฝายใด

(กรุงเทพธุรกิจ 02,14,18,27,30,311044,ผูจัดการ04,20-21,301044,สยามรัฐ14,17,22,251044,พิมพไทย16,20,21,23,251044,มติชน10,16,23,25,28,3010)

4.3 สถานการณในอัฟกานิสถาน4.3.1 รฐับาลตอลิบานคายแตก แตสหรัฐยังไมเสร็จสิ้นภารกิจ อัฟกานิสถานยังคงถูกถลมตอไปกองกํ าลังพันธมิตรภาคเหนือหรือฝายประชาธิปไตยชนกลุมนอยของอัฟกานิสถาน (ภาคเหนือ) ซ่ึงเปนฝายตอตานรัฐบาลตอลิ

บานรุกคืบหนามากขึ้นเปนลํ าดับ จะเห็นไดวา วันที่ 9 พ.ย.2544 จากการแถลงของเจาหนาที่สหรัฐระบุวากองกํ าลังพันธมิตรภาคเหนือประสบชัยชนะในการเขายึดเมืองมาซารอีชารีฟ ยุทธศาสตรสํ าคัญทางตอนเหนือของอัฟกานิสถาน การยึดเมืองครั้งนี้ ประธานาธิบดีจอรจบุช บอกวาสหรัฐจะสนับสนุนใหพันธมิตรฝายเหนือมุงหนาลงใตแตไมใชกรุงคาบูล เนื่องจากควรมีการจัดสรรอํ านาจกันอยางลงตัวระหวางชนเผาตาง ๆ ในอัฟกานิสถานกอน เพื่อใหการถายโอนอํ านาจเปนไปอยางราบรื่น ใหกรุงคาบูลเปนเขตปลอดทหารและใหการจัดตั้งรัฐบาลใหม

Page 69: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

212

เปนการกระจายอํ านาจไปสูชนพื้นเมืองกลุมตาง ๆ ในอัฟกานิสถานไดอยางทั่วถึง วันที่ 12 พ.ย.2544 กองกํ าลังทหารฝายพันธมิตรภาคเหนือ สามารถรุกคืบหนายึดเมืองตาง ๆ จากกลุมตอลิบานไดหลายเมืองทั้งดานเหนือและตะวันตกของกรุงคาบูล แลวพรอมเขาประชิดกรุงคาบูล ชวงเชาวันอังคารที่ 13 พ.ย. ตามเวลาทองถิ่น กองกํ าลังทหารของฝายตอลิบานไดถอยรนออกจากกรุงคาบูลตลอดจนฐานที่มั่นในเมืองตาง ๆ อยางรวดเร็ว กรุงคาบูลตกอยูภายใตการยึดครองของกลุมพันธมิตรภาคเหนือ โดยปราศจากการสูรบ ทามกลางการโหรองแสดงความยินดีของประชาชนตามทองถนนในกรุงคาบูล ทั้งที่ผูนํ าของหลายประเทศไดรองขอใหยับยั้งการเคลื่อนกํ าลังเขายึดกรุงคาบูลไวกอนจนกวาจะมีตัวแทนผูนํ าใหมในอนาคตของชาวอัฟกานิสถาน

วันที่ 23 พ.ย.2544 เครื่องบินรบของสหรัฐยังคงเดินหนาทิ้งระเบิดเปาหมายบริเวณชานเมืองคันดูช ซ่ึงเปนฐานที่มั่นสุดทายทางตอนเหนือของตอลิบาน มุลเลาะห โมฮัมหมัด โอมาร ผูนํ าสูงสุดตอลิบาน ไดแตงตั้งมุลเลาะห อักหตาร โมฮัมหมัด อุสามานี ขึ้นดํ ารงตํ าแหนงรองผูนํ าสูงสุด ทํ าหนาที่รับผิดชอบในการบัญชาการรบและงานบริหารของกองกํ าลังตอลิบานทั้งหมดแทนตน สวนตัวโอมารเองไดยายเขาไปอยูในที่หลบซอน แมสหรัฐยังไมสามารถจับกุมตัวนายโอซามะห บิน ลาดิน ได แตก็คาดกันวาสงครามในอัฟกานิสถานนาจะยุติลงในไมชานี้หลังจากที่กองกํ าลังพันธมิตรภาคเหนือสามารถยึดกรุงคาบูลเมืองหลวงของประเทศได รวมทั้งสามารถครอบครองพื้นที่สวนใหญของประเทศไวไดถึง 90 เปอรเซ็นต รัฐบาลปากีสถานประเทศที่เคยใหการรับรองรัฐบาลตอลิบานประกาศตัดความสัมพันธหลังจากมีการจัดต้ังรัฐบาลช่ัวคราวในอัฟกานิสถานขึ้น

วันที่ 6 ธ.ค.2544 นายมุลเลาะห โมฮัมหมัด โอมาร ผูนํ าสูงสุดของตอลิบานประกาศสละเมืองกันดะฮารแลว ถือเปนการสิ้นสุดอํ านาจการปกครองอัฟกานิสถานที่ดํ าเนินมา 5 ป โดยกลุมตอลิบานยอมมอบอํ านาจทั้งหมดของตนที่เหลืออยูในการปกครองเมืองกันดะฮารทั้งหมดใหกับชนเผาพัชตุนทองถิ่น หลังการเจรจาซึ่งนํ าโดยนายฮามิด คารไซ วาที่นายกฯคนใหมของอัฟกานิสถาน โดยทั้งสองฝายตกลงมอบอํ านาจกันตั้งแต วันที่ 7 ธ.ค. เปนตนไปและใหเสร็จสิ้นกระบวนการภายในเวลา 4 วัน แตปรากฏวาทหารตอลิบานกลับพากันอพยพหลบหนีออกจากเมืองไปกอนพรอมอาวุธ ซ่ึงเปนการละเมิดขอตกลงที่ทํ ากันไว เมื่อกลุมพันธมิตรภาคเหนือไปถึงฐานที่มั่นของตอลิบานก็ไมพบทั้งทหารตอลิบานและอาวุธยุทธภัณฑที่ตกลงกันวาจะสงมอบให รวมทั้ง มุลเลาะห โอมาร ที่หายสาบสูญไปอยางไรรองรอย ทํ าใหภารกิจของกองกํ าลังสหรัฐยังไมบรรลุเปาหมาย การโจมตีอัฟกานิสถานเพื่อจัดการกับนายโอซามะห บิน ลาดิน ยังคงดํ าเนินตอไป จนรัฐบาลช่ัวคราวของอัฟกานิสถานเรียกรองใหสหรัฐยุติการถลมทิ้งระเบิดเนื่องจากแหลงหลบซอนของตอลิบานและกลุมกอการรายของนายโอซามะห บิน ลาดิน ลวนถูกทํ าลายแทบหมดสิ้นแลว เปนสัญญาณเตือนถึงปญหาที่จะเกิดขึ้นระหวางรัฐบาลช่ัวคราวกับสหรัฐตอไป (พิมพไทย 111144, ไทยโพสต 11,291244, มติชน 121144,291244, ผูจัดการ 11,12,141144,29-301244, กรุงเทพธุรกิจ 12,131144, มติชนสุดสัปดาห 19-261144,10-161244)

4.3.2 รัฐบาลใหมอัฟกานิสถานยังมีปญหาการจัดตั้งรัฐบาลใหมของอัฟกานิสถานไดรับการกลาวถึงกอนการพายแพของกองกํ าลังตอลิบาน จะเห็นไดวาในวันที่ 13 พ.ย.

2544 นายลัคนา บราฮิมี ทูตพิเศษของนายโคฟ อันนัน เลขาธิการองคการสหประชาชาติ ไดเสนอแผนการ 5 ขั้น เพื่อจัดตั้งรัฐบาลอัฟกานิสถาน โดยเบื้องตนควรเปนรัฐบาลฐานกวางที่รวมผูนํ าของหลายเผาพันธุและทั้งเปนรัฐบาลที่ตอบสนองความตองการของชาวอัฟกานิสถานเคารพในสิทธิมนุษยชน เสริมสรางเสถียรภาพในภูมิภาค รวมทั้งยึดมั่นในพันธกรณี ระหวางประเทศ เชน การปราบปรามยาเสพติด เปนตนไมแตเทานี้ ผูนํ ารัฐบาลประเทศตางๆ ตางมีความเห็นรวมกันวาอัฟกานิสถานจํ าตองมีรูปแบบโครงสรางอํ านาจและที่มาของรัฐบาลใหม ที่จะประกันถึงความรวมมือทางกฎหมายระหวางรัฐ ระหวางชาติและกับประชาคมนานาชาติ หลังความสํ าเร็จในการยึดกรุงคาบูลของกองกํ าลังพันธมิตรภาคเหนือ ที่ประชุมองคการสหประชาชาติ สหรัฐ รัสเซียและอีก 6 ประเทศที่มีชายแดนติดตอกับอัฟกานิสถานไดตกลงรวมกันที่จะใหมีการจัดตั้งรัฐบาลอัฟกานิสถานที่มาจากหลายฝายที่ไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง ซ่ึงอาจจะรวมถึงเจาหนาที่ของตอลิบานและทางฝายสหประชาชาติอาจสงกํ าลังเขาชวยควบคุมความเรียบรอยภายในกรุงคาบูลดวย ประธานาธิบดี เปอรเวช มูซาราฟ แหงปากีสถานใหสัมภาษณวาการจัดตั้งรัฐบาลรวมหลายฝายเปนสิ่งสํ าคัญที่สุดที่ชาวอัฟกานิสถานตองการในเวลานี้

อัฟกานิสถานไดมาถึงจุดหัวเลี้ยวหัวตอที่สํ าคัญทางการเมือง เนื่องจากประชากรของอัฟกานิสถานประกอบไปดวยชนหลายชาติหลายเผาพันธุ ปญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้นคือแมทุกฝายอยากเปนรัฐบาลผสมที่ประกอบดวยชนชาติหลายเผาพันธุแตก็ไมสามารถตกลงกันไดวาใครควรเปนผูนํ ารัฐบาล ขณะที่ประเทศภายนอกที่มีบทบาทในสงครามครั้งนี้ไดแก สหรัฐ อังกฤษ และปากีสถาน มีความเห็นรวมกันวารัฐบาลใหมควรเปนกษัตริยโมฮัมหมัด ซาอีร ชาห แตไมไดรับความเห็นดวยจากรัสเซียและอิหราน โดยเฉพาะอิหรานเกรงวาการจัดตั้งรัฐบาลนํ าโดยกษัตริยอาจทํ าใหชาวอิหรานหวนคิดถึงระบบกษัตริยของตนอีกไดพล.อ.คอลลิน พาวเวลล รมต.ตางประเทศสหรัฐ เรงเราใหคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติเรงพิจารณาสถานการณอัฟกานิสถานเปนกรณีพิเศษ ซ่ึงการแกปญหาเบื้องตนของสหประชาชาติก็คือเรียกประชุมนักการเมืองอัฟกันทั้งหมด โดยเปาหมายลํ าดับแรกของสหรัฐคือ การจัดตั้งรัฐบาลผสมที่ทุกฝายยอมรับหรือประกอบขึ้นจากตัว

Page 70: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

213

แทนของทุกฝายอยางแทจริงใหเร็วที่สุด จากนั้นสหประชาชาติอาจเขาไปในอัฟกานิสถานเพื่อสรางระบบการปกครองตาง ๆ ขึ้นมาใหมและจะนํ ากํ าลังของพันธมิตรนาโตสงกํ าลังหนวยรบพิเศษเขาไปในอัฟกานิสถานเพื่อตามลาสังหารบิน ลาดินและทํ าลายเครือขายอัลกออิดะห ซ่ึงเปนปญหาสํ าหรับสหรัฐยิ่ง เพราะสหรัฐมิไดควบคุมกองกํ าลังพันธมิตรภาคเหนือแบบเบ็ดเสร็จมีแตเพียงขอตกลงกันเทานั้น ทั้งนี้ พันธมิตรภาคเหนือยังคงกํ าลังทหารของตนไวนอกกรุงคาบูล และสงกํ าลังเพียงไมกี่รอยคนเขาไปเคลียรพื้นที่เทานั้น

การประชุมจัดตั้งรัฐบาลช่ัวคราวของอัฟกานิสถานจัดขึ้นที่กรุงบอนน ประเทศเยอรมนี โดยองคการสหประชาชาติเปนเจาภาพการประชุม เกิดขึ้นในชวงที่รัฐบาลตอลิบานในอัฟกานิสถานกํ าลังเขาตาจน เมืองกันดะฮารซ่ึงเปนที่มั่นสุดทายกํ าลังถูกถลมอยางหนัก ผลการประชุมในวันที่ 29 พ.ย. 2544 ซ่ึงเปนการประชุมในวันที่สาม กลุมฝกฝายอัฟกันไดบรรลุฉันทามติเกี่ยวกับเคาโครงอยางกวาง ๆ ของขอตกลงแบงสรรอํ านาจในคณะบริหารเฉพาะกาล โดยกลุมพันธมิตรภาคเหนือยอมรับอดีตกษัตริยโมฮัมหมัด ซาอีร ชาห แหงอัฟกัน เปนผูนํ าในรัฐบาลเฉพาะกาล สวนประเด็นที่ทุกฝายตองแกปญหาความขัดแยงกันอยางหนักก็คือการรักษาความมั่นคงในอัฟกานิสถาน ซ่ึงพันธมิตรภาคเหนือกํ าลังตอตานการกดดันของกลุมผูบริจาค แตยืนยันวา จะยืดหยุนในการเจรจาประเด็นนี้ ทั้งที่กอนหนานี้พันธมิตรภาคเหนือคัดคานการประจํ าการของทหารตางชาติในอัฟกานิสถานอยางแข็งกราว ซ่ึงแหลงขาวในประเทศผูบริจาคแจงอยางชัดเจนกับพันธมิตรภาคเหนือวา “จะไมมีเงินกอนใหญใหหากปราศจากความมั่นคง” สํ าหรับรางขององคการสหประชาชาตินั้น คณะบริหารชั่วคราวจะเปนกลไกในการจัดตั้งสภาใหญแหงผูนํ าชนเผาตามประเพณีอัฟกันที่เรียกวา โลยา จิรกา ซ่ึงจะเปนผูวางรากฐานสํ าหรับรัฐบาลฐานกวางในอนาคต

การประชุมที่ยืดเยื้อนานกวาสัปดาห ไดบรรลุขอยุติในวันที่ 4 ธ.ค.2544 เมื่อตัวแทนชนเผาอัฟกันทั้ง 4 ฝาย ลงนามยอมรับแผนการจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลตามขอเสนอขององคการสหประชาชาติ โดยทุกฝายเห็นพองในหลักการวาดวยการตั้งรัฐบาลเฉพาะกาล มีนายฮามิด คารซาอี (การไซ) วัย 44 ป ผูนํ าเผาพัซตุน ซ่ึงเปนชนเผาที่มีประชากรมากที่สุดในอัฟกานิสถาน อดีตรมช.ตางประเทศ นักตอสูตอตานอํ านาจสหภาพโซเวียต ไดรับการยอมรับจากทุกฝายใหดํ ารงตํ าแหนงนายกฯ มีกํ าหนดบริหารประเทศ 6 เดือน จึงจะมีการถายโอนอํ านาจซ่ึงภายใน 1 เดือนของการถายโอนอํ านาจ จะมีการตั้งคณะกรรมาธิการอิสระชุดพิเศษที่มีสมาชิก 21 คน เพื่อจัดตั้ง “โลยา-จิรกา” หรือสมัชชาใหญผูอาวุโสของอัฟกัน ซ่ึงจะมีขึ้นภายใน 6 เดือน โดยมีอดีตกษัตริยโมฮัมหมัด ซาฮีร ชาห เปนประธาน เลือกคณะบริหารเพื่อการถายโอนอํ านาจขึ้นมาปกครองประเทศเปนเวลานาน 18 เดือน โดยโลยา-จิรกาจะรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมซ่ึงเปนกาวแรกของการจัดตั้งรัฐบาลผสมที่มีตัวแทนจากทุกฝาย กอนที่จะมีรัฐบาลที่มาจากการเลือกต้ังมาบริหารประเทศเต็มรูปแบบ

(พิมพไทย111144,02,07,251244,มติชน06,121144,ผู จัดการ03-041144,11,12,301144,07,271244,กรุงเทพธุรกิจ04,06121144,02,191244,สยามรัฐ141144,มติชนสุดสัปดาห19,261144,มติชน01,06,251244,ไทยโพสต01,02,19,20,22,251244,กรุงเทพธุรกิจ02,04,051244,ผูจัดการ051244)

4.3.3 โอซามะห บิน ลาดิน ยอมรับถลมเวิลดเทรด กับขาวคราวการมีอาวุธเคมี ชีวภาพ และนิวเคลียรวันที่ 11 พ.ย.2544 น.ส.พ.นิวยอรกไทมส ตีพิมพวากองทัพสหรัฐพบจุดตองสงสัยวาเปนโรงงานผลิตอาวุธเคมีและชีวภาพของบิน

ลาดิน 2 แหงในอัฟกานิสถาน และระบุวา นายโอซามะห บิน ลาดิน อาจกํ าลังผลิตแกสพิษไซยาไนดในหองวิจัยอาวุธเคมีในเดรันตา หมูบานเล็ก ๆ ใกลเมืองจะลาลาบาดทางตะวันออกของประเทศและใชโรงงานผลิตปุยในเมืองมาซารอีชารีฟ ทดลองทั้งอาวุธเคมีและชีวภาพ และเจาหนาที่สหรัฐยังวิตกวาเครือขายอัลกออิดะหจะใชโรงงานผลิตวัคซีนแอนแทรกซในคาบูลศึกษาการผลิตกระสุนเช้ือโรค สวนนายโอซามะห บินลาดิน ไดใหสัมภาษณ นายฮามิด มีร บรรณาธิการ น.ส.พ.อูชัพ ภาษาอูรดูของปากีสถาน ในสถานที่ลับแหงหนึ่งวา “ หากสหรัฐใชอาวุธนิวเคลียรและเคมีถลมพวกเรา เราก็อาจโตตอบกลับดวยอาวุธเคมีและนิวเคลียรเชนกัน เรามีอาวุธเหลานี้เพื่อปองกันตัวเอง” ขณะที่ประธานาธิบดีจอรจ บุช บอกวาไมแนใจในคํ าพูดของบิน ลาดินเรื่องการมีอาวุธนิวเคลียร ทํ านองเดียวกับมูซาราฟ ผูนํ าปากีสถานที่บอกวาตนไมเคยรับขอมูลใด ๆ ที่บงช้ีวาบิน ลาดิน มีอาวุธนิวเคลียร

นอกจากนี้ น.ส.พ.ซันเดยเทเลกราฟ ของอังกฤษ ยังเปดเผยเกี่ยวกับวิดีโอแถลงการณของนายโอซามะห บิน ลาดิน ทามกลางขุนเขาแหงอัฟกัน ซ่ึงมีสาระสํ าคัญคือ นายโอซามะห บิน ลาดิน ยอมรับวาตึกเวิลดเทรดเซ็นเตอร เปนเปาหมายที่ชอบธรรม และนักบินที่พลีชีพก็ไดรับพรจากพระอัลเลาะหในการทํ าลายเสาหลักดานเศรษฐกิจและการทหารของอเมริกัน เปนเหตุการณที่ยิ่งใหญที่สุด สิ่งที่ถูกทํ าลายลงไปนั้นไมใชเพียงตึกสูงแตเปนเสาหลักแหงระบบจริยธรรมของพวกเขา “ วันที่ 16 พ.ย.2544 น.ส.พ.ไทมส ของอังกฤษ รายงานวานายโอซามะหบิน ลาดิน และเครือขายกอการรายอัลกออิดะห มีแผนการผลิตยาพิษไรซิน เนื่องจากเจาหนาที่ของสหรัฐพบเอกสารแนะนํ าวิธีผลิตยาพิษไรซิน ซอนอยูในกลองเอกสารที่กระจัดกระจายอยูในเซฟตเฮาสของตอลิบานในกรุงคาบูล

วันที่ 13 ธ.ค.2544 ก.กลาโหมสหรัฐ ไดเผยแพรวิดีโอเทปความยาวประมาณ 1 ช่ัวโมงอางวาเปนคํ าสนทนาระหวางนายโอซามะหบิน ลาดิน กับผูนํ าระดับสูงของกลุมอัลกออิดะห ซ่ึงมีเนื้อหาที่เปนหลักฐานชัดเจนวานายโอซามะห บิน ลาดิน เปนผูบงการถลมตึกเวิลดเทรดและเพนตากอนในสหรัฐ ซ่ึงสาระสํ าคัญในเทปปรากฏคํ าพูดของนายโอซามะห บิน ลาดิน ที่แสดงถึงการมีสวนเกี่ยวของกับเหตุวินาศกรรม

Page 71: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

214

ดังกลาว การเผยแพรเทปดังกลาว ไดรับการประณามจากชาวมุสลิมวาอเมริกาทํ าเทปขึ้นเองเพื่อตบตาชาวโลก ขณะที่ผลการสุมสํ ารวจของนิตยสารนิวสวีคพบวาชาวอเมริกันรอยละ 69 เช่ือวานายโอซามะห บิน ลาดิน อยูเบ้ืองหลังการกอวินาศกรรมอาคารเวิลดเทรด และรอยละ48 เห็นวาสมควรที่จะถูกจับตาย

(พิมพไทย111144,291244,ไทยโพสต11,281244,มติชน121144,ผู จัดการ121144,281244,29-301244,กรุงเทพธุรกิจ121144,291244,มติชนสุดสัปดาห 19,261144,มติชน15,16,171244)

4.4 ประชุมสุดยอด “เอเปก” ที่เซี่ยงไฮ มีแถลงการณประณามการกอวินาศกรรมอาคารเวิลดเทรดในสหรัฐ แตไมแสดงทาทีสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหารของสหรัฐในอัฟกานิสถาน

วันที่ 20-21 ต.ค.2544 มีการประชุมสุดยอดเอเปกหรือกลุมความรวมมือทางเศรษฐกิจเอเชียแปซิฟก (Asia-Pacific EconomicCoperation ) ครั้งที่ 13 ที่นครเซี่ยงไฮ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน นับเปนการประชุมระดับนานาชาติครั้งแรกตั้งแตเกิดเหตุการณกอวินาศกรรมอาคารเวิลดเทรดและเพนตากอนของสหรัฐ ทามกลางบรรยากาศการรณรงคตอตานและการทํ าสงครามกับลัทธิกอการราย ทํ าใหคาดกันวาประเด็นสํ าคัญของการประชุมจะเปลี่ยนจากเศรษฐกิจมาเปนประเด็นการตอตานการกอการราย ไมแตเทานี้ ยังนับเปนครั้งแรกที่จัดประชุมขึ้นในประเทศที่ยังคงไดช่ือวาเปนประเทศคอมมิวนิสตที่ใหญที่สุดของโลก

วันที่ 21 ต.ค.2544 หลังการประชุม มีแถลงการณรวมหรือปฏิญญาเซี่ยงไฮ ซ่ึงมีสาระสํ าคัญ 2 เร่ืองหลักคือ การประกาศสงครามตอตานการกอการรายและการผลักดันการเจรจาการคาโลกรอบใหม ทั้งนี้ การมีแถลงการณประณามการกอการรายนับวาเปนครั้งแรกที่เอเปก ซ่ึงเปนกลุมความรวมมือทางเศรษฐกิจบรรจุวาระทางการเมืองพิเศษไวในปฏิญญาหลังการปดประชุม สาระสํ าคัญระบุใหผูนํ าประเทศสมาชิกเอเปกใหดํ าเนินการดังนี้ 1) ประณามอยางรุนแรงตอเหตุการณกลุมกอการรายที่โจมตีสหรัฐเมื่อวันที่ 11 ก.ย.2544 และแสดงความเสียใจตอเหยื่อที่เสียชีวิตจากหลายประเทศและแสดงความเสียใจตอสหรัฐ 2) ถือวาการกระทํ าอันเปรียบไดกับการฆาตกรรมครั้งนี้และการกระทํ าของกลุมผูกอการรายในทุกรูปแบบ ทุกสถานที่ ทุกเวลา เปนการคุกคามตอสันติภาพ ความสงบสุข ความมั่นคงของทุกคน ทุกศาสนา ทุกประเทศ อีกทั้งการกอการรายยังเปนการทาทายโดยตรงตอหลักการการคาเสรี และคานิยมของเอเปก 3) เห็นพองตองกันวาเปนเร่ืองสํ าคัญมากตอการพัฒนาเศรษฐกิจและบรรลุเปาหมายตามปฏิญญาการคาเสรีโบกอร ที่ทํ ากันไวครั้งประชุมที่อินโดนีเซีย 4) ถือวาแถลงการณดังกลาวมีความสํ าคัญตอการรวมมือของนานาชาติในทุกระดับในการปราบปรามการกอการรายและเห็นพองวาสหประชาชาติควรมีบทบาทสํ าคัญ 5) รวมมือกันในการปองกันและปราบปรามการกอการรายในอนาคตตามกฎขององคการสหประชาชาติและกฎหมายสากลสนับสนุนการปราบปรามกอการรายและผูใหการสนับสนุนดานการเงินกลุมกอการราย การรวมมือในการนํ าผูกระทํ าผิดมาลงโทษ 6) สงเสริมการรวมมือในการปราบปรามกอการรายดวยวิธีที่แตกตางของแตละประเทศ 7) รับปากที่จะรวมมืออยางเต็มที่เพื่อมิใหกอการรายสากลทํ าลายระบบเศรษฐกิจ การตลาด ตลอดจนระบบการสื่อสารคมนาคม ดวยการรวมมืออยางใกลชิดทางเศรษฐกิจ นโยบาย และการเงิน

แมประเด็นเรื่องการตอตานการกอการรายจะเปนประเด็นรอนในการประชุมสุดยอดเอเปกครั้งนี้ก็ตาม แตผูนํ าประเทศสมาชิกเอเปกก็ยังไมลืมความสํ าคัญของหัวขอเศรษฐกิจ โดยปฏิญญาเซี่ยงไฮ ไดเรียกรองใหทุกฝายที่เกี่ยวของรวมกันผลักดันใหการเจรจาการคาโลกรอบใหม ภายใตกรอบขององคการการคาโลกมีขึ้นในเดือนพ.ย. 2544 ซ่ึงในปฏิญญาระบุวา ภาวะการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกในปจจุบันทํ าใหการเจรจาการคาโลกรอบใหมกลายเปนสิ่งจํ าเปนที่จะตองมีขึ้นอยางเรงดวน

(Bangkok Post 21,221001, กรุงเทพธุรกิจ17,2122,241044, มติชน 211044)4.5 สถานการณในตะวันออกกลางตึงเครียดหนัก ถึงขั้นอิสราเอลตัดความสัมพันธและถลมดินแดน

ปาเลสไตนในเขตเวสตแบงกและฉนวนกาซา สาเหตุจากการกอความไมสงบของกลุมมุสลิมหัวรุนแรง

สถานการณในตะวันออกกลางทวีความตึงเครียดมากขึ้นทุกขณะ สาเหตุจากความเคลื่อนไหวของกลุมมุสลิมหัวรุนแรงกอความไมสงบขึ้นหลายครั้ง ยังผลใหไดรับการตอบโตจากอิสราเอลทั้งในแงของสรรพกํ าลังและนโยบายทางการทูต วันที่ 1 ธ.ค.2544 ไดเกิดระเบิดพลีชีพ 2 ครั้งซอนถลมยานสถานบันเทิงยามราตรีในกรุงเยรูซาเล็ม มีผูเสียชีวิต 12 คน บาดเจ็บเกือบ 200 คน จากนั้น 12 ช่ัวโมง เกิดเหตุระเบิดพลีชีพบนรถโดยสารคันหนึ่งในเมืองไฮฟาทางภาคเหนือ มีผูเสียชีวิต 16 คน ซ่ึงกลุมฮามาสออกมารับผิดชอบวาเปนฝมือของกลุมตน วันที่ 3ธ.ค.2545 อิสราเอลสงเฮลิคอปเตอรกันชิปยิงจรวดถลมโรงเก็บเฮลิคอปเตอรของนายยัตเซอร อาราฟต ผูนํ าเขตปกครองตนเองปาเลสไตนในฉนวนกาซา มีผูไดรับบาดเจ็บหลายสิบคน และวันที่ 4 ธ.ค.2544 อิสราเอลปฏิบัติการโจมตีทางอากาศ โดยสงเครื่องบินขับไลเอฟ-16 ทิ้งระเบิดอาคารหนวยงานความมั่นคงของปาเลสไตนในเขตฉนวนกาซา และสงเฮลิคอปเตอรติดปอมปนยิงถลมอาคารใกลสํ านักงานใหญของนายยัสเซอร อาราฟต ผูนํ าปาเลสไตนในเมืองรามอลเลาะห พื้นที่ปกครองตนเองของปาเลสไตนในเขตเวสตแบงก หางจากทํ าเนียบของนายอาราฟตเพียง 500 เมตร พรอมกันนั้นก็สงรถแทรกเตอรไดบุกทํ าลายทางวิ่งสนามบินในฉนวนกาซา นอกจากนั้น ยังมีการยิงปะทะกันระหวาง

Page 72: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

215

ทหารอิสราเอลกับกองกํ าลังฟาตาหของนายอาราฟต ที่เมืองนาบลัส การตอบโตของอิสราเอล กระทํ าตอกลุมมุสลิมหัวรุนแรงที่กอเหตุระเบิดพลีชีพ ขณะที่ปาเลสไตนประณามวาเปนความพยายามทํ าลายกระบวนการสันติภาพในตะวันออกกลาง แตนายเอเรียล ชารอน นายกฯอิสราเอลกลาวตอบโตวา เหตุรุนแรงที่เกิดขึ้นเปนผลมาจากการที่นายอาราฟตไรมาตรการจัดการที่จริงจังในการปราบปรามการกอการรายดานนายเอรี เฟลชเชอร โฆษกทํ าเนียบขาวสหรัฐออกแถลงวา อิสราเอลมีสิทธิที่จะปกปองตนเองจากภัยคุกคามตาง ๆ ทั้งนี้ จากเหตุรุนแรงดังกลาว ยังผลใหบรรยากาศความขัดแยงในภูมิภาคนี้ทวีความตึงเครียดมากขึ้น โดยมีการปะทะกันของทั้งสองฝายอยูอยางตอเนื่อง ซ่ึงในวันที่5 ธ.ค.2544 ไดเกิดเหตุระเบิดพลีชีพอีกครั้งใกลโรงแรมฮิลตัน ในเขตกรุงเยรูซาเล็มตะวันตก นับเปนเหตุการณรุนแรงที่สุดในการกอวินาศกรรมหลายครั้งที่ผานมา แตยังไมปรากฏกลุมใดออกมารับผิดชอบ คณะรัฐมนตรีอิสราเอลประกาศตัดความสัมพันธในทุก ๆ ดานกับนายยัตเซอร อาราฟต ผูนํ าปาเลสไตนและจะไมมีการเจรจาใดๆทั้งสิ้นกับเจาหนาที่ทางการปาเลสไตน มติดังกลาวมีขึ้นหลังจากกลุมมือปนชาวปาเลสไตนดักซุมยิงชาวอิสราเอลเสียชีวิต 10 ราย ในเขตที่ต้ังถิ่นฐานของชาวยิวเมื่อวันที่ 1 ธ.ค.2544 และมีขึ้นเพื่อตอบโตในสิ่งที่อิสราเอลเห็นวาผูนํ าปาเลสไตนไมจัดการกลุมมุสลิมหัวรุนแรงที่กอเหตุไมสงบอยางจริงจังอันเปนวิถีทางการทูต ดานนายแอนโทนี ซินนี ทูตพิเศษสหรัฐยังเพียรพยายามที่จะเรงเจรจาไกลเกลี่ยเพื่อคลี่คลายขอพิพาทระหวางอิสราเอลและปาเลสไตน โดยนายซินนีไดพบหารือกับนายเอเรียล ชารอน นายกฯอิสราเอล เพื่อขอคํ าช้ีแจงวาเหตุใดอิสราเอลจึงตัดสัมพันธภาพกับอาราฟต ซ่ึงจะทํ าใหกระทบตอการเจรจาเพื่อตกลงหลุดยิงของทั้งสองฝาย ((มติชน 061244,กรุงเทพธุรกิจ 06,141244,มติชนสุดสัปดาห 10-16,17-231244)

4.6 เกิดเหตุกอการรายในอินเดีย ถลมอาคารรัฐสภา ทาทายรัฐบาลและชาวอินเดียทั้งประเทศเวลา 11.40 น.ตามเวลาทองถิ่นของวันที่ 13 ธ.ค.2544 กลุมกอการรายไมทราบสังกัดกอเหตุอุกอาจบุกเขากราดยิงและขวาง

ระเบิดถลมใสอาคารรัฐสภาอินเดียหรือโลกสภาในกรุงเดลี เมืองหลวงของอินเดีย ขณะที่มีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรกวา 300 คน อยูภายในอาคาร สงผลใหมีผูเสียชีวิต 13 คน เปนคนราย 6 คน เจาหนาที่ตํ ารวจ 6 นาย และหนวยคอมมานโด 1 นาย เหตุการณดังกลาวเสมือนเปนการทาทายเสถียรภาพของรัฐบาลที่รุนแรงที่สุดนับต้ังแตเหตุการณลอบสังหารนางอินทิรา คานธี ในป 2527 ซ่ึงนายอะตัล วัจปายี นายกฯอินเดียซ่ึงไมไดอยูในที่เกิดเหตุแสดงความเห็นวากลุมผูกอการรายไมเพียงแตทาทายรัฐบาลเทานั้นแตยังรวมถึงประชาชนทั้งประเทศ และเปดเผยวา อินเดียจะเปดฉากตอสูเพื่อปราบปรามการกอการรายในประเทศ รวมทั้งคณะรัฐมนตรีเตรียมรวมมือปรับปรุงมาตรฐานใหมเพื่อรับมือกับเหตุการณจลาจลและการกอการราย สวนรมต.มหาดไทยก็ประกาศวาจะตอบโตการกอการรายอยางเฉียบขาด เหตุการณที่เกิดขึ้นยังไมมีกลุมใดอางวาเปนผลงานของกลุมตน แตเช่ือกันวาอาจเปนฝมือของกลุมมุสลิมที่ตองการแยกดินแดนแคชเมียรออกจากอินเดีย เพราะเมื่อ 2เดือนที่ผานมาก็ใชวิธีการเชนเดียวกันโจมตีรัฐสภาของแคชเมียร เจาหนาที่อินเดียจึงไดตรึงกํ าลังเขมแข็งบริเวณที่เกิดกรณีพิพาทในแควนแคชเมียรทันที

ในระยะตอมา นายแอล.เค.อัดวานี รมต.มหาดไทย ของอินเดีย กลาวโทษปากีสถานวาเปนผูสนับสนุนการกอการรายในอินเดียโดยระบุวาจากหลักฐานที่เก็บไดในที่เกิดเหตุ กลุมที่ลงมือคือกลุมติดอาวุธในอัฟกานิสถานสองกลุมไดแก ลัชกา อี ตาอิบา และจาอิช อี โมฮัมหมัด ซ่ึงเปนที่ทราบกันดีวาทั้งสองกลุมนี้ไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานขาวกรองของปากีสถานและมีเปาหมายเดียวกันคือผลักดันกองกํ าลังอินเดียออกจากแคชเมียร และการปฏิบัติการครั้งนี้ตองการกํ าจัดผูนํ าทางการเมืองของอินเดีย สวนปากีสถานไดประณามการโจมตีอาคารรัฐสภาอินเดียและปฏิเสธความเกี่ยวของรวมทั้งเตือนอินเดียกรณีที่จะตอบโตดวยการใชกํ าลัง

วันที่ 27 ธ.ค.2544 คณะรัฐมนตรีที่รับผิดชอบดานความมั่นคงของอินเดียประชุมรวมกัน หลังจากนั้นรัฐบาลอินเดียไดประกาศลดจํ านวนเจาหนาที่สถานทูตอินเดียในกรุงอิสลามาบัดเมืองหลวงของปากีสถานและเจาหนาที่สถานทูตปากีสถานในกรุงนิวเดลี เมืองหลวงของอินเดียลง พรอมสั่งหามเครื่องบินปากีสถานบินผานนานฟาอินเดียซ่ึงจะเริ่มมีผลต้ังแตวันที่ 1 ม.ค.2545 เปนตนไป สวนการลดจํ านวนเจาหนาที่ใหดํ าเนินการภายใน 48 ช่ัวโมง และคณะเจาหนาที่ระดับสูงของปากีสถานที่เหลืออยูจะถูกกักบริเวณ โดยใหเหตุผลวาปากีสถานไมมีความจริงใจในการปราบปรามกลุมกอการราย มาตรการควํ่ าบาตรของอินเดียครั้งนี้ มีจุดมุงหมายเพื่อกดดันใหปากีสถานปราบปรามขบวนการกอการรายของชาวมุสลิม ที่ใชปากีสถานเปนฐานเคลื่อนไหวแบงแยกดินแดนแควนแคชเมียรของอินเดีย ซ่ึงทางปากีสถานประกาศมาตรการตอบโตในลักษณะเดียวกันในทันทีทันควัน โดยระบุวาการกระทํ าของอินเดียมีแตจะเพิ่มความตึงเตรียดและบีบใหปากีสถานตองปฏิบัติการตอบโตอยางเทาเทียมกัน ไมแตเทานี้นายทหารอินเดียที่ประจํ าอยูบริเวณชายแดนดานแควนแคชเมียร บอกวาปากีสถานระดมเสริมกํ าลังบริเวณชายแดนอยางเต็มที่

จากสถานการณที่ตึงเครียดในเอเชียใตนี้ สหรัฐโดยพล.อ.คอลิน พายเวลล รมต.ตางประเทศกลาววาสหรัฐมีความวิตกในเรื่องนี้และไมปรารถนาจะเห็นเหตุการณที่บานปลายกลายเปนการปะทะกันโดยตรงระหวางสองประเทศ นายโดนัลด รัมสเฟลด รมต.กลาโหมสหรัฐบอกวาการตรึงกํ าลังทหารตามแนวพรมแดนระหวางประเทศทั้งสอง อาจทํ าใหปากีสถานตองแบงกํ าลังทหารจากพรมแดนดานอัฟกา

Page 73: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

216

นิสถาน ขณะที่สหรัฐยังปฏิบัติการลาตัวนายโอซามะห บิน ลาดิน และยังกังวลวา ความขัดแยงดังกลาวจะสงผลกระทบตอการปฏิบัติการของกํ าลังทหารสหรัฐในอัฟกานิสภานดวยเชนกัน ขณะที่กลุมจี 8 (จี 7 + รัสเซีย) ออกแถลงการณแสดงความวิตกเกี่ยวกับสถานการณระหวางประเทศอินเดียและปากีสถาน และกระตุนใหทั้งสองฝายอดกลั้นและแกปญหาดวยการเจรจา รวมทั้งรวมกันตอสูกับลัทธิกอการรายที่กํ าลังคุกคามโลกอยูในปจจุบัน รวมทั้งนักการเมืองในแคชเมียรก็เสนอใหอินเดียและปากีสถานลดการใชวาจาโตตอบกัน (กรุงเทพธุรกิจ14,19,29,311244,มติชน271244,มติชนสุดสัปดาห17-23 ธ.ค.44)

ความเคลื่อนไหวดานการศึกษานํ าเรื่อง

ความเคลื่อนไหวดานการศึกษาในไตรมาสสุดทายของป 2544 สวนใหญจะเปนเรื่องของการปฏิรูปการศึกษา ที่สํ าคัญคือการประกาศใชหลักสูตรพื้นฐาน 12 ป ของกระทรวงศึกษาธิการ โดยรมต.ศึกษา เปนผูลงนามในคํ าส่ังก.ศึกษาฯประกาศใช เมื่อวันที่ 2 พ.ย.2544 เปนหลักสูตรระดับชาติที่กํ าหนดมาตรฐานการเรียนรูของผูเรียน โดยโครงสรางของเนื้อหาสาระหรือแนวทางจัดกระบวนการเรียนรูเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง โครงสรางของหลักสูตรกํ าหนดเวลาเรียน 12 ป แบงเปน 4 ชวงชั้น มีเนื้อหาสาระหลักการเรียน 8 กลุมวิชา คุณลักษณะพึงประสงคของผูเรียนหลังจบการศึกษาขั้นพื้นฐานไปแลวนั้น เชน เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยในตนเอง มีความคิดสรางสรรค ใฝรู ใฝเรียน รักการอาน รักการคนควา มีความรูอันเปนสากล รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ เปนตน ทั้งนี้หลักสูตรดังกลาวจะเริ่มในโรงเรียนนํ ารองและเครือขายตั้งแตป’45 กอนเริ่มทยอยปฏิบัติจริงป’ 46

อยางไรก็ดี มีผลงานการวิจัยเกี่ยวกับนโยบายและแนวทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป ของคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วายังมีปญหาในทางปฏิบัติอีกหลายประการ เชน ครูยังขาดความมั่นใจในการนํ าไปปรับใช เนื้อหาของหลักสูตรกํ าหนดสาระการเรียนไวกวางขวางมาก ขณะเดียวกันเนื้อหาการเรียนในหลาย ๆ ดานยังถูกมองขามไป เชนเรื่องประชาสังคม ทักษะชีวิต การเตรียมคนใหพรอมกับการทํ างานสมัยใหม เปนตน และไดเสนอใหโรงเรียนแตละพื้นที่รวมกลุมเดินหนาจัดทํ าหลักสูตรทองถิ่นของตน โดยรัฐบาลตองเรงตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการนํ ารองเขตพื้นที่การศึกษา นอกจากนี้ มีการประชุมปฏิรูปการศึกษาของสํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.) ที่ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติต จากการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาของบรรดาครู-อาจารยจากตางจังหวัดพบวาครูจํ านวนมากยังไมเขาใจเรื่องการปฏิรูปการศึกษา โดยเฉพาะครูในเขตชายขอบซึ่งเรียกรองใหจัดเวทีปฏิรูปการศึกษาสัญจร ขณะที่เด็กนักเรียนบางสวนแสดงความเห็นเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาอยางหลากหลาย สวนประเด็นโครงสรางก.ศึกษาฯใหมนั้น ยังไมลงตัว นอกจากนี้ ยังมีนานาทรรศนะจากนักการศึกษาหลายทานเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา อาทิ หากตองการใหการปฏิรูปการศึกษาไดประสิทธิผลจะตองดํ าเนินไปตามบทบาทหนาที่ของกลุมบุคคล 3กลุม คือ ครู นักเรียน และผูปกครอง สวนนักเรียนจะตองเกิดความใฝเรียน ใฝรู เกิดความพากเพียร ความไมทอถอย การปฏิรูปการศึกษาจะตองชวยปกปองดูแลเด็ก ใหไดรับความรูคูคุณธรรม รูจักตนเอง และสอนใหรูจัก “สิทธิ” และ “หนาที่”และที่สํ าคัญคือผูปกครอง จะตองมีสวนรวมกับทางโรงเรียนดวย เปนตน

สวนความเคลื่อนไหวดานอุดมศึกษาในชวงนี้คือการผลักดันสถาบันราชภัฏใหเปนมหาวิทยาลัยที่เนนความเปนเอกภาพเพื่อรองรับการปฏิรูปการศึกษา การเรียกรองของ "สนนท.” ใหรัฐบาลปฏิรูปมหาวิทยาลัยดานวิชาการมากกวาการใหความสํ าคัญกับเรื่องการแปรรูปเปนมหาวิทยาลัยในกํ ากับ อีกทั้ง นักวิชาการยังเสนอใหเปล่ียนแนวคิดของมหาวิทยาลัยในการผลิตบัณฑิตใหไปเปนผูประกอบการมากกวาไปเปนลูกจาง นอกจากนี้ ยังมีการเตรียมการของทบวงมหาวิทยาลัยในการปรับระบบเอนทรานซเพื่อรองรับหลักสูตรพื้นฐานของก.ศึกษาฯ ดานคุณภาพการศึกษานั้นมหาวิทยาลัยวลัยลักษณไดเปดเครือขายธนาคารขอสอบแหงชาติรวมทั้งเชื่อมโยงจากทั่วโลกขึ้น ปรากฏขาวผูบริหารโรง

Page 74: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

217

เรียนรองเรียนสื่อมวลชนให “สมศ.” ทบทวนการคัดเลือกบริษัทประเมินผลหวั่นมีผลประโยชนแอบแฝง และการยืนยันจากกรมวิชาการที่วาป 2547 ทุกโรงเรียนทั่วประเทศใชหลักสูตรใหมไดทั้งหมด เชื่อม่ันเด็กสายพันธุใหมจะเกงวิชาการและเกงอาชีพ นอกจากนี้ ยังมีการเสนอผลงานวิจัยของ สํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.) เกี่ยวกับ“การจัดการศึกษาโดยครอบครัว “ พบวานักเรียน “โฮมสคูล” มีศักยภาพสูงทุกดาน สังคมควรสนับสนุน

1. ความเคลื่อนไหวดานการปฏิรูปการศึกษา1.1 ก.ศึกษาฯประกาศใชหลักสูตรพ้ืนฐาน 12 ป เนนกระบวนการเรียนรูที่ใหความสํ าคัญตอผูเรียน

รวมทั้งกํ าหนดแผนการเตรียมนํ าหลักสูตรฯไปใช ขณะที่ผลการวิจัยพบวายังมีปญหาในการใช1.1.1 รมต.ศึกษา ลงนามคํ าสั่งศธ.ประกาศใช หลักสูตรพื้นฐาน 12 ป กํ าหนดโครงสรางของหลักสูตร คุณลักษณะพึง

ประสงคของผูเรียน และจะเริ่มในโรงเรียนนํ ารองและเครือขายตั้งแตป’45 กอนเริ่มทยอยปฏิบัติจริงป’ 46 วันที่ 2 พ.ย.2544 นายสุวิทย คุณกิตติ รมต.ศึกษาฯ ลงนามในคํ าสั่งศธ.ใหใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 หลังจาก

ที่นายประพัฒนพงศ เสนาฤทธิ์ อธิบดีกรมวิชาการและคณะเขารายงานตอพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯ ในวันที่ 1 พ.ย.2544 ที่ขอดูเนื้อหากอนวาจะทํ าใหเด็กเรียนอยางมีความสุขจริงหรือไม นับเปนหลักสูตรแกนกลางหรือระดับชาติที่กํ าหนดมาตรฐานการเรียนรูของผูเรียน โดยมีโครงสรางของเนื้อหาสาระหรือแนวทางจัดกระบวนการเรียนรูที่ถือวาผูเรียนสํ าคัญที่สุด สามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองใหมีความสมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํ ารงชีวิต มีกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ การปฏิบัติจริง ผูเรียนสามารถเรียนรูสาระวิชาการไดอยางมีความสนุก ทั้งในและนอกหองเรียน และครอบคลุมทุกระบบการศึกษา

สวนโครงสรางของหลักสูตรกํ าหนดเวลาเรียน 12 ป แบงเปน 4 ชวงช้ันคือ ชวงช้ันที่ 1 ป.1-3 ชวงช้ันที่ 2 ป.4-6 ชวงช้ันที่ 3 ม.1-3ชวงช้ันที่ 4 ม.4-6 จัดระบบเปนการศึกษาภาคบังคับซ่ึงใชเวลาเรียน 9 ป ต้ังแต ป.1-ม.3 และการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งใชเวลาเรียน 12 ป ต้ังแตป.1-ม.6 และมีเนื้อหาสาระการเรียนหลัก 8 กลุมวิชา คือภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาตางประเทศ สวนการจัดหลักสูตรและการจัดการเรียนรู จะจัดการเรียนการสอนและมีการวัดผลประเมินผลเพื่อใหจบหลักสูตรทั้ง 8 กลุม โดยผูเรียนสามารถจบหลักสูตรไดในสองชวงช้ันคือเมื่อจบการศึกษาภาคบังคับ9 ป หรือเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป

ลักษณะการจัดการเรียนรูแตละชวงจะประกอบไปดวย ชวงช้ันที่ 1 เนนทักษะพื้นฐานดานการติดตอสื่อสาร การคิดคํ านวณ คิดวิเคราะห และพื้นฐานความเปนมนุษยทั้งดานลักษณะนิสัยและสุนทรียภาพ จัดการเรียนรูภาษาไทยและคณิตศาสตรเปนหลัก ไมใชเวลาเรียนมากแตใหเรียนอยางสนุกสนาน เพลิดเพลิน ชวงช้ันที่ 2 จัดการเรียนรูคลายชวงช้ันที่ 1 แตเพิ่มใหเลือกเรียนไดตามความสนใจ ศึกษาคนควาสรางผลงานดวยตนเอง ชวงช้ันที่ 3 มุงเนนการเรียนรูที่ใหผูเรียนเรียนรูทักษะที่สูงและซับซอนขึ้น เพื่อศึกษาความถนัด ความสนใจ เพื่อเตรียมศึกษาตอและเขาสูวงการอาชีพ และชวงช้ันที่ 4 จัดการเรียนรูเฉพาะทางมากขึ้น เนนการเรียนที่ลุมลึก เพื่อสนองความถนัด ความสามารถและความตองการในการศึกษาตอและงานอาชีพ สํ าหรับการวัดและประเมินผลจะเนนการวัดผลตามสภาพจริง เพื่อใหสอดคลองกับกระบวนการเรียนรูโดยใชวิธีการที่หลากหลาย เชน การเขียนเรียงความ ยอความและการปฏิบัติตางๆ ที่จะแสดงใหเห็นถึงความสามารถในการคิดอยางสรางสรรค ลดการวัดและประเมินโดยขอสอบแบบปรนัย ผูเรียนตองเขารับการประเมินคุณภาพระดับชาติในปสุดทายของแตละชวงช้ันในกลุมสาระที่สํ าคัญไดแก ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษและวิชาอื่นที่จํ าเปน

สํ าหรับคุณลักษณะพึงประสงคของผูเรียนหลังจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปไปแลวนั้นเปนเสมือนหลักประกันวาเมื่อผูเรียนผานการเรียนรู 8 กลุมสาระการเรียนรูแลวคุณลักษณะที่เกิดขึ้นจะตองประกอบดวย 1)เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมอันพึงประสงค 2) มีความคิดสรางสรรค ใฝรู ใฝเรียน รักการอาน และรักการคนควา 3) มีความรูอันเปนสากล รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ มีทักษะและศักยภาพในการจัดการการสื่อสารและการใชเทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทํ างานไดเหมาะสมกับสถานการณ 4) มีทักษะและกระบวนการโดยเฉพาะดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ทักษะการคิด การสรางปญญา และทักษะในการดํ าเนินชีวิต 5) รักการออกกํ าลังกาย ดูแลตนเองใหมีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี 6) มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค มีคานิยมเปนผูผลิตมากกวาเปนผูบริโภค 7) เขาใจในประวัติศาสตรของไทย ภูมิใจในความเปนไทย เปนพลเมืองดี ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข 8) มีจิตสํ านึกในการอนุรักษภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดลอม 9) รักประเทศชาติและทองถิ่น มุงทํ าประโยชนและสรางสิ่งดีงามใหสังคม ทั้งนี้ คุณลักษณะอันพึงประสงคจะเกิดขึ้นได หากครูผูสอนกระตุนใหผูเรียนได

Page 75: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

218

เรียนรูดวยการปฏิบัติจริง เรียนรูอยางอิสระ โดยมีครูเปนผูอยูเบ้ืองหลังความสํ าเร็จ ซ่ึงภารกิจของครูก็คือจะตองคนหาใหพบวาในกลุมสาระการเรียนรูที่ตนรับผิดชอบ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรูและรวมดํ าเนินกิจกรรมไปพรอม ๆ กับผูเรียนนั้นมีคุณธรรมใดเปนคุณธรรมหลัก เชนการสอนกลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยีตองเนนคุณธรรมดานความรับผิดชอบ นิสัยรักการทํ างาน ความรอบคอบในการทํ างาน การทํ างานอยางมีระบบ เปนตน

คํ าสั่งในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 ใหเร่ิมใชต้ังแตปการศึกษา 2546 ในช้ัน ป1, ป4 ,ม.1,ม.4 ปการศึกษา 2547 ใหใชช้ัน ป.1,ป.2,ป.4,ป.5 ม.1,ม.2,ม.4 และ ม.5 และปการศึกษา 2548 ใหใชหลักสูตรใหมในทุกช้ันเรียน ทั้งนี้ ใหเร่ิมใชในโรงเรียนนํ ารองและโรงเรียนเครือขายที่ก.ศึกษาฯจะประกาศรายชื่อตอไปต้ังแตปการศึกษา 2545 ในช้ันเรียนที่เปนไปตามลํ าดับขางตนตั้งแตปการศึกษา 2545เปนตนไป โดยในสวนของโรงเรียนนํ ารองและเครือขายในชั้นแรกจะประกอบดวยโรงเรียนนํ ารองการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 162 โรงเรียน กระจายอยูทุกจังหวัดทั่วประเทศ ทั้งระดับประถมฯและมัธยมฯ สวนโรงเรียนเครือขายก็มีการประสานกับกรมตนสังกัด เชน กรมสามัญศึกษา ซ่ึงจะมีโรงเรียนเครือขายเพิ่มขึ้นสหวิทยาเขตละ 1 โรงเรียน โรงเรียนสังกัดสํ านักงานการประถมศึกษาแหงชาติ(สปช.) จะมีโรงเรียนเครือขายเพิ่มขึ้นอํ าเภอละ 1 โรงเรียน และกํ าลังประสานกับสังกัดอื่นๆตอไป ซ่ึงโรงเรียนนํ ารองและโรงเรียนเครือขายเหลานี้จะรวมกับสถานศึกษาใกลเคียงในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาและการบริหารวิชาการ ตลอดจนการบริหารจัดการที่เอื้อตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ตรวจสอบ ทบทวนและพัฒนาปรับปรุงอยางตอเนื่อง เพื่อเปนตนแบบในการใชหลักสูตรทั่วประเทศตอไป

1.1.2 ลกัษณะเดนของหลักสูตรพ้ืนฐานฉบับใหมนางอารีรัตน วัฒนสิน รองอธิบดีกรมวิชาการไดช้ีแจงเกี่ยวกับหลักสูตรใหมเพื่อใหเกิดความเขาใจตอครู อาจารย สถานศึกษาและ

ผูที่เกี่ยวของกับการศึกษา หลายประการดวยกันดังนี้ 1) เปนหลักสูตรที่สามารถปรับตัวใหเอื้อตอสถานการณความเปลี่ยนแปลงไดดวยตัวของมันเอง เนื่องจากมีความยืดหยุนไมตายตัว กรมวิชาการเพียงแตระบุมาตรฐานเปนตัวควบคุมคุณภาพของแตละวิชา โดยเนนการเอาไปใชในชีวิตประจํ าวันและเอาไปใชในการเรียนวิชาอื่น

2) กํ าหนดชัดเจนเกี่ยวกับกระบวนการเรียนการสอนในชวงช้ันเรียนที่ 1 คือ ป.1-3 จะเนนภาษาไทยกับคณิตศาสตรและบูรณาการศาสตรอยางอื่นเขามาใหสอดคลองกับวิถีชีวิต สอดคลองกับกลุมเปาหมายและศักยภาพของเด็ก สวนชวงช้ัน ป.4-6 จะเนนวิทยาศาสตรมากขึ้นขณะเดียวกันก็ยังเนนการเรียนรูแบบบูรณาการ แบบลงมือปฏิบัติโดยผานกิจกรรม สํ าหรับชวงช้ันม.ตน เปนชวงที่เด็กยังสํ ารวจความถนัดความสนใจ จึงยังใหโรงเรียนจัดสอนแบบเปนกอนๆได ซ่ึงโรงเรียนสามารถไปออกแบบหลักสูตรเอง แตก็เสนอแนะวาหากศาสตรใดเริ่มมีทฤษฎีที่ยุงยากซับซอนอาจไมสอนแบบบูรณาการก็ได เพื่อเด็กจะไดมีองคความรูที่แนน สํ าหรับเปนพื้นฐานในการศึกษาศาสตรอื่น ๆ ตอไปอีกทั้งยังเนนใหเด็กไดสํ ารวจความถนัดความสนใจของตนเอง เบ้ืองตนเด็กจึงตองบรรลุมาตรฐานเพียง 50 เปอรเซ็นตอีก 50 เปอรเซ็นต กรมวิชาการปลอยใหสถานศึกษาพัฒนาขึ้นไป ดวยการเปดใหเรียนเพิ่มเติมไดเลยในวิชาที่ตนถนัด และเมื่อถึงชวงช้ันม.ปลายที่เด็กเริ่มรูความถนัดความสนใจของตนเองแลว และเปนชวงที่เด็กตองเตรียมตัวที่จะศึกษาตอเฉพาะทาง หรือออกสูโลกอาชีพ กรมวิชาการจึงไดลดมาตรฐานที่บอกวาจํ าเปนสํ าหรับทุกคนใน 8 กลุมสาระลง เหลือประมาณ 30 เปอรเซ็นตเทานั้น ที่เหลือเปดโอกาสใหเด็กเลือกเขาสูการเรียนเฉพาะทางไดเลย ซ่ึงจะทํ าใหการเรียนแบบบูรณาการลดลงเขาสูศาสตรเฉพาะทางมากขึ้น

3) เปดโอกาสใหสถานศึกษาทํ าหลักสูตรไดเอง สามารถแบงเวลาเรียนใหเด็กไดเองและยังเปดโอกาสใหโรงเรียนรวมกับชุมชนนักเรียนและครู ออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาซึ่งสามารถจัดหลักสูตรไดสอดคลองเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย ที่สํ าคัญคือหลักสูตรใหมจะชูเร่ืองคุณภาพในการอานและเขียนของเด็ก โดยใหโรงเรียนดูแลซ้ํ าในทุก 3 ป ตามชวงช้ันที่เรียนโดยตั้งคณะกรรมการขึ้นมาดูแลทั้งเรื่องการอานการเขียนรวมไปถึงเรื่องคุณธรรมจริยธรรมของเด็กดวย

4) มีความเปนสากล เนื่องจากกรมวิชาการไดวางหลักสูตรเปนกอน ๆ และพยายามใสหนังสืออางอิงเขาไปในโรงเรียนใหมาก เด็กก็จะมีแหลงความรูที่กวางขึ้น กระบวนการเรียนรูก็จะเกิดจากตัวเด็ก มีการคิดวิเคราะห อภิปรายและพัฒนากระบวนการคิดสรางสรรคมากขึ้นเพราะมีฐานความรูที่กวางขึ้น และเด็กยังสามารถดึงเอาองคความรูจากแหลงหลากหลายเขามาพัฒนากระบวนการคิดเพื่อออกมาเปนเรื่องใหมได และอาจพัฒนาองคความรูใหมไดดวยตัวเองดวยซ้ํ าไป

5) มีระบบการประเมินผลตามมาตรฐานตามเปาหมายที่โรงเรียนนั้น ๆ วางไว ถาต้ังเปาวาทุกวิชานํ าไปสูการมีรายได โรงเรียนก็จะดูการปฏิบัติที่ไปสูรายไดของนักเรียน ซ่ึงแตละโรงเรียนอาจวางเปาหมายที่ตางกัน อาทิบางโรงเรียนตั้งเปาหมายดานคุณภาพวิชาการไวสูงขณะที่บางโรงเรียนวางเปาหมายเพื่อการมีรายได ระดับคุณภาพจึงไมเทากันแตกรมวิชาการจะมีเครื่องมือที่เปนระบบกํ ากับคุณภาพที่จะเทียบกับผลประเมินของแตละโรงเรียน ถาโรงเรียนใดไดองคความรูตามมาตรฐานที่หลักสูตรกํ าหนดตํ่ ากวาของกรมวิชาการมาก โรงเรียนนั้น ๆ ก็ตองปรับปรุงตนเองขึ้นมาในสวนนี้เพื่อใหไดมาตรฐานชาติ

Page 76: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

219

6) ผลผลิตของเด็กไทย ตามหลักสูตรใหมคาดหวังใหเด็กไทยเกิดกระบวนการคิด รูเทาทันการเปลี่ยนแปลง สามารถคนควาหาความรูใหมไดและมีวิธีการที่จะปรับเปลี่ยนไปในการดํ ารงชีวิตไดทุกสถานการณ

1.1.3 แผนงานก.ศึกษาฯเกี่ยวกับการนํ าหลักสูตรไปใชก..ศึกษาฯไดเตรียมการเพื่อนํ าหลักสูตรไปใชใหถึงตัวผูเรียนอยางมีคุณภาพและยั่งยืนโดยมีแผนงานที่สํ าคัญ ๆ ดังนี้ 1) การจัดทํ า

เอกสารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 แผนงานคือ ภายในเดือนธ.ค.2544 ครูในโรงเรียนนํ ารองจะไดรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และเอกสารประกอบหลักสูตรทุกรายการ ซ่ึงประกอบดวย (1) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2544 1 รายการ สาระและมาตรฐานการเรียนรูตามสาระการเรียนรู 8 รายการ และหลักสูตรการศึกษาพื้นฐานฉบับยอ (2) คูมือสาระการเรียนรูภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีและภาษาตางประเทศ (3) เอกสารประกอบหลักสูตร ไดแก คูมือตาง ๆ ประกอบดวย คูมือหลักสูตรและการใชหลักสูตร คูมือการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน คูมือครู คูมือนักเรียน คูมือผูปกครอง คูมือประชาชน แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู เอกสารระบบทะเบียนนักเรียนการวัดและประเมินสภาพจริงในกลุมสาระการเรียนรู คูมือบริหารการจัดการแนะแนว การใชการวิจัยในกระบวนการเรียนรู การวิจัย การพัฒนาการเรียนรู การวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและคูมือพัฒนาและเลือกใชสื่อการเรียนรู

2) การนํ ารองการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ไดแก (1) โรงเรียนนํ ารองการใชหลักสูตรฯจํ านวน 162 แหงจากสังกัด สปช. สศ. สช. เทศบาล สามารถจัดทํ าหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอนในชั้นป.1 ป.4 และม.1 ม.4 ในปการศึกษา2545 โดยไดรับการสนับสนุนคาใชจายจากกรมวิชาการ (2) โรงเรียนเครือขายจํ านวน 1,564 แหง จากสังกัดสปช. สศ. สช. กทม.และเทศบาลสามารถทํ าหลักสูตรสถานศึกษาและสามารถจัดการเรียนการสอนในปการศึกษา 2545 ในช้ัน ป.1 ป.4 และม.1 ม.4 ไดโดยไดรับการสนับสนุนเอกสารทางวิชาการและสื่อในการนํ าหลักสูตรไปใชไดจากกรมวิชาการ

3) การพัฒนาบุคลากรเพื่อการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มีแผนงานดังนี้ (1) ครูทุกคนในโรงเรียนนํ ารองและโรงเรียนเครือขายการใชหลักสูตรฯจะมีหลักสูตรของแตละสถานศึกษาภายในเดือนม.ค.-เม.ย.2545 และจัดการเรียนรูไปใชในภาคเรียนที่1 ปการศึกษา 2545 ในช้ัน ป.1 ป.4 และม.1 ม.4 (2) วิทยากรหลักสูตรฯระดับจังหวัดสามารถใหการอบรมแกผูบริหารและครูทุกคนทั่วประเทศภายในเดือน ม.ค.- ก.พ.2545 และใหสามารถจัดทํ าหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อใชหลักสูตรในปการศึกษา 2546 ได ภายในเดือน มี.ค.-เม.ย.2545 (3) ภายในเดือน มี.ค.- เม.ย 2545 บุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวของและเครือขายหลักสูตรฯ(คณะครุศาสตรและศึกษาศาสตรจากสถาบันราชภัฏและมหาวิทยาลัยทั่วประ เทศ) มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับหลักสูตรและการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

4) การติดตามและประเมินผลการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กํ าหนดใหภายในเดือน ก.พ.2545 กรมวิชาการตนสังกัด สถาบันราชภัฏ และทบวงมหาวิทยาลัย สามารถรายงานผลการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของการนํ ารองและเครือขายการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในปการศึกษา 2545 เพื่อเปนขอมูลในการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการใชหลักสูตรในปการศึกษา 2546ตอไป

5) การประชาสัมพันธการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 นั้น ต้ังแตเดือนพ.ย.2544 เปนตนไปถึงเดือนก.ย.2545 ผูบริหารการศึกษา ครู ผูปกครอง นักเรียน และประชาชนทั่วไปมีความรูความเขาใจและสามารถเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานได และสถานศึกษาทุกแหงจะไดรับหลักสูตรฯพรอมเอกสารประกอบทุกรายการพรอมซีดีรอมภายในเดือนก.พ.2545 (ผูจัดการ01,13 1144,กรุงเทพธุรกิจ 01,031144,มติชน03,04,13,15,16,19,201144,ผูจัดการ13,141144,สยามรัฐ13,221144,มติชนสุดสัปดาห 191144)

1.1.4 ผลการวิจัยของคณะครุศาสตร จุฬาฯ เกี่ยวกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปยังมีปญหาในทางปฏิบัติคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เสนอผลงานการวิจัยเรื่อง “นโยบายและแนวทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป “ซ่ึง

ไดรับทุนวิจัยจากสํ านักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สาขาการศึกษา โดยมี ดร.อมรวิชช นาครทรรพ เปนผูนํ าเสนอ สาระสํ าคัญคือ ภาพรวมหลักสูตร 12 ปที่ก.ศึกษาฯประกาศใชมีลักษณะคลายคลึงกับหลักสูตรอีกหลายประเทศที่ทํ าเปนหลักสูตรแกนกลาง กํ าหนดโครงสรางหมวดวิชาและมาตรฐานการเรียนแตละวิชาไวเพียงกวางๆเพื่อใหแตละทองถิ่นหรือสถานศึกษามีอิสระในการนํ าไปปรับใชใหเขากับความตองการของตน ซ่ึงนับเปนแนวทางที่เหมาะสม อยางไรก็ตาม ยังมีปญหาในทางปฏิบัติอีกหลายประการ อาทิ ครูยังขาดความมั่นใจในการนํ าไปปรับใช ซ่ึงผลการสํ ารวจพบวามีครูถึงรอยละ 52.5 เห็นวาการนํ าหลักสูตรไปใชยังเปนเรื่องยุงยาก เมื่อวิเคราะหดูเนื้อหาหลักสูตรจะเห็นวามีการกํ าหนดสาระการเรียนไวกวางขวางมาก ซ่ึงถาครูไมเขาใจก็จะไปเพิ่มเติมเนื้อหาใหตรงกับหลักสูตรใหม จึงกลายเปนวาเด็กตองเรียนเนื้อหามากขึ้น และทํ าใหครูตองสอนแบบทองจํ าซ่ึงเปนอุปสรรคตอการเรียนรูในโรงเรียน

Page 77: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

220

นอกจากนี้ ในแงของเนื้อหาการเรียนหลาย ๆ ดาน ก็ยังถูกมองขามไป เชนเรื่องประชาสังคมหรือพลเมืองศึกษาที่เปนหัวใจของการเตรียมคนไวดูแลทองถิ่นของตนเอง หรือเรื่องทักษะชีวิต เชน เพศศึกษา ยาเสพติด การลดความรุนแรงในวัยรุน หรือเรื่องการเตรียมคนใหพรอมกับการทํ างานสมัยใหม เปนตน ซ่ึงขอเสนอที่สํ าคัญของงานวิจัยดังกลาวคือตองการใหโรงเรียนแตละพื้นที่รวมกลุมเดินหนาจัดทํ าหลักสูตรทองถิ่นของตน โดยมีหนวยงานกลางและคณะครุศาสตร ศึกษาศาสตรในพื้นที่เปนพี่เลี้ยง รวมทั้งโครงการนํ ารองเขตพื้นที่การศึกษาที่รัฐบาลตองรีบตัดสินใจในเรื่องนี้ เนื่องจากเปนเงื่อนไขสํ าคัญในการรวมพลังกลุมโรงเรียนในการจัดทํ าหลักสูตรทองถิ่น เพราะถาหากเขตพื้นที่มีขนาดโตเกินไปก็จะไมสะทอนความเปนทองถิ่น อีกทั้งยังติดตามดูแลไมทั่วถึง แตขณะเดียวกัน ถาเขตพื้นที่มีขนาดเล็กเกินไป ก็ขาดคนดีคนเกงที่จะมารวมพลังกันทํ าหลักสูตรสถานศึกษา กลายเปนการขัดขวางการรวมกันทํ างานระหวางกลุมโรงเรียน (กรุงเทพธุรกิจ,มติชน 261244)

1.2 ครูจํ านวนมากยังไมเขาใจเรื่องการปฏิรูปการศึกษา โดยเฉพาะครูในเขตชายขอบ เรียกรองใหจัดเวทีปฏิรูปการศึกษาสัญจร ขณะที่นักเรียนบางสวนไดแสดงความเห็นเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาอยางหลากหลาย

ในการประชุมปฏิรูปการศึกษาของสํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.) ที่ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิตต เปดโอกาสใหครูตางจังหวัดไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา อาทิ นายมารุต มินทรเสน โรงเรียนบานทาขึ้น จ.กํ าแพงเพชร แสดงความเห็นวาครูในตางจังหวัดหลายแหงยังไมมีความเขาใจเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา อาจเนื่องจากการประชาสัมพันธของหนวยงานที่รับผิดชอบยังไมทั่วถึงโดยเฉพาะเอกสารเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาและยังไมเขาใจแนวทางเกี่ยวกับการจัดหลักสูตรพื้นฐานแบบใหมที่ใหอํ านาจสถานศึกษาเปนคนกํ าหนดเอง ซ่ึงหากเปนไปไดควรมีเวทีการปฏิรูปการศึกษาสัญจรไปตางจังหวัดเพื่อเผยแพรความรูใหกับครูทั่วประเทศดวย โดยเฉพาะครูที่อยูตามชายขอบที่ไมสามารถเขามารวมประชุมในสวนกลางได เนื่องจากมีปญหาทั้งอัตรากํ าลังและคาใชจาย ซ่ึงครูเหลานี้ยังมีอีกมากที่ไมเขาใจเรื่องการปฏิรูปการศึกษา สวนอาจารยโชคชัย ครูโรงเรียนประถมศึกษาแหงหนึ่งในจ.รอยเอ็ด บอกวาครูตางจังหวัดหลายโรงเรียนยังมีปญหาเรื่องการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรใหมที่กํ าหนดใหสถานศึกษาและครูผูสอนสามารถจัดหลักสูตรไดตามความเหมาะสมของสภาพทองถิ่น เพราะจนถึงขณะนี้ยังไมมีความชัดเจน และเสนอใหจัดเวทีปฏิรูปการศึกษาสัญจรเชนกันเพื่อใหครูไดรับขอมูลอยางทั่วถึง นอกจากนี้ ครูยังสับสนในเรื่องการสอนที่ยึดเด็กเปนศูนยกลาง เอกสารตางๆ โรงเรียนขนาดเล็กตองขวนขวายหาเอง

สํ าหรับความเห็นของนักเรียนในเรื่องการปฏิรูปการศึกษานั้น นายชัยรัตน มาประณีต ผูวาราชการฯ นายธีระศักด์ิ แกวหยองศึกษาธิการฯมีสํ านักงานปฏิรูปการศึกษา(สปศ.) เปนผูสนับสนุน ไดจัดโครงการประชุมเสวนาเครือขายปฏิรูปการศึกษา เพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาของจังหวัดกาฬสินธุขึ้น ซ่ึงในการเสวนาเวทีเด็กมีการอภิปรายกันอยางกวางขวาง ตัวอยางระดับประถมศึกษา เชน ด.ญ.นิรัชรา ถวิลการ นักเรียนช้ันป.6 โรงเรียนกุดกวางสวาสดิ์วิทยา บอกวาการปฏิรูปการศึกษาคือการเปลี่ยนแปลงครูและบุคลากรเพื่อพัฒนาเด็กใหมีคุณภาพ มีการจัดกิจกรรมการสอนใหมีความหลากหลายขึ้น นักเรียนไดเรียนตามความสนใจและทํ าใหระบบการประเมินเปลี่ยนจากครูประเมินเพียงผูเดียวเปนการประเมินจากตนเอง เพื่อน ผูปกครองรวมดวย สวนความคาดหวังกับการปฏิรูปการศึกษานั้น ตองการครูที่ใจดี มีความรักความเมตตา มีความสามารถทันโลกทันเหตุการณ ด.ญ.ธัญกาญจน ผลจันทร นักเรียนช้ัน ป.6 โรงเรียนเทศบาล กาฬสินธุพิทยาสิทธิ์ กลาววา การปฏิรูปการศึกษาตองยึดผูเรียนเปนสํ าคัญ ด.ญ.มนตทิพย ขันศรีมนต นักเรียนช้ันป.5 โรงเรียนวรธรรมพิทยากาฬสินธุ บอกวาการปฏิรูปการศึกษาไมเนนการทองจํ า แตใหนักเรียนคิดเองทํ าเอง ด.ญ.สวรรญา จันทเคลิ้ม นักเรียนช้ัน ป.6 โรงเรียนพิพัฒนราษฎรบํ ารุง บอกวา การปฏิรูปการศึกษาเปนการเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนโดยการยึดเด็กเปนศูนยกลาง

ระดับมัธยมศึกษา ตัวอยาง เชน ด.ญ. พิชชากร บาลลา นักเรียนช้ัน ม.2 โรงเรียนกาฬสินธุพิทยาสรรพ กลาววาการปฏิรูปคือการเปลี่ยนแปลงในองคประกอบของการศึกษาเพื่อใหเกิดความกาวหนาในเรื่ององคประกอบและผูเรียน เด็กไทยตองทันโลกทันเหตุการณ ใหเด็กรูจักคิดเปน ทํ าเปน กาวทันโลก ทันเยาวชนของประเทศที่พัฒนาแลว หากมีการวางรากฐานของการศึกษาในยุคนี้ใหมีประสิทธิภาพ การศึกษาจะเปนพาหนะที่ดีที่สุดในการเลือกฐานะทางสังคม จะนํ าพาชีวิตใหกาวหนาในอนาคต โดยเยาวชนเปนบุคคลที่จะพาใหพาหนะนี้แลนไปได ก็จะเกิดการพัฒนาแบบยั่งยืนใหแกประเทศไทย แตนับต้ังแตปฏิรูปการศึกษาครูก็ยังใหความสนใจเฉพาะเด็กที่เกงดานวิชาหลักเชนวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทานั้น ไมคอยใหความสํ าคัญกับเด็กที่เกงวิชาอื่น ซ่ึงเห็นวาครูควรใหการสนับสนุนตามความสามารถของเด็กเพราะบางทีเด็กเกงวิชาการจบแลวหางานทํ าไมไดขณะที่เด็กเกงสายวิชาชีพอาจประสบความสํ าเร็จมีงานทํ า นายอนุสรณ อินทะแสง นักเรียนช้ัน ม.6 โรงเรียนกาฬสินธุพิทยาสรรพ มองวาการปฏิรูปการศึกษาหากไมสํ าเร็จจะเกิดผลเสียตามมา ขณะนี้การปฏิรูปการศึกษามีความลาชาไมแนใจวาจะเปนไปตามที่หวังไวหรือไม จึงอยากใหทบทวนกระบวนการที่ทํ าอยูวาถูกตองหรือไม เพราะเปนอยูเหมือนการปฏิวัติ ครูไปอบรมมาแลวนํ ามาใชกับนักเรียนทันที เด็กที่รับไดก็ดีไปแตคนที่รับไมไดจะไมสนใจเลย

สวนในระดับอุดมศึกษานั้น นายอภิชิต แกวสมศรี สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตกาฬสินธุบอกวา การปฏิรูปการศึกษาเปนการเปลี่ยนแปลงบุคลากรและเปลี่ยนทั้งระบบเพื่อพัฒนาใหการศึกษากาวไปสูระดับนานาชาติและเชื่อวาเมื่อปฏิรูปแลวจะทํ าใหเด็กรูจักคิด

Page 78: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

221

วิเคราะหเลือกและประยุกตใชขอมูลใหเปนประโยชน และบอกวาไมอยากใหสังคมไทยเปนสังคมที่บานํ้ าลาย อะไรนิดอะไรหนอยก็พูดไวกอนหลักการใชไดแตการปฏิบัติไมดี อยากใหลงมือปฏิบัติขอที่คิดวาดีที่สุด ซ่ึงเมื่อทํ าแลวขอตอๆไปก็จะดีเอง และขอฝากใหอาจารยถามพวกเราบางวาเราตองการอะไรมันถึงจะดีที่สุด จะตองมีการเชื่อมตอระหวางครูและนักเรียน ไมใชเอาแตใจของฝายใดฝายหนึ่งเทานั้น (มติชน041144,สยามรัฐ 061144)

1.3 โครงสรางใหมของก.ศึกษาฯยังไมลงตัววันที่ 31 ต.ค.2544 มีการประชุมผูบริหารก.ศึกษาฯ ซ่ึงนายสุวิทย คุณกิตติ รมต.ศึกษาฯไดแจงใหที่ประชุมทราบวา ผลการ

ประชุมครม.ในวันที่ 30 ต.ค.2544 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯ ไดเรงรัดใหออกกฎหมายปฏิรูปการศึกษาหลัก 4 ฉบับไดแก รางพ.ร.บ.ระเบียบบริหารขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย รางพ.ร.บ.จัดตั้งสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา รางพ.ร.บ.มหาวิทยาลัยราชภัฏ และรางพ.ร.บ.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สวนเรื่องโครงสรางก.ศึกษาฯนั้น นายสุวิทยไดหารือกับศ.ดร.ปรัชญา เวสารัชช ประธานคณะกรรมการบริหารสํ านักงานปฏิรูปการศึกษา(สปศ.) แลว เพื่อพิจารณาทํ าความกระจางในเรื่องโครงสรางก.ศึกษาฯใหม รวมทั้งเรื่องกฎหมายเกี่ยวกับครูและบุคลากรทางการศึกษา ไมแตเทานี้ ที่ประชุมยังพิจารณารางแผนยุทธศาสตรความเสมอภาคทางการศึกษา ระยะ 10 ป(พ.ศ.2545-2554) ตามที่คณะกรรมการจัดทํ าแผนยุทธศาสตรทศวรรษแหงคุณภาพและความเสมอภาคทางการศึกษาที่ ก.ศึกษาฯเสนอมาซ่ึงรางแผนยุทธศาสตร กํ าหนดเปาหมายไว 5 ประการ คือ 1) ยกระดับมาตรฐานทางวิชาการและสรางความเสมอภาคทางการศึกษา 2) สงเสริมใหสถานศึกษาสามารถใหบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ 3) พัฒนาระบบสงเสริมการศึกษาตอและประกอบอาชีพ 4) พัฒนาคุณภาพบุคลากรผูสอน และ 5) พัฒนาประสิทธิภาพเชิงองคกรของกระทรวง เพื่อนํ าไปสูวิสัยทัศนที่ตองการใหคนไทยทุกคนมีความเทาเทียมกันในสิทธิและโอกาสที่จะไดรับบริการทางการศึกษาที่รัฐจัดให อนึ่ง กอนหนาวันประชุม นายสุวิทยไดหารือกับผูที่เกี่ยวของในเรื่องปฏิรูปการศึกษาและเห็นวาจะตองมีการปรับแกโครงสรางก.ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมที่ สปศ.เสนอมา โดยยกเลิกในเรื่องคณะกรรมการชุดตาง ๆ ในทุกระดับ และการกํ าหนดมาตรฐานวิทยฐานะครูที่ควรใชระบบประเมินประสิทธิภาพในรูปแบบเดียวกับสํ านักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน(ก.พ.) ที่มีการประเมินทุกสิ้นป ซ่ึงในเรื่องดังกลาว สรางความอึดอัดใจใหกับนายจํ าลอง ครุฑขุนทด และดร.สิริกร มณีรินทร รมช.ศึกษาฯเนื่องจากเรื่องตางๆไดดํ าเนินการมามากแลว อาจสงผลตอภาพลักษณของรัฐบาลที่กํ าลังเปนที่จับตามองของฝายคานดานการปฏิรูปการศึกษา ทั้งนี้ เปนการเปดเผยของนางมัณฑนา ศังขะกฤษณ รองปลัดก.ศึกษาฯ

ในประเด็นโครงสรางคณะกรรมการฯ ดังกลาว นายสุวัฒน เงินฉํ่ า กรรมการสปศ.ใหความเห็นวานายสุวิทย ยังติดภาพในอดีตอยูเพราะมักกลาวอยูเสมอวาหากสั่งการสํ านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัด (สปจ.)แลวไมเอาดวยจะทํ าอยางไร แสดงวายังติดกับแนวคิดการบริหารแบบเดิม ทั้งที่รูปแบบและการบริหารแบบปจจุบันไดเปลี่ยนแปลงไปแลว เพราะหากพิจารณาถึงบทบาทของคณะกรรมการทั้ง 4 ชุดและที่มา จะเห็นวามีบทบาทเสนอแนะและกํ าหนดแผนนโยบายใหรมต.พิจารณา และที่มาของคณะกรรมการฯสวนหนึ่งก็มาจากการแตงตั้งของรมต. ตํ าแหนงผูบริหารระดับสูง รมต.ก็แตงตั้งเชนกัน ดังนั้นโครงสรางนี้รมต.ยังมีอํ านาจในการกํ ากับติดตามนโยบายและการจัดสรรงบประมาณ เพราะเรื่องตางๆคณะกรรมการตองเสนอใหรมต.พิจารณา

สวนนายปรัชญา เวสารัชช ประธานสปศ. บอกวา รูปแบบที่ทางสปศ.กํ าหนดอยูในพ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ และผานกระบวนการคิดพิจารณาจากกลุมบุคคลหลายฝายของสังคมหากจะมาแกไขเพียงเพราะเหตุผลไมเหมือนกับที่ตัวเองตองการก็ดูจะไมเปนธรรม สํ าหรับความคิดเห็นขององคกรเครือขายสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษา โดยนางจิระพันธุ พิมพพันธุ ประธานองคกร บอกวาอยากใหนายสุวิทยศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมในเรื่องนี้เพื่อมิใหการปฏิรูปการศึกษาผิดเพี้ยนไปจากเจตนารมณของพ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ และจะขอพบนายสุวิทยเพื่อสอบถามเหตุผลรวมทั้งจะกํ าหนดทาทีขององคกรในเรื่องนี้ตอไป สวนนายสุวิทยไดช้ีแจงกรณีนี้วาประเด็นสํ าคัญไมใชอยูที่การหวงอํ านาจรมต.แตที่เปนหวงคือกระบวนการรับผิดชอบและกลไกการตรวจสอบการทํ างานใหเกิดความโปรงใส เชน ความรับผิดชอบในกระบวนการผลิตเด็กใหมีคุณภาพ มีคุณธรรม เปนตน จึงขอใหอาจารยมหาวิทยาลัยที่มีความชํ านาญเรื่องการกระจายอํ านาจมาชวยพิจารณากฎหมายที่มีอยูวามีกระบวนการเหลานี้หรือไมอยางไร จึงขอเวลาศึกษาในเรื่องนี้กอน

วันที่ 2 พ.ย.2544 นายจํ าลอง ครุฑขุนทด เปดเผยผลการประชุมปฏิบัติการมิติใหมในการปรับโครงสรางและการบริหารงานภาครัฐปฏิรูประบบราชการ ที่ทํ าเนียบรัฐบาล วาที่ประชุมไดขอสรุปโครงสรางก.ศึกษาฯใหม วาเปนการตอยอดโครงสรางจากที่สํ านักงานปฏิรูปการศึกษาเสนอ โดยเสนอใหเพิ่มองคกรหลัก เรียกวาคณะกรรมการวิชาชีพเฉพาะ ซ่ึงรวมงานดานอาชีวศึกษา งานการศึกษานอกโรงเรียนและวิทยาลัยชุมชนเขาดวยกัน ซ่ึงสวนนี้ทางก.ศึกษาฯจะตองมาทํ ารูปแบบการบริหารใหเช่ือมโยงกับคณะกรรมการการอาชีวศึกษาแหงชาติที่กํ าหนดไวในรางพ.ร.บ.การอาชีวศึกษา ซ่ึงคงตองหารือกับสปศ.ดวย สวนงานพลศึกษาที่อยูนอกสถานศึกษาใหขึ้นกับกระทรวงกีฬานันทนาการและการทองเที่ยว สวนที่อยูในสถานศึกษา อาจใหสมทบกับสถาบันราชภัฎหรืออยูในสวนของงานสงเสริมการพลศึกษาที่อยูในสํ านักงานปลัดกระทรวงหรือหากตามโครงสรางก.กีฬาฯตองการโรงเรียนกีฬา ก็จะใหไปข้ึนกับก.กีฬาฯ สวนงานกรมการศาสนา สํ านักงาน

Page 79: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

222

คณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติและกรมศิลปากร ยังเปนไปตามโครงสรางเดิมคือขึ้นกับสํ านักงานคณะกรรมการศาสนาและวัฒนธรรมโดยสํ านักพุทธศาสนาแหงชาติ ยังคงแยกออกมาเปนเอกเทศขึ้นกับรมต.ศึกษาฯเชนเดิม เมื่อโครงสรางไดขอสรุปดังนี้แลว ตอไปคงเปนฝายกฎหมายดํ าเนินการจัดทํ ารายละเอียดโดยหารือรวมกับ สปศ.ดวย เพื่อเสนอตอคณะกรรมการกลั่นกรองฯและคณะรัฐมนตรีไดโดยเร็วแตไมแนวาจะเสนอทันการประชุมสภาฯสมัยนี้หรือไม

นางสิริกร มณีรินทร สรุปวางานการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ยังอยูภายใตกระทรวงเดียวกัน เพื่อใหการพัฒนาเด็กครบทุกมิติซ่ึงถือเปนภาพรวมใหญที่ไดขอยุติแลว สวนเรื่องที่นายสุวิทยใหอาจารยมหาวิทยาลัยไปศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบคณะกรรมการ คิดวาเปนรายละเอียดปลีกยอย เปนเพียงวิธีการทํ างานเทานั้น สวนจํ านวนเขตพื้นที่การศึกษาและสังกัดนั้น ที่ประชุมใหรอขอยุติจากการนํ ารองโครงการบริหารเขตพื้นที่การศึกษากอน นอกจากนี้ นายสิปปนนท เกตุทัต ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา กลาววา ภาพรวมการจัดโครงสรางการศึกษาฯมีความเปนไปไดและสอดคลองกับพ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติเปนสวนใหญ แตเนื้อในยังตองหารือในรายละเอียดอีกคาดวานายปองพล อดิเรกสาร รองนายกฯทํ าหนาที่กํ ากับดูแลดานการศึกษาจะนํ าไปหารือในการประชุมคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ(กรุงเทพธุรกิจ011144,มติชน 031144)

1.4 นานาทรรศนะเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาใหมีประสิทธิผลนายปราโมทย นาครทรรพ แสดงความเห็นในคอลัมน “หวงการเมือง” ในน.ส.พ.ผูจัดการประจํ าวันที่ 1 พ.ย.2544 เกี่ยวกับการ

ปฏิรูปการศึกษาที่เปนอยู วาเปนการปฏิรูปแบบขี่ชางจับต๊ักแตน และเปนไปเพื่อระบบราชการ สํ านักงานและผูบริหารมากกวาเพื่อเด็กนักเรียน พอแมและชุมชน หรือแมแตครูนอยธรรมดาๆ โดยอางคํ าปรารภของครูจํ านวนหนึ่งที่ระบุวา แมรัฐบาลจะเปลี่ยนแปลงสํ านักงานและองคกรไปอยางไร ก็คือบุคลากรและความเคยชินเดิมๆ รัฐบาลก็ไดแตสั่งผานสายงานเดิมๆ ครูนอยและนักเรียนก็ไดแตนั่งทํ าตาปริบๆ เหมือนเดิม และไดนํ าขอคิดจากหนังสือเรื่อง The Learning Revolution ของ Gordon Dryden และ Dr.Jeannette Vos โดยแปลเอาความเรื่อง“บันได 13 ขั้นไปสูระบบการศึกษาที่ยิ่งใหญ” ดังนี้

1) คิดใหซ้ึงถึงการใชสื่อดานไฟฟาและคอมพิวเตอรในระบบการศึกษา 2) ทุกๆคนตองเปนผูชํ านาญคอมพิวเตอร 3) ปรับปรุงการศึกษาของพอแมเปนการใหญ โดยเฉพาะผูที่เพิ่งจะเปนพอแม 4) การปรับปรุงขนานสํ าคัญของระบบบริการสุขภาพเด็กปฐมวัยเพื่อปองกันสภาพการเรียนรูลํ าบากบกพรอง 5) โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เปยมคุณภาพสํ าหรับทุกๆคน ทุกครอบครัวและชุมชน 6) โครงการไลใหทันเพื่อน สํ าหรับผูเรียนชาในทุก ๆ โรงเรียน 7) กํ าหนดและระบุสไตลการเรียนสวนตัวของแตละบุคคล และจัดโครงการเพื่อรองรับใหทั่วถึง 8)ทุกๆคนตองไดรับหลักประกันความสามารถและวิธีการ เร่ืองทํ าอยางไรจึงจะเรียนเปน ทํ าอยางไรจึงจะคิดเปน 9) ตองกํ าหนดกันใหมวาสมควรสอนอะไรบางในโรงเรียน

10.) หลักสูตรสี่ประสาน ซ่ึงวางจุดหลักที่ความเคารพตนเอง ทักษะและแบบอยางในการดํ ารงชีวิต อีกสองประสานก็คือการเรียนวาจะเรียนเปนอยางไร และการเรียนเนื้อหาวิชาการ การออกกํ าลัง และศิลปะ 11) วัตถุประสงคสามองคประกอบในการศึกษาทุกชนิดคือทักษะและความรูเฉพาะอยาง ความสามารถในการคิด และนํ ามาประยุกตเช่ือมโยง การพัฒนาทักษะ และความสันทัดสวนตัวที่นํ าเอาไปใชประโยชนได 12) คนหาและกํ าหนดแหลงเรียนรูที่ดีที่สุดไมใชแตโรงเรียนเทานั้น 13) พูด ทํ า และอธิบายใหงายๆ อยาใชศัพทแสงวิชาการที่สวยหรูคลุมเครือ และสรุปวา หากสามารถทํ าใหนักเรียน ครู และชุมชนดํ าเนินตามขั้นตอนดังกลาวโดยมีรัฐบาลคอยหนุนชวย ลดความแตกตางเรื่องขนาด ระยะทาง และการขาดแคลนงบประมาณ ใชระบบสหกรณการเรียนรู และใหความชวยเหลือทางเทคนิค วิชาการ และอุปกรณเราก็สามารถปฏิรูปอยางคอยเปนคอยไป แบบสมตัว สอดคลองกับเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

สวนแนวคิดของ ดร.อธิปตย คลี่สุนทร รองอธิบดีกรมวิชาการ เปดเผยวาทิศทางการปฏิรูปการศึกษาไทยในระยะแรกมุงเนน 4ประเด็นหลักคือ การปฏิรูปการเรียนรู การประกันคุณภาพ การใชโรงเรียนเปนฐาน และการพัฒนาบุคลากร โดยหัวใจของ 4 ประเด็นดังกลาวไดศึกษาตามแนวคิดที่วา “ทุกคนเพื่อการศึกษา” (All For Education) ซ่ึงเปนปฏิญญาขอตกลงของการประชุมคณะ รมต.ก.ศึกษาจากทั่วโลกกวา 200 ประเทศ ที่เมืองดักกา ประเทศเซเนกัล เมื่อป 2543 และกลาวเพิ่มเติมวาการปฏิรูปการศึกษาหากจะใหไดประสิทธิผลตองดํ าเนินไปตามบทบาทหนาที่ของกลุมบุคคล 3 กลุม คือ ครู นักเรียน และผูปกครอง บทบาทของครูคือการทํ าใหเด็กเห็นแนวทางการคนความุงเนนการปฏิบัติทดลอง ครูตองสอนใหเด็กมีจินตนาการความเชี่ยวชาญและความเขาใจมากขึ้น นั่นคือการเรียนรูของเด็กตอไปจะตองบมเพาะความรูจากกิจกรรมภายในหองเรียนแทนการสอนแบบทองจํ าที่เคยยึดถือปฏิบัติกันมาแตอดีต ซ่ึงกรมสามัญอยูระหวางการอบรมครูในการปรับพฤติกรรมการเรียนการสอน

สํ าหรับนักเรียนจะตองเกิดความใฝเรียน ใฝรู เกิดความพากเพียร ความไมทอถอย สามารถเรียนจบตลอดรอดฝง ซ่ึงการปฏิรูปการศึกษาจะตองชวยปกปองดูแลเด็ก ใหเขาไดรับความรูคูคุณธรรม รูจักตนเอง และสอนใหรูจัก “สิทธิ” และ “หนาที่” กลาวคือเด็กมีสิทธิในการเรียนรู อาน เขียน โดยไมฝาฝนสิทธิของผูอื่นหรือกรอบของกฎหมาย จารีตประเพณีและวัฒนธรรม ขณะเดียวกัน รูจักหนาที่ตอสังคม ตอชุม

Page 80: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

223

ชน ตอพอแม และที่สํ าคัญคือผูปกครอง จะตองมีสวนรวมกับทางโรงเรียนดวยอยาปลอยใหโรงเรียนดูแลเด็กตามลํ าพัง ซ่ึงเวลานี้ก.ศึกษาฯไดต้ัง “เครือขายผูปกครอง” เขามาเปนกรรมการสถานศึกษามีสวนแสดงความคิดเห็น นอกจากนี้ องคกรหรือผูที่มีหนาที่สงเสริม โดยเฉพาะภาคเอกชน จะตองมีสวนรวมในการปฏิรูปการศึกษา ดวยการสรางสรรคกิจกรรมใหเด็ก ใหเขารูจักคิด ทดลอง เพราะจะเปนผลตอการเรียนรูของเด็กมากกวาที่ศึกษาในหองเรียน และสรุปวา การปฏิรูปการศึกษาหากปลอยใหเด็กมีอิสระทางความคิดมากขึ้น ครูและผูปกครองรับฟงเด็กมากขึ้น ลดความตองการตามใจตนแตยังมีความหวังดีอยูตลอด เราจะไดพลเมืองของประเทศที่มีความคิดริเร่ิมสรางสรรคขึ้น (ผูจัดการ01,021144)

2. ความเคลื่อนไหวดานอุดมศึกษา 2.1 ‘จํ าลอง‘ ผลักดัน ‘สรภ.’ เปนมหาวิทยาลัย เนนความเปนเอกภาพเพื่อรองรับการปฏิรูปการศึกษาที่สถาบันราชภัฏพระนคร นายจํ าลอง ครุฑขุนทด รมช.ศึกษา ไดกลาวระหวางเปนประธานเปดการอบรมการถายโอนสํ านักงาน

สภาสถาบันราชภัฏ ซ่ึงถือวาเปนสวนหนึ่งของกระบวนการปฏิรูปสถาบันราชภัฏ ที่มีผลกระทบตอทุกสวนของสถาบัน จํ าเปนตองเตรียมการทุกดานรองรับ เพื่อนํ าไปสูการเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มีศักยภาพ และเปนกํ าลังสํ าคัญของการพัฒนาประเทศ วา แมพ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ จะแยกใหสถาบันราชภัฏเปนอิสระ แตมหาวิทยาลัยราชภัฏในอนาคต ควรคงความเปนเอกภาพ ความเปนมหาวิทยาลัยของทองถิ่นเพื่อเปนพี่เลี้ยงใหกับการศึกษาระดับอื่นในทองถิ่นที่จะเกิดใหม เชน สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และอาชีวศึกษา วามีความพรอมที่จะเขามาสูการปฏิรูปการศึกษาในอนาคตหรือไม รวมทั้งที่สํ าคัญที่สุดคือการสรางมาตรฐานและคุณภาพของหลักสูตร ซ่ึงถือเปนหัวใจของความเปนอุดมศึกษาที่จะตองสอดคลองกับทองถิ่นและขอความรวมมือใหชวยสถาบันฯ เนื่องจากรัฐบาลและก.ศึกษาฯเขาใจดีวา สถาบันราชภัฏตองทํ างานหนักทั้งการปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อเขาสูโครงสรางใหม การพัฒนาครูใหมีความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีตาง ๆ แลว ยังมีภารกิจที่ตองสนองตอบนโยบายรัฐบาลและงานที่เกี่ยวของกับประชาชนและแมวาสถาบันราชภัฏจะเขาสูโครงสรางใหมและยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยแลวก็ไมใชวาหนาที่ของสถาบันราชภัฏจะจบแคเพียงออกกฎหมายเทานั้น แตสถาบันราชภัฏยังจํ าเปนตองสรางตนแบบของตนเองใหไดดวย ซ่ึงตางจากมหาวิทยาลัยอื่นที่มีความพรอมและมีตนแบบของตนเองอยูแลว

สวนนายถนอม อินทรกํ าเนิด เลขาธิการสภาสถาบันราชภัฏ บอกวา พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ กํ าหนดใหสถาบันอุดมศึกษาเปนนิติบุคคลและบริหารงานอยางเปนอิสระ ตลอดระยะเวลา 2 ป สํ านักงานสภาสถาบันราชภัฏไดเตรียมความพรอมใหกับสถาบันราชภัฏ 11แหงทั่วประเทศ ทั้งการปรับแนวความคิดและวิธีการ จนถึงวันนี้พรอมที่จะไปรวมกับมหาวิทยาลัยเพื่ออยูภายใตสังกัดสํ านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแลว และในปการศึกษา 2545 สํ านักงานสภาสถาบันราชภัฏจะถายโอนงาน 12 ดานใหกับสถาบันราชภัฏทั้ง 41 แหงไดแก 1) งานบริหารงานบุคคล 2) งานการเงินการบัญชีและพัสดุ 3) งานพัฒนากายภาพและสิ่งแวดลอม 4) งานวินัยและนิติการ 5) งานตรวจสอบภายใน 6) งานนโยบายแผนงานและงบประมาณ 7) งานวิเทศสัมพันธ 8) งานพัฒนาการฝกหัดครู 9) งานมาตรฐานวิชาการและหลักสูตร 10) งานกิจการนักศึกษา 11) งานกองทุนมูลนิธิ และ 12) งานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเตรียมความพรอมในการเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏ สํ าหรับศ.ดร.ปรัชญา เวสารัชช ประธานคณะกรรมการบริหารสํ านักงานปฏิรูปการศึกษา(สปศ.)กลาวเพิ่มเติมวา ขณะนี้กฎหมายเกี่ยวกับการเปนมหาวิทยาลัยไดสงใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาแลวและในเร็ว ๆ นี้จะมีการแตงตั้งคณะกรรมการประสานการปฏิรูปการศึกษาขึ้น ประกอบดวย ผูแทนจากก.ศึกษาฯ ทบวงมหาวิทยาลัย สํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ และ สปศ. ซ่ึงนายกฯจะเปนผูลงนามในคํ าสั่งแตงตั้ง (สยามรัฐ ,กรุงเทพธุรกิจ 231044)

2.2 “สนนท.” เรียกรองรัฐบาลปฏิรูปมหาวิทยาลัย เพราะรัฐบาลพูดถึงแตการแปรรูปเปนมหาวิทยาลัยในกํ ากับรัฐซึ่งเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารมากกวาปฏิรูปวิชาการ

วันที่ 23 ธ.ค.2544 นายเมธา มาสขาว เลขาธิการสหพันธนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย(สนนท.) เปดเผยวาหลังจากที่สนนท.ไดจัดสัมมนาทั่วประเทศเรื่องมหาวิทยาลัยในกํ ากับรัฐบาลและการปฏิรูปมหาวิทยาลัยแลว ไดสรุปความเห็นของนิสิตนักศึกษาทั่วประเทศเกี่ยวกับเร่ืองนี้เพื่อเสนอรัฐบาล สํ าหรับนโยบายในกํ ากับรัฐที่รัฐบาลพยายามผลักดันใหมหาวิทยาลัยรัฐรับเปลี่ยนสถานภาพใหทันป 2545 ตามเงื่อนไขของธนาคารเพื่อการพัฒนาแหงเอเชียหรือเอดีบีโดยที่รัฐบาลพูดถึงแตเฉพาะการบริหารจัดการเทานั้น เปนการเปลี่ยนรูปแบบบริหารราชการเปนกึ่งเอกชน ไมไดพูดถึงการปฏิรูปดานวิชาการ จิตสํ านึกของนิสิตนักศึกษาและการปฏิรูปมหาวิทยาลัยอยางแทจริง ทิศทางดังกลาวจึงไมใชทางออกในการแกไขปญหาสังคม ไมแตเทานี้ยังผลักภาระดานงบประมาณ ลดโอกาสการเขาเรียนในมหาวิทยาลัยของกลุมผูยากจนเนื่องจากนิสิตนักศึกษาตองรับภาระคาใชจายเพิ่มขึ้น นายเมธา ไดแสดงจุดยืนของนักศึกษาวาตองการใหรัฐบาลกระจายโอกาสทางการศึกษาใหกับคนยากจนมากขึ้น มิเชนนั้นจะแกปญหาความยากจนไมได แมรัฐบาลยืนยันวาไมใชการแปรรูปแตความจริงก็เปนในทํ านองเดียวกันนั้น มหาวิทยาลัยจึงแยกตัวโดดเดี่ยวจากสังคม ไมช้ีนํ าสังคม และบางมหาวิทยาลัยยังเปนคนละฝายกับสังคม และรับใชนายทุน และเพิ่ม

Page 81: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

224

เติมวาสิ่งที่นิสิตนักศึกษาทั่วประเทศเสนอใหกระทํ าตอไปคือใหเคลื่อนไหวจัดกิจกรรมนิสิตนักศึกษาทุกภูมิภาคเพื่อเผยแพรเกี่ยวกับเร่ืองมหาวิทยาลัยในกํ ากับรัฐบาล และจัดเวทีในทุกสถาบันเพื่อใหความรูเกี่ยวกับกลไกตลาดมากยิ่งขึ้น เรียกรองใหรัฐบาลเปดโอกาสใหชุมชนเขามีสวนรวมในการปฏิรูปมหาวิทยาลัย ไมใชเนนแคการบริหารจัดการโดยใหอํ านาจผูบริหารและสภามหาวิทยาลัย รัฐตองเปลี่ยนทาทีใหมเกี่ยวกับเร่ืองนี้เพื่อใหคนไทยมีสิทธิเขาเรียนมหาวิทยาลัยเทาเทียมกัน และใหชุมชนมีสิทธิต้ังมหาวิทยาลัยเอง เชน มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน และบอกวาจะนํ าขอเสนอดังกลาวยื่นตอนายสุธรรม แสงประทุม รมต.ทบวงฯ หากไมคืบหนาก็จะยื่นตอ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯ ตอไป (มติชน241244)

2.3นักวิชาการเสนอใหเปล่ียนแนวคิดของมหาวิทยาลัยในการผลิตบัณฑิตใหไปเปนผูประกอบการมากกวาไปเปนลูกจาง

ผศ.วิทวัส รุงเรืองผล อาจารยประจํ าคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี ม.ธรรมศาสตร แสดงความคิดเห็นวา ที่ผานมาสถาบันการศึกษาของไทยมักสอนใหเด็กเปนลูกจาง พอถึงชวงภาวะเศรษฐกิจตกตํ่ าเกิดปญหาตกงานจนกลายเปนภาวะวางงานสะสม และถาพิจารณาจากโครงสรางSMEs ของไทยในชวง 20 ปที่ผานมา ผูประกอบการสวนใหญมีการศึกษาตํ่ ากวาปริญญาตรี มักเริ่มจากการเปนลูกจางกอนแลวคอยพัฒนาตัวเองมาเปนเจาของกิจการสวนคนที่จบปริญญาตรีแลวจะมุงเขารับราชการหรือบริษัทเอกชนมากกวา ทํ าใหธุรกิจSMEs ไมคอยมีอะไรโดดเดน ในชวง 5 ปที่ผานมารัฐบาลเริ่มใหความสํ าคัญและใหการสนับสนุนSMEs มากขึ้น ประกอบกับการเผยแพรขาวสารของสื่อมวลชนเกี่ยวกับความสํ าเร็จของบุคคลตัวอยางดานSMEs พบวาสวนใหญจบปริญญาตรีเคยเปนลูกจางบริษัทและออกมาทํ าธุรกิจเอง ทํ าใหนักศึกษารุนใหมเร่ิมเปลี่ยนแนวคิดเรียนเพื่อจบออกมาเปนผูประกอบการมากขึ้น หลายคนมองหาลูทางของตนเองกอนที่จบการศึกษา

การเปนบัณฑิตแมจะมีความไดเปรียบในเรื่องความรู ความสามารถ หรือการมีปจจัยตาง ๆ เกื้อหนุนแตก็ยังขาดประสบการณโอกาสเสี่ยงจึงมีเชนเดียวกับผูที่ไมจบปริญญาตรี สวนบทบาทของการอุดมศึกษาในเรื่องนี้จะเห็นไดวาหลักสูตรยังไมเอื้อตอการพัฒนาคนเขาสูระบบ SMEs เทาที่ควร โดยเฉพาะประเด็นปฏิรูปการศึกษา เด็กทุกวันนี้ยังมีคานิยมที่อยากเรียนมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยเองก็ยังคงสอนเด็กใหจบออกมาเปนลูกจางมากกวาผูประกอบการ สวนการเปนผูประกอบการมักมีลักษณะเปนเปนการฝกอบรมมากกวา แมแตอาจารยผูสอนเองก็มีนอยคนที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการเปนผูประกอบการ หลักสูตรอุดมศึกษาจึงควรปรับปรุงโดยเพิ่มสัดสวนวิชาการที่สอนใหเปนผูประกอบการมากขึ้น โดยเชิญผูประกอบการ SMEs ที่ประสบความสํ าเร็จมาเปนวิทยากร เพื่อสอนวิธีการเริ่มตนทํ าธุรกิจรวมทั้งอาจารยผูสอนควรปรับวิธีการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความตองการของตลาดและบัณฑิตที่จบออกมาสามารถผันตัวเองสูธุรกิจสวนตัวได อยางไรก็ตาม การพัฒนาคนใหไปสู SMEs ไมจํ าเปนตองเปนระดับมหาวิทยาลัยเสมอไป หลักสูตรระดับ ป.วช. หรือ ป.วส.ที่เปนโรงเรียนพาณิชย หรือโรงเรียนทางดานชางตาง ๆ ที่มีพื้นฐานวิชาชีพไมวาจะเปนชางไฟฟา ชางกล ก็สามารถปรับหลักสูตรที่ผนวกหรือประสานเขากับศาสตรดานการบริหารธุรกิจโดยเอาหนวยงานภาครัฐและสถาบันการเงินเขาไปชวย เปดหลักสูตรผูประกอบการเกี่ยวกับวิชาชีพตาง ๆ ได(กรุงเทพธุรกิจ 291244)

2.4 ทบวงฯเตรียมปรับระบบเอนทรานซเพ่ือรองรับหลักสูตรพ้ืนฐานของก.ศึกษาฯนายสุชาติ เมืองแกว รองปลัดทบวงมหาวิทยาลัย เปดเผยถึงผลการประชุมคณะทํ างานระบบการสอบคัดเลือกผูเขาศึกษาตอ

ระดับอุดมศึกษาวา จากการปรับหลักสูตรการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของก.ศึกษาฯ โดยเริ่มนํ ารองตั้งแตปการศึกษา 2545ในโรงเรียนตัวอยางจํ านวน 1,000 โรง ทั้งของรัฐและเอกชน การปรับหลักสูตรดังกลาวสงผลกระทบตอการสอบคัดเลือกเขาศึกษาตอระดับอุดมศึกษา เนื่องจากก.ศึกษาฯเปดโอกาสใหโรงเรียนแตละแหงกํ าหนดวิธีการประเมินและวัดผลการเรียนไดเองวาจะใชในรูปเกรดเฉลี่ยหรือเปอรเซ็นตไดในระดับ ป.1-ม.3 สวนม.4-ม.6 ใหคิดในรูปแบบของหนวยกิต ซ่ึงจะทํ าใหการนํ าผลการเรียนเฉลี่ย(GPA)มาพิจารณาใชคัดเลือกเขาศึกษาตอระดับอุดมศึกษาจะทํ าไดลํ าบาก เพราะแตละสถานศึกษาจะใชวิธีคิดคาคะแนนที่ตางกัน ตลอดจนถึงการขยายโอกาสใหโรงเรียนจัดทํ าหลักสูตรใหสอดคลองกับทองถิ่น ซ่ึงทํ าใหหลักสูตรมีความหลากหลาย มีการปรับพฤติกรรมการเรียนการสอนของครู และโรงเรียนสามารถกํ าหนดคานํ้ าหนักวิชาไดเอง แตละแหงจึงอาจกํ าหนดหนวยกิตไมเทากันในวิชาเดียวกัน การวัดและประเมินผลในแตละโรงเรียนก็มีมาตรฐานที่ตางกัน ทั้งนี้ การใชหลักสูตรใหมจะกระทบกับการคัดเลือกในชวงปการศึกษา 2548 ที่เด็กหลักสูตรใหมสํ าเร็จการศึกษา ซ่ึงในเบ้ืองตนที่ประชุมไดเสนอใหใชการทดสอบมาตรฐานกลางหรือ SAT ควบคูกับการพิจารณาคะแนนเฉลี่ยนสะสมเปนการแกปญหา

ดาน ร.ศ.ดร.สุมณฑา พรหมบุญ อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีแหงประเทศไทย(ทปอ.)กลาววาหลักสูตรใหมของก.ศึกษาฯที่กระจายใหสถานศึกษาจัดทํ าหลักสูตรการเรียนการสอนและกํ าหนดคานํ้ าหนักรายวิชาไดเองทํ าใหการคิดคา GPA ของผูสมัครคัดเลือกเกิดความไมเปนธรรมไดเพราะเทียบกับกลุมโรงเรียนเอง ไมเทียบระหวางโรงเรียน จึงจํ าเปนตองสรางหลักเกณฑที่โปรงใสและเปนธรรมขึ้นมา ทั้งนี้ สอดคลองกับรูปแบบของระบบกลางการรับนิสิต-นักศึกษาใหม หรือ Central Universities

Page 82: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

225

Admissions System ที่ ทปอ.เสนออยางมาก เนื่องจากไมไดพิจารณาเฉพาะ GPA รวมเพียงอยางเดียว แตใหปรับระบบการสอบคัดเลือกโดยใชผลการเรียนการสอนในทุกรายวิชามีนํ้ าหนักความสํ าคัญมากขึ้น โดยเฉพาะตองเรงรัดศึกษาระบบและเตรียมความพรอมในการสรางขอสอบใหเร็วขึ้น เพื่อรองรับผูสํ าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรใหม และประกาศใหผูปกครองและนักเรียนรับทราบรูปแบบการคัดเลือกแบบใหมกอนใชจริง 3 ป ทั้งนี้ที่ประชุมกํ าหนดใหทบวงฯจัดการประชุมคณาจารยมหาวิทยาลัยเพื่อรับทราบการปรับเปลี่ยนหลักสูตรของก.ศึกษาฯและสรางระบบการคัดเลือกที่มีมาตรฐานในระยะยาว โดย ทปอ.ยืนยันวาระบบการคัดเลือกยังคงความเปนธรรม โปรงใส และมีมาตรฐานทางวิชาการ แมจะเกิดความหลากหลายของหลักสูตรการสอน ซ่ึงอาจใหมีการทดสอบมาตรฐานกลางและพิจารณาทรานสคริปตประกอบ ซ่ึงจะเปนระบบที่ประหยัดตอมหาวิทยาลัย และผูสมัครคัดเลือกก็จะเสียคาสมัครเพียงครั้งเดียวแตสามารถเลือกเขาศึกษาตอไดในหลายสถาบัน(กรุงเทพธุรกิจ,มติชน 251244)

3. ความเคลื่อนไหวดานคุณภาพการศึกษา3.1 ม.วลัยลักษณเปดเครือขายธนาคารขอสอบแหงชาติรวมเชื่อมโยงจากทั่วโลกดร.บุญญฤทธิ์ อุยยานนวาระ อาจารยประจํ าสํ านักวิชาวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ และเว็บมาสเตอรวิชาการดอท

คอม (WWW.VCHAKARN.COM) เปดเผยวาจุดเริ่มตนของการจัดทํ าเว็บไซตรวบรวมขอสอบสาขาวิชาตางๆวาเริ่มขึ้นในป 2543 โดยรวมกับเพื่อน 2 คน คือนายพิเชษฐ กิจธาราและนายอรรถฤทธิ์ ฉัตรภูติ ซ่ึงเปนนักเรียนทุนโครงการพัฒนาและสงเสริมผูมีความสามารถทางวิทยาศาสตร(พสวท.) ประเทศอังกฤษ จัดทํ าเว็บไซตสํ าหรับเยาวชนที่ Geocities และ Tripod และในเดือนมี.ค.2543 ไดตัดสินใจรวมลงทุนซ้ือโดเมนเนม(Domain name)และเนื้อที่บนอินเทอรเน็ตพรอมทั้งเริ่มพัฒนาเว็บไซตวิชาการดอทคอมมาเรื่อยๆ ภายใตแนวคิดเอดดูเทนเมนต(Edutainment) ซ่ึงเปนรูปแบบของสื่อแนวใหมที่ผสมผสานสาระและความบันเทิงเขาดวยกันโดยมีสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี(สสวท.)เปนผูอุปถัมภในเรื่องของงบประมาณดํ าเนินการ

ในสวนของธนาคารขอสอบนั้น ดร.บุญญฤทธิ์ อธิบายวาเปนการดํ าเนินการปรับปรุงในสวนของ V-SCHOOL หรือโรงเรียนวิชาการใหมีความนาสนใจยิ่งขึ้น เพื่อเปนเว็บเพจที่ใชรองรับกิจกรรมทางการศึกษาควบคูไปกับการติวขอสอบ โดยไดรวบรวมตัวอยางขอสอบพรอมเฉลยที่หลากหลายจากทั่วทุกมุมโลกเอาไวใหทดสอบความสามารถกันตามความสนใจทั้งดานฟสิกส เคมี ชีววิทยาและคณิตศาสตร ตัวอยางเชนวิชาฟสิกสจะประกอบดวยโจทยขอสอบทั้งในดานไฟฟา อะตอมนิวเคลียร ฟสิกสทั่วไป กลศาสตร ฯลฯ วิชาคณิตศาสตร ประกอบดวยตรรกศาสตร สัมพันธฟงกช่ัน เรขาคณิต ตรีโกณมิติ สถิติ ลอการิทึ่ม เมตตริกซ เวกเตอร ฯลฯ วิชาเคมี ประกอบดวยเรื่องของตารางธาตุสมบัติของสาร พันธะเคมี ปริมาณสารสมดุลเคมี กรด ฯลฯ สวนวิชาชีววิทยา ประกอบดวย ชีววิทยาทั่วไป สิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย หนวยของสิ่งมีชีวิต สารอาหาร การยอยอาหาร การลํ าเลียงในรางกาย พลังงาน เปนตน

ดร.บุญญฤทธิ์ อธิบายเพิ่มเติมวาการจัดทํ าธนาคารขอสอบผานทางเว็บไซตจะกอใหเกิดประโยชนกับบรรดานักเรียนและนักศึกษาเปนอยางมาก ทํ าใหสามารถทบทวนความรูไดงายขึ้น ขณะเดียวกันก็จะชวยใหไดทดลองทํ าขอสอบของประเทศอื่นๆดวย ไมแตเทานี้ยังสามารถคลิกเขาไปหาขอมูลเพิ่มเติมทั้งในสวนของการเขาไปหาขอมูลประดับความรู การเตรียมตัวศึกษาตอหรือทํ ารายงานสงอาจารยไดตามสะดวก รวมทั้งยังเช่ือมโยงเกี่ยวกับวิชาเรียนวิทย เรียนศิลป สอบเอนทรานซ หองสมุดออนไลน วัฒนธรรมไทย การศึกษาตอตางประเทศและอื่น ๆ อีกมากมาย นอกจากธนาคารขอสอบแลว เว็บไซตวิชาการดอทคอมยังบรรจุกิจกรรมตางๆใหรวมสนุกมากมายหลายดานดวยกันยกตัวอยาง เชน การประกวดออกแบบเว็บไซตโตตอบคํ าถามชิงรางวัล การเปดหองเรียนวิทยาศาสตรทางเว็บไซตวิชาการดอทคอม ซ่ึงมีวัตถุประสงคเพื่อฝกฝนทักษะทางดานวิทยาศาสตร โดยไดเตรียมโจทยเอาไวใหออกแบบและฝกทดลองดวยตนเอง เปนตน (ผูจัดการ 291044)

3.2 ผูบริหารโรงเรียนรองเรียนส่ือมวลชนให “สมศ.” ทบทวนการคัดเลือกบริษัทประเมินผลหวั่นมีผลประโยชนแอบแฝง

น.ส.พ.”มติชน” เปดเผยวามีผูใชช่ือ “กลุมผูบริหารโรงเรียนมัธยมสวนภูมิภาค” รองเรียนมาวาขอใหสํ านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ทบทวนและยุติการคัดเลือกบุคคลหรือบริษัทที่อยูในสังกัดของบริษัทหรือสํ านักพิมพที่ผลิตหรือจํ าหนายหนังสือเรียนเขาเปนหนวยงานประเมินสถานศึกษา โดยยกกรณีบริษัท ศูนยเพิ่มคุณภาพการศึกษา จํ ากัด ที่ผานการคัดเลือกเปนบริษัทประเมินภายนอกรอบ 2 มีผูถือหุนใหญของบริษัท อักษรเจริญทัศน (อจท.)จํ ากัด ที่เปนผูผลิตและจํ าหนายตํ าราเรียนรายใหญรายหนึ่งเปนเจาของอยูดวย ซ่ึงอาจทํ าใหการประเมินโรงเรียนตางๆ ถูกนํ าไปอิงกับผลประโยชนของการขายแบบเรียนในเครือบริษัท และอางวาขณะนี้โรงเรียนจํ านวนมากไดรับแจงวาคนของสํ านักพิมพ อจท. จะไปประเมินเพราะไดประกาศใหโรงเรียนทราบอยูตลอดเวลา

นายจํ ารัส นองมาก ประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน(กพพ.)กลาววา โดยหลักการของพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สมศ. กํ าหนดใหผูที่ทํ าธุรกิจและตองการเปนหนวยงานประเมินภายนอกจะตองจัดตั้งบริษัทแยกออกมาตางหาก

Page 83: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

226

โดยจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินสถานศึกษาภายนอกโดยเฉพาะ หากเขาขายหลักการดังกลาวก็ไมถือวาผิดกติกาแตอยางใด แตบริษัทที่แยกออกมาจะทํ าประโยชนหรือธุรกิจอยางอื่นรวมดวยไมได หากพบวา บริษัท ศูนยเพิ่มคุณภาพการศึกษาฯมีการแนะนํ าใหซ้ือหนังสือเรียนของสํ านักพิมพอจท.จริง ก็ถือวามีความผิดรายแรง โทษสูงสุดถึงขั้นถอนใบรับรอง และหากมีขอเท็จจริงสถานศึกษาก็สามารถรองเรียนมาที่ สมศ.ได และในกรณีที่โรงเรียนทํ าดี แตผูประเมินบอกวาไมดี โรงเรียนก็สามารถรองเรียนไดเชนกัน และหากบอกวาไมดีเพียงเพราะไมซ้ือหนังสือเรียนสํ านักพิมพในเครือก็ถือวาผิดรายแรง อยางไรก็ตาม มาตรการปองกันไมใหบริษัทประเมินภายนอกหาผลประโยชนอื่นรวมดวยจะเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสมศ.พิจารณาตอไป (มติชน 031144)

3.3 ระบุป 47 โรงเรียนทั่วประเทศใชหลักสูตรใหมไดหมด เช่ือมั่นเด็กสายพันธุใหม: เกงวิชาการ-เกงอาชีพ

วันที่ 18 ธ.ค.2544 ดร.ประพัฒนพงศ เสนาฤทธิ์ อธิบดีกรมวิชาการ ก.ศึกษาฯ จัดประชุมผูบริหารและผูเกี่ยวของในการจัดหลักสูตรสถานศึกษา “โครงการนํ ารองการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน” โดยมีผูบริหารสังกัดกรมสามัญศึกษาจากทั่วประเทศเขารวมประชุมประมาณ 350 คน ทั้งนี้เพื่อสรางความเขาใจกับโรงเรียนนํ ารองทุกโรง ที่จะนํ าหลักสูตรใหมมาสอนในปการศึกษา 2545 วาควรเตรียมความพรอมในดานใดบางเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และยังจะเปนตัวอยางใหกับโรงเรียนใกลเคียงเพื่อศึกษารูปแบบตลอดจนเทคนิคการเรียนการสอนแลวนํ ากลับไปประยุกตใชในสัดสวน 1 : 5 โรงเรียน กอนที่จะนํ าไปใชจริงในปการศึกษา 2546 แตจากการที่โรงเรียนแตละแหงมีความพรอมที่แตกตางกัน ดังนั้น ผูสอนควรเลือกเนื้อหาหรือกิจกรรมบางสวนที่คิดวาเหมาะสมกับนักเรียนมากกวาลอกเลียนมาทั้งหมดสํ าหรับโรงเรียนนํ ารองจํ านวน 162 แหงทั่วประเทศนั้น หลายโรงเรียนจัดทํ าหลักสูตรเสร็จเรียบรอยแลวซ่ึงเช่ือวาผูบริหารสถานศึกษามีความเขาใจและสามารถทํ าไดจริง อยางไรก็ตาม ทางกรมวิชาการยังมีความกังวลเกี่ยวกับขั้นตอนการเผยแพรความรูแกนักเรียน จึงขอความรวมมือไปยังสถาบันอุดมศึกษาตาง ๆ เชน สถาบันราชภัฏ คณะศึกษาศาสตร และคณะครุศาสตร ดํ าเนินการนิเทศกหลักสูตรของโรงเรียนนํ ารองและทดสอบความรูของนักเรียนวาตรงตามที่ก.ศึกษาฯกํ าหนดไวหรือไม อีกประการหนึ่งคือการจัดหลักสูตรระดับประถมศึกษากับมัธยมศึกษาตองสอดคลองกัน และตองคํ านึงถึงความตองการของชุมชนดวยวาตองการสงเสริมบุตรหลานของตนใหสามารถเรียนในระดับสูงตอไปหรือตองการใหออกมาประกอบอาชีพ ทั้งนี้ ดร.ประพัฒนพงศ ยืนยันวาหลักสูตรใหมจะมีเด็กสายพันธุใหมในอนาคตที่ “เกงวิชาการ-เกงอาชีพ” ตรงตามที่ผูปกครองตองการ (ผูจัดการ,มติชน 191244)

4. ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการศึกษาทางเลือก4.1 พบนักเรียน “โฮมสคูล” มีศักยภาพสูงทุกดาน สังคมควรสนับสนุนวันที่ 21 พ.ย.2544 สํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.) ไดจัดประชุมทางวิชาการเพื่อนํ าเสนอวิทยานิพนธเร่ือง

“การจัดการศึกษาโดยครอบครัว “ขึ้น โดยมีผลงานวิทยานิพนธของมหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยช่ือดังจํ านวน 5 เร่ืองมานํ าเสนอ เพื่อเผยแพรองคความรูที่ไดจากการทํ าวิจัย อันจะนํ าไปสูการขยายผลในทางปฏิบัติตอไป โดยผูเขารวมประชุมมีทั้งพอแมผูปกครองที่เปนครอบครัวโฮมสคูลและผูสนใจทั่วไป วิทยานิพนธทั้ง 5 เร่ืองประกอบดวย 1) การตัดสินใจยอมรับแนวคิดการจัดการศึกษาโดยครอบครัวของพอแมผูปกครอง ของน.ส.ทองไพร สถาวรินทุ เปนการศึกษาหาขอมูลวาทํ าไมพอแมจึงจัดการศึกษาโฮมสคูลใหกับลูก 2) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อการศึกษาโดยครอบครัว ของ น.ส.รัชนีวรรณ พงศพิสิฐสันต คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา เปนการศึกษากระบวนการเรียนการสอนของโฮมสคูลวาทํ าอยางไร 3) การจัดกระบวนการเรียนรูโดยครอบครัวของ น.ส.วริสรา วงษขํ า จากคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร 4) รูปแบบการสื่อสารของครอบครัวโฮมสคูล โดย น.ส.บุญศิริ มีสํ าราญ จากคณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีสาระสํ าคัญวาเด็กในครอบครัวโฮมสคูล มีศักยภาพสูงทุกดาน เชน กลาแสดงออก พูดจาฉะฉาน การเลาเรื่องราวตางๆแสดงถึงการจัดระบบความคิดไดดี มีสัมมาคารวะ ซ่ึงเกิดจากการความสัมพันธที่ดีในครอบครัว ที่พอแมมีความพรอมที่จะพูดคุยเพื่อใหความรูและความอบอุนแกลูกตลอดเวลา ขณะเดียวกันก็เปดใจใหกวางรับฟงความคิดเห็นของลูกและมีจิตวิญญาณในการเรียนรูซ่ึงอาจเรียนรูรวมไปกับลูกโดยไมปดกั้นลูกจากสภาพแวดลอมภายนอก สวนดานความคาดหวังที่พอแมโฮมสคูลตองการไดรับความชวยเหลือจากหนวยงานที่เกี่ยวของคือการเรงประกาศกฎกระทรวงออกมารับรองสถานภาพเด็กๆโฮมสคูล และขอความชัดเจนในการประเมินผลสัมฤทธิ์ที่เด็กๆไดรับจากการสอนแบบโฮมสคูล รวมทั้งการสนับสนุนในดานเงินทุนชวยเหลือทางการศึกษาและการเขาถึงแหลงเรียนรูตางๆโดยใหหนวยราชการเปดโอกาสใหเขาเยี่ยมชมหรือใชบริการ และเรื่องที่ 5 คือ อนาคตภาพของการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในกทม. ของน.ส.นิลวรรณ แซจิว จากคณะครุศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ช้ีวาภาพอนาคตของการศึกษาแบบโฮมสคูลจะเปนอยางไร ตลอดจนสภาพใดที่พึงปรารถนาและจะมีทางไปถึงจุดนั้นไดอยางไร

Page 84: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

227

หลังการนํ าเสนอสาระสํ าคัญจากวิทยานิพนธทั้ง 5 เร่ืองดังกลาวแลว ที่ประชุมไดมีการพูดจาซักถามแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับการจัดการศึกษาโดยครอบครัว อาทิ ใบประกอบวิชาชีพครูซ่ึงผูปกครองที่จัดการสอนแบบโฮมสคูลตองมีหรือไม ซ่ึงไดรับคํ าตอบจากนางรุงเรือง สุขาภิรมย ผูอํ านวยการกลุมงานปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน สกศ.ช้ีแจงโดยอางวาพ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ผูสอนโฮมสคูลไมจํ าเปนตองมีใบประกอบวิชาชีพครู อยางไรก็ตาม ผูปกครองที่จัดโฮมสคูลรายหนึ่งบอกวาการจัดโฮมสคูลมิไดราบร่ืนอยางที่งานวิจัยระบุแตที่พอแมหันมาจัดการศึกษาบุตรเองนั้นตองเผชิญกับความกดดันและตึงเครียดพอสมควร โดยเฉพาะการตอบคํ าถามของคนรอบขางที่ไมเขาใจและเชื่อมั่น แตเมื่อผานจุดนั้นมาไดก็คอนขางจะพอใจในสิ่งที่ทํ าอยู และเชื่อมั่นวาเปนวิถีทางที่จะพัฒนาศักยภาพของเด็กไดอยางสมบูรณในทุกๆดาน ระบุสังคมควรใหการสนับสนุนเพราะเปนการสรางนวัตกรรมใหมทางการศึกษา ซ่ึงนักวิชาการในสถาบันการศึกษาควรดูเปนตัวอยางและตองเรงทํ างานวิจัยทางการศึกษาเพื่อสังคมมากขึ้น (ผูจัดการ 221144)

ความเคลื่อนไหวดานอาหารและสาธารณสุขนํ าเร่ือง

ความเคลื่อนไหวดานอาหารในไตรมาสทายปลายป 2544 มีเรื่องดีๆอยูมาก แตก็อาจเปนเพียงปรากฎการณชั่วคราวเทานั้น หากมิไดมีความมุงมั่นพยายามดํ าเนินการตอไปใหเต็มศักยภาพและดวยความจริงใจ อยางเชนการสงออกอาหารที่พุงสูงขึ้น เนื่องจากสถานการณสงครามระหวางสหรัฐกับอัฟกานิสถาน และการเรงแกไขปญหาสารพิษและเชื้อโรคในอาหาร ที่มีการจัดทํ าโครงการเนื้อสัตวอนามัยไรสารตกคาง และการพัฒนาตลาดสดใหสะอาดไดมาตรฐาน จะวาไปแลว การแกวิกฤติสารพิษและเชื้อโรคในอาหารที่แมจะตั้งเปายาวถึง 5 ป ก็นาจะบรรลุผลเปนจริงไดงายกวาความฝนที่ไทยจะเปนมหาอํ านาจทางอาหารของโลก ตามที่รองนายกฯพิทักษ อินทรวิทยนันท วาดหวังไวในการประชุมวาดวยความมั่นคงทางอาหารของชาติเมื่อตนป เนื่องจากบรรดามหาอํ านาจทางเศรษฐกิจ การเมือง และการทหาร โดยเฉพาะสหรัฐ ไดสํ าแดงบทบาทมหาอํ านาจทางอาหารอยางโจงแจงแลว ดวยการรุกจดสิทธิบัตรพืชพันธุจีเอ็มโอหลากชนิด อาทิขาวโพด และถั่วเหลือง ซึ่งชนิดหลังนี้เองทํ าใหประเทศจีนผูปลูกและบริโภคอาหารถั่วเหลืองมานานถึง 4,000 ป ตองคิดหนัก สวนประเทศนํ าเขาถั่วเหลืองอยางไทยก็ไดบริโภคอาหารถั่วเหลืองจีเอ็มโอกันโดยทั่วถึงแบบไมรูตัว จากการที่ผูนํ าเขาโดยอางเพื่อเปนวัตถุดิบผลิตอาหารสํ าเร็จรูปและอาหารสัตว แตลักลอบนํ าออกขายในตลาดผูบริโภค ขณะเดียวกันรัฐบาลไทยยังตัดสินใจไมเด็ดขาด ไมวาในเรื่องฉลากอาหารจีเอ็มโอ หรือนโยบายผลิตอาหารสงตลาดโลก วาจะเปนแบบเกษตรอินทรียหรือเปนจีเอ็มโอ ดูทาทีเหมือนวาผลคงออกมาในรูปของ “เกษตรจีเอ็นทรีย” หรือเกษตรมั่วก็เปนได

ดานสาธารณสุขนั้น นโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค สงทายความเปนขาวดังตลอดทั้งปดวยกรณีขัดแยงระหวางปลัดกระทรวงฯ ซึ่งวากันวามีผูหนุนหลังเปนถึงระดับอดีตรมต. และปจจุบันรมต.สาธารณสุขฝายหนึ่ง กับรมช.สาธารณสุข ซึ่งหนุนโดยชมรมแพทยชนบทและครูบานักวิชาการแพทย ที่อยากเห็นผลสํ าเร็จของการปฏิรูประบบสาธารณสุขในหมูประชาชนอยางแทจริงโดยไมสนใจเกมการเมืองอีกฝายหนึ่ง นี่เปนอีกกรณีที่สะทอนถึงนโยบายดีแตปฏิบัติมีปญหาของรัฐบาลนี้ หรือรัฐบาลใด ๆ ก็ตาม ที่กํ าหนดนโยบายดีเพื่อสรางภาพขายพรรคมากกวาตองการผลสัมฤทธิ์ของนโยบายนั้นๆอยางจริงจัง เชนเดียวกับความเคลื่อนไหวดานแพทยแผนไทยซึ่งเปนที่สนใจของประชาชน ตลอดจนบริษัทเอกชนตางชาติ และมีตลาดรองรับมูลคามหาศาล แตการปฏิบัติของภาครัฐไมเพียงทํ าใหแพทยแผนไทยอยางหมอเณรหรือกลุมหมอเมือง ตลอดจนกลุมหมอนวดไทยตองเจ็บช้ํ าเพราะรัฐไมสนับสนุนสงเสริมอยางจริงจังจริงใจเทานั้น แมกระทั่งผอ.สถาบันการแพทยแผนไทยอันเปนหนวยงานหนึ่งของรัฐเองยังคับของใจ ในยุคที่ตางชาติรุกคืบจดสิทธิบัตรไปทุกเรื่องเชนขณะนี้ ภูมิปญญาไทยดานการแพทยจึงมีแนวโนมวา อาจไหลถายเทไปตางประเทศตามแรงดึงดูดของการเอาใจใส ใหความสํ าคัญ และการแบงปนผลประโยชนสวนบุคคลที่เปนธรรมกวา ในเรื่องทํ านองนี้คนที่มี “หนาที่” ตองเดือดรอนและตอสูปกปองเพื่อประเทศชาติและประชาชนไทยไปอยูไหนกันหมดหนอ

Page 85: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

228

1. ความเคลื่อนไหวดานอาหาร1.1 แนวคิดดานอาหาร1.1.1 เกษตรกรไทยยังตองเดือดรอนกันตอไปจากบทวิเคราะห “ความหวังเกษตรกรไทยป ’45” ในนสพ.เดลินิวสฉบับวันที่ 28 ธ.ค.2544 สรุปเกี่ยวกับปญหาของผูผลิตอาหาร

ชาวไทยไววา ปญหาสํ าคัญที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรไทยนอกเหนือจากเรื่องที่ดินทํ ากิน ปาไมและนํ้ าแลว การเปดเสรีสินคาเกษตรกํ าลังเปนปญหาที่ชาวนาชาวไรไทยหวาดกลัว สหพันธเกษตรกรภาคเหนือ (สกน.) กลาววา “เราพบวาพืชผลหลายตัวที่ผลิตไมพอกับความตองการเชน ขาวโพด ถั่วเหลือง ตองมีการนํ าเขา แตบางรายการยังตองลดภาษีนํ าเขา เพราะติดเงื่อนไขของ WTO ทั้งๆที่เราสามารถผลิตไดเพียงพออยางนมผง นํ้ านมดิบ ขาวโพด ถั่วเหลือง ใบยาสูบ ทํ าใหผลผลิตของเกษตรกรราคาตกตํ่ าและบางครั้งขายไมได”

ป 2547 มีสินคาทางการเกษตรถึง 23 ชนิดที่จะตองติดเงื่อนไขของ WTO นอกจากนี้ มาตรการใหความชวยเหลือเกษตรกรยังตองผานคนกลาง ทํ าใหเกษตรกรไมไดรับความชวยเหลืออยางแทจริง ทั้งการคิดราคาคาเสียหายในเรื่องตนทุนการผลิต ไมมีการคํ านวณตนทุนที่ไมใชตัวเงิน อยางคาแรงหรือคาที่ดิน การคิดราคาที่ผานมาไมสะทอนตนทุนที่แทจริง

อนึ่งปญหาหนี้สิ้นของเกษตรกรนั้น แมรัฐบาลชุดปจจุบันจะมีนโยบายการพักชํ าระหนี้ให แตเงื่อนไขที่เกษตรกรสวนใหญไมเขาเกณฑ ทํ าใหพวกเขายังคงไดรับความเดือดรอนอยู (เดลินิวส 281244)

1.2 ธุรกิจอาหารและการสงออก1.2.1 ไทยยิ้มรา สงออกอาหารพุง อานิสงสสหรัฐถลมอัฟกันแหลงขาวจากกระทรวงพาณิชยเปดเผยวา สงครามระหวางสหรัฐกับอัฟกานิสถานทํ าใหการสงออกของไทยไดประโยชน เพราะมี

คํ าสั่งซ้ือจากจากประเทศมุสลิมและกลุมประเทศพันธมิตรของสหรัฐเพิ่มมากขึ้น คาดวาสาเหตุมาจากการที่กลุมประเทศมุสลิมไมพอใจสหรัฐ จึงยายคํ าสั่งซ้ือสินคาจากประเทศพันธมิตรสหรัฐมาที่ไทย ขณะเดียวกันกลุมพันธมิตรสหรัฐก็หันมาสั่งซ้ือสินคาจากไทย เพราะไมไววางใจประเทศมุสลิม จึงทํ าใหไทยสงออกสินคาไดมากขึ้น

นายราเชนทร พจนสุนทร รองอธิบดีกรมสงเสริมการสงออก กลาววา มีความเปนไปไดที่การสงออกสินคาเกษตรของไทยจะขยายตัวเพิ่มขึ้นจาก 8% เปน 12% ภายในสิ้นปนี้ตามที่รัฐบาลกํ าหนดนโยบายไว โดยชวง 9 เดือนแรกของปทํ าไดแลว 10% ดานนายพูนเกียรติทังสมบัติ นายกสมาคมผูผลิตอาหารสํ าเร็จรูป กลาววา ในชวงที่ผานมา ปริมาณการสั่งซ้ือสินคาอาหารสํ าเร็จรูปจากตะวันออกกลางมีเขามามากขึ้น โดยเฉพาะปลาทูนากระปอง เนื่องจากประเทศในภูมิภาคดังกลาวตองกักตุนสินคาอาหาร เพราะไมแนใจในสถานการณสงคราม(มติชน 281044)

1.2.2 ออสเตรเลียแยงตลาดขาวไทย ชนะประมูลสงขายเกาหลีใตกระทรวงเกษตรและปาไมเกาหลีใตแถลงวา ออสเตรเลียจะรวมมือกับสหรัฐและประเทศผูสงออกขาวอื่นๆ สงออกขาวไปยัง

เกาหลีใตต้ังแตเดือนมกราคมปหนา ซ่ึงเพิ่มเติมจากปกติที่เกาหลีใตสั่งนํ าเขาขาวจากประเทศไทย จีน และสหรัฐ การสงออกไปเกาหลีใตครั้งนี้ เปนผลจากการชนะการประมูลนํ าเขาขาวครั้งลาสุด ซ่ึงออสเตรเลียชนะการประมูลเปนครั้งแรกดวยราคา 5.6 ลานดอลลาร (252 ลานบาท) ตอการสงขาวไปเกาหลีใตในปริมาณรวม 22,520 ตัน ภายใตขอตกลงการคาโลกป 2537 กํ าหนดใหเกาหลีใตตองนํ าเขาขาวประมาณ143,000 ตันตอป หรือประมาณรอยละ 2.5 ของการบริโภคประจํ าป โดยประเทศผูสงออกขาวหลักคือ จีน ไทย และสหรัฐ

ขณะเดียวกัน หนังสือพิมพในประเทศเวียดนามรายงานวา รายไดจากการสงออกขาวของเวียดนามในปนี้ตกลงรอยละ 10 เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา เวียดนามมีรายไดจากการสงออกขาวปนี้ประมาณ 460 ลานดอลลาร (ประมาณ 20,700 ลานบาท) แตจากการที่ราคาขาวตกตํ่ าลงถึงรอยละ 40 มาตั้งแตป 2541 ทํ าใหรายไดจากการสงออกขาวลดลงถึง 220 ลานดอลลาร (ประมาณ 9,900 ลานบาท)ต้ังแตป 2542 (คมชัดลึก 281244)

1.2.3 ซีพีประกาศลงสนาม “ผักปลอดสาร” ผูผลิตรายยอยไมหวั่นบริษัท ซีพี (เครือเจริญโภคภัณฑ) ประกาศลงสนามแขงขันในตลาดผักสดปลอดสารพิษ มนัส เจียรวนนท รองประธานบริหารของ

บ.เจียไต ซ่ึงเปนหนึ่งในเครือเจริญโภคภัณฑ กลาวเชื่อมั่นวา ธุรกิจผักสดของบริษัทคงจะประสบความสํ าเร็จเชนเดียวกับไก หมู และปลา“ถาไมมีซีพี ทุกวันนี้ก็คงไมมีสัตวปกราคาถูกจํ าหนาย เราตองการสนองตลาดผักปลอดสารราคาถูกใหแกผูบริโภคเชนเดียวกัน”แตการที่มีผักหลากหลายชนิด ทํ าใหการวางแผนทํ าธุรกิจสินคาผักสดซับซอนกวาไกสดมากนัก ปจจุบันการผลิตเมล็ดพันธุผัก

ของไทยยังออนดอย เพิ่งเริ่มมีการวิจัยและพัฒนาในดานนี้ไดเพียง 20 ป ขณะที่การพัฒนาพันธุพืชแตละชนิดตองใชเวลาตั้งแต 5-10 ป และไทยมีคาใชจายในการวิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุพืชเพียง 3 เปอรเซ็นตตอหัว ขณะที่สหรัฐใชถึง 3 ดอลลารตอหัว

Page 86: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

229

สํ าหรับศูนยวิจัยพันธุพืชของบ.เจียไต มีดวยกัน 5 แหลง คือ ที่กาญจนบุรี ราชบุรี เชียงใหม ในจีนและอินโดนีเซีย สามารถผลิตเมล็ดพันธุที่ใชเพาะปลูกในประเทศเขตรอนได และ 60% ของผลผลิตสงออกไปจํ าหนายใน 35 ประเทศ

อยางไรก็ดี บรรดาบริษัทผูผลิตผักปลอดสารพิษรายยอยที่มีอยูราว 30 บริษัทในประเทศไทย กลาววา พวกเขาไมวิตกในกรณีที่ซี.พี.จะเขามาทํ าธุรกิจผักปลอดสารดวย เพราะทุกวันนี้ผลผลิตผักปลอดสารในตลาดมีเพียง 5% เทานั้น และการพัฒนาตลาดดานนี้ก็ไมงายนัก (Bangkok Post 20, 221101)

1.2.4 กุงป’45 : ตลาดสงออกเผชิญปญหาหนักการสงออกกุงและผลิตภัณฑซ่ึงเคยเปนพระเอกในบรรดาสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมชวงป 2542-2544 นั้น เร่ิมจะลดบทบาท

ลงในป 2545 เนื่องจากตองเผชิญปญหาการแขงขันอยางรุนแรงในการสงออก ดังนี้1.ประเทศคูแขงสํ าคัญเริ่มฟนตัวจากภาวะความเสียหายจากโรคระบาด โดยเฉพาะเอกวาดอร รวมทั้งมีการขยายพื้นที่เลี้ยงกุงใน

หลายประเทศ โดยเฉพาะบราซิลและเม็กซิโกรวมทั้งการที่หลายประเทศประสบปญหาภาวะเศรษฐกิจตกตํ่ า จึงพยายามซื้อสินคาราคาถูกและซ้ือปริมาณไมมากนัก

2.ผลผลิตกุงในจีนมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางมาก นอกจากนี้การเลี้ยงกุงในจีนยังไดรับการสนับสนุนดานเทคนิคตาง ๆ ในการเพิ่มปริมาณเลี้ยงกุงจากบริษัทผูผลิตอาหารกุง จึงคาดหมายไดวาจีนจะกลายเปนผูสงออกสํ าคัญของโลกในอนาคต จากที่ชวงป 2535-2540เปนผูนํ าเขากุง คาดวาป 2545 จีนจะผลิตกุงไดประมาณ 300,000 ตัน หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 20 ทํ าใหจีนจะกลายเปนผูผลิตกุงรายใหญของโลก นอกจากนี้ ตนทุนการผลิตกุงทะเลของจีนถูกที่สุดในโลก โดยมีตนทุนเฉลี่ยประมาณ 88 บาทตอกุง 1 กิโลกรัม เทียบกับตนทุนการผลิตกุงกุลาดํ าของไทยประมาณ 140-150 บาทตอกุง 1 กิโลกรัม

3.กระทรวงสาธารณสุขญี่ปุนตรวจพบยาปฏิชีวนะตกคางในสินคากุงไทยสูงเกินมาตรฐาน4.ออสเตรเลียประกาศใชมาตรการควบคุมการนํ าเขากุงสดชั่วคราว เนื่องจากตรวจพบเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุงและปูที่บอ

เลี้ยงเมืองดารวิน ซ่ึงออสเตรเลียอางวาโรคนี้ติดตอมากับอาหารที่ใชเลี้ยงที่นํ าเขาจากเอเชียตะวันออกเฉียงใตผูสงออกกุงไทยจึงตองเรงปรับตัวรับกระแสการเปลี่ยนแปลงป 2545 ดังนี้1.ปรับตัวเขาสูตลาดคุณภาพมากขึ้น สรางมูลคาเพิ่มโดยการแปรรูปผลิตภัณฑรูปแบบตางๆ เชน กุงชุบขนมปงปน กุงสดปรุงแตง

เปนอาหารพรอมรับประทาน เชน ต่ิมซํ า ชูซิ ปอเปยะกุง เปนตน2.หาแนวทางแกไขปญหาราคากุงตกตํ่ า โดยใหรัฐบาลสนับสนุนเก็บสต็อกกุงเขาหองเย็น พรอมทั้งเก็บภาษีนํ าเขากุงคาดวาป 2545 จะเริ่มเก็บภาษีนํ าเขาอัตรารอยละ 5 จากที่ปจจุบันยังไมมีการจัดเก็บ ทั้งนี้ เพื่อปองกันไมใหนํ าเขาเพื่อสงออก

ขณะเดียวกันกระทรวงพาณิชยควรเรงดํ าเนินการเกี่ยวกับตลาดซื้อขายลวงหนา เพื่อทํ าใหราคากุงในประเทศมีเสถียรภาพมากขึ้น (ผูจัดการ241244)

1.3 การผลิตและพัฒนาอาหาร1.3.1 เอฟเอโอ. อบรมการผลิตเมล็ดพันธุขาวใหไทยนายสิทธิ บุญยรัตผลิน รองปลัดกระทรวงเกษตรฯ เปดเผยภายหลังการลงนามกับเอฟเอโอในการชวยเหลือประเทศไทยในโครง

การฝกอบรมการผลิตเมล็ดพันธุขาวแกเกษตรกร และฝกอบรมเจาหนาที่ของกรมวิชาการเกษตรและกรมสงเสริมการเกษตร ใหมีความรูในการถายทอดเทคโนโลยีแกเกษตรกรวา แมประเทศไทยจะผลิตขาวไดมากจนสามารถสงออกเปนอันดับ 1 ของโลก แตผลผลิตตอไรของไทยยังตํ่ า เพราะขาดแคลนเมล็ดพันธุที่ดี

เนื่องจากปจจุบัน ผูผลิตเมล็ดพันธุขาวหลักคือหนวยราชการ สามารถผลิตเมล็ดพันธุขาวไดเพียงปละประมาณ 35,000 ตัน หรือประมาณ 6 เปอรเซ็นต ของความตองการ ในขณะที่มีความตองการใชเมล็ดพันธุขาวถึงปละประมาณ 610,000 ตัน และเกษตรกรยังไมสามารถผลิตพันธุขาวที่ดีไดดวยตนเอง ทั้งนี้ เอฟเอโอ.จะใชความชวยเหลือแกประเทศไทยภายใตโครงการ FAO/TCP คือ “โครงการฝกอบรมระบบการผลิตเมล็ดพันธุขาวเพื่อใหเกษตรกรเปนผูผลิตเมล็ดพันธุที่ดี” ของกรมวิชาการเกษตร มูลคา 297,000 เหรียญสหรัฐ (ประมาณ13 ลานบาท) มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาระบบการเพาะปลูกขาวแบบผสมผสานใหไดเมล็ดพันธุขาวพันธุดี โดยใหการฝกอบรมเจาหนาที่ของกรมวิชาการเกษตรและกรมสงเสริมการเกษตรรวม 20 คน เกษตรกรใน 4 ภาค ภาคละ 1 จังหวัด ไดแก ปทุมธานี พิษณุโลก สกลนคร และปราจีนบุรี รวม 200 คน จัดการสาธิตระบบการปลูกขาวแบบผสมผสานเพื่อใหเกษตรกรสามารถผลิตพันธุขาวที่ดีไดดวยตนเอง ใหเพียงพอตอความตองการใชในประเทศไทย หลังจากฝกอบรมจะผลักดันการฝกอบรมนี้ใหเปนหลักสูตรของหมูบานวิชาการ ที่กรมวิชาการเกษตรดํ าเนินการอยูในปจจุบันดวย (ไทยโพสต 251244)

Page 87: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

230

1.4 สารพิษและเชื้อโรคในอาหาร1.4.1 ปศุสัตวเรงกูวิกฤติสารพิษตกคาง เดินหนาโครงการเนื้อสัตวอนามัย20 ธ.ค.44 กระทรวงเกษตรและสหกรณเปดตัวโครงการเนื้อสัตวอนามัยขึ้น เปนโครงการตอเนื่องจากโครงการปลอดภัยจากสาร

ตกคาง โดยมีแนวทางสํ าคัญที่จะเพิ่มความเขมงวดในการผลิตของผูประกอบการตั้งแตในระดับฟารม การขนสง มาตรฐานโรงฆาสัตวและสถานที่จัดจํ าหนาย รวมทั้งเพิ่มมาตรการตรวจวิเคราะหทางดานเคมี การตรวจวิเคราะหทางดานจุลชีววิทยา รวมไปถึงสารบอแร็กซหรือนํ้ าประสานทอง เพื่อใหไดเนื้อสัตวที่มีคุณภาพและเปนทางเลือกสํ าหรับผูบริโภคตอไป และเมื่อปฏิบัติไดตามแผนถึงจะอนุญาตใหใชตรารับรองเนื้อสัตวอนามัย (HYGEINIC MEAT) ได

สํ าหรับความคืบหนาขณะนี้ มีผูประกอบการทั้งในสวนของเนื้อสุกร และสัตวปกจํ านวน 10 บริษัท ไดเขารวมโครงการมาระยะหนึ่งแลว ไดแก 1.บริษัท ไทย คิว พี จํ ากัด 2.บริษัท เฟรชมีท-โพร-เซสซ่ิง จํ ากัด 3.บริษัท วีฟูด โภคภัณฑ จํ ากัด 4.บริษัท พันธุสุกรไทย-เดนมารก จํ ากัด 5.บริษัทสหฟารม จํ ากัด 6.บริษัท กรุงเทพโปรดิวส จํ ากัด 7.บริษัท ศรีไทย จํ ากัด 8.บริษัท กรุงเทพคาสัตว จํ ากัด 9.บริษัท เซเรบอส จํ ากัด และ 10.บริษัทอาหารเบทเทอร จํ ากัด ทั้งนี้ ผูประกอบการทั้ง 10 บริษัทมีเครือขายฟารมอยู 40 แหงทั่วประเทศ

อยางไรก็ดี หลายคนเปนหวงวาเมื่อผูประกอบการไดตรารับรองไปแลว อาจจะละเลยไมปฏิบัติตามวิธีการ ทางกรมปศุสัตวยืนยันวาจะยังดํ าเนินการตรวจสอบเก็บตัวอยางมาตรวจอยางสมํ่ าเสมอ หากผลตรวจวิเคราะหพบวาไมไดมาตรฐานจะดํ าเนินการขั้นเด็ดขาดทันทีดวยการใหนํ าสินคาทั้งหมดออกจากสถานที่จํ าหนาย และจะตัดสิทธิ์ออกจากโครงการ รวมทั้งจะดํ าเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวของดวย

อยางไรก็ตาม ในบทรายงานเกี่ยวกับเรื่องนี้ของนสพ.ผูจัดการ ฉบับวันที่ 25 ธ.ค. 2544 ต้ังขอสังเกตวา หากมองจากปรากฏการณที่เกิดขึ้นของโครงการเนื้อสัตวอนามัยแลว ภายนอกอาจดูเหมือนไปในทิศทางที่ดี ทวา ก็มีขอสังเกตที่นาสนใจตามมา นั่นก็คือ โครงการเนื้อสัตวอนามัยมีเพียงเนื้อหมูกับไกแตไรเงาของ “เนื้อโค” อันเปนเนื้อที่มีมูลคาทางการตลาดไมต่ํ ากวา 15,000 ลานบาท ที่สํ าคัญคือปจจุบันประเทศไทยยังปลอยใหมีการลักลอบนํ าเขาเนื้อโคจากตางประเทศปหนึ่งมากกวา 200,000 ตัว หรือมูลคาไมต่ํ ากวา 3,000 ลานบาท เปนสาเหตุหลักที่ทํ าใหประเทศไทยไมสามารถเปนเขตปลอดโรค โดยเฉพาะโรคปากและเทาเปอยที่ยังมีการระบาดอยูบางพื้นที่

นอกจากนี้ ยังมีขอสังเกตอีกดวยวา บริษัทเอกชนที่เขารวมในโครงการเนื้อสัตวอนามัย หนึ่งในจํ านวน 10 รายคือบริษัท ไทยคิวพีที่เคยมีประวัติจากการตรวจสอบพบสารเบตา-อะโกนิสตที่ฮองกง ซ่ึงหากไมสามารถจัดการปญหา 2 อยางนี้ โครงการเนื้อสัตวอนามัยก็จะเปนเพียงโครงการที่ผูผลักดันนโยบายหวังดี แตหนวยงานปฏิบัติมีปญหา ซ่ึงสุดทายไดแตสรางภาพเทานั้น (ผูจัดการ 21, 251244)

1.4.2 ผูบริโภคสหรัฐฟองนายกฯ อาหารไทยมีส่ิงเจือปนสูงนายอดิศัย โพธารามิก รมต.พาณิชย เปดเผยวา ในการเยือนประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนธ.ค.’44 ไดมีการหารือกับนักธุรกิจ

ไทยในสหรัฐ ซ่ึงไดรับการรองเรียนจากผูบริโภคสหรัฐเกี่ยวกับมาตรฐานสินคาของไทยหลายรายการ โดยเฉพาะสินคาอาหารเชน เสนกวยเตี๋ยว ขาวหอมมะลิและอื่นๆ ที่มีสิ่งเจือปนเปนจํ านวนมาก ทํ าใหเสียภาพพจนและช่ือเสียงสินคาไทย หลังจากนี้ไปกระทรวงพาณิชยจะเขามาดูและเพิ่มความเขมงวดในการตรวจสอบมากขึ้น

‘ผัดไทย’ ที่ประเทศอื่นมีความพยายามที่จะนํ าไปเปนสินคาประจํ าชาติของตนและจะจดลิขสิทธิ์นั้น เห็นวาไมใชเร่ืองสํ าคัญลักษณะคลายตมยํ ากุงของไทยที่เปนที่นิยมของตางชาติ และมีจํ าหนายในรานอาหารทั่วไป แตรสชาติแตกตางจากรสชาติของไทย แตการจดลิขสิทธิ์คงไมสามารถดํ าเนินการได เพราะเปนช่ือของอาหาร ไมใชเปนแบรนดเนมของสินคา การที่เมนูอาหารของรานอาหารตางชาติมีช่ือของอาหารไทย ถือเปนการชวยประชาสัมพันธอาหารไทย (พิมพไทย 191244)

1.4.3 วัวบาในญี่ปุนอาจลามถึงคน พบเด็กหญิงอาการสมองฝอสํ านักขาวเกียวโดรายงานวา เด็กหญิงวัยรุนคนหนึ่งตองเขารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล และอาจเปนโรคสมองฝอหรือวีซีเจดี

สาเหตุมาจากโรควัวบา ซ่ึงพบเปนครั้งแรกในอังกฤษเมื่อป 2539 แหลงขาวเผยวา คาดวาจะใชเวลาประมาณ 3 เดือน ในการยืนยันวาคนไขรายนี้ติดเชื้อวีซีเจดีหรือไม

อยางไรก็ตาม นายชิการะ ซากากูชิ รัฐมนตรีสาธารณสุข กลาววา มีความเปนไปไดนอยมากที่เด็กสาวรายนี้จะปวยดวยโรคสมองฝอสายพันธุใหม นอกจากนั้น เขายังประกาศวาเนื้อวัวที่วางขายในตลาดญี่ปุนมีความปลอดภัย เพราะทางการไมอนุญาตใหนํ าเนื้อที่ทดสอบแลววาเปนบวกมาวางจํ าหนายแนนอน อยางไรก็ดี กอนหนานี้มีขาววาทางการญี่ปุนสั่งหามใชวัวในประเทศเพื่อผลิตยาและเครื่องสํ าอาง หลังตรวจพบเชื้อวัวบาในแมวัวที่ฟารมเมืองชิบะใกลโตเกียว (กรุงเทพธุรกิจ 191044, Bangkok Post 131001)

1.4.4 จับ ‘เองแดดเดียว’ 240 กิโล สงรานสมตํ าทั่วกรุง

Page 88: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

231

เนื้อสุนัขตากแหงแดดเดียวทะลักเขากรุงเพทฯ สงขายตามรานลาบและสมตํ า ตํ ารวจสืบจับไดคาสถานีขนสงหมอชิตใหมถึง 240กิโลกรัม จากการเขาตรวจคนรถกระบะยี่หออีซูซุสีเขียว ทะเบียน บท.100 นครสวรรค ซ่ึงขับออกมาจากสถานีขนสงในลักษณะมีพิรุธ พบเนื้อสุนัขตากแหงบรรจุอยูในกระสอบปุยจํ านวน 4 กระสอบ หนักกระสอบละ 60 กิโลกรัม จึงควบคุมตัวนายมานพ รณที เจาของรถไปดํ าเนินคดี

จากการสอบสวนในเบื้องตนนายมานพสารภาพวา ไดรับการวาจางขนเนื้อสุนัขที่สงมาจากสกลนครประมาณปเศษแลว โดยขายตอไปใหกับรานคาลาบและสมตํ าในกทม. โดยเฉพาะยานบางแค แมคาเขียงหมูรายหนึ่งเปดเผยวา ขาวที่เกิดขึ้นทํ าใหบรรดาพอคาแมคาในตลาดบางแคไดรับผลกระทบ กอนหนานี้ก็มีขาวการฉีดเรงสีในเนื้อหมูจนลูกคาไมกลาซ้ือ มาครั้งนี้มีขาวการขายเนื้อสุนัขปะปนกับเนื้อวัวเนื้อหมูทํ าใหการคายิ่งซบเซา อยางไรก็ตาม ยอมรับวาการขายเนื้อสุนัขแดดเดียวมีจริง

นางสงา ดามาพงศ นักวิชาการโภชนาการ 9 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กลาววา เนื้อสุนัขไมไดผานกระบวนการจากโรงฆาสัตวอยางถูกหลักอนามัย ความปลอดภัยจึงเทียบไมไดกับเนื้อหมู วัว ไก ที่เลี้ยงไวเปนอาหารโดยตรง และผานการชํ าแหละจากโรงฆาสัตว หากมีเช้ือโรคระบาดสูคนจะเปนอันตรายถึงชีวิต (ไทยโพสต 201244, เดลินิวส 221244)

1.4.5 วิจัยพบนํ้ านมหญิงอีสานมี ‘สารกอมะเร็ง’ เตือนกระติบขาวเหนียวตัวกอเชื้อราดร.สุปราณี แจงบํ ารุง หัวหนาภาควิชาโภชนศาสตรเขตรอนและวิทยาศาสตรอาหาร คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล

กลาววา เวลานี้ปญหาที่ประชากรโลกกํ าลังเผชิญอยูอยางมาก คือ ความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร ทั้งนี้ สิ่งแปลกปลอมในอาหารซึ่งกอใหเกิดโรคภัยไขเจ็บในคนนั้นมีที่มาจากหลายประการ เชน ในเนื้อสัตว นํ้ านม เนื้อปลา ผัก ถั่วลิสง เปนตน โดยมีทั้งแบคทีเรีย พยาธิ เช้ือรา ไวรัส ตลอดจนสารเคมีปนเปอน ที่ผานมาไดมีการทดสอบหาอะฟลาทอกซินในนํ้ านมแมที่กรุงเทพฯ เปรียบเทียบกับนํ้ านมแมในขอนแกนพบวาในนํ้ านมของแมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจํ านวนและระดับอะฟลาทอกซินมากกวา อาจเปนเพราะอาหารที่นั่นมีการปนเปอนของอะฟลาทอกซินมากกวา

อยางไรก็ดี ระดับที่พบต่ํ ากวา 5 ไมโครกรัมตอลิตร ซ่ึงเปนเกณฑกํ าหนดคาอะฟลาทอกซินในนํ้ านมพรอมด่ืมในยุโรปบางประเทศอะฟลาทอกซินจากเชื้อราทํ าใหเกิดมะเร็งตับ ในบานเราเชื้อราเจริญเติบโตไดดี เพราะอุณหภูมิพอเหมาะ และมีความชื้นสูง พืชที่พบเชื้อราแอสเพอจิลลัส ฟลาวัส และแอส-เพอจิลลัส พาราซิติคัสมากที่สุดคือ ถั่วลิสงและขาวโพด ซ่ึงเช้ือราเหลานี้ผลิตสารอะฟลาทอกซิน อยางถั่วลิสงดํ าๆ ทิ้งไปไดเลย หรือในเครื่องเทศถาเก็บไมดีนานๆเขาก็มีเช้ือราได นากลัวคือในกระติบขาวเหนียว เวลาใชแลวควรลางและตากแดดไมอยางนั้นราจะขึ้นได เคยตรวจพบอะฟลาทอกซินในนํ้ าลางกระติบรอยละ 27 (ผูจัดการ 151144, กรุงเทพธุรกิจ 301044)

1.4.6 เตือนภัยสารเจือปนอาหารกระปองรศ.ดร.แกว กังสดาลอํ าไพ หัวหนาฝายพิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เผยวา

ปจจุบันอาหารสวนใหญที่มาจากระบบอุตสาหกรรมนั้นมักมีการใช “สารกันบูด” เพื่อยืดอายุของอาหารใหนานออกไป เพราะมีผลกับระบบการตลาดและยอดจํ าหนายสินคาคอนขางมาก แมสารที่ใสเขาไปในอาหารกระปองตาง ๆ จะมีการประเมินความปลอดภัยมาแลวในระดับหนึ่ง แตก็กระทํ าใน “สัตวทดลอง” ที่มีความแข็งแรงเทานั้น

“ปญหาคือมนุษยทั่วไปแข็งแรงทุกคนหรือเปลา แลวมนุษยก็มีความแข็งแรงในการตอสูกับสารพิษไมเทากัน อันตรายอีกประการหนึ่งคือ โดยทั่วไปแลวการผลิตอาหารอุตสาหกรรมของไทยนั้น ยึดมาตรฐานตางประเทศมาใชแทบทั้งหมด ทวา การลอกเลียนแบบมาใชอาจมีผลตอความปลอดภัยที่จะเกิดขึ้นกับคนไทยก็เปนได ที่เลวรายกวานั้นก็คือ ตางประเทศใสสารเจือปนลงไปในลักษณะของสารชนิดเดียว ขณะที่ประเทศไทยมีการนํ าสารเจือปนมาผสมกัน กอใหเกิดปญหาในเรื่องของการกํ าหนดคามาตรฐานความปลอดภัยเปนอยางมาก(ผูจัดการ 041044)

1.5 จีเอ็มโอ1.5.1 “กรีนพีซ” ยันทํ างานชอบธรรม หนุนสิทธิผูบริโภคดานจีเอ็มโอหลังมีการเปดเผยรายชื่อผลิตภัณฑที่พบการปนเปอนจีเอ็มโอของกลุมกรีนพีซ ครั้งที่ 3 เมื่อวันจันทรที่ 15 ต.ค.’44 พบการปน

เปอนในผลิตภัณฑไสกรอกหมูเวียนนาของบริษัทซีพีอินเตอรฟูด (ไทยแลนด) จํ ากัด รวมอยูดวย ตอมาคืนวันที่ 16 และ 17 ต.ค.’44 รายการขอเท็จจริงวันนี้ออกอากาศทางชองยูบีซี 7 ในตอน “เอ็นจีโอไทยกับการสรางภาพ” และ “อาหารจีเอ็มโอกับความปลอดภัยของผูบริโภค” โดยมีเนื้อหาที่กลุมกรีนพีซระบุวาเปนการจงใจใชคํ าโนมนํ าใหผูชมมีทัศนคติในดานลบตอกลุมและเอ็นจีโออื่นๆ

ดร.จิรากรณ คชเสนี ผูอํ านวยการบริหาร กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต ต้ังขอสังเกตวา การออกมาโจมตีกลุมกรีนพีซในประเด็นจีเอ็มโอนั้น เกิดขึ้นหลังจากที่กรีนพีซไดเปดเผยรายชื่อผลิตภัณฑอาหาร 3 ชนิดที่พบการปนเปอนจีเอ็มโอชุดลาสุด โดยมีผลิตภัณฑของกลุมซีพีอยูดวย ตนไมสามารถยืนยันไดวาสิ่งที่เกิดขึ้นนี้มีความเกี่ยวของกับกลุมบริษัทซีพีหรือไม ดร.จิรากรณกลาววา การที่กรมวิทยา

Page 89: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

232

ศาสตรการแพทยหรือ อ.ย.ไดบอกวาจีเอ็มโอปลอดภัย ไมอันตราย แตก็ไมยอมเปดเผยชื่อออกมาวาตรวจสอบอะไรไดผลอยางไร แสดงวาหนวยงานเหลานี้ยังไมมั่นใจวาจะปลอดภัยจริงหรือไม หรืออาจจะเกรงวาบริษัทเหลานี้จะไดรับผลกระทบ แตหนาที่ของหนวยงานเหลานี้ คือสรางความปลอดภัยในการบริโภคใหกับประชาชน ไมใชปกปองผลประโยชนของบริษัทผูผลิต

ลาสุด นพ.ปญญา กีรติหัตถยากร รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทย กลาวในเรื่องนี้วา ทางกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) โดยกรมวิทยาศาสตรการแพทยไดตรวจสอบผลิตภัณฑอาหารกวาพันรายการวามีการปนเปอนจีเอ็มโอจริงหรือไม ทวาไมสามารถเปดเผยรายชื่อผลิตภัณฑเหลานั้นได เนื่องเพราะไมมีกฎหมายบังคับใหทํ าเชนนั้น หากสธ.ประกาศรายชื่อออกไป ผลที่เกิดขึ้นประการแรกคือ จะทํ าใหประชาชนแตกตื่นและหวั่นกลัว ทั้งๆที่ยังไมรูวาอาหารจีเอ็มโอนั้นเปนภัยตอรางกายจริงหรือไม ประการที่สอง คือ ผลกระทบตอเจาของผลิตภัณฑ ซ่ึงจะทํ าใหเกิดความเสียหาย หากประชาชนปฏิเสธสินคาที่ถูกระบุวามีจีเอ็มโอ ซ่ึงอาจทํ าใหบริษัทเหลานั้นรวมเปนโจทกเอาผิดกับสธ.ในฐานะที่สรางความเสียหายใหกับบริษัท

“เราบอกไดแควาผลการตรวจพบวามีอาหารที่ปนเปอนจีเอ็มโออยูมาก โดยเฉพาะในอาหารที่ทํ าจากถั่วเหลือง พบการปนเปอนมากกวา 50 เปอรเซ็นต อาหารจากมันฝรั่งพบประมาณ 67 เปอรเซ็นต สวนอาหารจากขาวโพดพบการปนเปอนจีเอ็มโอประมาณ 30-40เปอรเซ็นต สวนที่มีขอมูลอางอิงไดวาอาหารจีเอ็มโอทํ าใหเกิดอาการแพนั้น ก็เหมือนอาหารธรรมดาที่ไมใชจีเอ็มโอ ซ่ึงมีทั้งที่เปนประโยชนและที่เปนโทษ เชน อาหารทะเล หรือถั่วบางชนิดกอใหเกิดอาการแพไดเชนกัน”

ตอบทบาทกรีนพีซที่เกี่ยวกับอาหารจีเอ็มโอ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทยกลาววา อยาเขาใจผิดวาตนตอตานกรีนพีซในเร่ืองนี้ เพียงแคไมเห็นดวยกับสิ่งที่กรีนพีซทํ า โดยเฉพาะการเสนอขาวใหญโตเปดเผยรายชื่อผลิตภัณฑอาหารที่มีจีเอ็มโอ ซ่ึงจะทํ าใหประชาชนตื่นตระหนกกับเรื่องนี้มากเกินไป “คุณคิดวาอาหารอื่นๆปลอดจีเอ็มโอหรือ อยางนํ้ าเตาหูในตลาด คิดหรือวาจะไมใช ในเมื่อถั่วเหลือง 80เปอรเซ็นตตองนํ าเขาจากตางประเทศ”

รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทย กลาวอีกวา สธ.เห็นดวยกับขอเรียกรองในเรื่องการติดฉลากอาหารจีเอ็มโอ ทวายังไมอาจหาขอยุติไดวาจะกํ าหนดเปอรเซ็นตของการปนเปอนที่ตองระบุในฉลากเทาไรกันแน เนื่องจากแตละประเทศตางกํ าหนดไวไมเทากัน ซ่ึงสธ.จํ าเปนตองพิจารณาเรื่องนี้ใหดี และตองดูความสามารถของหองปฏิบัติการของเราดวย หากกํ าหนดละเอียดมากก็ตองใชเวลาตรวจสอบมาก เวลานี้ในไทยมีแคสองแหงคือกรมวิทยาศาสตรการแพทยกับไบโอเทคที่ตรวจการปนเปอนจีเอ็มโอในอาหารได นอกจากนี้ คาตรวจแตละตัวอยางตก 4-7 พันบาท ซ่ึงจะตกเปนภาระของผูบริโภคในที่สุด แตอยางไรก็ตาม อยากใหเขาใจวาอาหารใดที่เปนอันตรายตอประชาชนเปนหนาที่ที่อย.ตองสอดสองดูแลอยูแลว (ผูจัดการ 291044)

1.5.2 อียูบังคับติดฉลาก GMOs ต.ค.’45แหลงขาวจากกระทรวงพาณิชย เผยถึงความคืบหนาเกี่ยวกับสินคาที่มีการตัดแตงทางพันธุกรรม (GMOs) ในสหภาพยุโรปวา

คณะกรรมาธิการยุโรปรุกคืบคุมสินคา GMOs กํ าหนดสินคาที่ขายไดในอียูตองติดฉลาก “สินคานี้มี GMOs” ใหชัดเจน เพื่อเพิ่มเสรีภาพในการซ้ือของประชาชน สวนการตรวจสอบยอนกลับใหผูผลิต ผูจํ าหนายเก็บขอมูลผลิตภัณฑเปนเวลา 5 ป คาดมีผลบังคับใชทั้งในอียูและนอกอียูต้ังแต ต.ค.2545 เปนตนไป

ผลิตภัณฑ GMOs จํ านวน 18 รายการที่อียูไดอนุมัติใหสามารถกระจายออกสูสภาพแวดลอม รวมทั้งจํ าหนายไดแลวมีทั้งเวชภัณฑ พืชอาหาร และไมดอก (ผูจัดการ 221044)

1.5.3 อีพีอนุมัติขาวโพดบีทีอีก 7 ปสํ านักงานปองกันสิ่งแวดลอมของสหรัฐฯ (อีพีเอ) ประกาศขยายเวลาการอนุมัติขาวโพดบีทีอีก 7 ป โดยใหเหตุผลวา จากการ

ทดสอบไมพบหลักฐานวาขาวโพดบีทีหรือขาวโพดที่ผานการตัดตอทางพันธุกรรมใหมีความสามารถตานทานแมลงบางชนิดไดในตัวเอง กอใหเกิดความเสี่ยงตอผูบริโภคและสิ่งแวดลอม อยางไรก็ดี ขาวโพดบีทีจะตองติดตามพัฒนาการของการตอตานแมลง จัดทํ ารายงานประจํ าปวาดวยประสิทธิภาพของแผนการจัดการและแผนปฏิบัติกรณีที่แมลงพัฒนาความสามารถในการตอตาน

กลุมสิ่งแวดลอมที่ขอใหอีพีเอชะลอการอนุมัติเพื่อรอผลการทดสอบเพิ่มเติม ออกมาวิจารณทันควัน กลาววา อีพีเอคํ านึงถึงแตผลประโยชนของบริษัทเทคโนโลยีชีวภาพและมองขามผูบริโภคและสิ่งแวดลอม (ผูจัดการ 181044)

1.5.4 ทํ าไมผูบริโภคสหรัฐเพิ่งตื่นตานจีเอ็มโอวันที่ 13 พ.ย.2544 รานชํ าในเครือเทรดเดอร โจ’ส ที่ประเทศสหรัฐประกาศจะยกเลิกการผลิตอาหารที่มีสวนผสมของจีเอ็มโอใน

ตราของบริษัท เนื่องจากกอนหนานี้ประธานกรรมการบริหารของบริษัทไดรับจดหมายวันละกวา 100 ฉบับจากลูกคาเรียกรองใหเก็บอาหารปนเปอนจีเอ็มโอออกจากชั้นจํ าหนาย อีกทั้งมีการชุมนุมประทวงของประชาชนหนารานเทรดเดอร โจ’ส ในอีก 20 กวาเมือง ทั้งหมดนี้เปนเหตุการณทํ านองเดียวกับที่เคยปรากฏในยุโรปเมื่อปค.ศ.1998

Page 90: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

233

ทํ าไมการเคลื่อนไหวตอตานอาหารจีเอ็มโอในสหรัฐจึงเกิดขึ้นลาชากวาประเทศอื่นๆ คํ าตอบมิใชวาคนอเมริกันไมแยแสในเรื่องคุณภาพหรือความบริสุทธิ์ของอาหาร แตเปนเพราะมีการใช “ดับเบิล สแตนดารด” ในเรื่องนี้ตลอด 3 ปที่ผานมา นั่นคือ บริษัทผูประกอบการซ่ึงยกเลิกการผลิตอาหารมีสวนผสมจีเอ็มโอที่สงไปขายในยุโรป ไมไดปรับเปลี่ยนใดๆสํ าหรับตลาดสหรัฐเอง

ยังมีผลการสํ ารวจพบวา คนอเมริกันสวนมากไมรูวามีการนํ าพืชผลจีเอ็มโอมาเปนวัตถุดิบในการผลิตอาหาร เชนผลการสํ ารวจของแกลลอป โพล เมื่อเดือนเม.ย.2000 พบวา มีพลเมืองสหรัฐ 14% เทานั้นที่รูเร่ืองพวกนี้ เนื่องจากความจงใจไมใหขาวสารของบริษัทผูประกอบการ ซ่ึงไดนํ าอาหารปนเปอนจีเอ็มโอออกวางจํ าหนายมาตั้งแตป1993 ผลก็คือ ปจจุบันมีอาหารสํ าเร็จรูปที่มีสวนผสมของจีเอ็มโอมากกวา 70% วางขายตามรานชํ าทั่วไป (www.commondreams.org.021201)

1.5.5 สิทธิบัตรถ่ัวเหลืองจีเอ็มโอของสหรัฐอาจกอปญหาการยื่นขอจดสิทธิบัตรถั่วเหลืองจีเอ็มโอใหผลผลิตสูงของบริษัทมอนซานโตยักษใหญอุตสาหกรรมเกษตรสหรัฐ กอความกังวล

ผวาขึ้นในจีน ซ่ึงเปนชาติที่ปลูกถั่วเหลืองเปนอาหารมานานถึง 4,000 ปแลว ขณะที่สหรัฐเพิ่งเริ่มปลูกในทศวรรษ 1930 และกลายเปนธุรกิจเกษตรมูลคาหลายๆพันลานในปจจุบัน

การถกแถลงในเรื่องนี้ สะทอนถึงความกังวลตอปญหาทรัพยสินทางปญญาในประเทศจีนซ่ึงตองเปดเสรีการคาหลังเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก ไมเพียงแตจีนเทานั้น ประเทศกํ าลังพัฒนาอื่นๆก็หวาดวิตกกับปฏิบัติการจดสิทธิบัตรทรัพยากรชีวภาพตางๆของกลุมบริษัทขามชาติทํ านองนี้เชนกัน

ปจจุบันมอนซานโตไดรับคาลิขสิทธิ์ราว 60% ของตลาดถั่วเหลืองสหรัฐจากสิทธิบัตรถั่วเหลืองตัดแตงยีนที่สามารถปองกันแมลงศัตรูพืชได และกํ าลังรุกคืบจดสิทธิบัตรในพืชพันธุจีเอ็มโอที่ใหผลผลิตสูงชนิดอื่นๆตอไป อันจะทํ าใหไดรับคาลิขสิทธิ์จากบริษัทผลิตเมล็ดพนัธุที่ตองการนํ าเทคโนโลยีของมอนซานโตไปใช

เจเรมี ริฟกิน นักกิจกรรมผูตอตานไบโอเทคโนโลยี กลาววา “เกษตรกรทั่วโลกตางเปนทุกขในเรื่องสิทธิบัตรนี้” ขณะนี้เขาและกลุมเกษตรกรในสหรัฐและฝรั่งเศสกํ าลังฟองรองมอนซานโตดวยขอหาทํ าผิดก.ม.หามการผูกขาด เนื่องจากสิทธิบัตรของมอนซานโตจะทํ าใหชาวไรชาวนาตองซ้ือเมล็ดพันธุจากบริษัททุกปไป ขณะที่กลุมกรีนพีซกลาวหามอนซานโตวาเปน “โจรสลัดชีวภาพ” เพราะถือสิทธิ์ในพืชพันธุที่บริษัทเอาไปตัดแตงยีน โดยไมคืนผลประโยชนกลับไปใหแกประชาชนอยางเปนธรรม (Bangkok Post 191201)

1.6 อาหารและสุขภาพ1.6.1 ความจริงของมังสวิรัติการกินมังสวิรัติของหลายคนนั้น มีวัตถุประสงคในการ “ลดความอวน” โดยเฉพาะในกลุมวัยรุน แตผลการสํ ารวจของนักวิชาการ

ดานโภชนาการพบวา วิธีกินอาหารมังสวิรัติแบบเขาใจผิด ยิ่งจะทํ าใหควบคุมการกินไมได เนื่องจากการกินแตผัก ทํ าใหรางกายตองการรับประทานบอยครั้งขึ้น หรือมากขึ้นในแตละครั้ง เพื่อทดแทนกับอาหารประเภทโปรตีนจากเนื้อสัตว เมื่อเปนเชนนี้ก็หันไปกินแปง ซ่ึงเปนตัวสรางไขมันและนํ้ าตาลสะสมในรางกาย (ไทยโพสต 151244)

1.6.2 ขมิ้นแกความจํ าเส่ือมทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนียในลอสแองเจอลิสเช่ือวา ขมิ้นมีบทบาทสํ าคัญในการชะลอกระบวนการที่ทํ าใหระบบ

ประสาทเสื่อม ขมิ้นเปนสวนประกอบที่อยูทั้งในแกงกุรหมารสจืดและแกงกะหรี่รสชาติเผ็ดรอนของชาวอินเดีย ทั้งนี้โรคความจํ าเสื่อมเกิดจากการขมวดปมของเสนประสาทในสมอง ซ่ึงขมิ้นจะชวยลดการขมวดลงไดครึ่งหนึ่ง นักวิจัยพบอีกวา ขมิ้นมีสรรพคุณและประโยชนตอสุขภาพโดยชวยระบบการยอยอาหารไดดีขึ้น เปนตัวปองกันการติดเชื้อและตานโรคหัวใจได

ด็อกเตอรริชารด ฮารเวย ผูอํ านวยการวิจัยโรคความจํ าเสื่อมรับวา สารนี้มีผลตอแอนตี้ออกซิเดนทและตานการอักเสบเนื้อเยื่อไดดีแตก็ตองอาศัยเวลาพัฒนาเปนตัวยาอีกนานหลายปกวาจะเอามาใชอยางแพรหลาย (ผูจัดการ 061244)

1.6.3 ปรับเปล่ียนพฤติกรรมการกินใหม ชวยคนไทยลดเสี่ยงโรคกระดูกพรุนศ.นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน หัวหนาภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เผยผล

สํ ารวจผูปวยคนไทยที่เปนโรคกระดูกพรุนวา ในปจจุบันมีผูปวยเพิ่มขึ้นเปนจํ านวนมาก และคาดวาจะมีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อยๆ จากสาเหตุหลัก2 ประการคือ ประการแรก คนไทยมีอายุเฉลี่ยสูงขึ้นจากเดิม โดยสมัยกอนคนไทยมีอายุเฉลี่ยประมาณ 50 ป ทํ าใหโรคกระดูกพรุนไมปรากฏออกมาใหเห็นมากนัก ประการที่สอง การเปลี่ยนแปลงวิถีการดํ าเนินชีวิตของคนไทยที่มีการเคลื่อนไหวและถูกแสงแดดนอยลง จากงานวิจัยพบวาโรคกระดุกพรุนพบไดบอยในหญิงวัยหมดประจํ าเดือนและผูสูงอายุ

Page 91: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

234

นอกจากนี้ ผูที่ครอบครัวมีประวัติเปนโรคกระดูกพรุนเปนกลุมเสี่ยงที่สํ าคัญตอการเกิดโรคดวย วัยรุนก็เปนโรคกระดูกพรุนได จากโรคที่ทํ าใหเกิดการสูญเสียมวลกระดูกเร็วขึ้น อาทิ โรคไทรอยด การไดรับยาบางชนิดเชนสเตียรอยด รวมทั้งการดื่มสุรา การสูบบุหรี่หรือเคยกระดูกหักมากอน แหลงแคลเซียมที่ดีที่สุดคือ แคลเซียมในอาหารที่เราบริโภคกันอยูเปนประจํ านั่นเอง เชน นม ปลาทอดกรอบที่เรารับประทานไดทั้งกระดูก กุงแหง และเตาหู เปนตน อาหารที่มีแคลเซียมนั้นมีขอดีมากกวาแคลเซียมในรูปของยาและผลิตภัณฑเสริมอาหาร คือใหสารอาหารอื่นที่จํ าเปนสํ าหรับการเจริญเติบโตของรางกายและกระดูก ทํ าใหกระดูกแข็งแรง เชน โปรตีน ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม วิตามินซีและดี เปนตน ทั้งราคาถูกกวามาก (ผูจัดการ 051144)

2.ความเคลื่อนไหวดานสาธารณสุข2.1 นโยบายและแนวคิดดานสาธารณสุข2.1.1 ความขัดแยงในกระทรวงสาธารณสุข กรณีโยกยายผูบริหารระดับสูง 70 คน2.1.1.1 ปะทุความขัดแยงวันที่ 19 ธันวาคม 2544 นพ.สุรพงษ สืบวงศลี รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงสาธารณสุข ใหสัมภาษณถึงกรณี นพ.วินัย วิริยกิจจา

ปลัดกระทรวงสาธารณสุข แตงต้ังโยกยายผูบริหารระดับสูงของกระทรวงสาธารณสุข รวม 70 คน ซ่ึงสงผลกระทบตอการดํ าเนินการโครงการปฏิรูประบบสุขภาพถวนหนาหรือโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค วา ทางการเมืองเปนผูสนับสนุนใหนพ.วินัยรับผิดชอบงานสํ าคัญ แตนพ.วินัยมีทาทีไมเห็นดวยกับการปฏิรูปแลวจะทํ างานรวมกันไดอยางไร ปลัดสธ.และทีมงานของปลัดสธ.บางคนทํ าใหการทํ างานในเรื่อง 30บาทฯ สะดุดและถอยหลัง

2.1.1.2 เปดปูมปญหากอนหนานี้ชมรมนายแพทยสาธารณสุขจังหวัด และชมรมผูอํ านวยการโรงพยาบาลศูนยไดเขาล็อบบ้ี นพ.วินัย วิริยกิจจา ปลัดสธ.

ขออยาใหมีการนํ าเงินเหมาจายรายหัวสงตรงไปที่โรงพยาบาลชุมชน เพราะจะทํ าใหโรงพยาบาลใหญอยูไมรอด ความรูถึงโรงพยาบาลชุมชนก็ยกม็อบมาพบปลัดสธ.บาง ที่สุดนพ.สุรพงษตองลงมาไกลเกลี่ย ขอใหแตละจังหวัดบริหารจัดการเงินกันเอง ตามสถานการณการเงินของโรงพยาบาลและสัดสวนประชากร

เมื่อเร่ิมโครงการไประยะหนึ่งก็ปรากฏชัดวาโรงพยาบาลใหญที่มีกํ าลังคนเยอะ แตประชากรที่ไปข้ึนทะเบียนนอยกวารายจาย โรงพยาบาลจึงประสบปญหาการเงิน เดือนพ.ย.มีโรงพยาบาลขนาดใหญจาก 30 จังหวัดทํ าเรื่องขอเงินจากกองทุนชวยเหลือโครงการ 30 บาทฯกวา 5,000 ลานบาท ซ่ึงคณะทํ างานโครงการนี้ไดอนุมัติเงินชวยเหลือไปเพียง 2,700 ลานบาทเทานั้น ก็ยิ่งบีบค้ันโรงพยาบาลใหญมากขึ้นขณะที่นพ.วินัย ต้ังแตขึ้นเปนปลัดสธ. ไมเห็นดวยตั้งแตตนแลวที่มีการปฏิรูประบบสาธารณสุข การปรับโครงสรางสธ. พอเขาทํ างานเดือนแรกก็สั่งยุบสํ านักงานสนับสนุนและพัฒนาการกระจายอํ านาจดานสุขภาพทันที และเมื่อเห็นวาศูนยปฏิบัติการติดตามโครงการ 30 บาทฯหรือวอรรูม ซ่ึงนพ.สุรพงษนั่งเปนประธาน เปนคณะทํ างานที่ลิดรอนอํ านาจปลัดสธ.โดยสิ้นเชิง ก็พยายามที่จะปดวอรรูมและดึงโครงการฯมาทํ าตามรูปแบบที่ตองการเอง

นอกจากนี้ ปลัดสธ.เห็นวาโรงพยาบาลขนาดใหญเดือดรอนมาก เสนอวางบประมาณป 2546 ใหโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไปจัดทํ างบประมาณเหมือนเดิม โรงพยาบาลชุมชน และสถานีอนามัยอยากปฏิรูปทํ าโครงการนี้ก็ใหทํ าไป โดยใหถือวาเงินในโครงการ 30บาทฯ เปนเงินตอยอดจากงบประมาณปกติและพูดไปทั่ว ทํ าใหนพ.สุรพงษไมพอใจวาเรื่องใหญขนาดนี้ทํ าไมไมปรึกษากันบาง ทั้งที่เร่ืองงบประมาณนี้สํ าคัญมาก กระทบกับโครงการ 30 บาทฯแนนอน เพราะถาโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไปยังอยูในระบบงบประมาณเหมือนเดิม โรงพยาบาลเหลานี้ยอมไมมีความรูสึกวาจํ าเปนตองพัฒนาประสิทธิภาพอะไร ยื่นขอเงินตามโครงการ อยากไดอะไรก็ขอมา ดึงทรัพยากรทั้งคนและเงินกลับไปสูโรงพยาบาลขนาดใหญอีก ไมมีหมอไปอยูในชนบท ซ่ึงเปนหัวใจของการปฏิรูป

ฟางเสนสุดทายของหมอสุรพงษมาถึงในคราวโยกยายผูบริหารระดับจังหวัดครั้งนี้ หลายคนซึ่งเปนคนทํ างานขยันขันแข็งถูกยายออกจากพื้นที่ เชน นพ.ธวัชชัย ต้ังวณิชกร นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทราไปจ.ระยอง และยายนพ.วิรัตน วิริยกิจจา นองชายปลัดสธ.ไปอยูแทน หรือการยายนพ.วีระพันธ สุพรรณไชยมาตย ผอ.การกองโรงพยาบาล และนพ.สุรเชษฐ สถิตนิรามัย ผอ.การกองสาธารณสุขภูมิภาค ซ่ึงไดรวมตัวกันเปนสํ านักพัฒนาคุณภาพสถานพยาบาล (สคส.) ออกจากสวนกลางไปอยูจ.รอยเอ็ด และเพชรบูรณ เปนตน

การยายทั้งหมดทั้งปวงนี้ ลวนดํ าเนินไปในทวงทํ านอง “จัดวาง” ขุมกํ าลังเพื่อเปนหัวคะแนนกลายๆใหกับพรรคการเมืองมากกวาเพื่อประสิทธิภาพของงาน นี่จึงเปนเหตุผลวาทํ าไม คนหัวกาวหนาอยางหมอสุรพงษจึงสุดจะทน การสงสัญญาณ “ถอดใจ” ครั้งนี้สะทอนใหเห็นวา โครงการ 30 บาทฯ ในระยะเปลี่ยนผานไมใชเร่ืองงาย สอเคาวาจะยุงยากไปอีกนาน (มติชน 201244)

2.1.1.3 ทัศนะหมอประเวศ

Page 92: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

235

นพ.ประเวศ วะสี ราษฎรอาวุโส พูดถึงกรณีขัดแยงระหวางปลัดกระทรวงและรมช.สาธารณสุขวา “ผมไดรับขอมูลจากสื่อและจากบุคคลหลายกระแสมาก บางคนบอกวาการแตงต้ังโยกยายครั้งนี้เลวรายที่สุดในประวัติศาสตร คนที่ต้ังใจทํ าดีก็ถูกยายออกจากพื้นที่ ตัวประธานชมรมแพทยชนบทเองระบุวาธงคุณธรรมหักแลว แตที่รูแนๆ ทํ าใหขาราชการประจํ าเดือดรอน การโยกยายครั้งนี้เลวรายอยางที่หลายคนพูด คํ าถามคือมันเกิดขึ้นไดอยางไร ขณะที่คนก็พูดกันไปวาคุณสุดารัตนตอสายกับคุณเสนาะเพราะอยากเปนเลขาธิการพรรคไทยรักไทย

ผมมองเรื่องนี้ 2 ประเด็น 1.นาจะตองทํ าใหชัดเจน โดยตั้งคนที่เปนกลางขึ้นมาสอบสวนวาความจริงคืออะไร เปนการประเมินปลัดฯ วาทํ างานมีประสิทธิภาพหรือไม ถาทํ าไมไดก็ยายปลัดฯ แตปญหาที่เกิดขึ้นขณะนี้ถามวามีการลวงลูกจากนักการเมืองหรือไม ซ่ึงตองทํ าการสอบสวนกันเพื่อแกขอสงสัย ประเด็นที่ 2 ความสัมพันธระหวางขาราชการประจํ าและขาราชการการเมืองเปนปญหาเรื้อรังมานานเร่ืองนี้เปนเรื่องใหญ นายกฯไมจัดการกับปญหานี้อาจทํ าใหประเทศเทศชาติมีปญหา กรณีของกระทรวงสาธารณสุขเปนตัวอยางชัดเจน รัฐมนตรีเขามายุงกับเรื่องตางๆ และถูกกระทรวงดึง ผมหวังวาคุณทักษิณนาจะคิดได นาจะฉลาดกวานี้ นายกฯอาจจะฉลาดเรื่องการจัดการธุรกิจ แตการบริหารบานเมืองยุงยากกวาซับซอนกวาการจัดการธุรกิจ ตองฉลาดในการบริหารจัดการคน

ขณะนี้บานเมืองไมมีใครบริหารยุทธศาสตรมีแตคนบริหารกระทรวงทั้งนั้น และตางฝายตางก็ดึง ฉุดกันไวบานเมืองถึงไมไปถึงไหน ถารัฐบาลทํ ายุทธศาสตรตองรูวาจะจัดทรัพยากรอยางไร กระทรวงตองทํ าอยางไรและการแตงตั้งปลัดตองเปนคนเกง ตองเลือกคนดีที่ทํ างานได เพราะถาไม รัฐมนตรีนั่นเองที่จะไปไมรอด ยุทธศาสตรตองทํ าตรงนี้ไมใชไปลวงลูกแตงตั้ง ไมเปนประโยชนของประเทศ และยังเปนการทํ ารายราษฎรอีกดวย (มติชน 221244)

2.1.1.4 ‘ทักษิณ-พจมาน’ รุมกลอม ‘3 คูกรณี’ตอมา พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เรียกคูกรณีทั้งนพ.สุรพงษ สืบวงศลี รมช.สาธารณสุข นางสุดารัตน เกยุราพันธุ

รมต.สาธารณสุข นพ.วินัย วิริยกิจจา ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และมีคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ภริยานายกรัฐมนตรี รวมหารือดวย ไดผลสรุปวา ใหทั้งนพ.สุรพงษและปลัดกระทรวงสาธารณสุข ไปพูดคุยเรื่องบัญชีโยกยายขาราชการที่เสร็จเรียบรอยแลววา มีจุดใดกระทบตอประสิทธิภาพการทํ างานก็ใหไปปรับปรุงเทาที่จํ าเปนตามที่ นพ.สุรพงษเปนหวง (มติชน 211244)

2.1.1.5 บทลงทายในที่สุดปญหาความขัดแยงในประทรวงสาธารณสุขก็ไดมีการประชุมศูนยปฏิบัติการหลักประกันสุขภาพถวนหนา หรือวอรรูม

โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค โดยมีนพ.สุรพงษ สืบวงศลี รมช.สาธารณสุข เปนประธาน มีผูบริหารกระทรวงเขารวมประชุมกันอยางพรอมเพรียง รวมถึงนพ.วินัย วิริยะกิจจา ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ไมเคยเขารวมประชุมเลยนับแตรับตํ าแหนง

ภายหลังการประชุมกวา 4 ช่ัวโมงแลว นพ.สุรพงษ และนพ.วินัยไดพูดคุยกันสองตอสองอีก จากนั้น นพ.สุรพงษเปดเผยวา ที่ประชุมไดหารือกันถึงปญหาโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค สวนการทบทวนแตงตั้งโยกยายขาราชการระดับ 8 และ 9 จํ านวน 70 ตํ าแหนงนั้น ไดใหนโยบายกับปลัดกระทรวงและผูบริหารสธ.ไปนั่งคุยกัน โดยที่ตัวเองไมช้ีวาตองทบทวนจังหวัดใดเพราะไมใชหนาที่ โดยหลักเกณฑประกอบดวย 1.ตองทํ าใหการทํ างานในพื้นที่นั้นมีความตอเนื่อง มีประสิทธิภาพในการผลักดันโครงการ 30 บาทฯ 2.ผูบริหารที่จะมารับผิดชอบในตํ าแหนงใดๆก็ตาม ควรมีคุณสมบัติเบ้ืองตนเหมาะสมที่จะทํ าหนาที่ในตํ าแหนง (ไทยโพสต 251244)

2.1.2 ความเคลื่อนไหวนโยบาย ‘30 บาทฯ’นางสุดารัตน เกยุราพันธุ รมต.สาธารณสุข ซ่ึงไปดูงานที่ศูนยสุขภาพชุมชน อํ าเภอเมือง จังหวัดศรีษะเกษ ซ่ึงเปนหนวยงาน

บริการปฐมภูมิเครือขายของโรงพยาบาลศรีษะเกษ กลาววา ศูนยสุขภาพชุมชนแหงนี้เปนตัวอยางของการจัดหนวยบริการปฐมภูมิตามโครงการ 30 บาทฯ ซ่ึงเปนกาวยางแรกที่จะพยายามกระจายแพทยและบุคลากรสาธารณสุขสาขาหลักไปสูชุมชน เพื่อใหประชาชนไดรับบริการทางสุขภาพอยางครบถวนใกลบาน โดยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายจะยกระดับสถานีอนามัยซ่ึงทั่วประเทศมีแลวกวา 10,000 แหง และศูนยแพทยชุมชนอีกกวา 200 แหง ใหดูแลสุขภาพแบบองครวม และใชช่ือวาศูนยสุขภาพชุมชนเหมือนกันทั่วประเทศ ทํ าหนาที่หลักไมเพียงรักษาคนปวยเทานั้น แตจะตองวางแผนสรางเสริมสุขภาพปองกันโรคในชุมชนที่ดูแลทั้งหมด รวมทั้งการสงเสริมการออกกํ าลังกายดวย โดยเฉลี่ยศูนยสุขภาพชุมชนจะดูแลประชาชนประมาณ 5,000 คน ศูนยดังกลาวจะทํ าหนาที่เปนดานคัดกรองผูปวยกอนสงตอไปยังโรงพยาบาลตามความรุนแรงของโรค (สยามรัฐ 121144)

2.1.2.2 กทม.พรอม 30 บาท รักษาโรคทั่วกรุงนพ.ประพันธ กิติสิน รองผูวาฯกทม. กลาววา วันที่ 1 ม.ค.2545 โครงการ 30 บาทฯ จะครอบคลุมพื้นที่รอยละ 80 ของ กทม.โดย

โรงพยาบาลสังกัดกทม.ที่จะเขารวมในระยะสองนี้คือ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน และโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ พรอมศูนยบริการสาธารณสุข ในพื้นที่ของโรงพยาบาลทั้งสามแหงนั้น ทั้งนี้ นายสมัคร สุนทรเวช ผูวาราชการกทม. มีนโยบายจัดสรางใหมีศูนย

Page 93: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

236

บริการสาธารณสุข สํ านักอนามัยกทม.เพิ่มอีก 9 แหงจากเดิมมี 61 ศูนยครอบคลุม 41 เขต ถามีเพิ่มอีก 9 ศูนยจะไดครอบคลุม 50 เขตพื้นที่กทม.เพื่อรองรับโครงการ 30 บาทฯ

สํ าหรับผูปวยเอดสที่จะไดรับการรักษาตามโครงการ 30 บาทฯ ตองเปนผูปวยเอดสที่มีโรคฉวยโอกาสเกิดแลว และผูปวยเอดสที่เปนหญิงตั้งครรภจะไดรับยาตานไวรัสในการดูแลตามโครงการ 30 บาทฯ (พิมพไทย 181144)

2.1.2.3 สธ.นํ ารองขายยาเขา ‘30 บาทฯ’กระทรวงสาธารณสุขเตรียมนํ ารองโครงการศึกษาแนวทางนํ ารานขายยาเขาโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค โดยจับมือกับ

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ทดลองในอ.หาดใหญ และอ.เมืองมหาสารคาม กอนเพื่อหารูปแบบขยายเครือขายการสรางสุขภาพดีถวนหนา ใหครอบคลุมทั่วประเทศ พรอมประกาศหนุนการวิจัยสมุนไพร เพื่อลดการนํ าเขายาจากตางประเทศ (ผูจัดการ 191144)

2.1.2.4 โครงการ 30 บาทฯ ทํ า ‘รพ.’ 30 จว.ขาดเงิน สธ.เตรียมใหงบประมาณเพิ่ม 2.2 พันลานหลังจากสธ.ดํ าเนินโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคทั่วประเทศเมื่อวันที่ 1 ตุลาคมที่ผานมา จากการวิเคราะหสถานการณการเงิน

ของโครงการฯ ในเดือนพย.พบวา มีพื้นที่อยางนอย 30 จังหวัดตองไดรับการจัดสรรเงินเพิ่ม ขณะที่พบวามีกวา 20 จังหวัดมีเงินเหลือมากกวา 100 ลานบาทขึ้นไป หากไมมีโครงการใชเงินอาจจะโยกเงินไปยังจังหวัดที่ขาดเงินแทน (มติชน, ผูจัดการ 301144)

2.1.2.5 สธ.เกลี่ยพยาบาลกวา 7 หม่ืนคนรับยุทธศาสตรโครงการ 30 บาทฯ12 ธ.ค.44 นางสุดารัตน เกยุราพันธุ รมต.สาธารณสุข (สธ.) เปดการประชุมหัวหนาพยาบาลโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไป

หัวหนางานสงเสริมสุขภาพ ผูอํ านวยการวิทยาลัยพยาบาลทั่วประเทศ รวม 300 คน เพื่อทํ าความเขาใจเกี่ยวกับนโยบายและแนวทางการจัดบริการสุขภาพ ตามบทบาทของพยาบาลในพื้นที่รับผิดชอบตามโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ซ่ึงจะดํ าเนินการครอบคลุมทุกพื้นที่ 100%ในเดือนเมษายน 2545

ทั้งนี้ การสํ ารวจครั้งลาสุดทั่วประเทศมีพยาบาล 76,004 คน แบงเปนพยาบาลระดับปริญญาตรี 44,461 คน ระดับต่ํ ากวาปริญญาตรี 31,543 คน ในจํ านวนนี้สวนใหญปฏิบัติงานในโรงพยาบาล มีพยาบาลระดับปริญญาตรีปฏิบัติงานอยูในสถานีอนามัยจํ านวน586 คน ซ่ึงตามนโยบายของโครงการ 30 บาทฯ ตองเกลี่ยอัตรากํ าลังของพยาบาลทั้งสองระดับจากโรงพยาบาลไปประจํ าที่สถานีอนามัยทั่วประเทศ รวมทั้งศูนยบริการสาธารณสุขในเขตเมืองรวมกวา 10,000 แหง ซ่ึงกระทรวงสาธารณสุขไดยกระดับใหเปนศูนยสุขภาพชุมชนใหพยาบาลระดับปริญญาตรีที่มีประสบการณและทักษะทางการพยาบาล อยางนอย 3-5 ป เชน การพยาบาลพื้นฐานหรือการพยาบาลเฉพาะทาง การพยาบาลในชุมชน การพยาบาลครอบครัว และการพยาบาลเวชปฏิบัติ เปนหัวหนาทีมในการดูแลประชาชนในหมูบาน เปนพยาบาลประจํ าครอบครัว

“การทํ างานอาจจัดอัตรากํ าลังพยาบาลระดับปริญญาตรีทํ างานเต็มเวลาประจํ าที่ศูนยสุขภาพชุมชน พยาบาล 1 คน ดูแลประชากร 5,000 คน มีแพทยในเครือขายรวมใหคํ าปรึกษา ติดตามกํ ากับคุณภาพในสัดสวนแพทย 1 คนตอประชากร 10,000 คน จัดทํ าแฟมประวัติสุขภาพทุกครัวเรือน ดูแลต้ังแตเกิดจนกระทั่งเสียชีวิต พยาบาล 1 คน ดูแล 200-300 ครอบครัว”

ดานนพ.จักรธรรม ธรรมศักด์ิ รองปลัดสธ. กลาววา พยาบาลเปนกลุมที่ตองรับภาระงานหนัก ขณะนี้สธ.อยูระหวางผลักดันใหพยาบาลระดับปริญญาตรี ไมวาจะปฏิบัติงานที่ไหน หรือปฏิบัติงานในสายงานวิชาการ เชน นักวิชาการสงเสริมสุขภาพ นักวิชาการสาธารณสุข ใหไดรับคาตอบแทนเชนเดียวกับพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล คาตอบแทนในที่นี้ไดแก คาปฏิบัติลวงเวลา 8 ช่ัวโมงคนละ 500บาท ระดับ 7-9 มีเงินประจํ าตํ าแหนงเดือนละ 3,500-9,900 บาท นอกจากนี้ ยังมีเงินเบี้ยเลี้ยงเหมาจายในกรณีปฏิบัติงานในพื้นที่ทุรกันดารเดือนละ 1,000-2,000 บาท และคาตอบแทนการขึ้นเวรบาย-ดึก เวรละ 200 บาท ซ่ึงหากสํ าเร็จจะเปนขวัญกํ าลังใจใหพยาบาลออกไปปฏิบัติงานในชุมชนมากยิ่งขึ้น (ผูจัดการ 131244, มติชน 151244)

2.1.2.6 ‘30 บาทรักษาทุกโรค’ ยังไมชัดเจนแนวรวมเพื่อความกาวหนาของผูหญิง เขาพบนพ.สงวน นิตยารัมภพงศ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อนํ าเสียงสะทอนของ

ชาวบาน โดยเฉพาะกลุมผูหญิงใหสธ.ทบทวนและปรับปรุงโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรคใหดีขึ้น นางวณี ฐิติประเสริฐ แกนนํ ารวม กลาววาตองการใหสธ.ประชาสัมพันธใหประชาชนเขาใจชัดเจนวา เสียบริการครั้งละ 30 บาทฯตอการรักษาหนึ่งครั้งหรือตอหนึ่งโรค เพราะบางโรคตองไปรพ.หลายครั้งกวาจะไดรับการรักษาจนหาย ตองเสียเงินหลายครั้งทํ าใหเปนภาระแกคนยากจน โดยเฉพาะผูหญิงที่มักมีปญหาทางสุขภาพมาก

“บัตร 30 บาทมีปญหาการใชบัตรขามเขตและขามโรงพยาบาล แมแตมีใบสงตัว การถูกสงตัวกลับไปมาระหวางโรงพยาบาลหลายแหง สรางความสับสนแกผูรับบริการ บริการบางประเภทไมมีความชัดเจนวารวมอยูในโครงการ 30 บาทหรือไม นอกจากนี้ สธ.ควรทบ

Page 94: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

237

ทวนขอกํ าหนดวาการคลอดบุตรคนที่ 3 จะไมรับผิดชอบคาใชจายใหนั้น เพราะเมื่อไมนานนี้ชาวบานที่จ.นครสวรรคไปคลอดลูกคนที่ 3 โรงพยาบาลไมยอมใหใชสิทธิ 30 บาท ทั้งๆที่เพิ่งใชสิทธิโครงการ 30 บาทฯ เปนครั้งแรก ซ่ึงไมยุติธรรมสํ าหรับประชาชน เนื่องจากนโยบายประชากรของรัฐเองก็ไมไดระบุวา คนไทยตองมีลูก 2 คนเทานั้น ขอกํ าหนดเชนนี้เปนการละเมิดสิทธิการมีลูกของชาวบาน

นพ.สงวนกลาววา ตามความตั้งใจเดิมของสธ.ตองการเก็บเงินประชาชนเปนรายโรคไมใชรายครั้ง แตผูปฏิบัติงานในสถานพยาบาลเกิดความกังวลเรื่องคาใชจาย ดังนั้น ระยะแรกนี้จึงตองใหเปนรายครั้งไปกอน แตหากประชาชนไปสถานพยาบาลและตองใชบริการหลายจุดในวันเดียวก็เสียเพียง 30 บาทเทานั้น เร่ืองนี้จะพยายามทํ าความเขาใจกับเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงาน

สวนเรื่องการสงตอศูนยปฏิบัติการ 30 บาทฯ มีมติกันวา รพ.ภายในจังหวัดเดียวกันใหนายแพทยสาธารณสุขเปนผูดูแล ถาสงตอขามจังหวัด ขอใหผูตรวจราชการดูแล และหากสงตอขามเขต ผูบริหารระดับกระทรวงจะตองดูแลผูปวยใหไดรับบริการอยางสะดวกที่สุดอยาใหเปนปญหา ในกรณีที่ผูปวยมีใบสงตอไปโรงพยาบาลใดและโรงพยาบาลนั้นไมรับขอใหรองเรียนเขามา สธ.จะสอบสวนและดํ าเนินการใหสวนเรื่องการคลอดบุตรคนที่ 3 เมื่อเรื่องนี้ทํ าใหแนวรวมผูหญิงรูสึกลํ าบาก จะนํ าเรื่องเขาวอรรูม เพื่อประชุมทบทวนกันและจะแจงความคืบหนาใหทราบโดยเร็ว (มติชน 191144)

2.1.2.7 ป’45 เรงใหประชาชนรูสิทธิ 30 บ.นพ.สุรพงษ สืบวงศลี รมช.สาธารณสุข เปดเผย แผนการดํ าเนินการโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ซ่ึงจะขยายโครงการครอบคลุม

ทุกพื้นที่ในวันที่ 1 เมษายน 2545 วา ตลอดป 2545 นี้ตองใหความรูตางๆใหประชาชนเขาใจมากที่สุด สิ่งที่มีความหวงใยมากที่สุดคือ โรงพยาบาลเอกชนที่เขารวมโครงการ 30 บาทฯ ถึงแมวาจะใหหลักประกันสุขภาพกับคนไทยทุกคน แตถาหลักประกันนั้นมีคุณภาพที่ไมดีพอ ก็ไมมีโครอยากไปใช ฉะนั้นโรงพยาบาลเอกชนหรือโรงพยาบาลที่เขารวมในโครงการฯ กระทรวงฯ ก็จะมีการเขาไปตรวจสอบมาตรฐาน ไมวาจะเปนจํ านวนแพทยที่จะรองรับ เครื่องมือในการรักษา รวมทั้งการกํ าหนดแนวทางเวชปฏิบัติ ประชาชนที่มีปญหา สามารถโทรฯรองทุกขไดทันที

ทั้งนี้มาตรฐานการรักษาโรงพยาบาลทุกแหงจะตองเหมือนกัน โดยสํ านักงานมาตรฐานสถานพยาบาลออกไปตรวจสอบ นอกจากนี้ ยังมีสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลดํ าเนินการพัฒนาระบบคุณภาพของโรงพยาบาลทุกแหง กํ าหนดไววาภายใน 5 ป โรงพยาบาลที่อยูในโครงการ 30 บาทฯทุกแหง จะตองเขาสูระบบรับรองคุณภาพ (พิมพไทย 231244)

2.1.3 สปรส.ช้ีคนไทยถูกมอมเมา ซื้อแพ็กเกจตรวจสุขภาพ18 ธ.ค. สํ านักงานปฏิรูประบบสุขภาพแหงชาติ (สปรส.) จัดเสวนาเรื่องการตรวจสุขภาพประจํ าปเร่ืองดีหรือเร่ืองราย นพ.อํ าพล

จินดาวัฒนะ ผูอํ านวยการสปรส. กลาววา มีการจัดโปรแกรมตรวจสุขภาพเปน “แพ็กเกจ” ในราคาตั้งแต 2,000 บาทไปจนถึงหมื่นกวาบาทซ่ึงเปนการฉวยโอกาสที่ประชาชนกํ าลังต่ืนตัวเรื่องการสรางสุขภาพมาทํ าเงินทํ ากํ าไรอยางเปนกอบเปนกํ า หากประชากรไทย 60 ลานคนไปใชบริการตรวจสุขภาพประจํ าป ในราคาเฉลี่ยประมาณ 2,000 บาทตอคนตอครั้ง คาดวาจะตองใชเงินถึง 120,000 ลานบาท จึงตองต้ังคํ าถามวาเราจะปลอยใหเปนอยางนี้ไปเรื่อยๆ หรือใครที่มีหนาที่เกี่ยวของควรจะลุกขึ้นมาแกไข

ศ.นพ.สันต หัตถีรัตน นายแพทยอาวุโสประจํ า รพ.รามาธิบดี กลาววา การตรวจสุขภาพที่ถูกตองไมใชการตรวจทางหองปฏิบัติการ คนไทยเราถูกมอมเมามาโดยตลอดใหหลงเชื่อวา การตรวจสุขภาพตองไปเจาะเลือด เอกซเรย ตรวจอุจจาระ ปสสาวะ ฯลฯ จึงตกเปนเหยื่อของธุรกิจสุขภาพ การตรวจรางกายที่ทํ ากันอยูทุกวันนี้เปนการเอาคนไปตรวจหาโรค ซ่ึงเปนธรรมดาที่ทุกคนตองมีความผิดปกติอยางใดอยางหนึ่งเสมอ อีกทั้งผลการตรวจทางหองปฏิบัติการนั้นไมมีอะไรที่แมนยํ ารอยเปอรเซ็นต

พ.ต.นพ.สุรจิต สุนทรธรรม แพทยจาก รพ.พระมงกุฏฯ ซ่ึงไดทํ าการวิจัยเรื่องแนวทางการตรวจสุขภาพสํ าหรับประชาชนไทย กลาววา การตรวจสุขภาพเปนเรื่องดีและจํ าเปน แตตองมีการปรับเปลี่ยนแนวทางเสียใหม หัวใจของการตรวจสุขภาพคือการซักประวัติ การใหคํ าปรึกษาหารือระหวางบุคลากรทางแพทย ซ่ึงไมจํ าเปนตองเปนแพทย ทั้งนี้ขอมูลของแตละคนเปนปจจัยสํ าคัญที่จะทํ าใหรูวาคนๆนั้นจะมีโอกาสปวยเปนโรคอะไร และควรจะปฏิบัติอยางไรตอไป ที่สํ าคัญตองมีการบันทึกประวัติอยางตอเนื่อง (ไทยโพสต 191244)

2.2 ความเคลื่อนไหวดานเอดส2.2.1 รายงานวันเอดสโลกป ’44รายงานประเมินสถานการณของโรคเอดสทั่วโลกประจํ าป จัดทํ าโดยสํ านักงานยูเอ็นเอดสและองคการอนามัยโลก เนื่องในวัน

เอดสโลกปนี้ สรุปวาในป 2544 มีประชากรทั่วโลกติดโรคเอดสถึง 40 ลานคน เพิ่มขึ้นจากปที่แลว 5 ลานคน และมีผูเสียชีวิตจากการติดเอดส3 ลานคน นอกจากนั้นยังเตือนวากลุมประเทศที่มีประชากรหนาแนนในเอเชียไดแก จีน อินเดีย และอินโดนีเซียกํ าลังเผชิญหนากับภัยคุกคามของโรคเอดสครั้งรุนแรงที่สุด โดยมีสาเหตุหลักจากการมีเพศสัมพันธที่ขาดการปองกันที่ดี การใชยาเสพติดแบบฉีดเขาเสนเลือด และการถายเลือดผูติดเชื้อ

Page 95: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

238

รายงานฉบับนี้ไดกลาวช่ืนชมไทย กัมพูชา ที่ประสบความสํ าเร็จในการรณรงคใชถุงยางอนามัย ในชวงปที่ผานมา ทํ าใหปริมาณผูติดเช้ือไมสูงขึ้น โดยในสวนของไทยมีประชากรติดเชื้อเอดสประมาณ 1 ลานคน ขณะที่ในแถบเอเชียและแปซิฟกมีผูติดเชื้อเอชไอวีและเอดสทั้งสิ้น 7.1 ลานคน ขณะเดียวกันเวิลดแบงกเตรียมอัดฉีดงบประมาณพิเศษจํ านวน 500 ลานดอลลาร เพื่อตอสูกับโรคเอดส ซ่ึงถือเปนเม็ดเงินที่เพิ่มจากโครงการสนับสนุนเดิมที่มีอยูถึง 2 เทา หลังจากเวิลดแบงกไดแตงตั้งที่ปรึกษาดานโรคเอดสโลกเปนครั้งแรก เพื่อใหการรณรงคตอตานเอดสเปนไปอยางจริงจังมากขึ้น (กรุงเทพธุรกิจ 291144)

2.2.2 ชาวเอดสไชโย สธ.ยอมใหเขา 30 บาทฯ1 ธ.ค. จะเปนวันดีเดยจํ าหนายยาตานฯเอดสในราคาใหม 2,310 บาท จากเดิม 5,400 บาทตอคนตอเดือน และในอนาคตองค

การเภสัชกรรมและกระทรวงสาธารณสุขจะทํ าทุกวิถีทางใหยาตานฯลดราคาลงปจจุบันประเทศไทยมีผูติดเชื้อถึง 1 ลานคน คิดเปนความสูญเสียทางเศรษฐกิจกวา 140,000 ลานบาท สธ.จึงไดจัดสรรงบ

ประมาณสํ าหรับปองกันและแกไขปญหาเอดสไวถึง 1,180 ลานบาท สวนใหญเปนงบฯสํ าหรับการปองกัน 42.10% และงบฯสํ าหรับการบํ าบัดรักษา 39.60% สวนที่เหลือใชสํ าหรับการเฝาระวังและพัฒนาระบบขอมูลการวิจัย และสนับสนุนองคกรเอกชนดานเอดส ที่นาหวงใยก็คือในกลุมวัยรุนพบวา ป 2544 มีวัยรุนติดโรคจากการมีเพศสัมพันธกวา 30% ในจํ านวนนี้ติดเชื้อเอดสถึง 17%

นพ.วัลลภ ไทยเหนือ อธิบดีกรมควบคุมโรคติดตอ กลาววา ขณะนี้องคการอนามัยโลกไดจัดลํ าดับสถานการณโรคเอดสของโลกซ่ึงประเทศไทยอยูในอันดับที่ 39 และเปนอันดับ 1 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีผูติดเชื้อเอดสเพิ่มขึ้นปละ 55,000 คนและเสียชีวิตปละ 50,000 คน ขณะที่แพทยผูเช่ียวชาญดานเอดสมีเพียง 7 คนเทานั้น (ไทยโพสต, กรุงเทพธุรกิจ 011244)

อนึ่ง มีผูต้ังขอสังเกตวา การนํ ายาตานไวรัสเอดสเขาไปอยูในโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคนั้น หากองคการเภสัชกรรม (อภ.) ไมรีบวางระบบการเบิกจายยาออกจากอภ.เพื่อใหกับแตละโรงพยาบาล จะตองมีปญหาการกระจุกตัวของยาตานไวรัสที่ตองตกไปในบางพื้นที่อยางแนนอน ซ้ํ าโควตายาตานไวรัสใหกับแตละจังหวัดจะลงตัวอยางไรในเมื่อความตองการมีมากกวายาที่จะมีให เพราะจากตัวเลขของกรมควบคุมโรคติดตอที่คาดการณวา ผูปวยเอดสในประเทศไทยจะตองใชยาตานไวรัสมีประมาณ 180,000 – 200,000 คน แตวันนี้แมวาจะเพิ่มงบประมาณการดูแลผูปวยเอดสเปน 500 ลานบาท จากเดิมเพียง 250 ลานบาท ก็สามารถดูแลเพิ่มไดเปน 6,000 คนจากเดิม 3,000 คน คิดหยาบๆผูที่จะไดยาตานไวรัสก็ในอัตราสวน 1:30 เทานั้น

นอกจากนี้ ยังมีหลักทางการแพทยที่กํ าหนดไววายาตานไวรัสสมควรใชกับผูติดเชื้อเอชไอวีที่มี ซีดี4 หรือภูมิคุมกันในรางกายตํ่ ากวา 250 และมีอาการทางกายภาพที่เร่ิมมีปญหา เพราะหากซีดี 4 ในรางกายสูงกวา 250 การกินยาตานไวรัสเขาไปก็เทากับวาเปลาประโยชน และอาจจะสงผลขางเคียงที่อาจทํ าใหเกิดการดื้อยาจนเปนเหตุใหตองเสียชีวิตเร็วกวาที่ควรในเวลาตอไป การตรวจซีดี4 ยังตองเสียคาใชจายในการตรวจดวย เพราะไมเกี่ยวกับโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ตกคนละประมาณ 400-800 บาท และไมใชวาทุกโรงพยาบาลจะตรวจได เนื่องจากเครื่องตรวจซีดี4 ทั่วประเทศมีอยู 19 เครื่องเทานั้น และเสียไป 2 เครื่อง ซ่ึงยังไมไดซอม เพราะคาซอมแพงมาก(เดลินิวส 091244)

2.2.3 ครม.อนุมัติจายเงินผูติดเอดสในหนาที่คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอครม.เห็นชอบใหจายเงินสงเคราะหแกเจาหนาที่ที่ติดเชื้อเอชไอวีในการปฏิบัติหนาที่ ภายใต

เงื่อนไข 2 ขอ คือผูติดเชื้อตองรายงานใน 24 ชม. และตรวจเลือดใน 72 ชม. คลังเคยอนุมัติไปแลว 1 ราย เปนเงิน 1.5 ลานบาท (กรุงเทพธุรกิจ 211244)

2.3 ความเคลื่อนไหวดานโรคและภัย2.3.1 ภาวะโรคอวนในปจจุบันประชากรทั่วโลกตองตกเปนเหยื่อของโรคอวนมากถึงกวา 300 ลานคน และชาติตะวันตกตองหมดเปลืองเงินไปกับโรค

อวนถึงรอยละ 2-3 ของงบประมาณสาธารณสุขในแตละประเทศ ในสหรัฐคนอเมริกันเสียชีวิตดวยโรคอวนปละ 3 แสนคน และใชเงินรักษาโรคอวนประมาณปละ 2 ลานลานบาท นอกจากนี้ รัฐบาลยังตองสูญเสียเงินรักษาคนอวนเหลานี้ถึงปละ 3 ลานลานบาท สํ าหรับประเทศไทยบริษัทศูนยวิจัยกสิกรไทย จํ ากัด รายงานวา ปจจุบันคนไทยใชจายเงินกับผลิตภัณฑลดความอวนถึงประมาณปละ 1,200 ลานบาท โดยอัตราการขยายตัวของตลาดผลิตภัณฑลดความอวนในประเทศสูงถึงรอยละ 20 ตอป แมจะอยูในภาวะเศรษฐกิจตกตํ่ าก็ตามที

นอกจากนี้ ขอมูลจากกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข ยังระบุอีกวา ในชวง 1 ทศวรรษที่ผานมา อัตราความชุกของโรคอวนในคนไทยชวงอายุ 20-29 ป เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 130.6 ขณะเดียวกันยังพบวาอัตราความชุกของโรคอวนในวัยทํ างานอายุ 30-59 ป ก็สูงมากเชนเดียวกัน โดยประเทศไทยมีอัตราการเกิดภาวะโรคอวนมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ขณะเดียวกันขอมูลจากกระทรวงสา

Page 96: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

239

ธารณสุขยังระบุวาความตองการใชยาลดความอวนขยายตัวอยางมาก โดยผูที่หันมาใชยาลดความอวนมักไมใชผูที่ประสบปญหาความอวนจนเกิดโรคภัย แตเปนกลุมสตรีและวัยรุนจํ านวนมากที่มีคานิยมผิด

สํ านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ตองเรงทบทวนในเรื่องยาลดความอวน เนื่องจากมีคลินิกลักลอบจํ าหนาย ทั้งนี้ควรจะตองพิจารณาตัวยาลดความอวนที่มีผลขางเคียงมาก และเปนอันตรายกับผูบริโภคโดยจํ ากัดวงผูจํ าหนายจายแจกใหแคบลงและเครงครัดมากขึ้น สวนการลักลอบนํ าเขายาลดความอวน ตองใหกรมศุลกากรตรวจสอบเครงครัด นอกจากนี้ในระยะยาวการแกปญหาภาวะอวนตองจัด “แผนยุทธศาสตรชาติ” ใหทุกฝายเขามารวมคิดและวางกรอบในการแกปญหาระยะยาว (ผูจัดการ,กรุงเทพธุรกิจ 121244, สยามรัฐ051144)

2.3.2 โรคและภัยจากเหลา-บุหรี่2.3.2.1 รณรงคคนไทยงดสูบบุหรี่สํ าเร็จแตดื่มสุราเพิ่มพญ.มาลินี สุขเวชชวรกิจ ประธานคณะกรรมาธิการสาธารณสุข วุฒิสภา กลาวในการสัมมนา “เพิ่มภาษีบุหรี่-สุรา ชวยลดปญหา

สุขภาพประชาชนไดจริงหรือ” วา การรณรงคใหงดสูบบุหรี่ต้ังแตป’36 ที่ผานมา พบวาไดผลคือการสูบบุหรี่ลดลง แตปญหาที่เพิ่มนาเปนหวงคือ มีการดื่มสุราเพิ่มเปน 6 เทา เนื่องจากกลยุทธทางการคามีมาก ทํ าใหเราพบเห็นอุบัติเหตุที่เกิดจากการดื่มเหลามากขึ้นเชนกัน ซ่ึงตองแกไขตอไป (กรุงเทพธุรกิจ, ผูจัดการ 201144)

2.3.2.2 กลุมบุหรี่ยายฐานสูอาเซียนรับเสรีการคานายชิเกรุ โอมิ ผอ.ประจํ าภูมิภาคแปซิฟกฝงตะวันตก ขององคการอนามัยโลก (WHO) เปดเผยวา หลังจากเผชิญหนากับการหด

ตัวของตลาดซีกตะวันตก บรรดาผูผลิตบุหรี่รายใหญตางพากันยายฐานการผลิตมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต เพื่อคงราคาใหต่ํ าและพยายามเขาถึงภูมิภาคนี้ ซ่ึงยังไมมีการพัฒนามาตรการควบคุมการผลิตบุหรี่ที่ดีพอ

ฟลิป มอรริส ไดเขามาตั้งโรงงานผลิตมูลคากวา 300 ลานดอลลารสหรัฐในฟลิปปนส สวนบริติชอเมริกันโทแบคโค ผูผลิตรายใหญอันดับ 2 ของโลก เตรียมลงทุนรวมกับเวียดนามตั้งโรงงานผลิตบุหรี่ที่ทันสมัยมูลคา 40 ลานดอลลารสหรัฐ WHOยังมีขอมูลวาการสูบบุหรี่เปน 1 ในปญหาสุขภาพของคนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยมีผูเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวของกับการสูบบุหรี่ 1 คนทุก ๆ 32 วินาที(กรุงเทพธุรกิจ 081244)

2.3.2.3 เหลาเกิน ‘6 แกว’ เสี่ยงซ่ิงชนวินาศขอมูลเหลากับสุขภาพคนไทย ที่จัดทํ าโดยสมาคมปองกันปญหาจากสุรา (สปส.) และสํ านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสราง

เสริมสุขภาพ ระบุวา พฤติกรรมของผูขับขี่ยานยนตที่ทํ าใหเกิดอุบัติเหตุคือ ความประมาท การขับรถเร็ว การแซงรถในระยะกระชั้นชิด รวมทั้งการดื่มสุราในขณะขับขี่

ในการศึกษาของนพ.วิชัย โปษยจินดา และคณะ พบวาผูประสบอุบัติเหตุทั้งที่เสียชีวิตและไมเสียชีวิตมากกวารอยละ 60 เมาสุราในสวนของกฎหมายที่เกี่ยวของนั้น พบวาประเทศไทยกํ าหนดมาตรฐานการตรวจจับผูขับขี่ที่เมาสุรา โดยถือเอาระดับแอลกอฮอลในเลือดที่เกิน 50 ม.ก.% เปนผูขับขี่ที่เมาสุราและมีความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก (มติชน 181144)

2.4 ความเคลื่อนไหวดานยา2.4.1 กรณีสิทธิบัตรยายังมีปญหา ผูแทน WTO หาขอสรุปไมไดผูแทนที่ทํ าหนาที่จัดเตรียมการประชุมรัฐมนตรีองคการการคาโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ในโดฮา ไมสามารถหาจุดยืนรวมกันในประเด็น

ขัดแยงเรื่องการเปดชองทางใหประเทศที่เผชิญมหันตภัยดานสุขภาพ สามารถเขาถึงยารักษาโรคได ที่ประชุมดังกลาวออกรางแถลงการณ 2ฉบับที่มีเนื้อหาแตกตางกันโดยสิ้นเชิง ฉบับแรกที่ไดรับการสนับสนุนจากชาติตะวันตก อาทิ สหรัฐฯ และสวิตเซอรแลนด สองประเทศที่เปนที่ต้ังของบริษัทเวชภัณฑใหญสุดของโลก มีช่ือวา “รางแถลงการณวาดวยสิทธิบัตรทางปญญาและการเขาถึงเวชภัณฑ” ซ่ึงเตือนวาแถลงการณของรัฐมนตรีดับเบิลยูทีโอในเรื่องนี้ไมควรทั้งเพิ่มหรือลดกฎเกณฑในขอตกลงทริปส

สวนรางอีกฉบับที่ช่ือวา “รางแถลงการณวาดวยทรัพยสินทางปญญาและสาธารณสุข” ซ่ึงสนับสนุนโดยประเทศกํ าลังพัฒนาเรียกรองใหคํ านึงถึงสุขภาพประชาชนกอนสิ่งอื่น “ในการตอกยํ้ าพันธสัญญาตอขอตกลงนี้ เรายืนยันวาขอตกลงควรตีความและปฏิบัติใหลุลวงในแนวทางที่สงเสริมสิทธิของสมาชิกในการปกปองสุขอนามัยของประชาชน”

ชาติตะวันตกที่ยืนกรานเรื่องตนทุนสูงลิบในการคนควาวิจัยและพัฒนาตัวยาใหมๆ เรียกรองใหปกปองผลประโยชนของบริษัทเวชภัณฑขนาดใหญที่เปนผูถือสิทธิบัตรยา กระนั้นก็ดีจุดยืนของตะวันตกกลายเปนที่เคลือบแคลงหลังเกิดวิกฤติการณแพรระบาดของแอนแทรกซ ในสหรัฐและแคนาดาพยามยามสต็อกยาสามัญแกโรคแอนแทรกซ แมวาสิทธิบัตรดังกลาวเปนของไบเออรแหงเยอรมนีก็ตาม (ผูจัดการ 301044)

Page 97: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

240

2.4.2 ‘สิทธิบัตรยา’ เพ่ือประโยชนใครมูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนาเสนอแนะวา ในการประชุมองคการการคาโลกที่โดฮาในเดือนพย.2544 รัฐบาลไทยควรประกาศ

จุดยืนอยูรวมกับประเทศกํ าลังพัฒนา และยื่นขอเรียกรองตอการปรับปรุงแกไขขอตกลงทริปส ดังนี้ 1.ประเทศสมาชิกตองมีสิทธิที่จะกํ าหนดนโยบายและกฎเกณฑของตนเองในการที่จะคุมครองทรัพยสินทางปญญาในเรื่องยาตามระดับการพัฒนาของแตละประเทศ 2.ประเทศสมาชิกจะตองสรางกลไก มาตรการใหมๆเพิ่มขึ้นภายในขอตกลงนี้ เพื่อเพิ่มการเขาถึงยาโดยเฉพาะประเทศกํ าลังพัฒนาและประเทศดอยพัฒนา

3.ประเทศสมาชิกจะตองเพิ่มรายละเอียดเกี่ยวกับมาตรการตางๆ ภายใตขอตกลงเดิม เชน เร่ืองการใชสิทธิโดยรัฐบาล(Government use) คือรัฐบาลสามารถใชสิทธิผลิตยาที่มีผูครอบครองสิทธิบัตรได หากเห็นวามีความจํ าเห็นในการแกไขปญหาวิกฤติของประเทศ หรือมาตรการบังคับใชสิทธิ (Compulsory Licensing) คือ รัฐบาลสามารถอนุญาตใหผูใดก็ตามเชน องคการเภสัชกรรมผลิตยาที่มีผูครอบครองสิทธิบัตร หากเห็นวามีความจํ าเปนในการแกไขปญหาประเทศ รวมทั้งมาตรการการนํ าเขาซอน (Parallel import) ที่รัฐอนุญาตใหเอกชนรายอื่น นอกจากผูทรงสิทธิทํ าการนํ าเขาผลิตภัณฑที่มีสิทธิบัตรนั้น จากตางประเทศเขามาจํ าหนายได เปนตน

4.ประเทศสมาชิกจะตองสรางกลไกปกปองการแทรกแซงประเทศกํ าลังพัฒนาและประเทศดอยพัฒนาทั้งทางตรงและทางออม ที่มุงขัดขวางการใชสิทธิตางๆ ภายใตขอตกลงเพื่อคุมครองการสาธารณสุขในประเทศของตน (มติชน 041144)

2.4.3 ยามะเร็ง2.4.3.1 สหรัฐเปดตัวยา ‘ฟมารา’ พิชิตมะเร็งเตานมเนื่องในงานสัปดาหตอตานโรคมะเร็งแหงชาติ มีการจัดนิทรรศการใหความรูโรคมะเร็ง พรอมตรวจสุขภาพใหประชาชน นพ.สม

ยศ ดีรัศมี ผอ.สถาบันมะเร็งแหงชาติ ไดแนะนํ าทั้งผูหญิงและผูชายที่อยูในวัยและพฤติกรรมเสี่ยงตอการเปนมะเร็งรีบไปตรวจคัดกรองมะเร็งในระยะแรก โดยเฉพาะมะเร็งเตานม และมะเร็งปากมดลูก เพื่อรีบรักษาจะมีโอกาสหายได ถาปลอยไวนานโอกาสหายยาก และตองทนทุกขทรมานเจ็บปวดเปนปๆ กวาจะเสียชีวิต นพ.สมยศกลาววา มะเร็งที่พบบอยในผูชายคือมะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งลํ าไสใหญ มะเร็งในชองปาก มะเร็งในกระเพาะปสสาวะ และกระเพาะอาหาร

อยางไรก็ตาม มียาตัวใหมที่รักษามะเร็งเตานมใหผลดีกวาเดิม โดยนักวิจัยสหรัฐระบุวา ยารักษาโรคมะเร็งเตานมตัวใหมจะสามารถตอสูกับโรครายไดดี ทํ าใหเนื้อรายหดตัวลงไดดีกวา และชวยใหผูหญิงหลายรายรอดชีวิตมาแลว (กรุงเทพธุรกิจ 141244)

2.4.3.2 ใชพิษแมงปองรักษาโรคมะเร็งยืดชีวิตอีก 10ปนพ.มิซาเอล บอรดิเออร ชาวคิวบา ใชพิษของแมงปองสีนํ้ าเงินในการรักษามะเร็ง ไดผลถึง 97% อยางไรก็ดี นพ.ชาวคิวบาเนนวา

วิธีการนี้ไมสามารถกํ าจัดโรคมะเร็งหมดสิ้น เปนแตเพียงชะลอการเติบโตของเนื้อรายที่เกิดขึ้นใหม นอกจากการรักษาคอนขางไดผลแลวยังเกือบจะไมมีผลขางเคียงตอคนไข ซ่ึงดีกวารักษาดวยวิธีเคมีบํ าบัดที่มักจะมีผลกระทบตอเซลลขางเคียงซ่ึงเปนเซลลดี นพ.บอรดิเออรเปดเผยวาไดจดสิทธิบัตรวิธีการรักษาแบบพิษตานพิษนี้ไวเรียบรอยแลว และจะพัฒนาพิษของแมงปองตอไปในการรักษาโรคมะเร็งอยางแทจริง(กรุงเทพธุรกิจ 211144)

2.4.4 เภสัชผลิตยาตานมาลาเรียตัวใหมเปดขายป ’47สถานการณแพรระบาดของไขมาลาเรียเพิ่มสูงมากขึ้นในรอบ 10 ป คนไทยปวยดวยโรคนี้ปละเกือบแสนคน และตายประมาณป

ละ 1,000 คน ขณะทั่วโลกมีคนตายดวยมาลาเรียประมาณปละ 1 ลานคนภก.วันชัย ศุภจัตุรัส รองผูอํ านวยการองคการเภสัชกรรม (อภ.) เปดเผยถึง ความคืบหนาการพัฒนาผลิตภัณฑยาตานมาลาเรีย

Dihydroartemisinin หรือ DHA ที่ทํ างานรวมกับศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ และสํ านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยภายใตโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อปองกันและบํ าบัดโรคเขตรอน

“โครงการนี้เปนการวิจัยแบบตอยอด เพราะสถาบันวิจัยและพัฒนาของอภ.ไดสังเคราะห DHA จนถึงขั้นทดลองทางคลินิกมาตั้งแตป 2539 ซ่ึงไดจดสิทธิบัตรไวแลว โดยการวิจัยครั้งนี้จะใชงบประมาณกวา 100 ลานบาท ระดมสมองจากนักวิทยาศาสตรทั่วประเทศพรอมทั้งติดตอประสานงานไปยังองคการอนามัยโลก และประเทศที่มีความเชี่ยวชาญดานการผลิตยา เพื่อนํ าความรูที่ไดรับมาผลิตยาดังกลาวตามหลักเกณฑวิธีการที่ดีในการผลิตยาหรือจีเอ็มพี อันจะนํ าไปสูการขอขึ้นทะเบียนตํ ารับยาแผนปจจุบันตัวแรกของไทย และเปนที่ยอมรับ สามารถนํ าไปจํ าหนายในตางประเทศ คาดวาไมเกินป 2547 ยาตัวนี้จะออกสูทองตลาด” ภก.วันชัยกลาว (กรุงเทพธุรกิจ 091044)

2.5 ความเคลื่อนไหวดานแพทยแผนไทย2.5.1 ‘หมอนวดไทย’ โกลาหล ออกกฎเพี้ยนคุมวิชาชีพ

Page 98: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

241

ขณะที่การนวดแผนไทยกํ าลังไดรับความนิยมจากทั้งคนไทยและคนตางประเทศ หมอนวดทั่วประเทศก็มีอันตองโกลาหลอีกครั้งเมื่อคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทยแผนไทยออกกฎกระทรวงที่ไมชอบมาพากลเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเปนผูประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนไทยประเภทการนวดไทย เนื้อหาสาระในประกาศฯ ที่หมอนวดแผนไทยเห็นวามีปญหาก็คือ การกํ าหนดเงื่อนไขไววา ผูที่จะไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทยแผนไทย ประเภทการนวดไทยนั้น จะตองมีประสบการณในดานการนวดไทยไมนอยกวา 10 ป และเปนครูสอนการนวดไทยไมนอยกวา 5 ป อายุไมนอยกวา 30 ป หรือเปนผูมีประสบการณดานการนวดไทยไมนอยกวา 12 ป และเปนครูสอนนวดไทยไมนอยกวา 7 ป อายุไมนอยกวา 35 ป

ซ่ึงขณะนี้แทบจะไมมีหมอนวดไทยคนไหนมีคุณสมบัติตามประกาศขางตน โดยเฉพาะอยางยิ่งหมดนวดไทยที่ผานการอบรมจากสถาบันการแพทยแผนไทย เนื่องจากสถาบันฯ เพิ่งเปดอบรมมาไดแคเพียง 5 ปเศษๆเทานั้น อยางไรก็ตาม แมประกาศฯ จะออกมาตั้งแตวันที่ 3 ก.ย.2544 ทวา ขณะนี้ยังอยูระหวางการรอประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อใหมีผลบังคับใชตามกฎหมาย ซ่ึงสถาบันการแพทยแผนไทยไดทํ าหนังสือช้ีแจงไปยังรัฐมนตรีวการกระทรวงสาธารณสุขเรียบรอยแลว และกํ าลังหาทางแกกันอยางเรงดวน

พญ.เพ็ญนภา ทรัพยเจริญ ผอ.สถาบันแพทยแผนไทย กลาววา ”เวลานี้คํ าวาการแพทยแผนไทยเปนคํ าที่แสลงหูแสลงใจของตางชาติมาก เพราะตอไปนี้เปนยุคของการหวงสิทธิบัตร ถาเราใชคํ าวาการแพทยแผนไทยคลุมเขาไป อะไรก็ตามที่เปนภูมิปญญาไทย ไมวาจะเปนสมุนไพรไทย นวดไทย อบประคบ ฯลฯ คนชาติอื่นจะมาจดสิทธิบัตรไมได ซ่ึงถือเปนปราการอันหนึ่งจะปดกั้นเสรีทางการคาที่จะตองหวงแหนเอาไว ใครจะเปนคนอยูเบ้ืองหลังปญหานี้ ถาไมใชนายทุนตางชาติ”

ขณะเดียวกันยังมีความพยายามที่จะนํ าการแพทยทางเลือกอื่นๆ จากตางประเทศเขามาสวมรอย ตัวอยางที่เห็นชัดขณะที่หมอพื้นบานของไทยจํ านวนนับแสนคนยังเควงควางและไมไดรับรองอยางถูกตองโดยกฎหมาย แตกลับมีการผลักดันใหมีการออกใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะการแพทยแผนจีนได ถึงเวลาแลวที่ทุกฝายจะตองตื่นตัวและจับตามองสถานการณดังกลาวอยางใกลชิด อนึ่ง จากการตรวจสอบขอมูลเพิ่มเติมพบวา คนที่ลงนามในประกาศดังกลาวคือ “นพ.ชวลิต สันติกิจรุงเรือง” ประธานคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทยแผนไทย (ผูจัดการ 08, 091244)

2.5.2 บ.ตางชาติรุมจีบซื้อยาสูตร ‘หมอเณร’นายชัยรัตน นนทชัย หรือ “หมอเณร” แพทยสมุนไพรไทยชื่อดัง ที่เปดรับรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี เปดเผยถึงเรื่องการสงเสริมการ

แพทยแผนไทยของกระทรวงสาธารณสุขวา การที่รัฐบาลไทยมีนโยบายสงเสริมการแพทยแผนไทยนั้น นาจะเปนโครงการที่ถูกตอง ในระดับนโยบายไดเขียนไวสวยหรู ในระดับปฏิบัตินั้นกลับไมสนองตอบแนวทางของกรอบนโยบายอยางแทจริง ปจจุบันนี้ดูเหมือนวาชาวตางประเทศจะเสาะหาสมุนไพรไทยมากกวากระทรวงสาธารณสุขของไทยเสียอีก ที่ผานมามีแพทยและบริษัทของชาวตางประเทศทั้งที่ติดตอมาจากสหรัฐอเมริกาและญี่ปุน ตางก็เดินทางมาเจรจาขอซื้อตัวยาสมุนไพรรักษาโรคเพื่อนํ าไปใชกับผูปวยในประเทศของตน ทํ าใหเห็นลูทางและอนาคตในการเติบโตของการสงเสริมการแพทยแผนไทยและยาสมุนไพร โดยอาจจะมีการรวมมือกันในการศึกษาวิจัยเรื่องตัวยาสมุนไพรอยางจริงจัง

อยางไรก็ตาม เมื่อศึกษาวิจัยจนถึงที่สุดแลว เราตองการใหขึ้นทะเบียนเปนของประเทศไทย แตชาวตางประเทศมองวา กระบวนการตางๆของเราไมยอมรับยาสมุนไพร ดังนั้น เขาจะเอาไปขึ้นทะเบียนในตางประเทศเพราะตางประเทศเขายอมรับ “คาดวาอีกไมนานประเทศไทยคงตองสูญเสียทรัพยสินทางปญญาที่ถือเปนภูมิปญญาของไทยแตโบราณ ถือเปนศาสตรช้ันสูงที่ตองศึกษาอยางลึกซ้ึง” หมอเณรกลาว อนึ่ง ผูสื่อขาวรายงานวา มีเจาของบริษัทยาในญี่ปุนที่เดินทางมาเจรจาขอซื้อลิขสิทธิ์สมุนไพรรักษาโรคไมเกรน โรคความดันโลหิตและโรคเกาตเมื่อวันที่ 13 ต.ค.2544 ตอมาวันที่ 15 ต.ค.2544 แพทยจากสหรัฐอเมริกาก็เดินทางเขาเจรจาเพื่อขอสูตรยาไปจดทะเบียนยาในประเทศแถบทวีปยุโรป ซ่ึงกอนหนานี้บริษัทยายักษใหญจากประเทศสิงคโปรก็ไดขอเจรจารวมวิจัยสรรพคุณยารักษาโรคเบาหวาน โรคไมเกรน โรคมะเร็ง โรคเอดส ซ่ึงคงมีการรวมมือกันในเร็วๆนี้ (กรุงเทพธุรกิจ 201044)

2.5.3 ตลาดสมุนไพรเกือบ 3 หมื่นล.สงออกยังสดใสศูนยขอมูลกสิกรไทยไดประเมินมูลคาตลาดรวมผลิตภัณฑจากสมุนไพรในป 2544 วาจะมีมูลคาสูงเกือบ 30,000 ลานบาท โดยมี

อัตราการขยายตัวประมาณ 30% และเปนการเติบโตที่กาวกระโดด แมวาปจจุบันตลาดสงออกจะมีมูลคาไมสูงนักประมาณ 300-400 ลานบาท แตสมุนไพรไทยที่สงออกยังแฝงอยูในสินคาหลายชนิดเชน อาหารไทย เครื่องสํ าอาง เครื่องดื่มสมุนไพร นอกจากนี้ สมุนไพรไทยไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐมากขึ้น โดยกระทรวงสาธารณสุขไดวางยุทธศาสตรในการพัฒนาสมุนไพรใหเปนผลิตภัณฑเศรษฐกิจของชาติ โดยไดมีการจัดความสํ าคัญของความตองการสมุนไพรตัวหลักและเรงพัฒนากลุมนี้กอน ที่ไดผานการศึกษาวิจัยคุณภาพมาตรฐานทางวิชาการคือ ขมิ้นชัน กวาวเครือ ฟาทะลายโจร และพญายอ

Page 99: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

242

ในสวนของกรมวิทยาศาสตรการแพทยก็อยูในระหวางยกระดับสถาบันวิจัยสมุนไพรใหเปนสถาบันสมุนไพรแหงชาติ เพื่อเปนศูนยกลางในการพัฒนา ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพสมุนไพรของประเทศและเตรียมออกเครื่องหมายรับรอง (กรุงเทพธุรกิจ 171044)

2.5.4 ช้ีไทยตองเรงการวิจัยสมุนไพร เสนอพิจารณาใหทุนรวมหลายสถาบันพญ.สมบูรณ เกียรตินันทน ที่ปรึกษาผูอํ านวยการสถาบันการแพทยแผนไทยฝายวิจัย ช้ีการวิจัยสมุนไพรเปนเรื่องจํ าเปน เพื่อการ

พัฒนายาสมุนไพรทดแทนการนํ าเขาจากตางประเทศ เผยขั้นตอนการทํ าวิจัยยาสมุนไพรใหไดมาตรฐานตองมีการควบคุมทุกขั้นตอน ต้ังแตการเพาะปลูกสมุนไพรไปจนถึงระบบการผลิตที่มีคุณภาพ “การทํ าวิจัยที่จะทํ าใหไดมาตรฐานใหกวางขวาง ทันตอเหตุการณและความจํ าเปน ประหยัดคาใชจายในการลงทุนซ้ือเครื่องมือหรืออุปกรณในการวิจัย คือสถาบันตางๆควรรวมมือกันทํ าวิจัยในสวนที่ตนมีเครื่องมือหรือมีความชํ านาญ มิใชกีดกันหรือกลั่นแกลงกัน”

สํ าหรับขอเสนอแนะในการทํ าวิจัยสมุนไพรนั้น ควรทํ าการวิจัยสมุนไพรในกรณีโรคเรื้อรังที่แพทยแผนปจจุบันไมสามารถรักษาใหหายได เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง เปนตน สมุนไพรรักษาเอดสก็เปนอีกแงมุมหนึ่งที่จะตองใหความสนใจ เพราะยาตานไวรัสเอดสที่บริษัทฝรั่งผลิตนั้นมีราคาแพงและมีผลขางเคียง ในขณะที่สมุนไพรไทยซึ่งฝร่ังเอาไปวิเคราะหแลวพบวา 20 ชนิดมีฤทธิ์ตานเชื้อเอชไอวี รวมทั้งเช้ือรา และเชื้อแบคทีเรียไดเปนอันมาก (ผูจัดการ 061244)

ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับทวงทํ านองการดํ าเนินชีวิตนํ าเร่ือง

ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับทวงทํ านองชีวิตในไตรมาสที่ 4 ของป 2544 นี้มีประเด็นและแนวโนมตาง ๆ ที่นาสนใจหลายเรื่อง ในเรื่ององคกรผูบริโภค มีความเคลื่อนไหวขององคกรผูบริโภคทั่วประเทศเมื่อวันที่ 13 พ.ย. 2544 เพื่อคัดคานรางกฎหมายคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคอิสระของ สคบ. อยางเปนทางการเปนครั้งแรก โดยประธานสหพันธองคกรผูบริโภคจะยืนรางกฎหมายองคการอิสระผูบริโภค ‘ฉบับประชาชน’ ตอ นพ.กระแส ชนะวงศ รมต.สํ านักนายกฯในฐานะที่รับผิดชอบและกํ ากับดูแล สคบ.โดยตรง สวนทางดานสํ านักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคหรือสคบ. เองก็ไดประกาศถึงแนวทางการดํ าเนินงานตามมาตรา 57 วา จะจัดตั้งแนวรวมของคณะกรรมการภายในระบบราชการ ซึ่งนักกฎหมายและนักวิชาการเห็นวาอาจขัดตอรัฐธรรมนูญ โดยสหพันธองคกรผูบริโภคแสดงทาทีและเจตนารมณชัดเจนวาไมรับรางของ สคบ. พรอมทั้งไดยื่นหนังสือถึง นพ.กระแส ชนะวงค รมต.สํ านักนายกฯ รวมกับเลขาธิการสคบ.แลวโดยขอใหผลักดันรางพระราชบัญญัติองคการอิสระผูบริโภค โดยใหตราเปนกฎหมายดวย ในเรื่องการบริโภคสินคาทั่วไปนั้น ยอดขายของบรรดาสินคาหรูหราทั้งหลายที่เติบโตอยางมากในชวงหลายปที่ผานมาลดลงเปนครั้งแรกในรอบทศวรรษ ทั้งนี้เพราะลูกคาสวนใหญจะเปนผูที่ร่ํ ารวยมาจากการลงทุนในตลาดหลักทรัพยมากกวาจะเปนคนที่ร่ํ ารวยขึ้นมาเพราะการสรางเนื้อสรางตัว และเมื่อตลาดหุนตกลง ก็ทํ าใหคนกลุมนี้มีความรูสึกวากํ าลังซื้อสินคาหรูหราที่มีอยูลดลงตามไปดวย เพราะเกิดความระมัดระวังขึ้นในจิตใจ ทํ าใหหันมาระมัดระวังเกี่ยวกับการใชจายแมวาฐานะการเงินของคนกลุมนี้จะยังจัดวามั่นคงอยูก็ตาม

สวนในเรื่อง การทองเที่ยว นันทนาการ และชีวิตทางวัฒนธรรม รายไดจากการทองเที่ยวที่ททท.คาดวาจะไดจากการเขามาทองเที่ยวของชาวตางชาตินั้นลดลงจากเปาหมายเดิมประมาณเกือบ 42,000 ลานบาท ราว 30% หรือคิดเปนมูลคาประมาณกวา 12,000 ลานบาทนั้น เปนรายไดที่คาดวาธุรกิจโรงแรมของไทยใน 52 จังหวัด จํ านวนกวา 3,000แหงจะสูญเสียไป สวนสาเหตุนั้นมาจากการกอการรายในสหรัฐ เมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2544 ที่สงผลกระทบตอการทองเที่ยวทั่วโลก เนื่องจากนักทองเที่ยวหวั่นเกรงภัยจากการเดินทางโดยเครื่องบิน สวนการทองเที่ยวเมืองไทยที่นาสนใจอีกแหงหนึ่งก็คือ ‘พุทธมณฑล’ ที่เปดเปนแหลงทองเที่ยวเชิงพุทธศาสนาตั้งแตเดือน พ.ย. 2544 ซึ่งกรมการศาสนาเปดเผยวาปจจุบันมีคนเขาไปเที่ยวชมจํ านวนมากถึงเดือนละสองแสนคน จึงจํ าเปนที่ตองจัดระบบและโซนสํ าหรับทองเที่ยวหรือ

Page 100: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

243

ปฏิบัติธรรมกอนที่จะเกิดความเสียหาย ในสวนของ ททท. ไดสรุปแคมเปญทองเที่ยวทั่วไทยไปไดทุกเดือน เพื่อกระตุนการทองเที่ยวภายในประเทศป 2545 คาดจะกระตุนคนไทยเดินทางทองเที่ยวได 61.5 ลานคน/ครั้ง

สวนความเคลื่อนไหวดานส่ือส่ิงพิมพและส่ือสารมวลชนนั้น มีความเคลื่อนไหวของส่ือส่ิงพิมพคือ รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมประจํ าป 2001 ประกาศเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 2544 ที่กรุงสตอกโฮลม ประเทศสวีเดน เปนของนักเขียนอังกฤษ เชื้อสายอินเดีย เกิดที่ตรินิแดด นามวา วี เอส ไนพอล ซึ่งไดรับการยกยองใหเปนถึงเสาหลักของการสถาปนาวัฒนธรรมอังกฤษ นอกจากนั้นยังเปนสัญลักษณของคนไรรากในยุคสมัยใหม ปจจุบันเขามีอายุ 69 ป สํ าหรับหนังสืออัตชีวประวัติของนายโอซามะห บิน ลาดิน นักกอการรายชาวซาอุดีอาระเบีย และผูตองสงสัยวางแผนกอวินาศกรรมโจมตีอาคารเวิลดเทรดในสหรัฐ กลายเปนหนังสือที่ขายดีที่สุดระหวางนิทรรศการหนังสืออาหรับครั้งใหญซึ่งมีขึ้นในกรุงเบรุตประเทศเลบานอน ทางดานผูจัดนิทรรศการหนังสืออาหรับกลาววา หนังสือ "บิน ลาดิน บนฝงทะเลแคสเปยน" ยังพูดถึงมุมมองอื่น ๆ นอกเหนือจากอัตชีวประวัติของเขา ซึ่งรวมทั้งมุมมองของเขาตอนโยบายสหรัฐ โลกาภิวัตน และความขัดแยงในตะวันออกกลาง ในสวนดานการบันเทิงนั้น มีความเคลื่อนไหวของบริษัท วอลท ดีสนีย กิจการเอนเทอรเทนเมนตใหญที่สุดของโลกประกาศวา การดํ าเนินขั้นตอนการซื้อกิจการของฟอกซแฟมิล่ี เวิลดไวด รวมถึงเครือขายเคเบิลทีวีของฟอกซแฟมิลีฯ ไดเสร็จส้ินตามความคาดหมายแลว การตัดสินใจซื้อกิจการฟอกซแฟมิลีฯครั้งนี้ ทํ าใหบริษัท วอลท ดีสนียสามารถขยายการแพรภาพรายการตามโปรแกรมของดีสนียออกไปทั่วโลก ซึ่งบริษัท วอลท ดีสนีย ถือวาเปนการลงทุนที่คุมคา สวนความเคลื่อนไหวของบีอีซี เวิลด หรือไทยทีวีสีชอง 3 นั้น กํ าไรสุทธิในไตรมาสที่ 3 ของป 2544 ลดลงเปนไตรมาสแรกหลังจากที่ขยายตัวตอเนื่องมาเกือบ 10 ไตรมาส โดยมีกํ าไรสุทธิ 332 ลานบาท ลดลงจากป 2543 ถึง 17% และลดลงจากไตรมาสที่ 2 ในป 2544 อีก 27% สาเหตุมาจากการกอการรายในสหรัฐ ดึงรายไดคาโฆษณาลดลง บวกกับการรับรูผลขาดทุนจากบริษัทยอย ‘บีอีซี – เทโร’ ที่ขาดทุนจากการสรางภาพยนตรเรื่อง ‘เกมลมโตะ’ และการจัดประกวดมิสไทยแลนดเวิลด สวนภาพยนตรเรื่อง แฮรรี่ พอตเตอร นั้นมาแรงกวาภาพยนตรฮอลลีวูดทุกเรื่อง หลังจากที่ลงโรงในวันแรก 30 พ.ย. 2544 นั้น มียอดจองตั๋วเต็มแลวถึง 3 วัน ซึ่งทางผูประกอบการคาดการณวา จะสรางรายไดในเมืองไทยไมตํ่ ากวา 100 ลานบาท ดานส่ือสารมวลชน มีความเคลื่อนไหวของส.ส.พรรคประชาธิปตยที่เสนอเขาชื่อเพื่อถอดถอนนายกฯ ฐานแทรกแทรกสื่อมวลชน

ความเคลื่อนไหวทางศาสนา ชาวพุทธรวมพลังเรงรัฐบาลนํ ารางพ.ร.บ.คณะสงฆเขาพิจารณาในสภาฯเพื่อออกเปนกฎหมายเร็ว ๆ นี้ แตรมช.ศึกษาธิการยังไมยืนยันวาจะทันสมัยประชุมนี้ ทางดาน พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กลาวถึงพ.ร.บ. สงฆ วา ขณะนี้อยูระหวางการตรวจสอบของคณะกรรมการกฤษฎีกา และขอเสนอของมหาเถรสมาคมแตจะไดถึง 100% คงเปนไปไมได เพราะระบอบประชาธิปไตยตองหาจุดที่พอดีระหวางกัน สวนทางดานนายปองพล อดิเรกสาร รองนายกฯ ชี้ศาสนาสํ าคัญตอการจัดระเบียบสังคม

ความเคลื่อนไหวทางดานทุจริตประพฤติมิชอบ มีเรื่องนายินดีที ่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯ เปนประธานประชุมเชิงปฏิบัติการระดับชาติเกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามการทุจริต เมื่อวันที่ 23 พ.ย. 2544 ซึ่งที่ประชุมไดมีความเห็นรวมกันวาควรจะแกไขกฎหมายปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบในหลายประเด็นดวยกัน

ความเคลื่อนไหวทางดานยาเสพติด อาชญากรรม การพนัน และของเถื่อนนั้น ทางดานยาเสพติดมีความเคลื่อนไหวของ ป.ป.ส. ที่ออกมายอมรับสถานการณยาเสพติดในโรงเรียนเขาขั้นวิกฤต แกงคายาอาละวาดหนักปลอยยาทะลักเขาสูโรงเรียนทุกทาง โดยเฉพาะผานทางเด็ก แนะทุกฝายจะตองรวมกันสราง ‘ภูมิคุมกัน’ ใหเด็กหลีกไกลจากยาเสพติด พรอมเสนอโรงเรียนใชนํ้ าดื่มจากกอกประปาแทนแท็งกนํ้ ากลาง ปองกันการใสยาบาลงผสม สวนกรณีรถตูเถื่อนทางตัวแทนสมาคมผูประกอบการรถยนตโดยสารไดยื่นหนังสือถึง รมต.คมนาคม ขอใหปราบปรามรถตูโดยสารระหวางจังหวัดที่วิ่งทับเสนทางของ บขส. ทั่วประเทศถึง 34,412 คัน ซึ่งแยงลูกคา บขส. ไดถึง 40,650 คน/วันปกติ และ

Page 101: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

244

ประมาณ 73,800 คน/วันเทศกาล ในเรื่องของการพนันมีความเคลื่อนไหวของ “แล็ดโบรกส” บริษัทรับพนันบอลชื่อดังของอังกฤษ เปดเว็บไซตภาษาไทยรองรับนักพนันในประเทศไทย ซึ่งทาง รมต.มหาดไทย ยอมรับเอาผิดกับบริษัทรับพนันบอลทางอินเตอรเน็ตไมไดทั้งหมด ทํ าไดเพียงการสุมตรวจเทานั้น ส่ิงที่รัฐจะทํ าไดก็คือตองสรางคานิยมที่ถูกตองใหมีวินัยเปนตัวเอง รัฐในระบอบประชาธิปไตยจะไมกาวลวงจนเกินไป สวนเรื่องการจัดระเบียบตูเกมคอมพิวเตอรนั้น ถือวาเปนเรื่องที่นายินดีเปนอยางยิ่งที่ทางผบ.ตร.สนองนโยบายจัดระเบียบตูเกมคอมพิวเตอรตามนโยบายของมหาดไทยเต็มที่ กํ าชับหนวยตาง ๆ ดูแลตูเกมใหเกิดประโยชนมากกวาโทษ พรอมเตือนสถานประกอบการ หากปลอยใหรานเปนแหลงม่ัวสุมและบอนพนัน จะถูกลงโทษตามกม.ทันที

1. ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการบริโภค1.1 ความเคลื่อนไหวดานองคกรผูบริโภค1.1.1องคกรผูบริโภคทั่วประเทศเคลื่อนไหวคัดคานรางกฎหมายคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค

อิสระของสคบ. อยางเปนทางการครั้งแรกวันที่13 พ.ย. 2544 น.ส.สารี อองสมหวัง ในฐานะเลขาธิการฯ เปดเผยวา สํ าหรับความเคลื่อนไหวในสวนของสหพันธองคกรผู

บริโภคนั้น องคกรผูบริโภคทั่วประเทศกํ าหนดใหมีการเคลื่อนไหวเพื่อคัดคานรางกฎหมายคณะกรรมการคุมของผูบริโภคอิสระของ สคบ.อยางเปนทางการครั้งแรก โดยจะมีการรวมตัวของกลุมผูบริโภคที่บริเวณหนากระทรวงศึกษาธิการในเวลาประมาณ 10.00 น. จากนั้นจะเคลื่อนขบวนไปยัง สคบ.พรอมทั้งปราศรัยถึงเหตุผลในการชุมนุมคัดคาน และจะจัดใหมีพิธีกรรมคัดคาน กระทั่งถึงเวลา 11.00 น.ประธานสหพันธองคกรผูบริโภคจะยืนรางกฎหมายองคการอิสระผูบริโภค ‘ฉบับประชาชน’ ตอ นพ.กระแส ชนะวงศ รมต.สํ านักนายกฯ ในฐานะที่รับผิดชอบและกํ ากับดูแล สคบ.โดยตรง ที่ไมตองการใหองคการอิสระผูบริโภคอยูภายใตการกํ ากับของ สคบ.ก็เพราะมีตัวอยางในการแกปญหาของ สคบ.ที่ไมถูกตองมากมาย เพราะเคยยื่นขอคํ าช้ีแจงในการคุมครองผูบริโภคหลายตอหลายเรื่อง แต สคบ. ก็ทํ าไดแคเพียงการนํ าคํ าตอบจากบริษัทมาแจงใหทราบเทานั้น ซ่ึงถาจะวาไปแลว สคบ. เพียงหนวยงานเดียวก็ไมสามารถทํ าหนาที่ไดครบถวนอยูแลวเพราะมีปญหารอใหแกไขมากมาย เพราะฉะนั้นการมีสวนรวมจากองคกรผูบริโภคจึงเปนสิ่งจํ าเปน

นอกจากความเคลื่อนไหวในสวนขององคกรประชาชน แลวทางดานการเมืองก็มีการตื่นตัวเกี่ยวกับเร่ืองดังกลาวเชนเดียวกัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง นายสุรนันทน เวชชาชีวะ ส.ส.พรรคไทยรักไทยกลาววา ตามที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 57 ไดบัญญัติใหมีการคุมครองสิทธิผูบริโภค โดยใหมีองคการอิสระ ซ่ึงประกอบไปดวยตัวแทนผูบริโภคทํ าหนาที่ใหความเห็นในการตรากฎหมาย กฎและขอบังคับ รวมทั้งใหความเห็นในการกํ าหนดมาตราการตาง ๆ เพื่อการคุมครองผูบริโภคนั้น ทาง ส.ส. ของพรรคไทยรักไทยไดเห็นความสํ าคัญของเรื่องดังกลาว โดยขณะนี้ไดนํ าเสนอและยื่นรางพระราชบัญญัติองคการอิสระดังกลาวตอพรรคเพื่อนํ าเสนอสภาฯตอไปแลว ทั้งนี้ การมีองคการอิสระดังกลาวจะเปนประโยชนตอผูบริโภค ในการแกไขปญหาความเดือดรอน วิเคราะห วิจัยและเพื่อเผยแพรขอมูลใหกับสาธารณะพรอมทั้งเสนอขอคิดเห็นเกี่ยวกับการออกกฎหมายตางๆ ตลอดจนดํ าเนินการเพื่อปกปององคการของผูบริโภคอยางแทจริง โดยมีองคประกอบที่มาจากตัวแทนองคกรประชาชนที่ดํ าเนินการอยู และตัวแทนผูบริโภคทั่วประเทศ

อยางไรก็ตาม การเสนอเรื่องดังกลาว ไมไดเปนการลดบทบาทของสํ านักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (สคบ.) ซ่ึงยังคงอยูและมีความสํ าคัญในบทบาทของผูกํ าหนดกฎเกณฑ และรักษากติกา โดยถือกฎหมายคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 เปนหลัก ซ่ึงทุกวันนี้ผูบริโภคไทยไมไดมีโอกาสรับรูขอเท็จจริง ไมรูถึงพิษภัยและประโยชนที่แทจริงของสินคาตางๆ ที่ถูกนํ าเสนออยู ซ่ึงการมีขอมูลขาวสารที่ถูกตองตามกรอบกติกาแลวประชาชนจะไดมีโอกาสเลือกใชสินคามาตรฐาน อันเปนการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยทุกคน เร่ืองดังกลาวจึงเปนเรื่องที่มีประโยชนตอผูบริโภคและประชาชน สมควรที่จะสนับสนุน และเรงผลักดันใหเกิดเปนรูปธรรมโดยเร็ว เพื่อที่องคการอิสระเพื่อผูบริโภคจะไดทํ าหนาที่สรางความแข็งแกรงใหผูบริโภค (ผูจัดการ 121144)

1.1.2 สหพันธองคกรผูบริโภคยื่นราง พ.ร.บ. องคการอิสระผูบริโภคตัวแทนสหพันธองคกรผูบริโภคไดยื่นรางพระราชบัญญัติองคการอิสระผูบริโภค ตามมาตรา 57 ตอนางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู

ประธานคณะกรรมาธิการคุมครองผูบริโภคสภาผูแทนราษฎร ที่อาคารรัฐสภา ซ่ึงกอนหนานี้ สหพันธองคกรผูบริโภคและองคกรพัฒนาเอกชน ที่ทํ างานดานผูบริโภคจํ านวนเกือบ 20 องคกรไดผลักดันใหเกิดองคการอิสระเพื่อผูบริโภคตามมาตรา 57 ของรัฐธรรมนูญที่กํ าหนดใหมีองคการอิสระตัวแทนผูบริโภค ทํ าหนาที่ใหความเห็นในการตรากฎหมาย กฎ ขอบังคับ และมาตราตาง ๆ เพื่อการคุมครองผูบริโภค โดยการ

Page 102: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

245

ผลักดันใหเชิญคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สภาทนายความ และสมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน และรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเปนหลัก จนไดเปนพระราชบัญญัติองคการอิสระเพื่อผูบริโภคพุทธศักราช …. ตามมาตรา 57 องคกรผูบริโภค

ทางดานสํ านักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคหรือ สคบ. เองก็ไดประกาศถึงแนวทางการดํ าเนินงานตามมาตรา 57 วา จะจัดตั้งแนวรวมของคณะกรรมการภายในระบบราชการ ซ่ึงนักกฎหมายและนักวิชาการเห็นวาอาจขัดตอรัฐธรรมนูญ โดยสหพันธองคกรผูบริโภคแสดงทาทีและเจตนารมณชัดเจนวาไมรับรางฯของ สคบ. พรอมทั้งไดยื่นหนังสือถึง นพ.กระแส ชนะวงศ รมต.สํ านักนายกฯ รวมกับเลขาธิการ สคบ.แลวโดยขอใหผลักดันรางพระราชบัญญัติองคการอิสระผูบริโภค โดยใหตราเปนกฎหมายดวย (ผูจัดการ 141144)

1.2 ความเคลื่อนไหวดานบริโภคสินคาทั่วไป1.2.1 สินคาหรูอวมหลังพฤติกรรมบริโภคคนรวย 'เปล่ียน'หนังสือพิมพเฮรัลด ทริบูน รายงานวา ความคึกคักตามรานขายสินคาหรูหราลดลงอยางมาก ต้ังแตรานคาในเขตกลางเมืองแมน

ฮัตตันไปจนถึงหางสรรพสินคาช้ันเยี่ยมในแถบเบเวอรี่ฮิลล ปรากฏวา ยอดขายของบรรดาสินคาหรูหราทั้งหลายที่เติบโตอยางมากในชวงหลายปที่ผานมาลดลงเปนครั้งแรกในรอบทศวรรษ

นายไมเคิล คันนิงแฮม ศาสตราจารยดานจิตวิทยา จากม.หลุยสวิลล สหรัฐ แสดงความเห็นวา แทนที่ผูบริโภคกลุมนี้จะยึดติดกับแฟช่ันเหมือนเมื่อกอน พวกเขากลับไปใหความสนใจกับสิ่งจํ าเปนพื้นฐานมากขึ้น จากแตเดิม การเปนเจาของกระเปากุชช่ีทํ าใหผูถือกลายเปนบุคคลที่ไดรับสิทธิพิเศษกวาคนอื่น แตเหตุการณเหลานั้นไดเปลี่ยนแปลงไปตั้งแตเกิดเหตุวินาศกรรมเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2544

ผูขายสินคาหรูหรามีความแตกตางจากกลุมรานคาปลีกโดยทั่วไปที่สามารถใชกลยุทธการลดราคาสินคาในทันทีเพื่อรับมือกับยอดขายที่ลดลง ตรงที่รานหรูหราเหลานี้ตางติดภาพลักษณที่วา ยี่หอของตนนั้นเปนสินคาราคาสูงจึงไมสามารถลดราคาขายลงในทันที50% โดยที่ไมทํ าลายภาพพจน

นายลินน คาหเล ผูเช่ียวชาญดานการตลาดแหง ม.โอเรกอน แสดงความคิดเห็นวา วิธีที่ดีที่สุดสํ าหรับเร่ืองนี้คือ การรอ และหวังวารานคาปลีกกลุมนี้จะสามารถอยูรอดไปจนถึงชวงเศรษฐกิจเริ่มฟนตัว เพราะถาหากรานเหลานี้ลดราคาลงมากเกินไป ผูบริโภคก็จะคิดวาสินคาไมมีคุณคามากเหมือนแตกอน ที่จริงแลวลูกคาหรูหราสวนใหญจะเปนผูที่ร่ํ ารวยมาจากการลงทุนในตลาดหลักทรัพยมากกวาจะเปนคนที่ร่ํ ารวยขึ้นมาเพราะการสรางเนื้อสรางตัว และเมื่อตลาดหุนตกลง ก็ทํ าใหคนกลุมนี้มีความรูสึกวา กํ าลังซ้ือสินคาหรูหราที่มีอยูลดลงตามไปดวย ทั้งนี้เปนเพราะเกิดความระมัดระวังขึ้นในจิตใจ ทํ าใหผูบริโภคหันมาระมัดระวังเกี่ยวกับการใชจายแมวาฐานะการเงินของคนกลุมนี้จะยังจัดวามั่นคงอยูก็ตาม (กรุงเทพธุรกิจ 291044)

1.3 การทองเที่ยว นันทนาการและชีวิตทางวัฒนธรรม1.3.1 ความเคลื่อนไหวดานการทองเที่ยว- ธรุกจิโรงแรมรายไดสูญ 12,000 ลานบาท ตางชาติหวั่นภัยสงครามลดทองเที่ยวเหตุกอการรายในสหรัฐอเมริกาที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2544 ที่ผานมานั้นมีแนวโนมวาจะสงผลกระทบตอการทองเที่ยวทั่วโลก

เนื่องจากนักทองเที่ยวตางหวั่นเกรงภัยจากการเดินทางดวยเครื่องบิน รวมทั้งการเดินทางผานพื้นที่เสี่ยงภัยคือ สหรัฐ ประเทศในยุโรปที่เปนพันธมิตรกับสหรัฐ ประเทศในแถบตะวันออกกลางและเอเชียใต ซ่ึงสถานการณดังกลาวสงผลกระทบกับตลาดทองเที่ยวตางชาติอยางมากโดยเฉพาะประเทศไทยนั้น ในชวงไตรมาสสุดทายของป 2544 ซ่ึงเปนชวงฤดูทองเที่ยว คาดวาจะมีนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางเขามายังประเทศไทยในชวงดังกลาวลดลงจํ านวนมาก ซ่ึงในสวนนี้สงผลกระทบตอธุรกิจโรงแรมที่กระจายอยูตามแหลงทองเที่ยวตาง ๆ ใน 52 จังหวัดของไทยจํ านวนกวา 3,000 แหง ซ่ึงมีหองพักรวมกัน ประมาณกวา 2 แสนหอง และสามารถสรางรายไดจากตลาดนักทองเที่ยวตางชาติปละเกือบ 1 แสนลานบาท

อยางไรก็ตาม ประเทศไทยสามารถปรับกลยุทธการตลาดทองเที่ยวในระยะสั้นไดทันทวงที ทํ าใหนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางมายังประเทศไทยโดยรวมตลอดทั้งป 2544 เพิ่มขึ้นเพียง 1.8% หรือคิดเปนจํ านวน 9.68 ลานคน และมีรายไดดานการทองเที่ยวลดลง 2.4%คิดเปนจํ านวน 278,300 ลานบาท ลดลงจากเปาหมายที่ต้ังไวเดิมกอนเหตุการณกอการรายในสหรัฐ ที่ 10.3 ลานคนและมีรายไดดานการทองเที่ยวประมาณ 320,100 ลานบาท

รายไดดานการทองเที่ยวที่ ททท. คาดวาจะลดลงจากเปาหมายเดิม 42,000 ลานบาทนั้น ประมาณ 30% หรือคิดเปนมูลคาประมาณกวา 12,000 ลานบาทนั้นเปนรายไดที่คาดวาธุรกิจโรงแรมของไทยจะสูญเสียไป รายไดสวนใหญของธุรกิจโรงแรมที่ไดจากตลาดนักทองเที่ยวตางชาติคือ ประมาณกวา 80% เปนรายไดในสวนคาที่พักที่เหลือเปนรายไดในสวนของอาหารเครื่องดื่ม รวมทั้งบริการดานตาง ๆเพื่อการบันเทิงและผอนคลาย

Page 103: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

246

สวนโรงแรมที่คาดวาจะไดรับผลกระทบเปนกลุมโรงแรมในระดับ 4 - 5 ดาว ซ่ึงสวนใหญอยูในกทม. โดยเฉพาะโรงแรมที่มีลูกคาหลักเปนกลุมนักธุรกิจตางชาติ และนักทองเที่ยวจากตลาดระยะไกลในยุโรปและอเมริกา นอกจากนี้ยังมีโรงแรมระดับ 4 - 5 ดาวในภูเก็ต ซ่ึงเปนแหลงทองเที่ยวชายทะเลยอดนิยมคาดวาจะไดรับผลกระทบดวยเชนกัน

ทั้งนี้ ผูประกอบการในธุรกิจโรงแรม โดยเฉพาะโรงแรมระดับ 4 - 5 ดาว ทั้งใน กทม. และในจังหวัดตาง ๆ ที่มีแหลงทองเที่ยวสํ าคัญตองติดตามสถานการณในตลาดตางประเทศอยางใกลชิด และปรับแผนการตลาดในระยะสั้นชวงไตรมาสสุดทายของปนี้ใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป โดยหันมามุงเนนการขยายตลาดระยะใกลในแถบเอเชีย โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบานในกลุมอาเซียน เชน สิงคโปร ฟลิปปนส มาเลเซีย เวียดนาม ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด รวมทั้งหันมาสงเสริมตลาดนักทองเที่ยวคนไทยอยางจริงจังดวยการจัดแพ็กเกจที่จูงใจตาง ๆ เชน แพ็กเกจในดานสุขภาพ แพ็กเกจในดานกีฬา เปนตน ทั้งนี้เพื่อทดแทนตลาดนักทองเที่ยวตางชาติที่หดหายไปในชวงปลายป (ผูจัดการ 081044)

- คนเทีย่วพุทธมณฑลเดือนละ 2 แสน ระดมวางแผนจัดการกอนเกิดปญหานายอํ านาจ บัวศิริ ผูอํ านวยการสํ านักงานพุทธมณฑล กรมการศาสนา เปดเผยวา ไดเชิญหลายหนวยงาน อาทิ การทองเที่ยว

แหงประเทศไทย บริษัทจัดนํ าเที่ยว สมาคมการทองเที่ยว และตัวแทนองคกรทองถิ่นมาระดมความเห็นการพัฒนาพุทธมณฑลใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงพุทธศาสนา เนื่องจากปจจุบันพุทธมณฑลเปนสถานที่พักผอนสํ าหรับประชาชนทั่วไปอยูแลว แมจะไมไดมีการสงเสริมใหเปนสถานที่ทองเที่ยวอยางเปนทางการ แตในขณะนี้มีปริมาณผูเขาไปเที่ยวพุทธมณฑลเพิ่มมากขึ้น เฉลี่ยแลวเดือนละ 200,000 คน ซ่ึงหากไมมีการจัดระบบที่ดีอาจเกิดปญหาขึ้นไดในอนาคต ทั้งดานการดูแลความปลอดภัยหรือการใหความรูที่ผิด ๆ เกี่ยวกับกับความสํ าคัญของพุทธมณฑล

อยางไรก็ตาม ในเบื้องตนไดมีแนวคิดพัฒนาพุทธมณฑลใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงพุทธศาสนา โดยมีการจัดแบงโซนใหชัดเจนระหวางโซนผูเขาปฏิบัติธรรม ซ่ึงตองการสถานที่เงียบสงบ สวนสถานที่ใหความรูดานประวัติพุทธศาสนา เชน หอพระไตรปฎก พิพิธภัณฑพุทธศาสนา จะจัดวิทยากรบรรยายใหขอมูลที่ถูกตอง ทั้งนี้อาจไมจัดเก็บคาบริการเขาชม แตจะจัดเก็บโดยใหบริการในรูปแบบอื่น เชน จัดที่จอดรถที่เขาชมไวขางนอก แลวใหนั่งรถบริการของพุทธมณฑล คาดวาจะสามารถเปดบริการพุทธมณฑลใหเปนแหลงทองเที่ยวไดในเดือนพ.ย. 2544 นี้ ในชวงแรกตองจัดอาสาสมัครและนักศึกษามาประจํ ายังสถานที่ตาง ๆ เพื่อใหขอมูล และหลังจากวางแผนการจัดการแลวจะมีการจัดระบบที่แนนอนขึ้น (ผูจัดการ 121044)

- ป 2545 คาดคนไทยเดินทางทองเที่ยวในประเทศ 61.5 ลานคน/ครั้งนายละเอียด ศิลานอย ที่ปรึกษานายสมศักด์ิ เทพสุทิน ประธานกรรมการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) เปดเผยวา ททท.

ไดสรุปแบบโครงการสงเสริมการทองเที่ยวภายในประเทศป 2545 แลว โดยใชช่ือวา 'ทองเที่ยวทั่วไทยไปไดทุกเดือน' โดยเริ่มกลางเดือนธ.ค.2544 ไปจนถึง 31 ธ.ค. 2545 และไดกํ าหนดกลยุทธในการดํ าเนินงาน 6 กลยุทธคือ 1) การสรางและเสนอผลิตภัณฑทองเที่ยวรายเดือน รายจังหวัด เพื่อสรางจุดขายใหม 2) การใชบัตรเดียวทั่วไทยสํ าหรับลดราคาสินคาและบริการ รวมไปถึงสวนการจับรางวัลผูโชคดีดวย 3) การกระตุนใหผูมีสวนไดสวนเสียทางการทองเที่ยวรวมมือใหสวนลดราคา และสรางกิจกรรมกระตุนการทองเที่ยว 4) รวมมือกับหนวยงานภาครัฐบาลและเอกชน สงเสริมการทองเที่ยว เพื่อใหสามารถขยายผลไดมากขึ้น 5) สรางรายการทองเที่ยวในแตละเดือนตลอดป และ 6) การโฆษณาประชาสัมพันธ เพื่อสรางกระแสทางการทองเที่ยวใหต่ืนตัวมากยิ่งขึ้น

ทั้งนี้ โครงการดังกลาวคาดวา จะสามารถกระตุนการเดินทางเพื่อการทองเที่ยวเพิ่มขึ้น 5% หรือประมาณ 61.5 ลานคน/ครั้ง สรางรายได 3 แสนลานบาท และชวยลดการทองเที่ยวออกตางประเทศคิดเปนมูลคา 1.7 หมื่นลานบาท

ทางดานอนุกรรมาธิการการทองเที่ยว สภาผูแทนราษฎร กลาววา การที่สายการบินไทยประกาศขึ้นราคาตั๋วโดยสารแมวาจะมีการประกาศชะลอขึ้นราคาในบางสวนไดสงผลกระทบตอการทองเที่ยวภายในประเทศ โดยขณะนี้บริษัทนํ าเที่ยวไดประเมินคาสูญเสียโอกาสทางธุรกิจจากการจองตั๋วของการบินไทยในชวงเดือนธค. 2544 - ก.พ. 2545 คาดวา จะมีมูลคาไมต่ํ ากวา 100 ลานบาท นอกจากนี้ ยังสงผลกระทบในเชิงจิตวิทยา คือนักทองเที่ยวไมอยากทองเที่ยว และลดบรรยากาศทางการทองเที่ยวลงดวย (กรุงเทพธุรกิจ 041244)

1.4 ความเคลื่อนไหวดานสื่อสื่งพิมพและสื่อสารมวลชน1.4.1 ความเคลื่อนไหวดานส่ือส่ิงพิมพ- ว ีเอส ไนพอล โนเบลวรรณกรรมป 2001รางวัลโนเบล สาขาวรรณกรรมประจํ าป 2001 ประกาศเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 2544 ที่กรุงสตอกโฮลม ประเทศสวีเดน เปนของนัก

เขียนอังกฤษ เช้ือสายอินเดีย เกิดที่ตรินิแดด นามวา วี เอส ไนพอล ภายหลังจากที่รูวาเขาไดรับรางวัล เขาบอกวา "มันเปนความปลื้มปติยินดี

Page 104: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

247

ที่เขาไมไดคาดคิดมากอนเลยในชีวิตนี้ มันเปนของขวัญและคํ าสรรเสริญที่ยิ่งใหญตอประเทศอังกฤษบานของเขา และประเทศอินเดียดินแดนแหงบรรพบุรุษของเขา"

วี เอส ไนพอล ไดรับการยกยองใหเปนถึงเสาหลักของการสถาปนาวัฒนธรรมอังกฤษ นอกจากนั้นยังเปนสัญลักษณของคนไรรากในยุคสมัยใหม ปจจุบันเขามีอายุ 69 ป เกิดเมื่อค.ศ.1932 ในเมืองชากวนนาส (Chaguanas) ใกลกับ พอรต ออฟ สเปน ในตรินิแดด ครอบครัวของเขาสืบทอดมาจากชาวฮินดูผูอพยพมาจากทางตอนเหนือของอินเดีย ปูของไพนอล ทํ างานในไรออย ขณะที่พอของเขาทํ างานเปนผูสื่อขาวและนักเขียน เมื่ออายุ 18 ป ไนพอล ไดรับทุนจากรัฐบาลตรินิแดด เขาศึกษาตอสาขาวรรณคดีอังกฤษ ที่ม.ออกซฟอรด ประเทศอังกฤษ จนป 1953 หลังจบการศึกษา ไดทํ างานเปนนักเขียนอิสระใหกับสํ านักขาวบีบีซี เขาแตงงานกับหญิงชาวอังกฤษชื่อ แพทริเซียร แอนเฮล ในป 1955 จากนั้นเขาตั้งรกรากอยูที่กรุงลอนดอน และใชเวลาทั้งหมดกับการเขียนหนังสือ และงานเขียนของเขาไดรับการยอมรับเปนอยางดี ทั้งเรื่องสั้น บทความ และนวนิยาย และในป 1990 ไนพอล ไดรับการแตงตั้งจากพระราชินี อลิซาเบธ ใหเปน Sir VidiadharSurajprasad Naipaul

ไนพอลไดรับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิจากสถาบันการศึกษาชั้นนํ าหลายแหง เชน วิทยาลัยเซ็นต แอนดรูว ม.โคลัมเบีย ม.เคมบริดจ ม.ลอนดอน และม.ออกซฟอรด เวลาและการใชชีวิตของ ไนพอล สวนใหญหมดไปกับการเดินทางรอบโลกเพื่อคนหาคํ าตอบ และหาแรงบันดาลใจใหกับชีวิต

เปนไปไดวารูปแบบงานเขียนเชิงทดลองหลายเรื่องของเขาทํ าใหเขาประสบความสํ าเร็จ ไนพอล เขียนไววา "วรรณกรรม เสมือนดังกับงานศิลปะที่มีชีวิต ตลอดเวลามันมีการเคลื่อนไหว และมันก็เปนสวนหนึ่งของชีวิตที่ครอบงํ าไวดวยการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง" (ผูจัดการ 13-141044)

- หนงัสือ 'บิน ลาดิน' เปนหนังสือที่ขายดีที่สุดในอาหรับสํ านักขาวตางประเทศรายงานวา หนังสืออัตชีวประวัติของนายโอซามะห บิน ลาดิน นักกอการรายชาวซาอุดีอาระเบีย และผูตอง

สงสัยวางแผนกอวินาศกรรมโจมตีอาคารเวิลดเทรดในสหรัฐ กลายเปนหนังสือที่ขายดีที่สุดระหวางนิทรรศการหนังสืออาหรับครั้งใหญซ่ึงมีขึ้นในกรุงเบรุต ประเทศเลบานอน เนื่องจากความสนใจของผูคนที่มีตอเขาซึ่งกํ าลังตกเปนประเด็นสนทนาโจษจันไปทั่วโลกจากเหตุวินาศกรรมในสหรัฐ โดยหนังสือเลมนี้ทํ าสถิติขายดีเปนอันดับสองรองจากหนังสือเบสตเซลเลอร อันดับหนึ่ง ซ่ึงเปนเรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกประวัติศาสตรการยึดเลบานอนของอิสราเอล

หนังสือดังกลาวใชช่ือวา "บิน ลาดิน บนฝงทะเลแคสเปยน" มีความหนา 296 หนา เขียนโดยสองนักเขียนชาวอาหรับ มีเนื้อหาชี้วาสหรัฐตองการที่จะควบคุมภูมิภาคในดินแดนแถบทะเลแคสเปยนเพื่อตองการนํ้ ามันและแขงขันกับชาติอาหรับ ซ่ึงเปนผูผลิตนํ้ ามันรายหลักของโลก นอกจากนี้ยังเสนอประเด็นขบคิดเกี่ยวกับนิยามของคํ าวา "กอการราย" และ "ผูกอการราย" ซ่ึงผูเขียนช้ีวา ชาติอาหรับสวนใหญลวนแตคัดคาน

ทางดานผูจัดนิทรรศการหนังสืออาหรับกลาววา หนังสือ "บิน ลาดิน บนฝงทะเลแคสเปยน" ยังพูดถึงมุมมองอื่น ๆ นอกเหนือจากอัตชีวประวัติของเขา ซ่ึงรวมทั้งมุมมองของเขาตอนโยบายสหรัฐ โลกาภิวัตน และความขัดแยงในตะวันออกกลาง (สยามรัฐ 151144)

1.4.2 ความเคลื่อนไหวดานส่ือสารมวลชน- ส.ส. ประชาธิปตย เสนอเขาชื่อถอดนายกฯ ฐานแทรกแซงสื่อนายอลงกรณ พลบุตร ส.ส.เพชรบุรี พรรคประชาธิปตย เปดเผยวา เนื่องจากขณะนี้รัฐบาลมีพฤติกรรมแทรกแซงการปฏิบัติงาน

ของสื่อมวลชนอยางมาก ดังนั้นตนจึงเตรียมเสนอพรรคประชาธิปตยใหใชรัฐธรรมนูญ มาตรา 303 ที่ระบุวา ส.ส.สามารถเขาช่ือกัน 125เสียง เพื่อถอดถอนนายกฯ รมต.ที่มีพฤติกรรมไมเหมาะสม โดยตนจะเสนอใหถอดถอน พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯ โดยพรรคประชาธิปตยมี ส.ส. อยูแลวจํ านวน 127 เสียง เพียงพอที่จะดํ าเนินการเรื่องนี้ได

ทั้งนี้ ลักษณะการแทรกแซงสื่อที่ชัดเจนคือ การหามสื่อมวลชนของรัฐโดยเฉพาะกรมประชาสัมพันธเสนอขาวพรรคฝายคาน เทาที่รวบรวมขอมูลพบวา ในเดือน ก.ค. 2544 มีการเสนอขาวรัฐบาล 103 ขาว ไมมีขาวฝายคานเลย เดือน ส.ค. 2544 ขาวรัฐบาล 337 ขาว ฝายคาน 29 ขาว เดือน ก.ย. 2544 ขาวรัฐบาล 263 ขาว ฝายคาน 29 ขาว เดือนต.ค. 2544 ขาวรัฐบาล 314 ขาว ฝายคาน19 ขาว ครึ่งเดือน พ.ย. 2544 ขาวรัฐบาล 195 ขาว ฝายคาน 7 ขาว ซ่ึงมีความแตกตางกันอยางเห็นไดชัด ขณะที่สื่อมวลชนเอกชนก็ถูกรัฐบาลแทรกแซงดวยธุรกิจ และการโฆษณา

ทางดาน นายสมเกียรติ ออนวิมล ส.ว. สุพรรณบุรี กลาววา รัฐบาลชุดนี้กํ าจัดสื่อโดยตรงไมไดก็ลดโฆษณาในทุกสื่อ ทั้งวิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพเขาลดชัดเจน แตสื่อที่เปนพวกรัฐบาลก็จะพอมีงบ เพราะรัฐบาลคือ ครม. เปนเจาของธุรกิจใหญ สวนสื่อของรัฐจะถูกบีบ

Page 105: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

248

จนไมเหลืออะไร โทรทัศนรัฐบาลคุมหมดทั้งชอง 3 ชอง 5 ชอง 9 ชอง 11 สื่อที่แรง ๆ อยาง อ.เจิมศักด์ิ ปนทอง ก็ไปแลว ผมเปนสื่อเล็ก ๆ ทํ าวิทยุอยูคลื่น 99.5 เขาก็บีบผมทุกวัน เตือนอยูเร่ือยวาผมพูดแรง (กรุงเทพธุรกิจ 061244,มติชน 071244)

1.5 ความเคลื่อนไหวดานบันเทิง1.5.1 ดสีนียซ้ือกิจการฟอกซแฟมิลีเวิลดไวด 2.9 พันลานดอลลารสหรัฐสํ านักขาวรอยเตอร รายงานขาววา บริษัท วอลท ดีสนีย กิจการเอนเทอรเทนเมนตใหญที่สุดของโลกประกาศวา การดํ าเนินขั้น

ตอนการซื้อกิจการของฟอกซแฟมิลี่ เวิลดไวด รวมถึงเครือขายเคเบิลทีวีของฟอกซแฟมิลีฯไดเสร็จสิ้นตามความคาดหมายแลว ดวยราคาเสนอซ้ือคร้ังสุดทายเปนเงินสด 2.9 พันลานดอลลารสหรัฐ ลดลง 100 ลานดอลลารสหรัฐ บวกกับการรับภาระหนี้ของฟอกซแฟมิลี่อีก 2.3พันลานดอลลาร รวมเปนมูลคาการซื้อครั้งนี้ทั้งสิ้น 5.2 พันลานดอลลารสหรัฐ

หลังจากซื้อกิจการแลวทางวอลท ดีสนียมีแผนการจะเปลี่ยนช่ือสถานีโทรทัศนของฟอกซแฟมิลีฯใหมเปนชอง ABC Familyสํ าหรับสถานีในสหรัฐแหงนี้ทํ าใหดีสนียไดฐานลูกคาที่ชมรายการเพิ่มอีกราว 81 ลานครัวเรือนเฉพาะในสหรัฐ และดีสนียคงจะทํ าการปรับผังรายการออกอากาศของสถานีแหงนี้ใหมดวยโปรแกรมตาง ๆ จากเครือขายการออกอากาศของ ABC ของดีสนีย เชน ABC Nightly Newsรวมทั้งรายการแมกกาซีนทีวีโชว เชน Nightline หรือรายการแสดงและภาพยนตรอื่น ๆ ในเครือของดีสนีย นอกจากนั้น บริษัทดีสนียยังไดวางแผนปรับเปลี่ยนช่ือสถานีโทรทัศนสํ าหรับเด็ก หรือฟอกซคิด ในยุโรปและฟอกซคิดที่ออกอากาศในภาคพื้นลาตินอเมริกา ที่มีผูชมรายการรวมกันราว 34 ลานคน เปนรายการของดีสนียเองทั้งหมด โดยบริษัทดีสนียจะเปลี่ยนช่ือสถานีโทรทัศนในกลุมฟอกซแฟมิลีฯทั้งหมดในราวเดือน พ.ย. 2544 และจะปรับผังรายการทางโทรทัศนทั้งหมดในเดือน ม.ค. 2545

อยางไรก็ตาม การตัดสินใจซื้อกิจการฟอกซแฟมิลีฯครั้งนี้ ทํ าใหบริษัท วอลท ดีสนีย สามารถขยายการแพรภาพรายการตามโปรแกรมของดีสนียออกไปทั่วโลก โดยเฉพาะการมีหุน 76 % ในรายการฟอกซคิดในยุโรป ซ่ึงเปนสถานีเด็กที่ไดรับความนิยมมากและมีสมาชิกที่ชมรายการนี้ไมนอยกวา 24 ลานคน และลูกคารายการฟอกซคิดในยานลาตินอเมริกาอีกกวา 10 ลานคน ทั้งนี้บริษัท วอลท ดีสนียถือวาเปนการลงทุนที่คุมคา (ผูจัดการ 291044)

1.5.2 บีอีซี เวิลด กํ าไรสุทธิไตรมาส 3 ลดลงเปนไตรมาสแรก หลังจากขยายตัวมาเกือบ 10 ไตรมาสนายประวิทย มาลีนนท กรรมการรองผูอํ านวยการใหญ บริหารบริษัท บีอีซี เวิลด จํ ากัด (มหาชน) หรือ BEC เปดเผยถึงผลการ

ดํ าเนินงานประจํ าไตรมาส 3 สิ้นสุดลง ณ วันที่ 30 ก.ย. 2544 วา บริษัทมีกํ าไรสุทธิ 332.59 ลานบาท กํ าไรสุทธิตอหุน 1.66 บาท เทียบกับงวดเดียวกันของปกอนกํ าไรสุทธิ 403.13 ลานบาท กํ าไรสุทธิตอหุน 2.01 บาท ขณะที่งวด 9 เดือนกํ าไรสุทธิ 1,288.82 ลานบาท กํ าไรสุทธิตอหุน 6.44 บาท เพิ่มขึ้นจากปกอน1,078.52 ลานบาท และกํ าไรสุทธิตอหุน 5.39 บาท ทั้งนี้กํ าไรสุทธิไตรมาส 3 ของบริษัทลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปกอนประมาณ 70 ลานบาท หรือคิดเปน 17% และลดลงจากไตรมาส 2 ของป 2544 ประมาณ 27% มีสาเหตุจากรายไดคาโฆษณาลดลง และการรับรูผลขาดทุนของบริษัทยอยคือ บริษัท บีอีซี - เทโร เอ็นเตอรเทนเมนต จํ ากัด

สํ าหรับปจจัยที่เขามามีผลกระทบทํ าใหรายไดจากคาโฆษณาลดลงนั้นเกิดจากปจจัยหลัก 2 ประการกลาวคือ โดยปกติแลวในชวงไตรมาส 3 ของทุกปจะเปนฤดูกาลที่รายไดจากคาโฆษณาลดลงอยูแลว ประกอบกับเหตุการณกอการรายในสหรัฐที่ยืดเยื้อและตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน รวมทั้งผลกระทบจากพื้นฐานสถานการณทางเศรษฐกิจของประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งบริษัทยังมีผลขาดทุนจากธุรกิจดานบันเทิงที่ดํ าเนินการโดยบริษัทบีอีซี - เทโร คือขาดทุนจากการสรางภาพยนตรเร่ือง'เกมลมโตะ' และการจัดประกวดมิสไทยแลนดเวิลด ที่ไมประสบความสํ าเร็จตามเปาหมายที่กํ าหนดไว แตทั้งนี้บริษัทยังมีฐานะทางการเงินที่แข็งแกรงคือ ณ วันที่ 30 ก.ย. 2544 บริษัทมีสินทรัพยรวมกวา 8,711 ลานบาท

อยางไรก็ตาม ในไตรมาสสุดทายของปนี้ บริษัทคาดวาอุตสาหกรรมโฆษณาจะขยายตัวไปในทิศทางที่ดีขึ้น เพราะเปนฤดูกาลจับจายใชสอย ซ่ึงสงผลใหรายไดจากคาโฆษณาของบริษัทเพิ่มขึ้นดวย แตทั้งนี้ตองคํ านึงถึงเหตุการณการโจมตีอัฟกานิสถานของสหรัฐดวยวาจะมีผลกระทบมากนอยเพียงใดตออุตสาหกรรมโฆษณา

ดานรายไดของบริษัท บีอีซี เวิลด จํ ากัด (มหาชน) ไตรมาส 3 ป 2544 บริษัทมีรายไดรวม 1,245 ลานบาท โดยสัดสวนรายไดสวนใหญมาจากคาโฆษณาประมาณ 90 % หรือเฉลี่ยประมาณเดือนละ 300 - 400 ลานบาท หรือคิดเปนไตรมาสละ 1,200 ลานบาท (ผูจัดการ151144)

1.5.3 แฮรรี่ พอตเตอร ยอดตั๋วเต็มนานถึง 3 วัน มาแรงกวาภาพยนตรฮอลลีวูดทุกเรื่องนายสุพัฒน งามวงศไพบูลย ผูจัดการฝายการตลาด บริษัท เอส เอฟ ซีเนมา ซิต้ี ผูดํ าเนินธุรกิจโรงภาพยนตรเอฟ เอส กลาววา

หลังจากที่ภาพยนตรเร่ืองแฮรร่ี พอตเตอร กับศิลาอาถรรพ เขาฉายในวันที่ 30 พ.ย. 2544 เปนวันแรกนั้น ทํ าใหบรรยากาศหนาโรงภาพยนตร

Page 106: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

249

ของเอส เอฟ ทั้ง 4 สาขาคือ มาบุญครอง เดอะมอลลบางกะป เดอะมอลลงามวงศวาน และเดอะมอลลบางแค มีความคึกคักอยางเห็นไดชัดและมีผูเขาชมเปนจํ านวนมาก โดยจากการประเมินคราว ๆ คาดวาสัดสวนผูเขาชมหนังมากกวาปกติถึง 40%

อยางไรก็ตาม กอนหนาที่ภาพยนตรแฮรร่ี พอตเตอร จะเขาฉายในเมืองไทยก็ไดมีการโทรศัพทเขามาจองที่นั่งลวงหนา โดยมียอดจองเต็ม 3 วัน คือในวันที่ 30 พ.ย. ซ่ึงเริ่มฉายเปนวันแรก จนถึงวันที่ 2 ธ.ค. 2544 หรือคิดเปน 2 หมื่นที่นั่ง ซ่ึงทางบริษัท เอส เอฟ ยังไดเพิ่มรอบฉายใหกับแฮรร่ี พอตเตอร แตก็ไมสามารถเพิ่มมากกวา 4 รอบตอวันได เพราะแฮรรี่ พอตเตอร เปนภาพยนตรที่มีความยาวถึง 2 ช่ัวโมงครึ่ง สํ าหรับกระแสขาวที่ทางโรงภาพยนตรจะมีปรับราคาตั๋วจาก 100 บาท เปน 120 บาทนั้น ทางบริษัท เอส เอฟ ยืนยันวาไมมีการปรับราคาแตอยางใด ในสวนของรายไดรวมของภาพยนตร แฮรร่ี พอตเตอร ทางผูประกอบการคาดการณวา จะสรางรายไดในเมืองไทยไมต่ํ ากวา100 ลานบาท

อนึ่ง ถึงแมวากระแสของแฮรร่ี พอตเตอร จะมาแรง แตก็ยังสูความแรงของหนังไทยเรื่อง สุริโยไท ไมได เนื่องจากสุริโยไท เปนหนังที่สรางขึ้นโดยคนไทย ใชงบฯการสรางมหาศาล และไดทํ าการประชาสัมพันธมานานหลายเดือน ประกอบกับการรณรงคใหคนไทยหันมาดูหนังไทยกันมากขึ้น อยางไรก็ตาม แฮรร่ี พอตเตอร ก็เปนภาพยนตรตางประเทศที่มาแรงที่สุดในขณะนี้ (กรุงเทพธุรกิจ, ผูจัดการ011244,Bangkok Post 041201)

2. ความเคลื่อนไหวดานศาสนา ประเพณี ความเชื่อและคานิยมทางสังคม2.1 ความเคลื่อนไหวดานศาสนา2.1.1 ชาวพุทธชุมนุมเรงรัฐบาลออกกฎหมายคณะสงฆกลุมพุทธศาสนิกชน ทั้งพระสงฆ และฆราวาสกวา 1,000 ไดมารวมตัวกันที่บริเวณลานพระบรมรูปทรงมา จากนั้นไดเคลื่อน

ขบวนไปยังถนนหนาสํ านักงานคณะกรรมการขาราชพลเรือน (ก.พ.) โดยยืนโบกธงชาติและธงธรรมจักรเรียกรองใหรัฐบาลนํ าราง พ.ร.บ.คณะสงฆที่ผานความเห็นชอบจากครม. เมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2544 ขาสูการพิจารณาใหทันการประชุมสภาผูแทนราษฎรสมัยนี้โดยเร็ว ทั้งนี้มีแถลงการณจากศูนยพิทักษพระพุทธศาสนาแหงประเทศไทย เร่ือง สนับสนุนมติ ค.ร.ม.และขอคํ ายืนยันจาก พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในการดํ าเนินภารกิจ 5 ขอคือ 1) สนับสนุนใหราง พ.ร.บ.คณะสงฆ ผานสภาฯและประกาศใชเปนกฎหมายโดยเร็ว 2) จัดหลักสูตรและตํ าราเรียนพรอมคูมือการสอนวิชาพระพุทธศาสนา เปนวิชาแกนกลางแกนักเรียนที่เปนพุทธศาสนิกชน ต้ังแตระดับอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา ใหมีมาตรฐานเดียวกันใชบังคับทั่วประเทศ โดยใหมีหนวยการเรียนไมนอยกวาสองคาบเรียนตอสัปดาห และใหสถาบันสงฆรับรองหลักสูตร ตํ าราเรียน และคูมือการสอนวิชาพระพุทธศาสนา 3) ในภารกิจที่ศาสนาตางๆ รวมกันทํ างาน ใหมีกรรมการรวมดํ าเนินการตามสัดสวนของศาสนิกในศาสนานั้นๆ 4) การอุปถัมภคุมครอง สนับสนุน พัฒนาพระพุทธศาสนาใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญ 5) การแกไขปรับเปลี่ยนรัฐธรรมนูญเฉพาะมาตราที่เปนภัยตอพระพุทธศาสนาในระยะเวลาอันสมควร

อนึ่ง ผูแทนองคกรพุทธและชาวพุทธ ในนามศูนยพิทักษพระพุทธศาสนาแหงประเทศไทยจํ านวน 5 คนนํ าโดย นางสมปอง วรรณิสสร รองประธานกรรมการศูนยพิทักษฯ ไดเขาพบกับนายจํ าลอง ครุฑขุนทด รมช. ศึกษาธิการ ซ่ึงไดเปดเผยวา รัฐบาลไดประสานกับมหาเถรสมาคมมาตลอดจนมีการตั้งคณะกรรมการมีตัวแทนก.ศึกษาธิการและผูแทนมหาเถรสมาคมปรับแกรางพ.ร.บ.คณะสงฆตามหลักเกณฑของมหาเถรฯ สวนระยะเวลากระบวนการพิจารณาตามกฎหมาย มีเวลากํ าหนดไวชัดเจนแลว อยางไรก็ตามครม.มีมติเรงรัดใหคณะกรรมการกฤษฎีกาทํ าใหทันการประชุมสภาฯสมัยนี้ ซ่ึงทางกรรมการกฤษฎีกาก็ตองพิจารณาดวยความรอบคอบดวย ตามพระลิขิตของสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายกไมไดขัดของหากมีการปรับแกเพื่อทํ าใหเกิดความมั่นคงตอประเทศชาติ

ทางดาน พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กลาวถึงพ.ร.บ. สงฆ วา ขณะนี้อยูระหวางการตรวจสอบของคณะกรรมการกฤษฎีกา และขอเสนอของมหาเถรสมาคมจะไดถึง 100% คงเปนไปไมได เพราะระบอบประชาธิปไตยตองหาจุดที่พอดีระหวางกัน (ผูจัดการ 221144)

2.1.2 รองนายกฯ ช้ีศาสนาสํ าคัญตอการจัดระเบียบสังคมนายปองพล อดิเรกสาร รองนายกฯ กลาวในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง ‘ศาสนากับการปฏิรูปการศึกษา’ ที่ทํ าเนียบรัฐบาล วา

แมศาสนาจะเปนนามธรรม แตมีความดีและมีคุณคาในตัวเอง ถายุคสมัยใด คนหางจากศาสนา จิตใจจะไรที่ยึดเหนี่ยว แตหากศาสนามีบทบาทในการดํ าเนินชีวิตประจํ าวัน สังคมก็จะดีและมีความสงบสุข การจัดระเบียบสังคมตามนโยบายของรัฐบาล เพื่อใหคนในชาติมีระเบียบเคารพกฎหมายนั้น ศาสนาและวัฒนธรรมมีบทบาทอยางยิ่ง ที่จะทํ าใหการจัดระเบียบสังคมเปนผลสํ าเร็จ (ผูจัดการ 031244)

3. การทุจริตประพฤติมิชอบ

Page 107: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

250

3.1 ความเคลื่อนไหวกรณีการปองกันและปราบปรามการทุจริต3.1.1 รัฐบาลจัดเวิรคชอปขจัดปญหาคอรรัปชันเมื่อวันที่ 23 พ.ย. 2544 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯ เปนประธานการประชุมเชิงปฏิบัติการระดับชาติเกี่ยวกับการปองกันและ

ปราบปรามการทุจริต ซ่ึงที่ประชุมไดมีความเห็นรวมกันที่ควรจะแกไขกฎหมายปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบในหลายประเด็นดวยกันคือ 1) ใหขยายตํ าแหนงขาราชการที่ตองแสดงบัญชีทรัพยสินตอคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) เพิ่มขึ้น โดยขาราชการตั้งแตระดับ 9 ขึ้นไป ทหาร ตํ ารวจ ต้ังแตยศ พล.ต. และ พล.ต.ต. ขึ้นไป ตุลาการชั้น 4 และอัยการชั้น 6 ขึ้นไปจะตองแสดงบัญชีรายการทรัพยสินแก ป.ป.ช. ที่จากเดิมไมตองแสดง 2) การยื่นบัญชีทรัพยสินและหนี้สินของเจาหนาที่ที่ต่ํ ากวาระดับซี 9ลงมา ใหยื่นภายในหนวยงานของตัวเอง ทั้งนี้ สํ าหรับนายกฯ และรมต. อาจมีการเปดเผยบัญชีทรัพยสินทางอินเทอรเน็ต 3) การแสดงบัญชีคูสมรสนอกกฎหมาย หรือบุตรที่ไมชอบดวยกฎหมายให ป.ป.ช. ไปกํ าหนดอีกครั้งวา คูสมรสนอกกฎหมายมีลักษณะอยางไร 4) การกลาวหากรณีร่ํ ารวยผิดปกติ ที่เดิม ป.ป.ช. ตองกลาวหาภายใน 2 ป หลังจากกรณีที่ผูนั้นพนจากตํ าแหนงจะพิจารณาขยายใหเปนระหวาง 5 หรือ10 ป 5) ใหแกมาตรา 100 เกี่ยวกับเรื่องการขัดผลประโยชนที่เดิมกฎหมายกํ าหนดไวเฉพาะตํ าแหนงนายกฯ และรมต. ใหเพิ่มผูดํ ารงตํ าแหนงในองคกรอิสระ แตใหละเวนแกคูสมรสที่ถือสัมปทานหรือเปนพนักงานอยูกอนที่จะมาสมรสกัน หรือกอนที่คูสมรสตนเองจะมาดํ ารงตํ าแหนงทางการเมือง อนุญาตใหถือสัมปทานตอไปไดแตตองรายงานให ป.ป.ช. ทราบ (มติชนสุดสัปดาห 261144)

4. ปญหายาเสพติด อาชญากรรม บอนพนัน และคาของเถื่อน4.1 ความเคลื่อนไหวดานยาเสพติด4.1.1 ป.ป.ส. ยอมรับสถานการณยาเสพติดในโรงเรียนเขาขั้นวิกฤต แนะทุกฝายตองรวมกันสราง '

ภูมิคุมกัน' ใหเด็กหลีกไกลยาเสพติดนางรัศมี วิศเวทย รองเลขาธิการสํ านักงานพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด (ป.ป.ส.) กลาววา ปญหายาเสพติดถือ

เปนนโยบายระดับประเทศ ที่นายกฯ ไดสั่งการใหขาราชการทุกฝายรวมกันแกไขปญหายาเสพติด โดยเฉพาะการตอสูกับการแพรระบาดในสถานศึกษา ป.ป.ส. ถือเปนนโยบายเรงดวนในขณะนี้คือ การประกาศสงครามกับแกงคายาเสพติดในโรงเรียนที่มีสารพัดรูปแบบ เชน แกงคายาเสพติดที่นํ าลูกเขาไปเรียนในโรงเรียน และนํ ายาบาไปขายใหเพื่อนหรือเด็ก บางรายจับไดวา นํ าไปผสมในเครื่องดื่มใหเพื่อนดื่มเปนประจํ าโดยไมรูวา เครื่องดื่มนี้ผสมยาบา และลาสุดมีรายงานวา มีแกงคายาไดใชใหเด็กนํ ายาบาไปผสมในแท็งกนํ้ าด่ืมของโรงเรียน ทํ าใหมีเด็กจํ านวนมากติดยา ทาง ป.ป.ส. ไดประสานไปยังโรงเรียนดังกลาวแลวใหปรับปรุงนํ้ าด่ืมในโรงเรียนเปนกอกนํ้ าประปาทั้งหมด เพื่อปองกันไมใหเกิดปญหาดังกลาวขึ้นอีก

สํ าหรับแผนการดํ าเนินการของ ป.ป.ส. อีกแนวทางหนึ่งที่ไดดํ าเนินการอยูคือ การรวมกับโรงเรียนในสังกัด ก.ศึกษาธิการ และโรงเรียนในสังกัด กทม. สรางเครือขายตอสูกับมหันตภัยยาเสพติด โดยเครือขายดังกลาวเปนลักษณะของศูนยตานภัยยาเสพติด ใหโรงเรียนและชุมชนละแวกสถานศึกษาทํ ากิจกรรมรณรงคสูภัยยาเสพติด เชน การจัดกีฬาตานยาเสพติด จัดดนตรีสูภัยยาเสพติด ฯลฯ นอกจากกิจกรรมที่ป.ป.ส. สรางขึ้นแลว เวลานี้ไดประสานไปยังสถานที่ราชการหลายแหงใหผูนํ าชุมชนเขามาเลนในลานกีฬาของสถานที่ราชการได การสรางกิจกรรมและการดูแลเอาใจใสเด็กถือวา เปนหนทางหนึ่งที่จะปองกันยาเสพติดในกลุมวัยอยากรูอยากลองเหลานี้ได

ดาน นายมนตรี สินทวิชัย หรือ 'ครูยุน' สว.กทม. ใหความเห็นวา วิธีหนึ่งที่จะชวยแกปญหาการตานยาเสพติดในสถาบันการศึกษาไดคือ การตั้งศูนยบํ าบัดยาเสพติดในโรงเรียน เนื่องจากโรงเรียนถือเปนสถานที่สํ าคัญในการพัฒนาเด็ก ดังนั้น โรงเรียนจะตองเปนชุมชนที่เขมแข็ง สามารถจัดการกับภัยพิบัติของยาเสพติดได ปจจุบันการแกไขปญหายาเสพติดจะใชวิธีปฏิบัติที่เรียกวา 'สังคมสงเคราะห' ไมไดอีกแลว รัฐบาลจะตองปรับกระบวนการสรางยุทธศาสตรเชิงรุกใหประชาชนทุกฝายรวมกันแกไขปญหายาเสพติด และเชื่อวาเมื่อประชาชนมีสวนรวม ปญหายาเสพติดก็จะทุเลาลงบาง (ผูจัดการ 191144)

4.2 ความเคลื่อนไหวกรณีรถตูเถ่ือน4.2.1 ตัวแทนสมาคมผูประกอบการรถยนตโดยสารยื่นหนังสือถึงรมต.คมนาคม ขอใหปราบปรามรถ

ตูเถ่ือนเมื่อวันที่ 28 พ.ย. ตัวแทนสมาคมผูประกอบการรถยนตโดยสารกวา 150 คน ยื่นหนังสือถึงนายวันมูหะมัดนอร มะทา รมต.

คมนาคม เพื่อขอใหปราบปรามจับกุมรถตูโดยสารระหวางจังหวัด หลังจากนั้นตัวแทนสมาคมฯ ไดเขารวมหารือกับนายพงศกร เลาหะวิเชียร

Page 108: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

251

รมช.คมนาคม ซ่ึงนายพงศกร จะสั่งการไปยังกรมขนสงทางบก ตํ ารวจทองที่และหนวยงานราชการที่เกี่ยวของเขาไปดํ าเนินการ หากพบก็จับกุมทันที

นายสมพันธ โชคปมิตตกุล นายกสมาคมผูประกอบการรถยนตโดยสาร กลาววา สมาคมฯ ตองการใหนายพงศกร ซ่ึงกํ ากับดูแลหนวยงานขนสงทางบก มีนโยบายปองกันและปราบปรามจับกุมรถที่ผิดกฎหมาย โดยเฉพาะรถตูเถื่อนใหลดนอยลง รวมทั้งมิใหชวยเหลือในการทํ ารถผิดกฎหมายใหเปนรถถูกกฎหมาย เชน ใหสัมปทานเสนทางเดินรถในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร และในเสนทางระหวางจังหวัดระยะทาง 100-400 กิโลเมตร รวมทั้งเสนทางใด ๆ ที่ทับเสนทาง และแขงขันกับเสนทางสัมปทานของบริษัทขนสง จํ ากัด (บขส.) เนื่องจากที่ผานมามีรถตูเถื่อนวิ่งทับเสนทางของ บขส. ทั่วประเทศถึง 34,412 คัน เปนรถตูผิดกฎหมายจํ านวน 2,117 คัน โดยวิ่งผิดกฎหมายใน39 จังหวัด 126 เสนทาง ซ่ึงรถตูดังกลาวแยงลูกคา บขส.ไดถึง 40,650 คนตอวันปกติ และประมาณ 73,800 คนตอวันเทศกาล เชนปใหมหรือสงกรานต คิดเปนเงินที่ทํ าใหรถ บขส.และรถรวมฯ ขาดรายไดปละ 929 ลานบาท ซ่ึงทํ าใหรายไดของรถโดยสารถูกกฎหมายลดนอยลงทั้งที่ตองลงทุนสูงกวารถผิดกฎหมายหลายเทา โดยเฉพาะตองจายคาธรรมเนียมใหกับ บขส. ไมรวมคาเสียภาษีรถยนต ปละประมาณเกือบ600 ลานบาท

ทางดาน นายพงศกร กลาววา ก.คมนาคมไมมีนโยบายที่จะจัดระเบียบรถตู เพราะจะยิ่งเปนการเพิ่มจํ านวนรถตูใหมากขึ้นกวานี้อยางไรก็ตามในสวนที่สมาคมฯ คัดคานไมใหมีการเพิ่มรถโดยสารเสนทางตางจังหวัดนั้น ไดสั่งการให บขส.หยุดการเพิ่มรถแลว แตหากมีความจํ าเปนที่จะตองเพิ่ม ทางผูประกอบการรถโดยสารจะตองขออนุญาตจาก บขส.และผูรวมสัมปทานเสนทางเดียวกันเสียกอน และรถที่จะเขามาวิ่งนั้นจะตองไดมาตรฐานดวยเชนกัน สํ าหรับการปราบปรามรถตูเถื่อนนั้น จะสั่งการไปยังกรมขนสงทางบก ตํ ารวจทองที่และหนวยงานราชการที่เกี่ยวของเขาไปดํ าเนินการ หากพบก็จับกุมทันที ทั้งนี้ ในสวนอื่นที่สมาคมฯ เรียกรองจะรับเร่ืองไวศึกษา และแกไขปญหาตอไป

แหลงขาวจากสมาคมผูประกอบการรถยนตโดยสาร กลาววา การเขาพบรัฐมนตรีชวยคมนาคมในครั้งนี้ ไดรับคํ าตอบที่นาพอใจระดับหนึ่ง แตยังมีอีกหลายสวนที่ทางสมาคมฯ อยากใหกระทรวงคมนาคมเขามาชวยเหลือ เชน การปราบปรามอิทธิพลในพื้นที่ ที่มีสวนรูเห็นในการประกอบธุรกิจรถตูผิดกฎหมาย อยางไรก็ตาม ทางตัวแทนสมาคมฯ จะยื่นหนังสือตอนายวันมูหะมัดนอร มะทา รมต.คมนาคมเพื่อใหเขามากํ ากับดูแลเรื่องนี้ดวยตนเอง เนื่องจากผูบริหารระดับสูงในกระทรวงบางคนไมสามารถแกไขปญหาดังกลาวได (พิมพไทย141144,ผูจัดการ 281144)

4.3 ความเคลื่อนไหวดานการพนัน4.3.1 มหาดไทย ยอมรับเอาผิดกับบริษัทรับพนันบอลทางอินเตอรเน็ตไมไดทั้งหมด ทํ าไดเพียงการ

สุมตรวจเทานั้นร.ต.อ.ปุระชัย เปยมสมบูรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย กลาวถึงกรณี “แล็ดโบรกส” บริษัทรับพนันบอลช่ือดังของอังกฤษ

เปดเว็บไซตภาษาไทยรองรับนักพนันในประเทศไทยวา สิ่งที่จะทํ าไดในขณะนี้คือการสุมตรวจในอินเตอรเน็ตและขอความรวมมือจากพอ-แมผูปกครองในการชวยกันดูแลบุตรหลานจากกระแสโลกาภิวัตน เชนเดียวกับการเขามาของเว็บไซตลามกอนาจารในยุคโลกไรพรมแดน เพราะรัฐบาลคงปดกั้นระบบเหลานี้ไดลํ าบาก เพราะเปนเรื่องกํ้ ากึ่งระหวางสิทธิสวนบุคคลกับการกํ ากับดูแลของรัฐ ตราบใดที่เรายังอางเรื่องสิทธิสวนบุคคลมากจนหามรัฐกาวกาย ก็ตองรับผิดชอบตัวเองถาคุณลมละลายจากการเลนพนันบอล เลนพนันผานอินเทอรเน็ต สิ่งที่รัฐจะทํ าไดก็คือตองสรางคานิยมที่ถูกตองใหมีวินัยเปนตัวเอง รัฐในระบอบประชาธิปไตยจะไมกาวลวงจนเกินไป หากเราใชมาตรการทางกฎหมายทุกอยางจะกลายเปนรัฐกึ่งเผด็จการไป คนก็จะไมพอใจอีก

อยางไรก็ตาม ตองยอมรับวานโยบายของรัฐในระบอบประชาธิปไตยมีทั้งสิ่งที่รัฐควรทํ าและไมควรทํ า รัฐจะไมเขาไปกาวกายในสถาบันครอบครัวจนเกินขอบเขต หากจะทํ าไดคงเปนเรื่องของการขอความรวมมือเทานั้น แมเร่ืองที่เกิดขึ้นจะผิดกฎหมายการพนันแตปญหาที่มีคือเจามือไมไดอยูในประเทศไทย และเปนการเลนพนันทางเว็บไซต เปนการพนันนอกประเทศ เชนเดียวกับการซ้ือของผานอินเตอรเน็ตที่กลายเปนการฉอโกงขามประเทศที่กระจายไปทั่วโลก ซ่ึงทุกประเทศคงตองรวมมือกันแกไข เพราะถือวาเปนหนึ่งในปญหาอาชญากรรมขามชาติ (ผูจัดการ 291144)

4.3.2 ตร.เรงจัดระเบียบตูเกมตามนโยบาย มท. 1พล.ต.ต.พงศพัศ พงษเจริญ โฆษกสํ านักงานตํ ารวจแหงชาติ เปดเผยวา ผูบัญชาการตํ ารวจแหงชาติเตรียมสนองนโยบายจัด

ระเบียบตูเกมคอมพิวเตอร ที่เปนแหลงมั่วสุมของเด็กและเยาวชน ตามหางสรรพสินคา ของ ร.ต.อ.ปุระชัย เปยมสมบูรณ รมต.มหาดไทยเต็มที่ โดยมอบหมายใหผูบัญชาการตํ ารวจนครบาล ผูบัญชาการตํ ารวจสอบสวนกลาง และผูบัญชาการตํ ารวจภูธร จัดกํ าลังขึ้นมาดูแล ใหตูเกมเกิดประโยชน มากกวาทํ ารายเด็กและเยาวชนทางออม

Page 109: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

252

ทั้งนี้ที่ผานมาตํ ารวจ ไดรวมกับกรมศุลกากร ออกซุมตรวจตูเกมวามีการนํ าเขาถูกตองตามกฎหมายหรือไมอยางตอเนื่อง ขอเตือนผูประกอบการตูเกมวา หากปลอยใหสถานประกอบการเปนแหลงมั่วสุม และเขาขายการพนันจะถูกยึดใบอนุญาต และหากตรวจไดวา เปนตูเกมที่นํ าเขาไมถูกตองกรมศุลกากรก็จะดํ าเนินการตามกฎหมาย (ผูจัดการ161244)

ความเคลื่อนไหวดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2544นํ าเรื่อง

ความเคลื่อนไหวดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในประเทศไทย ในไตรมาสสุดทายของป 2544 นั้น ในภาครัฐเปนความเคลื่อนไหวของสํ านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) ในการคัดเลือกรายชื่อหนังสือวิทยาศาสตรดีเดนจํ านวนถึง 88 เลม สํ าหรับเยาวชนไทยอานแทนหนังสือแปล ซึ่งไดมาจากการเชิญชวนใหชาวไทยที่มีความรูความสามารถเขียนหนังสือวิทยาศาสตรหรือหนังสือเกาที่เคยตีพิมพแลวสงเขามาประกวดกวา 500 เลม มีทั้งประเภทบันเทิงคดีสารคดี และความรูทั่วไป และการชี้นํ าของ“บวท.”ใหรัฐบาลควรเรงวางโครงสรางพื้นฐานการเรียนรูในนาโนเทคโนโลยีซึ่งจะมีความสํ าคัญมากในอนาคต ขณะที่ “เอ็มเทค” เห็นวาตองเกาะติดสถานการณความกาวหนาตลอดเวลา

ดานเทคโนโลยีชีวภาพมีรายขาวของสํ านักขาวรอยเตอรเสนอบทความเกี่ยวกับผลการวิจัยของนักวิจัยอเมริกัน ที่ใกลจะประสบความสํ าเร็จในการพัฒนา ปรับปรุงพันธุขาวหอมมะลิของไทย ใหสามารถปลูกในสหรัฐได ซึ่งในเรื่องพันธุขาวหอมมะลินี้ ยังมีความเคลื่อนไหวของสํ านักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ(สวทช.) โดยศูนยไบโอเทค รวมกับ ม.เกษตรฯ ในการจัดตั้ง 2 โครงการคือ โครงการตั้งหองปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยีเพื่อดํ าเนินการคนควาวิจัยและพัฒนาการตรวจสอบความถูกตองและความบริสุทธิ์ของสายพันธุหรือการตรวจหาดีเอ็นเอ และโครงการหนวยปฏิบัติการคนหาและใชประโยชนยีนขาว เพื่อปรับปรุงพันธุและศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของขาวในอนาคต เพื่อเตรียมรับมือกับการคนพบยีนใหมของนักวิจัยตางประเทศ ซึ่งอาจนํ าไปสูการจดสิทธิบัตรผูกขาดไดในอนาคต รวมทั้งยังไดเปดเผยผลการปรับปรุงขาวพันธุใหมของไทย 2 พันธุ คือขาวจาวหอมนิล และพันธุดับเบิลแฮพพลอย ในดานการโคลนนิงมนุษยที่กํ าลังเปนขาวฮือฮาในสหรัฐนั้นแพทยไทยหนุนสหรัฐวิจัยเรื่องโคลนนิงตัวออนมนุษยเพื่อการรักษาทางการแพทย เหตุผลคือเซลลมนุษยหากไมเกิน 14 วันทางวิทยาศาสตรยังไมถือวาเปนมนุษย แตถาโคลนนิงมนุษยแลวไมเห็นดวยอยางแนนอน นอกจากนี้ ก.สาธารณสุข แพทยสภา และองคการอนามัยโลก รวมกันรางแนวทางการวิจัยเพื่อควบคุมปญหาทางดานจริยธรรมในการทํ างานวิจัยในมนุษย เพราะเทาที่ผานมาแนวทางการควบคุมดานจริยธรรมยังไมมีความชัดเจน เปนธรรม และปลอดภัยเพียงพอกับอาสาสมัคร

สวนดานเทคโนโลยีการสื่อสาร พ.ต.ท.ทักษิณ ขินวัตร นายกฯ ไดเปดโครงการอินเทอรเน็ตตํ าบล โครงการรวมมือกันระหวาง กรมการปกครอง ก.มหาดไทย กับองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ซึ่งหากทํ าสํ าเร็จประชาชนจะสามารถเรียกดูขอมูลไดทั้งดานผลิตผลการเกษตร การปกครองและขอมูลอื่นๆ อันจะเปนการอํ านวยความสะดวกใหกับประชาชน นักธุรกิจและสวนราชการตางๆโดยเฉพาะอยางยิ่งขอมูลในการพัฒนาประเทศ พัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งนอกจากที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะไดระบบอินเทอรเน็ตในการบริหารงานแลว ประชาชนยังไดรับประโยชนจากโครงการ อาทิมีความรูเกี่ยวกับอินเทอรเน็ต ไดรับรูขาวสารมากขึ้น รายไดของประชาชนเพิ่มมากขึ้น ไดรับการบริการจัดการในทองถิ่นที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เปนตน อยางไรก็ตาม มีเสียงเตือนจากดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล ผูอํ านวยการ สํ านักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ เกี่ยวกับการใชอินเทอรเน็ตที่เยาวชนไทยยังตองเผชิญกับความเสี่ยงในรูปแบบตางๆจากคนชั่วรายที่แฝงตัวเขามา พอแมควรดูแลการเลนอินเทอรเน็ตของเด็กในปกครองอยางใกลชิด

สํ าหรับดานการวิจัยนั้น มีความเคลื่อนไหวของสํ านักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ(วช.) คือ การมอบทุนวิจัย เรื่องการศึกษาองคประกอบและทดสอบผลการปองกันกํ าจัดเพลี้ยออนในพริกและหนอนรังหอใบมะมวงของสาร

Page 110: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

253

สกัดจากตนแมงลักคา เพื่อเปนแนวทางหนึ่งในการใชสารปองกันและกํ าจัดแมลงศัตรูพืชจากธรรมชาติ อีกเรื่องหนึ่งคือความสํ าเร็จของโครงการวิจัยเกี่ยวกับหญาแฝก ซึ่งสามารถใชผลิตเปนวัสดุทดแทนไม และผลิตภัณฑรูปแบบตาง ๆ ไดขณะนี้อยูระหวางการยื่นขอจดสิทธิบัตร นอกจากนี้ สํ านักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ(สวทช.) ยังเปดเผยวา ขณะนี้กํ าลังวิจัยและพัฒนาเซลลแสงอาทิตยที่เหมาะกับภูมิอากาศเขตรอนชื้นหรือเซลลแสงอาทิตยชนิดใหมลาสุดที่มีตนทุนในการผลิตตํ่ าจุดมุงหมายเพื่อเปนพลังงานทางเลือก และเปนอุตสาหกรรมใหมของประเทศ

ความเคลื่อนไหวดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในตางประเทศนั้น เรื่องที่มาแรงคือดานเทคโนโลยีชีวภาพ นั่นคือขาวเกี่ยวกับการโคลนนิงมนุษย ซึ่งบริษัทเทคโนโลยีชีวภาพสหรัฐประกาศความสํ าเร็จในการโคลนนิงมนุษย ซึ่งปรากฏเปนขาวฮือฮาขึ้นอีกครั้ง แตไดรับการวิจารณวาความสํ าเร็จของบริษัทฯเปนแคเพียงอยูในขั้นใกลเคียงกับไขที่ไดรับการผสมแลวเทานั้นยังหางไกลกับการพัฒนาเปนทารก การประกาศความสํ าเร็จของบริษัทฯ นํ าไปสูกระแสคัดคานโดยเฉพาะโฆษกของทํ าเนียบขาวที่ออกมายํ้ าจุดยืนของประธานาธิบดีจอรจ ดับเบิลยู บุช ที่คัดคานการถอดแบบไมวาจะนํ าไปใชเพื่อวัตถุประสงคใดก็ตาม และสนับสนุนการเคลื่อนไหวในสภาผูแทนราษฎร สงผลใหการถอดแบบมนุษยเพื่อรักษาโรคเปนส่ิงที่ผิดกฎหมาย จนตัวแทนบริษัทฯ ตองออกมาชี้วาประชาชนควรเพงเล็งถึงผลประโยชนทางการแพทยที่สามารถเลียนแบบเซลล และผลงานของบริษัทฯ มีจุดมุงหมายเพื่อบํ าบัดโรค เพื่อชวยชีวิตคนอื่นอยางกวางขวางในโรคภัยของมนุษยโดยรวม มิไดมุงหมายไปถึงขั้นสรางเด็กทารกเปนตัวตนออกมา นอกจากนี้ ยังปรากฏความเคลื่อนไหวของนักวิจัย ในการเตรียมนํ าเทคโนโลยีโคลนนิงมาใชในวงการอุตสาหกรรม ปศุสัตวเพื่อใชเปนอาหารมนุษย สวนสภาวิจัยแหงชาติของสหรัฐไดจัดประชุมวาดวยการโคลนนิงสัตว เพื่อนํ าผลที่ไดเสนอตอเอฟดีเอ ขณะที่บริษัทดานเทคโนโลยีโคลนนิงรายงานวา วัวโคลนนิงของบริษัทไมแตกตางจากวัวทั่วไป สํ าหรับในประเทศอังกฤษ รัฐสภายังไดผานกฎหมายฉุกเฉินตอตานการโคลนนิงตัวออนมนุษยดวยการนํ าตัวออนมนุษยที่ผานการปรับแตงพันธุกรรมเขาไปไวในรางกายสตรีโดยใหเหตุผลวาเปนการกระทํ าที่ไรศีลธรรม ฝาฝนธรรมชาติ ความกาวหนาดานเทคโนโลยีชีวภาพอีกเรื่องหนึ่งคือนักวิจัยอังกฤษพบโครโมโซม 20 ซึ่งเปนขุมคลังปญญาที่เต็มไปดวยความรูสารพัดโรค

ดานเทคโนโลยีการสื่อสาร ปรากฏผลการสํ ารวจชองสัญญาณการสื่อสารอินเทอรเน็ตในประเทศจีน พบวาขนาดชองการสื่อสารมีการขยายตัวถึงรอยละ 105 แสดงวาจีนมีศักยภาพและการพัฒนาเทคโนโลยีที่รวดเร็ว และคาดวาในอนาคตภาษาจีนจะเปนภาษาหลักในอินเทอรเน็ตแทนภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ “อินเทล” มีผลงานผลิตทรานซิสเตอรขนาดเล็กบรรจุบนชิปซิลิคอนไดมากขึ้น กินไฟนอย ประมวลผลไดเร็วโดยไมเพิ่มความรอน นับเปนความกาวหนาอีกอยางหนึ่งในการสื่อสารของโลก

ดานเทคโนโลยีการผลิตมีการเปดตัวเครื่องซักผารุนเอเอส ดับเบิลยู-ซีอาร 800 ของบริษัทซันโย ที่ไมตองใชผงซักฟอกเพราะใชคล่ืนอัลตราซาวดเปนตัวทํ าใหส่ิงสกปรกและฝุนละอองที่จับตามเสื้อผาใหหลุดรวงไป อันเปนที่มาของความเดือดดาลของวงการอุตสาหกรรมผลิตผงซักฟอก ความกาวหนาดานอวกาศเปนการพบดาวเคราะหนอกระบบสุริยจักรวาลขององคการนาซา แหงสหรัฐ โดยกลองโทรทรรศนฮับเบิล มีชื่อวาดาวเอชดี 209458 ถือเปนการคนพบที่มีความสํ าคัญอีกครั้งหนึ่ง เพราะเปนดาวที่มีชั้นบรรยากาศ ที่นักวิทยาศาสตรสามารถคนพบธาตุสํ าคัญๆ อาทิ กาซคารบอนไดออกไซด โอโซน มีเธน รวมถึงไอนํ้ า ซึ่งการคนพบเหลานี้จะเปนไปไดในการมีส่ิงมีชีวิต หรือมีความเหมาะสมในการดัดแปลงเปนที่พักอาศัยในอนาคต แตนักดาราศาสตรบางคนบอกวา ดาวดวงนี้ไมนาจะมีความเหมาะสมในการมีส่ิงมีชีวิตเนื่องจากชั้นบรรยากาศหนาแนนเกินไป

นอกจากนี้ มีการประกาศมอบรางวัลสาขาวิชาการตางๆของคณะกรรมการตัดสินรางวัลโนเบล ที่กรุงสตอกโฮลม ประเทศสวีเดน ซึ่งในปนี้มีความสํ าคัญสองประการคือเปนรางวัลแรกในคริสตศตวรรษที่ 21 และครบรอบ 100 ปของการแจกรางวัลโนเบล ผูที่ไดรับรางวัลมาจากประเทศตางๆ เชน สหรัฐ อังกฤษ ญี่ปุน ฯลฯ

Page 111: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

254

1. ความเคลื่อนไหวดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในประเทศไทย1.1 ความเคลื่อนไหวดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีภาครัฐ1.1.1 สกว. คัดเลือกหนังสือวิทยาศาสตรดีเดนรวม 88 เลมสํ าหรับเยาวชนไทยอานแทนหนังสือแปลรศ.ดร.ชัยวัฒน คุประตกุล ในฐานะประธานโครงการวิจัยหนังสือดีวิทยาศาสตร เปดเผยวากองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) ได

เชิญชวนใหชาวไทยที่มีความรูความสามารถเขียนหนังสือวิทยาศาสตรหรือหนังสือเกาที่เคยตีพิมพแลวสงเขามาประกวดกวา 500 เลม ซ่ึงขณะนี้คณะกรรมการฯไดคัดเลือกหนังสือดีวิทยาศาสตรจํ านวน 88 เลม โดยแยกออกเปน 3 ประเภท ไดแก 1) บันเทิงคดี 29 เลม ตัวอยางเชน เมืองนิมิตร โดย ม.ร.ว.นิมิตรมงคล นวรัตน แอนโดรมีดา โดย ชัยคุปต อุบัติจากดวงดาว โดย นันทนา วีระชน เดือนชวง ดวงเดนฟา ดาดาว โดย วินทร เลียววาริณ สุดขอบจักรวาล โดย จุฑารัตน มนุษยกลายพันธุ โดย ธรรมดา ประทีปสิต เปนตน 2) สารคดี 30 เลม ตัวอยางเชน ดูนก โดย รุงโรจน จุกมงคล บันทึกวิชา ( 72 ปของนักธรณีคนหนึ่ง) โดย วิชา เศรษฐบุตร เร่ืองนารูเกี่ยวกับสัตวทะเล โดย สุรินทรมัจฉาชีพ เปนตน และ3) ความรูทั่วไป 29 เลม ตัวอยางเชน ไตรภูมิพระรวง โดย พระญาลิไทย ซ่ึงถือวาเปนหนังสือวิทยาศาสตรเลมแรกของไทย ชีวิตแมลง โดย สิรินทร ชวงโชติ หมอไทย ยาไทย โดย โครงการเผยแพรเอกลักษณไทย 300 ป ดาราศาสตรไทย โดย ไชยันต ภาคอุทัยและสาวิน วีรบุตร เปนตน โดยมีจุดมุงหมายเพื่อเผยแพรใหพอแมผูปกครองและเยาวชนเลือกอาน สวนสาเหตุที่มีการคัดหนังสือวิทยาศาสตร เพราะที่ผานมาเกือบจะไมมีใครรูวาคนไทยมีความรูความสามารถเขียนหนังสือประเภทนี้เหมือนกัน โดยคนสวนใหญจะรูจักแตหนังสือที่แปลจากตางประเทศ ดังนั้นจึงไดรวบรวมหนังสือวิทยาศาสตรฝมือคนไทยเอาไวเพื่อใหเยาวชนไดเลือกอานแทนการอานหนังสือแปล

นันทนา วีระชน หนึ่งในผูเขียนหนังสือวิทยาศาสตรที่ไดรับการคัดเลือก แสดงความเห็นวา พอแมผูปกครองและภาครัฐโดยเฉพาะกระทรวงศึกษาฯ ควรมีสวนรับผิดชอบในการเปลี่ยนแปลงทัศนคติเกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตรและปลูกฝงใหเยาวชนเห็นวาวิทยาศาสตรเปนเร่ืองใกลตัวและนาศึกษา กรมวิชาการที่มีหนาที่ในการผลิตสื่อตางๆ ควรปรับเปลี่ยนวิธีการเขียนจากที่สวนใหญจะเขียนในเชิงวิชาการมาเปนการใชภาษาที่อานงายและเขาใจทันที และควรมีรูปภาพประกอบ ตลอดจนรูปเลมใหม และที่สํ าคัญคือการปลูกฝงการอานใหแกเด็กต้ังแตยังเล็ก (ผูจัดการ 151044)

1.1.2 “บวท.”ชี้นาโนเทคโนโลยีมีความสํ าคัญมากในอนาคต รัฐบาลควรเรงวางโครงสรางพื้นฐานการเรียนรูในเรื่องนี้ขณะที่ “เอ็มเทค” เห็นวา ตองเกาะติดสถานการณความกาวหนา

นายยงยุทธ ยุทธวงศ ผูอํ านวยการสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร (บวท.) ช้ี “นาโนเทคโนโลยี” เปนเทคโนโลยีที่มีแนวโนมมาแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ในอนาคต จะมีบทบาทสํ าคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีในโลก กลาวคือ การใชนาโนเทคโนโลยีหรือวัสดุขนาดเล็กจ๋ิวและมีคุณสมบัติอํ านวยความสะดวกอยางชาญฉลาดกับมนุษยมากยิ่งขึ้น ขณะนี้ทั่วโลกตางมีความกระตือรือรนที่จะนํ าวัสดุในรูปแบบดังกลาวมาใชในชีวิตประจํ าวันมากขึ้นโดยเฉพาะในวงการแพทย สาธารณสุข เพราะวัสดุขนาดเล็กสามารถเขาไปทํ างานในรางกายไดเฉพาะที่และเกิดประโยชนสูงสุดไดมากยิ่งขึ้น แมประเทศไทยจะยังไมสามารถเขาถึงเทคโนโลยีดังกลาวไดอยางเต็มที่ในเวลานี้แตเพื่อการเตรียมความพรอมที่จะรับมือกับนาโนเทคโนโลยี รัฐบาลตองสรางโครงสรางพื้นฐาน สงเสริมและสรางจิตสํ านึกความตองการเรียนรูใหกับประชาชนตั้งแตวันนี้เพราะการเปนผูเช่ียวชาญทางดานวิทยาศาสตรจํ าเปนตองมีการสั่งสมความรู ยิ่งสั่งสมมาก จะยิ่งรูมาก

สวน น.ส.ภาวดี อังควัฒนะ หัวหนาโปรแกรมวิจัยเซรามิก ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ(เอ็มเทค) สํ านักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ(สวทช.) กลาววา นาโนเทคโนโลยีหรือเทคโนโลยีขนาดซูเปอรจ๋ิว เปนเรื่องใหมสํ าหรับคนไทยที่จะทํ าความเขาใจวาคืออะไร มีความสํ าคัญและเกี่ยวของกับชีวิตประจํ าวันอยางไร อยางไรก็ตาม หนวยงานที่เกี่ยวของโดยเฉพาะเอ็มเทคและสถาบันการศึกษาหลายแหงกํ าลังอยูระหวางการสรางความเขาใจในเรื่องนี้ เพราะขณะนี้นาโนเทคโนโลยีเขามาอยูในชีวิตประจํ าวันของคนไทยมากขึ้นแลว อาทิ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสขนาดเล็กที่ติดอยูตามเครื่องมืออํ านวยความสะดวกตางๆ เชนโทรศัพทมือถือ เครื่องใชประจํ าครัวเรือน เชนในผงซักฟอกที่มีโฆษณาวามีอณูขจัดคราบสกปรก เพราะนักวิทยาศาสตรตองทํ าใหผงซักฟอกนั้นมีขนาดเล็กถึงหนึ่งในพันลานสวนเพื่อทํ าใหอณูของผงซักฟอกสามารถซอกซอนลงไปขจัดคราบสกปรกได ซ่ึงการที่นักวิทยาศาสตรพยายามทํ าใหสิ่งของมีขนาดเล็กลงเร่ือยๆเพราะสามารถควบคุมและบังคับใหวัสดุเหลานั้นทํ างานไดตามคํ าสั่งมากขึ้น เพราะเทคโนโลยีตัวนี้ลงไปถึงระดับโมเลกุลของสิ่งนั้นและบอกวาการลงทุนดานนี้ตองใชงบประมาณมหาศาล สิ่งที่ประเทศไทยควรทํ าคือตองเกาะติดสถานการณความกาวหนาดานนี้ตลอดเวลา (มติชน 24,251244)

1.2 เทคโนโลยีชีวภาพ1.2.1 “รอยเตอร” เสนอบทความผลการวิจัยพันธุขาวหอมมะลิของนักวิจัยอเมริกันเพื่อใหสามารถปลูกไดในสหรัฐ

Page 112: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

255

วันที่ 27 ก.ย.2544 สํ านักขาวรอยเตอรไดตีพิมพบทความเกี่ยวกับนักผสมพันธุพืชชาวอเมริกันที่ใกลจะประสบความสํ าเร็จในการพัฒนา ปรับปรุงพันธุขาวหอมมะลิ เร่ิมตนจากการดํ าเนินงานโดย ก.เกษตรของสหรัฐ ในช่ือโครงการวา Stepwise Program ForImprovement of Jasmine Rice for the United State เพื่อพัฒนาพันธุขาวหอมมะลิใหสามารถปลูกในสหรัฐได โครงการนี้เร่ิมดํ าเนินการในป 2542 โดย ดร.เจ นีล รุทเกอร นักปรับปรุงพันธุที่มีช่ือเสียงในดานการฉายรังสีเพื่อชักนํ าใหเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม โดยนํ าเอาพันธุขาวหอมมะลิไปฉายรังสี Bumpers Center จากนั้นนํ าไปปลูกที่เรือนทดลองฤดูหนาวที่ Puerto Rice ของ ก.เกษตรสหรัฐ ซ่ึงการฉายรังสีแกมมาเหนี่ยวนํ าใหขาวหอมมะลิเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม(mutant) ท ําใหไดสายพันธุขาวหอมมะลิ 2 คุณลักษณะคือพันธุที่ไมไวตอแสงและพันธุตนเต้ีย อันเปนคุณสมบัติสํ าคัญที่ทํ าใหสามารถปลูกขาวหอมมะลิในสหรัฐได เพราะเหมาะสมกับลักษณะภูมิอากาศและการใชเครื่องจักรในการเก็บเกี่ยว

จากนั้นจึงนํ าเอาขาวหอมมะลิ 2 สายพันธุที่ไดมาผสมเขาดวยกันเพื่อใหไดพันธุขาวหอมมะลิที่มีคุณสมบัติทั้งสองประการอยูในตนเดียวกัน แตเนื่องจากพันธุขาวหอมมะลิที่ไดจะออกรวงชวงเดือนต.ค.ซ่ึงเปนฤดูหนาวของรัฐอารคันซอส จึงตองนํ ามาทดลองปลูกในรัฐฟลอริดาที่มีอากาศอบอุนมากกวา นักวิจัยที่เขามารับชวงดํ าเนินงานตอคือ ดร.คริส เดเรน โดยนํ าพันธุขาวหอมมะลิฉายรังสีรุนที่สอง(M2) มาปลูกในฤดูรอนในพ.ศ. 2543 และไดเลือกคัดสายพันธุที่ตองการ ทั้งนี้ในฤดูใบไมรวงปเดียวกัน ดร.เดเรนไดคัดเลือกตัวอยางขาวหอมมะลิตนเตี้ย 25 ตัวอยาง และตัวอยางขาวหอมมะลิที่ออกรวงเร็วอีก 25 ตัวอยาง พรอมกันนี้ไดผสมพันธุขาวหอมมะลิที่ไดเขากับพันธุจัสมิน 85 อีกดวย ซ่ึงขาวลูกผสมที่ไดคัดเลือกแลวไดถูกสงตอไปยังมหาวิทยาลัยอารคันซอสเพื่อปลูกทดสอบและคัดเลือกตอโดยมี ดร.เจมสกิบบอนส ซ่ึงมีความตองการที่จะพัฒนาพันธุขาวหอมมะลิใหมีคุณสมบัติครบถวนทั้งความหอม และคุณภาพของเมล็ด เปนผูรับผิดชอบ ผลการวิจัยคาดวาขาวหอมมะลิที่ไดรับการปรับปรุงพันธุจะไดรับการสงเสริมใหปลูกอยางแพรหลายในสหรัฐ ซ่ึงยอมสงผลกระทบตอตลาดขาวหอมมะลิของไทยในสหรัฐ เพราะขอไดเปรียบที่ประเทศไทยมีขาวคุณภาพดีจะหมดไปและขาวหอมมะลิจะคอยๆถูกเบียดจนหมดไปจากตลาดสหรัฐ ทั้งนี้ ชวงพ.ศ.2530-2540 ไทยสงออกขาวหอมมะลิไปสหรัฐสูงถึงประมาณ 200,000 ตันตอป และในชวงสองปที่ผานมา ตลาดขาวหอมมะลิไทยในสหรัฐไดขยายขึ้นเปน 300,000-400,000 ตันตอป ซ่ึงหากสหรัฐสามารถปลูกขาวหอมมะลิไดเองแลว นั่นหมายถึงรายไดที่ไดจากการสงออกขาวหอมมะลิของไทยตองหายไปเปนจํ านวนมหาศาล การสูญเสียตลาดขาวหอมมะลิแมเพียงบางสวนก็จะสงผลทํ าใหราคาขาวหอมมะลิต่ํ าลง รวมทั้งยังพลอยฉุดใหราคาขาวโดยรวมตกตํ่ าลงพรอมๆกันไปดวย และผูที่จะไดรับความเสียหายมากที่สุดก็คือชาวนาทุงกุลารองไห เนื่องจากยังมีผลผลิตตอไรในพื้นที่คอนขางตํ่ า แตที่ยังอยูไดเนื่องจากราคาที่คอนขางสูงของขาวหอมมะลิ แตหากราคาขาวหอมมะลิต่ํ าลงชาวนาอาจเลิกปลูกไปเลยก็ได ยิ่งไปกวานั้น หากพันธุขาวหอมมะลิที่ปรับปรุงใหมไดรับการจดสิทธิบัตรตามกฎหมายสิทธิบัตรของสหรัฐ แสดงวาหากผูใดจะใชพันธุขาวหอมมะลิพันธุใหมจะตองไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ทั้งๆที่เปนการพัฒนามาจากมรดกพันธุกรรมที่ชาวนาไทยไดอนุรักษและพัฒนามานานนับรอยป (มติชน 06,18,19,251044,ผูจัดการ17,20-21,231044,กรุงเทพธุรกิจ 18, 19,221044)

1.2.2 ไบโอเทครวมกับม.เกษตร ตั้งหองปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยีและหนวยปฏิบัติการคนหาและใชประโยชนยีนขาว และเปดเผยผลการปรับปรุงขาวพันธุใหมของไทย

ดร.มรกต ตันติเจริญ ผูอํ านวยการศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแหงชาติ (ไบโอเทค) กลาววาสํ านักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ(สวทช.) โดยศูนยไบโอเทค ไดลงนามความรวมมือกับศ.ดร.ธีระ สูตะบุตร อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในการจัดตั้งโครงการ 2 โครงการคือ 1) โครงการจัดตั้งหองปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี (DNA Technology) เพื่อดํ าเนินการคนควาวิจัยและพัฒนาการตรวจสอบความถูกตองและความบริสุทธิ์ของสายพันธุหรือการตรวจหาดีเอ็นเอ มีบทบาทในการตรวจสอบอาหาร สินคาเกษตรเชนการตรวจสอบการปนเปอนของหมูในอาหารมุสลิม การตรวจสอบสินคาจีเอ็มโอ และ 2) โครงการหนวยปฏิบัติการคนหาและใชประโยชนยีนขาว มีบทบาทในการคนหายีนขาวปา ขาวพันธุพื้นเมืองของไทย โดยการประยุกตใชขอมูลลํ าดับเบสของยีนและจีโนม เพื่อปรับปรุงพันธุและศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของขาวในอนาคต มีจุดมุงหมายเพื่อสรางความเขมแข็งใหกับการศึกษาวิจัยขาว เพื่อเตรียมรับมือกับการคนพบยีนใหมของนักวิจัยตางประเทศ ซ่ึงอาจนํ าไปสูการจดสิทธิบัตรผูกขาดไดในอนาคตและเปนไปไดที่สหรัฐจะสามารถทํ าไดดีกวาขาวหอมไทย และบางรัฐมีภูมิอากาศคลายประเทศไทย ทั้งสองโครงการมีการลงทุนรวมกันจํ านวน 70 ลานบาท

นอกจากนี้ ไบโอเทคยังไดปรับปรุงขาวพันธุใหมออกมา 2 พันธุ คือขาวจาวหอมนิล พัฒนามาจากแมพันธุขาวจากประเทศจีน มีเมล็ดคอนขางใหญ สีมวง เมื่อนํ าไปหุงจะไดขาวหอมนุมมีคุณคาทางอาหารโดยเฉพาะโปรตีนสูงกวาขาวปกติโดยทั่วไป ขณะนี้บริษัทขาวเพื่อนไทยไดลิขสิทธิ์ไปปลูกและลงมือปลูกแลวกวา 100 ตัน อีกพันธุหนึ่งคือ พันธุดับเบิลแฮพพลอยซึ่งจะเปดตัวในวันที่ 7-11 พ.ย.2544 เปนขาวลูกผสมระหวางขาวหอมนิลและขาวหอมมะลิ ใชเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาใชในการคัดเลือกพันธุ ทํ าใหขาวมีคุณสมบัติพิเศษคือเมล็ดหอม มีแรธาตุและโปรตีนสูงกวาขาวทุกชนิด มีสีมวงออน ๆ มีกลิ่นหอมกวา นุมกวา และคุณสมบัติในการหุงดีกวา

Page 113: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

256

นายอภิชาติ วรรณวิจิตร หัวหนาโครงการศึกษาจีโนมขาวในประเทศไทย และผูอํ านวยการโครงการจัดตั้งหนวยปฏิบัติการคนหาและใชประโยชนยีนขาว เปดเผยวาในอนาคตการศึกษาวิจัยจะไปถึงขั้นแลกเปลี่ยนยีนขาวแทนการนํ าเมล็ดพันธุออกไป เพราะมีหลายประเทศที่ศึกษายีนพิเศษในขาวไมวาจะเปนความหอม ทนแลง ยีนปองกันนํ้ าทวม ยีนคุณภาพการหุง ซ่ึงกํ าลังแขงขันกันอยางหนัก ดังนั้นหนวยปฏิบัติการฯที่จัดตั้งขึ้นจะเปนชองทางหนึ่งที่นักวิจัยไทยจะไดศึกษาวิจัยไดเทาทันตางชาติ และกลาวเพิ่มเติมวา ขณะนี้ปญหาสิทธิบัตรพันธุขาวยังไมนากลัวเทากับเรื่องของการจดสิทธิบัตรยีนขาว ซ่ึงขณะนี้มีอยู 5 ประเทศที่แขงขันกันทํ าวิจัยในเรื่องนี้คือ ไทย สหรัฐ ญี่ปุน ฝร่ังเศสและออสเตรเลีย เนื่องจากหากมีการจดสิทธิบัตรยีนที่คนพบจะทํ าใหเราไมสามารถสงออกขาวที่มียีนตรงกับที่ไดมีการจดสิทธิบัตรไวไดเลย แตยังไมมีประเทศใดสามารถคนพบและจดสิทธิบัตรได สํ าหรับประเทศไทยคาดวาหนวยปฏิบัติการซ่ึงไดทุนจากไบโอเทค 12 ลานบาทในการดํ าเนินการเรื่องนี้จะสามารถวิจัยคนพบในเรื่องของยีนขาวไมวาจะเปนเรื่องของยีนความหอมหรือยีนคุณภาพหุงตมไดกอนเดือนส.ค.2545 (มติชน191044,กรุงเทพธุรกิจ 19,221044,ผูจัดการ 20-211044)

1.2.3 หมอไทยหนุนสหรัฐวิจัยเรื่องโคลนนิงตัวออนมนุษยเพื่อการรักษาทางการแพทย เหตุผลคือเซลลมนุษยหากไมเกนิ 14 วนัทางวิทยาศาสตรยังไมถือวาเปนมนุษย แตถาโคลนนิงมนุษยแลวไมเห็นดวยอยางแนนอน

สถาบันวิจัยและการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหิดล ไดจัดประชุมวิชาการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในหัวขอเรื่อง “วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต “ ในงานดังกลาว พ.ต.อ.นพ.จงเจตน อาวเจนพงษ หัวหนาฝายสูตินารีเวช โรงพยาบาลตํ ารวจกลาวถึงการวิจัยของแพทยชาวอเมริกันเกี่ยวกับ Therapeutic cloning หรือการโคลนนิงตัวออนเพื่อการรักษาทางการแพทย วาไมนาจะมีปญหาดานจริยธรรม เพราะสิ่งที่นักวิจัยสหรัฐพยายามทํ าคือการโคลนนิงเซลลเพื่อใชทางการแพทย สรางอะไหลทดแทนใหกับมนุษย ไมไดสรางตัวออน นอกจากนี้ในระยะของการสรางเซลลหากไมเกิน 14 วัน ทางวิทยาศาสตรยังไมถือวาเปนมนุษย ดังนั้นก็ไมนาจะถือวาเปนปญหาทางดานจริยธรรม อีกทั้งกฎหมายในประเทศอังกฤษก็เปดโอกาสใหสามารถโคลนนิงเซลลแตจะตองไมโคลนนิงมนุษยและตัวออนที่มีอายุไมเกิน 147 วัน พรอมทั้งจะตองไมนํ าตัวออนกลับไปยังครรภมารดาอีก จึงเปนสิ่งที่นาจะสามารถทํ าไดสํ าหรับนักวิจัยสหรัฐนั้นขณะนี้ก็ทํ าการวิจัยเพื่อการแพทยนั่นคือการโคลนนิงเซลลเพื่อสรางกลามเนื้อหัวใจในขั้นการทดลองในหนูโดยคาดวาอีกไมนาน นักวิทยาศาสตรคงจะสามารถสรางอวัยวะตางๆ เพื่อใชในมนุษยใหได คิดวานาจะเปนประโยชนกับวงการแพทยไดมากขึ้น พ.ต.อ.นพ.จงเจตน แสดงความเห็นเกี่ยวกับการโคลนนิงมนุษยวาไมเห็นดวยอยูแลวประการแรกคือเทคโนโลยีดังกลาวยังไมมีความปลอดภัยเพียงพอ เพราะยังมีความเสี่ยงในเรื่องอัตรารอดของตัวออน ประการที่สองคือความกังวลของสังคมในเรื่องของจริยธรรมและยังไมพรอมที่จะรับเทคโนโลยีดังกลาวอีกดวย (กรุงเทพธุรกิจ 011244,มติชน 021244)

1.2.4 ก.สาธารณสุข แพทยสภา และองคการอนามัยโลก รวมกันรางแนวทางการวิจัยเพื่อควบคุมปญหาทางดานจริยธรรมในการทํ างานวิจัยในมนุษย

ในงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับชาติ "เร่ืองแนวทางจริยธรรมการทํ าวิจัยในคนแหงชาติไทย” ศ.นพ.อเนก อารีพรรค ประธานชมรมจริยธรรมการวิจัยในคนในประเทศไทย ไดกลาวถึงการควบคุมดานจริยธรรมในการวิจัยในคนวา จากการที่มีการทดลองวิจัยในคนคอนขางมากทั้งในเรื่องยา อาทิ ยารักษาโรคเอดส และโรคมะเร็งที่มีบริษัทตางประเทศเขามาทดสอบกับคนไทย เร่ืองที่เกี่ยวของกับพันธุกรรมมนุษย เชน การโคลนนิงหรือการวิจัยเพื่อชวยเรื่องการเจริญพันธุ การวิจัยเรื่องเนื้อเยื่อ และที่ผานมาแนวทางการควบคุมดานจริยธรรมยังไมมีความชัดเจน เปนธรรม และปลอดภัยเพียงพอกับอาสาสมัคร ทํ าใหจํ าเปนตองมีแนวทางในการควบคุมการวิจัยทางดานจริยธรรมมากขึ้นเพื่อใหเกิดความเปนธรรมกับอาสาสมัครที่เขามารับการวิจัย

ขณะนี้ ก.สาธารณสุข แพทยสภา และองคการอนามัยโลก ไดรางแนวทางการวิจัยเพื่อควบคุมปญหาทางดานจริยธรรมอยางเครงครัด กลาวคือ สถาบันวิจัยตางๆจะตองมีคณะกรรมการควบคุมทางดานจริยธรรมและหากมีการวิจัยในคนจะตองผานคณะกรรมการควบคุมดานจริยธรรมกอน โดยขณะนี้กํ าลังจะมีการตั้งคณะกรรมการควบคุมการวิจัยขึ้น ทั้งนี้แนวทางในการควบคุมจริยธรรมในการวิจัยในมนุษย หรือการวิจัยที่เกี่ยวของกับคนจะตองสอดคลองกับมาตรฐานสากลวาดวย Good Clinical Practice : GCP ที่ใหความสํ าคัญในเรื่องการคุมครองสิทธิ ศักด์ิศรี ความปลอดภัย และความเปนอยูของอาสาสมัครและผูปวยที่เขารวมการวิจัย โดยจะตองมีการประเมินความเสี่ยงอันตราย และอาสาสมัครจะตองรับรูขอมูลและตัดสินใจดวยตนเองในการอาสาสมัครวิจัย ตัวอยางเชน การวิจัยเกี่ยวกับเนื้อเยื่อมนุษยเนื้อเยื่อที่ถูกออกจากรางกายมนุษยจะตองไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากเจาของเนื้อเยื่อและผูถือสิทธิศพโดยชอบตามกฎหมาย และจะตองใหขอมูลอยางละเอียดแกผูบริจาค นอกจากนี้รางดังกลาวจะควบคุมในเรื่องการทํ าวิจัยกับพันธุกรรม ผูทํ าวิจัยและคณะกรรมการวิจัยตองมั่นใจในการเก็บรักษาความลับ และผลการทดลองทางพันธุกรรม ไมใหบุคคลอื่น ๆ เชน นายจาง หรือบริษัทประกันภัยทราบผลการทดลอง และหามการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางยีน การตัดตอยีนของเซลลตัวออน หรือเซลลสืบพันธุของมนุษย ยกเวนการรักษายีนจะพิจารณาเปนกรณี ๆ ไป

Page 114: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

257

ทั้งนี้ การวิจัยเกี่ยวกับเซลลสืบพันธุ ตัวออน และทารกในครรภ จะตองไมทํ าวิจัยที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงเซลลสืบพันธุและจะสามารถอนุญาตใหมีการศึกษาวิจัยในเซลลตัวออนไดภายในระยะเวลา 14 วัน จากการมีปฏิสนธิ และหามโคลนนิงมนุษยหรือกรณีการใหมีปฏิสนธิเซลลสืบพันธุมนุษยกับสัตวสายพันธุอื่นๆ ศ.นพ.อเนก กลาววา แนวทางในการควบคุมจริยธรรมในการวิจัยเมื่อเสร็จสิ้นสมบูรณแลวจะเสนอใหกับหนวยงานที่มีการวิจัยทั้งหมดยึดถือปฏิบัติ นอกจากนี้ เพื่อใหสามารถควบคุมนักวิจัยจากสาขาอื่น ๆ ที่ไมใชแพทย จะผลักดันแนวทางดังกลาวใหยกระดับเปนกฎหมาย เพราะปจจุบันกฎหมายที่ควบคุมจริยธรรมในการวิจัยทั้งในเรื่องโคลนนิงและการวิจัยเนื้อเยื่อของมนุษยยังไมมี ขณะที่เทคโนโลยีทางดานนี้กาวหนามากขึ้นเปนลํ าดับ (กรุงเทพธุรกิจ 041244)

1.3 เทคโนโลยีการส่ือสาร1.3.1 โครงการอินเทอรเน็ตตํ าบล เพื่อสรางความเทาเทียมกันดานขาวสารของคนไทยวันที่ 25 ต.ค.2544 พ.ต.ท.ทักษิณ ขินวัตร นายกฯ เปนประธานในพิธีเปดโครงการอินเทอรเน็ตตํ าบล ที่องคการบริหารสวนตํ าบล

บางกะดี อ.เมืองฯ จ.ปทุมธานี ซ่ึงเปนโครงการรวมมือกันระหวาง กรมการปกครอง ก.มหาดไทย กับองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย โดยกรมการปกครองมีบทบาทในการวางระบบขอมูลและพัฒนาเว็บไซตตํ าบล แลวทํ าการเชื่อมโยงเขาสูเครือขายการสื่อสารผาน IPNETWORK ขององคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ผานเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ตในเว็บไซต “คนไทยดอทคอม” (www.khonthai.com) ซ่ึงเปนเว็บไซตที่เช่ือมโยงขอมูลกับกรมการปกครอง โดยขยายการใชงานอินเทอรเน็ตไปสูระดับตํ าบล นายอภัย จันทนจุลกะ อธิบดีกรมการปกครองไดกลาวถึงการดํ าเนินงานวา ทางรัฐบาลไดใหก.มหาดไทยจัดหาเครื่องมือใหกับองคการบริหารสวนตํ าบลซ่ึงตอนนี้มีอยู 6,745 แหงใหมีเครื่องมือเหลานี้ไปใชในราชการ ในปงบประมาณ 2544 จัดซ้ือตามงบประมาณได 1,000 เครื่อง ถาทํ าสํ าเร็จประชาชนก็สามารถเรียกดูขอมูลไดทั้งดานผลิตผลการเกษตร การปกครองและขอมูลอื่นๆ อันจะเปนการอํ านวยความสะดวกใหกับประชาชน นักธุรกิจและสวนราชการตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งขอมูลในการพัฒนาประเทศ พัฒนาเศรษฐกิจ ซ่ึงกรมการปกครองมีศักยภาพในเรื่องนี้ เพราะไดใหบริการประชาชนดานทะเบียนและบัตรมาแลว บุคลากรในเรื่องของโปรแกรมเมอรและนักวิเคราะหระบบก็คอนขางพรอม เพียงแตขาดอุปกรณเทานั้น ในสวนนี้ก็มีความรวมมือกับเนคเทค กรมประชาสัมพันธและหนวยงานอื่นๆ โดยทุกฝายสามารถเชื่อมโยงถึงกันได ยกตัวอยางเชนอบต.สามารถเอาขาวของกรมการปกครองหรือขาวจากกรมประชาสัมพันธไปเผยแพรกระจายไปสูประชาชนได หรือถา อบต.ไหนพรอมก็สามารถเชื่อมโยงเปนอินเทอรเน็ตคาเฟได ซ่ึงขึ้นกับอบต.วาจะนํ าไปใชไดอยางไร นายปรีชา พรพิสิฏธโชค หัวหนาฝายสารสนเทศ กรมการปกครอง กลาววา ในสวนของงบประมาณปแรก 2544 ไดจัดสรรใหอบต. 1,000 แหงกอนโดยใหคอมพิวเตอรไป 1 ชุดพรอมอุปกรณ เครื่องสแกนเนอร ปร๊ินเตอร และโมเด็มที่จะติดตอแลว และจากการรวมมือกับองคการโทรศัพท ไดจัดทํ าคูสายพันกวาแหงในป 2544 แตก็จะมีโครงการตอไปใหครบ 6,745 แหง ขณะนี้มีการตอเช่ือมโยงระบบงานทาง อบต. อินเทอรเน็ตหรือเครือขายของกรมการปกครองจะเชื่อมโยงกันหมดโดยมีศูนยกลางอยูที่นางเลิ้ง

นอกจากองคกรทองถิ่นจะใชระบบอินเทอรเน็ตในการบริหารงานแลว ประโยชนที่ประชาชนจะไดรับจากโครงการนี้ ไดแก มีความรูเกี่ยวกับอินเทอรเน็ต ไดรับรูขาวสารมากขึ้น รายไดของประชาชนเพิ่มมากขึ้น ไดรับการบริการจัดการในทองถิ่นที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เปนตน อยางไรก็ตาม โครงการดังกลาวเพิ่งอยูในระยะเริ่มตน ยังตองอาศัยระยะเวลาและความรวมมือจากหลาย ๆ ฝายโดยเฉพาะในทองถิ่นที่หางไกลความเจริญซ่ึงคอนขางจะมีปญหาในดานการเชื่อมโยงระบบอินเทอรเน็ตผานสายโทรศัพทเพราะ อบต. 6,745 แหงยังมีไมครบถวน จึงสามารถใหบริการไดเฉพาะในพื้นที่ ๆ มีความพรอมซ่ึงตองอาศัยความรวมมือกับองคการโทรศัพทในการแกไขปญหารวมทั้งปญหาในดานอื่นๆ เชน บุคลากรที่อบต. ซ่ึงแตละแหงมีศักยภาพไมเทาเทียมกันในการใหความรูดานอินเทอรเน็ตแกประชาชน จึงตองมีการอบรมผูนํ าอบต.เพื่อใหนํ าไปเผยแพรแกประชาชน รวมทั้งตองมีการประเมินผลดวยวาแตละอบต.มีการพัฒนาไปมากนอยเพียงใด(พิมพไทย 261044)

1.3.2 เยาวชนไทยยังม่ีความเสี่ยงสูงตอการใชอินเทอรเน็ตจากคนชั่วรายที่แฝงตัวเขามา พอแมควรดูแลการเลนอินเทอรเน็ตของเด็กในปกครอง

คร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล ผูอํ านวยการ สํ านักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ กลาวถึงภัยที่เกิดจากการใชอินเทอรเน็ตในกลุมเยาวนชนไทยวา เยาวชนไทยยังคงมีความเสี่ยงสูงกับรูปแบบตาง ๆ ที่ใหบริการออนไลนทางอินเทอรเน็ต ทั้งการขอใหกรอกขอมูลสวนตัวในแบบฟอรม หรือความบังเอิญที่พลัดหลงเขาไปในเว็บไซตหองสนทนา (Chat room)หรือกลุมขาว (Newsgroup) ที่มีเนื้อหาไมเหมาะสม อันไดแก เร่ืองลามกทางเพศ เนื้อหาปาเถื่อนรุนแรง ยาเสพติด และสิ่งผิดกฎหมาย การพนันตางๆ รวมทั้งความเสี่ยงตอการนํ าภัยมาสูตนเองทั้งทางตรงและทางออม เชนการพูดคุยหรือนัดพบคนแปลกหนา หรือทํ าใหเด็กกลาที่จะพูดเท็จ การโดนทํ าราย หรือรบกวนจากคนหรือขอความบนอินเทอรเน็ต เพราะในการออนไลนแตละครั้งเยาวชนอาจไดรับอีเมลโฆษณาขายสินคาเมื่อหลงเชื่อและสั่งซ้ือสินคาดวยการกรอกแบบฟอรมใหขอมูลของครอบครัว บอกหมายเลขบัตรเครดิตของผูปกครองออกไป ซ่ึงอาจมีคนสงอีเมลเร่ืองสวนตัวของเด็ก

Page 115: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

258

ไปยังกลุมขาวหรือสงไปใหคนหมูมากอาน ทํ าใหเด็กไดรับความอับอายหรือเสียหายได บางครั้งเด็กอาจไดรับอีเมลที่มีเนื้อหาขมขู มีภาษาหยาบคาย หรือแมกระทั่งอีเมลลูกโซที่มีเนื้อหาบอกใหโอนเงินจํ านวนหนึ่งเพื่อชวยเหลือเด็กวัยเดียวกันที่ปวยเปนโรคลูคิวเมีย ซ่ึงหากไมสงจดหมายไปใหเพื่อนสนิทอีก 20 คนแลวเด็กอาจไดรับเคราะหกรรมถึงชีวิต ทํ าใหเด็กที่รับอีเมลเกิดความวิตกกังวล หวาดกลัว เปนตน

ดร.ชฎามาศ แนะนํ าวา เยาวชนไทยที่เลนอินเทอรเน็ตตองตระหนักไวเสมอวาอินเทอรเน็ตก็เหมือนสังคมอื่นๆที่มีวายรายจํ านวนมากแอบซอนอยู ไมควรหลงเชื่อกับขอความตางๆ ที่ผิดปกติ วิธีที่ดีที่สุดเมื่อพบสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นควรแจงใหผูปกครองหรือเจาของเว็บไซตใหทราบทันที ผูปกครองนับเปนปจจัยสํ าคัญเบื้องตนที่จะปกปองเด็กจากภัยอินเทอรเน็ต ทั้งนี้ สามารถกระทํ าไดโดยใหความสนใจกับการเลนอินเทอรเน็ตของเด็ก ทํ าความเขาใจและใหคํ าแนะนํ าในการใชงานอินเทอรเน็ต เชน เวลา หรือจํ านวนชั่วโมงที่ใช ประเภทของเว็บไซต ที่เชาชม หรือกิจกรรมทางอินเทอรเน็ตที่เขารวมได และที่สํ าคัญควรวางเครื่องคอมพิวเตอรไวในที่เปดเผย เชน หองนั่งเลน (ผูจัดการ 031244)

1.4 ดานการวิจัย1.4.1 ความเคลื่อนไหวของ “วช.”เกี่ยวกับงานวิจัย- “วช.” มอบทุนวิจัยสารสกัดจากแมงลักคา แนวทางหนึ่งของการใชสารปองกันและกํ าจัดแมลงศัตรูพืชจากธรรมชาติสํ านักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ(วช.) มอบทุนอุดหนุนการวิจัยแกนายทวีศักด์ิ สุนทรธนศาสตรและคณะ จากฝายเภสัชและ

ผลิตภัณฑธรรมชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วท.) ทํ าการวิจัยเรื่องการศึกษาองคประกอบและทดสอบผลการปองกันกํ าจัดเพลี้ยออนในพริกและหนอนรังหอใบมะมวงของสารสกัดจากตนแมงลักคา เพื่อหาความเขมขนและหาระยะเวลาที่ทํ าใหเพลี้ยออนพริกและหนอนรังหอใบมะมวงตายรอยละ 50 โดยใชสารสกัดจากตนแมงลักคา ผลการวิจัยพบวานํ้ ามันระเหยที่สกัดจากตนแมงลักคาโดยใชไอนํ้ ากลั่นที่ความเขมขน 150 พีพีเอ็ม (150 สวนในลานลานสวน) สามารถทํ าใหเพลี้ยออนพริกตายเกินกวารอยละ 50 ภายในเวลา1 ช่ัวโมง แตหากใชสารสกัดแมงลักคาสกัดซ้ํ าดวยปโตรเลียมอีเธอรซ่ึงเปนการสกัดซ้ํ าโดยแยกนํ้ ากับนํ้ ามันหอมระเหยออกไป จะทํ าใหเพลี้ยออนตายมากกวาการสกัดดวยไอนํ้ าถึง 1.64 เทา ในเวลาที่นอยกวา 1 ช่ัวโมง และเมื่อใชสารสกัดแมงลักคาดวยไอนํ้ ากํ าจัดหนอนรังหอใบมะมวงเขียวเสวย พบวาหนอนรังตายรอยละ 50 ภายในเวลา 07.68 ช่ัวโมง ขณะที่แมงลักคาสกัดซ้ํ าดวยปโตรเลียมอีเธอรจะใชเวลานอยกวาแสดงวาสารแมงลักคาสกัดซ้ํ าดวยปโตรเลียมอีเธอรมีพิษมากกวาและออกฤทธิ์เร็วกวาสารสกัดแมงลักคาดวยไอนํ้ าและพบพิษตอเพลี้ยออนพริกมากกวาหนอนรังหอใบมะมวง การใชสารสกัดแมงลักคาจึงเปนอีกแนวทางหนึ่งของการใชสารปองกันและกํ าจัดแมลงศัตรูพืชจากธรรมชาติที่ไดผลอยางดีและไมทํ าลายสภาพแวดลอม (มติชน 20,251144,)

- โครงการวิจัยเกี่ยวกับ “หญาแฝก” ของ “วช.” บรรลุผล สามารถใชผลิตเปนวัสดุทดแทนไมและผลิตภัณฑรูปแบบตางๆ ได เรงดํ าเนินการยื่นขอจดสิทธิบัตร

นายจิรพันธ อรรถจินดา เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ เปดเผยวา สํ านักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)ใหทุนอุดหนุนการวิจัยโครงการการพัฒนาผลิตภัณฑแผนประกอบหญาแฝกกันปลวก ภายใตโครงการวิจัยและพัฒนาปฏิสัมพันธของหญาแฝกกับปลวก เพื่อสนองพระราชดํ าริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว แกนายทรงกลด จารุสมบัติ คณะวนศาสตร ม.เกษตรฯ และคณะผูรวมวิจัยจากกรมปาไม ซ่ึง ดร.จารุณี วงศขาหลวง นักวิจัยกรมปาไม กลาวเพิ่มเติมวา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มีพระราชกระแสรับสั่งวาพื้นที่ที่ปลูกแฝกจะพบปลวกนอยใหทํ าการศึกษา ซ่ึงผลการศึกษาพบวาในรากของหญาแฝกจะมีสารนูทกาโทน(nootkatone) ซ่ึงเมื่อสกัดออกมาและนํ าไปทดลองกับปลวกที่ความเขมขนตํ่ าพบวาปลวกจะกินอาหารลดลง เมื่อเพิ่มใหมีความเขมขนสามารถฆาปลวกได ทํ าใหสามารถพัฒนาเปนผลิตภัณฑจํ ากัดปลวกและพิจารณาใชเปนนํ้ าเพื่อทาไมหรืออัดเขาไปในเนื้อไมได นอกจากนี้ ตนหญาแฝกเมื่อปลูกไปประมาณ 6เดือนใบหญาจะยาวมากตองตัดออกเพื่อใหตนแฝกเจริญเติบโตตอไปได โครงการฯ จึงนํ ามาทํ าเปนแผนประกอบหญาแฝกใชทดแทนไม ซ่ึงพบวามีคุณสมบัติความแข็งแรงเทียบเทามาตรฐานไมอัดของญี่ปุน จากนั้นไดนํ ามาทดสอบความทนทาน ผลการทดลองเบื้องตนพบวาปลวกยังกินอยูแตกินนอยกวาไมอัดทั่วไป ซ่ึงเปนเรื่องที่นาสนใจในการพัฒนาตอไป

นายวรธรรม อุนจิตตติชัย นักวิจัยกรมปาไมบอกวาแผนประกอบจากหญาแฝกมีความแข็งแรงทนทานเทากับไมธรรมชาติ แข็งแรงกวาไมแปรรูปเชน ไมอัด แตมีตนทุนการผลิตถูกกวาไมแปรรูปรอยละ 30 สํ าหรับขั้นตอนการผลิตแผนประกอบจากหญาแฝกจะตัดใบหญาแฝกมาตากแหงแลวผสมกับกาว เขาเครื่องจักรใหความรอนอัดขึ้นรูปเปนไม และยังสามารถประยุกตนํ าวัสดุการเกษตรพื้นบานมาผสม เชนใยกากมะพราว เศษไมยูคาลิปตัส เปลือกไมทุเรียน สวนการวิจัยขั้นตอไปจะพัฒนาผลิตภัณฑจากหญาแฝกมาทดแทนไฟเบอรกลาสและฉนวนกันความรอน ประชาชนที่สนใจ คณะวิจัยจะจัดการฝกอบรมและถายทอดเทคโนโลยีการผลิตแผนประกอบหญาแฝกใหแกเกษตรกรประชาคมทองถิ่น องคการบริหารสวนตํ าบล และหากจะผลิตเปนอุตสาหกรรมจะตองลงทุนซ้ือเครื่องจักรเพื่อใชอัดแผนประกอบหญาแฝกราคาประมาณ 700,000 บาท

Page 116: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

259

นายจิรพันธ อรรถจินดา กลาวเพิ่มเติมวาผลการวิจัยโครงการดังกลาว สรุปไดวาสามารถนํ าหญาแฝกมาผลิตเปนวัสดุทดแทนไมและพัฒนาเปนผลิตภัณฑรูปแบบตาง ๆ เชน โตะ เกาอี้ กลอง ช้ันอเนกประสงค ได ดังนั้น จึงเรงดํ าเนินการจดสิทธิบัตรกรรมวิธีการผลิตแผนประกอบจากหญาแฝกเปนวัสดุทดแทนไม เพื่อปองกันมิใหมีผูชิงเอาไปจดสิทธิบัตรกอน คาดวาจะใชเวลา 1 ป ในการจด และนักวิจัยจะนํ ากรรมสิทธิ์ในสิทธิบัตรขึ้นทูลเกลาฯถวายแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวตอไป แตจากการที่มีขั้นตอนที่ตองไปตรวจสอบใชเวลานาน จึงอาจขอจดเปนอนุสิทธิบัตร ซ่ึงใชเวลาประมาณ 6 เดือน และช้ีแจงวาการทดลองภาคสนามยังมีนอยตองทดลองทํ าเปนสิ่งปลูกสรางบานและถายทอดเทคโนโลยีการทํ าผลิตภัณฑจากหญาแฝกใหกับประชาชนตอไป (ผูจัดการ,พิมพไทย 211144,มติชน 231144)

1.4.2 “สวทช.” พัฒนาเซลลแสงอาทิตย เปนพลังงานทางเลือก เปาหมายใหเปนอุตสาหกรรมใหมของประเทศนายพอพนธ สิชฌนุกฤกษ หัวหนาโครงการวิจัยและพัฒนาเซลลแสงอาทิตยที่เหมาะกับภูมิอากาศเขตรอนช้ืน สํ านักงานพัฒนา

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ(สวทช.) เปดเผยวา ขณะนี้กํ าลังวิจัยและพัฒนาเซลลแสงอาทิตยที่เหมาะกับภูมิอากาศเขตรอนช้ือหรือเซลลแสงอาทิตยชนิดใหมลาสุดที่มีตนทุนในการผลิตตํ่ า โดยโครงการไดรับการสนับสนุนงบประมาณในการจัดซ้ือเครื่องจักรและอุปกรณที่ใชในกระบวนการสรางเซลลแสงอาทิตยจากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน สํ านักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ(สพช.)และไดเร่ิมดํ าเนินการมาตั้งแตป 2524 วา รวมกับบริษัทในประเทศสหรัฐออกแบบเครื่องจักรหลักที่ใชในการสรางเซลลแสงอาทิตยและไดทํ าการติดตั้งสายการผลิตเชิงสาธิตแลวภายในโรงงานตนแบบที่อุทยานวิทยาศาสตร รังสิต ปจจุบันสามารถพัฒนาเซลลแสงอาทิตยที่มีประสิทธิภาพประมาณรอยละ 7 นายพอพนธ บอกวา ไดต้ังเปาวาภายในป 2545 โครงการวิจัยจะพัฒนาประสิทธิภาพการทํ างานของเซลลแสงอาทิตยชนิดนี้ใหไดถึงรอยละ 10 สํ าหรับแผงเซลลแสงอาทิตยจะพัฒนาใหไดอีกรอยละ 8 และประมาณปลายป 2545 จะสามารถเริ่มผลิตเชิงสาธิตขนาดกํ าลังผลิต 30 กิโลวัตตตอป

ไมแตเทานี้ ยังมีเปาหมายที่จะผลักดันใหเกิดอุตสาหกรรมใหมของประเทศคืออุตสาหกรรมการผลิตเซลลแสงอาทิตย ซ่ึงนอกจากจะชวยลดการนํ าเขาเซลลแสงอาทิตยจากตางประเทศแลว ยังเปนการสรางงานใหกับประชาชนและรายไดใหกับประเทศ รวมทั้งลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากตางประเทศและเปนการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน เนื่องจากในอนาคตเซลลแสงอาทิตยจะเปนทางเลือกหนึ่งที่นาจะนํ ามาพิจารณาเพื่อทดแทนการผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงฟอสซิลเพราะเปนพลังงานสะอาด ทั้งนี้ทางสวทช.จะทดสอบการใชงานแผงเซลลแสงอาทิตยที่พัฒนาไดในสถานที่จริงและนํ าผลการทดสอบที่ไดมาปรับปรุงใหแผงเซลลแสงอาทิตยมีประสิทธิภาพการทํ างานสูงขึ้นกอนที่จะถายทอดเทคโนโลยีใหกับภาคเอกชน นอกจากนี้ คณะกรรมาธิการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร ยังมีมติใหสวทช.ประสานความรวมมือกับกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน(พพ.)นํ าแผงเซลลแสงอาทิตยที่พัฒนาไดไปติดตั้งเพื่อใชในการผลิตไฟฟาใหกับสถานีอนามัยชนบทที่การไฟฟาสวนภูมิภาคยังขยายเขตเขาไปไมถึงในพื้นที่ตาง ๆ 12 แหง และรวมกับกรมโยธาธิการนํ าแผงเซลลแสงอาทิตยดังกลาวไปติดตั้งกับระบบสูบนํ้ าในพื้นที่ชนบทอีก 3 แหงดวย (มติชน 281144)

2. ความเคลื่อนไหวดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในตางประเทศ2.1 เทคโนโลยีชีวภาพ2.1.1 บรษิัทเทคโนฯชีวภาพสหรัฐประกาศความสํ าเร็จในการโคลนนิงมนุษย แตไดรับการวิจารณวาอยูในขั้นใกลเคียง

กบัไข ที่ไดรับการผสมแลวเทานั้นวันที่ 25 พ.ย.2544 ขาวคราวเกี่ยวกับการโคลนนิงมนุษยเปนที่ฮือฮาขึ้นมาอีกครั้งเมื่อดร.ไมเคิล เวสต ประธานบริษัทแอดวานซ

เซลล เทคโนโลยี(ACT) ประกาศวานักวิทยาศาสตรของบริษัทฯประสบความสํ าเร็จในการโคลนนิงตัวออนมนุษยเปนครั้งแรก โดยยํ้ าวา พวกเขาไมตองการกาวไปไกลถึงขั้นนํ าตัวออนที่วานี้ไปฝากในครรภสตรี เพื่อกอใหเกิดเปนทารกโคลนนิง ตองการเพียงแคสรางตัวออนสํ าหรับใชเปนแหลงทรัพยากร สเต็มเซลล หรือกลุมเซลลตนแบบ ที่จะนํ าไปใชในการผลิตอวัยวะสํ ารองเปลี่ยนถายใหผูปวยเทานั้น ทั้งนี้ คนสวนใหญไดยินคํ าวา “โคลนนิงมนุษย” จะคิดไปถึงการสรางมนุษยที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกับมนุษยตนแบบทุกประการ เปนสาเหตุของการถกเถียงกันในเรื่องนี้อยางตอเนื่อง ผูเช่ียวชาญหลายคนมองวาตัวออนมนุษยหรือเอ็มบริโอที่มีเซลลเพียง 6 เซลล มีความแตกตางจากเด็กทารก แตมีความใกลเคียงกับไขที่ผานการผสมแลวมากกวา นายสตีเวน สติซ ผูเช่ียวชาญดานการโคลนนิงจากมหาวิทยาลัยจอรเจีย บอกวา นักวิทยาศาสตรมีความรูเร่ืองการโคลนนิงสัตวมากกวาการโคลนนิงมนุษย ดังนั้นอัตราสวนของความสํ าเร็จในการโคลนนิงมนุษยนาจะนอยกวาอัตราสวนของความสํ าเร็จในการโคลนนิงสัตว

จะเห็นไดวา ผลการศึกษาที่ผานมา พบวาตัวออนจากการโคลนนิง โดยเฉพาะตัวออนในระยะ 6 เซลล มักจะเสียชีวิตในระหวางที่ถูกนํ าไปฝากในครรภ ตัวอยางเชน การโคลนนิงตัวออนวัวและแกะ ไขที่ผานการผสมแลวจะสามารถพัฒนาไปถึงขั้นกลุมเซลล 6 เซลล ไดเพียงรอยละ 50 เทานั้น และในจํ านวนนี้อาจจะมี 1 ใน 25 หรือ 1 ใน 50 เทานั้น ที่สามารถพัฒนาไปถึงขั้นคลอดออกมาเปนลูกวัวหรือลูก

Page 117: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

260

แกะได อยางไรก็ตาม กอนหนานี้ผูเช่ียวชาญการโคลนนิงหลายคนมีแนวคิดคัดคาน อาทิ นางลอรเรน ยัง นักวิจัยจากสถาบันรอสลิน ในเมืองเอดินเบอระ สกอตแลนด สถาบันที่โคลนนิงแกะดอลลี แกะโคลนนิงตัวแรกของโลก เปนคนหนึ่งที่คัดคานการโคลนนิงมนุษย ในชวงที่มีขาวนักวิจัยสหรัฐและอิตาลีมีแผนโคลนนิงมนุษย โดยบอกวามักจะมีหลายสิ่งหลายอยางที่ไมคาดคิดเกิดขึ้น โดยเตือนวาเด็กที่เกิดจากการโคลนนิงจะเปนเด็กอายุสั้น สุขภาพไมแข็งแรง หรือถึงขั้นพิกลพิการตั้งแตแรกเกิดและเพิ่มเติมวาการทดลองโคลนนิงกับสัตวตระกูลวัวและแกะพบวารอยละ 95 ของตัวออนที่ไดจากการโคลนนิงจะเสียชีวิตตั้งแตอยูในทองแม สวนตัวที่สามารถคลอดออกมาไดก็มักจะมีปญหาสุขภาพอยูเสมอไมวาจะเปนโรคเกี่ยวกับหัวใจหรือปอด ทํ าใหสัตวเหลานี้มักเสียชีวิตในเวลาอันสั้น

สวนดร.แซนดรา คารสัน ผูอํ านวยการคลินิคเพาะพันธุในหลอดแกวที่วิทยาลัยการแพทยเบยเลอร ในเมืองฮุสตัน รัฐเท็กซัส บอกวามีหลายสิ่งที่อาจเกิดผิดพลาดได และยกตัวอยางการนํ าตัวออนขนาด 6 เซลลไปใสในมดลูกของสตรีที่ตองการตั้งครรภพบวาประสบความสํ าเร็จใหกํ าเนิดบุตรเพียง 1 ใน 5 คนเทานั้น ทั้งที่เปนตัวออนที่คัดสรรมาอยางดีมิใชเปนตัวออนที่สรางมาแบบเสี่ยงๆเหมือนวิธีโคลนนิง ดร.คารสัน จึงสรุปผลงานความสํ าเร็จของบริษัทแอดวานซฯวาเปนความสํ าเร็จของตัวออนมนุษยที่มาจากการโคลนนิงของบริษัทฯเปนแคเพียงอยูในขั้นใกลเคียงกับไขที่ไดรับการผสมแลวเทานั้นยังหางไกลกับการพัฒนาเปนทารก

การประกาศความสํ าเร็จของบริษัทฯนํ าไปสูกระแสคัดคาน โดยเฉพาะโฆษกของทํ าเนียบขาวที่ออกมายํ้ าจุดยืนของประธานาธิบดีจอรจ บุช ที่คัดคานการเลียนแบบมนุษยทุกรูปแบบไมวาจะนํ าไปใชเพื่อวัตถุประสงคใดก็ตาม และสนับสนุนการเคลื่อนไหวในสภาผูแทนราษฎร สงผลใหการถอดแบบเพื่อรักษาโรคเปนสิ่งที่ผิดกฎหมาย ดร.โรเบิรต แลนซา รองประธานบริษัทฯ ตองออกมาบอกวาประชาชนควรเพงเล็งถึงผลประโยชนทางการแพทยที่สามารถเลียนแบบเซลล และผลงานของบริษัทฯมีจุดมุงหมายเพื่อบํ าบัดโรค เพื่อชวยชีวิตคนอื่นอยางกวางขวางในโรคภัยของมนุษย รวมไปถึงโรคเบาหวาน การเปนลม มะเร็ง เอดส และความยุงเหยิงของประสาทที่เสื่อมลง มิไดมุงหมายไปถึงขั้นสรางเด็กทารกเปนตัวตนออกมา

นอกจากนี้ นักวิจัยยังเตรียมนํ าเทคโนโลยีโคลนนิงมาใชในวงการอุตสาหกรรมปศุสัตวดวยการโคลนนิงสัตวเพื่อใชเปนอาหารมนุษย ทั้งนี้การโคลนนิงสัตวเร่ิมมาตั้งแตพ.ศ.2540 ที่โคลนนิงแกะดอลลีออกมา สงผลใหบริษัทดานชีวเทคโนโลยีหลายแหงสามารถผลิตสัตวโคลนนิงและกํ าลังทํ าตลาดเทคโนโลยีดังกลาวกับเจาของสัตว อยางไรก็ตาม กลุมผูบริโภคตองการใหรัฐบาลกลางเขามาดูแลซ่ึงในสวนนี้ สํ านักงานอาหารและยาสหรัฐ (FDA) กํ าลังพิจารณาวาสมควรควบคุมการโคลนนิงปศุสัตวเพื่อการบริโภคหรือไม พรอมประเมินคุณสมบัติและความปลอดภัยของเนื้อและนมจากปศุสัตวดังกลาว รวมถึงแจงตอบริษัทที่โคลนนิงสัตว ใหยื่นคํ ารองขออนุญาตจากเอฟดีเอ หากตองการขายสัตวโคลนนิงเพื่อเปนอาหาร ทั้งนี้ สภาวิจัยแหงชาติของสหรัฐไดจัดการประชุมวาดวยการโคลนนิงสัตว เพื่อนํ าผลที่ไดเสนอตอเอฟดีเอ ขณะที่บริษัทดานเทคโนโลยีโคลนนิง 2 แหง ไดแก บริษัทเดอฟอเรสต และแอดวานซเซลล เทคโนโลยี เตรียมรายงานวา วัวโคลนนิงของบริษัทไมแตกตางจากวัวทั่วไป ไมแตเทานี้ รัฐสภาอังกฤษยังไดอนุมัติกฎหมายฉุกเฉินตอตานการโคลนนิงตัวออนมนุษยในวันที่ 27พ.ย.2544 โดยตั้งโทษจํ าคุก 10 ป กับบุคคลที่ฝาฝน ดวยการนํ าตัวออนมนุษยที่ผานการปรับแตงพันธุกรรมเขาไปไวในรางกายสตรีโดยใหเหตุผลวาเปนการกระทํ าที่ไรศีลธรรม ฝาฝนธรรมชาติ

อยางไรก็ตาม นายไมเคิล ลิตตัน แหงบริษัทออกซฟอรด ไบโอซายเอนซ พารทเนอรส กลาวเกี่ยวกับเทคโนโลยีการโคลนนิงเมื่อวันที่ 4 ธ.ค.2544 วา อาจเปนการบุกเบิกความกาวหนาในวงการแพทย แตยังอยูเพียงขั้นการทดลองและยังไมคุมคากับการลงทุนในเชิงพาณิชย ซ่ึงนอกเหนือจากอุปสรรคทางเทคนิคแลว การโคลนนิงยังเปนประเด็นที่มีปญหาเกี่ยวของมากมาย อาทิ ประเด็นที่เกี่ยวของกับสิทธิบัตร รวมไปถึงอุปสรรคทางการเมือง สวนนายไมเคิล เวสต ประธานบริษัท แอดวานซ เซลล เทคโนโลยี(เอซีที) ซ่ึงเปนบริษัทแรกของโลกที่ประสบความสํ าเร็จในการโคลนนิงเอมบริโอหรือตัวออนมนุษย กลาววา สิ่งที่พวกเขากํ าลังทํ าไมใชการโคลนนิงมนุษย แตเปนเพียงแคการโคลนนิงเซลล ซ่ึงจะกอใหเกิดประโยชนแกวงการแพทย และเรียกรองใหรัฐสภาอยาเรงดวนตัดสินใจผลักดันรางกฎหมายที่หามการโคลนนิงทุกชนิดรวมถึงการโคลนนิงเอมบริโอ (กรุงเทพธุรกิจ 27,28,291144,061244,Bangkok Post 271101,พิมพไทย 281144,มติชน 291144,)

2.1.2 นักวิจัยอังกฤษพบโครโมโซม 20 ขุมคลังปญญาที่เต็มไปดวยความรูสารพัดโรคดร.พานอส เดลูคัส นักวิทยาศาสตรจากสถาบันเวลลคัม ทรัสต แซงเกอร เมืองเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ สามารถถอดรหัสพันธุ

กรรมของโครโมโซมตัวที่สามของมนุษยอันเปนขุมคลังปญญาที่เต็มไปดวยความรูสารพัดโรค นั่นคือ โครโมโซม 20 ซ่ึงถือวาเปนโครโมโซมใหญที่สุดของคนที่ถูกถอดรหัสออกมาเสร็จสมบูรณ ประกอบดวยยีนหรือสารพันธุกรรมกวา 727 ตัวและดีเอ็นเอเกือบ 60 ลานตัว ยีน 32 ตัวในจํ านวนนี้เกี่ยวพันกับโรคที่เกิดจากพันธุกรรมเชน โรคสมองฝอหรือความจํ าเสื่อม ภูมิคุมกันผิดปกติรายแรง โรคหัวใจ เบาหวาน โรคอวนผวิหนังอักเสบ ตอกระจก และโรคผิวหนังอักเสบ ดร.พานอส ระบุวา ลักษณะที่นาสนใจอีกอยางหนึ่งของโครโมโซม 20 คือพบชิ้นสวนดีเอ็นเอพิเศษที่ประกอบดวยยีนอยางนอย 1 ตัว และประมาณกันวา ชาวคอเคเซียนรอยละ 37 มีช้ินสวนดีเอ็นเอพิเศษนี้ ไมแตเทานี้ โครโมโซม 20ยังมีเอสเอ็นพีอีก 30,000 หนวยซ่ึงแตกตางกัน เอสเอ็นพีขอมูลนี้จะเปนแหลงเบาะแสหลายอยางวาทํ าไมคนบางคนถึงเสี่ยงมากกวาคนอื่น

Page 118: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

261

ในการเปนโรคบางชนิด เชน มะเร็งหรือเบาหวาน วิธีการที่จะวินิจฉัยและรักษาโรค รวมทั้งแตละคนมีปฏิกิริยาตอบสนองแตกตางกันมากนอยเพียงใดตอการรักษาดวยยาขนานตางๆ ทั้งนี้คนสองคนจะมีลักษณะเหมือนกันรอยละ 99.9 แตจะแตกตางกันรอยละ 0.1 ในดีเอ็นเอที่ทํ าใหคนคนนั้นมีเอกลักษณเฉพาะตัว เทาที่ผานมา โครโมโซมของมนุษยถูกถอดรหัสแลว 2 ตัว คือ โครโมโซม 22 ถูกถอดรหัสไปเมื่อสองปกอนและโครโมโซม 21 ถูกเปดเผยเมื่อเดือนพ.ค.2543 (มติชน 251244)

2.2 เทคโนโลยีการส่ือสาร2.2.1 ผลการสํ ารวจชองสัญญาณการสื่อสารอินเทอรเน็ตในประเทศจีนพบวาขนาดชองการส่ือสารมี

การขยายตัวถึงรอยละ 105 แสดงวาจีนมีศักยภาพและการพัฒนาเทคโนโลยีที่รวดเร็ว คาดวาในอนาคตภาษาจีนจะเปนภาษาหลักในอินเทอรเน็ตแทนภาษาอังกฤษ

ศูนยอินเทอรเน็ตประเทศจีน(China Internet Center)ทํ าการสํ ารวจชองสัญญาณการสื่อสาร นับเปนการสํ ารวจครั้งแรกของประเทศจีน ในชวงครึ่งปหลัง เพื่อหาความชัดเจนของภาพรวมการสื่อสารอินเทอรเน็ตในประเทศจีนสํ าหรับการพัฒนาระบบอินเทอรเน็ตในอนาคต พบวาขนาดชองการสื่อสารอินเทอรเน็ตของจีนเปลี่ยนแปลงจาก 2,799 MHz ในเดือนม.ค.2544 มาเปน 5,724 MHz ในเดือนก.ย.2544 แสดงวามีสัดสวนการขยายตัวถึงรอยละ 105 สะทอนถึงการพัฒนาที่รวดเร็วในโครงสรางพื้นฐานดานการสื่อสารของจีน นอกจากนี้ ผลการสํ ารวจยังจัดลํ าดับ 10 อันดับสูงสุดของบริษัทที่มีขนาดชองการสื่อสารใหญที่สุดในประเทศจีนดวย โดยบริษัทไชนาพับลิกอินเทอรเน็ต เปนอันดับ 1 ดวยขนาด 4,580 MHz คิดเปน รอยละ 80 ของขนาดชองการสื่อสารอินเทอรเน็ตรวม ซ่ึงการสํ ารวจครั้งนี้จะเปนสวนหนึ่งขององคประกอบเพื่อการตัดสินใจดานการคา การพาณิชย และระบบเศรษฐกิจมหภาคของรัฐบาลกลางและองคกรบริษัทตาง ๆ ในประเทศจีน ไมแตเทานี้ WIPO หรือ World Intellectual Property Organization ในกรุงเจนีวา ไดระบุไวในรายงาน FT ปจจุบันมีผูใชอินเทอรเน็ตที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาหลักประมาณ 460 ลานคน แตในป 2545 จะไมเฉพาะภาษาอังกฤษเทานั้นที่เปนภาษาหลัก และป2550 ภาษาอังกฤษจะเปนเพียง 2 ใน 3 ของเว็บไซตทั้งหมดโดยอีก 1 สวนจะเปนภาษาอื่น ๆ คละกันไป เนื่องจากการเติบโตของเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตสงผลใหช่ือโดเมนเนมในภาษาอื่น ๆ มีปริมาณการออนไลนเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ขณะเดียวกันบริษัทใหญ ๆ ก็พยายามที่จะใสภาษาอื่นๆเขาไปบนอินเทอรเน็ตเพื่อความสะดวกของลูกคาที่มีอยูทั่วโลกไมวาจะเปนภาษาจีน ภาษาญี่ปุน ภาษาอารบิก ฯลฯ WIPO เช่ือวาการสื่อสารดวยภาษาทองถิ่นคือการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสํ าหรับผูที่อาศัยอยูในทองถิ่นนั้น ๆ และแนนอนวาทุกคนยอมเห็นดวยกับความเชื่อนั้น แตนั่นคือจุดเริ่มตนของความเสื่อมสํ าหรับเว็บเพจภาษาอังกฤษ ทั้งนี้ การคาดการณดังกลาวมีขึ้นกอนการประชุมระหวาง WIPO กับ ITU หรือ International Telecommunication Union ที่กรุงเจนีวาซ่ึงมีประเด็นหลักในการประชุมวาดวยเรื่องโดเมนเนมในภาษาตางๆ เพราะขณะที่ ITU เปนกังวลในเรื่องปญหาดานเทคนิคและการปฏิบัติจริงแต WIPO จะใหความสํ าคัญในเรื่องประเด็นทรัพยสินทางปญญาและการไมยอมรับของบุคคลบางกลุมซ่ึงมีอิทธิพลทางดานธุรกิจและเศรษฐกิจในอนาคต (ผูจัดการ 101244)

2.2.2 “ อินเทล” ผลิตทรานซิสเตอรขนาดเล็กบรรจุบนชิปซิลิคอนไดมากขึ้น กินไฟนอย ประมวลผลไดเร็วโดยความรอนไมเพิ่ม

ปจจุบันอินเทล เพนเทียม โฟร โปรเซสเซอร เร่ิมตนจํ านวนทรานซิสเตอรที่ 42 ลานตัว และมีเสนเซอรกิตกวาง 0.18 ไมครอน เมื่อเทียบกับความเร็วระหวางโปรเซสเซอรตัวแรกกับตัวลาสุดชิบ 404 มีความเร็ว 108 กิโลเฮิรตซ (108,000 เฮิรตซ) ในขณะที่อินเทล เพนเทียมโฟร โปรเซสเซอร มีความเร็วสูงสุดขณะนี้อยูที่ 2.0 กิกะเฮิรตซ (2 ลานเฮิรตซ) พีซีที่ใชอินเทล เพนเทียม โฟร โปรเซสเซอร ดังกลาว สามารถสรางสรรคงานภาพยนตรที่มีคุณภาพระดับมืออาชีพ สงภาพวิดีโอที่ดูนุมนวลเหมือนดูทีวีผานอินเทอรเน็ต ติดตอสื่อสารกันดวยวิดีโอและเสียงแบบเรียลไทมเรนเดอร เขารหัสเพลงไดอยางรวดเร็วสํ าหรับผูนิยม MP3 และสามารถรันแอปพลิเคชั่นมัลติมิเดียหลายๆตัวไดในเวลาเดียวกันในขณะที่เช่ือมตอกับอินเทอรเน็ตได ปจจุบัน อินเทล เพนเทียม โฟร มีความเร็วต้ังแต 1.30 GHz.เร่ือยไปจนถึง 2GHz.สวนป 2545ถึงสิ้นปตัวเพนเทียมโฟรจะมีซีพียูความเร็วถึง 3.5 GHz.โดยที่ความเร็วต่ํ าสุดที่คาดวาจะเหลือในตลาดคือ 1.8 Ghz.

เมลลิซซา แมควิคเกอร ผูจัดการตลาดเดสกทอปและโมบายแพลตฟอรม สวนภูมิภาคอินเทลเอเชียแปซิฟก กลาววา แนวโนมความตองการสินคาที่มีประสิทธิภาพยิ่งทวีมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในเรื่องของการพัฒนาความเร็วที่จะไปแบบกาวกระโดด ประกอบกับความตองการของตลาดโมบายพีซีที่มีแนวโนมการเติบโตเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จนสูงกวาเครื่องเดสทอปก็เปนอีกปจจัยสํ าคัญ เนื่องจากผลิตภัณฑตองการเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูง ความปลอดภัยในเรื่องความรอน การประหยัดพลังงานและรูปทรงที่เล็กบางกะทัดรัด โดยเฉพาะการรองรับการเติบโตของตลาดโมบายพีซี ในป 2545 อินเทลมีแผนที่จะวางตลาดชิบโมบายเพนเทียมโฟรใหมที่จะทํ างานที่ความเร็วสูงตลอดจนแผนในการพัฒนา Banias ซ่ึงจะเปนการพัฒนาชิบโมบายรุนใหมในป 2546 โดยจะเปนชิบที่มีประสิทธิภาพในการทํ างานสูง ขณะเดียวกันก็ใชพลังงานตํ่ าสํ าหรับเจนเนอเรชันใหมลาสุดนั่นคือ “เทราเฮิรตซ ทรานซิสเตอร” (Terahertz Transistor) อันเปนทรานซิสเตอรใหมที่อินเทลพัฒนาขึ้น ถือเปนโครงสรางใหมในการผลิตทรานซิสเตอรของอินเทล สามารถเปดและปดวงจรดิจิทัลไดมากกวา 1 ลานครั้งตอ

Page 119: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

262

วินาที นอกจากนี้วัสดุใหมยังลดการสูญเสียกระแสไฟที่เดินระหวางวงจรยอยดิจิทัลหรือระหวางตัวชิปกับตัวทรานซิสเตอรและปญหาเรื่องความรอน ซ่ึงสงผลใหชิบมีประสิทธิภาพในการประมวลผลเพิ่มขึ้น

ทรานซิสเตอรรูปแบบใหมดังกลาวนับเปนสุดยอดการผลิตทรานซิสเตอรในชวงครึ่งหลังของทศวรรษนี้ เนื่องจากสามารถแกปญหาการกินไฟที่เพิ่มขึ้นและปญหาการเกิดความรอนของชิปปจจุบันได ซ่ึงทางอินเทลคาดวาการเปลี่ยนแปลงดานสถาปตยกรรมและทางเคมีที่เกิดขึ้นกํ าลังอยูในขั้นตอนของการพัฒนาทรานซิสเตอรรูปแบบใหมที่จะสามารถนํ ามาใชไดจริงในป 2548 นั่นคือ อินเทลจะสามารถผลิตชิปที่มีทรานซิสเตอรนับพันลานตัวไดสํ าเร็จและชิปดังกลาวจะใชปริมาณไฟเทากับชิปประมวลผลในปจจุบัน ไมแตเทานี้ เทคโนโลยีดังกลาวยังชวยเพิ่มขีดความสามารถของชิปใหสูงขึ้นไมวาจะเปนการนํ าไปใชรวมกับเทคโนโลยีการจับภาพใบหนา การสั่งงานดวยเสียง และการนํ าไปใชในอุปกรณคอมพิวเตอรขนาดเล็ก โดยจะเพิ่มประสิทธิภาพการทํ างานใหสูงขึ้น และชวยยืดอายุการใชงานแบตเตอรี่ใหนานขึ้นรวมทั้งเทคโนโลยีการผลิตชิปรูปแบบใหมจะลดขนาดของทรานซิสเตอรใหเล็กลง ซ่ึงจะทํ าใหสามารถบรรจุทรานซิสเตอรลงบนตัวชิปไดมากขึ้น สงผลใหชิปมีความเร็วเพิ่มขึ้นถึง 10 เทาแตกินไฟเทาเดิม (ผูจัดการ 171244)

2.3 เทคโนโลยีการผลิต2.3.1 เครือ่งซกัผารุนใหมของ “ซันโย” ที่มาของความเดือดดาลของวงการอุตสาหกรรมผลิตผงซักฟอกซันโยเปดตัวเครื่องซักผารุนเอเอส ดับเบิลยู-ซีอาร 800 ที่ใชคลื่นอัลตราซาวดเปนตัวทํ าใหสิ่งสกปรกและฝุนละอองที่จับตามเสื้อ

ผาหลุดรวงไป พรอมทั้งใชระบบอิเล็กโทรไลซิส เปนตัวทํ าความสะอาดอีกที โดยไมตองใชผงซักฟอกรายแรกของโลก ประดิษฐกรรมใหมของซันโยเครื่องนี้สงผลกระทบตออุตสาหกรรมผงซักฟอกที่ปฏิเสธที่จะแสดงความคิดเห็นมาตลอดหลายสัปดาหถึงจุดเดือด ซ่ึงหนึ่งในผูประกอบการไดกลาวโจมตีอยางรุนแรงวาไมคิดวาผูบริโภคจะพอใจและเสริมวาสิ่งที่ซันโยทํ าช้ีใหเห็นวาซันโยเลิกคํ านึงถึงจุดหมายรวมกันทางธุรกิจที่ตางก็ตองพึ่งพากันและกันอีกตอไป (กรุงเทพธุรกิจ 261044)

2.4 เทคโนโลยีอวกาศ2.4.1 “นาซา” พบดาวเคราะหดวงใหมนอกระบบสุริยะ ดวงแรกที่มีสภาพชั้นบรรยากาศองคการบริหารการบินและอวกาศแหงชาติของสหรัฐ(นาซา) แถลงเมื่อวันที่ 27 พ.ย.2544 เกี่ยวกับการคนพบดาวเคราะหดวง

ใหมนอกระบบสุริยะจักรวาล ทั้งนี้ในปจจุบันนักดาราศาสตรคนพบดาวเคราะหนอกระบบสุริยะแลว 70 ดวง ดวงที่พบใหมโดยกลองโทรทรรศนฮับเบิลนี้ มีขนาดพอๆกับดาวพฤหัสบดี โดยมีช่ือวาดาวเอชดี 209458 โคจรรอบดาวฤกษที่คลายกับดวงอาทิตย ในระยะหางเพียง 6.4 ลานกิโลเมตร ทํ าใหบรรยากาศของดาวดวงนี้มีอุณหภูมิสูงมากคือประมาณ 1,100 องศาเซลเชียส อยูในกลุมดาวพีกาซัสหรือกลุมดาวมาบิน ซ่ึงหางจากโลกประมาณ 150 ปแสง นายเดวิด ชารบอนนู นักดาราศาสตรจากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอรเนีย ในเมืองพาซาเดนา แถลงวาการคนพบครั้งนี้เปนการเปดศักราชใหมของการคนหาดาวเคราะหนอกระบบสุริยะ และนับเปนครั้งแรกที่พบดาวเคราะหที่มีสภาพชั้นบรรยากาศหอหุมอยูรอบดวงดาว

สวนนายอลัน บอสส จากสถาบันคารเนกี กลาววา การพบดาวเคราะหที่มีช้ันบรรยากาศ ถือเปนการคนพบที่มีความสํ าคัญอีกครั้งหนึ่ง เพราะอาจเปนครั้งแรกที่นักวิทยาศาสตรคนพบธาตุสํ าคัญๆ อาทิ กาซคารบอนไดออกไซด โอโซน มีเธน รวมถึงไอนํ้ า ซ่ึงการคนพบเหลานี้จะเปนไปไดในการมีสิ่งมีชีวิต หรือมีความเหมาะสมในการดัดแปลงเปนที่พักอาศัยในอนาคต แตนายทิโมธี บราวน จากศูนยวิจัยบรรยากาศแหงชาติ รัฐโคโลราโดบอกวา ดาวดวงนี้ไมนาจะมีความเหมาะสมในการมีสิ่งมีชีวิตเนื่องจากชั้นบรรยากาศหนาแนนเกินไป(กรุงเทพธุรกิจ 291144)

2.5 ประกาศผลรางวัลโนเบล ประจํ าป ‘ 44 สาขาตางๆวันที่ 8 ต.ค.2544 คณะกรรมการตัดสินรางวัลโนเบล ประกาศที่กรุงสตอกโฮลม ประเทศสวีเดน วานายลีแลนด ฮารทเวล นัก

วิจัยชาวอเมริกันพรอมดวยนายทิม ฮันท และนายพอล เนิรส สองนักวิจัยชาวอังกฤษ ไดรับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย วันที่ 9 ต.ค.2544คณะกรรมการตัดสินรางวัลโนเบล ประกาศที่กรุงสตอกโฮลม ประเทศสวีเดน เกี่ยวกับผลรางวัลโนเบลสาขาฟสิกส วามีผูไดรับรางวัลรวมกัน 3 คน คือนายอีริค คอรเนล นายคารล ไวแมน สองนักวิทยาศาสตรชาวอเมริกันและนายวูลฟกัง เคตเตอรเล นักวิทยาศาสตรชาวเยอรมัน จากผลงานการควบแนนอะตอมอัลคาไลในรูปของกาซดวยเทคนิคโบส-ไอนสไตน และการศึกษาขั้นพื้นฐานวาดวยคุณสมบัติของการควบแนน วันที่ 10 ต.ค.2544 คณะกรรมการฯ ไดประกาศใหนายวิลเลียม เอส.โนลส นักเคมีชาวอเมริกันวัย 84 ป จากเมือง เซนตหลุยส รัฐมิสซูรีและนายเรียวจิ โนโยริ นักเคมีวัย 63 ป แหงมหาวิทยาลัยนาโงยา ประเทศญี่ปุน ไดรับรางวัลโนเบลสาขาเคมีรวมกับนายเค. แบรรี ชารปเลส นักเคมีชาวอเมริกันวัย 60 ป จากสถาบันวิจัย สคริปป ในเมืองลาฮอลลา รัฐแคลิฟอรเนีย โดยนายโนลสและนายโนโยริ ไดจากผลงานการคิดคนกระบวนการสํ าหรับการกระตุนใหเกิดปฏิกิริยาทางเคมีในแบบที่เรียกวาไฮโดรจีเนชัน รีแอกชัน สวนนายชารปเลส ไดจากผลงานพัฒนากระบวนการกระตุนใหเกิดปฏิกิริยาทางเคมีในแบบออกซิเดชัน รีแอกชัน ซ่ึงคณะกรรมการยกยองวาผลงานวิจัยดัง

Page 120: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

263

กลาวสามารถนํ าไปใชในการพัฒนาตัวยาใหมที่มีผลตอความเปนความตายของคนได อาทิ ยาแอนตี้ไบโอติกส ยาลดอาการอักเสบ ยาสมานแผลจากไฟไหม หรือยาบรรเทาโรคหัวใจ และบอกวาผลงานวิจัยยังแสดงใหเห็นวาโมเลกุลบางชนิดที่เรียกกันวาชีรัลสามารถนํ าไปใชในการกระตุนและควบคุมปฏิกิริยาทางเคมีได

วันเดียวกัน คณะกรรมการฯ ไดประกาศใหชาวอเมริกัน 3 คนประกอบดวย นายจอรจ เองอะเคอรลอฟ วัย 61 ป จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย นายเอ.ไมเคิล สเปนซ วัย 58 ปจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอรด และนายโจเซฟ อี.สติกลิตซ วัย 58 ป จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สํ าหรับนายสติกลิตซนั้น เคยทํ างานเปนที่ปรึกษาเศรษฐกิจระดับสูงของอดีตประธานาธิบดีบิล คลินตัน และอดีตหัวหนานักเศรษฐศาสตรกับรองประธานอาวุโสประจํ าธนาคารโลก ไดรับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตรจากผลงานเรื่อง “Asymmetricinformation” ซ่ึงอธิบายถึงการปฏิวัติระบบความคิดเพื่อใหเขาถึงขาวสารและขอมูลในระบบเปดของเศรษฐกิจโลกในปจจุบัน การคิดคนแนวทางวิเคราะหตลาด โดยอาศัยหลักความจริงที่วานักเลนในตลาดบางคนมีขอมูลที่ดีกวาคนอื่น ๆ บอกใหรูวาตลาดหลายแหงทํ าหนาที่ไมสมบูรณแบบเพราะผูเกี่ยวของบางคนเขาถึงขอมูลไมเพียงพอ ผลงานของนักเศรษฐศาสตรทั้งสามทานไดรับการยกยองวาเปนการวางรากฐานใหกับทฤษฎีวาดวยความไมเทาเทียมในการรับรูขอมูลในตลาด อาทิ ผูจัดการและคณะกรรมการบริหารบริษัท จะรูขอมูลเกี่ยวกับผลกํ าไรขององคกรมากกวาผูถือหุนหรือลูกหนี้จะรูขอมูลเกี่ยวกับแนวโนมการชํ าระหนี้มากกวาเจาหนี้ สติกลิตซ มีแนวคิดคัดคานการดํ าเนินนโยบายของธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหวางประเทศ วาตองลมเหลวและไมอาจเขาใจผลตอเนื่องที่ตามมาจากความไมเทาเทียมกันในการรับรูขอมูล ทํ าใหเกิดผลกระทบเปนหายนะแกประเทศกํ าลังพัฒนา

วันที่ 11 ต.ค.2544 คณะกรรมการฯ แถลงเพิ่มเติม ประกาศใหนายวี.เอส. ไนพอล นักเขียนชาวอังกฤษที่เกิดในประเทศตรินิแดดไดรับรางวัลสาขาวรรณกรรมจากผลงานเขียนที่ทํ าใหผูอานไดตระหนักถึงประวัติศาสตรการกดขี่เช้ือชาติสีผิว โดยคณะกรรมการไดยกยองเร่ือง “เดอะ อีนิกมา ออฟ อะไรฟวอล” ผลงานเขียนป 2530 ซ่ึงบอกเลาเรื่องราวความสับสนทางวัฒนธรรมหลังการลมสลายของยุคลาอาณานิคมตะวันตก โดยที่แตละรางวัลมีมูลคา 10 ลานโครเนอรหรือประมาณ 1 ลานดอลลารสหรัฐ

ทั้งนี้ กํ าหนดการมอบรางวัลโนเบลทุกสาขาจะมีขึ้นในวันที่ 10 ธ.ค.2544 อันเปนวันครบรอบการเสียชีวิตของนายอัลเฟรด โนเบลนักประดิษฐชาวสวีเดนผูริเร่ิมกอต้ังสถาบันรางวัลโนเบล โดยในปนี้มีความสํ าคัญสองประการคือ เปนรางวัลแรกในคริสตศตวรรษที่ 21 และครบรอบ 100 ปของการแจกรางวัลโนเบลดวย (กรุงเทพธุรกิจ 10-121044,มติชน 111044)

Page 121: รายงานภาคที่ 2 - TRFttmp.trf.or.th/ttmp_oct-dec44_2.pdf · 2002-04-15 · ที่น าสนใจของสถานการณ เศรษฐก

264

ภาคผนวกรายชื่อคณะผูดํ าเนินงานโครงการขาวสารทิศทางประเทศ

(โดยการอุดหนุนของ สกว.)--------------------------

1. นายอนุช อาภาภิรม ตํ าแหนงหัวหนาโครงการฯ จบปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนนกัคิดนกัเขียนและนักวิจัยอิสระ เคยทํ างานเปนหัวหนาฝายวิชาการ บริษัทสํ านักพิมพไทยวัฒนาพานิช จํ ากัด และสํ านักพิมพสวัสดี เคยเปนที่ปรึกษาประธานสภาผูแทนราษฎร สมัยของนายมารุต บุนนาค และไดเปนประธานคณะอนุกรรมการศึกษาความเปนไปไดในการจัดต้ังสถาบันพระปกเกลา และเปนรองประธานฝายโครงการมูลนิธิโลกสีเขียวฯ ปจจุบันเปนประธานมูลนิธิศูนยสื่อเพ่ือการพัฒนา

2. นางวิสมัย อาภาภิรม ตํ าแหนงบรรณาธิการประจํ าโครงการฯ จบปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต จากจุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย มีประสบการณในวิชาชีพสื่อสิ่งพิมพตางๆ กวายี่สิบป เปนบรรณาธิการสังเคราะหรายงานจากสนาม ในโครงการแสวงหารูปแบบการพัฒนาระดับทองถิ่นของรัฐ เปนบรรณาธิการวารสารประมวลขอมูลขาว “สารสนเทศ” และบรรณาธกิารโครงการสื่อสิ่งพิมพดานสิ่งแวดลอม มูลนิธิโลกสีเขียวฯ และเปนผูแปลหนังสือชื่อ Mission Possible ของ เคนบลองชารด

3. นางสาวซิลวี มาคดาลีนา ฮอลลิงกา ตํ าแหนงนักวิจัย จบปริญญาโทการศึกษามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เคยทํ างานเปนอาจารยประจํ าและหัวหนาหมวดวิชาสังคมศึกษา โรงเรียนอ ํานวยศิลป อาจารยประจํ าและหัวหนาภาควิชาประวัติศาสตร และหัวหนาภาควิชาไทยคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือวิทยาลัยคณาสวัสด์ิ มหาสารคาม และเคยเปนนักวิชาการ บริษัทสํ านักพิมพไทยวัฒนาพานิช จํ ากัด บริษัทสํ านักพิมพสวัสดีจ ํากัด และบริษัทตนออ-แกรมมี่ จํ ากัด

4. นางสุภกานต รัตนาพันธุ ตํ าแหนงนักวิจัย จบปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยรามคํ าแหง เคยทํ างานเปนนกัเขียนตํ าราวิชาการใหกับบริษัทสํ านักพิมพวัฒนาพานิช จํ ากัด และบริษัทสํ านักพิมพไทยวัฒนาพานิช จํ ากัด เปนประจํ ากองบรรณาธิการวารสารชัยพฤกษวิทยาศาสตร ผูชวยบรรณาธิการโครงการสิ่งพิมพ มูลนิธิโลกสีเขียวฯ นักวิชาการสํ านักพิมพสวัสดี จํ ากัด และเคยอยูในตํ าแหนงผูชวยประสานงานรองกรรมการผูจัดการ บริษัทตนออ-แกรมมี่ จํ ากัด

5. นางสาวเยาวนันท เชฏฐรัตน นกัเขยีนรับเชิญ จบปริญญาโทครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาโสตทัศนศึกษาจากจุฬาลงกรณมหาวทิยาลยั เคยทํ างานประจํ ากองบรรณาธิการ บรรณาธิการและที่ปรึกษาบรรณาธิการนิตยสารมีชื่อหลายฉบับ เคยเปนอาจารยประจํ าภาควิชาการถายภาพและภาพยนตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลอยูประมาณ 12 ป กอนที่จะผันตัวเองออกมาเปนอาจารยพิเศษ และทํ างานเปนนักเขียนนักแปลอิสระในปจจุบัน

6. นางสาวแสงเสรี อาภาภิรม ผูชวยวิจัย จบปริญญาตรีสาขา Finance: Investment & Banking; California StateUniversity, Fullerton, U.S.A ประสบการณทํ างาน เคยทํ างานตํ าแหนงเจาหนาที่ประจํ าแผนก FX Operation, Global RiskMgmt. Div., 1 ป และตํ าแหนง Trader, Global Market Div., 1 ป ที่ธนาคาร Chase Manhattan, กรุงเทพฯ

7. Mr. Samuel Srethapakdi, Translator, BA.,Economic, Brown University, U.S.A

8. นายภานุพงษ อารีราษฎร ตํ าแหนงธุรการบัญชี จบการศึกษาปริญญาตรีสาขารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคํ าแหง เคยท ํางานธรุการและตัดแปะคลิปปงขาวหนังสือพิมพ ใหวารสารสารสนเทศของบริษัทไทยอินโฟ คอนโซลิเดท จํ ากัด มีความสามารถทํ างานดานธุรการ งานบัญชีและการจัดหา