บทความวิชาการ บทความวิจัย · 2016-08-30 ·...

260
บทความวิชาการ บทความปริทัศน์หนังสือ บทความวิจัย การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการ สร้างความรู้เพื่อส่งเสริมสมรรถภาพทางคณิตศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ 1 การวิจัยพัฒนาสมรรถนะการสอนเน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญของ ครูในสังกัดโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ชลบุรี เขต 1 ระยะที่ 1 การส�ารวจสภาพการจัดการเรียนรูเน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ ผลของการสอนโดยใช้กิจกรรมเกมโชว์วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิทางการเรียนและสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ 3 โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) การพัฒนาการคิดเชิงความสัมพันธ์ของนักเรียนในชั้นเรียน คณิตศาสตร์ที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหา ผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีบริบทร่วมกับ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E ที่มีต่อสมรรถนะ การใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์เรื่อง มนุษย์กับสิ่ง แวดล้อมของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ 3 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานตามแนวคิด STEM Education เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่2 การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของ โรงเรียนสังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุรินทร์ เขต 2 การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของ สถานศึกษา สังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 การใช้อ�านาจของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อแรงจูงใจใน การปฏิบัติงานของครูปฏิบัติการสอนโรงเรียนมัธยมศึกษา ในจังหวัดสมุทรปราการ สังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 6 การประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554 การประเมินคุณภาพการปรึกษาทางวิชาการและ แนะแนวทักษะชีวิตแก่นิสิตปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา การศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบเครือข่ายความร่วมมือ ทางวิชาการ ของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา การเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพของ ผู้บริหารสถานศึกษาเอกชนตามทัศนะของผู้บริหารสถาน ศึกษาและครูในสถานศึกษาเอกชน สังกัดส�านักงานคณะ กรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดปทุมธานี อิทธิพลของการเพ่งความสนใจที่มีต่อสมรรถนะทางอารมณ์ และความผาสุกของนิสิตระดับปริญญาตรี การประยุกต์ใช้แนวคิดเรื่องอ�านาจตามทัศนะของ Michel Foucault กับการจัดการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ในการ สร้างตัวตนของผู้เรียนอาชีวศึกษา การศึกษาชั้นเรียนในแง่มุมการคิดทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน Thailand Only เรื่องแบบนี้มีแต่ไทยๆ ปีท่ 27 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2559 Vol. 27 No. 2 May - August 2016 ISSN 0125 - 3212

Upload: others

Post on 15-Jan-2020

12 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • บทความวิชาการ

    บทความปริทัศน์หนังสือ

    บทความวิจัย

    การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้เพื่อส่งเสริมสมรรถภาพทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

    การวิจัยพัฒนาสมรรถนะการสอนเน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญของครูในสังกัดโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ระยะที่ 1 การส�ารวจสภาพการจัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ

    ผลของการสอนโดยใช้กิจกรรมเกมโชว์วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์)

    การพัฒนาการคิดเชิงความสัมพันธ์ของนักเรียนในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหา

    ผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีบริบทร่วมกับกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E ที่มีต่อสมรรถนะการใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์เรื่อง มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

    ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานตามแนวคิด STEM Education เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2

    การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ

    ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนสังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2

    การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3

    การใช้อ�านาจของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูปฏิบัติการสอนโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสมุทรปราการ สังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6

    การประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554

    การประเมินคุณภาพการปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวทักษะชีวิตแก่นิสิตปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

    การศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ ของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา

    การเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชนตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูในสถานศึกษาเอกชน สังกัดส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดปทุมธานี

    อิทธิพลของการเพ่งความสนใจที่มีต่อสมรรถนะทางอารมณ์และความผาสุกของนิสิตระดับปริญญาตรี

    การประยุกต์ใช้แนวคิดเรื่องอ�านาจตามทัศนะของ Michel Foucault กับการจัดการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ในการสร้างตัวตนของผู้เรียนอาชีวศึกษา

    การศึกษาชั้นเรียนในแง่มุมการคิดทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน

    การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน

    Thailand Only เรื่องแบบนี้มีแต่ไทยๆ

    ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2559Vol. 27 No. 2 May - August 2016

    ISSN 0125 - 3212

  • ข้อมูลทั่วไปของวารสาร

    ชื่อวารสาร (ภาษาไทย) วารสารศึกษาศาสตร์

    (ภาษาอังกฤษ) Journal of Education

    ISSN 0125-3212

    ชื่อหน่วยงานเจ้าของวารสาร ส�านักงานคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

    ชื่อบรรณาธิการ ดร.จันทร์พร พรหมมาศ

    ที่อยู่ที่ท�างาน ส�านักงานคณบดี คณะศึกษาศาสตร์

    คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

    169 ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131

    โทรศัพท์ 038-102084 โทรสาร 038-391043

    E-mail : [email protected]

    เว็บไซต์ของวารสาร http://www.edu.buu.ac.th/journal/

    วัตถุประสงค์ของวารสาร

    วารสารศึกษาศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการทางด้านการศึกษาท่ีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

    ด�าเนินการเผยแพร่มาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 จนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 30 ปี โดยเป็นวารสารที่อยู่

    ในฐานข้อมูลของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre: TCI) มีวัตถุประสงค์

    เพื่อท�าหน้าที่เป็นสื่อกลางแสดงความคิดเห็นเชิงวิชาการ เผยแพร่การทดลอง การค้นคว้า การวิจัยของคณาจารย์

    นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ตลอดจนส่งเสริมพัฒนาการวิจัยแขนงศึกษาศาสตร์

    และสาขาที่เกี่ยวข้อง

    ขอบเขตการตีพิมพ์ของวารสาร

    วารสารศึกษาศาสตร์พิจารณาตีพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัย บทความวิชาการ ที่มีสาระเกี่ยวเนื่องกับ

    การศึกษา การบริหารการศึกษา การเรียนการสอน หลักสูตร จิตวิทยาการเรียนการสอน จิตวิทยาการปรึกษา

    นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา การวัดผล การประเมินผลทางการศึกษา การศึกษากับการพัฒนาสังคม

    การศึกษาพิเศษ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การสอนภาษาต่างประเทศ การฝึกอบรม และสาขาวิชาอื่นๆ ใน

    สหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

    วารสารศึกษาศาสตร์

    Journal of Educationปีที่ 27 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2559

    Vol. 27 No. 2 May - August 2016ISSN 0125-3212

    http://www.edu.buu.ac.th/journal/

  • นโยบายของวารสารศึกษาศาสตร์

    วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้จัดท�าวารสารศึกษาศาสตร์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดย

    มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาวิชาการแขนงศึกษาศาสตร์ โดยเป็นแหล่งกลางในการเผยแพร่ผลงาน

    ทางวชิาการของคณาจารย์ นักวชิาการ นิสติ นักศึกษา สาขาครศุาสตร์/ศกึษาศาสตร์ มกี�าหนดออกปีละ 3 ฉบับ แบ่ง

    เป็น ฉบบัที ่1 เดอืนมกราคม - เมษายน ฉบบัที ่2 เดือนพฤษภาคม - สงิหาคม และฉบับท่ี 3 เดอืนกนัยายน - ธนัวาคม

    ปัจจุบันวารสารศึกษาศาสตร์ ได้ด�าเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์จนได้รับการรับรองจาก

    ส�านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และอยู่ในฐานข้อมูลของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ของ

    วารสารด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อเป็นการรักษาคุณภาพให้มีมาตรฐานเทียบเคียงกับระดับชาติ

    หรือระดับสากล จึงมีข้อก�าหนดในการรับตีพิมพ์ผลงานวิจัยและเอกสารเชิงหลักการ (Conceptual paper) ของ

    นักศึกษาระดับปริญญาโท หรือ ปริญญาเอก อาจารย์ และนักวิจัย จากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เป็นบทความด้าน

    มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ จิตวิทยา สหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ

    สังคมวิทยา ภาษาที่ใช้เขียนบทความอาจเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ แต่ต้องไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ หรือ

    อยู่ในระหว่างการเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสาร รายงานหรือสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน

    ทั้งนี้ ผู้เสนอบทความต้องจัดท�าบทความตามแบบฟอร์มที่กองบรรณาธิการวารสารก�าหนด ทุกบทความ

    จะต้องมีบทคดัย่อและค�าส�าคญัไม่เกนิ 5 ค�า ทัง้สองภาษา จะต้องเขยีนอย่างพถิพีถินั มใิช่การน�าบทคดัย่อรายงาน

    การวิจัยมาเป็นบทคัดย่อบทความ มีความถูกต้อง และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ตลอดจนต้องปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วย

    จรรยาบรรณการวิจัย เนื้อหา บทความ หรือข้อคิดเห็นท่ีพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นของผู้เสนอบทความ

    เท่านัน้ กองบรรณาธกิารไม่จ�าเป็นต้องเหน็ด้วย บทความทีไ่ม่ผ่านการพจิารณาให้ตพีมิพ์ กองบรรณาธิการจะแจ้ง

    ให้ผู้เสนอบทความทราบ แต่จะไม่ส่งต้นฉบับคืนผู้เสนอบทความ

    ระยะเวลาในการด�าเนินการพิจารณากลั่นกรองบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศึกษาศาสตร์ ใช้เวลา

    ประมาณ 60 วัน กองบรรณาธิการจะออกหนังสือตอบรับการตีพิมพ์ในเมื่อบทความผ่านการพิจารณาของ

    ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer review) แล้วและผู้ส่งบทความปรับแก้ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิแล้วเท่านั้น หากมี

    ความจ�าเป็นเร่งด่วนโปรดส่งลงตีพิมพ์ในวารสารฉบับอื่นแทน โดยกองบรรณาธิการจะไม่รับบทความหากผู้เสนอ

    บทความไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ก�าหนด

  • ที่ปรึกษาบรรณาธิการรองศาสตราจารย์ ดร.วิชิต สุรัตน์เรืองชัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

    บรรณาธิการอาวุโสรองศาสตราจารย์ ดร.มนตรี แย้มกสิกร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

    บรรณาธิการ ดร.จันทร์พร พรหมมาศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

    กองบรรณาธิการ 1. ศาสตราจารย์ ดร.พจน์ สะเพียรชัย อดีตรองปลัดทบวงมหาวิทยาลัย2. ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี3. ศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี สังข์ศรี สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช4. ศาสตราจารย์ ดร.สิน พันธุ์พินิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก5. ศาสตราจารย์ ดร.สิริวรรณ ศรีพหล รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช6. Prof. Dr.Do-Yong Park Illinois State University7. Prof. Dr.Madeline Milian University of Northern Colorado8. Prof. Dr.Maria Lahman University of Northern Colorado9. รองศาสตราจารย์ ดร.ฉลอง ทับศรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา10. รองศาสตราจารย์ ดร.สมคิด พรมจุ้ย สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช11. รองศาสตราจารย์ ดร.สุจินต์ วิศวธีรานนท์ ข้าราชการบ�านาญ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช12. รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร บ�าเรอราช ข้าราชการบ�านาญ มหาวิทยาลัยบูรพา13. รองศาสตราจารย์ ดร.ประวิต เอราวรรณ์ รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยนครพนม14. รองศาสตราจารย์ ชารี มณีศรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่ง เจนจิต ข้าราชการบ�านาญ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรินทร์ สุทธิธาทิพย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี กาญจนชาตรี ข้าราชการบ�านาญ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์18. ดร.บุญลือ ทองอยู่ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต19. ดร.ผดุงชาติ สุวรรณวงศ์ อดีตผู้อ�านวยการ RIHED, SEAMEO20. ดร.พรหมสวัสดิ์ ทิพย์คงคา อดีตเลขาธิการ ส�านักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา21. ดร.บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 22. ดร.จุฑารัตน์ วิบูลผล คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    ผู้ช่วยบรรณาธิการ 1. รองศาสตราจารย์ ดร.สุวิชัย โกศัยยะวัฒน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา2. ดร.เด่นชัย ปราบจันดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา3. ดร.วีระพันธ์ พานิชย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา4. ดร.พรรณวลัย เกวะระ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

    เลขานุการกองบรรณาธิการนางสาววทัญญู วุฒิวรรณ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

  • ปีละ 3 ฉบับ เดือนมกราคม – เมษายน, เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม

    และเดือนกันยายน – ธันวาคม

    ก�าหนดออกวารสาร

    สถานที่ติดต่อ

    ส�านักงานคณบดี คณะศึกษาศาสตร์

    มหาวิทยาลัยบูรพา

    169 ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131

    โทรศัพท์ 038-102084 โทรสาร 038-391043

    E-mail : [email protected]

    www.edu.buu.ac.th/journal/

    ค่าธรรมเนียมในการส่งบทความ 2500 บาท/ บทความ

    วิธีการช�าระเงิน 1. เงินสด ช�าระด้วยตนเอง ที่ส�านักงานคณบดี คณะศึกษาศาสตร์

    2. ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม บรรณาธิการวารสารศึกษาศาสตร์

    ปทฝ. มหาวิทยาลัยบูรพา 20131

    วิธีการส่งบทความ

    ทางไปรษณีย์ : กองบรรณาธิการวารสารศึกษาศาสตร์

    ส�านักงานคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

    169 ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131

    ทางจดหมายอิเล็คทรอนิคส์ :

    E-mail: [email protected]

    ทาง http://www.tci-thaijo.org/index.php/edubuu

    ผู้ที่มีความประสงค์จะส่งบทความผ่านทาง Web จะต้องลงทะเบียน

    การใช้งานผ่านทางเว็บไซต์ก่อน จากนั้นสามารถส่งบทความ

    และติดตามความเคลื่อนไหวของบทความผ่านทางเว็บไซต์ได้

  • สารบัญ

    หน้า

    บทบรรณาธิการ

    บทความวิชาการ

    การศึกษาชั้นเรียนในแง่มุมการคิดทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน 1

    วาสุกรี แสงป้อม

    การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน 13

    สมพงษ์ ปั้นหุ่น

    บทความวิจัย

    การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้เพื่อส่งเสริมสมรรถภาพทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

    30

    สุนทรีย์ ปาลวัฒน์ชัย จันทร์พร พรหมมาศ และสุมาลี กาญจนชาตรี

    การวิจัยพัฒนาสมรรถนะการสอนเน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญของครูในสังกัดโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ระยะที่ 1 การส�ารวจสภาพการจัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ

    44

    วิชิต สุรัตน์เรืองชัย และพงศ์เทพ จิระโร

    ผลของการสอนโดยใช้กิจกรรมเกมโชว์วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์)

    56

    ชวินโรจน์ พจน์ประบุญ เกรียงศักดิ์ บุญญา และวิชิต สุรัตน์เรืองชัย

    การพัฒนาการคิดเชิงความสัมพันธ์ของนักเรียนในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหา 70

    บงกช นิ่มตระกูล

    ผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีบริบทร่วมกับกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E ที่มีต่อสมรรถนะ การใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์เรื่อง มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

    82

    อรพรรณ ธนะขว้าง อัญชลี สิริกุลขจร และสกนธ์ชัย ชะนูนันท์

    ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานตามแนวคิด STEM Education เพื่อส่งเสริมความสามารถ ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2

    98

    ดารารัตน์ ชัยพิลา และสกนธ์ชัย ชะนูนันท์

    การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ 110

    เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร

  • ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนสังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2

    122

    เพชรรุ่ง สนั่นไทย สุจินต์ อังกุราวิรุทธ์ และญาณภัทร สีหะมงคล

    การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3

    135

    โศภิดา คล้ายหนองสรวง และสุเมธ งามกนก

    การใช้อ�านาจของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูปฏิบัติการสอนโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสมุทรปราการ สังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6

    147

    สุพิชชา มากะเต และชัยพจน์ รักงาม

    การประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554

    162

    ทิพย์เกสร บุญอ�าไพ และนุสรา พีระพัฒนพงศ์

    การประเมินคุณภาพการปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวทักษะชีวิตแก่นิสิตปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

    172

    จุฑามาศ แหนจอน และเกศรา น้อยมานพ

    การศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ ของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา 185

    ยุทธนา คงแหลม และสมบัติ นพรัก

    การเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชนตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูในสถานศึกษาเอกชน สังกัดส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดปทุมธานี

    197

    อรวรรณ อาทรกิจ และต้องลักษณ์ บุญธรรม

    อิทธิพลของการเพ่งความสนใจที่มีต่อสมรรถนะทางอารมณ์และความผาสุกของนิสิตระดับปริญญาตรี 208

    จุฑามาศ แหนจอน

    การประยุกต์ใช้แนวคิดเรื่องอ�านาจตามทัศนะของ Michel Foucault กับการจัดการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ในการสร้างตัวตนของผู้เรียนอาชีวศึกษา

    223

    อภัสรินทร์ ขณะรัตน์ กิตติกร สันคติประภา และสุรวุฒิ ปัดไธสง

    บทความปริทัศน์หนังสือ

    Thailand Only เรื่องแบบนี้มีแต่ไทยๆ 236

    พรรณวลัย เกวะระ

  • Content

    Page

    EditorialReview Article

    Academic IssuesLesson Study on Aspects of Students’ Mathematical Thinking 1

    Wasukree Sangpom

    Assessment for Improving Students’ Learning 13

    Sompong Panhoon

    Research in Education 1

    The Development of Learning Model Based on Constructivist Theory to Enhance Mathematical Competency for Mathayomsuksa One Students

    30

    Soontaree Palawatchai, Chanphorn Prommas and Sumalee Kanchanachatree

    A Research and Development of the Ability of Teacher for Students Center Teaching, The School in Area of Education1 Chonburi Phase 1 The survey on Students Center Teaching

    44

    Vichit Suratruangchai and Pongthep Jiraro

    Effects of Teaching the Games Show Events in Renewable Energy Subject and Utilization on Scienctific Achievments and Efficiency in Science of Mutthayomsuksa Three Students at Bansuanjananusorn School

    56

    Chawinroch Pojprabun, Kriengsak Boonya and Vichit Suratruangchai

    The Development of Students’ Relational Thinking in Mathematics Problem Solving Classroom

    70

    Bongkoch Nimtrakul

    The Effects of Learning Activities Using Context-Based Learning Integrated with 7E Inquiry Process on Mathayomsuksa Three Students’ Using Scientific Evidence Competency on the Topic of Humans and Environment

    82

    Orrapun Thanakwang, Anchalee Sirikulkajorn and Skonchai Chanunan

    Effects of Project-Based Learning Activities Based on STEM education to Promote Mathayomsuksa two Students’ Creative Problem Solving Ability in Learning Chemical Reaction

    98

    Dararat Chaipila and Skonchai Chanunan

    The Synthesis of Instructional Model Research in Mathematics focusing on Student-Centered Approach

    110

    Vetcharit Angganapattarakajorn

  • Factors Affecting the School-Based Management of Schools under the Office of Surin Primary Educational Service Area 2

    122

    Phetrung Sananthai, Sujint Anguravirutt and Yannapat Seehamongkon

    The Participation Management Affecting to Effectiveness of The Schools under ROI-ET Primary Educational Service Area Office 3

    135

    Sopida Klainongsuang and Sumet Ngamkanok

    Orientation of School Administrators’ Power Affecting to Job Motivation of Teachers in Secondary School Samutprakan Province under the Office of Secondary Educational Service Area Office 6

    147

    Suphitcha Makate and Chaipot Rakngam

    Evaluation of the Ph.D. Curriculum in Educational Technology, Faculty of Education, Burapha University, Revised 2011

    162

    Tipkesorn Boonumpai and Nusara Pheeraphatanaphong

    The Quality Evaluations of Academic Counseling and Guidance for Living Skills of Undergraduate Students of Faculty of Education, Burapha University

    172

    Juthamas Haenjohn and Ketsara Noimanop

    The Study The Component of Academic Collaboration Network Model in Secondary School 185

    Yutthana Konglam and Sombat Nopparak

    A Study of Private School Administrators’ Performances Based on the Professional Code of Ethics under the Supervision of the Office of Private Education Commission in PathumThani Province

    197

    Orawan Arthornkij and Tongluck Boonthum

    The Effects of Mindfulness on Emotional Competencies and Well-Being of Undergraduate Students

    208

    Juthamas Haenjohn

    The Application of Power Method According to Michel Foucault’s Attitude and the Experiential Learning Arrangement in The Identity Creation of Vocational Students

    223

    Apansarin Kanarat, Kittikorn Sankatiprapa and Surawut Patthaisong

    Book reviewThailand Only about Thailand, but There are others. 236

    Punwalai Kewara

  • บทบรรณาธิการ

    วารสารศกึษาศาสตร์เป็นแหล่งเผยแพร่ทัง้บทความวชิาการ และบทความวจัิยทีใ่ช้ส�าหรับศกึษาค้นคว้า

    และอ้างองิทางวชิาการในฉบบันี ้ น�าเสนอบทความวชิาการ จ�านวน 2 เร่ือง ซ่ึงเป็นประโยชน์ส�าหรับการจัดการ

    เรียนการสอน และการประเมินผู้เรียน และบทความวิจัยที่มีความหลากหลายในแง่มุมต่าง ๆ ทางการศึกษา

    จ�านวน 16 เรื่อง นอกจากนี้มีบทความปริทัศน์หนังสือ Thailand Only ที่น�าเสนอเกร็ดความรู้บอกเล่าเรื่อง

    ความเป็นไทย

    วารสารศึกษาศาสตร์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเนื้อหาในฉบับที่ 2 ของปีที่ 27 นี้จะเป็นแหล่งอ้างอิงที่มี

    คุณภาพและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศได้เป็นอย่างดี

    (ดร.จันทร์พร พรหมมาศ)

    บรรณาธิการวารสารศึกษาศาสตร์

  • - 1 -

    วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2559

    การศึกษาชั้นเรียนในแง่มุมการคิดทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน

    Lesson Study on Aspects of Students’ Mathematical Thinking

    วาสุกรี แสงป้อม*[email protected]

    บทคัดย่อการศึกษาชั้นเรียน เป็นนวัตกรรมในการพัฒนาวิชาชีพครูแนวทางหนึ่งที่กระท�าโดยครูในโรงเรียนเอง

    จากบริบทการท�างานจริงผ่านการท�างานกลุ่มแบบร่วมมือกันอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ซึ่งมีลักษณะเป็น

    กิจกรรมทางวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างกันไปในแต่ละบริบท และมีเป้าหมายหลักเพื่อพัฒนาการจัดการเรียน

    การสอนที่เน้นการพัฒนาการคิดทางคณิตศาสตร์และการเรียนรู้ของผู้เรียน กระบวนการศึกษาชั้นเรียนมีขั้นตอน

    ส�าคัญ 3 ขั้นที่มีลักษณะเป็นวงจร ได้แก่ 1) การวางแผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน (Plan) จากการน�าแนวคิดของ

    ผู้เรียนในชั่วโมงและชั้นเรียนก่อนหน้าน้ีมาใช้ในการวางแผน 2) การสังเกตการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน (Do) ซ่ึงมี

    เป้าหมายสังเกตการคดิทางคณติศาสตร์จากวธิกีารแก้ปัญหาของผูเ้รยีน และ 3) การสะท้อนผลบทเรยีนร่วมกนั (See)

    จากการเฝ้าดูผู้เรียนแก้ปัญหาทีละขั้นตอน ทั้งนี้การด�าเนินงานตามกระบวนการศึกษาชั้นเรียนต้องยึด 3 ขั้นตอน

    อย่างครบถ้วนในการด�าเนินงานแต่ละครั้ง

    ค�าส�าคัญ : การศึกษาชั้นเรียน การคิดทางคณิตศาสตร์

    AbstractLesson study is an innovation in teacher professional development conducted by teachers in

    the school from the context of work through working in group systematically and continuously. This

    is a cultural event that is different in each context and aims to improve teaching and learning

    focusing on the development of mathematical thinking and learning of the students. For the

    process of lesson study, there are three important steps as follows: 1) collaboratively design

    research lessons (plan) from the concept of students in a class hour earlier to use and planning,

    2) collaboratively observing the research lessons (do) which aims to observe the mathematical

    thinking from the solution of students, and 3) collaboratively reflection (see) from watching the

    students solve the problem step by step. The implementation process of the class to hold three

    step fully into operation each time.

    *อาจารย์ ดร. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี

  • - 2 -

    Journal of Education Vol.27 No.2 May - August 2016

    Keywords : lesson study, mathematical thinking

    บทน�ากา รปฏิ รู ป ก า ร เรี ย น รู ้ ข อ ง ผู ้ เ รี ย น เป ็ น

    หัวใจส�าคัญของการปฏิรูปการศึกษาโดยมีครู เป ็น

    ผู ้ที่มีบทบาทส�าคัญในการพัฒนาการจัดการเรียน

    การสอน ทั้งนี้ เพราะการสอนเป็นกระบวนการหนึ่ง

    ในระบบการศึกษาที่ออกแบบอย่างเฉพาะเจาะจงเพื่อ

    อ�านวยความสะดวกแก่การเรียนรู ้ของผู ้เรียน หาก

    การสอนของครูไม่ได้มีการพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลง

    แล้วการเรียนรู ้ของผู ้เรียนก็ไม่สามารถพัฒนา หรือ

    เปลี่ยนแปลงได้เช่นกัน อาจกล่าวได้ว่า การปฏิรูป

    การเรียนรู ้จะส�าเร็จได้ก็ต่อเมื่อครูต้องเปลี่ยนแปลง

    การสอนของตนเอง ซึ่งครูต้องมีความรู้ความเข้าใจ และ

    ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมาก

    ดังนั้น สิ่งส�าคัญที่น�าไปสู่การปฏิรูปการเรียนรู้หรือปฏิรูป

    การศึกษาให้ส�าเร็จได้ก็คือ การพัฒนาวิชาชีพครู

    การพัฒนาวิชาชีพครูส่วนมากด�าเนินการโดยท่ี

    สถานศึกษาให้ครูไปเข้ารับการฝึกอบรมในเรื่องต่าง ๆ ที่

    จัดขึ้นโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือการเชิญวิทยากรมา

    บรรยาย สิง่ทีม่กัเกดิขึน้หลงัจากการฝึกอบรมนัน้ ๆ คือ มคีรู

    จ�านวนไม่มากที่จะน�าความรู้ความเข้าใจที่ได้รับจากการ

    อบรมไปใช้หรอืปฏบิตัจิรงิในชัน้เรียนของตนอย่างต่อเน่ือง

    ท้ังนี ้เน่ืองจากการฝึกอบรมทีจ่ดัขึน้มกัเป็นแบบส�าเรจ็รปู

    ที่ก�าหนดหัวข้อการอบรมมาจากส่วนกลางหรือผู้ให้การ

    อบรมมากกว่าที่จะมาจากปัญหาและความต้องการของ

    ครู และมักเป็นการอบรมระยะสั้นที่ไม่มีกระบวนการ

    ติดตามและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ท�าให้ครูไม่สามารถ

    น�าความรู้ไปพัฒนากระบวนการเรียนการสอนได้มาก

    เท่าท่ีควร ท�าให้การพัฒนาครูไม่ได้สนองตอบความ

    ต้องการของครูและไม่ได้สะท้อนปัญหาที่แท้จริงใน

    ชัน้เรยีน (คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาต,ิ 2546) ดังน้ัน

    จงึควรต้องหากระบวนการทีน่�ามาใช้ในการพฒันาวชิาชพี

    ครูเพื่อให้ครูมีสมรรถภาพการจัดการเรียนการสอนท่ี

    เหมาะสม อันจะน�าไปสู่การพัฒนาการคิดของผู้เรียน

    จากการศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดในการพัฒนาวิชาชีพ

    ครู พบว่า ปัจจุบันมีแนวคิดที่ส�าคัญ คือ แนวคิด

    การพฒันาวชิาชพีครโูดยใช้โรงเรยีนหรอืชัน้เรยีนเป็นฐาน

    (classroom-based development) เพื่อพัฒนาการ

    เรียนการสอน การเรียนรู้ของผู้เรียน การคิดของผู้เรียน

    ซึ่งเป็นแนวคิดการพัฒนาวิชาชีพตามสภาพปัญหาและ

    ความต้องการของโรงเรียนและครู (สุมน อมรวิวัฒน์,

    2546) สอดคล้องกับที่ Lewis, Perry, and Hurd

    (2004) เสนอว่าการเรียนรู้ของครูและการพัฒนาครูจะมี

    ความหมายและมปีระสทิธภิาพมากยิง่ขึน้ ถ้ากระบวนการ

    พัฒนานั้นเป็นส่วนหนึ่งในการท�างานประจ�าวันของครู

    การศึกษาช้ันเรียนเป็นนวัตกรรมที่เป็นวิธีการ

    (method) หลัก ในการพัฒนาวิชาชีพครูในประเทศ

    ญี่ปุ่นท่ีเกิดขึ้นเมื่อร้อยกว่าปีที่ผ่านมา (Lewis, 2002;

    Yoshida, 2005) และได้รับการยอมรับว่าเป็นวิธีการที่

    ท�าให้การสอนดีขึ้นอย่างยั่งยืนมั่นคง (Lewis & Perry,

    2003; นฤมล อินทร์ประสิทธิ์, 2552) เป็นแนวทางการ

    พัฒนาวิชาชีพครูท่ีเป็นการปรับปรุงการสอนด้วยตัวของ

    ครูเอง (teacherled instructional improvement)

    และเป็นวิธีการที่ครูเป็นผู้ผลักดันให้เกิดการปรับปรุง

    การสอนด้วยตัวของครูเอง ไม่ต้องรอผู้เชี่ยวชาญจาก

    ภายนอก โดยจุดประสงค์หลักหรือจุดเน้นก็คือผู้เรียน

    ดังนั้น การน�าแนวทางนี้มาใช้ในการพัฒนาวิชาชีพครูจึง

    ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากต่อการสอนของคร ูไม่ว่าจะ

    เป็น ด้านเนื้อหา วิธีการสอน การคิด และการเรียนรู้ของ

    ผู้เรียน (Lewis, 2002; Lewis, Perry & Murata, 2006;

    Isoda, 2007; Watanabe & Wang, 2005)

    การคิดทางคณิตศาสตร์เป็นเป้าหมายที่ส�าคัญ

    ในระบบโรงเรียนและในฐานะที่ เป ็นวิธีการเรียนรู ้

    คณิตศาสตร์ การสอนคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่

    มีความสลับซับซ้อนมาก (Isoda & Katagiri, 2012)

  • - 3 -

    วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2559

    การสร้างการคดิทางคณิตาสตร์ต้องสร้างจากกระบวนการ

    เชิงการรู ้ผ่านสิ่งที่เป็นรูปธรรม ความเป็นสัญลักษณ์

    และรูปแบบของการพิสูจน์ท่ีต้องอาศัยระยะเวลามาก

    นอกจากน้ีความส�าเร็จในการคิดคณิตศาสตร์ต้องอาศัย

    ผลของความรู้ที่มีมาก่อนหน้านี้ (Tall, 2006)

    แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาชั้นเรียนประเทศญ่ีปุ ่น ใช ้การศึกษาชั้น เรียนเป ็น

    กระบวนการพัฒนาวิชาชีพครูมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970

    จนกระทั่ งกลายเป ็นระบบการพัฒนาวิชาชีพครู

    และวัฒนธรรมการเรียนการสอน และวัฒนธรรม

    การเรียนรู ้ ร ่ วมกันของประเทศญี่ปุ ่นในป ัจจุบัน

    จึงเป็นกระบวนการพัฒนาการเรียนรู ้ในหน้างานครู

    และเป็นการพัฒนาการเรียนรู ้ของผู ้เรียนไปในขณะ

    เดียวกัน ปัจจุบันได้รับการเผยแพร่ไปหลายประเทศ

    ทั่วโลกและยั่งยืนในประเทศญ่ีปุ ่น เพราะการศึกษา

    ชั้นเรียนท�าให้ครูประเทศญี่ปุ ่นมีโอกาสสร้างแนวคิด

    ทางการศึกษาภายใต้งานภาคปฏิบัติของตนเอง เปลี่ยน

    มุมมองการเรียนการสอนของตนเองโดยอาศัยมุมมอง

    ของผู ้เรียน และการช่วยเหลือระหว่างเพื่อนครูด้วย

    กัน (Takahashi, 2006) ที่มีลักษณะส�าคัญคือการที่ครู

    ร่วมกันศกึษาเอกสารในเชงิการสอนต่าง ๆ ได้แก่ หลกัสูตร

    แผนการจดัการเรยีนรู ้และการออกแบบแผนการจดัการ

    เรียนรู้ท่ีจะใช้ในชั้นเรียนจริงร่วมกัน ซึ่งดูคุณภาพได้จาก

    การสังเกตในชั้นเรียนจริง และอภิปรายร่วมกับเพื่อน

    ครูและนักการศึกษาอื่น ๆ ว่าแผนการจัดการเรียนรู ้

    นั้นมีผลต่อการคิดของผู้เรียนอย่างไร ซ่ึงวิธีการปฏิบัติ

    ของการศึกษาชั้นเรียนส่งผลต่อการวิจัยที่เกี่ยวข้อง

    กับรูปแบบการสอนในประเทศญี่ปุ ่นที่เปลี่ยนจากการ

    สอนแบบบอกเล่าไปเป็นการสอนเพื่อพัฒนาการคิด

    (Fernandez & Yoshida, 2004) และปรับปรุงการสอน

    เกี่ยวกับคณิตศาสตร์

    การศึกษาชั้นเรียนเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่ช่วย

    ให้ครูปรับปรุงการสอนด้วยตัวครูเอง (teacher-led

    instruction improvement) และเป็นการผลักดัน

    ให้ครูมีความรู้สึกที่จะพัฒนาวิชาชีพด้วยตัวของครูเอง

    โดยไม่ต ้องรอให้มีผู ้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาดูแล

    เพราะเป้าหมายหลักหรือจุดเน้นที่จะท�าให้เกิดผล

    คือผู ้เรียน ดังนั้นการน�าแนวทางนี้มาใช้ในการสอน

    ของครูไม่ว่าจะเป็นด้านเนื้อหา วิธีการสอน สื่อการสอน

    ที่น�ามาใช ้จะเกิดผลต่อการเรียนรู ้ของผู ้ เรียนมาก

    (นภาพร วรเนตรสุดาทิพย์, 2554) นอกจากนี้ยังได้

    พจิารณาทุกแง่มมุเกีย่วกบัการสอน ตวัอย่างเช่น หลกัสตูร

    แผนการจดัการเรยีนรู ้สือ่การเรยีนรู ้เน้ือหาสาระ ยทุธวธีิ

    ในเชิงการสอน (Watanabe, 2002) ท่ีซ่ึงเป็นกิจกรรม

    งานภาคปฏบัิตซิึง่เป็นโครงสร้างในฐานะระบบการบรหิาร

    จัดการในระดับโรงเรียนหรือเป็นการประชุมร่วมกันของ

    ครูและถือเป็นสังคมทางวิชาการ

    Isoda (2007) กล ่าวถึง งานภาคปฏิบัติ

    ของการศึกษาช้ันเรียนไว้ว ่า ครูสามารถเรียนรู ้ได้ดี

    และปรับปรุงแก้ไขงานในภาคปฏิบัติโดยการเรียนรู ้

    จากครูคนอื่นสอน มีการคาดการณ์ว่าครูผู ้ ซ่ึงมีการ

    พัฒนาความเข้าใจที่ลึกซึ้งและทักษะเกี่ยวกับสาระเชิง

    การสอนควรจะสนับสนุนความรู ้และประสบการณ์

    ร่วมกันกับเพือ่นร่วมงาน และ จุดเน้นท่ีปรากฏเป็นการศกึษา

    เกี่ยวกับการคิดของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนรู ้

    ของผู ้เรียน ในประเทศญี่ปุ ่นการเรียนและการสอน

    รายวิชาคณิตศาสตร์ Hosomizu (2007) ได้อธิบายว่า

    เป็นการเตรยีมบทเรยีนจากการวางแผนการสอนประจ�าปี

    ในฐานะการวางแผนส�าหรับช่วยให้ผู้เรียนประสบความ

    ส�าเร็จ คือ 1) วางแผนการสอนประจ�าปีเป็นสิ่งที่ส�าคัญ

    เพือ่พฒันาการวางแผนให้เหมาะกบัผูเ้รยีนท่ีสอน ประเด็น

    ท่ีส�าคัญเก่ียวกับการวางแผนจัดการเรียนรู ้ประจ�าป ี

    ถูกออกแบบเพื่อใช้ทักษะและสร้างสรรค์วิธีการคิด

    การเช่ือมโยงและการทบทวนระหว่างบทเรียน ระหว่าง

    หวัข้อในระดบัชัน้ การแบ่งหน่วยของเนือ้หาภายในหน่วย

    ของเน้ือหาย่อยจากการเรยีนรู้ท่ีซ�า้ ๆ 2) วางแผนการสอน

    ในค�าถามท่ีเกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง ในกระบวนการคิด

  • - 4 -

    Journal of Education Vol.27 No.2 May - August 2016

    เก่ียวกับวิธีการเข้าสู ่บทเรียน การสร้างโอกาสจาก

    ประสบการณ์ของผู้เรียน ความต่ืนเต้นเกี่ยวกับการคิด

    ในศพัท์ทางด้านคณติศาสตร์ 3) พฒันาการสร้างกจิกรรม

    ทางคณติศาสตร์ เพ่ือให้ผูเ้รยีนสามารถน�าไปสูก่ารเริม่ต้น

    การเรียนรู้และครู

    Lewis (2005) กล่าวว่า ประโยชน์ของการ

    ศึกษาชั้นเรียน ได้แก่ ความรู ้ที่เพิ่มขึ้นในส่วนที่เป็น

    ของเนื้อหาสาระ การสอน ความสามารถในการสังเกต

    นกัเรยีน เครือข่ายทีแ่ขง็แกร่งเกีย่วกบันกัศึกษา การเชือ่ม

    โยงงานภาคปฏิบัติในชีวิตประจ�าวันซึ่งเป็นเป้าหมายใน

    ระยะยาว สร้างแรงจงูใจทีแ่ขง็แกร่งขึน้และความรูส้กึของ

    การรบัรูค้วามสามารถและสามารถปรบัปรงุคณุภาพของ

    แผนการจัดการเรียนรู้ที่มีอยู่ ซึ่งประเทศญ่ีปุ่นประสบ

    ความส�าเร็จที่เป็นมุมมองเบื้องต้น ได้แก่ การศึกษา

    ชั้นเรียนมีแนวคิดท่ีชัดเจนมีคุณภาพเพ่ือให้นักวิจัยมี

    แนวคิดที่มีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนแปลงครู เช่น

    การใช้ส่ือทีเ่ป็นรูปธรรมเพือ่เน้นปัญหาอย่างมคีวามหมาย

    น�าไปสู่พัฒนาการสอนและเป็นการสนับสนุนการท�างาน

    ร่วมกันระหว่างครู (Takahashi, 2010) ที่จะสามารถ

    พัฒนาการคิดทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนได้

    การศึกษาชั้นเรียนที่เน้นกระบวนการคิดของ

    ผู ้เรียน จุดเน้นใหม่ในการสอนคณิตศาสตร์ครูต ้อง

    สามารถปรับใช้ความรู้ที่มีอยู่ของผู้เรียนมาประยุกต์ใช้

    ทางด้านเน้ือหา หลักสูตร วิธีสอน (Murata, 2011)

    เพื่อสามารถน�าไปพัฒนาบทเรียนร่วมกันและได้ร่วมกัน

    พิจารณาว่าจุดมุ่งหมายของบทเรียนและวัตถุประสงค์

    ของเนื้อหามีความเหมาะสมกับหลักสูตรที่ใช้กับผู้เรียน

    ในระดับชั้นต่าง ๆ อย่างไร ท�าให้ครูได้มองเห็นการสอน

    และการเรียนรู้ในชั้นเรียนอย่างเป็นรูปธรรมจากสิ่งที่ครู

    ได้ร่วมกนัอภปิรายเกีย่วกบัการวางแผนการจดัการเรยีนรู้

    สงัเกตการจดัการเรยีนรูท้�าให้ครไูด้เข้าใจและเหน็ภาพว่า

    การสอนทีด่น้ัีนเป็นอย่างไร การสะท้อนผลบทเรยีนท�าให้

    เข้าใจการคิดของผู้เรียนมากยิ่งขึ้น

    การศึกษาชั้นเรียนในบริบทการจัดการเรียนการสอนของประเทศไทย

    กระบวนการศึกษาช้ันเรียนในบริบทของ

    ประเทศไทย เป็นกระบวนการท�างานในการพัฒนา

    วิชาชีพครูที่พัฒนาขึ้นตามแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน

    ให้มีความเหมาะสมกับบริบทการท�างานของครู ทั้งนี้

    เพื่อให้กระบวนการศึกษาช้ันเรียนเป็นอีกแนวทางหนึ่ง

    ในการพัฒนาสมรรถภาพการจัดการเรียนการสอนของ

    ครู ทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาครู หรือส�าหรับครูที่จะ

    พัฒนาสมรรถภาพของตนเอง กระบวนการนี้เป็นการ

    พัฒนาครูโดยครูเป็นผู้ด�าเนินงานหลัก พัฒนาการจัดการ

    เรยีนการสอนทีเ่น้นการพฒันาการคดิและการเรยีนรูข้อง

    ผูเ้รยีน ผ่านการท�างานกลุ่มแบบร่วมมือในบรบิทของงาน

    ภาคปฏิบัติจริงของตนเองท่ีเป็นระบบและต่อเนื่องผ่าน

    ขั้นตอนส�าคัญท่ีมีลักษณะเป็นวงจรและมีองค์ประกอบ

    ส�าคัญของกระบวนการอย่างครบถ้วน โดยมีเป้าหมาย

    เพื่อพัฒนาสมรรถภาพการจัดการเรียนการสอนของครู

    ควบคู่ไปกับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการ

    พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นส�าคัญ

    ประเทศไทยเร่ิมใช้การศึกษาชั้นเรียนมาต้ังแต่

    ปี พ.ศ. 2545 โดยไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ มหาวิทยาลัย

    ขอนแก่น โดยทดลองใช้กับนักศึกษาฝึกสอนจ�านวน

    15 คน ท่ีออกฝึกสอนในรายวชิาคณติศาสตร์ (Inprasitha,

    2006) เพ่ือให้คณาจารย์และนักศึกษาได้ใช้เพื่อให้เกิด

    การเปลี่ยนแปลงและเปดโลกทัศน์ เพราะเป็นวิธีการ

    ท่ีครูเป็นผู้ผลักดันให้เกิดการปรับปรุงการสอน ผลจาก

    การน�าการศึกษาชั้นเรียนมาใช้ในบริบทของประเทศไทย

    มี เป ้าหมายหลักอยู ่ที่ ผู ้ เรียน ท�าให ้ครูค ้นพบว ่า

    การร่วมมือกันอย่างดีระหว่างครูด้วยกัน ท�าให้ครูได้มี

    โอกาสแลกเปลี่ยนการเรียนรู้เกี่ยวกับการสอน

    ศูนย์วิ จัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัย

    ขอนแก่นได้ปรบัการศกึษาชัน้เรยีนของญีปุ่น่ (Japanese

  • - 5 -

    วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2559

    lesson study) มาใช ้ในบริบทของประเทศไทย

    ประกอบด้วย 3 ข้ันตอน และได้บูรณาการเอาวิธีการ

    แบบเปดมาใช้ในฐานะที่เป็นแนวทางการสอน (open

    approach as a teaching approach) เพื่อให้ครู

    ท�างานร่วมกนัในการศกึษาชัน้เรยีนทีจ่ะร่วมกันออกแบบ

    หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ ดังภาพที่ 1

    ขั้นที่ 1 การวางแผนการจัดการเรียนรู ้ร ่วม

    กัน [collaboratively design research lessons

    (plan)] ของทีมการศึกษาช้ันเรียน ประเด็นการ

    วางแผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน ได้แก่ เป้าหมายของ

    หน่วยการเรียนรู้ เป้าหมายของบทเรียนแต่ละคาบ

    ค�าส�าคัญในสถานการณ์ปัญหาปลายเปดในรูปค�าสั่งที่

    ชดัเจนและผูเ้รียนเข้าใจได้ง่ายผกูติดกบัสิง่ท่ีผูเ้รยีนคุ้นเคย

    ในชีวิตประจ�าวัน การสร้างหรือออกแบบสื่อให้สัมพันธ์

    กับค�าสั่งในสถานการณ์ปัญหาปลายเปด การคาดการณ์

    แนวคิดของผู้เรียน ประเด็นการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน

    เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายของบทเรียน และวางล�าดับ

    ขั้นของการสอนให้เป็นชั้นเรียนที่เน้นการแก้ปัญหา

    ขั้นที่ 2 การสังเกตการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน

    [collaboratively observing the research lessons

    (do)] ของทีมการศึกษาชั้นเรียน ในขั้นตอนนี้น�า

    แผนการสอนไปใช้จริงในชั้นเรียนโดยครูในโรงเรียน

    เป้าหมายของการสังเกต คือ การสังเกตกระบวนการคิด

    ของผู้เรียนไม่ใช่การพิจารณาความสามารถในการสอน

    ของครูโดยอาศัยล�าดับวิธีการสอนแบบเปดในชั้นเรียนที่

    เน้นการแก้ปัญหา ประกอบด้วย

    ขัน้ที ่1 การน�าเสนอสถานการณ์ปัญหา โดย

    ครนู�าเสนอปัญหาปลายเปดพร้อมส่ือให้ผูเ้รยีนและผูเ้รยีน

    ท�าความเข้าใจปัญหาปลายเปด

    ข้ัน ท่ี 2 การเรียนรู ้ ด ้ วยตนเองของ

    ผู้เรียน เป็นข้ันของการแก้ปัญหาปลายเปดด้วยวิธีการท่ี

    หลากหลาย และครูรวบรวมวิธีการแก้ปัญหาปลายเปด

    ของผู้เรียน

    ขั้นที่ 3 การอภิปรายและเปรียบเทียบ

    ร่วมกันท้ังช้ันเรียน โดยผู้เรียนน�าเสนอวิธีการแก้ปัญหา

    ปลายเปด และครูพยายามให้ความส�าคัญกับแนวคิดของ

    ผู้เรียนทุกแนวคิดและเชื่อมโยงแนวคิดต่าง ๆ

    ข้ันท่ี 4 การสรุปเพื่อเช่ือมโยงแนวคิดทาง

    คณิตศาสตร์ของผู้เรียนที่เกิดในชั้นเรียน โดยครูพยายาม

    สรุปเชื่อมโยงเพื่อให้ผู้เรียนหากรณีทั่วไป กฎ สูตรทาง

    คณิตศาสตร์ จากนั้นให้ผู ้เรียนบันทึกแนวคิดต่าง ๆ

    ที่เกิดขึ้นบนกระดานหรือชั้นเรียนลงในสมุดด้วยภาษา

    ของตนเอง

    ขั้นที่ 3 การสะท ้อนผลบทเรียนร ่วมกัน

    [collaboratively reflection or post-discussion

    (see)] ของทีมการศึกษาชั้นเรียน เก่ียวกับผลที่ได้

    จากการสังเกตการสอนเพื่อน�าไปสู ่การปรับปรุง

    แผนการจัดการเรียนรู้แล้วน�าแผนการจัดการเรียนรู้ที่

    ปรับปรุงไปใช้ในชั้นเรียนใหม่อีกครั้ง

  • - 6 -

    Journal of Education Vol.27 No.2 May - August 20166

    ภาพที ่1 กรอบแนวคิดการบูรณาการวิธีการแบบเปิดในฐานะที่เป็นวิธีการสอนเข้ามาไว้ในกระบวนการศึกษาช้ันเรียนบริบทของประเทศไทย ที่ปรับโดย Inprasitha (2010)

    ในบริบทของประเทศไทยการนํานวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียนมาใช้กับวิธีการแบบเปิดเป็นการ

    พัฒนาครูในด้านพฤติกรรมการสอนมีการเปลี่ยนแปลงระบบการทํางานของครู ที่เมื่อก่อนคิดคนเดียววางแผนการทํางานคนเดียว เขียนแผนการจัดการเรียนรู้คนเดียว แล้วนําไปใช้สอนแต่การศึกษาชั้นเรียนเป็นการทํางานเป็นกลุ่ม เป็นระบบเกิดความสามัคคีในหมู่คณะทําให้องค์กรพัฒนา (Inprasitha et. al, 2009)

    สุเมธ งามกนก (2556) กล่าวว่า การศึกษาบทเรียน (Lesson Study) เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการคิดซึ่งได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้เกิดการสอนที่ยั่งยืนเป็นเคร่ืองมือที่ดําเนินต่อไปในการปรับปรุงการสอนโดยยึดการสังเกตอย่างระมัดระวัง ผู้สอนจะสอนบทเรียนตามที่ได้ตัดสินใจร่วมกัน และมีผู้รวบรวมข้อมูลให้ได้ข้อมูลอย่างดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ หลังจากท่ีได้มีการจัดการเรียนการสอนไปแล้วสมาชิกในกลุ่มจะมีการพบกันเพ่ือให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนของครูและให้การตัดสินใจเก่ียวกับสิ่งที่ไม่ควรสอนหรือควรสอนอีกครั้งหรือประยุกต์การเรยีนรู้สําหรับการศึกษาบทเรียนในคร้ังต่อไป ข้อดีของรูปแบบ Lesson Study

    การสังเกตการณ์จัด การเรียนรู้ร่วมกัน

    (Do)

    การวางแผน การจัดการเรียนรู้ร่วมกัน

    (Plan)

    การสะท้อนผลบทเรียนร่วมกัน (See)

       

    การสรุปเพ่ือเชื่อมโยงแนวคิด ทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนท่ี เกิดในชั้นเรียน

    การอภิปรายและเปรียบเทียบร่วมกัน ท้ังชั้นเรียน

    การนําเสนอสถานการณ์ปัญหา การเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน

    ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการบูรณาการวิธีการแบบเปดในฐานะที่เป็นวิธีการสอนเข้ามาไว้ใน

    กระบวนการศึกษาชั้นเรียนบริบทของประเทศไทย ที่ปรับโดย Inprasitha (2010)

    ในบริบทของประเทศไทย การน�านวัตกรรม

    การศกึษาชัน้เรยีนมาใช้กับวธิกีารแบบเปด เป็นการพัฒนา

    ครูในด้านพฤติกรรมการสอน มีการเปลี่ยนแปลงระบบ

    การท�างานของครูที่เมื่อก่อนคิดคนเดียววางแผนการท�า

    งานคนเดยีว เขยีนแผนการจดัการเรยีนรูค้นเดียว แล้วน�า

    ไปใช้สอนแต่การศึกษาชั้นเรียนเป็นการท�างานเป็นกลุ่ม

    เป็นระบบเกดิความสามัคคีในหมู่คณะท�าให้องค์กรพฒันา

    (Inprasitha et. al, 2009)

    สุเมธ งามกนก (2556) กล่าวว่า การศึกษา

    บทเรียน (Lesson Study) เป็นรูปแบบการจัดการ

    เรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการคิดซึ่งได้รับการ

    พัฒนาและปรับปรุ ง ให ้ เกิดการสอนที่ ยั่ งยืนเป ็น

    เคร่ืองมือท่ีด�าเนินต่อไปในการปรับปรุงการสอนโดยยึด

    การสังเกตอย่างระมัดระวัง ผู้สอนจะสอนบทเรียนตาม

    ท่ีได้ตัดสินใจร่วมกัน และมีผู้รวบรวมข้อมูลให้ได้ข้อมูล

    อย่างดีท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ หลังจากท่ีได้มีการจัดการ

    เรียนการสอนไปแล้วสมาชิกในกลุ่มจะมีการพบกันเพ่ือ

    ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนของ

    ครู และให้การตัดสินใจเก่ียวกับสิ่งท่ีไม่ควรสอนหรือ

    ควรสอนอีกครั้งหรือประยุกต์การเรียนรู้ส�าหรับการ

    ศึกษาบทเรียนในครั้งต่อไป ข้อดีของรูปแบบ Lesson

    Study คือ ช่วยลดอุปสรรคเรื่องจ�านวนเด็กต่อห้องเรียน

    ที่มากเกินไปได้ และครูจะได้ประโยชน์โดยตรงจากการ

    พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้จนท�าให้เกิดการวิจัยข้ึนได้

  • - 7 -

    วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2559

    (นภาพร วรเนตรสุดาทิพย์, 2554) ผู ้เรียนสามารถ

    ใช้ศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่ในกระบวนการคิด

    ทางคณติศาสตร์ ดงัน้ัน การได้พฒันาบทเรยีนร่วมกนัและ

    ได้ร่วมกันดูว่าจดุมุ่งหมายของบทเรยีนและวตัถปุระสงค์มี

    ความเหมาะสมกับหลักสูตรที่ใช้กับผู้เรียนในระดับชั้น

    ต่าง ๆ ได้

    แนวคิดเกี่ยวกับการคิดทางคณิตศาสตร์ก า ร คิ ด ท า ง ค ณิ ต ศ า ส ต ร ์ เ ป ็ น ศั พ ท ์

    ที่กว ้างประกอบด้วยหลายมุมมองและความหมาย

    โดยมากนักวิจัยทางด ้านคณิตศาสตร ์และนักวิจัย

    ทางด้านคณิตศาสตร์ศึกษาให้ความหมายการคิดทาง

    คณิตศาสตร์ในฐานะที่เป็นกระบวนการที่ประกอบด้วย

    การให ้ เหตุผล ความเป ็นนามธรรม การคาดเดา

    การแสดงแทน ความแตกต่างระหว่างการแสดงแทน

    การคดิทีผู่กอยูกั่บการมองเห็น การอปุนยั การนรินยั การ

    วเิคราะห์ การสังเคราะห์ การเชือ่มโยง การท�าให้เป็นกรณี

    ทั่วไป และการพิสูจน์ (Carroll, 1996; Harel, Selden

    & Selden, 2006; Mason, Burton, & Stacey, 1982;

    Romberg & Kaput, 1999; Schoenfeld, 1992; Tall,

    1991)

    จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับ

    การคิดทางคณิตศาสตร์ท�าให้เห็นว่าการรับรู้ของผู้เรียน

    มีผลกระทบต่อการคิดทางคณิตศาสตร์ สอดคล้องกับ

    Schoenfeld (1992) กล่าวว่า คณิตศาสตร์เป็นกิจกรรม

    ที่เกิดขึ้นในหัวของผู้เรียน โดยการใช้การ�