รายงานการประชุม · 2019-01-20 ·...

27

Upload: others

Post on 06-Aug-2020

11 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ
Page 2: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

รายงานการประชุม คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 วันที่ 9 มกราคม 2562 เวลา 13.30-16.00 น.

ณ ห้องประชุม 4 ชั้น 2 อาคาร 1 ตึกส านักงานปลดักระทรวงสาธารณสุข

ผู้มาประชุม 1. นายยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ

(ด้านเวชกรรมป้องกัน) ปฏิบัติราชการแทนหัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข

ประธานคณะท างาน

2. นายเสมอ กาฬภักดี นิติกรช านาญการพิเศษ กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม

คณะท างาน

3. นายปกาสิต ค าจันทร์ นิติกรช านาญการพิเศษกลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม

คณะท างาน

4. นายสุจินต์ สิริอภัย นิติกรช านาญการ กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม

คณะท างาน

5. นางสาววรกมล อยู่นาค หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกรม ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

คณะท างาน

6. นายชาญยุทธ แสนเลิศ นักวิชาการตรวจสอบภายในช านาญการกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกรม ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

คณะท างาน

7. นางสาววิกานดาบุญเกียรติประวัติ

เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กองบริหารการคลัง

คณะท างาน

8. นางสาวดาวรุ่ง สุดแก้ว เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงานกองบริหารการคลัง

คณะท างาน

9. นางสาวสุชาฎาวรินทร์เวช

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ คณะท างานและเลขานุการ

10. นางสาวพลอยนลินค่ าคูณ

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ คณะท างานและผู้ช่วยเลขานุการ

11. นางสาวอัจฉรา นุชใย นักวิเคราะห์นโยบายและแผน คณะท างานและผู้ช่วยเลขานุการ

ผู้เข้าร่วมประชุม

1. นางอุไร ศรีทุมขันธ์ นักวิชาการตรวจสอบภายในช านาญการ กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกรม ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. นายพศวีร์ วัชรบุตร นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข

เริ่มประชุม ...

Page 3: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

- 2 -

เริ่มประชุมเวลา 14.00 น.

ระเบียบวาระท่ี 1 เรื่องท่ีประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

ประธาน กล่าวขอขอบคุณคณะกรรมการทุกท่านที่ได้มาร่วมประชุม และแจ้งค าสั่งส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ 4159/2561 ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เรื่อง แต่งตั้งคณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบว่า ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้แต่งตั้งคณะท างาน วางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพ่ือให้เป็นไปตามแผนปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 -2564) ประเด็นปฏิรูปที่ 2 และการประเมินคุณธรรมและ ความโปร่งใสในการด าเนิ นงานของหน่ วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จึงต้องมีการจัดวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบและ การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ออกแบบและปฏิบัติงานตามการควบคุมภายในที่เหมาะสม รายละเอียดตามได้จัดท าค าสั่งส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ 4159/2561 ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เรื่อง แต่งตั้งคณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยมีองค์ประกอบและหน้าที่ ดังนี้

1) องค์ประกอบ 1.1 นายยงยศ ธรรมวุฒิ

ที่ปรึกษากระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ (ด้านเวชกรรมป้องกัน)

ประธานคณะท างาน

1.2 นายเสมอ กาฬภักดี นิติกรช านาญการพิเศษ กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม

คณะท างาน

1.3 นายปกาสิต ค าจันทร์ นิติกรช านาญการพิเศษ กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม

คณะท างาน

1.4 นายสุจินต์ สิริอภัย นิติกรช านาญการ กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม

คณะท างาน

1.5 นางสาววรกมล อยู่นาค หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกรม ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

คณะท างาน

1.6 นายชาญยุทธ แสนเลิศ นักวิชาการตรวจสอบภายในช านาญการ กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกรม ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

คณะท างาน

1.7 นางสาววิกานดา บุญเกียรติประวัติ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กองบริหารการคลัง

คณะท างาน

1.8 ...

Page 4: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

- 3 -

1.8 นางสาวดาวรุ่ง สุดแก้ว เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กองบริหารการคลัง

คณะท างาน

1.9 นางสาวสุชาฎา วรินทร์เวช นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข

คณะท างาน และเลขานุการ

1.10 นางสาวพลอยนลิน ค่ าคูณ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข

คณะท างาน และผู้ช่วยเลขานุการ

1.11 นางสาวอัจฉรา นุชใย นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข

คณะท างาน และผู้ช่วยเลขานุการ

2) หน้าที่ 2.1) วางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ตามกรอบหลักการของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations) 2.2) ประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยงการทุจริตประพฤติมิชอบ และการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations) 2.3) จัดท าแผนบริหารความเสี่ยงและจัดท าระบบบริหารความเสี่ยงการทุจริตประพฤติ มิชอบ และการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง 2.4) ก าหนดแนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยง ฯ ออกแบบและจัดท ามาตรการ เพ่ือจัดการความเสี่ยงครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร ตามการควบคุมภายในที่เหมาะสม ลดความเสี่ยงด้านการทุจริต 2.5) รายงานผลการด าเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงและจัดท าระบบบริหารความเสี่ยงการทุจริตประพฤติมิชอบ และการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง และเสนอรายงานต่อผู้บริหารตามระยะเวลาที่ก าหนด 2.6) ด าเนินการอ่ืนใดที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย

มติที่ประชุม ที่ประชุมรับทราบ

ระเบียบวาระท่ี 2 เรื่องเพื่อทราบ 2.1 วางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการตามแผนปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561-2565) ประธานมอบฝ่ายเลขานุการ ด าเนินการแจ้งเรื่องเพ่ือทราบ เรื่องเดิม ฝ่ายเลขานุการ ชี้แจงว่าแผนปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประเด็นการปฏิรูปที่ 2 ด้านการป้องปรามได้ก าหนดให้ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.) วางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการเป็นประจ าทุกปี และรายงานผลการปฏิบัติต่อผู้บังคับบัญชา หรือตามระยะเวลาที่ก าหนด สอดคล้องกับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ

ด าเนินงาน ...

Page 5: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

- 4 -

ด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ในตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 การด าเนินการเพ่ือป้องกันการทุจริต ข้อย่อยที่ 2 การประเมินความเสี่ยงเพ่ือป้องกันการทุจริต และมติที่ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการด าเนินงานของ ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2561 ที่ประชุมเห็นชอบตามกรอบ การด าเนินการเพ่ือวางระบบการประเมินความเสี่ยงการทุจริตของหน่วยงานภาครัฐให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเพ่ือให้การขับเคลื่อนการด าเนินงานร่วมกับส านักงาน ป.ป.ท. เป็นไปในกรอบแนวทางดังกล่าว และก าหนดกรอบการประเมินความเสี่ยงการทุจริตใน 3 ด้าน คือ (1) ด้านที่ 1 ประเมินความเสี่ยงการทุจริตที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต (เฉพาะหน่วยงานที่มีภารกิจให้บริการประชาชน อนุมัติ อนุญาตตามพระราชบัญญัติการอ านวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558) (2) ด้านที่ 2 ประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ และ (3) ด้านที่ 3 ประเมินความเสี่ยงการทุจริต ในความโปร่งใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ ส่วนราชการท าการประเมินความเสี่ยงการทุจริต หน่วยงานละ 1 กระบวนงาน โดยคัดเลือกกระบวนงาน/งานในภารกิจที่จะท าการประเมินความเสี่ยงใน 3 ด้าน ตามคู่มือแนวทางการประเมินความเสี่ยงการทุจริต และศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข จัดส่ง (1) แผนบริหารความเสี่ยงการทุจริต ภายในวันที่ 1 เมษายน 2562 และ (2) ส่งรายงานผลการด าเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงการทุจริต ภายในวันที่ 1 สิงหาคม 2562 ข้อเท็จจริง ฝ่ายเลขานุการ ฯ ชี้แจงว่าการวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ ของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตามมติที่ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการด าเนินงานของ ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2561 นั้น จะเลือก 1 กระบวนงาน และน าส่งแผนบริหารความเสี่ยงการทุจริต และผลการด าเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงการทุจริต ภายในระยะเวลาที่ก าหนด

มติที่ประชุม ที่ประชุมรับทราบ 2.2 วางระบบการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เรื่องเดิม ฝ่ายเลขานุการ ฯ ชี้แจงว่าการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 การด าเนินการ เพ่ือป้องกันการทุจริต ข้อย่อยที่ 2 การประเมินความเสี่ยงเพ่ือป้องกันการทุจริต ประเด็นการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ข้อเท็จจริง ฝ่ายเลขานุการ ฯ ชี้แจงว่าการวางระบบการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จะน าข้อมูลรายละเอียดใน 3 ประเด็น ประกอบการวางระบบการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย 1) การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ตัวชี้วัดที่ 4 การใช้ทรัพย์สินของราชการ ซึ่งประเมินพฤติกรรมในการน าทรัพย์สินของราชการของหน่วยงานไปเป็นของตนเองหรือน าไปให้ผู้อ่ืน และพฤติกรรมการในการขอยืมทรัพย์สินของราชการทั้งการยืมโดยบุคลากรภายนอกหน่วยงาน

และภายใน ...

Page 6: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

- 5 -

และภายในหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานต้องมีกระบวนการในการขออนุญาตที่ชัดเจนและสะดวก และต้องจัดท าแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการที่ถูกต้อง ให้บุคลากรภายในรับทราบและน าไปปฏิบัติ รวมถึงการก ากับดูแลตรวจสอบการใช้ทรัพย์สินของราชการ 2) ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม พ.ศ. .... ในมาตรา 5 ประเด็นการใช้ทรัพย์สินของราชการ ประกอบด้วย (1) ยานพาหนะ (2) เครื่องมือสื่อสาร (3) อาคารสถานที่ (4) วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องใช้ส านักงาน และ (5) สิ่งสาธารณูปโภค 3) ประกาศส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไข การกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 19 มกราคม 2560 ใน 4 มาตรการ ประกอบด้วย (1) มาตรการการใช้รถราชการ (2) มาตรการการ เบิกค่าตอบแทน (3) มาตรการการจัดท าโครงการฝึกอบรม ศึกษาดูงาน ประชุม และสัมมนาตามที่กฎหมายก าหนด และ (4) มาตรการการจัดหาพัสดุตามที่กฎหมายก าหนด

มติที่ประชุม ที่ประชุมรับทราบ ระเบียบวาระท่ี 3 เรื่องเพื่อพิจารณา 3.1 วางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ และวางระบบการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ตามกรอบหลักการของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 Committee of Sponsoring Organizations) เรื่องเดิม ฝ่ายเลขานุการ ฯ ชี้แจงว่าแผนปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประเด็นการปฏิรูปที่ 2 ด้านการป้องปรามได้ก าหนดให้ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.) วางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการเป็นประจ าทุกปี และรายงานผล การปฏิบัติต่อผู้บังคับบัญชา หรือตามระยะเวลาที่ก าหนด สอดคล้องกับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ในตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 การด าเนินการเพ่ือป้องกันการทุจริต ข้อย่อย ที่ 2 การประเมินความเสี่ยงเพ่ือป้องกันการทุจริต และส านักงาน ป.ป.ท. ก าหนดให้วางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบและความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ตามกรอบหลักการของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations) ข้อเท็จจริง ฝ่ายเลขานุการชี้แจงประเด็นการวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ และความเสี่ยงเก่ียวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ตามเงื่อนไขทีส่ านักงาน ป.ป.ท. ก าหนดดังนี้ 1. การประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ส่วนราชการวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบตามกรอบที่ส านักงาน ป.ป.ท. ก าหนด และยังได้ยกตัวอย่างรูปแบบความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ ประกอบด้วย

1.1 การเข้าตรวจ หรือเยี่ยม สถานที่ของผู้ประกอบการ เช่น โรงงาน ร้านค้า ฯลฯ โดยมีเจตนา น าไปสู่การจ่ายเงินพิเศษรายเดือน

1.2 ...

Page 7: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

- 6 -

1.2 การเปลี่ยนแปลงข้อกล่าวหา (ฐานความผิด) จากหนักเป็นเบา หรือจากเบาเป็นหนัก 1.3 การบิดผันข้อเท็จจริงในส านวนการสอบสวนคดีอาญา 1.4 การท าบัตรสนเท่ห์ว่ามีเรื่องร้องเรียนผู้ประกอบการเพ่ือท าการตรวจ ค้น กรณี

ผู้ประกอบการร้านค้านั้น ๆ ที่ไม่จ่ายเงินพิเศษรายเดือน 1.5 การใช้ตัวกลางในการรับเงินพิเศษ หรือ เก็บเงินรายเดือน กับผู้ประกอบการต่าง ๆ 1.6 การใช้ดุลพินิจในการ อนุมัติ หรือ ยกเว้นระเบียบฯ ที่เอ้ือประโยชน์มีผลประโยชน์ทับซ้อน 1.7 การออกระเบียบ กฎหมาย ข้อสั่งการต่างๆ ที่เอ้ือประโยชน์ มีผลประโยชน์ทับซ้อน 1.8 การให้ทุนสนับสนุนการศึกษา วิจัยต่าง ๆ ให้กับพรรคพวก มีระบบเส้นสาย ระบบอุปถัมภ์ 1.9 การแต่งตั้งคณะกรรมการ อนุกรรมการต่าง ๆ ให้กับพรรคพวก มีระบบเส้นสายระบบ

อุปถัมภ์ 1.10 ความไม่โปร่งใสในการบริหารงานบุคคล เช่น การชื้อ ขายต าแหน่ง การประเมิน

ความดีความชอบการแต่งตั้ง โยกย้าย การด าเนินการวินัย เป็นต้น 1.11 การเรียกรับเงิน ผลประโยชน์ เพื่อรับพนักงานเข้าท างาน/การเรียกเงินค่าแรกเข้า

(แป๊ะเจี๊ยะ) เพื่อแลกกับการเข้าเรียนในโรงเรียน 1.12 ใช้อ านาจในการแจกจ่าย จัดสรรงบประมาณ ลงพ้ืนที่ หรือจัดท าโครงการที่มี

ผลประโยชน์ทับซ้อน หรือมีการแลกรับผลประโยชน์ในภายหลัง 1.13 การประเมินราคาไม่ตรงกับสภาพทรัพย์สินที่น ามาจ าน า 1.14 การเปลี่ยนทรัพย์สินที่ลูกค้าน ามาจ าน า 1.15 การยักยอกทรัพย์สินที่ได้จากการตรวจค้น จับกุม ไม่ระบุในบัญชีของกลาง 1.16 การลดปริมาณของกลางเพ่ือลดโทษ เพ่ือเรียกรับผลประโยชน์ 1.17 การกรรโชก (รีดไถ) เรียกเอาทรัพย์จากผู้กระท าความผิด 1.18 การเข้าตรวจค้น ปกปิด ซ่อนเร้นไม่มีหมายค้น 1.19 การท าร้ายร่างกายเพ่ือให้รับสารภาพ 1.20 รู้เห็นกับผู้ที่มาท าการประมูลของหลุดจ าน า มีการให้ข้อมูลการจ าหน่ายของหลุด

จ าน าล่วงหน้ากับพรรคพวกของตนเอง 1.21 การแอบอ้างชื่อบุคคลอ่ืน หรือชื่อลูกค้า ยักยอกทรัพย์สินจ าน าออกไป 1.22 เจ้าหน้าที่ของรัฐ รู้เห็นในการปลอมแปลงและใช้เอกสารปลอม เช่น การปลอมระวาง

แผนที่ มีการปกปิดและให้ถ้อยค ารับรองอันเป็นเท็จเกี่ยวกับสภาพที่ดิน 1.23 ผู้บังคับใช้กฎหมาย น าตัวบทกฎหมายไปแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ

ฝ่ายเลขานุการ เสนอให้ประชุมพิจารณาความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบตามกรอบที่ส านักงาน ป.ป.ท. ก าหนด โดยคัดเลือกการประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ ประเด็นการเรียกรับเงิน ผลประโยชน์ เนื่องจากเป็นสถานการณ์ที่คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2560 รับทราบมาตรการป้องกันการทุจริตในกระบวนการเบิกจ่ายยาตามสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอ และให้กระทรวงสาธารณสุขรับไปพิจารณาด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการด าเนินการตามข้อเสนอของส านักงาน ป.ป.ช. ข้อ 1.3.1 “ห้ามไม่ให้หน่วยงานที่ท าการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล” ประกอบกับศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข มีการจัดท ามาตรการในการป้องกันความเสี่ยงด้านทุจริต โดยจัดท าประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหาและ การส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ท่ีมิใช่ยาของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. .... ขณะนี้รอระเบียบกระทรวงสาธารณสขุ

ว่าด้วย ...

Page 8: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

- 7 -

ว่าด้วยการบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. .... ที่ด าเนินการประชาพิจารณ์อยู่ขณะนี้ เหตุเพราะประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรม ฯ พ.ศ. .... ต้องออกตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของ ส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. .... 2. การประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศมาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไข การกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2560 ใน 4 มาตรการ ประกอบด้วย (1) มาตรการการใช้รถราชการ (2) มาตรการ การเบิกค่าตอบแทน (3) มาตรการการจัดท าโครงการฝึกอบรม ศึกษาดูงาน ประชุม และสัมมนาตามท่ีกฎหมายก าหนด และ (4) มาตรการการจัดหาพัสดุตามที่กฎหมายก าหนด ซึ่งประกาศฉบับนี้ ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดท าประกาศ ในส่วนการก ากับติดตามปลัดกระทรวงสาธารณสุขในสมัยนั้น มอบหมายให้กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรมเป็นหน่วยงานเจ้าภาพ เป็นไปตามตัวชี้วัดที่ 1.2 นโยบายเร่งด่วนของผู้บริหาร (Agenda Base) ข้อที่ 1.2.1 เรื่อง ความส าเร็จของการด าเนินการตามมาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ด าเนินการมาแล้ว 2 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2561) ซึ่งผลการด าเนินการนั้นได้สร้างความตื่นรู้ และความตระหนักรู้ ในมาตรการส าคัญ 4 มาตรการ ประกอบกับมาตรการดังกล่าวได้บรรจุในประเด็นผลประโยชน์ทับซ้อนในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามตัวชี้วัดที่ 79 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ การประเมิน ITA ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 และตัวชี้วัดที่ 60 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ฝ่ายเลขานุการ กล่าวสรุปเสนอที่ประชุมส าหรับการน ามาตรการป้องกันการทุจริตและแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ใน 4 มาตรการ โดยเพ่ิมประเด็นการใช้ทรัพย์สินของราชการ ประกอบด้วย (1) ยานพาหนะ (2) เครื่องมือสื่อสาร (3) อาคารสถานที่ (4) วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องใช้ส านักงาน และ (5) สิ่งสาธารณูปโภค ตามมาตรา 5 แห่งร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม พ.ศ. .... เข้าในมาตรการการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ใน 4 มาตรการ (เดิม) ที่จะต้องทบทวนและจัดท าขึ้นใหม่ และแจ้งที่ประชุมพิจารณาประเด็นการวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ และการวางระบบการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน 2 ประเด็น ดังนี้ 1. ระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบตามกรอบที่ส านักงาน ป.ป.ท. ก าหนด เลือกการประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ ประเด็นการเรียกรับเงิน ผลประโยชน์ของหน่วยงานที่ท าการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภท จากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล 2. ระบบการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ประเด็นมาตรการป้องกัน การทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ใน 5 มาตรการ ประกอบด้วย (1) มาตรการการใช้รถราชการ (2) มาตรการการเบิกค่าตอบแทน (3) มาตรการการจัดท าโครงการฝึกอบรม ศึกษาดูงาน ประชุม และสัมมนาตามที่กฎหมายก าหนด (4) มาตรการการจัดหาพัสดุตามที่กฎหมายก าหนด และ (5) การใช้ทรัพย์สินของราชการ

มติที่ประชุม ที่ประชุมรับทราบ 3.2 ...

Page 9: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

- 8 -

3.2 (ร่าง) วิเคราะห์ความเสี่ยงการทุจริตประพฤติมิชอบ และความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง เรื่องเดิม ฝ่ายเลขานุการชี้แจงว่า ส านักงาน ป.ป.ท. ได้ก าหนดให้ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.) ระดับกระทรวง วางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบและความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ตามกรอบหลักการของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations) ข้อเท็จจริง ฝ่ายเลขานุการ กล่าวอธิบายการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนตามกรอบหลักการของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations) โดยละเอียดและเสนอให้ที่ประชุมพิจารณา (ร่าง) วิเคราะห์ความเสี่ยงการทุจริตประพฤติมิชอบ และความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ที่ได้การวิเคราะห์ตามกรอบหลักการของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations) และพิจารณา (ร่าง) ประกาศส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. .... ที่ได้ทบทวนจากประกาศส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ลงวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2560 ข้อเสนอเพื่อพิจารณา ฝ่ายเลขานุการ กล่าวเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาเรื่อง (ร่าง) วิเคราะห์ความเสี่ยงการทุจริตประพฤติมิชอบ และความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ที่ได้การวิเคราะห์ตามกรอบหลักการของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations) และ (ร่าง) ประกาศส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. .... ที่ได้ทบทวนมาตรการป้องกันการทุจริต เพ่ิมประเด็น การใช้ทรัพย์สินของราชการตามประกาศส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง มาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2560 และชี้แจงเพ่ิมเติมว่าในส่วนการวิเคราะห์ความเสี่ยงการทุจริตประพฤติมิชอบ ประเด็นการเรียกรับเงิน ผลประโยชน์ของหน่วยงานที่ท าการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล ฝ่ายเลขานุการจะวิเคราะห์ความเสี่ยงการทุจริตประพฤติมิชอบ ประเด็นดังกล่าวให้แล้วเสร็จเพ่ือน าส่งส านักงาน ป.ป.ท. ตามก าหนดต่อไป ความเห็นของที่ประชุม 1. ที่ประชุมรับทราบ (ร่าง) วิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ที่ได้การวิเคราะห์ตามกรอบหลักการของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations) โดยไม่แก้ไขรายละเอียด 2. ที่ประชุมรับทราบ (ร่าง) ประกาศส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. .... ที่ได้ทบทวนมาตรการป้องกันการทุจริต เพ่ิมประเด็นการใช้ทรัพย์สินของราชการ โดยเพ่ิมประเด็นการใช้ทรัพย์สินของราชการ เป็นมาตรการที่ 5

3. ประธาน ...

Page 10: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

- 9 -

3. ประธานมอบหมายฝ่ายเลขานุการ จัดท า (ร่าง) วิเคราะห์ความเสี่ยงการทุจริตประพฤติมิชอบ การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ประเด็นการเรียกรับเงิน ผลประโยชน์ของหน่วยงานที่ท าการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล ที่วิเคราะห์ตามกรอบหลักการของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations) จัดส่งให้คณะท างานพิจารณาภายหลังการประชุม

มติที่ประชุม ที่ประชุมรับทราบ 3.3 ก าหนดแนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยง ฯ ออกแบบระบบบริหารความเสี่ยง และจัดท ามาตรการเพื่อจัดการความเสี่ยงครอบคลุมทั่วทั้งองค์กรตามการควบคุมภายในที่เหมาะสม เรื่องเดิม ฝ่ายเลขานุการ ชี้แจงว่าส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้มอบหมายคณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพ่ือให้เป็นไปตามแผนปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561-2564) ประเด็นปฏิรูปที่ 2 และการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จึงต้องมีการจัดวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ และการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ออกแบบและปฏิบัติงานตามการควบคุมภายในที่เหมาะสม ข้อเท็จจริง ฝ่ายเลขานุการ ฯ ชี้แจงว่า ได้จัดท า (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. .... (ร่าง) ประกาศส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. .... ที่เพ่ิมเติมประเด็นการใช้ทรัพย์สินของราชการ เป็นมาตรการที่ 5 และ (ร่าง) ใบยืมพัสดุประเภทคงรูปของหน่วยงานส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตามข้อ 207 ถึงข้อ 211 (การยืม) แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อเสนอเพื่อพิจารณา ฝ่ายเลขานุการ กล่าวเสนอที่ประชุมพิจารณา ประเด็นของ (ร่าง) ประกาศส านักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. .... ที่เพ่ิมเติมประเด็นการใช้ทรัพย์สินของราชการ เป็นมาตรการที่ 5 และ (ร่าง) ใบยืมพัสดุประเภทคงรูปของหน่วยงานส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตามข้อ ข้อ 207 ถึงข้อ 211 (การยืม) แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ความเห็นของที่ประชุม 1. ที่ประชุมรับ (ร่าง) ประกาศส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการป้องกัน การทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. .... ที่เพ่ิมเติมประเด็นการใช้ทรัพย์สินของราชการ เป็นมาตรการที่ 5 โดยให้ปรับแก้ไข (ร่าง) โดยระบุความชัดเจนกรณีการใช้ทรัพย์สินของราชการ ประเด็นบุคคลยืมทรัพย์สินของราชการ และประธานมอบ

ฝ่ายเลขานุการ ...

Page 11: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

- 10 -

ฝ่ายเลขานุการ ตรวจสอบสาระส าคัญใน (ร่าง) ประกาศ ฯ ร่วมกับผู้เป็นคณะท างาน กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม จากนั้นส่งให้กองกฎหมายตรวจสอบ (ร่าง) ประกาศ เพ่ือความถูกต้องสมบูรณ์ 2. ที่ประชุมรับ (ร่าง) ใบยืมพัสดุประเภทคงรูปของหน่วยงานส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตามข้อ ข้อ 207 ถึงข้อ 211 (การยืม) แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 โดยให้ระบุความชัดเจนแก้ไขประโยค “ใบยืมพัสดุประเภทคงรูปของหน่วยงานส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข” เป็น “ใบยืมพัสดุประเภทคงรูปของเจ้าหน้าที่รัฐของหน่วยงานในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข” ให้เพ่ิมหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ยืมพัสดุ เพ่ือการติดตามทวงพัสดุที่ให้ยืมไปคืน ภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ครบก าหนด และประธานมอบฝ่ายเลขานุการ ตรวจสอบสาระส าคัญใน (ร่าง) ใบยืมพัสดุประเภทคงรูป ร่วมกับผู้เป็นคณะท างาน กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม เพ่ือความถูกต้องสมบูรณ์ ต่อมาฝ่ายเลขานุการชี้แจงการมอบหมายคณะท างานด าเนินการ ดังนี้ 1. กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม ควบคุมก ากับการรายงานผลตามประกาศ ฯ รอบ 6 เดือน และ 12 เดือน 2. กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกรม ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ด าเนินการตรวจสอบภายใน ทั้ง 5 มาตรการ 3. กองบริหารการคลัง ติดตามควบคุมภายในตามมาตรฐานการควบคุมภายในส าหรับหน่วยงานของรัฐที่กระทรวงการคลังก าหนด 4. ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข ด าเนินการ 4.1 แก้ไขประกาศส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระท าผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. .... ตามมติที่ประชุม และแจ้งเวียนให้ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด กรณีดังกล่าวแจ้งไปยังส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาคด้วย 4.2 แก้ไขใบยืมพัสดุประเภทคงรูปของเจ้าหน้าที่รัฐของหน่วยงานในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตามมติที่ประชุม และแจ้งเวียน รวมถึงการซักซ้อมความเข้าใจให้แก่บุคลากรในหน่วยงาน

มติที่ประชุม ที่ประชุมรับทราบ 3.4 การรายงานผลการด าเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงการทุจริตประพฤติมิชอบ และแผนบริหารความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง เรื่องเดิม ฝ่ายเลขานุการ ชี้แจงว่าส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้มอบหมายคณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพ่ือให้เป็นไปตามแผนปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561-2564) ประเด็นปฏิรูปที่ 2 และการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ข้อเท็จจริง ฝ่ายเลขานุการ ชี้แจงว่า ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข ในฐานะ ฝ่ายเลขานุการของคณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ด าเนินการ

1. จัดส่ง ...

Page 12: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

- 11 -

1. จัดส่งแผนบริหารความเสี่ยงการทุจริตประพฤติมิชอบ ของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ไปยังส านักงาน ป.ป.ท. ภายในวันที่ 1 เมษายน 2562 และน าขึ้นเผยแพร่บนเว็บไซต์ ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือรอรับการตรวจประเมิน ITAS จากส านักงาน ป.ป.ช. ผ่านเว็บไซต์

2. จัดส่งผลการด าเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงการทุจริตประพฤติมิชอบ ภายในวันที่ 1 สิงหาคม 2562 และน าขึ้นเผยแพร่บนเว็บไซต์ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือรอรับการตรวจประเมิน ITAS จากส านักงาน ป.ป.ช. ผ่านเว็บไซต์

3. แผนบริหารความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ที่ได้วิเคราะห์เสร็จสิ้นแล้ว น าขึ้นเผยแพร่บนเว็บไซต์ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือรอรับการตรวจประเมิน ITAS จากส านักงาน ป.ป.ช. ผ่านเว็บไซต์ รวมถึงรายงานผลการด าเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลางด้วย

4. ให้คณะท างานจัดส่งผลการด าเนินการ ฯ ตามที่ได้รับมอบหมายไปยังศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ [email protected] ตามรอบระยะเวลา ที่ก าหนดตามรอบ รอบ 6 เดือน ส่งภายในวันที่ 10 เมษายน 2562 และ รอบ 12 เดือน ส่งภายในวันที่ 10 ตุลาคม 2562

มติที่ประชุม ที่ประชุมรับทราบ ระเบียบวาระท่ี 4 เรื่องอ่ืนๆ ไม่มี ปิดประชุมเวลา 15.15 น.

(นางสาวสุชาฎา วรินทร์เวช) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ผู้จดบันทึก และตรวจรายงานการประชุม ฯ

Page 13: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 1

(ร่าง)

ผลการประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใส ของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่

บทน า

“ยา” เป็นสินค้าคุณธรรม (Merit Goods) ที่ต้องอาศัยข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้องทั้งข้อดีและข้อเสียในการตัดสินใจเลือกใช้มากกว่าการลด แลก แจก แถม หรือสร้างแรงจูงใจด้วยวิธีการต่าง ๆ แต่ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกว่าอิทธิพลการส่งเสริมการขายยาของบริษัทยา โดยเฉพาะที่กระท าโดยตรงต่อแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ เป็นสาเหตุหรือปัจจัยที่ส าคัญมากประการหนึ่ งที่ท าให้ เกิดการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผล ในโรงพยาบาล ประกอบกับในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาได้ปรากฏข่าวตามสื่อมวลชนถึงกรณีการทุจริตเบิกจ่าย ค่ารักษาพยาบาล ค่ายาของข้าราชการ อาทิ การยิงยาของบุคลากรทางการแพทย์ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท าให้ภาครัฐต้องสูญเสียงบประมาณโดยไม่จ าเป็น ยา พบว่ามีบุคลากรทางการแพทย์ที่มีผลประโยชน์ทับซ้อนกับการปฏิบัติหน้าที่ในลักษณะยิงยาจ านวนหลายครั้งเกินปกติจากบริษัทยาที่มียอดการสั่งจ่ายสูง โดยมีอ านาจสั่งจ่ายยาที่ไม่จ าเป็นและเหมาะสมสัมพันธ์กับอาการเจ็บป่วยของผู้ป่วยรายนั้น หรือจ่ายยาในลักษณะสิ้นเปลืองโดยไม่จ าเป็นเน้นการจ่ายยานอกบัญชียาหลักซึ่งมีราคาแพง พฤติการณ์คือมีผลประโยชน์ทับซ้อนกับบริษัทผู้ผลิตยา หรือตัวแทนจ าหน่ายยา ในลักษณะของผลประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ เช่น เงินตอบแทน ของก านัล การเดินทางไปต่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งในกรณีนี้ท าให้รัฐสูญเสียงบประมาณไปเป็นจ านวนมาก

นิยามเฉพาะในการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับการทุจริต การประเมินความเสี่ยง หมายถึง กระบวนการประเมินความเสี่ยงที่เป็นระบบในการบริหารปัจจัยและ

ควบคุมกระบวนการปฏิบัติงานเพ่ือลดมูลเหตุของโอกาสที่จะท าให้เกิดความเสียหายจากการปฏิบัติงานที่อาจเกิดการทุจริต ด้วยการน ากรอบหลักการของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations) มาใช้ ในการประเมินความเสี่ ยงเกี่ยวกับการทุจริตของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

การทุจริต หมายถึง การกระท าผิดของบุคคลที่อยู่ในต าแหน่งหน้าที่การงาน มีอ านาจและได้ใช้ต าแหน่งและอ านาจที่ตนเองด ารงอยู่เพ่ือแสวงประโยชน์ในทางมิชอบให้แก่ตนและพวกพ้อง

การทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ หมายถึง ผู้มีอ านาจใช้อ านาจหน้าที่โดยมิชอบเพ่ือแสวงประโยชน์ในทางมิชอบให้แก่ตนและพวกพ้อง เพ่ือแสวงประโยชน์ในทางมิชอบให้แก่ตนและพวกพ้อง ซึ่งผลประโยชน์อาจจะอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เป็นเงิน เป็นสิ่งของ เป็นการกระท าที่เอ้ือประโยชน์ให้สามารถแปรรูปได้ เช่น เงินตอบแทน ของก านัล การเดินทางไปต่างประเทศ

การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ จึงหมายถึงกระบวนการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับการทุจริตในกระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาลด้วยการน ากรอบหลักการของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of Sponsoring Organizations) มาใช้ในการประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของ

Page 14: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 2

การใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ในกระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล

Page 15: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 3

1 • การระบุความเสี่ยง

2 • การวิเคราะห์สถานะความเสี่ยง

3 • เมทริกส์ระดับความเสี่ยง

๔ • การประเมินการควบคุมความเสี่ยง

๕ • แผนบริหารความเสี่ยง

6 • การจัดท ารายงานผลการเฝ้าระวังความเสี่ยง

7 • จัดท าระบบการบริหารความเสี่ยง

๘ • การจัดท ารายงานการบริหารความเสี่ยง

9• การรายงานผลการด าเนินงานตามแผนการบริหารความ

เสี่ยง

การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล ก าหนดขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง เพ่ือด าเนินการวิเคราะห์ความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ ในกระบวนการเบิกจ่ายยาของบุคลากรทางการแพทย์ของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จ านวน 8 ขั้นตอน ใน ๙ ขั้นตอน ส าหรับขั้นตอนที่ 9 เป็นการรายงานผลการด าเนินงานตามแผนการบริหารความเสี่ยง ซึ่งจะด าเนินการรายงานภายหลังจากด าเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ในกระบวนการเบิกจ่ายยาของบุคลากรทางการแพทย์ของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ประเมิน ความเสี่ยง 8 ขั้นตอน

ขั้นตอนที่ 9 ปรากฏเป็นเอกสารที่อยู่ภายนอกเอกสาร การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ในกระบวนการเบิกจ่ายยาของบุคลากรทางการแพทย์ของส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข น้ี

Page 16: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 4

ขั้นเตรียมการประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้ท าการประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ในกระบวนการกระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล ด้วยการค้นหาความเสี่ยง (Risk Identification) จากข้อมูลการศึกษาเรื่องมาตรการป้องกันการทุจริตในกระบวนการเบิกจ่ายยาตามสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการของส านักงาน ป.ป.ช. ที่เสนอเรื่องดังกล่าวต่อคณะรัฐมนตรี ประกอบไปด้วย (1) ข้อเสนอแนะเชิงระบบ และ (2) ข้อเสนอแนะเชิงภารกิจคณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษาเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2560 ลงมติรับทราบมาตรการป้องกันการทุจริตในกระบวนการเบิกจ่ายยาตามสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอ และผลการพิจารณาเกี่ยวกับมาตรการป้องกันการทุจริตฯ ดังกล่าวตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ บุคลากรในโรงพยาบาล เป็นกลุ่มใหญ่ที่มีช่องโหว่ที่จะเข้าข่ายทุจริตเบิกค่ารักษาพยาบาลได้มากที่สุด โดยพบว่าแพทย์มีพฤติกรรมสั่งยาให้ตัวเองสัปดาห์ละประมาณ ๒๐,๐๐๐–๓๐,๐๐๐ บาท และสั่งยาเกินความจ าเป็นในรายที่ผู้ป่วยไม่ค่อยได้มาใช้สิทธิที่โรงพยาบาล ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้มีการน าเวชระเบียนของผู้ป่วยมาเบิกยาโดยผู้ป่วยไม่ทราบเรื่อง รวมถึงยังพบพฤติกรรมการบันทึกข้อมูลจ านวนยาสูงกว่าที่แพทย์สั่งจ่าย เช่น หมอสั่งจ่ายยาจ านวน ๓๐๐ เม็ด แต่เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลจ่ายยา ๑,๐๐๐ เม็ด กรณีแพทย์สั่งจ่ายยาเกินความจ าเป็นให้แก่ผู้ป่วย และสั่งจ่ายยาที่ไม่เกี่ยวกับโรคที่วินิจฉัย เช่น ผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคเข่าเสื่อม แพทย์สั่งจ่ายยารักษาโรคเข่าเสื่อมในขณะเดียวกันแพทย์ก็สั่งจ่ายน้ าตาเทียมไปด้วย แพทย์บางรายมีเป้าหมายจ่ายยาออกมามากๆ เพ่ือท ายอดให้กับบริษัทยาแลกกับผลประโยชน์ด้านอื่น ๆ แพทย์บางรายสั่งจ่ายยาให้ตนเองและบุคคลในครอบครัวด้วยตัวยาเดียวกัน โดยไม่มีการวินิจฉัยโรค และยังพบอีกว่าแพทย์ผู้นั้นมีคลินิกส่วนตัว แพทย์สั่งจ่ายยานอกบัญชียาหลัก ซึ่งเป็นยาที่มีราคาแพงมากเมื่อเทียบกับราคายาในบัญชีหลัก นอกจากนี้ ยังพบกลุ่มบริษัทจ าหน่ายยา มีความเกี่ยวพันกับโรงพยาบาล มีการจ่ายค่าคอมมิชชั่นให้กับโรงพยาบาลและแพทย์ในรูปแบบต่าง ๆ เทียบจากงบประมาณค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาลปี ๒๕๕๒ ประมาณ ๖๑,๐๐๐ ล้านบาท จะเป็นค่ายาประมาณ ๕๐,๐๐๐ ล้านบาท ซึ่งเป็นเม็ดเงินก้อนโต และยังพบว่ามีเจ้าหน้าที่ผู้มีอ านาจสั่งจ่ายยามีการสั่งจ่ายยาที่ไม่จ าเป็นและเหมาะสมสัมพันธ์กับอาการเจ็บป่วยของผู้ป่วยรายนั้น หรือจ่ายยาในลักษณะสิ้นเปลืองโดยไม่จ าเป็น เน้นการจ่ายยานอกบัญชียาหลักซึ่งมีราคาแพง โดยมีผลประโยชน์ทับซ้อนกับบริษัทผู้ผลิตยาหรือตัวแทนจ าหน่ายยาในลักษณะของผลประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ เช่น เงินตอบแทน ของก านัล การเดินทางไปต่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งในกรณีนี้ท าให้รัฐสูญเสียงบประมาณไปเป็นจ านวนมาก และจากการตรวจสอบของกรมสอบสวนคดีพิเศษ พบบุคลากรทางการแพทย์ที่มีผลประโยชน์ทับซ้อนกับการปฏิบัติหน้าที่ในลักษณะยิงยาจ านวนหลายครั้งเกินปกติจากบริษัทยาที่มียอดการสั่งจ่ายสูง ท าให้รัฐสูญเสียค่าใช้จ่ายเกินความจ าเป็น หรือในบางรายมีพฤติกรรมทุจริตอาศัยช่องว่างในโอกาส ต าแหน่งหน้าที่ หรือสิทธิที่ตนมีเพ่ือแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบ สามรถแบ่งกลุ่มของบุคลากรที่มีความเกี่ยวข้องได้ 2 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มบริษัทยา มีพฤติกรรมการส่งเสริมการขายยาที่ไม่เหมาะสม โดยการเสนอประโยชน์ให้แก่บุคลากรทางการแพทย์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสั่งจ่ายยา เพ่ือแลกกับยอดจ าหน่าย ตัวอย่าง เช่น การเสนอให้แพทย์ผู้สั่งจ่ายยาเข้าร่วมการสัมมนาในต่างประเทศ การเสนอค่าคอมมิชชั่นในลักษณะการบริจาคให้แก่กองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล หรือการให้ตัวอย่างยาแก่แพทย์ผู้สั่งจ่ายยาเป็นการเฉพาะบุคคล พฤติกรรมดังกล่าวเป็นการจูงใจให้แพทย์สั่งจ่ายยาอย่างไม่เหมาะสม และ (๒) กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสั่งจ่ายยา

Page 17: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 5

ท าการสั่งจ่ายยาอย่างไม่เหมาะสม เช่น เลือกจ่ายยาที่มีราคาแพงโดยไม่จ าเป็น ทั้งที่สามารถจ่ายยาที่มีราคาถูกที่มีคุณภาพเท่ากันได้ หรือจ่ายยาที่ไม่จ าเป็นหรือในปริมาณเกินความจ าเป็น หรือที่เรียกว่า “พฤติกรรมการยิงยา” ในบางกรณีพบว่ามีการสั่งจ่ายยาโดยทุจริต เช่น จ่ายยาโดยไม่มีการตรวจรักษาเพ่ือน ายาที่เบิกจ่ายไปใช้ส่วนตัว หรือโรงพยาบาลเรียกรับผลประโยชน์จากบริษัทยาเพ่ือแลกกับการสั่งจ่ายยา เป็นต้น ดังนั้น การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทน ทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล สรุปดังนี้

ประเมินความเสี่ยงการทุจริต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ประเมินความเสี่ยงการทุจริตด้าน 1. ความเสี่ยงการทุจริตที่เก่ียวข้องกับการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต 2. ความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ 3. ความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ ชื่อกระบวนงาน/งาน กระบวนงานการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล ชื่อหน่วยงาน / กระทรวง ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบ นางสาวสุชาฎา วรินทร์เวช โทรศัพท์ 0 2590 1330

Page 18: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 6

ขั้นตอนที่ ๑ การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ระบุความเสี่ยง (Risk Identification) ในขั้นตอนนี้ โดยน าข้อมูลที่ ได้จากขั้นเตรียมการประเมินความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ “กระบวนงานการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่าง ตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล” มาท าการระบุความเสี่ยงลงในประเภทของความเสี่ยงซึ่งเป็น Known Factor และ Unknown Factor ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ตารางระบุความเสี่ยงที่เป็น Know Factor และ Unknown Factor

ที ่ โอกาส/ความเสี่ยงในการทุจริต ประเภทความเสี่ยงการทุจริต

Know Factor Unknown Factor

1 กระบวนงานการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล

-

หมายเหตุ Know Factor เป็นความเสี่ยงทางพฤติกรรมที่รับรู้ว่าเคยเกิดมาก่อน คาดหมายว่ามีโอกาสที่จะเกิดซ้ า มีประวัติอยู่แล้ว Unknow Factor เป็นความเสี่ยงที่ไม่เคยเกิดหรือไม่มีประวัติมาก่อน แต่มีความเสี่ยงจากการพยากรณ์ในอนาคตว่ามีโอกาสเกิด

Page 19: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 7

ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์สถานะความเสี่ยง (Risk Identification) ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ท าการวิเคราะห์สถานะความเสี่ยง (Risk Identification) โดยน าโอกาส/ความเสี่ยงในการทุจริต “กระบวนงานการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการ หารายได้ ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล”จากตารางที่ 1 ในช่อง Know Factor มาแยกตามรายสีไฟจราจร เพ่ือแสดงสถานะความเสี่ยงการทุจริตกระบวนงานการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล

ตารางที่ 2 ตารางแสดงสถานะความเสี่ยงแยกตามรายสีไฟจราจร

ที ่ โอกาส/ความเสี่ยงในการทุจริต เขียว เหลือง ส้ม แดง

1 กระบวนงานการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล

หมายเหตุ ความหมายของสถานะความเสี่ยงตามสีไฟจราจร มีรายละเอียดดังนี้ สถานะสีเขียว ความเสี่ยงระดับต่ า สถานะสีเหลือง ความเสี่ยงระดับปานกลาง และสามารถใช้ความรอบคอบระมัดระวังใน ระหว่างปฏิบัติงาน ตามปกติควบคุมดูแลได้ สถานะสีส้ม ความเสี่ยงระดับสูง เป็นกระบวนงานที่มีผู้เกี่ยวข้องหลายคน หลายหน่วยงาน ภายในองค์กร มีหลายขั้นตอน จนยากต่อการควบคุม หรือไม่มีอ านาจควบคุม ข้ามหน่วยงานตามหน้าที่ปกติ สถานะสีแดง ความเสี่ยงระดับสูงมาก เป็นกระบวนงานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก คนที่ไม่รู้จักไม่สามารถตรวจสอบได้ชัดเจน ไม่สามารถก ากับติดตามได้อย่าง ใกล้ชิดหรืออย่างสม่ าเสมอ

Page 20: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 8

ขั้นตอนที่ ๓ เมทริกส์ระดับความเสี่ยง (Risk level matrix)

ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ก าหนดระดับความเสี่ยง (Risk level matrix) กระบวนงานการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล” โดยน าโอกาส/ความเสี่ยงการทุจริตที่มีสถานะความเสี่ยงระดับสูงจนถึงความเสี่ยงระดับสูงมาก ที่เป็นสีแดง จากตารางที่ ๒ มาท าการหาค่าความเสี่ยงรวม ซึ่งได้จากระดับความจ าเป็นของการเฝ้าระวังท่ีมีค่า ๑-๓ คูณด้วยระดับความรุนแรงของผลกระทบที่มีค่า ๑-๓ ค่า ๑-๓ โดยมีเกณฑ์ในการให้ค่า ดังนี้ ๓.๑ ระดับความจ าเป็นของการเฝ้าระวัง มีแนวทางในการพิจารณาดังนี ้ - ถ้าเป็นกิจกรรมหรือขั้นตอนหลักที่ส าคัญของกระบวนงานนั้น ๆ แสดงว่ากิจกรรมหรือขั้นตอนนั้น เป็น MUST หมายถึงมีความจ าเป็นสูงของการเฝ้าระวังความเสี่ยงการทุจริตที่ต้องท าการป้องกัน ไม่ด าเนินการไม่ได้ ค่าของ MUST คือ ค่าท่ีอยู่ในระดับ ๓ หรือ ๒ - ถ้าเป็นกิจกรรมหรือขั้นตอนนั้นเป็นกิจกรรม หรือขั้นตอนรองของกระบวนงานนั้น ๆ แสดงว่ากิจกรรมหรือขั้นตอนนั้นเป็น SHOULD หมายถึงมีความจ าเป็นต่ าในการเฝ้าระวังความเสี่ยงการทุจริต ค่าของ SHOULD คือ ค่าท่ีอยู่ในระดับ ๑ เท่านั้น ๓.๒ ระดับความรุนแรงของผลกระทบ มีแนวทางในการพิจารณาดังนี ้ กิจกรรมหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้นเกี่ยวข้องกับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholders รวมถึงหน่วยงานก ากับดูแล พันธมิตร ภาคีเครือข่าย ค่าอยู่ที่ ๒ หรือ ๓ - กิจกรรมหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้นเกี่ยวข้องกับ ผลกระทบทางการเงิน รายได้ลด รายจ่ายเพ่ิม Financial ค่าอยู่ที่ ๒ หรือ ๓ - กิจกรรมหรือขั้ นตอนการปฏิ บั ติ งานนั้ นผลกระทบต่อผู้ ใช้บริการ กลุ่ มเป้ าหมาย Customer/User ค่าอยู่ที่ ๒ หรือ ๓ - กิจกรรมหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้นผลกระทบต่อกระบวนงานภายใน Internal Process หรือกระทบด้านการเรียนรู้ องค์ความรู้ Learning & Growth ค่าอยู่ที่ ๑ หรือ ๒

ระดับความจ าเป็นของการเฝ้าระวัง ระดับความรุนแรงของผลกระทบ ตารางท่ี 3 ตารางเมทริกส์ระดับความเสี่ยง (Risk level matrix) Scoring ทะเบียนข้อมูลที่ต้องเฝ้าระวัง 2 มิติ

ที ่ โอกาส/ความเสี่ยงในการทุจริต ระดับความจ าเป็นของการเฝ้าระวัง 3 2 1

ระดับความรุนแรงของผลกระทบ

3 2 1

ค่าความเสี่ยงรวม =

จ าเป็น X รุนแรง 1 กระบวนงานการเรียกรับ เงิน /

ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่ างตอบแทนทุ กประเภทจากบริษัทยาเข้ ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล

3 3 9

Page 21: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 9

จากนั้นน ามาพิจารณาระดับความจ าเป็นของการเฝ้าระวัง/ระดับความรุนแรงของผลกระทบ ตามข้อ 3.1 และข้อ 3.2 ดังตารางที่ 3.1 ถึงตารางที่ 3.2

ตารางท่ี 3.1 ระดับความจ าเป็นของการเฝ้าระวัง

ที ่ โอกาส/ความเสี่ยงในการทุจริต กิจกรรมหรือขั้นตอนหลัก MUST ๓ ๒

กิจกรรมหรือขั้นตอนรอง SHOULD

1 1 กระบวนงานการเรียกรับเงิน/

ผลประโยชน์จากการจัดซื้อ ท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล

๓ -

ตารางท่ี 3.๒ ระดับความรุนแรงของผลกระทบตาม Balanced Scorecard

โอกาส/ความเสี่ยงในการทุจริต ๑ ๒ ๓

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholders รวมถึงหน่วยงานก ากับดูแล พันธมิตร ภาคีเครือข่าย

X ผลกระทบทางการเงิน รายได้ลด รายจ่ายเพิ่ม Financial

X ผลกระทบต่อผู้ใช้บริการ กลุ่มเป้าหมาย Customer/User

X ผลกระทบต่อกระบวนงานภายใน Internal Process

X ผลกระทบด้านการเรียนรู้ องค์ความรู้ Learning & Growth X

Page 22: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 10

ขั้นตอนที่ 4 การประเมินการควบคุมความเสี่ยง (Risk-Control Matrix Assessment)

ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข น าค่าความเสี่ยง (ความจ าเป็นของการเฝ้าระวัง/ระดับความรุนแรงของผลกระทบ) รวมจากตารางที่ 3 มาท าการประเมินการควบคุมความเสี่ยงในกระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยา เข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาลว่าอยู่ในระดับใด เมื่อเทียบกับคุณภาพการจัดการ ได้แก่ คุณภาพการจัดการ สอดส่อง และเฝ้าระวังในงานปกติ ก าหนดเกณฑ์คุณภาพการจัดการ แบ่งเป็น ๓ ระดับ ดังนี้

ระดับ เกณฑ์คุณภาพการจัดการ ด ี จัดการได้ทันที ทุกครั้งที่เกิดความเสี่ยง ไม่กระทบถึงผู้ใช้บริการ/ผู้รับมอบผลงาน

องค์กรไม่มีผลเสียทางการเงิน ไม่มีรายจ่ายเพ่ิม พอใช้ จัดการได้โดยส่วนใหญ่ มีบางครั้งยังจัดการไม่ได้ กระทบถึงผู้ใช้บริการ/ผู้รับมอบผลงาน

องค์กรแต่ยอมรับได้ มีความเข้าใจ อ่อน จัดการไม่ได้ หรือได้เพียงส่วนน้อย การจัดการเพิ่มเกิดจากรายจ่าย มีผลกระทบถึง

ผู้ใช้บริการ/ผู้รับมอบผลงานและยอมรับไม่ได้ ไม่มีความเข้าใจ ตารางท่ี 4 ตารางแสดงการประเมินการควบคุมความเสี่ยง

โอกาส/ความเสี่ยงในการทุจริต คุณภาพ

การจัดการ

ค่าประเมินการควบคุมความเสี่ยงการทุจริต

ค่าความเสี่ยงระดับต่่า

ค่าความเสี่ยงระดับปานกลาง

ค่าความเสี่ยงระดับสูง

กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยา เข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล

อ่อน - - สูง (๙)

จากตารางประเมินการควบคุมความเสี่ยงกระบวนการกระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล มีค่าความเสี่ยงระดับสูง (9)

Page 23: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 11

ขั้นตอนที่ 5 แผนบริหารความเสี่ยง

ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข คัดเลือกความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล ที่มีค่าความเสี่ยงระดับสูง (9) จากการประเมินการควบคุมความเสี่ยง (Risk–Control Matrix Assessment) ตารางที่ 4 ในช่อง ค่าความเสี่ยงระดับสูง (๙) มาจัดท าแผนบริหารความเสี่ยงกระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล ดังตารางที่ 5 ตารางท่ี 5 ตารางแผนบริหารความเสี่ยง

ที ่ รูปแบบ พฤติการณ์ความเสี่ยงการทุจริต

มาตรการป้องกันการทุจริต

1 สั่งจ่ายยาที่ไม่จ าเป็นและเหมาะสมสัมพันธ์กับอาการเจ็บป่วยของผู้ป่วยรายนั้น หรือจ่ายยาในลักษณะสิ้นเปลืองโดยไม่จ าเป็น เน้นการจ่ายยานอกบัญชียาหลักซึ่งมีราคาแพง

มาตรการป้องกันการทุจริตในกระบวนการ เบิกจ่ายยา

2 เรียกรับผลประโยชน์จากบริษัทยา เพ่ือแลกกับการสั่งจ่ายยา

3 กลุ่มบริษัทยา มีพฤติกรรมการส่งเสริมการขายยาที่ไม่เหมาะสม เพ่ือแลกกับ ยอดจ าหน่าย เช่น เงินตอบแทน ของก านัล การเดินทางไปต่างประเทศ

4 กลุ่มบริษัทยา เสนอค่าคอมมิชชั่นในลักษณะการบริจาคให้แก่กองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล หรือการให้ตัวอย่างยา แก่แพทย์ผู้สั่งจ่ายยาเป็นการเฉพาะบุคคล

Page 24: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 12

ขั้นตอนที่ 6 การจัดท ารายงานผลการเฝ้าระวังความเสี่ยง

ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดท ารายงานผลการเฝ้าระวังความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล โดยการแยกสถานการณ์เฝ้าระวังความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ โดยจ าแนกสถานะความเสี่ยงออกเป็น 3 สี ได้แก่ สีเขียว สีเหลือง และสีแดง เพ่ือติดตามเฝ้าระวัง และประเมินการบริหารความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยา เข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล ดังตารางที่ 6

ตารางท่ี ๖ ตารางจัดท ารายงานผลการเฝ้าระวังความเสี่ยง

ที ่มาตรการป้องกัน

การทุจริต โอกาส/ความเสี่ยง

ในการทุจริต สถานะความเสี่ยง

เขียว เหลือง แดง 1 มาตรการป้องกันการ

ทุจริตในกระบวนการ เบิกจ่ายยา

กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยา เข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล

X

สถานะสีเขียว ไม่เกิดกรณีที่อยู่ในข่ายความเสี่ยง ยังไม่ต้องท ากิจกรรมเพ่ิม สถานะสีเหลือง เกิดกรณีที่อยู่ในข่ายความเสี่ยง แต่แก้ไขได้ทันท่วงที ตามมาตรการ / นโยบาย / โครงการ / กิจกรรมที่เตรียมไว้ แผนใช้ได้ผล ความเสี่ยงการทุจริตลดลง ระดับความรุนแรง < 3 สถานะสีแดง เกิดกรณีที่อยู่ในข่ายยังแก้ไขไม่ได้ ควรมีมาตรการ / นโยบาย / โครงการ / กิจกรรม เพ่ิมขึ้น แผนใช้ไม่ได้ผล ความเสี่ยงการทุจริตไม่ลดลงระดับความรุนแรง > 3

เกินกว่าการยอมรับ

เกิดขึ้นแล้วแต่ยอมรับได้

ยังไม่เกิดเฝ้าระวังต่อเนื่อง

สีแดง

สีเหลือง

สีเขียว

Page 25: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 13

ขั้นตอนที่ 7 จัดท าระบบบริหารความเสี่ยง

ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข น ารายงานผลการเฝ้าระวังความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล จากตารางที่ ๖ ที่จ าแนกสถานะความเสี่ยงออกเป็น 3 สี ได้แก่ สีเขียว สีเหลือง และสีแดง โดยแยกสถานะ เพ่ือท าระบบบริหารความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภท จากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล ซึ่งรายงานผลการเฝ้าระวังความเสี่ยงที่วิเคราะห์ได้นั้น มีสถานะความเสี่ยงเป็นสีแดง ซึ่งหมายถึง เกินกว่าการยอมรับ และต้องก าหนดกิจกรรมเพิ่มเติมในระบบบริหารความเสี่ยง

ในขั้นตอนที่ 7 นี้ สถานะความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล อยู่ในข่ายที่ยังที่ต้องมีการเฝ้าระวัง อย่างต่อเนื่อง ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข จึงเห็นควรน ามาตรการป้องกันการทุจริตในกระบวนการเบิกจ่ายยา ดังตารางที่ 7 ตารางท่ี ๗ ตารางจัดท าระบบความเสี่ยง 7.1 สถานะสีแดง (Red) เกินกว่ายอมรับ ควรมีกิจกรรมเพ่ิมเติม

กิจกรรม มาตรการป้องกันการทุจริต เพิ่มเติม

1. จัดท าประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2557

มาตรการป้องกันการทุจริตในกระบวนการ เบิกจ่ายยา

2. บรรจุการด าเนินงานมาตรการป้องกันการทุจริตในกระบวนการเบิกจ่ายยา ในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตัวชี้วัดที่ 40 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA (ร้อยละ 90) ตัวชี้วัดย่อย การรับสินบน 3. ประเมินผลการด าเนินการของสถานบริการ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2557

Page 26: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 14

กิจกรรม มาตรการป้องกันการทุจริต เพิ่มเติม

4. ตรวจสอบภายในประเด็นเงินบริจาค เงินสวัสดิการ และการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ ตามแบบสอบทานระบบควบคุมภายใน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (ด้านการเงิน)

มาตรการป้องกันการทุจริตในกระบวนการ เบิกจ่ายยา

Page 27: รายงานการประชุม · 2019-01-20 · รายงานการประชุม. คณะท างานวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ

ห น้ า | 15

ขั้นตอนที่ ๘ การจัดท ารายงานการบริหารความเสี่ยง

ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดท ารายงานสรุปผลการบริหารความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล ที่มีสถานะความเสี่ยงเป็นสีแดง (เกินกว่าการยอมรับ และต้องก าหนดกิจกรรมเพ่ิมเติมในระบบบริหารความเสี่ยง) เพ่ือควบคุมก ากับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล

ตารางท่ี ๘ ตารางรายงานการบริหารความเสี่ยง

ที ่สรุปสถานะความเสี่ยงการทุจริต (เขียว เหลือง แดง)

เขียว เหลือง แดง

ความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อ านาจและต าแหน่งหน้าที่ กระบวนการเรียกรับเงิน/ผลประโยชน์จากการจัดซื้อท าการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภทจากบริษัทยาเข้ากองทุนสวัสดิการสถานพยาบาล