กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1...

56
กรอบอัตรากําลัง 4 .. 2551-2554 มหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับปรับปรุง พิมพครั้งที2 ตามมติคณะกรรมการบริหารงานบุคคล ประจํามหาวิทยาลัย กองแผนงาน /กองการเจาหนาทีสํานักงานอธิการบดี ฝายแผนและสารสนเทศ /ฝายทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยขอนแกน

Upload: others

Post on 06-Sep-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

กรอบอัตรากําลัง 4 ป พ.ศ. 2551-2554 มหาวิทยาลัยขอนแกน

ฉบับปรับปรุง พิมพครั้งที่ 2 ตามมติคณะกรรมการบริหารงานบุคคล ประจํามหาวิทยาลัย

กองแผนงาน /กองการเจาหนาที่ สํานักงานอธิการบดี ฝายแผนและสารสนเทศ /ฝายทรัพยากรบุคคล

มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 2: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

กรอบอัตรากําลัง 4 ป พ.ศ. 2551-2554 มหาวิทยาลัยขอนแกน

พิมพคร้ังที่ 2 กุมภาพันธ 2553 จํานวน 100 เลม จัดพิมพโดย กองแผนงาน /กองการเจาหนาที่ สํานักงานอธิการบดี ฝายแผนและสารสนเทศ /ฝายทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยขอนแกน 123 ถนนมิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40002 โทรศัพท /โทรสาร 043-202 337 จัดพิมพที่ ศูนยผลิตเอกสาร กองแผนงาน สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแกน 123 ถนนมิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40002 โทรศัพท /โทรสาร 043-202 337 ลิขสิทธโดย มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 3: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

คํานํา กรอบอัตรากําลัง 4 ป พ.ศ. 2551-2554 มหาวิทยาลัยขอนแกน จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดกรอบอัตรากําลังที่เหมาะสมของมหาวิทยาลัย ตามขอกําหนดของพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 20 ที่ใหสภาสถาบันอุดมศึกษากําหนดกรอบของตําแหนง อันดับเงินเดือนของตําแหนงและจํานวนของขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่พึงมีในสถาบันอุดมศึกษานั้น รวมทั้งภาระหนาที่ความรับผิดชอบของตําแหนง และคุณสมบัติเฉพาะตําแหนง การกําหนดกรอบดังกลาวใหกําหนดคราวละสี่ป โดยตองคํานึงถึงความมีประสิทธิภาพ ความไมซํ้าซอน ความประหยัด และตองสอดคลองกับหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ.อ. กําหนด สภามหาวิทยาลัยขอนแกน มอบอํานาจใหคณะกรรมการบริหารงานบุคคลประจํามหาวิทยาลัย ขอนแกน (ก.บ.ม.) เปนผูดําเนินการ โดยมอบหมายใหฝายแผนและสารสนเทศรวมกับฝายทรัพยากรบุคคล ดําเนินการจัดทําแผนอัตรากําลังดังกลาว สาระสําคัญของกรอบอัตรากําลัง 4 ป พ.ศ. 2551-2554 มหาวิทยาลัยขอนแกน ประกอบไปดวย 3 สวนคือ สวนที่ 1 กรอบอัตรากําลัง 4 ป พ.ศ. 2551-2554 สวนที่ 2 แนวทางการบริหารอัตรามหาวิทยาลัย และสวนภาคผนวกที่เกี่ยวกับแนวทาง หลักเกณฑการวิเคราะหอัตรากําลังและการกําหนดตําแหนงในมหาวิทยาลัย ซ่ึงองคประกอบในสาระสําคัญดังกลาว จะใชเปนแนวทางการบริหารทรัพยากรดานอัตรากําลังของมหาวิทยาลัยอยางมีประสิทธิภาพ อันจะนําไปสูการบรรลุเปาหมายตามวิสัยทัศนและยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยตอไป

มหาวิทยาลัยขอนแกน กุมภาพนัธ 2553

Page 4: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

สารบัญ หนา คํานํา สวนท่ี 1 กรอบอัตรากําลัง 4 ป พ.ศ. 2551-2554 1

1.1 หลักการและความเปนมา 1 1.2 การวิเคราะหกรอบอัตรากําลัง 2 1.3 สรุปกรอบอัตรากําลังตามมติ ก.บ.ม. 5

สวนท่ี 2 แนวทางการบริหารอัตรากําลังของมหาวิทยาลัย 12 2.1 หลักการและนโยบายการบริหารอัตรากําลัง 12 2.3 วิธีการขออนุมัติกรอบอัตราใหม 14 2.4 วิธีการขออนุมัติเปลี่ยนตําแหนงและโอนอัตราวาง 16

ภาคผนวก ผ 1. แนวทางการกําหนดกรอบตําแหนง 18 ผ 2. การวิเคราะหกรอบอัตราพนักงานมหาวิทยาลัย 23 ผ 3. การวิเคราะหกรอบอัตราพนักงานราชการ 31 ผ 4. ตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัย และลักษณะงานทีป่ฏิบัติ 35 ผ 5. ตําแหนงพนักงานราชการ และลักษณะงานที่ปฏิบัต ิ 50 ผ 6. เกณฑการวิเคราะหอัตรากําลังของ สกอ. และ คปร. 52

Page 5: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

สวนที่ 1 กรอบอัตรากําลัง 4 ป พ.ศ. 2551-2554

1.1 หลักการและความเปนมา ตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 20 ใหสภาสถาบันอุดมศึกษากําหนดกรอบของตําแหนง อันดับเงินเดือนของตําแหนงและจํานวนของขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่พึงมีในสถาบันอุดมศึกษานั้น รวมทั้งภาระหนาที่ความรับผิดชอบของตําแหนง และคุณสมบัติเฉพาะตําแหนง การกําหนดกรอบดังกลาวใหกําหนดคราวละ 4 ป โดยตองคํานึงถึงความมีประสิทธิภาพ ความไมซํ้าซอน ความประหยัด และตองสอดคลองกับหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ.อ. กําหนด สภามหาวิทยาลัยขอนแกน มอบอํานาจใหคณะกรรมการบริหารงานบุคคลประจํามหาวิทยาลัย ขอนแกน (ก.บ.ม.) เปนผูดําเนินการตามนัยของมาตรา 20 ดังกลาว ก.บ.ม. มอบหมายใหฝายแผนและสารสนเทศรวมกับฝายทรัพยากรบุคคล ดําเนินการจัดทําแผนอัตรากําลังดังกลาว ซ่ึงมีการดําเนินการมาอยางตอเนื่อง โดยใชกระบวนการมีสวนรวมกับบุคลากรผูเชี่ยวชาญทั้งภายในมหาวิทยาลัย และภายนอกมหาวิทยาลัยเพื่อรวบรวม ศึกษา วิเคราะห สังเคราะหขอมูลสารสนเทศ หลักเกณฑและวิธีการที่เกี่ยวของ สําหรับเปนขอมูลพื้นฐานประกอบการวิเคราะหและวางแผนอัตรากําลังของมหาวิทยาลัย ตามกรอบการดําเนินงานดังตอไปนี้

วัน เดือน ป /สถานที่ กิจกรรม ส.ค. 2550 สภามหาวิทยาลัยขอนแกน มอบนโยบายการจัดทําแผนอตัรากําลัง ก.ย. 2550 นําเสนอหลักการจัดทําแผนอัตรากําลัง ตอ ก.บ.ม. 17 ก.ย. 2550 ณ. คณะวิศวกรรมศาสตร

ระดมความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญภายใน วิเคราะหสภาพแวดลอมในอนาคตของมหาวิทยาลัยและใหขอเสนอแนะนโยบาย โดยเชิญอาจารย ผูเชี่ยวชาญ ผูชํานาญการ หัวหนางาน ภายในมหาวิทยาลัย

ก.ย.-ต.ค. 2550 รวบรวมหลักเกณฑวิธีการ และสังเคราะหขอมูลเบื้องตน 24 ต.ค. 2550 ณ ศูนยประชมุสถาบันวิจัยจุฬาภรณ กรุงเทพมหานคร

สัมมนาระดมความคิดเห็นจากผู เชี่ยวชาญภายนอก เกณฑวิ เคราะหอัตรากําลังที่ใชในมหาวิทยาลัย/สถาบัน โดยเชิญรองอธิการบดีฝายแผนและอาจารย ผูปฏิบัติงานแผนและการเจาหนาที่ที่เกี่ยวของจากมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ

ธ.ค. 2550- ม.ค. 2551 รวบรวมขอมลูวิเคราะหกรอบอัตรากําลังสายผูสอน 16 ม.ค. 2551 ณ. คณะวิศวกรรมศาสตร

สัมมนาผลการวิเคราะหกรอบอัตรากําลังสายผูสอน และเสนอแนวทางการวิ เคราะหกรอบอัตรากํ า ลังสายสนับสนุน ตออาจารย ผู เชี่ ยวชาญ ผูชํานาญการ หัวหนาหนวยงาน ภายในมหาวิทยาลัย

Page 6: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 2 -

วัน เดือน ป /สถานที่ กิจกรรม 5 ก.พ. 2551 นําเสนอกรอบอัตรากําลังสายผูสอน 4 ป ตอ ก.บ.ม. 20 ก.พ. 2551 ณ. คณะวิศวกรรมศาสตร

สัมมนาผลการวิเคราะหกรอบอัตรากําลังสายสนับสนุน ตอผูเชี่ยวชาญ ผูชํานาญการ หัวหนาหนวยงาน ภายในมหาวิทยาลัย

4 มี.ค. 2551 นําเสนอกรอบอัตรากําลังสายสนับสนุน 4 ป ตอ ก.บ.ม. 19 มี.ค. 2551 ณ. คณะวิศวกรรมศาสตร

สัมมนาผลการวิเคราะหกรอบอัตรากําลังสายสนับสนุนสําหรับโรงพยาบาลศรีนครินทรและศูนยหัวใจสิริกิติ์ฯ ตอผูเชี่ยวชาญ ผูชํานาญการ หัวหนาหนวยงาน ภายในมหาวิทยาลัย

1 เม.ย. 2551 นําเสนอกรอบอัตรากําลังสายสนับสนุน 4 ป ตอ ก.บ.ม. (โรงพยาบาลศรีนครินทร และศูนยหวัใจสิริกิติ์ฯ)

7 ต.ค. 2551 นําเสนอกรอบอัตรากําลังสายสนับสนุน 4 ป ตอ ก.บ.ม. (โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกน)

31 มี.ค. 2552 นําเสนอขอกําหนดตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัยที่บรรจุคุณวุฒติ่ํากวาปริญญาตรี

7 ต.ค. 2552 นําเสนอขอการปรับปรุงกรอบตําแหนงตามกรอบอัตรากําลัง 4 ป ตอ ก.บ.ม.

1.2 การวิเคราะหกรอบอัตรากําลัง การวิเคราะหกรอบอัตรากําลังของมหาวิทยาลัยขอนแกน วิเคราะหจากภาระงานและปริมาณงานในภาพรวมทั้งมหาวิทยาลัย ตามแนวทางและหลักเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และคณะกรรมการกําหนดเปาหมายและนโยบายกําลังภาครัฐ (คปร.) กําหนด โดยการรวบรวมขอมูลสารสนเทศประกอบการวิเคราะหอัตรากําลัง เชน หลักเกณฑและวิธีการ พระราชบัญญัติ ระเบียบ ประกาศ และขอมูลพื้นฐานของหนวยงาน ดังตอไปนี้ 1.2.1 ขอมูลท่ีใชในการวิเคราะห (1) โครงสรางภารกิจและความรับผิดชอบของหนวยงาน เชน ประวัติความเปนมา บทบาทภารกิจ หนาที่ แผนภูมิโครงสรางการจัดระบบงาน การแบงสวนงานภายใน และการบริหารอัตรากําลัง เปนตน (2) ผลงาน ปริมาณงาน และเปาหมายการดําเนินงานของหนวยงาน เชน จํานวนหลักสูตร จํานวนนักศึกษา ภาระงานการสอน ผลงานวิจัย การบริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เปนตน (3) ศักยภาพและสมรรถนะของหนวยงาน เชน จํานวนบุคลากร จํานวนงบประมาณ ขนาด พื้นที่ อาคารสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ เปนตน (4) จํานวนอัตรากําลังสายผูสอน ที่ไดจากการวิเคราะหแนวโนมภาระงานสอนนักศึกษาภาคปกติระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาในอนาคต โดยวิเคราะหขอมูลประกอบ ไดแก

Page 7: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 3 -

(4.1) อัตรากําลังสายผูสอน ป พ.ศ. 2550 และอัตราเกษียณ ป พ.ศ. 2551-2554 ที่ไดจากฐานขอมูลบุคลากร ของกองการเจาหนาที่ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2550 (4.2) จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาภาคปกติ ป พ.ศ. 2547-2550 ที่ไดจากรายงานวิเคราะหและสถิติมหาวิทยาลัย ในชวง 4 ปที่ผานมา ของกองแผนงาน (4.3) เปาหมายการผลิตบัณฑิตและนักศึกษาภาคปกติ ป พ.ศ. 2551-2554 ที่ไดจากขอมูลแผนการรับนักศึกษา ของฝายวิชาการและวิเทศสัมพันธ ณ วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2551 (4.4) ภาระงานอาจารย และผล/แผนเปาหมายการรับนักเรียนของโรงเรียนสาธิตฯ ป พ.ศ. 2551-2554 ซ่ึงเปนขอมูลที่ไดจากผลการวิเคราะหของโรงเรียนสาธิตฯ (5) จํานวนอัตรากําลังสายสนับสนุน ที่ไดจากการวิเคราะหกรอบอัตราขาราชการ และกรอบพนักงานมหาวิทยาลัยที่บรรจุคุณวุฒิระดับปริญญาตรีขึ้นไป โดยวิเคราะหขอมูลประกอบ ไดแก (5.1) อัตรากําลังสายสนับสนุน ป พ.ศ. 2550 และอัตราเกษียณ ป พ.ศ. 2551-2554 ที่ไดจากฐานขอมูลบุคลากร ของกองการเจาหนาที่ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551 (5.2) อัตรากําลังสายผูสอนและสายสนับสนุน ป พ.ศ. 2547-2550 ที่ไดจากรายงานวิเคราะหสถิติมหาวิทยาลัยขอนแกน ในชวง 4 ปที่ผานมา ของกองแผนงาน (5.3) ผลงานการใหบริการรักษาพยาบาล ป พ.ศ. 2547-2550 และเปาหมายการบริการ ป พ.ศ. 2551-2554 ที่ไดจากรายงานแผน/ผลการดําเนินงานของโรงพยาบาลศรีนครินทร และศูนยหัวใจสิริกิติ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1.2.2 วิธีการวิเคราะห (1) การวิเคราะหอัตรากําลังสายผูสอน ใชวิธีการวิเคราะหความสัมพันธระหวางนักศึกษาหัวจริงกับนักศึกษาเต็มเวลา และวิเคราะหแนวโนมภาระงานอนาคตจากแผนหลักสูตรและเปาหมายนักศึกษา ตามแนวทาง ดังนี้ (1.1) วิเคราะหจํานวนอัตราปจจุบันและอตัราเกษียณ โดยตรวจสอบกรอบอัตรากําลังสายผูสอน ในภาพรวมทั้งมหาวิทยาลัย ป พ.ศ. 2550 พรอมทั้งวิเคราะหอัตราเกษยีณในชวงป พ.ศ. 2551-2554 (1.2) วิเคราะหภาระงานปจจุบันและภาระงานอนาคต โดยประมาณการจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา ป พ.ศ. 2551-2554 จากการวิเคราะหภาระงานสอนนักศึกษาเต็มเวลา ป พ.ศ. 2547-2550 และวิเคราะหแนวโนมนักศึกษาเต็มเวลาจากเปาหมายจํานวนนักศึกษาตามแผนการผลิตบัณฑิต (1.3) วิเคราะหกรอบอัตราตามเกณฑ สกอ. โดยพิจารณาในภาพรวมทั้งมหาวิทยาลัย ตามเกณฑอัตราสวนอาจารยตอนักศึกษา และปรับเพิ่มภาระงานบริหาร งานวิจัย งานบริการวิชาการ งานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและงานอื่น ๆ พิจารณาจําแนกเปน 3 กรณี คือ

Page 8: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 4 -

กรณี 1 วิเคราะหอัตราสวนอาจารยตอนักศึกษาตามเกณฑของ สกอ. กรณี 2 วิเคราะหอัตราสวนอาจารยตอนักศึกษาตามเกณฑของ สกอ. และปรับภาระงานอาจารยเต็มเวลาเนื่องจากงานบริหาร เพิ่มรอยละ 5 กรณี 3 วิเคราะหอัตราสวนอาจารยตอนักศึกษาเต็มเวลาตามเกณฑของ สกอ. และปรับภาระงานอาจารยเต็มเวลาเนื่องจากงานบริหาร งานวิจัย งานบริการวิชาการแกสังคม และงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เพิ่มรอยละ 10 (1.4) กรณีโรงเรียนสาธิตฯ วิเคราะหกรอบอัตราตามเกณฑ คปร. (2) การวิเคราะหอัตรากําลังสายสนับสนุน ใชวิธีการวิเคราะหสัดสวนจํานวนอัตรากําลังสายผูสอนตอสายสนับสนุน และวิเคราะหภาระงาน ตามแนวทางดังนี้ (2.1) วิเคราะหกรอบอัตราตามเกณฑ สกอ. โดยพิจารณาในภาพรวมทั้งมหาวิทยาลัยตามเกณฑสัดสวนจํานวนอัตรากําลังสายผูสอนตอสายสนับสนุน = 1 : 1 (2.2) วิเคราะหกรอบอัตราตามเกณฑเฉลี่ย 4 ป ของมหาวิทยาลัยขอนแกน โดยพิจารณาในภาพรวมทั้งมหาวิทยาลัย ตามคาเฉลี่ยสัดสวนจํานวนอัตรากําลังสายผูสอนตอสายสนับสนุน 4 ป = 1 : 0.8 (2.3) วิเคราะหกรอบอัตราตามเกณฑ คปร. กรณีงานบริการสุขภาพ โดยพิจารณาภาระงานการใหบริการรักษาพยาบาลและสงเสริมสุขภาพ จากจํานวนผูปวยที่มารับบริการ จํานวนหอผูปวยและเตียงที่ใหบริการ ป พ.ศ. 2547-2550 และแผนบริการรักษาพยาบาล 4 ป พ.ศ. 2551-2554 (2.4) กรณีโรงเรียนสาธิตฯ วิเคราะหกรอบอัตราตามเกณฑ คปร.

(3) การวิเคราะหอัตรากําลังพนักงานราชการ ใชวิธีการวิเคราะหภาระงานของหนวยงานโดยกําหนดตําแหนงสําหรับผูมีคุณวุฒิต่ํากวาปริญญาตรี ตามเกณฑของ คปร. ตามแนวทางดังนี้ (3.1) วิเคราะหอัตรากําลังตามภาระงานเดิม โดยพิจารณาจากกรอบรวมทั้งมหาวิทยาลัย เพื่อทดแทนอัตราลูกจางประจําที่เกษียณอายุราชการ จากกรอบอัตรากําลังที่ไดรับการจัดสรร 4 ป พ.ศ. 2548-2551 และกําหนดสัดสวนกลุมงานบริการตอกลุมงานเทคนิค = 3 : 7 (3.2) วิเคราะหอัตรากําลังตามภาระงานใหม โดยพิจารณาภาระงานเพิ่มจากภารกิจใหมที่รัฐมอบหมายไดแก งานบริการรักษาพยาบาล สําหรับอาคารศรีนครินทราบรมราชชนนีอนุสรณ (19ช้ัน) และอาคารศูนยหัวใจสิริกิติ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Page 9: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 5 -

1.3 สรุปกรอบอัตรากําลังตามมติ ก.บ.ม. คณะอนกุรรมการวิเคราะหอัตรากําลัง นําเสนอผลการวิเคราะหกรอบอตัรากําลัง ตอ ก.บ.ม. และที่ประชุมมีมติเห็นชอบผลการวิเคราะหอัตรากําลัง 4 ป พ.ศ. 2551-2554 มหาวิทยาลัยขอนแกน ดังรายละเอียด ตอไปนี้ 1.3.1 การกําหนดตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัยสายผูสอน ตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัยสายผูสอน กําหนดตําแหนงใหสําหรับคณะ/หนวยงานที่รับผิดชอบการผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษา ไดแก งานการสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการและอื่น ๆ โดยใหสังกัดที่คณะ วิทยาลัย วิทยาเขต ภาควิชา สายวิชา เปนตน กําหนดตําแหนงดังนี้

(1) อาจารย (2) ผูชวยศาสตราจารย (3) รองศาสตราจารย (4) ศาสตราจารย (5) ตําแหนงอื่น ตามที่ ก.บ.ม. กําหนด

1.3.2 การกําหนดตาํแหนงพนักงานมหาวทิยาลัยสายสนบัสนุน

ตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน กําหนดตําแหนงใหสําหรับคณะ/หนวยงานที่รับผิดชอบงานสนับสนุนภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย ไดแก งานอํานายการและบริหารทั่วไป งานสนับสนุนวิชาการ งานบริการวิชาการที่สนับสนุนการสอนและการวิจัยระดับอุดมศึกษา กําหนดตําแหนงไวดังนี้

(1) เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป (2) นักวิเคราะหนโยบายและแผน (3) นักบัญชี (4) นักวิชาการพัสดุ (5) นักวิชาการเงินและบัญชี (6) นักวิชาการศึกษา (7) นักวิชาการโสตทัศนศึกษา (8) นักแนะแนวการศึกษาและอาชีพ (9) นักวิเทศสัมพันธ (10) นักประชาสัมพันธ (11) บุคลากร (12) นิติกร (13) สถาปนิก (14) วิศวกร

Page 10: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 6 -

(15) นักตรวจสอบภายใน (16) บรรณารักษ (17) นักเอกสารสนเทศ (18) นักวิจัย (19) นักวิชาการคอมพิวเตอร (20) นักวิทยาศาสตร (21) นักวิชาการประมง (22) นักวิชาการเกษตร (23) นักวิชาการสัตวบาล (24) สัตวแพทย (25) นักวิชาการชางศิลป (26) นักวิชาการชางทันตกรรม (27) นักวิชาการวิทยาศาสตรการแพทย (28) นักกายภาพบําบัด (29) นักเทคนิคการแพทย (30) นักวิชาการโภชนาการ (31) แพทย (32) ทันตแพทย (33) เภสัชกร (34) พยาบาล (35) นักวิชาการเวชสถิติ (36) นักรังสีการแพทย (37) นักวิชาการอาชีวบําบัด (38) นักสังคมสงเคราะห (39) นักจิตวิทยา (40) นักเวชศาสตรการสื่อความหมาย (41) เจาหนาที่ทรัพยสินทางปญญา (42) ตําแหนงอื่น ตามที่ ก.บ.ม. กําหนด

Page 11: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 7 -

1.3.3 อัตราพนักงานมหาวทิยาลัยสายผูสอน ก.บ.ม. ในการประชุมครั้งที่ 2/2551 เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ 2551 มีมติใหกําหนดอัตราพนักงานมหาวิทยาลัยสายผูสอนเปนตําแหนงอาจารย สําหรับคณะ วิทยาลัย หรือวิทยาเขตที่รับผิดชอบการสอนและวิจัยในระดับอุดมศึกษา ตามนโยบายแนวทางการบริหารอัตรากําลังสายผูสอน จํานวน 281 อัตราและในการประชุมครั้งที่ 9/2551 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2551 มีมติกําหนดอัตราพนักงานสายผูสอนตําแหนงอาจารย สําหรับโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกน ที่รับผิดชอบการสอนในระดับต่ํากวาอุดมศึกษา จํานวน 94 อัตรา ดังนั้นกรอบอัตราใหม 4 ป พ.ศ. 2551-2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 375 อัตรา จําแนกตามคณะ/หนวยงาน ดังนี้

คณะ/หนวยงาน จํานวนรวมทั้งมหาวทิยาลัย 375

เกษตรศาสตร 11วิศวกรรมศาสตร 24วิทยาศาสตร 41เทคโนโลยี 5สถาปตยกรรมศาสตร 21พยาบาลศาสตร 11แพทยศาสตร 35เทคนิคการแพทย 8สาธารณสขุศาสตร 9ทันตแพทยศาสตร 10เภสชัศาสตร 8สตัวแพทยศาสตร 7ศกึษาศาสตร 9มนุษยศาสตรและสงัคมศาสตร 23วิทยาการจัดการ 18ศลิปกรรมศาสตร 8วิทยาเขตหนองคาย 33โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกน* 94

* ปรับปรุงตามมติ ก.บ.ม. คราวประชุมครั้งที่ 9/2551 เมือ่วนัที่ 7 ตุลาคม 2551

Page 12: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 8 -

1.3.4 อัตราพนักงานมหาวทิยาลัยสายสนบัสนุน ก.บ.ม. ในการประชุมครั้งที่ 3/2551 4/2551 3/2552 และ 9/2552 มีมติใหกําหนดอัตราพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน เปนประเภทตําแหนงพื้นฐานทั่วไปและตําแหนงเฉพาะภารกิจ สําหรับหนวยงานที่รับผิดชอบงานสนับสนุนภารกิจมหาวิทยาลัย โดยเปนกรอบอัตราใหม 4 ป พ.ศ. 2551-2554 จํานวน 878 อัตรา จําแนกตามคณะ/หนวยงาน ดังนี้

เกษตร

ศาสตร

วิศ

วกรรม

ศาสตร

วิท

ยาศาสต

รเทค

โนโลย

ีสถ

าปตย

กรรม

ศาสตร

พยาบาลศ

าสตร

แพทย

ศาสตร

เทค

นคิการ

แพทย

สาธ

ารณสุข

ศาสตร

ทันตแ

พทยศ

าสตร

เภสัชศ

าสตร

สัตวแพ

ทยศาส

ตร

ศกึษาศาส

ตร

มนษุย

ศาสตร

วิทยาก

ารจัดก

าร

ศลิปก

รรมศาส

ตร

วิทยาเ

ขตหน

องคาย

บัณฑิต

วิทยาลั

จํานวนกรอบอัตราใหม 251 อัตรา 20 12 33 6 11 21 26 7 4 8 3 10 12 28 15 6 28 1ตําแหนงพืน้ฐานทั่วไป

1 เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป / / / / / / / / / / / / / / / / / /2 นักวิชาการศึกษา / / / / / / / / / / / / / / / / / /3 นักวิชาการโสตทัศนศึกษา / / / / / / / / / / / / / / / / / /4 นักวิเคราะหนโยบายและแผน / / / / / / / / / / / / / / / / / /5 นักบัญชี / / / / / / / / / / / / / / / / / /6 นักวิชาการเงินและบัญชี / / / / / / / / / / / / / / / / / /7 นักวิชาการพัสดุ / / / / / / / / / / / / / / / / / /8 นักวิเทศสัมพันธ* / / / / / / / / / / / / / / / / / /

ตําแหนงเฉพาะภารกิจ9 นักวิทยาศาสตร / / / / / / / / / /

10 นักวิชาการคอมพิวเตอร / /11 นิติกร* / /12 นักวิชาการประมง* / /13 นักวิชาการเกษตร /14 นักวิชาการสัตวบาล /15 นักวิชาการชางศิลป / /16 นักวิชาการวิทยาศาสตรการแพทย / / /17 นักวิชาการชางทันตกรรม /18 นักกายภาพบําบัด /19 นักเทคนิคการแพทย /20 นักวิชาการโภชนาการ /21 สัตวแพทย /22 ผูชวยทันตแพทย** /23 ชางทันตกรรม** /

หมายเหตุ : สํานักงานคณบดี หมายถึง สํานักงานของคณะที่ผลิตบัณฑิต* ปรับปรุงตามมติ ก.บ.ม. คราวประชุมครั้งที่ 9/2552 เม่ือวันที่ 7 ตุลาคม 2552** ปรับปรุงตามมติ ก.บ.ม. คราวประชุมครั้งที่ 3/2552 เม่ือวันที่ 31 มีนาคม 2552

กรอบอัตรา /ตําแหนง

สาํนักงานคณบดี

Page 13: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 9 -

สาํนักวทิยบรกิาร

สาํนักทะเบ

ยีนฯ

สถาบนัวจิัยและพ

ฒันา

ศนูยบรกิารว

ชิาการ

ศนูยคอมพวิ

เตอร

ศนูยหัวใจ

สริิกติ

ิฯ์

โรงพย

าบาลศ

รนีครนิท

โรงเรยี

นสาธติ

สาํนักงา

นอธิการบ

ดี

กองกล

าง

กองกา

รเจาหนาที่

กองกิจ

การนกัศกึษา

กองคลงั

กองแผ

กองอา

คารและสถาน

ที่

จํานวนกรอบอัตราใหม 627 อัตรา 24 2 4 3 7 80 381 17 51 7 9 8 9 9 16ตําแหนงพืน้ฐานทั่วไป

1 เจาหนาทีบ่ริหารงานทั่วไป / / / / / / / / / / / / / / /2 นักบญัชี / / / / / / / / / /3 นักวิชาการเงินและบญัชี / / / / / / / / / /4 นักวิชาการพัสดุ / / / / / / / / / /5 นักวิเคราะหนโยบายและแผน / / / / / / / / / /

ตําแหนงเฉพาะภารกิจ6 บคุลากร /7 นิติกร /8 สถาปนิก /9 วิศวกร /

10 นักตรวจสอบภายใน /11 นักประชาสัมพันธ / / / /12 นักวิเทศสมัพันธ* / / /13 นักวิชาการศึกษา* / / / / /14 นักแนะแนวการศึกษาและอาชึพ /15 นักวิชาการโสตทศันศึกษา* / / / / /16 บรรณารักษ /17 นักเอกสารสนเทศ /18 นักวิจัย /19 นักวิชาการคอมพิวเตอร /20 แพทย / /21 เภสชักร / /22 พยาบาล / /23 นักเทคนิคการแพทย / /24 นักวิชาการเวชสถติิ / /25 นักสงัคมสงเคราะห / /26 นักวิชาการโภชนาการ / /27 นักวิชาการวิทยาศาสตรการแพทย / /28 นักรังสกีารแพทย / /29 ทนัตแพทย /30 นักกายภาพบําบดั /31 นักวิชาการอาชีวบําบดั /32 นักจิตวิทยา /33 นักเวชศาสตรการสือ่ความหมาย** /34 ผูชวยพยาบาล** / /35 ผูชวยทนัตแพทย** /36 พนักงานรังสเีทคนิค** / /37 เจาหนาทีท่รัพยสินทางปญญา*** /

หมายเหตุ : สํานักงานศูนย /สถาบัน /สํานัก หมายถงึ สํานักงานของหนวยงานสํานักงานอธกิารบดี หมายถึง หนวยงานที่อยูภายใตสงักัดสํานักงานอธกิารบดีทีไ่มใชกอง* ปรับปรุงตามมติ ก.บ.ม. คราวประชุมครั้งที ่ 9/2552 เมื่อวันที ่ 7 ตุลาคม 2552 *** ปรับปรุงตามมติ ก.บ.ม. คราวประชุมครั้งที ่3/2551 ** ปรับปรุงตามมติ ก.บ.ม. คราวประชุมครั้งที ่3/2552 เม่ือวันที ่ 31 มีนาคม 2552 เม่ือวันที ่ 4 มีนาคม 2551

กรอบอัตรา /ตําแหนง

สาํนักงานศูนย /สถาบัน /สาํนัก

Page 14: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 10 -

1.3.5 สรุปกรอบอัตรากําลังจาํแนกตามหนวยงาน กรอบอัตรากําลัง 4 ป พ.ศ. 2551-2554 มหาวิทยาลัยขอนแกนมกีรอบอัตราเดิม (ป 2551) ที่รับบรรจุผูมีคุณวฒุิระดับปริญญาตรีขึ้นไป 5,039 อัตรา เปนอัตราใหม 4 ป 1,253 อัตรา รวมเปนอัตรารวม (ป 2554) ทั้งหมด 6,292 อัตรา จําแนกตามคณะ/หนวยงาน ดงันี้

อัตราเดิม อัตราใหม อัตรารวม อัตราเดิม อัตราใหม อัตรารวม อัตราเดิม อัตราใหม อัตรารวมรวมท้ังมหาวทิยาลัย 1,937 375 2,312 3,102 878 3,980 5,039 1,253 6,292

เกษตรศาสตร 107 11 118 48 20 68 155 31 186วิศวกรรมศาสตร 143 24 167 46 12 58 189 36 225วิทยาศาสตร 218 41 259 58 33 91 276 74 350เทคโนโลยี 53 5 58 34 6 40 87 11 98สถาปตยกรรมศาสตร 50 21 71 17 11 28 67 32 99พยาบาลศาสตร 111 11 122 22 21 43 133 32 165แพทยศาสตร 348 35 383 296 26 322 644 61 705เทคนิคการแพทย 75 8 83 22 7 29 97 15 112สาธารณสุขศาสตร 45 9 54 17 4 21 62 13 75ทันตแพทยศาสตร 97 10 107 75 8 83 172 18 190เภสัชศาสตร 78 8 86 54 3 57 132 11 143สัตวแพทยศาสตร 71 7 78 54 10 64 125 17 142ศึกษาศาสตร 87 9 96 21 12 33 108 21 129มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 122 23 145 23 28 51 145 51 196วิทยาการจัดการ 60 18 78 18 15 33 78 33 111ศิลปกรรมศาสตร 34 8 42 9 6 15 43 14 57วิทยาเขตหนองคาย 89 33 122 32 28 60 121 61 182บัณฑิตวิทยาลัย 15 1 16 15 1 16สํานักวิทยบริการ 71 24 95 71 24 95สํานักทะเบียนและประมวลผล 24 2 26 24 2 26สถาบันวิจัยและพัฒนา 20 4 24 20 4 24ศูนยบริการวิชาการ 13 3 16 13 3 16ศูนยคอมพิวเตอร 30 7 37 30 7 37สํานักงาอธิการบดี 84 51 135 84 51 135

กองกลาง 30 7 37 30 7 37 กองการเจาหนาที่ 28 9 37 28 9 37 กองกิจการนักศึกษา 26 8 34 26 8 34 กองคลัง 29 9 38 29 9 38 กองแผนงาน 26 9 35 26 9 35 กองอาคารและสถานที่ 17 16 33 17 16 33

ศูนยหัวใจสิริกิติ์ฯ 405 80 485 405 80 485โรงพยาบาลศรีนครินทร 1,429 381 1,810 1,429 381 1,810โรงเรียนสาธติฯ* 149 94 243 9 17 26 158 111 269

* ปรับปรุงตามมติ ก.บ.ม. คราวประชุมคร้ังที่ 9/2551 เมือ่วันท่ี 7 ตุลาคม 2551

กรอบอัตราสายผูสอน กรอบอัตราสายสนับสนุน กรอบอัตรารวมท้ังสิน้คณะ/สาขาวชิา

Page 15: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 11 -

1.3.6 อัตราพนักงานราชการ กรอบอัตราพนักงานราชการ 4 ป พ.ศ. 2551-2554 มหาวิทยาลัยขอนแกนมีกรอบอัตราใหมที่บรรจุคุณวุฒิต่ํากวาระดับปริญญาตรีทั้งหมด 379 อัตรา จําแนกตามกลุมงาน ดังนี้

รวมอัตราใหม 379กลุมงานบริการ 114

1 พนักงานธรุการ2 พนักงานการเกษตร3 พนักงานหองสมุด

กลุมงานเทคนิค 2654 ชางเทคนิค5 พนักงานโสตทศันศึกษา6 พนักงานหองปฏบิตัิการ7 พนักงานการแพทย8 พนักงานรักษาศพ9 พนักงานหองผาตัด

10 พนักงานผสมยา11 ผูชวยเภสชักร12 ผูชวยสตัวแพทย13 พนักงานวิทยาศาสตร14 พนักงานเวชกิจฉุกเฉิน

กลุมงาน /ตําแหนง จํานวน

Page 16: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 12 -

สวนที่ 2 แนวทางการบริหารอัตรากําลังของมหาวิทยาลัย

เพื่อใหการบริหารอัตรากําลังเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับนโยบายและยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย ก.บ.ม. จึงมีแนวทางการบริหารอัตรากําลังของมหาวิทยาลัย ดังตอไปนี้

2.1 หลักการและนโยบายการบริหารอัตรากําลัง

2.1.1 หลักการพื้นฐานในการกําหนดกรอบตําแหนง 1. เพื่อสนับสนุนการบริหารงานและการจัดโครงสรางในลักษณะรวมศูนยบริการ และบูรณาการของคณะ/หนวยงาน 2. เพื่อสนับสนุนใหพนักงานมหาวิทยาลัย ใชความรูความสามารถตามหลักสมรรถนะ และสอดคลองกับพระราชบัญญัติขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2550 3. เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางการกําหนดขนาดกําลังคนภาครัฐ ตามมติคณะกรรมการกําหนดเปาหมายและนโยบายกําลังภาครัฐ (คปร.)

2.1.2 นโยบายแนวทางการบริหารอัตรากําลังสายผูสอน 1. มหาวิทยาลัยบริหารอัตรากําลังสายผูสอนในภาพรวมของมหาวิทยาลัย ตามกรอบอัตรา 4 ป พ.ศ. 2551 - 2554 และจัดสรรใหคณะเปนรายปตามผลการดําเนินงานจริงตามแผน โดยมอบหมายใหฝายแผนและสารสนเทศและฝายทรัพยากรบุคคลเปนผูดําเนินการรวมกับผูแทนจากคณะ/หนวยงาน และใหถือวาอัตราทั้งหมดตามกรอบดังกลาวเปนอัตรากําลังกลางของมหาวิทยาลัย ที่สามารถบริหารจัดการไดตามความเหมาะสมและจําเปน โดยความเห็นชอบของ ก.บ.ม. 2. มหาวิทยาลัยโดยคณะกรรมการบริหารงานบุคคลประจํามหาวิทยาลัยขอนแกน (ก.บ.ม.) พิจารณาจัดสรรกรอบอัตราสายผูสอนในระดับคณะ/สาขาวิชา ในการบรรจุอัตราใหมใหพิจารณาผูที่มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกเทานั้น ยกเวนสาขาศิลปกรรมและสาขาดานภาษา ใหบรรจุผูที่มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี-โทได โดยระบุคุณสมบัติเพิ่มเติมสําหรับการสรรหาผูมีศักยภาพสูงไวดวย เชน การไดเกียรตินิยม หรือผลการศึกษา (เกรด ขั้นต่ํา) 3.5 เปนตน 3. คณะโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําคณะ พิจารณาจัดสรรอัตราสายผูสอนในระดับสาขาวิชายอย และกําหนดคุณสมบัติผูมีคุณวุฒิในสาขาวิชายอยไดตามนโยบายและทิศทางการพัฒนาคณะในอนาคต 4. กรณีอ่ืนนอกจากนี้ (ขอ 2 และ 3) ใหเสนอขออนุมัติตอ ก.บ.ม. พิจารณาเปนรายกรณีไป 5. ใหพิจารณาทบทวน สอบทานการใชอัตรากําลังทุกป และปรับเปาหมายกรอบอัตรากําลังทุก 2 ป แจงรายงานให ก.บ.ม. ทราบ

Page 17: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 13 -

2.1.3 นโยบายแนวทางการบริหารอัตรากําลังสายสนบัสนุน 1. มหาวิทยาลัยบริหารอัตรากําลังในภาพรวมของมหาวิทยาลัย ตามกรอบอัตรา 4 ป พ.ศ. 2551-2554 และจัดสรรใหคณะเปนรายปตามผลการดําเนินงานจริงตามแผน โดยมอบหมายใหฝายแผนและสารสนเทศและฝายทรัพยากรบุคคลเปนผูดําเนินการรวมกับผูแทนจากคณะ/หนวยงาน และใหถือวาอัตราทั้งหมดตามกรอบดังกลาว เปนอัตรากําลังกลางของมหาวิทยาลัย ที่สามารถบริหารจัดการไดตามความเหมาะสมและจําเปน โดยความเห็นชอบของ ก.บ.ม. 2. มหาวิทยาลัยจัดสรรกรอบอัตรากําลังใหแกคณะ/หนวยงาน ตามภาระงานที่เพิ่มขึ้นจริงตามแผน โดยใชหลักเกณฑ สกอ. ที่กําหนดให 1 ตําแหนงตองมีภาระงานไมนอยกวา 35 ช่ัวโมงทําการ/สัปดาห หรือ 230 วัน/ป ตามหนังสือ สกอ /ว.15 ลงวันที่ 19 กันยายน 2550 กรณีที่คณะ/หนวยงานมีภารกิจที่เปลี่ยนไป สามารถเพิ่มกรอบอัตราได ตามความจําเปน 3. คณะ/หนวยงานโดยความเห็นชอบของกรรมการประจําคณะ/หนวยงาน พิจารณาจัดสรรอัตรากําลังสายสนับสนุนใหหนวยงานภายในไดตามนโยบายและทิศทางการพัฒนา หนวยงานในอนาคต 4. กรอบอัตราที่ตองใชความรูความสามารถและสมรรถนะ เชน ตําแหนงประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ ตามที่ ก.พ.อ. กําหนด ใหคณะ/หนวยงานพิจารณาบรรจุผูมีวุฒิการศึกษาปริญญาโทได 5. กรณีอ่ืนนอกจากนี้ ใหเสนอขออนุมัติตอ ก.บ.ม. พิจารณาเปนรายกรณีไป 6.ใหพิจารณาทบทวน สอบทานการใชอัตรากําลังทุกป และปรับเปาหมายกรอบอัตรากําลังทุก 2 ป และแจงรายงานให ก.บ.ม. ทราบ 7. กรณีหนวยงานอื่นที่จัดตั้งขึ้นโดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย ใหใชหลักเกณฑและวิธีการนี้จัดสรรและแจงให ก.บ.ม. ทราบ 8. กรอบอัตราพนักงานราชการ จะพิจารณาจัดสรรเพื่อบรรจุตําแหนงที่มีคุณวุฒิต่ํากวาปริญญาตรี

2.1.4 ชวงเวลาการพิจารณาจัดสรรรายป มหาวิทยาลัยจะจัดสรรอัตรากําลังใหคณะ/หนวยงานเปนรายป ตามกรอบวงเงินงบประมาณ

รายจายประจําปที่สภามหาวทิยาลัยอนุมัต ิ และนโยบายแนวทาการบริหารอัตรากําลังของ ก.บ.ม. โดยใหคณะอนกุรรมการวิเคราะหอัตรากําลัง ทําหนาที่รวบรวม วิเคราะห สอบทานการใชอัตรากําลังใหเหมาะสมกับภาระงาน กรอบอัตราวาง และอัตราเกษยีณของหนวยงาน และเสนอ ก.บ.ม. พิจารณาอนุมัติ ประมาณปละ 2 คร้ัง โดยกําหนดชวงเวลา ดงัตอไปนี้

1. คณะ/หนวยงานสงคําขอภายในเดือนพฤศจิกายน และคณะอนุกรรมการฯ รวบรวมวิเคราะหภายในเดือนธันวาคม-มกราคม พรอมทั้งนําเสนอ ก.บ.ม. พิจารณาอนุมัติเดือนมีนาคม 2. คณะ/หนวยงานสงคําขอภายในเดือนพฤษภาคม และคณะอนกุรรมการฯ รวบรวมวิเคราะหภายในเดือนมถุินายน-กรกฎาคม พรอมทั้งนําเสนอ ก.บ.ม. พิจารณาอนุมัติเดือนกันยายน

Page 18: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 14 -

2.2 วิธีการขออนุมัติกรอบอัตราใหม 2.2.1 ขั้นตอนและวิธีการขออนุมัติอัตราใหม คณะ/หนวยงานที่มีความจําเปนและตองการขออนุมัติกรอบอัตราใหม ตองสงคําขอกรอบอัตรากําลังตามแบบพิมพทีก่ําหนด ไปยงักองแผนงานเพื่อกล่ันกรองเสนอ ก.บ.ม. พิจารณา ตามขั้นตอนการดําเนินการ ดังนี้

1. คณะ/หนวยงาน สงคําขอกรอบอัตราพนักงานมหาวิทยาลัย โดยผานที่ประชุมกรรมการคณะ/หนวยงาน และสงใหกองแผนงาน จํานวน 1 ชุด

2. กองแผนงานรวบรวม วิเคราะห เสนอคณะอนุกรรมการวิเคราะหอัตรากําลัง เพื่อพิจารณากลั่นกรองในเบื้องตน

3. กองแผนงานสรุปมติคณะอนุกรรมการวิเคราะหอัตรากําลัง และจัดทําขอเสนอขอกรอบอัตราใหม เพื่อเสนอ ก.บ.ม. พิจารณาอนุมัติ

4. กองการเจาหนาที่จัดทําประกาศ ก.บ.ม. กําหนดเลขที่อัตราและเงื่อนไขประกอบการคัดเลือกบรรจุผูมีคุณสมบัติ พรอมทั้งแจงกองแผนงานและคณะ/หนวยงานที่เกี่ยวของ

5. คณะ/หนวยงานที่ไดรับอนุมัติอัตรากําลังใหม ประสานกับกองการเจาหนาที่ เพื่อดําเนินการรับสมัครคัดเลือก บรรจุบุคคลที่เหมาะสมตามแนวทางของ ก.บ.ม.

หลักเกณฑการจัดสรรอัตราใหม ใหเปนไปตามหลักเกณฑของ สกอ. และ คปร. ที่สอดคลองกับนโยบายแนวทางการบริหารอัตรากําลังของ ก.บ.ม. ตามขั้นตอนและวิธีการ ดังนี้

ขั้นตอนและวิธีการขออนุมัติอัตราใหม

คณะ/หนวยงาน

กองแผนงาน

คณะอนุกรรมการฯ

อธิการบดี / ก.บ.ม.

กองการเจาหนาท่ี ประกาศ ก.บ.ม.

ไมผานเกณฑ

กองแผนงาน

คัดเลือก/สรรหา/บรรจุ จัดทํางบประมาณประจําป

Page 19: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 15 -

2.2.2 ขอมูลประกอบการขออนุมัติอัตราใหม การขออนุมัติกรอบอัตราใหม คณะ/หนวยงานจะตองจัดทําขอมูลกรอบอัตรากําลัง พรอมดวยเหตุผล ภาระงาน และปริมาณงานของตําแหนง ประกอบการขออนุมัติอัตรา โดยใชขอมูลทั่วไปประกอบ การพิจารณา ดังนี้

1. ภารกิจ /ความรับผิดชอบของหนวยงาน แสดงขอมูลประวัติความเปนมา บทบาท ภารกิจ หนาทีแ่ละความรับผิดชอบของหนวยงาน

2. โครงสรางองคกร /การบริหาร แสดงโครงสรางองคกร โครงสรางการบริหารอัตรากําลัง การจัดระบบงาน การแบงสวนงาน

ภายใน อาจเสนอในรูปแบบการบรรยายหรือแผนภาพ

3. ภาระงาน ผลงานที่ผานมา /เปาหมายการดําเนินงาน แสดงภาระงาน ปริมาณงานหรือผลการดําเนินงานที่ผานมา และแผนการดําเนินงานหรือ

เปาหมายงานในอนาคต อาจเสนอในรูปแบบการบรรยาย ตาราง ที่แสดงขอมูลที่สามรถชี้วัดได

4. กรอบตําแหนง /จํานวนอัตรากําลังที่ขอกําหนดใหมที่ตองรับผิดชอบภาระงาน กรอบตําแหนง จํานวนอัตรากําลังที่ขอกําหนดใหมที่ตองรับผิดชอบภาระงาน อาจเสนอใน

รูปแบบบรรยาย ตาราง ที่แสดงขอมูลที่สามรถชี้วัดได

5. ภาระงานและความรับผิดชอบของตําแหนง แสดงภาระงาน ปริมาณงาน เปาหมายการดําเนินงานที่จะมอบหมายใหอัตรากําลังที่ขอกําหนด

ใหมที่ตองรับผิดชอบ อาจเสนอในรูปแบบบรรยาย ตาราง ที่แสดงขอมูลที่สามรถชี้วัดได 7. เหตุผล / คําชี้แจงอื่น ๆ

เหตุผลประกอบอื่น ๆ

Page 20: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 16 -

2.3 วิธีการขออนุมัติเปล่ียนตําแหนงและโอนอัตราวาง คณะ/หนวยงานที่มีความจําเปนและตองการขออนุมัติเปลี่ยนตําแหนง หรือโอนอัตรา หรือขอเปลี่ยนคุณสมบัติ และเงื่อนไขตามความเหมาะสม กรณีที่เปนอัตราวาง โดยสงคําขออนุมัติตามแบบฟอรมที่กําหนด ไปยังกองแผนงานเพื่อพิจารณากลั่นกรอง ตามขั้นตอนดังนี้

1. คณะ/หนวยงาน สงคําขออนุมัติเปลี่ยนตําแหนง / ตัดโอนอัตรา / เปลี่ยนคุณสมบัติเฉพาะตําแหนง โดยผานที่ประชุมกรรมการคณะ/หนวยงาน สงใหกองแผนงาน จํานวน 1 ชุด

2. กองแผนงานรวบรวม วิเคราะห เสนอคณะอนุกรรมการวิเคราะหอัตรากําลัง เพื่อพิจารณากล่ันกรองในเบื้องตน

3. กองแผนงานสรุปมติคณะอนุกรรมการวิเคราะหอัตรากําลัง และจัดทําขอเสนอตออธิการบดีหรือ ก.บ.ม. พิจารณาอนุมัติ แลวแตกรณี

4. กองการเจาหนาที่ดําเนินการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง กรอบอัตรากําลังตามผลการพิจารณา พรอมทั้งแจงกองแผนงาน และคณะ/หนวยงานที่เกี่ยวของ

5. คณะ/หนวยงานที่ไดรับอนุมัติ ประสานกับกองการเจาหนาที่เพื่อดําเนินการรับสมัครคัดเลือก บรรจุบุคคลที่เหมาะสมตามแนวทางของ ก.บ.ม.

หลักเกณฑการพิจารณา ใหเปนไปตามหลักเกณฑของ สกอ. และ คปร. ที่สอดคลองกับนโยบายแนวทางการบริหารอัตรากําลังของ ก.บ.ม. ตามขั้นตอนและวิธีการขออนุมัติอัตราวาง ดังนี้

ขั้นตอนและวิธีการขออนุมัติอัตราวาง

คณะ/หนวยงาน

ขอเปล่ียนตําแหนง ขอเปล่ียนคุณสมบัต/ิเงื่อนไข ขอตัด/โอนอัตรา

คณะอนุกรรมการฯ คณะอนุกรรมการฯ คณะอนุกรรมการฯ

อธิการบดี อนมัุต ิ ก.บ.ม. อนุมัต ิอธิการบดี อนมัุต ิ

กองการเจาหนาท่ี

กองแผนงาน

Page 21: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 17 -

ภาคผนวก

Page 22: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 18 -

ผ 1. แนวทางการกําหนดกรอบตําแหนง การกําหนดกรอบตําแหนง ที่เปนอัตราใหมจําแนกเปน 2 ประเภท ไดแก ตําแหนงประเภทพนักงานมหาวิทยาลัย และตําแหนงประเภทพนักงานราชการ ไดแก 1. กรอบตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัย เปนกรอบตําแหนงที่ไดรับเงินคาตอบแทนจากงบเงินอุดหนุนทั่วไปที่เปนงบประมาณ ซ่ึงจะรับบรรจุผูมีคุณวุฒิตั่งแตระดับปริญญาตรีขึ้นไป เพื่อทดแทนอัตราขาราชการ จําแนกเปน 2 สายงาน ไดแก พนักงานมหาวิทยาลัยสายผูสอน และพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน 2. กรอบตําแหนงพนักงานราชการ เปนกรอบตําแหนงที่ไดรับเงินคาตอบแทนจากงบบุคลากร ที่เปนงบประมาณแผนดินของมหาวิทยาลัย เพื่อเปนพนักงานของรัฐซึ่งไดรับการจางตามสัญญาจาง ในการปฏิบัติงานใหกับสวนราชการนั้น ซ่ึงจะรับบรรจุผูมีคุณวุฒิต่ํากวาระดับปริญญาตรี เพื่อทดแทนอัตราลูกจางประจํา จําแนกเปน 2 สายงาน ไดแก สายงานบริการ และสายงานเทคนิค แนวทางการกําหนดกรอบตําแหนง ตามมติของ ก.บ.ม. กําหนดใหพิจารณาถึงความเหมาะสมตามโครงสรางภารกิจ บทบาทหนาที่ของหนวยงาน ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ คปร. และ สกอ. กําหนด ดังตอไปนี้ 1. ตําแหนงพนักงานมหาวทิยาลัยสายผูสอน อัตราพนักงานมหาวิทยาลัยสายผูสอน กําหนดตําแหนงอาจารย ใหสังกัดที่คณะ วิทยาลัย วิทยาเขต ภาควิชา สายวิชา หนวยงานที่รับผิดชอบการผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษา เชน งานจัดการเรียนการสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการและอื่น ๆ เปนตน

2. ตําแหนงพนักงานมหาวทิยาลัยสายสนบัสนุน อัตราพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน กําหนดตําแหนงพื้นฐานทั่วไป และตําแหนงเฉพาะพันธกิจ ใหสังกัดที่คณะ วิทยาลัย วิทยาเขต ศูนย สถาบัน สํานัก หรือหนวยงานที่รับผิดชอบ งานสนบัสนุนภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย จําแนกไดดังตอไปนี้ 1. ระดับสํานักงานคณบดี ที่รับผิดชอบงานอํานวยการและงานสนับสนุนการผลิตบัณฑิต เชน งานบริการวิชาการ งานบริการนักศึกษา งานวางแผน งานบริหารและธุรการ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ และงานบริหารงานบุคคล เปนตน กําหนดตําแหนงทั้งหมดไว 23 ตําแหนง โดยเปนตําแหนงพื้นฐานทั่วไป จํานวน 8 ตําแหนง ไดแก

(1) เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป (2) นกัวิชาการศึกษา (3) นักวิชาการโสตทัศนศึกษา (4) นักวเิคราะหนโยบายและแผน (5) นักบัญช ี(6) นักวิชาการเงนิและบัญช ี

Page 23: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 19 -

(7) นักวิชาการพัสดุ (8) นักวเิทศสัมพนัธ

และกําหนดตําแหนงเฉพาะทีเ่หมาะสมกับพันธกิจ จํานวน 15 ตําแหนง ไดแก (1) นักวิทยาศาสตร กําหนดตําแหนงใหคณะทีม่ีหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร ไดแก

คณะเกษตรศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตรวิทยาเขตหนองคาย คณะแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตรคณะสัตวแพทยศาสตร และคณะเทคนิคการแพทย

(2) นักวิชาการคอมพิวเตอร กําหนดตําแหนงใหคณะที่มีหลักสูตรที่เกี่ยวกับระบบ คอมพิวเตอร ไดแก คณะวิศวกรรมศาสตร และ คณะวิทยาศาสตร

(3) นิติกร กําหนดตําแหนงใหที่ คณะแพทยศาสตร วิทยาเขตหนองคาย (4) นักวิชาการประมง กําหนดตําแหนงใหที่ คณะเกษตรศาสตร วิทยาเขต

หนองคาย (5) นักวิชาการเกษตร กําหนดตําแหนงใหที่ คณะเกษตรศาสตร (6) นกัวิชาการสัตวบาล กําหนดตําแหนงใหที่ คณะเกษตรศาสตร (7) นักวิชาการชางศิลป กําหนดตําแหนงใหที่ คณะสถาปตยกรรมศาสตร

คณะศิลปกรรมศาสตร (8) นักวิชาการวิทยาศาสตรการแพทย กําหนดตําแหนงใหที่ คณะแพทยศาสตร

คณะเทคนิคการแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร (9) นักวิชาการชางทันตกรรม กําหนดตําแหนงใหที่ คณะทันตแพทยศาสตร (10) นักกายภาพบําบัด กําหนดตําแหนงใหที่ คณะเทคนิคการแพทย (11) นักเทคนิคการแพทย กําหนดตําแหนงใหที่ คณะเทคนิคการแพทย (12) นักวิชาการโภชนาการ กําหนดตําแหนงใหที่ คณะสาธารณสุขศาสตร (13) สัตวแพทย กําหนดตําแหนงใหที่ คณะสัตวแพทยศาสตร (14) ผูชวยทันตแพทย กําหนดตําแหนงใหที่ คณะทันตแพทยศาสตร (15) ชางทันตกรรม กําหนดตําแหนงใหที่ คณะทันตแพทยศาสตร

2. ระดับศูนย/สถาบัน/สํานัก/หนวยงานเทียบเทาคณะ ที่รับผิดชอบงานอํานวยการ สนับสนุนการวิจยั งานบริการวิชาการแกสังคม และงานสนับสนุนอื่น ๆ กําหนดตําแหนงทั้งหมดไว 12 ตําแหนง โดยเปนตําแหนงพื้นฐานทั่วไป จํานวน 5 ตําแหนง ไดแก

(1) เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป (2) นักวเิคราะหนโยบายและแผน (3) นักบัญช ี(4) นักวิชาการเงนิและบัญช ี

Page 24: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 20 -

(5) นักวิชาการพัสดุ และกําหนดตําแหนงเฉพาะทีเ่หมาะสมกับพันธกิจ จํานวน 7 ตําแหนง ไดแก

(1) บรรณารักษ กําหนดตําแหนงใหที่ สํานักวิทยบริการ (2) นักเอกสารสนเทศ กําหนดตําแหนงใหที่ สํานักวิทยบริการ (3) นักวิชาการโสตทัศนศึกษา กําหนดตําแหนงใหที่ สํานักวิทยบริการ

สํานักทะเบียนและประมวลผล และศูนยบริการวิชาการ (4) นักวิจัย กําหนดตําแหนงใหที่ สถาบันวิจัยและพัฒนา (5) นักวิชาการคอมพิวเตอร กําหนดตําแหนงใหที่ ศูนยคอมพิวเตอร (6) นักวิชาการศึกษา กําหนดตําแหนงใหที่ สํานักทะเบียนและประมวลผล และ

ศูนยบริการวิชาการ (7) นักวิเทศสัมพันธ กําหนดตําแหนงใหที่ สํานักทะเบียนและประมวลผล

3. ระดับสํานักงานอธิการบดีและหนวยงานในสังกดั ที่รับผิดชอบงานอํานวยการ เชน งานวางแผนและพฒันา งานบรหิารและธุรการ งานการเงนิการบัญชีและพัสดุ งานบริหารงานบุคคล และงานบริการและพฒันานักศกึษา เปนตน กําหนดตําแหนงทัง้หมดไว 15 ตําแหนง โดยเปนตําแหนงพื้นฐานทั่วไป จํานวน 1 ตําแหนง ไดแก

(1) เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป และกําหนดตําแหนงเฉพาะทีเ่หมาะสมกับพันธกิจ จํานวน 14 ตําแหนง ไดแก

(1) นักประชาสัมพันธ กําหนดตําแหนงใหที่ กองกลาง (2) นักวเิทศสัมพนัธ กําหนดตาํแหนงใหที่ สํานักงานอธิการบดี กองกลาง (3) นักวิชาการโสตทัศนศึกษา กําหนดตําแหนงใหที่ สํานักงานอธิการบดี

กองกลาง (4) บุคลากร กําหนดตําแหนงใหที่ กองการเจาหนาที ่(5) นิติกร กําหนดตําแหนงใหที่ กองการเจาหนาที ่(6) นักบัญชี กําหนดตําแหนงใหที่ กองคลัง (7) นักวิชาการพัสดุ กําหนดตําแหนงใหที่ กองคลัง (8) นักวิชาการเงนิและบัญชี กาํหนดตําแหนงใหที่ กองคลงั กองกิจการนักศึกษา (9) นักวิชาการศึกษา กําหนดตําแหนงใหที่ สํานักงานอธิการบดี กองกิจการ

นักศึกษา (10) นักแนะแนวการศึกษาและอาชพี กําหนดตําแหนงใหที่ กองกิจการนกัศึกษา (11) สถาปนิก กําหนดตําแหนงใหที่ กองอาคารและสถานที่ (12) วิศวกร กําหนดตําแหนงใหที่ กองอาคารและสถานที่ (13) นักวเิคราะหนโยบายและแผน กําหนดตําแหนงใหที่ กองแผนงาน

Page 25: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 21 -

(14) นักตรวจสอบภายใน กําหนดตําแหนงใหที่ หนวยตรวจสอบภายใน

4. ระดับหนวยงานที่มีภารกิจเฉพาะ ที่รับผิดชอบงานบริการรักษาพยาบาลและสงเสริมสุขภาพ ไดแก โรงพยาบาลศรีนครินทร ศูนยหัวใจสริิกิติ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื และหนวยงานอื่น ๆ กําหนดตําแหนงทั้งหมดไว 25 ตําแหนง โดยเปนตําแหนงพื้นฐานทั่วไป จํานวน 6 ตําแหนง ไดแก

(1) เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป (2) นักบัญช ี(3) นักวิชาการเงนิและบัญช ี(4) นักวิชาการพัสดุ (5) นักประชาสัมพันธ (6) นักวเิคราะหนโยบายและแผน กําหนดตําแหนงใหที่ ศูนยหัวใจสิริกิติ์ฯ

และกําหนดตําแหนงเฉพาะทีเ่หมาะสมกับพันธกิจ จํานวน 19 ตําแหนง ไดแก (1) นักวิชาการศึกษา กําหนดตําแหนงใหที่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกน (2) แพทย กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร และศูนยหวัใจสิริกิติ์ฯ (3) เภสัชกร กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร และศูนยหัวใจสิริกิติ์ฯ (4) พยาบาล กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร และศูนยหัวใจสิริกิติ์ฯ (5) นักเทคนิคการแพทย กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร

และศูนยหวัใจสิริกิติ์ฯ (6) นักวิชาการเวชสถิติ กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร

และศูนยหวัใจสิริกิติ์ฯ (7) นักสังคมสงเคราะห กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร

และศูนยหวัใจสิริกิติ์ฯ (8) นักวิชาการโภชนาการ กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร

และศูนยหวัใจสิริกิติ์ฯ (9) นักวิชาการวิทยาศาสตรการแพทย กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรี

นครินทร และศูนยหวัใจสิริกิติ์ฯ (10) นักรังสีการแพทย กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร

และศูนยหวัใจสิริกิติ์ฯ (11) ทันตแพทย กาํหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร (12) นักกายภาพบาํบัด กําหนดตาํแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร (13) นักวิชาการอาชีวบําบัด กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร (14) นักจิตวิทยา กาํหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร

Page 26: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 22 -

(15) นักเวชศาสตรการสื่อความหมาย กําหนดตาํแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรี นครินทร

(16) ผูชวยพยาบาล กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร และศนูยหวัใจ สิริกิติ์ฯ

(17) ผูชวยทันตแพทย กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร (18) พนักงานรังสเีทคนิค กําหนดตําแหนงใหที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร และ ศูนยหวัใจสิริกิติ์ฯ (19) เจาหนาที่ทรัพยสินทางปญญา กําหนดตําแหนงใหที่ สํานักงานอธิการบดี

3. ตําแหนงพนักงานราชการ ตําแหนงพนักงานราชการ ทีรั่บบรรจุผูมีคุณวุฒใินระดับต่ํากวาปริญญาตรี กําหนดตําแหนงไว 2 สายงาน กําหนดตําแหนงทั้งหมดไว 14 ตําแหนง โดยเปนตําแหนงสายงานบรกิาร จํานวน 3 ตําแหนง ไดแก

(1) พนักงานธุรการ (2) พนักงานการเกษตร (3) พนักงานหองสมุด

และกําหนดตําแหนงสายงานเทคนิค จํานวน 11 ตําแหนง ไดแก (1) ชางเทคนิค (2) พนักงานโสตทัศนศึกษา (3) พนักงานหองปฏิบัติการ (4) พนักงานการแพทย (5) พนักงานรกัษาศพ (6) พนักงานหองผาตัด (7) พนักงานผสมยา (8) ผูชวยเภสัชกร (9) ผูชวยสัตวแพทย (10) พนักงานวิทยาศาสตร (11) พนักงานเวชกิจฉุกเฉิน

4. ภาระหนาท่ีความรับผดิชอบของตาํแหนง และคุณสมบัติเฉพาะตาํแหนง ภาระหนาที่ความรับผิดชอบของตําแหนง และคุณสมบัติเฉพาะตําแหนง ใหฝายทรัพยากรบุคคลดําเนินการตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่ ก.พ.อ. กําหนด และแจงให ก.บ.ม. ทราบตอไป

Page 27: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 23 -

ผ 2. การวิเคราะหกรอบอัตราพนักงานมหาวิทยาลัย 1. การวิเคราะหกรอบอัตรากําลังสายผูสอน ตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัยสายผูสอน ซ่ึงมีหนาทีห่ลักในการสอนและวิจัย หรือบริการวิชาการ วิเคราะหจํานวนอัตรากําลังในภาพรวมทั้งคณะ/สาขาวิชา ตามแนวทางและหลักเกณฑ ดังตอไปนี ้ 1.1 วิเคราะหอาจารยเต็มเวลา (FTEF: Full Time Equivalent Faculty) การวิเคราะหจํานวนอาจารยเต็มเวลา เปนการวิเคราะหอาจารยที่ปฏิบัติงานเต็มเวลา จากจํานวนช่ัวโมงสอนของอาจารย (Teaching Load) เฉลี่ยทั้งคณะ/สาขาวิชา ซ่ึงนิยมใชวิเคราะหหาจํานวนอาจารยที่เหมาะสม สําหรับหลักสูตรที่ไมจํากัดรับนักศึกษา หรือหลักสูตรโครงการพิเศษ มีเกณฑวิเคราะห ดังนี้

(1) ระดับปริญญาตรี กําหนดให อาจารย 1 คน มีช่ัวโมงสอน 10 หนวยช่ัวโมง/สัปดาห/ภาคการศึกษา (ภาคปฏิบัติคิดอัตราสวน 1.5 ช่ัวโมงปฏิบัติ = 1 ช่ัวโมงบรรยาย)

(2) ระดับบัณฑิตศึกษา กําหนดให อาจารย 1 คน มีช่ัวโมงสอน 6 หนวยช่ัวโมง/สัปดาห/ภาคการศึกษา (ปรับน้ําหนักชั่วโมงสอนบัณฑิตศึกษาเปนปริญญาตรีโดย 1 ช่ัวโมงบัณฑิตศึกษา = 10/6 ช่ัวโมงปริญญาตรี)

(3) ปรับเพิ่มภาระงานวิจัยและบริการวิชาการ ใหรอยละ 10 ของชั่วโมงสอนเฉลี่ยทั้งภาควิชา

โดยใชสูตรคํานวณชั่วโมงสอนเฉลี่ยใน 1 สัปดาห/ภาควิชา ดังนี ้ H = [(B1 x S)] + [1/1.5 (B2 x S)] +[10/6 (M1 x S)] +[10/9 (M2 x S)]

H = จํานวนชั่วโมงสอนรวมของภาควิชา/สัปดาห B1 = จํานวนชั่วโมงสอนบรรยาย ระดับปริญญาตรี/สัปดาห B2 = จํานวนชั่วโมงสอนปฏิบัติ ระดับปริญญาตรี/สัปดาห M1 = จํานวนชั่วโมงสอนบรรยาย ระดับปริญญาตรี/สัปดาห M2 = จํานวนชั่วโมงสอนปฏิบัติ ระดับปริญญาตรี/สัปดาห S = จํานวนกลุม (Section) ของแตละรายวิชา

1.2 วิเคราะหนักศึกษาเต็มเวลา (FTEF: Full Time Equivalent Student) การวิเคราะหจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา เปนการวิเคราะหจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา โดยวิเคราะหจํานวนหนวยกิตนักศึกษา (SCH: Student Credit Hours) ที่ไดจากจากผลรวมของผลคูณระหวางจํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน กับจํานวนหนวยกิตของแตละรายวิชาที่ภาควิชาหรือคณะนั้นเปดสอนในหลักสูตรตาง ๆ ซ่ึงกําหนดใหนักศึกษาจะตองลงทะเบียนเรียนตามเกณฑหลักสูตรในแตละปการศึกษา ซ่ึงการวิเคราะหหนวยกิตนักศึกษา (SCH) และนักศึกษาเต็มเวลา (FTES) โดยใชสูตรคํานวณดังนี้

SCH = ∑Ci Si Ci = จํานวนหนวยกิตของแตละวิชา Si = จํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในแตละวิชา i = รายวชิาที่ i…………. n

Page 28: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 24 -

FTES = SCH / N SCH = จํานวนหนวยกิตในปการศึกษา N = จํานวนหนวยกิตคงที่ตามเกณฑมาตรฐาน

กําหนด ระดับปริญญาตรี ท้ังปการศึกษา มีคาเทากับ 36 ระดับบัณฑิตศึกษา ท้ังปการศึกษา มีคาเทากับ 24

ทั้งนี้ จะตองปรับจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาระดับบัณฑิตศึกษาใหเปนระดับปริญญาตรี เพื่อใหอยูในมาตรวัดเดียวกัน จึงนําไปวิเคราะหสัดสวนอาจารยตอนักศึกษา ซ่ึงนิยมใชวิเคราะหจํานวนอาจารยที่เหมาะสม สําหรับหลักสูตรที่จํากัดรับนักศึกษาหรือหลักสูตรภาคปกติ โดยมีเกณฑกําหนดไว ดังนี้

อัตราสวนอาจารยตอนักศึกษา กลุมสาขาวชิา อัตราสวนเดิม อัตราสวนเพิ่ม 1.5 เทา

1. ระดับปริญญาตรี 1.1 ศึกษาศาสตรและการฝกหัดครู 1 : 15 1 : 22.5 1.2 มนุษยศาสตร ศาสนา และเทววิทยา 1 : 18 1 : 27 1.3 นิติศาสตร 1 : 18 1 : 27 1.4 สังคมและพฤติกรรมศาสตร 1 : 18 1 : 27 1.5 การบริหาร พานิชยการและธุรกิจ 1 : 18 1 : 27 1.6 การสื่อสารมวลชลและวารสารศาสตร 1 : 18 1 : 27 1.7 คหกรรมศาสตร 1 : 18 1 : 27 1.8 ธุรกิจบริการ 1 : 18 1 : 27 1.9 วิจิตรศิลปและประยุกตศิลป 1 : 8 1 : 12 1.10 วิทยาศาสตรธรรมชาติ 1 : 10 1 : 15 1.11 คณิตศาสตรและวิทยาการคอมพวิเตอร 1 : 10 1 : 15 1.12 วิศวกรรมศาสตร 1 : 10 1 : 15 1.13 การอาชีวะ หัตถกรรมและอุตสาหกรรม 1 : 10 1 : 15 1.14 การขนสงและคมนาคม 1 : 10 1 : 15 1.15 เกษตรศาสตร วนศาสตรและประมง 1 : 10 1 : 15 1.16 สถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง 1 : 4 1 : 6 1.17 แพทยศาสตร และวิทยาศาสตรสุขภาพ 1 : 4 1 : 6 1.18 เภสัชศาสตร 1 : 4 1 : 6 1.19 สัตวแพทยศาสตร 1 : 3.5 1 : 5.25 2. ระดับบัณฑิตศึกษา 2.1 สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 1 : 10 1 : 15 2.2 วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี 1 : 5 1 : 7.5 2.3 วิทยาศาสตรสุขภาพ 1 : 4 1 : 6

หมายเหตุ: 1. นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาเต็มเวลา 2. อาจารย มีคุณวุฒิปริญญาเอกไมนอยกวารอยละ 50

Page 29: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 25 -

2. การวิเคราะหกรอบอัตรากําลังสายสนับสนุน ตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน ไดแก ตําแหนงพื้นฐานทั่วไป และตําแหนงเฉพาะภารกิจ ซ่ึงมีหนาที่หลักคือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การอํานวยการและบริการทั่วไป โดยวิเคราะหจํานวนอัตรากําลังในภาพรวมทั้งมหาวิทยาลัย และระดับคณะ/หนวยงาน ตามแนวทางจะวิเคราะหภาระงานที่ สกอ. และ คปร. แบงเปน 2 กลุม คือ

(1) สายสนับสนุนวิชาการ (ศูนย สถาบัน สํานัก) เปนตําแหนงที่ปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ บริการรักษาพยาบาล และการศึกษาขั้นพื้นฐาน

(2) สายบริหารและธุรการทั่วไป เปนตําแหนงที่ปฏิบัติงานในสํานักงานอธิการบดี /สํานักงานคณบดี /สถาบัน /สํานัก

การวิเคราะหกําหนดกรอบตําแหนง มีหลายเทคนิควิธี ตามลักษณะสายงาน และรายตําแหนง ดังนี้ 2.1 วิเคราะหสถิติชั่วโมงภาระงาน (Work Load)

การวิเคราะหช่ัวโมงภาระงาน เปนการวิเคราะหอัตรากําลังจากจากชั่วโมงการทํางานที่เกิดขึ้นจริง ซ่ึง สกอ. กําหนดเกณฑให 1 ตําแหนง ตองมีภาระงานไมนอยกวา 7ช่ัวโมงทําการ/วัน หรือ 35 ช่ัวโมงทําการ/สัปดาห หรือ 230 วัน/ป

2.2 วิเคราะหสัดสวนภาระงาน (Work Proportion) วิเคราะหสัดสวนภาระงาน เปนการวิเคราะหอัตรากําลังจากสัดสวนภาระงานตามภารกิจของหนวยงาน โดยวิเคราะหสัดสวนภาระงานรายตําแหนงในแตละสายงาน ตามมาตรฐานหรือเกณฑเฉลี่ยทั้งมหาวิทยาลัย ดังตอไปนี้

(1) วิเคราะหสัดสวนจํานวนสายผูสอนตอสายสนับสนุน เปน 1 : 0.8 (2) วิเคราะหตามโครงสรางภารกิจ โดยกําหนดตําแหนงพื้นฐานทั่วไปไวสายงานละ 1 อัตรา (3) วิเคราะหตามสัดสวนภาระงานในแตละสายงาน ที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยทั้งมหาวิทยาลัย เชน

(3.1) สายงานบริหารงานทั่วไป ไดแก เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป กําหนดสัดสวนตําแหนงตอจํานวนบุคลากร หรือจํานวนงบประมาณของคณะ/หนวยงาน

(3.2) สายงานนโยบายและแผน ไดแก นักวิเคราะหนโยบายและแผน กําหนดสัดสวนตําแหนงตอจํานวนนักศึกษา หรือจํานวนงบประมาณของคณะ/หนวยงาน

(3.3) สายงานการเจาหนาที่ ไดแก บุคลากร นิติกร กําหนดสัดสวนตําแหนงตอจํานวนบุคลากรของคณะ/หนวยงาน

(3.4) สายงานการเงินการคลัง ไดแก นักบัญชี นักวิชาการเงินและบัญชี นักพัสดุ และนักตรวจสอบภายใน กําหนดสัดสวนตําแหนงตอจํานวนเงินงบประมาณของคณะ/หนวยงาน

(3.5) สายงานวิชาการศึกษา ไดแก นักวิชาการการศึกษา นักแนะแนวการศึกษาและอาชีพ กําหนดสัดสวนตําแหนงตอจํานวนนักศึกษาของคณะ/หนวยงาน

Page 30: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 26 -

(3.6) สายงานบริการโสตทัศนศึกษา ไดแก บรรณารักษ นักเอกสารสนเทศ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา นักวิชาการคอมพิวเตอร กําหนดสัดสวนตําแหนงตอจํานวนนักศึกษา หรือเครื่องมือ อุปกรณ ของคณะ/หนวยงาน

(3.7) สายงานปฏิบัติการวิจัย ไดแก นักวิทยาศาสตร นักวิชาการเกษตร กําหนดสัดสวนตําแหนงตอหองปฏิบัติการ หรือนักศึกษาที่ใชบริการ ตามความถี่ที่ใชงานจริง

2.3 วิเคราะหเกณฑมาตรฐานวิชาชีพ (Work Standard) วิเคราะหภาระงานตามเกณฑมาตรฐานวิชาชีพ ในหนวยงานที่สนับสนุนการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาและใหบริการพิเศษ เชน งานบริการรักษาพยาบาล งานจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหวิเคราะหอัตรากําลังตามเกณฑมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะ ดังนี้ กรณี โรงพยาบาล

(1) ตําแหนงแพทย จํานวนแพทย = ( (จํานวนคนไขนอกแตละป / 2500) + ( เตียงคนไข / 15 ) ) / 2

(2) ตําแหนงที่ปฏิบัติงานดานทันตแพทยกรรม

พิจารณาจากประเภทการใหบริการทันตกรรม จํานวนเครื่องมือ อุปกรณที่ใชตรวจรักษาที่ตองการผูดูและประจําเครื่อง เชน เครี่อง X-Ray, จํานวนหองผาตดั เปนตน

จํานวนทันตแพทย = จํานวนคนไขทนัตกรรม 16 ราย /วัน /1 ตําแหนง และทันตแพทยตอผูชวยทนัตแพทย เปน 1 : 1 เปนตน

(3) ตําแหนงที่ปฏิบัติงานดานเภสัชกรรม ไดแก เภสัชกร ผูชวยเภสัชกร

พิจารณาจากประเภทการใหบริการงานเภสัชกรรม เชน การบริหารและคลังเวชภัณฑ การผลิตยา การคนควาพัฒนาตาํรายา การใหบริการจายยาและจํานวนผูใชบริการ

จํานวนเภสัชกร = คนไขนอก + คนไขใน รวม 36,000 คน /ป/ 1 เภสัชกร จํานวนหองยา ควรมีเภสัชกรตอผูชวยเภสักร = 1 : 2

(4) ตําแหนงที่ปฏิบัติงานดานการพยาบาล

1) กรณีผูปวยใน จํานวนพยาบาล = 3 ช่ัวโมง : 1 วัน : ผูปวย 1 คน ดังนั้นหอผูปวยขนาด 25 เตียง จะตองมีจาํนวนพยาบาลและผูชวยพยาบาลไมตํากวา

18 คน โดยอาจจัดแบงเวรดังนี้ - เวรเชา พยาบาล : ผูชวยพยาบาล = 3 : 5 - เวรบาย พยาบาล : ผูชวยพยาบาล = 1 : 2

Page 31: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 27 -

- เวรดกึ พยาบาล : ผูชวยพยาบาล = 1 : 2 - OFF พยาบาล : ผูชวยพยาบาล = 1 : 2 - หัวหนาหอผูปวย = 1

รวมพยาบาล และผูชวยพยาบาล = 7 + 11 = 18 คน หมายเหตุ 1) สําหรับหอผูปวยพิเศษ หรือหอผูปวยที่จําเปนตองดูแลอยางใกลชิด เชน ผูปวยจิตเวช

จํานวนพยาบาล และผูชวยพยาบาล อาจมีจํานวนเพิ่มขึ้นตามความจําเปน 2) กรณีผูปวยนอก จํานวนพยาบาล = 20 นาที : ผูปวย 1 คน

ถาผูปวยจํานวน 200 คน = (200 + 20)/60 = 66.7 ช่ัวโมง = 66.7/7 = 9.5 คน

เผ่ือหยุดลาปวย 10% = 9.5 + 10% = 10.4 คน หมายเหต ุ ในกรณีที่มีเหตุผลและความจําเปน เมื่อไดประเมินความตองการแลว

Nursing Need สําหรับผูปวยนอกอาจใชเกณฑ Nursing Need เวลา 30 นาที : ผูปวย 1 คน

เกณฑในการกาํหนดจาํนวนตําแหนงหัวหนาหอผูปวย หรือหัวหนาตึกพยาบาล และผูชวยพยาบาล สําหรับผูปวยนอก ใชเกณฑดังนี ้

ผูปวย 200 คน : พยาบาล 3 + 1 (หัวหนา) และ 1 พยาบาล : ผูชวยพยาบาล 3 คน สําหรับวิธีการที่จะคํานวณวาผูปวยตอหนึ่งวันจากจํานวนผูปวยทั้งปใหเอา 365 หาร

(5) ตําแหนงที่ปฏิบัติงานดานโภชนาการ

ใหโรงพยาบาล 50 เตียง มีได 1 ตําแหนง

(6) ตําแหนงที่ปฏิบัติงานดานกายภาพบําบัด /เทคนิคการแพทย ใหอยางนองโรงพยาบาลละ 1 ตําแหนง

(7) ตําแหนงเจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ใหโรงพยาบาล 360 เตียง ตอ 1 ตําแหนง

นอกจากนี้ อาจวิเคราะหอัตรากําลังในภาพรวมของโรงพยาบาล ตามเกณฑ คปร. จากขนาดโรงพยาบาล จํานวนเตียงผูปวยและผูปวยที่มารับบริการ ดังตารางตอไปนี้

Page 32: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 28 -

ลํา กลุมงาน/ตําแหนงดับ

แพทย พยาบาล อื่นๆ รวม แพทย พยาบาล อื่นๆ รวม แพทย พยาบาล อื่นๆ รวม1 บริหาร 2 - 1 3 2 - 1 3 2 - 1 32 ธุรการ - - 13 13 - - 18 18 - - 25 253 การเงินและบัญชี - - 16 16 - - 14 14 - - 23 234 พัสดุ - - 6 6 - - 8 8 - - 17 175 วิชาการ 1 - 20 21 1 - 20 21 2 - 35 376 โภชนาการ - - 2 2 - - 5 5 - - 9 97 รังสีวิทยา 1 - 7 8 2 - 11 13 5 - 26 318 จิตเวช 1 6 1 8 2 11 2 15 3 16 4 239 พยาธิวิทยากายวิภาค 1 - 3 4 2 - 6 8 4 - 12 1610 พยาธิวิทยาคลีนิค - - 14 14 - - 22 22 2 - 35 3711 เวชกรรมฟนฟู 1 - 6 7 2 - 11 13 2 - 25 2712 ทันตกรรม 5 - 5 10 7 - 7 14 11 - 12 2313 เภสัชกรรม - - 15 15 - - 27 27 - - 47 4714 เวชกรรมสังคม 2 9 17 28 2 9 17 28 4 10 16 3015 การพยาบาล - 4 - 4 - 4 - 4 - 4 416 หนวยจายกลาง - 4 - 4 - 5 - 5 - 6 6

รวมท้ังส้ิน 14 23 126 163 20 29 169 218 35 36 287 358

หมายเหตุแพทย หมายถึง ผูท่ีบริการพยาบาลทุกประเภทโดยดําเนินการเกี่ยวกับ วางแผนดําเนินงาน งานบริการพยาบาล จัดระบบเจาหนาที่ทางการพยาบาลพยาบาล หมายถึง ผูท่ีบริการพยาบาลทุกประเภท โดยดําเนินการเกี่ยวกับ วางแผนดําเนินงาน งานบริการพยาบาล จัดระบบเจาหนาท่ีทางการพยาบาล

กําหนดแนวทางและกลวิธีการใหบริการพยาบาล ประกอบดวยตําแหนง หัวหนาพยาบาล พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเทคนิค ผูชวยพยาบาลอื่นๆ หมายถึง ตําแหนงที่สนับสนุนการดําเนินการในโรงพยาบาลที่มิใชแพทย และพยาบาล เชน เจาหนาที่บริหารงานท่ัวไป ธุรการ บุคลากร ประชาสัมพันธ

ชางเทคนิค พิมพดีด การเงิน บัญชี พัสดุ นักวิชาการ ชางทันตกรรม นักวิชาการ นักกายภาพบําบัด นักอาชีวบําบัด นักสังคมสงเคราะห นักเวชสถิติ โภชนาการ นักวิทยาศาสตร นักรังสีวิทยา นักจิตวิทยาฯ

150-300 เตียง 301-500 เตียง 501 เตียงขึ้นไป

อัตรากําลังโรงพยาบาลอัตราคงที่ (Fixed)

จํานวนอัตราโรงพยาบาลทั่วไป กลุม 1 โรงพยาบาลทั่วไป กลุม 2 โรงพยาบาลศูนย

Page 33: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 29 -

ลํา กลุมงาน / ตัวแปรดับ ตําแหนง1 กลุมงานผูปวยนอก / จํานวนผูปวยนอก 150-314 315-384 385-454 455-524 525-594 595-664 665-735

- แพทย 4 5 6 7 8 9 102 กลุมงานอุบัติเหตุและนิติเวช / จํานวนผูปวย 15-29 30-41 42-53 54-65 66-67 78-89 90-101

- แพทย 2 3 4 5 6 7 83 กลุมงานอายุรกรรม / หอผูปวย 1 2 3 4 5 6 7

- แพทย 3 5 7 9 11 13 15 -พยาบาล(ไมรวมยาบาลงานหอผูปวย) 1 1 1 2 2 2 3

4 กลุมงานศัลยกรรม /หอผูปวย 1 2 3 4 5 6 7 - แพทย 4 7 10 13 16 19 22

5 กลุมงานศัลยกรรม /หองผาตัด 3 4 5 6 7 8 9 - พยาบาล 16 24 28 32 36 40 44

6 กลุมงานศัลยกรรมออรโธปดิกส / หอผูปวย 1 2 3 4 5 6 7 - แพทย 4 7 10 13 16 19 22 - พยาบาล (ไมรวมพยาบาลงานหอผูปวย) 1 1 1 2 2 2 3

7 กลุมงานเวชกรรม / หอผูปวย 1 2 3 4 5 6 7 - แพทย 3 5 7 9 11 13 15

8 กลุมงานสูตินรีเวช / หอผูปวย 1 2 3 4 5 6 7 - แพทย 3 5 7 9 11 13 15 - พยาบาล (ไมรวมพยาบาลงานหอผูปวย) 2 2 2 3 3 3 3

9 กลุมงานหองคลอด / เตียงทําคลอด 3 4 5 6 7 8 9 - พยาบาล 12 18 21 24 27 30 33

10 กลุมงานจักษุวิทยา / หอผูปวย 1 2 3 4 5 6 7 - แพทย 3 5 7 9 11 13 15 - พยาบาล (ไมรวมพยาบาลงานหอผูปวย) 1 1 1 2 2 2 3

11 กลุมงานโสต ศอ นาสิก / หอผูปวย 1 2 3 4 5 6 7 - แพทย 3 5 7 9 11 13 15 - นักวิชาการ 2 2 2 3 3 3 4

12 กลุมงานวิสัญญีวิทยา / หองผาตัด 3 4 5 6 7 8 9 - แพทย 3 3 4 4 5 5 6 - พยาบาล 8 12 14 16 18 20 22

13 งานผูปวยนอก / จํานวนผูปวยนอก 150 200 250 300 800 900 - พยาบาล 12 16 20 24 65 73

14 งานผูปวยอุบัติเหตุ / จํานวนผูปวยอุบัติเหตุ 4 12 36 40 48 56 - พยาบาล 4 12 36 40 48 56

15 งานหอผูปวย / หอผูปวย 1 2 5 8 11 17 - พยาบาล 16 32 80 129 177 273

16 งานหองผูปวยหนัก (ICU) / เตียงผูปวยหนัก 4 5 6 7 10 18 - พยาบาล 16 20 24 28 40 72หมายเหตุ : 1.กําหนดให 1 หอผูปวย = 25 เตียง

2.หากชื่อกลุมงานตางจากที่กําหนดใหใชวิธีเทียบเคียง 3.หาจํานวนตัวแปรสูงกวาที่กําหนดใหเทียบสัดสวนจากตัวแปรสูงสุด

เกณฑอัตรากําลังโรงพยาบาล อัตราผันแปร จํานวนตัวแปร

จํานวนอัตรากําลัง

Page 34: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 30 -

กรณีโรงเรียนสาธิต (1) ตําแหนงอาจารย ที่ทําหนาทีส่อนในโรงเรียนสาธิตฯ วิเคราะหอัตรากําลังตามเกณฑของ

กระทรวงศกึษาธิการ จากอัตราสวนอาจารยตอนักเรียน และอัตราสวนหองเรียนตอนักเรียน ดังนี้

ระดับการศึกษา อาจารย : นักเรียน หองเรียน : นักเรียนอนุบาล 1 : 23 1 : 30ประถมศึกษา 1 : 25 1 : 40มัธยมศึกษาตน 1 : 17 1 : 40มัธยมศึกษาปลาย 1 : 15 1 : 40

คํานวณจํานวนอาจารยที่เหมาะสม ดังนี ้อนุบาล : อาจารย = [(30 X หองเรียน ) + นักเรียนทั้งหมด )] / [2 (23)] ประถมศึกษา : อาจารย = [(40 X หองเรียน ) + นักเรยีนทั้งหมด )] / [2 (25)] มัธยมศึกษาตอนตน : อาจารย = [(40 X หองเรียน ) + นักเรียนทั้งหมด )] / [2 (17)] มัธยมศึกษาตอนปลาย : อาจารย = [(40 X หองเรียน ) + นักเรียนทั้งหมด )] / [2 (15)]

นอกจากนี้ควรพิจารณาภาระงานเพิ่มนอกเหนือจากภาระงานสอน ไดแก งานบริหาร งานการเตรียมการสอน งานทะเบียนวัดผลและประเมินผล งานแนะแนวและชมรมนักเรียน งานกิจกรรมของสถานศึกษา งานอื่นที่สถานศึกษามอบหมายไดตามศักยภาพดานงบประมาณที่เหมาะสม

Page 35: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 31 -

ผ 3. การวิเคราะหกรอบอัตราพนักงานราชการ พนักงานราชการ คือ บุคคลซึ่งไดรับการจางตามสัญญาจางโดยไดรับคาตอบแทนจากงบประมาณแผนดินของสวนราชการเพือ่เปนเจาหนาที่ของรัฐในการปฏิบัติงานใหกับสวนราชการนั้น 1. ระบบพนักงานราชการ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547 มีสาระสําคัญโดยสรุป ดังตอไปนี้ 1. หลักการในการบริหารบุคคลในระบบพนักงานราชการ คือ เพื่อปรับปรุงกระบวนการจางงานภาครัฐในสวนของลูกจางของสวนราชการใหมีความหลากหลาย และเหมาะสมในการใชกําลังคนภาครัฐ และเปนผลใหการปฏิบัติราชการมีความคลองตัว ภายใตหลักการบริหารทรัพยากรบุคคล คือ หลักสมรรถนะ (Competency) หลักผลงาน (Performance) และหลักคุณธรรม (Merit) ตลอดจนมอบอํานาจใหสวนราชการบริหารจัดการเอง เพื่อใหสอดคลองกับการบริหารภาครัฐแนวใหม ดังนั้นระเบียบ หลักเกณฑตาง ๆ จึงกําหนดไวอยางกวาง ฯ เพื่อใหสวนราชการมีความอิสระและยืดหยุน 2. พนักงานราชการ มี 2 ประเภท และจําแนกตําแหนงตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน เปน 6 กลุม ดังนี้ 2.1 พนักงานราชการทั่วไป ปฏิบัติงานในลักษณะทีป่นงานประจําทั่วไปของสวนราชการ พนักงานราชการประเภทนี้ มี 5 กลุม คือ (1) กลุมงานบริการ มีลักษณะงานเปนงานปฏิบัติระดบัตน ไมซับซอน มีขั้นตอนชัดเจน ไมใชทกัษะเฉพาะ (วุฒิ ม. 3, ม.ศ. 3, ม. 6, ปวช., ปวท., ปวส.) เชน ตาํแหนงผูปฏิบัติงานบริหารทัว่ไป ผูปฏิบัติงานการเกษตร ฯลฯ (2) กลุมงานเทคนิค มีลักษณะงานที่ตองใชความรูความชํานาญทางเทคนิค ซ่ึงตองผานการศึกษาในระบบหรืองานที่ปฏิบัติโดยใชทักษะเฉพาะบุคคล (วุฒิ ปวช. ปวท. ปวส. หรือมีประสบการณในงานที่ปฏิบัติไมนอยกวา 5 ป) เชน ชางเทคนิค พนักงานการแพทย พนักงานหองปฏิบัติการ ฯลฯ (3) กลุมงานบริหารทั่วไป มีลักษณะงานเชนเดียวกับที่ขาราชการปฏิบัติ แตมีความจาํเปนเรงดวนและมรีะยะเวลาการปฏิบัติงานที่แนนอน หรือ ไมใชงานลักษณะเชนเดียวกับที่ขาราชการปฏิบัติ แตจําเปนตองใชวุฒิปริญญา (วุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรี ที่เหมาะสมกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ) เชน นักวเิคราะหนโยบายและแผน นิติกร บคุลากร นักวิชาการเงินและบญัชี ฯลฯ (4) กลุมงานวชิาชีพเฉพาะ มีลักษณะงานที่ไมอาจมอบใหผูมีคุณวุฒิอยางอื่นปฏิบัติแทนได และมีผลกระทบตอชีวิต และทรัพยสินของประชาชน หรือเปนงานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หรือเปนงานที่ขาดแคลน (วุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรี+ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี) เชน แพทย วิศวกร สถาปนิก เภสัชกร นักเทคนิคการแพทย นักฟสิกสรังสี ฯลฯ (5) กลุมเชี่ยวชาญเฉพาะ มีลักษณะงานทีต่องใชความรู ประสบการณ หลักวิชา ภมูิปญญาทองถ่ิน หรือ เปนการพัฒนาระบบ/มาตรฐานที่ใชความรูและประสบการณเชีย่วชาญเฉพาะ (วุฒิปริญญาตรี+

Page 36: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 32 -

ประสบการณ 6 ป , ปริญญาโท+ประสบการณ 4 ป , ปริญญาเอก+ประสบการณ 2 ป) เชน อาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย ศาสตราจารย ผูเชี่ยวชาญดานตาง ๆ ฯลฯ 2.2 พนักงานราชการพิเศษ ปฏิบัติงานในลักษณะที่ตองใชความรูหรือความเชีย่วชาญสูงมากเปนพเิศษ เพือ่ปฏิบัติงานในเรื่องที่มีความสําคัญและจาํเปนเฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบุคคลในลักษณะดังกลาว พนกังานราชการประเภทนี้ มี 1 กลุม คือ (6) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ มีลักษณะงานที่ใชความรู ความสามารถ ประสบการณ และเชี่ยวชาญพเิศษระดับสูงเปนที่ยอมรับ หรืองาน/โครงการที่ไมอาจหาผูปฏิบัติที่เหมาะสมในหนวยงานได หรือ งานที่มีลักษณะไมเปนงานประจํา (สวนราชการสามารถกําหนดวุฒ ิ การศึกษา ประสบการณ ตามระดับของความเชี่ยวชาญพิเศษ) เชน ที่ปรึกษา ผูทรงคุณวุฒิ ผูบริหารโครงการ ฯลฯ อนึ่ง พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย ซ่ึงรับบรรจุเฉพาะผูมีคุณวุฒิทีต่่ํากวาระดับปริญญาตรี เพื่อทดแทนอัตราลูกจางประจํา จะกําหนดกรอบตําแหนงทีไ่มซํ้าซอนกับพนักงานมหาวิทยาลัยใน 2 กลุมงาน ไดแก กลุมงานบริการ และกลุมงานเทคนิค เทานั้น 3. การกําหนดบัญชีคาตอบแทน จะกําหนดโดยแยกบัญชีตามลักษณะงานเปน 6 บัญชี และมีการเลื่อนขั้นคาตอบแทนปละ 1 คร้ัง คือ 1 ตุลาคม ของทุกป นอกจากนี้จะไดรับสทิธิประโยชนแตกตางกันไปในแตละกลุมลักษณะงาน (รายละเอียดบัญชีคาตอบแทนและสทิธิประโยชนอ่ืน ๆ เปนไปตามประกาศคณะกรรมการฯ) 4. กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการ สวนราชการจะตองจัดทํากรอบระยะเวลา 4 ป สําหรับกรอบรอบแรกจะตองใหแลวเสร็จภายใน 3 เดือน (สําหรับสวนราชการที่มีจํานวนลกูจางประจํา ไมเกิน 5,000 คน) โดยจํานวนตําแหนงขึ้นอยูกับกรอบภารกิจและงบประมาณของสวนราชการ (ลูกจางประจํา+ลูกจางช่ัวคราว เทาทีจ่ําเปน) กรณกีรอบอัตรากําลังยังไมแลวเสร็จ แตมีความจําเปนและมงีบประมาณแลว ใหจางไดตามกรอบลูกจางประจําไปพลางกอน โดย กรอบพนักงานราชการ = กรอบลูกจางประจํา – จํานวนลูกจางประจําลักษณะงานจางเหมา ทั้งนี้ ลูกจางประจําปจจุบนัจะเขาสูระบบใหมไดโดยความสมัครใจ และสวนราชการจะตองกําหนดใหมกีารสรรหาและเลือกสรร ตามแนวทางทีจ่ะกาํหนดในประกาศคณะกรรมการฯ ตอไป 5. การจางพนกังานราชการ เปนระบบสัญญาจาง ซ่ึงไมเกินคราวละ 4 ป หรือตามโครงการและตอสัญญาไดตามความเหมาะสม การสิ้นสดุสัญญาจะมีไดดวยเหตุ : ครบกําหนด,ขาดคุณสมบัต,ิ ตาย, ไมผานการประเมินฯ, ถูกไลออกเพราะกระทําผิดวินัยรายแรง, หรือเหตุอ่ืน ๆ เชน ลาออก บอกเลิกสัญญา ฯลฯ 6. การประเมนิผลงาน ในระหวางสัญญาจางใหมกีารประเมินผลการปฏิบัติงาน ปละ 2 คร้ัง (1 ตุลาคม – 31 มีนาคม และ 1 เมษายน – 30 กันยายน) สําหรับพนักงานราชการทั่วไป สวนพนักงานราชการพิเศษ ใหกระทํากรณีประเมนิผลสําเร็จของงานตามชวงเวลาที่กําหนดไวในสัญญาจาง 7. พนักงานราชการตองรักษาวินัย หากฝาฝนขอหามหรือไมปฏิบัติตามถือวาเปนการกระทําผิดวินัย ตองไดรับโทษทางวินยั

Page 37: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 33 -

8. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ (คพร.) ซ่ึงประกอบดวยรองนายกฯเปนประธาน เลขาธิการ ก.พ. เปนรองประธาน มีกรรมการ 10 คน (จากหนวยงานกลางบริหารคน เงนิ แผน แรงงาน กลาโหม ฯลฯ) และผูทรงคุณวุฒิ 4 สาขา (บริหารงานบคุคล กฎหมาย เศรษฐศาสตรและแรงงานสัมพันธ) โดยฝายเลขานกุารเปนผูแทนจาก ก.พ. สงป. และกรมบัญชีกลาง คณะกรรมการฯ มีอํานาจหนาที่ในการกําหนดแผนงานและแนวทางปฏิบัติ รวมทั้งเสนอแนะสวนราชการในการบริหารพนักงานราชการในเรื่องตาง ๆ เชน การสรรหาและเลือกสรร กําหนดกลุมงานและลักษณะงาน ใหความเห็นชอบกรอบอัตรากําลัง กําหนดอัตราคาตอบแทน และมาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ฯลฯ 2. การจัดทํากรอบอัตรากําลัง สวนราชการจะตองทํากรอบอัตรากําลังที่มีระยะเวลา 4 ป โดยพิจารณาถึงการใชกําลังคนในภาพรวมของสวนราชการ ใหมีความเหมาะสม สอดคลองกับความจําเปนตามภารกิจและยุทธศาสตรของสวนราชการ มีขั้นตอนการจัดทํากรอบอัตรากําลัง 1. สํารวจภารกิจและอัตรากําลังมีอยูในปจจุบัน ตามแบบสํารวจ 2. ตรวจสอบภารกิจตาม ขอ) 1 โดยการวิเคราะหภารกิจและการใชกําลังคน ดังนี้

3. แยกภารกิจที่ไดตาม ขอ) 2 ออกเปน 3 กลุม คือ ภารกิจหลัก ภารกิจรอง และภารกิจสนับสนุน ตามแนวคดิในการจัดอัตรากําลังตามภารกิจ ดังนี ้ ภารกิจหลัก หมายถึง งานตามกฎหมาย หรืองานกําหนดนโยบาย หรืองานที่ทําเพื่อความคงอยูขององคกรตามบทบาทภารกิจของหนวยงาน ผูปฏิบัติควรเปนขาราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัย ประมาณรอยละ 90–100 ที่เหลือเปนพนกังานราชการหรือจางเหมา ภารกิจรอง หมายถึง งานที่ทําเพื่อสนับสนุนภารกิจหลัก หรือการนํานโยบายไปปฏิบัติ ผูปฏิบัติควรเปนขาราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัยประมาณรอยละ 50–75 ที่เหลือเปนพนกังานราชการหรือจางเหมา ภารกิจสนับสนุน หมายถึง งานดานธุรการและบริการผูปฏิบัติควรเปนขาราชการประมาณรอยละ 25–50 ที่เหลือเปนพนักงานราชการหรือจางเหมา

Page 38: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 34 -

4. จัดทําตารางภารกิจและจาํนวนกําลังคนที่ใชตาม ขอ) 4 โดยแยกเปนขาราชการ พนักงานราชการอื่น ๆ ตามแบบฟอรม 5. แสดงจํานวนอัตรากําลังพนักงานราชการจาก ขอ) 5 แยกตามกลุมลักษณะงาน เปนกรอบอัตรากําลังพนกังานราชการตามบัญชีกรอบอัตรากําลังพนักงานราชการ 6. เสนอกรอบอัตรากําลังที่ทําเสร็จแลวตอ อ.ก.พ. กระทรวง หรือคณะกรรมการที่ทําหนาที่คลาย อ.ก.พ. กระทรวงพจิารณาใหความเห็นชอบ 7. เมื่อ อ.ก.พ. กระทรวงใหความเห็นชอบแลว สงเรื่องมาที่สํานักงาน ก.พ. เพื่อเสนอตอ คพร. พิจารณา 8. เมื่อสวนราชการไดรับแจงมติ คพร. ที่เห็นชอบกรอบอัตรากําลังพนักงานราชการแลว สามารถดําเนินการบริหารอตัรากําลังพนักงานราชการไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่ คพร. กําหนด ตามงบประมาณทีไ่ดรับการจัดสรร

Page 39: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 35 -

ผ.4 ตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัย และลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ตําแหนง อาจารย ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติหนาที่งานสอนและวจิัยระดับอุดมศึกษาในสาขาวิชาที่ไดรับมอบหมาย โดยการดําเนนิการสอนวิชาการหรือวิชาชีพ การศึกษาอบรม การวิจยัคนควาในสาขาวิชาการและวิชาชพีช้ันสูง การใหคําแนะนําปรึกษาแกนิสิตนักศึกษา ใหบริการทางวิชาการแกสังคม ทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และปฏิบัติหนาที่อ่ืนตามที่ไดรับมอบหมาย

ตําแหนง เจาหนาท่ีบริหารงานทั่วไป ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานบรหิารทั่วไป โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลาย

อยาง เชน งานธุรการ งานบุคคล งานจัดระบบงาน งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานจัดพิมพและแจกจายเอกสาร งานระเบียบแบบแผน งานรวบรวมขอมูล สถิติ งานสัญญา เปนตน หรือปฏิบัติงานเลขานุการที่ยากพอควร เชน รางโตตอบหนังสือ แปลเอกสาร เตรียมเรื่องและเตรียมการสําหรับการประชุม บันทึกเรือ่งเสนอที่ประชุม ทํารายงานการประชุม รายงานอืน่ๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ ติดตามผลการปฏิบัติตามมติของที่ประชุมหรือผลการปฏิบัติตามคําสั่งหัวหนาสวนราชการใหคําปรึกษาแนะนําในการปฏิบัติงานแกเจาหนาที่ระดับรองลงมา และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

ตําแหนง นักวิเคราะหนโยบายและแผน ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานวิเคราะหนโยบายและแผน โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยาง

หนึ่งหรือหลายอยาง เชน การทําหนาที่ชวยศึกษาวิเคราะห วิจัย ประสานแผน ประมวลผลพิจารณาเสนอแนะเพื่อประกอบการกําหนดนโยบาย การจดัทําแผนหรือโครงการ ติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนและโครงการตางๆ ซ่ึงเปนแผนงานของสถาบันอุดมศึกษาและปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักบัญช ี ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานบญัชี โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน การจัดทาํบัญชีรายรับ-รายจาย ตรวจสอบการตั้งฎีกาเบิกจายในหมวดตาง ๆ ตรวจสอบความถูกตองของบัญชี เงินสด บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีแยกประเภท จัดทํารายงานเงินรายจายตามงบประมาณประจําเดือน จัดทําประมาณการรายได รายจายประจําป พรอมทั้งจดัทําแผนการปฏิบัติงาน ดําเนินการเกี่ยวกบังานขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ ประเมินผล และติดตามผลการใชจายเงนิงบประมาณรายจาย และจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานตามแผน และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

Page 40: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 36 -

ตําแหนง นักวิชาการเงินและบัญช ีลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานการเงินและบัญช ี โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือ

หลายอยาง เชน จัดทําฎีกา ตรวจสอบการตั้งฎีกาเบกิจายในหมวดตาง ๆ ตรวจสอบความถูกตองของบัญชี เงินสด บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีแยกประเภท จดัทํารายงานเงินรายจายตามงบประมาณประจําเดือน จัดทําประมาณการรายได รายจายประจําป พรอมทั้งจัดทําแผนการปฏิบัติงาน ดําเนินการเกี่ยวกับงานขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ ประเมินผล และติดตามผลการใชจายเงินงบประมาณรายจาย และจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนและปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักวิชาการพสัดุ

ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานพสัดุ โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน

จัดหา จัดซื้อ วาจาง ตรวจรบั เก็บรักษา ศึกษาคนควารายละเอียดตาง ๆ ของพัสดุครุภัณฑ เชน วิวัฒนาการคุณสมบัติ ระบบราคาการเสื่อมคา การสึกหรอ ประโยชนใชสอย คาบริการ อะไหล การบาํรุงรักษา ความแข็งแรงทนทาน เพื่อกําหนดมาตรฐานและคุณภาพ วิเคราะหและประเมินคณุภาพของพัสดุครุภัณฑ เสนอความเหน็เพื่อประกอบการตดัสินใจในการจัดหาซื้อพัสดคุรุภัณฑ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักตรวจสอบภายใน ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานตรวจสอบภายใน โดยปฏิบตัิหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือ

หลายอยาง เชน ตรวจสอบการทํางานของหนวยงานตางๆ ในดานงบประมาณ บัญชี ตรวจสอบยอดเงินทดลองราชการคงเหลือใหตรงตามบัญชี ตรวจสอบหลักฐานเอกสารทางบัญชี รวมทั้งการควบคุมเอกสารทางการเงินดวย ตรวจสอบการปฏิบัติงาน พรอมทั้งหลักฐานการทําสญัญาการจัดซื้อพัสดุ การเบิกจาย การลงบัญชี การจัดเก็บรักษาพัสดุในคลังพัสดุ ตรวจสอบการใชและเก็บรักษายานพาหนะใหประหยัดและถูกตองตามระเบียบของทางราชการ ตรวจสอบรายละเอียดรายจายในงบประมาณและการกอหนี้ผูกพันงบประมาณรายจาย ซ่ึงรวมถึงเงินยืมและการจายเงินทดรองราชการ ตรวจสอบงบประมาณรายได รายจาย และเงินนอกงบประมาณทกุประเภทและปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

Page 41: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 37 -

ตําแหนง บุคลากร ลักษณะงานทีป่ฏิบตัิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานบรหิารงานบุคคล โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือ

หลายอยาง เชน การกําหนดตําแหนงและอตัราเงินเดือน การรับรองคุณวุฒิ การดําเนินการเกี่ยวกับการจัดสอบ การดําเนินการออกคําสั่งเกี่ยวกับการบรรจแุตงตั้ง และอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับงานบรหิารงานบุคคล การติดตอประสานงานกบัหนวยงานทีเ่กี่ยวของ รวบรวม ศกึษา วิเคราะหปญหาในการสรรหาและพฒันาบุคคล รวบรวมรายละเอียดขอมูลเพื่อช้ีแจงเหตุผลในการดําเนนิเรื่องอนุมัติเกี่ยวกับงานบรหิารงานบุคคล ใหเปนไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ดําเนินเรื่องการขอรับบําเหน็จบํานาญและเงินทดแทน จดัทํา แกไขเปลี่ยนแปลงบญัชีถือจายเงินเดือนของขาราชการและพนกังานของรัฐ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นิติกร ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานกฎหมาย โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึง่หรือหลายอยาง เชน การรางหรือแกไขเพิ่มเติมกฎหมาย กฎ ระเบียบและขอบังคับ การสอบสวนตรวจพิจารณา ดําเนินการเกี่ยวกับวินยัขาราชการ และการรองทุกขหรืออุทธรณ การวินิจฉยัปญหากฎหมาย การดําเนินการทางคดี การดําเนินการเกีย่วกับความรับผิดทางแพง จัดทํานติิกรรมหรือเอกสารที่มีผลผูกพันทางกฎหมายและปฏิบตัิหนาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

ตําแหนง สถาปนิก

ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอควรเกี่ยวกับงานสถาปตยกรรม โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลาย

อยาง เชน ศึกษารายละเอยีดเพื่อคํานวณรางแบบ ออกแบบ เขียนแบบ และประมาณราคาเกี่ยวกับการกอสรางและตกแตงอาคาร สถานที่ ควบคุม ตรวจสอบ แนะนํา แกไขการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเขยีนแบบที่อยูในความรับผิดชอบ ควบคุมการกอสราง และตกแตงอาคารใหถูกตองตามแบบและหลักสถาปตยกรรมไทยหรือสากล และปฏบิัติหนาที่อ่ืนทีเ่กี่ยวของ

ตําแหนง วิศวกร ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานวิศวกรรม โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึง่หรือหลายอยาง

เชน ศึกษาและวิเคราะหขอมูลทางวิศวกรรม เพื่อการวางแผนโครงการเกี่ยวกับวิศวกรรมดานตางๆ และเพื่อการวิเคราะห วิจัย คนควา และการออกแบบวางแผนผังทางดานวิศวกรรม ชวยวิศวกรระดับสูงศึกษาคนควาเร่ืองตาง ๆ ประกอบการวิเคราะหวจิัย แกไขและปรับปรุงงานวิศวกรรม และปฏบิัติหนาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

Page 42: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 38 -

ตําแหนง บรรณารักษ ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานบรรณารักษ โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลาย

อยาง เชน พิจารณาจัดหาหนังสือเขาหองสมุด ใหเลขหมูหนังสือ ทําดรรชนี บรรณานุกรม สาระสังเขป กฤตภาค การเกบ็รวบรวมสถิติตาง ๆ เกี่ยวกับหองสมุด ใหคําแนะนําปรึกษา และบริการในการคนหาหนังสือแกนักเรียน นิสิต นักศึกษา คณาจารย และผูสนใจอื่น ๆ เพื่อประโยชนเกี่ยวกับงานสอน งานวิจยั และการเผยแพรความรูทั้งภายในและภายนอกมหาวทิยาลัย จัดกิจกรรมสงเสริมการอาน และปฏิบัตหินาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

ตําแหนง นักเอกสารสนเทศ

ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานเอกสารสนเทศหรือบรรณารักษ โดยปฏิบัติหนาที่อยางใด

อยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน การพิจารณาจัดหา และคัดเลือกเอกสารเขาหองสมุด หรือศูนยเอกสาร การวิเคราะหใหเลขหมูหนังสือ หรือเอกสาร ทําดรรชน ี ทําบรรณานกุรมสารสังเขป ควบคุมตรวจสอบการใหบริการแกผูใชหองสมุด หรือศูนยเอกสาร พิจารณาจดัสง หนังสือหรือเอกสารแลกเปลี่ยนกับหนวยงานตาง ๆ ทั้งภายในและนอกประเทศ ศึกษาคนควา เสนอแนะ ปรับปรุง แกไข ระบบการทํางานของหองสมุด หรือศูนยเอกสารทัง้ดานวิชาการ และบริการแกผูใช ควบคมุดูแลรักษา และตรวจสอบสภาพหนังสือหรือเอกสาร หรือโสตทัศนวัสดุ เพื่อซอมแซม หรือหาวิธีการเก็บรักษาใหดีที่สุด จัดโครงการสงเสริมการอาน และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

ตําแหนง นักวิชาการโสตทัศนศึกษา ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานโสตทัศนศึกษา โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือ

หลายอยาง เชน ควบคุมและใชอุปกรณประเภทเครื่องเสียง เครื่องฉาย เลือกเตรียมและควบคุมการผลิตวัสดุอุปกรณที่ใชในการจัดแสดง หรือการบรรยาย ไดแก ฟลม สไลด ภาพยนตร รูปภาพ แผนภาพ แผนภูมิ ตัวอักษร สคริป ฯลฯ ชวยเขยีนและเรียบเรียงคําบรรยายภาพ คาํบรรยายแผนภูมิ และบทรายการวิทยุ ภาพยนตร หรือโทรทัศนเพื่อเผยแพร หรือใหความรูในดานตางๆ จัดหา และเกบ็รักษาวัสดุอุปกรณตางๆ ทางดานโสตทัศนศึกษาและปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

Page 43: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 39 -

ตําแหนง นักวิชาการชางศิลป ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานชางศิลป โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน ชวยศกึษา คนควา ในการออกแบบภาพ ฉากและตวัอักษรประกอบคําบรรยาย เพื่อใชเปนตนแบบสําหรับทําแมพิมพในการจัดทําเอกสารและหนังสือตาง ๆ ชวยออกแบบแผนปาย แผนภาพประชาสัมพนัธ เขียนภาพ ปนภาพ และจําลองภาพเผยแพรแกประชาชน ชวยศกึษา คนควาในการออกแบบตกแตงทั้งภายนอกและภายในอาคารสถานที่ เพื่อการจัดแสดงทางวิชาการ หรือแสดงผลงานและผลิตกรรมของประเทศ ชวยกําหนดและประมาณการขั้นตนในการใชวัสดุอุปกรณที่ใชในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักประชาสัมพันธ ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอควรเกี่ยวกับงานประชาสัมพันธ โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลาย

อยาง เชน สํารวจ รวบรวม รับฟงความคิดเห็นของขาราชการ นิสิต นักศึกษา และประชาชน รวบรวมขอมูลขาวสารตาง ๆ ชวยจัดทําขาวสาร เอกสารความรูดานตาง ๆ เพื่อใชในการประชาสัมพันธ ดําเนินงานประชาสัมพันธในรูปแบบตาง ๆ เชน จัดปาฐกถา อภิปราย สัมมนา จดันิทรรศการเพื่อเผยแพรใหความรูความเขาใจเกีย่วกับการดําเนินงานหรือผลงานของหนวยงานหรือมหาวิทยาลัยหรือของรัฐบาล ช้ีแจงตอบปญหาขอของใจเกีย่วกบัการปฏิบัติงานของหนวยงาน ชวยศึกษาวิเคราะห เสนอแนะเกี่ยวกับการดําเนินงานประชาสัมพันธ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักวิเทศสัมพันธ ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานวิเทศสัมพันธ โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน ทําหนาที่ชวยศึกษารายละเอยีด เตรยีมขอมูลเกี่ยวกับการใหความรวมมือและความชวยเหลือจากตางประเทศ ในเรื่องทุนการศึกษา ฝกอบรม หรือดูงาน การใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและวชิาการ และอืน่ ๆ แปลเอกสารและรางโตตอบหนังสือภาษาตางประเทศ อํานวยความสะดวกตาง ๆ ใหแก อาจารย ผูเชี่ยวชาญ เจาหนาที่ตางประเทศ และอาสาสมัครที่เขามาชวยเหลือ เปนตน และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักวิชาการคอมพิวเตอร ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ยากพอควรเกี่ยวกับงานวิทยาการคอมพิวเตอร โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน ทําหนาทีใ่นการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลและอุปกรณที่เกี่ยวของ ติดตั้งชุดคําสั่งสําเร็จรูป ใชปรับปรุง แกไขแฟมขอมูล เขียนชุดคําสั่ง ตามขอกําหนดของระบบงานที่ไดวางแผนไวแลว ทดสอบความถูกตองของคําสั่ง แกไขขอผิดพลาดของคําสั่ง และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

Page 44: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 40 -

ตําแหนง นักแนะแนวการศึกษาและอาชีพ ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานแนะแนวการศกึษาและอาชีพ โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยาง

หนึ่งหรือหลายอยาง เชน บริการสนเทศ บริการใหการปรึกษา บริการทดสอบ บริการจัดหางานและบริการจัดทุนการศึกษา และใหการปรกึษาเกีย่วกับทนุการศึกษา งานที่ปฏิบัตินอกจากจะเปนบริการวิชาชีพทีใ่หโดยตรงตอนิสิตนักศึกษาแลวผูปฏิบตัิงานยังตองประสานงานกับฝายวิชาการ ฝายบริการ ผูปกครองนักศกึษา และหนวยงานอืน่ๆ ทั้งในและนอกสถาบันอุดมศึกษา และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักวิชาการศึกษา ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานการศึกษา โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ทําหนาที่ชวยศึกษาวเิคราะหเกีย่วกับหลักสูตร แบบเรียน การเทียบความรู การจัดการความรู งานกิจการนักศึกษา งานวินัยและพฒันานักศึกษา งานบริการและสวัสดิการ งานนักศึกษาวิชาทหาร การจดัพิพิธภณัฑการศึกษา และการบริการและสงเสริมการศึกษาโดยใชเทคโนโลยีทางการศึกษา ซ่ึงไดแก การรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความตองการกําลังคน หลักสูตร ตําราเรียน ความรูพื้นฐาน ตลอดจนความตองการ ดานการใชเทคโนโลยีทางการศึกษา จดัประชุมอบรมและสัมมนาเกี่ยวกับการศกึษา เผยแพรการศึกษา เชน ออกรายการทางวิทยุ โทรทัศน การเขียนบทความ จดัทําวารสาร หรือเอกสารตางๆ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

ตําแหนง นักวิชาการโสตทัศนศึกษา ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานโสตทัศนศึกษา โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือ หลายอยาง เชน ควบคุมและใชอุปกรณประเภทเครื่องเสียง เครื่องฉาย เลือกเตรียมและควบคุมการผลิตวัสดุอุปกรณที่ใชในการจัดแสดง หรือการบรรยาย ไดแก ฟลม สไลด ภาพยนตร รูปภาพ แผนภาพ แผนภูมิ ตัวอักษร สคริป ฯลฯ ชวยเขยีนและเรียบเรียงคําบรรยายภาพ คาํบรรยายแผนภูมิ และบทรายการวิทยุ ภาพยนตร หรือโทรทัศนเพื่อเผยแพร หรือใหความรูในดานตางๆ จัดหา และเกบ็รักษาวัสดุอุปกรณตางๆ ทางดานโสตทัศนศึกษาและปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

Page 45: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 41 -

ตําแหนง นักวิจัย ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากเกีย่วกับงานวิจยั โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน ศึกษา

ทดสอบ รวบรวม วิเคราะหขอมูล สถิติเกี่ยวกับเรื่องที่จะทําการวจิัย และจัดทํารายงานผลการศึกษา ทดสอบ รวบรวม วิเคราะห เพื่อนําไปพิจารณาหาทางแกไขปญหา และวางแผนดําเนนิงานในดานตางๆ กําหนดหวัขอเร่ืองในการทําวิจัยและรายละเอยีดในการจดัหาขอมูล กําหนดหวัขอในการศึกษาและประเมนิผล จัดทํารายงานผลการวิจัยเร่ืองตางๆ ชวยนักวจิัยระดับสูงศึกษาคนควาวิจยัเร่ืองหนึ่งเรื่องใดตามที่ไดรับมอบหมาย การฝกอบรม ใหคําปรึกษาแนะนําในการปฏิบัติงานแกเจาหนาทีร่ะดับรองลงมาและแกนักศกึษาที่มาฝกปฏิบัติงาน ตอบปญหาและชีแ้จงเรื่องตางๆ เกี่ยวกับงานในหนาที่ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักวิทยาศาสตร ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน วิเคราะหเคมีภณัฑ ตวัอยางผลิตภณัฑอาหาร วัตถุดิบ น้ํา สารอนิทรีย สารอนนิทรีย และส่ิงของอื่น ๆ เพื่อหาองคประกอบหรือคณุสมบัติทางวทิยาศาสตร รวบรวมขอมูล และจัดทํารายงานผลการวิเคราะห การทดสอบ ชวยสอนและใหคําแนะนําการปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร หรือปฏิบัติงานดานการกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ชวยนกัวิทยาศาสตรระดับสูงในการศึกษา วิเคราะหในเรือ่งตาง ๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย ใหคาํปรึกษาแนะนําในการปฏิบัติงานแกเจาหนาที่ระดับรองลงมาและปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักวิชาการประมง ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานประมง โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึง่หรือหลายอยาง

เชน ศึกษาชนดิของประชากรและอนุประชากรปลาในแหลงน้ําตาง ๆ แหลงและฤดวูางไข การอพยพยายถ่ิน ที่อยู การเปลี่ยนแปลงของประชากร เปนตน ศึกษา วิเคราะหคุณสมบัติของน้ํา วิเคราะหอาหาร ธรรมชาติของปลา เชน แพลงตอนเบนโธส ตลอดจนสภาพแวดลอมของแหลงน้ําในดานนเิวศนวทิยาของปลา เพื่อปรับปรุงแหลงน้ําและเพิ่มผลผลิต ศึกษาทดลองเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงหรือผสมเทียมสัตวน้ําที่มีคณุคาทางเศรษฐกิจ ศึกษาทดลองการผสมและใหอาหารสัตวน้ําใหไดสัดสวนถูกตอง ศกึษาทดลองเกีย่วกับโรคพยาธแิละศัตรูของปลาและสัตวน้ํา ตลอดจนวิธีปองกันรักษาหรือควบคมุโรคที่เกิดขึ้น ใหคําปรึกษาแนะนําทางวิชาการเกี่ยวกับการเพาะเลีย้งสัตวน้ําจืดและสัตวน้ํากรอยแกประชาชนตามที่ไดรับมอบหมายและปฏิบัติหนาที่อ่ืนทีเ่กี่ยวของ

Page 46: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 42 -

ตําแหนง นักวิชาการเกษตร ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานการเกษตร โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง

เชน การปรับปรุง บํารุงพันธุ การขยายพนัธุ การคัดพันธุตานทานโรค ศัตรูพืช ปรับปรุงวิธีการผลิตและการใชปุย การเก็บรักษาผลผลิตจากขาว พืชไร พืชสวน ไหม และยางพารา สาธิตการปลูกพืชและการปราบศัตรูพืช ใหคําปรึกษาแนะนํา อบรม และสงเสริมวชิาการและความกาวหนาทางการเกษตรแกเจาหนาที่การเกษตรและเกษตรกร ชวยตรวจสอบและวิเคราะหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับการทดลองและวิเคราะหวิจัยพันธุพชื วัตถุมีพิษ และปุยเคมี ตลอดจนชวยตรวจสอบควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร เพื่อใหเปนไปตามกฎหมาย ควบคุมและปฏิบัติงานในสถานีทดลอง ซ่ึงดําเนินการคนควาทดลองและวิเคราะหวจิัยเพือ่ปรับปรุงกรรมวิธีการผลิต ผลผลิต และคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตรของสถานีและพื้นทีท่ดลองในความรับผิดชอบ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

ตําแหนง นักวิชาการสัตวบาล ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานสตัวบาล โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง

เชน สงเสริมการเลี้ยงสัตว ปรับปรุงบํารุงพันธุ คัดเลือก ตอน และผสมพันธุสัตว รีดนม สุขาภิบาลโรงเรือนสําหรับสัตว ปลูกพืชอาหารสัตว คิดคนสูตรอาหารสัตว ถนอมอาหารสัตว ควบคุมและแกไขทะเบยีนและสถิติเกี่ยวกับสัตวทีอ่ยูในหนวยงานตาง ๆ ที่เกีย่วของ เพื่อประกอบการพจิารณาโยกยายพันธุ คัดเลือกสัตวพันธุดีและเหมาะสม สํารวจปริมาณและแหลงกาํเนิดอาหารสตัว เก็บตัวอยางวิเคราะห ทดลองและปรับปรุงคุณภาพพืชอาหารสัตว ใหคําแนะนําทางวิชาการเกีย่วกับการเลี้ยงสัตว เปนตน และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักวิชาการวิทยาศาสตรการแพทย ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานวิทยาศาสตรการแพทย โดยปฏิบัติหนาทีอ่ยางใดอยางหนึ่ง

หรือหลายอยาง เชน เก็บรักษาสิ่งตัวอยาง ปฏิบัติการตรวจ ทดสอบ วิเคราะห โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีดานใดดานหนึ่งในสาขาเคมี ชีวเคมี ฟสิกส ชีววิทยา จุลชีววิทยา ปรสิตวิทยา คลังเลือด อิมมิวโนวิทยา พษิวิทยา เซลลวิทยา หรือแขนงอื่นที่เกี่ยวของกับสุขภาพของมนุษย อณชีูววิทยา การตรวจการเขากนัไดของเนื้อเยื่อ ฯลฯ เพื่อนาํผลมาใชในการวินิจฉยั คนหาสาเหตุ วิเคราะหความรุนแรง ติดตามผลการรักษา การปองกันและเฝาระวังโรค การสงเสริมสุขภาพ การพิสูจนหลักฐาน การพัฒนาคุณภาพชวีิต การพัฒนาวิชาการทางวิทยาศาสตรการแพทยดานใดดานหนึ่ง ตลอดจนกําหนดคุณลักษณะและควบคุมการใชเครื่องมือ น้ํายา การผลิตน้ํายาและชีววัตถุ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่

Page 47: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 43 -

ตําแหนง นักวิชาการชางทันตกรรม ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางเกีย่วกับงานวิชาการชางทันตกรรม เชนรวบรวมขอมูลวิเคราะห ชวยสอนและฝกงานภาคปฏิบตัิชางทันตกรรมใหแกนกัศึกษา ทําแบบจําลองฟนดวยปนูปลาสเตอร ทําฟนปลอมชนิดเรซินอะครลิิก ฟนปลอมทั้งปากชนิดเรซิน อะคริลิก ทําฟนปลอมบางสวนถอดไดชนิดโครงโลหะ ทําฟนเดือย ทําครอบฟนและสะพานฟนชัว่คราว ทําครอบฟนโลหะเคลือบกระเบื้องหรือเรซินคอมโพซิต ทําเครื่องมือจัดฟนชนิดถอดไดและตดิแนน เครื่องมือสําหรับผูปวยเด็ก ประดิษฐอวัยวะเทียมในผูปวยที่มีความวกิารของใบหนาขากรรไกร ทําเครื่องมือที่ใชประกอบการรกัษาทางศัลยกรรม ทําการดัดแปลง ซอมแซม แกไขฟนปลอมและเครื่องมือจัดฟน เก็บรักษาและดูแลเครื่องมือเครื่องใชใหอยูในสภาพที่ใชการไดอยูเสมอ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักวิชาการโภชนาการ ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานยากพอสมควรเกี่ยวกับงานโภชนาการ โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน ศึกษา วิเคราะหดานอาหารและสขุภาพของประชาชน ชวยวางแผนดานโภชนาการเพื่อเปนแนวทางปฏิบัติสําหรับเจาหนาที่ตางๆ คนควาทดลองตําหรับอาหารใหมตามหลักวิชาโภชนาการ สงเสริมการผลิตอาหารที่จําเปนแกการปรับปรุงภาวะโภชนาการ เผยแพรความรูดานโภชนาการแกประชาชนทั่วไป ควบคุมดูแล การบริการอาหารแกผูบริโภคจํานวนมาก ควบคุมตรวจสอบการกําหนดรายการอาหารการ ประกอบอาหารเฉพาะโรคและปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง สัตวแพทย ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากเกีย่วกับการสัตวแพทย โดยปฏิบัติหนาทีอ่ยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน ตรวจ

และรักษาพยาบาลสัตวทางดานอายุรกรรม ศัลยกรรม และสูติกรรม ศึกษา วิเคราะห ชันสูตรโรคสัตวซ่ึงเกิดจากเชื้อประเภทตาง ๆ เชน ไวรัส แบคทีเรีย ปาราสิต เปนตน โดยการทดลองกับสัตว ทดลองเพาะเชื้อ หรือวิธีการอยางอืน่ แยกเชื้อเพื่อยืนยนัประเภทหรือชนิดของโรคสัตว ชวยศึกษา วจิัย คนควาและทดลองโรคสัตวทางดานตางๆ เพื่อหาวิธีการตรวจวนิิจฉยัโรคสัตว การผลิตชีวภัณฑสําหรับใชในการปองกันกําจัดโรคสัตวประเภทตาง ๆ รวมถึงการปรับปรุงวิธีการผลิตใหมีประสิทธิภาพสูง สํารวจโรคสัตว ตลอดจนทดลองใชยากับโรคสัตวชนิดตาง ๆ ตอบปญหาและชี้แจงเรื่องตาง ๆ เกี่ยวกับงานในหนาที่ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนทีเ่กี่ยวของ

Page 48: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 44 -

ตําแหนง นักกายภาพบําบดั ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานกายภาพบําบดั โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน บาํบัดรักษาผูปวยดวยโรคเกีย่วกับกลามเนื้อ โรคทางกระดกู โรคทางขอ โรคทางระบบประสาท และความพกิารตางๆ ที่เกิดจากโรคหรืออุบัติเหตุ โดยการใชเครื่องมือและวิธีการทางกายภาพบําบัด เชน การใชความรอน แสง เสียง ไฟฟา หลักกลศาสตร การดัด การดึง การนวด การบรหิารรางกาย รวมทั้งการใหคําแนะนําแกญาติหรือผูที่เกี่ยวของกับผูปวย เพื่อฟนฟูสมรรถภาพของรางกายที่เสื่อมสภาพหรือพิการ ใหกลับคืนดีทั้งทางรูปลักษณะและทางหนาที่ ตลอดจนการใชเครื่องชวยผูพิการ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง นักเทคนิคการแพทย

ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานเทคนิคการแพทย โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึง่หรือหลายอยาง เชน เก็บ แนะนําการเก็บและรักษาสิ่งตัวอยางที่ไดมาจากรางกายมนษุยและอ่ืน ๆ ที่มีผลตอสุขภาพของมนุษยทั้งทางตรงและทางออม ปฏิบัติการตรวจ ทดสอบ วิเคราะห ประมวลผลความสัมพันธของผลการตรวจ วิเคราะห วจิัย โดยใชวธีิการทางวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี ซ่ึงครอบคลุมดานเคมีคลินิก จุลทรรศนศาสตรคลินิก จุลชีววิทยาคลินิก ปรสิตวิทยา โลหิตวิทยา คลังเลือด อิมมิวโนวิทยา พิษวิทยา เซลลวิทยาหรือแขนงอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับสุขภาพของมนษุย เชน อณูชีววิทยา การตรวจการเขากันไดของเนื้อเยื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศทางหองปฏิบัติการทางการแพทย ฯลฯ เพื่อนําผลมาใชในการวินจิฉัย คนหาสาเหตุ วิเคราะหความรุนแรง ติดตามผลการรักษา การปองกันและเฝาระวังโรค การประเมินภาวะสุขภาพ การสงเสริมสุขภาพ การพิสูจนหลักฐาน การพัฒนาคณุภาพชวีิต การพัฒนาวิชาการทางเทคนิคการแพทย ตลอดจนกําหนดคุณลักษณะและควบคุมการใชเครื่องมือ การผลิตน้ํายาและชีววัตถุ ชุดทดสอบและวิธีการทดสอบทางหองปฏิบัติการ ทั้งนี ้รวมถึงลักษณะงานภายใตพระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ กฎกระทรวงและจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ ปฏิบตัิการควบคมุคุณภาพการตรวจวเิคราะหที่อยูในความรบัผิดชอบ รวบรวมขอมูล จดัทํารายงานผลการตรวจวิเคราะหและการทดสอบตาง ๆ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

Page 49: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 45 -

ตําแหนง แพทย ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากเกีย่วกับงานการแพทย โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน ซัก

ประวัติคนไข ตรวจรกัษาโรค วินิจฉยั วิเคราะห ชันสูตรโรค ควบคุม การเคลื่อนยายผูปวยตามหลักวิชา พิจารณาการใชยา ใหยา ผาตัดทั่วไป ทําคลอด ฟนฟูบาํบัดทั้งกายและจิต ออกใบรบัรองแพทย แนะนําและสงเสริมสุขภาพทั้งกายและจติใหผูปวยและประชาชนทัว่ไปใหมีสุขภาพสมบูรณ ปฏิบัติการควบคุมปองกนัโรคติดตอและการระบาดของโรค แนะนําและสงเสริมงานวางแผนครอบครัว ชวยงานวิจยัเกีย่วกบัการแพทยและสาธารณสุขทั่วไป เปนตน ใหคําปรึกษาแนะนาํในการปฏิบัตงิานแกเจาหนาที่ระดับรองลงมาและแกนักศึกษาที่มาฝกปฏิบัติงาน ตอบปญหาและชี้แจงเรื่องตางๆ เกี่ยวกบังานในหนาที่ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง ทันตแพทย ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ยากเกีย่วกับงานการทันตแพทย โดยปฏิบตัิหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน ตรวจวนิิจฉยั และใหการบําบัดรักษาโรคฟนและโรคในชองปาก เชน เอกซเรยฟน ตรวจฟน และสภาพเนื้อเยื่อรอบๆ ซ่ีฟน ถอนฟน อุดฟน กรอฟนและตกแตงฟน ดัดฟน ใสฟนปลอม ทําศลัยกรรมตกแตงเหงือกและกระดูกขากรรไกร ทําศัลยกรรมในชองปากเพื่อผาตดัถุงหนองและเนื้อเยื่อตาง ๆ รักษาโรคฟน รากฟนอักเสบ เหงือกอักเสบ โรคปากเปอย โรคเลือดออกตามไรฟน เปนตน ใหคําปรึกษาแนะนําในการปฏิบัติงานแกเจาหนาที่ระดับรองลงมาและแกนักศกึษาที่มาฝกปฏิบัติงาน ตอบปญหาและชี้แจงเรื่องตางๆเกี่ยวกับงานในหนาที่ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง เภสัชกร ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานเภสัชกรรม โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน ทําหนาที่ผสมและปรุงยาและเวชภณัฑทั่วไปทั้งที่เปนยารับประทานและยาใชภายนอก น้ํากลั่น น้ําเกลือ จายยาใหกับคนไขตามคําสั่งแพทย แนะนําวิธีใชยาที่ถูกตอง เก็บรักษายา ตัวยา และเคมีภัณฑไวในที่ๆ เหมาะสมเพื่อปองกันการเสื่อมคุณภาพ ช่ัง ตวง นับ ใส หรือบรรจุยาในภาชนะ คํานวณราคาตนทุนและเสนอแนะเพื่อกําหนดราคายา ตรวจรับยา ตวัยา และเคมีภัณฑเมื่อมีการเบิกจากตนสังกัด หรือส่ังซื้อจากองคการหรือบริษทัตางๆและปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

Page 50: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 46 -

ตําแหนง พยาบาล ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานการพยาบาล โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลาย

อยาง เชน จดัเตรียมเครื่องมือเครื่องใชอุปกรณการรักษาพยาบาลใหมีพรอมที่จะใชไดทันที พิจารณาอาการผูปวย วางแผนและใหบริการงานการพยาบาล สังเกตวิเคราะหอาการเปลี่ยนแปลงของโรค ตัดสินใจใหการชวยเหลือในกรณีรีบดวนและรวดเรว็ บันทึกการใหบริการ อาการและความเปนไปของโรคและแจงใหแพทยทราบเมื่อจําเปน พิจารณาใหยา อาหารและใหการบริการพยาบาลตามกําหนดเวลา คิดคนหาวิธีปองกันความพิการและสงเสริมฟนฟูสมรรถภาพของผูปวย สงเสริมใหกําลังใจผูปวย ควบคุมดูแลและจดัสิ่งแวดลอมรอบตัวผูปวยใหเหมาะสมถูกสุขลักษณะ จัดทํารายงานการใหการพยาบาล หรือปฏิบัติงานพยาบาลในฐานะผูชวยแพทยในการรักษาบําบัด เชน จัดเตรียมผูปวยกอนการใหยาระงับความรูสึก พิจารณาใหยาระงับความรูสึก ชวยแพทยในการใชเครื่องมืออุปกรณประกอบการรักษาบําบัด หรือปฏิบัติงานสงเสริมสุขภาพอนามัยและการปองกันโรค เชน สอนแนะนําผูปวย ญาต ิประชาชน ถึงวิธีการปฏิบัติตนใหปลอดภยัจากโรค ใหภูมิคุมกันโรค ใหบริการวางแผนครอบครัว ใหบริการสงเสริมสุขภาพแมและเด็ก และทารกสงเคราะห หรือปฏิบัติงานทางวิชาการการพยาบาล เชน การศึกษาวจิัย คนควา เพื่อปรับปรุงและกําหนดมาตรฐานในงานการพยาบาล วางแผนโครงการ ประสานงาน สนับสนุนและอํานวยการผลิตเจาหนาที่ทางการพยาบาล และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

ตําแหนง นักวิชาการเวชสถติ ิ

ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานเวชสถิติ โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง

เชน จัดเก็บ รวบรวมขอมูลสถิติที่เกี่ยวของกับผูปวย การรักษาพยาบาลและการวิเคราะหโรค ศึกษาวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับตัวเลขสถิติคนไข สถิติโรค สถิติการบําบัดรักษาและผาตัด สถิติการชันสูตรโรค สถิติการจายยา สถิติการเอ็กซเรย และสถิตอ่ืิน ๆ ของโรงพยาบาล และหนวยงานที่สังกดั และปฏิบัตหินาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

ตําแหนง นักสังคมสงเคราะห

ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานสังคมสงเคราะห โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือ

หลายอยาง เชน สัมภาษณ ศึกษา สอบประวัติ เกีย่วกบัผูรับการสงเคราะหเพื่อประกอบการพจิารณาใหการสงเคราะหชวยเหลือโดยถูกตองและเหมาะสม ออกเยี่ยมเยียน ติดตาม สืบเสาะหาขอเท็จจริง แนะนําใหคําปรึกษาแกผูรับการสงเคราะห เพื่อใหสามารถที่จะชวยตนเองและครอบครัวได จดัทําสถิติและรวบรวมขอมูลตางๆเกี่ยวกับผูรับการสงเคราะหและปฏิบัติหนาทีอ่ื่นที่เกี่ยวของ

Page 51: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 47 -

ตําแหนง นักรังสีการแพทย ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานรังสีการแพทย โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน จดัเตรียมเครื่องมือเครื่องใชอุปกรณและเครื่องอิเล็กทรอนิกสทางดานรังสีวินิจฉัย รังสีรักษา เวชศาสตรนิวเคลียร หรือรังสีฟสิกส จัดทาผูปวยถายและบนัทึกภาพสวนตาง ๆ ของรางกายผูปวยดวยเครื่องรังสีเอกซ ในกรณทีี่ตองใชเทคนคิหรือกรรมวิธีพิเศษที่ยุงยาก โดยการใหผูปวยรับประทาน ฉีด หรือสวนสารทึบแสงเขาไปในรางกายกอนถายและบนัทึกภาพ ตรวจสอบคุณภาพของภาพบันทกึทางรังสีกอนที่จะสงใหแพทยวินิจฉยัโรค คํานวณปริมาณรังสี และกําหนดระยะเวลาที่จะใหรังสีแกผูปวยตามปรมิาณที่ตองการ ปรับขนาดของลําแสง และทิศทางของรังสีที่จะใชกับผูปวย ปองกนัสวนของรางกายที่ดีใหปลอดภัยจากอนัตรายจากรังสีดวยวัสดกุั้นรังสี เชน แทงตะกัว่ ฉายรังสีเพื่อบําบัดรักษาผูปวยที่เปนโรคมะเร็ง เนื้องอก กอนทูม ดวยเครื่องโคบอลต 60 และเครื่องมือทางรังสีเทคนิคอื่นๆ จัดเตรยีมสารกัมมันตภาพรังสีเพื่อใชในการวินจิฉัยและรักษา การใชสารกัมมันตภาพรังส ี และเครื่องอิเล็กทรอนิกสทางเวชศาสตรนิวเคลียรกับผูปวย การใชเครื่องนับวัดรังสีตรวจหาปริมาณรังสีจากสวนตาง ๆ ของรางกายผูปวย และนําผลการบันทึกทางรังสีจากเครื่องอิเล็กทรอนิกสดังกลาวใหแพทยใชประกอบในการตรวจและวนิิจฉัยโรค สํารวจปริมาณรังสีในบริเวณที่มีการใชสารกัมมันตภาพรังสี และวดัปริมาณรังสีจากเครื่องกําเนิดรังสีชนิดตาง ๆ ดวยเครื่องวดัรังสี ชวยดูแล ซอมแซม บํารุงรักษาเครื่องมือ และอปุกรณทางรังสีการแพทยใหอยูในสภาพที่ใชงานได เก็บรวบรวมขอมูล จัดทํารายงานการปฏิบัติงานและสถิติผลงานดานรังสี ตลอดจนแนะนําวิธีปองกันอันตรายจากรังสีและใหคําปรกึษาแนะนําในการปฏิบัติงานแกเจาหนาที่ที่เกี่ยวของและปฏบิัติหนาที่อ่ืนทีเ่กี่ยวของ

ตําแหนง นักกายภาพบําบดั ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานกายภาพบําบดั โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลาย

อยาง เชน บาํบัดรักษาผูปวยดวยโรคเกีย่วกับกลามเนื้อ โรคทางกระดกู โรคทางขอ โรคทางระบบประสาท และความพกิารตางๆ ที่เกิดจากโรคหรืออุบัติเหตุ โดยการใชเครื่องมือและวิธีการทางกายภาพบําบัด เชน การใชความรอน แสง เสียง ไฟฟา หลักกลศาสตร การดัด การดึง การนวด การบรหิารรางกาย รวมทั้งการใหคําแนะนําแกญาติหรือผูที่เกี่ยวของกับผูปวยเพื่อฟนฟูสมรรถภาพของสวนของรางกายที่เสื่อมสภาพหรือพิการ ใหกลับคืนดีทัง้ทางรูปลักษณะและทางหนาที่ ตลอดจนการใชเครื่องชวยผูพิการ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

Page 52: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 48 -

ตําแหนง นักวิชาการอาชีวบาํบัด ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานอาชีวบําบัด โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เชน ชวยนเิทศงานอาชีวบําบัด เพื่อพัฒนาขาราชการผูปฏิบัติงานดานอาชวีบําบัดในหนวยงานจิตเวช และหนวยงานอื่นเปนตน ชวยกําหนดหลกัสูตร และเตรียมอุปกรณ คูมือ และเอกสารที่เกี่ยวของกับ การฝกอบรม อาชีวบําบัด ชวยจดัทําเอกสารดานอาชีวบําบัดเผยแพรแกประชาชนทัว่ไปและหนวยงานที่เกี่ยวของใหเขาใจถึงคุณประโยชนของงานอาชีวบาํบัดตอผูปวยจติเวช และผูปวยที่มีบุคลิกภาพแปรปรวนหรือพกิาร และเพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงงาน ใหมีประสิทธภิาพยิ่งขึน้ เปนตน และปฏบิัติหนาที่อ่ืนที ่

ตําแหนง นักจิตวิทยา ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับงานจิตวิทยา โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึง่หรือหลายอยาง

เชน ทดสอบปญญา ทดสอบทางจิต สัมภาษณ และสังเกตพฤติกรรมประกอบการทดสอบ สัมภาษณคนไขรับใหม ติดตามผลซึ่งไดแกการเยี่ยมโรงเรียนหรือบานเพือ่ศึกษาหาขอมูลเพิ่มเติมเกีย่วกับการชวยเหลือคนไข และเพื่อประโยชนในการศึกษาและฝกอบรมของเด็กและเยาวชน หรือใชวิธีติดตามทางจดหมายและโทรศัพท เพื่อทราบผลคบืหนาเกีย่วกับการรักษา และพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน ตลอดจนเปนผูชวยนักจิตวิทยาระดับสูงขึ้นไปในการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการศึกษาวจิัยและปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

ตําแหนง นักเวชศาสตรการสื่อความหมาย ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับการประเมิน วินิจฉัย วางแผนและใหการรักษาบําบัด ตลอดจนสงเสริมฟนฟูสมรรถภาพความผิดปกติของการสื่อความหมายทางการไดยินและการพูดสําหรับเด็กหูพิการแตกําเนิด(Aural Rehabilitation) การพูดไมชัดที่ไมมีพยาธิสภาพหรือโครงสรางผิดปกติ (Functional Articulation Disorders) และการพัฒนาการทางภาษาและการพูดในเด็กพูดชา (Delayed Speech Language Development)

ตําแหนง ชางทันตกรรม ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ประดิษฐ ซอม ประกอบ และบํารุงรักษาเครื่องมือตาง ๆ เกี่ยวกับการใสฟน ดัดฟน เชน ประดิษฐตัวฟน บัดกรี และหลอโลหะตาง ๆ จัดเรียงฟนปลอมใหสมกับฟนธรรมชาติ ทําเครื่องมือดัดฟน ทําถาดพิมพปาก หลอแบบ จัดหาดูแลรักษาเครื่องมือ เครื่องใชที่ใชในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

Page 53: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 49 -

ตําแหนง ผูชวยทันตแพทย ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานใหบริการทางทันตกรรมแกผูปวยทางโรคปาก และฟน ตามที่ ทันตแพทยส่ัง โดยปฏิบัติ

หนาที่อยางหนึ่งอยางใด หรือหลายอยาง เชน ติดตอ นัดหมายผูปวย แนะนําผูปวยเกีย่วกับการรกัษาสุขภาพของปากและฟน จัดเตรียม ดูแล รักษาเครื่องมือเครื่องใช ใหอยูในสภาพที่ใชการไดอยูเสมอ ชวยทันตแพทยปฏิบัติการบําบัดรักษาผูปวย โดยการสงเครื่องมือ รับเครื่องมือ ชวยดดูเลือดและน้ําลาย ผสมยาหรือวัสดุทันตกรรมอยางอื่น ตามคําสั่งของทันตแพทย ปฏิบัติงานทางเทคนิคทันตกรรมอยางงาย เชน การผสมผงพิมพปาก การเทแบบ พิมพดวยปูนพลาสเตอร ทําสถิติการรักษาพยาบาล และปฏิบัติงานอื่นที่เกีย่วของ

ตําแหนง ผูชวยพยาบาล ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานใหบริการทางการพยาบาลขั้นมูลฐานแกผูปวยทางรางกาย หรือจัด ตามแผนการพยาบาลที่กําหนดไว โดยปฏิบัติหนาทีอ่ยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยาง เชน ให การปฐมพยาบาลเบื้องตน จัดเตรยีม เก็บรักษาของเครื่องใชทุกชนิดใหอยูในสภาพที่ใชการได อยูเสมอ ศึกษา สังเกตุอาการผูปวยเพื่อดําเนินการพยาบาล และการรายงาน ชวยชําระรางกาย ผูปวย ปอนอาหาร และชวยเหลือใหไดรับอาหารที่มีคุณคา ใหการพยาบาล และใหยาทางปากตามที่ไดรับมอบหมาย จัดทําความสะอาดบริเวณส่ิงแวดลอมผูปวย ใหความชวยเหลือผูปวยอยางใกลชิด ใหความสะดวกแกผูปวย และญาติผูปวย บันทึกอุปสรรคปญหา ในการปฏิบัติงาน และรายงาน หรือปฏิบัติงานสงเสริมสุขภาพอนามัย และการปองกันโรค เชน การตรวจครรภ และทําคลอดในรายปกติ ดแูลรักษาพยาบาลแมและเดก็ ใหภมูิคุมกันโรค หรือปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

Page 54: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 50 -

ผ 5. ตําแหนงพนักงานราชการ และลักษณะงานที่ปฏิบัต ิ

ตําแหนง พนักงานธุรการ ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

เปนเจาหนาทีข่ั้นตนปฏิบัติงานที่คอนขางยาก เกี่ยวกับงานธุรการและงานสารบรรณ ตามที่ไดรับมอบหมาย เชน ตรวจสอบ แนะนําการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรับ-สง ลงทะเบียนแยกประเภท รางหนังสือโตตอบ บันทึก ยอเร่ือง สรุปความเห็น รวบรวมขอมลูสถิติที่เกี่ยวของ ชวยควบคุมดูแล การเบิกจายวัสดุเครื่องใชของหนวยงาน ชวยช้ีแจงและอาํนวยความสะดวกแกผูที่มาติดตอ ชวยควบคุมดูแลในการจัดเตรยีม และอํานวยความสะดวกในเรื่องสถานที่ เพื่อใชในการจดัการงานตาง ๆ ชวยควบคุมการใชและการบํารุงรักษายานพาหนะ ตลอดจนการดแูลรักษา ซอมแซมสถานที่และทรัพยสิน ของสวนราชการ ดําเนินการจดัซื้อพัสดุ ครุภัณฑ ทําทะเบียน และเบกิจายพัสดุครุภณัฑของสํานักงาน และปฏิบตัิหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง พนักงานการเกษตร ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ

ปฏิบัติงานที่ไมยาก โดยปฏิบัติหนาทีอ่ยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางเกี่ยวกับงานสนับสนุนงานการเกษตรตาง ๆ เชน ชวยนักวิชาการเกษตรรวบรวมรายละเอียดสถิติ ขอมูล และดําเนินการตาง ๆ เพื่อการวิเคราะห วิจยัทางดานการเกษตร ดําเนินการสงเสริมเผยแพรการเกษตรในดานตาง ๆ เชน การปรับปรุงบํารุงพันธุ การปรับปรุงเกษตรกรรม การขยายพันธุ การปรับปรุงดิน การปองกันและกําจัดศัตรูพืช การรวบรวมขอมูลสถิติการเกษตร เปนตน ชวยปฏิบตัิงานเกีย่วกับการจัดทําแปลงทดลอง แปลงสาธิตในการเกษตร การสาธิตการใชเครื่องมือและกรรมวิธีใหม ๆ การใชยาปราบศัตรูพืช การชวยปองกนัและกําจัดศัตรูพชื เปนตน และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

ตําแหนง พนักงานหองสมุด ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ไมยาก โดยปฏิบัติหนาทีอ่ยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางเกี่ยวกับงานสนับสนุนงาน

หองสมุดตางๆ เชน ชวยบรรณารักษดําเนินการจดัหา ดูแล เก็บรักษา และซอมแซมหนังสือ ดูแลรักษาวัสดุและครุภณัฑของหองสมุด ทําทะเบียน จัดหมวดหมูหนังสือและทําบัตรรายการหนังสือ แนะนําและใหบริการแกนิสิต นกัศกึษา ขาราชการ และประชาชนในการใชหองสมุด ใหบริการตอบคําถามตาง ๆ เกี่ยวกับกจิการของหองสมุด เปนตน และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกี่ยวของ

Page 55: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 51 -

ตําแหนง ชางเทคนิค ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิปฏิบัติงานที่ไมยาก โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึง่หรือหลายอยางเกี่ยวกับงานชางเทคนิคตางๆ

เชน สราง ซอม ประกอบ ดัดแปลง ตดิตัง้ และบํารุงรักษาเครื่องจักร เครื่องยนต เครื่องมือเครื่องใชเกีย่วกับโลหะและไฟฟา คุมการทํางานของเครื่องจักร เครื่องยนต จัดเก็บ รักษา เบิกจายเครื่องมือเครื่องใชและวัสดุอุปกรณที่ใชในการปฏิบัติงาน เปนตน และปฏิบัติหนาทีอ่ื่นที่เกี่ยวของ

ตําแหนง พนักงานโสตทัศนศึกษา

ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ ปฏิบัติงานที่ไมยาก โดยปฏิบัติหนาที่อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางเกี่ยวกับงานสนับสนุนงาน โสตทัศนศึกษาตางๆ เชน ชวยนกัวิชาการโสตทัศนศึกษาดําเนนิการงานทางดานโสตทัศนศึกษา โดยจัดทําแผนภาพ แผนภูมิ กราฟ โปสเตอร แผนที่ และตารางแสดงสถิติขอมูลตาง ๆ ใชและควบคุมโสตทัศนูปกรณประเภทตาง ๆ เชน เครื่องฉายภาพยนตร เครื่องฉายภาพนิ่ง เครื่องบันทึกเสียง เครื่องเลนแผนเสียงเพื่อประกอบการสอน การบรรยายในการประชุมหรือการฝกอบรมตาง ๆ ตลอดจนซอมแซมและบํารุงรักษาโสตทัศนูปกรณ เปนตน และปฏิบัติหนาทีอ่ื่นที่เกี่ยวของ

ตําแหนง ผูชวยเภสัชกร ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ จัดและบรรจยุาใสภาชนะ เขยีนสลากยา คิดเงินคายา จายยาใหคนไขตามที่แพทยส่ัง รับเงินและออกใบเสร็จรับเงินคายา จัดเตรียมและทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการผสมและปรุงยา และเวชภณัฑอ่ืน ๆ ตลอดจนทําความสะอาดภาชนะที่ใชบรรจุยาและเวชภณัฑอ่ืน ๆ จัด เตรียมตัวยาและเคมีภณัฑ และชวยเภสัชกรผสมและปรุงยา ทําน้ําเกลือ น้ํากลั่น ฯลฯ เบิกและจายยา น้ํากลั่น น้ําเกลือ และเครื่องใชในการรักษาพยาบาลไปตามตึกคนไข ชวยจดัทําบัญชีและทะเบียนการ เบกิจายยาและเวชภัณฑตาง ๆ และปฏิบัติหนาที่อ่ืนที่เกีย่วของ

ตําแหนง พนักงานวิทยาศาสตร

ลักษณะงานทีป่ฏิบตั ิ เปนเจาหนาทีข่ั้นตนปฏิบัติงานที่คอนขางยากเกีย่วกับงานชวยนักวิทยาศาสตร ตามที่ไดรับมอบหมาย

เชน ชวยวิเคราะหตวัอยางผลิตภัณฑสินคา อาหาร โลหะ และวัตถุตัวอยางอื่น ๆ เปนตน ชวยปฏิบัติงานวิเคราะหทดสอบทางกายภาพ และเคมีเกีย่วกับเสนใย ปอ ฝาย และเสนไหม รวมถึงการควบคุม ตรวจสอบ และเก็บรักษาวัตถุดิบเคมีภณัฑ ปรับตั้งเครื่องมือเพื่อใหความเทีย่งตรง แมนยํา และถูกตองตามลักษณะของงาน และปฏิบตัิหนาที่อ่ืน ที่เกี่ยวของ

Page 56: กรอบอัตรากําลัง 4 ป พศ. 2551-2554 · 2011. 2. 10. · 1.1 หลักการและความเป นมา 1 1.2 การวิเคราะห

- 52 -

ผ 6. เกณฑการวิเคราะหอัตรากําลงัของ สกอ. และ คปร.