ผลเฉลยแบบอนุกรม(seriessolutions)...

28
Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 1 / 28 ผลเฉลยแบบอนุกรม (Series Solutions) สำหรับ ODE เชิงเส้นอันดับสอง ผศ.ดร.สุจินต์ คมฤทัย, Ph.D.

Upload: others

Post on 03-Nov-2019

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 1 / 28

ผลเฉลยแบบอนุกรม (Series Solutions)

สำหรับ ODE เชิงเส้นอันดับสอง

ผศ.ดร.สุจินต์ คมฤทัย, Ph.D.

Page 2: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

วิชา 2301317

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 2 / 28

• ชื่อวิชา Methods of Applied Mathematics

• Course URL:

http://pioneer.netserv.chula.ac.th/˜ksujin/MethodAppMath317.htm

ข้อมูลบนเว็บ

• Course syllabus• Information: Grades, etc.• Lecture notes, Problem sets, etc.

Page 3: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

บทนำ

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 3 / 28

สมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้น (Linear ODE) อันดับสอง

y′′ + p(x)y′ + q(x)y = f(x) (1)

โดย p, q, f เป็นฟังก์ชันที่กำหนดให้

y′ =dy

dxและ y′′ =

d2y

dx2

• จุดประสงค์ หาฟังก์ชัน y = y(x) ที่สอดคล้องสมการ

• ในหัวข้อนี้จะศึกษาวิธีหาผลเฉลยเมื่อ p หรือ q ไม่เป็นฟังก์ชันค่าคงที่ด้วยวิธีกระจายอนุกรมกำลัง

Page 4: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ตัวอย่าง 1

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 4 / 28

EX. พิจารณาครีบระบายความร้อนทรงลิ่ม ดังในรูปข้างล่าง

Page 5: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ตัวอย่าง 1

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 5 / 28

สมการเชิงอนุพันธ์ที่อธิบายความร้อนบนครีบ คือ

x2 d2y

dx2+ x

dy

dx− µxy = 0

เมื่อ

• x = ระยะจากจุดบนครีบไปยังจุดยอด• y = T − T0 โดย T = อุณหภูมิที่จุดบนครีบที่ x

• T0 = อุณหภูมิอากาศโดยรอบเป็นค่าคงที่

Page 6: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ตัวอย่าง 1

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 6 / 28

และ µ เป็นค่าคงตัวที่คำนวณได้จาก

µ = 2h sec

(

ℓθ

kw

)

เมื่อ

• h = สัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อนจากผิวครีบ ไปยังอากาศโดยรอบ

• k = การนำความร้อนของวัสดุครีบ

Page 7: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ตัวอย่าง 2

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 7 / 28

EX. พิจารณาบีมยาว 2ℓ วางในแนวนอน มีสิ่งรองรับที่ปลายทั้งสองโดยปลายทางซ้ายถูกตรึงอยู่กับที่ มีแรงกระทำต่อบีมสม่ำเสมอขนาด w (ต่อหนึ่งหน่วยความยาว) และมีแรงคงที่ P

กระทำที่จุดปลาย ทางขวามือ

Page 8: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ตัวอย่าง 2

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 8 / 28

ให้โมเมนต์เฉื่อยของพื้นที่หน้าตัด ที่ระยะ s จากจุดปลายทางซ้ายเท่ากับ I = 2(s+ 1) จะได้สมการอธิบายการเคลื่อนตัวของบีม คือ

2E(x+ 1 + ℓ)d2y

dx2− Py =

1

2w(x+ ℓ)2 − w(x+ ℓ)

โดย

• x = ระยะจากจุดกึ่งกลางของบีม• y = ระยะการเบน (deflection) ในแนวดิ่งที่ x

• E = Young modulus

Page 9: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ทบทวนความรู้เบื้องต้น

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 9 / 28

• อนุกรมกำลังรอบจุด a คือ อนุกรมที่อยู่ในรูป

∞∑

n=0

cn(x− a)n = c0 + c1(x− a) + c2(x− a)2 + · · ·

โดย c0, c1, c2, . . . เป็นค่าคงตัว

สำหรับอนุกรมกำลังใด ๆ จะมีจำนวนจริง R ≥ 0 ซึ่งอนุกรมลู่เข้าสำหรับทุก x ∈ (a− R, a+R) และผลบวกนิยามฟังก์ชัน

f(x) =∞∑

n=0

cn(x− a)n

R เรียกว่ารัสมีการลู่เข้า และ f(x) เรียกว่าผลบวกอนุกรม

Page 10: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ความรู้เบื้องต้น

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 10 / 28

EX. อนุกรม

3− 6(x− 1) + 12(x− 1)2 − 24(x− 1)3 + · · ·

เป็นอนุกรมกำลังรอบจุด a = 1 โดย c0 = 3, c1 = −6, c2 = 12,c3 = −24, . . . ซึ่งเขียนสูตรทั่วไปได้ cn = 3(−2)n ดังนั้น

3− 6(x− 1) + 12(x− 1)2 − 24(x− 1)3 + · · ·

=∞∑

n=0

3(−2)n(x− 1)n

=∞∑

n=0

3[−2(x− 1)]n

Page 11: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ความรู้เบื้องต้น

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 11 / 28

จากผลบวกอนุกรมเรขาคณิต

∞∑

n=0

c0rn =

c0

1− rเมื่อ − 1 < r < 1

ถ้าให้ c0 = 3 และ r = −2(x− 1) จะได้อนุกรมเท่ากับ

∞∑

n=0

3[−2(x− 1)]n =3

1 + 2(x− 1)=

3

2x− 1

เมื่อ −1 < −2(x− 1) < 1 (นั่นคือ 12< x < 3

2) �

Page 12: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ความรู้เบื้องต้น

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 12 / 28

• อนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชัน f รอบจุด a คืออนุกรมกำลังพิเศษรอบจุด a ที่เขียนได้ในรูป

∞∑

n=0

f (n)(a)

n!(x− a)n

นั่นคือ cn = f (n)(a)n!

Page 13: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ความรู้เบื้องต้น

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 13 / 28

EX. พิจารณาฟังก์ชัน

f(x) = ex

เนื่องจากอนุพันธ์ dn

dxnex = ex สำหรับทุกอันดับ n ดังนั้นอนุกรม

เทย์เลอร์ของ f รอบจุด a = 0 เท่ากับ

∞∑

n=0

e0

n!xn = 1 + x+

1

2!x2 +

1

3!x3 + · · ·

Page 14: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ความรู้เบื้องต้น

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 14 / 28

บทนิยาม ฟังก์ชัน f จะกล่าวว่าเป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่จุด a

ถ้ามีช่วง (a−R, a+R) ซึ่ง R > 0 และ

f(x) =∞∑

n=0

f (n)(a)

n!(x− a)n

สำหรับทุก x ∈ (a−R, a+R)

Page 15: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ความรู้เบื้องต้น

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 15 / 28

EX. ฟังก์ชันพื้นฐาน ได้แก่

• expo, log, trig functions• พหุนาม หรือ เศษส่วนพหุนาม• ฟังก์ชันยกกำลัง

ทั้งหมดเป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่ทุกจุดบนโดเมนของแต่ละฟังก์ชัน

Page 16: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ความรู้เบื้องต้น

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 16 / 28

• ฟังก์ชันพิเศษ (Special functions) คือฟังก์ชันที่ไม่สามารถเขียนได้ในรูปฟังก์ชันพื้นฐาน

• ฟังก์ชันพิเศษสำคัญๆ ได้จากการแก้สมการเชิงอนุพันธ์ โดยวิธีกระจายอนุกรมกำลัง เช่น

(1) Bessel function ได้จาก Bessel’s equation(2) Legendre function ได้จาก Legendre’s equation

• วิธีกระจายอนุกรมกำลังจะให้คำตอบในรูปอนุกรมกำลัง ดังนั้นฟังก์ชันพิเศษทั้งสองจะนิยามด้วยอนุกรมกำลัง

• ฟังก์ชันพิเศษเป็นฟังก์ชันวิเคราะห์บนโดเมนของการลู่เข้า

Page 17: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

จุดสามัญและจุดเอกฐาน (Ordinary and SingularPoints)

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 17 / 28

บทนิยาม • จุด a จะเรียกว่าจุดสามัญสำหรับสมการ

y′′ + p(x)y′ + q(x)y = 0

ถ้าทั้ง p และ q เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่จุด a

• ถ้ามี p หรือ q ไม่เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่จุด a จะเรียกจุดนี้ว่าจุดเอกฐานของสมการ

Page 18: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

จุดเอกฐานปรกติและไม่ปรกติ (Regular andIrregular Singular Points)

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 18 / 28

บทนิยาม • ถ้า a เป็นจุดเอกฐานของสมการ

y′′ + p(x)y′ + q(x)y = 0

โดย limx→a

(x − a)p(x) และ limx→a

(x − a)2q(x) มีค่า จะเรียก a

ว่าจุดเอกฐานปรกติ

• ถ้า a เป็นจุดเอกฐานของสมการโดย limx→a

(x − a)p(x) หรือ

limx→a

(x− a)2q(x) ไม่มีค่า จะเรียก a ว่าจุดเอกฐานไม่ปรกติ

Page 19: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ตัวอย่าง 3

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 19 / 28

EX. สมการเชิงอนุพันธ์

y′′ + δ(xy′ + y) = 0

พบในการศึกษา turbulent flow ของกระเสน้ำในท่อทรงกระบอกจงแยกแยะจุดสามัญ จุดเอกฐานปรกติ และจุดเอกฐานไม่ปรกติ

Page 20: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ตัวอย่าง 4

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 20 / 28

EX. จงแสดงว่าจุด a = 0 เป็นจุดเอกฐานปรกติของสมการRiccati-Bessel

x2y′′ − (x2− k)y = 0

Page 21: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

วิธีกระจายอนุกรมกำลังรอบจุดสามัญ

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 21 / 28

ทฤษฎีบท ให้ a เป็นจุดสามัญของ ODE

y′′ + p(x)y′ + q(x)y = 0

จะได้ว่าสมการมีผลเฉลยสองอัน y1, y2 ที่เขียนได้เป็น

y1 =∞∑

n=0

cn(x− a)n, y2 =∞∑

n=0

dn(x− a)n

โดย y1, y2 อิสระเชิงเส้นจากกัน และผลเฉลยทั่วไป คือ

y = C1y1 + C2y2 (C1, C2 ค่าคงที่)

Page 22: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

วิธีกระจายอนุกรมกำลังรอบจุดสามัญ

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 22 / 28

วิธีหา y1, y2

• แทน

y =∞∑

n=0

bn(x− a)n

y′ =∞∑

n=1

bnn(x− a)n−1

y′′ =∞∑

n=2

bnn(n− 1)(x− a)n−2

ใน ODE คูณสัมประสิทธิเข้าไปในอนุกรมแต่ละอันจากนั้นรวม อนุกรมทางซ้ายมือเป็นอนุกรมเดิยว

Page 23: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

วิธีกระจายอนุกรมกำลังรอบจุดสามัญ

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 23 / 28

• ใช้ความจริงที่ว่า∞∑

n=0

cn(x− a)n = 0 ก็ต่อเมื่อ cn = 0 ทุก n = 0, 1, 2, . . .

ซึ่งทำให้ได้ Recurrence relations

• กำหนด b0, b1 เป็นค่าคงที่ใดๆ แก้สมการ Recurrence จะได้b2, b3, b4, . . . ในเทอมของ b0, b1

• แทน bn ใน y =∑

n=0 bn(x− a)n แยกเทอม b0, b1 จัดรูปได้

y = b0y1 + b1y2

Page 24: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

ตัวอย่าง 5

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 24 / 28

EX. สมการ Airy คือ

y′′ − xy = 0

ปรากฎในการศึกษา diffraction

จงแก้สมการ Airy โดยกระจายอนุกรมกำลังรอบจุด a = 0

Page 25: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

วิธีทำ

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 25 / 28

แทน

y =∞∑

n=0

bnxn,

y′′ =

∞∑

n=2

bnn(n− 1)xn−2

ในสมการและจัดรูปได้

∞∑

n=2

bnn(n− 1)xn−2 +∞∑

n=0

bnxn+1 = 0

b2 · 2x0 +

∞∑

n=1

(bn+2(n+ 2)(n+ 1)− bn−1) xn = 0

Page 26: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

วิธีทำ

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 26 / 28

จากความจริงที่ว่า∑

n=0 anxn = 0 ก็ต่อเมื่อ an = 0 สำหรับทุก

n = 0, 1, 2, . . . จะได้สมการเวียนเกิด (Recurrence equations)

2b2 = 0, และ

bn+2(n+ 2)(n+ 1)− bn−1 = 0 n = 1, 2, . . .

แก้สมการได้

b2 = 0, b3 =b0

3 · 2, b4 =

b1

4 · 3,

b5 = 0, b6 =b3

6 · 5=

b0

6 · 5 · 3 · 2, b7 =

b4

7 · 6=

b1

7 · 6 · 4 · 3,

b8 = 0, b9 =b0

9 · 8 · 6 · 5 · 3 · 2, b10 =

b1

10 · 9 · 7 · 6 · 4 · 3

Page 27: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

วิธีทำ

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 27 / 28

โดยทั่วไปจะได้ว่า

b2 = b5 = · · · = b3k−1 = · · · = 0,

b3k =b0

(3k)(3k − 1)(3k − 3)(3k − 4) · · · · 3 · 2,

b3k+1 =b1

(3k + 1)(3k)(3k − 2)(3k − 3) · · · 4 · 3

แทนผลลัพธ์ที่ได้ในอนุกรมของผลเฉลยได้

y = b0 + b1x+b0

3 · 2x3 +

b1

4 · 3x4 +

b0

6 · 5 · 3 · 2x6

+b1

7 · 6 · 4 · 3x7 + · · ·

Page 28: ผลเฉลยแบบอนุกรม(SeriesSolutions) สำหรับODEเชิงเสนอันดับสองpioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note1.pdf ·

วิธีทำ

Introduction

EX 1.

EX 2.

Review

Ord and Sing

Reg and Irreg

EX 3.

EX 4.

Series solution

EX 5.

Solution

Lecture 1 สุจินต์ คมฤทัย – 28 / 28

y = b0

(

1 +x3

3 · 2+

x6

6 · 5 · 3 · 2+ · · ·

)

+ b1

(

x+x4

4 · 3+

x7

7 · 6 · 4 · 3+ · · ·

)

เนื่องจาก b0, b1 เป็นค่าคงตัวใด ๆ ถ้าให้ฟังก์ชัน y1, y2

นิยามโดยอนุกรม

y1 = 1 +x3

3 · 2+

x6

6 · 5 · 3 · 2+ · · ·

y2 = x+x4

4 · 3+

x7

7 · 6 · 4 · 3+ · · ·

จะได้ว่าผลเฉลยข้างต้นคือผลเฉลยทั่วไปของสมการ Airy