รวม

49
รายงานผลการสํารวจ การสํารวจการใชเวลาวางของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จัดทําโดย 1.นางสาวปริญญาพร สอดจันทร# เลขที่ 8 2.นางสาวนนทนี ไพรสนธิเลขที่ 9 3.นางสาวณัฐธยาน# วงศ#มหทรัพย# เลขที่ 18 4.นางสาวศศิธร สอนสิทธิเลขที่ 36 5.นางสาวสุจิตราภา เศษนอก เลขที่ 52 ชั้นมัธยมศึกษาป7ที่ 5.5 รายงานฉบับนี้เป9นสวนหนึ่งของการศึกษาคนควา รายวิชา I 30201 การศึกษาคนควาและสรางองค#ความรู (Independent Study) ป7การศึกษา 2556 โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 รายงานผลการสํารวจ

Upload: akimaoto

Post on 28-May-2015

353 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รวม

รายงานผลการสํารวจ

การสํารวจการใช�เวลาว�างของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

จัดทําโดย

1.นางสาวปริญญาพร สอดจันทร# เลขท่ี 8 2.นางสาวนนทนี ไพรสนธิ์ เลขท่ี 9 3.นางสาวณัฐธยาน# วงศ#มหทรัพย# เลขท่ี 18 4.นางสาวศศิธร สอนสิทธิ์ เลขท่ี 36 5.นางสาวสุจิตราภา เศษนอก เลขท่ี 52

ชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 5.5

รายงานฉบับนี้เป9นส�วนหนึ่งของการศึกษาค�นคว�า รายวิชา I 30201 การศึกษาค�นคว�าและสร�างองค#ความรู� (Independent Study)

ป7การศึกษา 2556 โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 39

รายงานผลการสาํรวจ

Page 2: รวม

การสํารวจความคิดเห็นของนักเรียนหญิงโรงเรยีนเฉลมิขวัญสตร ีที่มีต�อกฎกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่งทรงผมของนักเรียน

โดย

1. นางสาวปริญญาพร สอดจันทร# เลขที่ 8

2. นาวสาวนนทนี ไพรสนธ์ิ เลขที่ 9 3. นางสาวณัฐธยาน# วงมหทรัพย# เลขที่ 18 4. นางสาวศศิธร สอนสทิธ์ิ เลขที่ 36 5. นางสาวสุจิตราภา เศษนอก เลขที่ 52

ช้ันมัธยมศึกษาป7ที่ 5.5

ผู�เช่ียวชาญ 1. ครูแสงเทียน เพ็งคุ�ม ครูชํานาญการพเิศษ

2. ครูเบญจวรรณ อินชัยวงศ# ครูชํานาญการพเิศษ

รายงานฉบับน้ีเป9นส�วนหน่ึงของการศึกษาค�นคว�ารายวิชา I30201

การศึกษาค�นคว�าและสร�างองค#ความรู� (Independent Study) โรงเรยีนเฉลิมขวัญสตรจัีงหวัดพิษณุโลก

สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธัยมศึกษา เขต 39

กิตติกรรมประกาศ

โครงงาน เรื่อง การสํารวจการใช�เวลาว�างของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี คณะผู�จัดทําสามารถจัดทําโครงงานนี้สําเร็จได�ด�วยดี เนื่องจากได�รับคําแนะนํา ท่ีดีและ คอยสนับสนุนจากอาจารย#เบญจวรรณ อินชัยวงศ#และอาจารย#แสงเทียน เพ็งคุ�ม คณะผู�จัดทําขอขอบพระคุณเป9นอย�างสูง ณ โอกาสนี้

Page 3: รวม

ในโอกาสนี้ ขอขอบพระคุณคุณพ�อ คุณแม� ท่ีคอยให�การสนับสนุนผู�จัดทําในการทําโครงงานในครั้งนี้เสมอมา

คณะผู�จัดทํา

29 มกราคม 2557

โครงงาน การสํารวจการใช�เวลาว�างของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

ผู�จัดทํา 1. นางสาวปริญญาพร สอดจันทร#

2. นนทนี ไพรสนธิ์

3. ณัฐธยาน# วงศ#มหทรัพย#

4. ศศิธร สอนสิทธิ์

5. สุจิตราภา เศษนอก

อาจารย�ท่ีปรึกษา อาจารย#เบญจวรรณ อินชัยวงศ# อาจารย#แสงเทียน เพ็งคุ�ม

สถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

Page 4: รวม

บทคัดย#อ

โครงงานชิ้นนี้จัดทําข้ึนเพ่ือนําเสนอกิจกรรมท่ีทําในเวลาว�างของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 4, 5 และ 6 ป7การศึกษา 2556 โดยได�จัดทําแบบสํารวจเพ่ือสํารวจการใช�เวลาว�างของนักเรื่องกลุ�มดังกล�าวโดยแบ�งเป9น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 4 5 และ 6 จํานวนระดับชั้นละ 100คน รวมท้ังสิ้นจํานวน 300 คน เม่ือเก็บแบบสํารวจเรียบร�อยแล�วจึงนํามาแปรผล ได�ข�อสรุปว�า นักเรียนส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างในการฟRงเพลงมากท่ีสุด และใช�เวลาว�างในการ update block และ เล�น games center น�อยท่ีสุด นักเรียนส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างอยู�ในระดับ “น�อย” สาเหตุท่ีนักเรียนส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างในการฟRงเพลงมากท่ีสุดเพราะเป9นกิจกรรมท่ีทําได�ง�าย อีกท้ังยังช�วยผ�อนคลายอารมณ#จากความเครียด ใช�เวลาไม�มากและสามารถทํากิจกรรมอ่ืนร�วมไปด�วยได�สําหรับการเล�น game center และ update block ท่ีได�คะแนนน�อยเนื่องจากนักเรียนมีระยะเวลาจํากัดในการเข�าไปเล�นเกม ภายใน game center ท้ังยังต�องเสียเงินจากการเล�นเกมด�วยทําให�นักเรียนซ่ึงส�วนมากยังไม�มีรายได�ไม�สามารถเขาไปเล�นเกมได�บ�อยครั้งนัก และการ update block เนื่องจากภายในโลก social network ของไทยยังไม�เปbดโอกาสให�เด็กไทยแสดงความคิดเห็นผ�าน block ต�างๆมากนัก ท้ังยังไม�ค�อยมีคนให�ความสนใจข�อมูลภายใน block นั้น ทําให�ไม�มีนักเรียนสนใจ update block มากเท�าไหร�นัก

สารบัญ

เรื่อง หน�า

คํานํา ก

กิตติกรรมประกาศ ข

บทคัดย�อ ค

บทท่ี 1 บทนํา 1

ปRญหาและความสําคัญของปRญหา 1

วัตถุประสงค# 3

ขอบเขตของการสํารวจ 3

ประชากร 3

Page 5: รวม

กลุ�มตัวอย�าง 3

เครื่องมือในการสํารวจ 3

ระยะเวลา 4

นิยามศัพท#เฉพาะ 4

ประโยชน#ของการศึกษา 5

บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ียวข�อง 6

เอกสารท่ีเก่ียวข�อง 6

ความหมายของเวลาว�าง 6

ความสําคัญของการบริหารเวลา 11

มนุษย#สัมพันธ# 14

ความเครียด 15

งานวิจัยท่ีเก่ียวข�อง 17

บทท่ี 3 วิธีการดําเนินงาน 20

วัตถุประสงค#ในการพัฒนา 20

วิธีการดําเนินการศึกษา 20

เครื่องมือท่ีใช�ในการพัฒนา 21

วิธีการเก็บรวบรวมข�อมูล 21

สถิติท่ีใช�วิเคราะห#ข�อมูล 21

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห#ข�อมูล 24

บทท่ี 5 สรุปผลและอภิปราย 35

วัตถุประสงค# 35

ประชากร 35

เรื่อง หน�า

Page 6: รวม

กลุ�มตัวอย�าง 35

เครื่องมือท่ีใช�ในการจัดเจ็บข�อมูล 35

ระยะเวลาในการดําเนินการ 35

วิธีการดําเนินงาน 36

สรุปผลและการประเมิน 37

อภิปรายผล 37

ข�อเสนอแนะ 38

ภาคผนวก 39

ภาคผนวก ก 40 ภาคผนวก ข 42บรรณานุกรม 45

Page 7: รวม

บทท่ี 1

บทนํา

1.ป*ญหาและความสําคัญของป*ญหา

ในโลกยุคปRจจุบันโลกได�มีประชากรในโลกเพ่ิมมากข้ึนหลายเท�าตัวเม่ือเทียบกับหลายสิบป7ก�อน ส�งผลให�ถึงการแก�งแย�งแข�งขัน ชิงดีชิงเด�นกันมากมายท้ังในด�านอุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเมืองการปกครองระหว�างประเทศธุรกิจร�วมประถึงด�านการศึกษาของนักเรียนทุกระดับโดยเฉพาะอย�างยิ่งกับเด็กนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายซ่ึงเป9นช�วงชั้นท่ีสําคัญในการเลือกตัดสินอนาคตและเตรียมตัวสําหรับสอบเข�ามาหาวิทยาลัยท่ีมีชื่อเสียงหรือมหาวิทยาลัยท่ีดีและม่ันคง นักเรียนส�วนมากจึงมักใช�เวลาทุ�มเทกับเรื่องศึกษาเล�าเรียน อ�านหนังสือ เพ่ือเตรียมตัวให�พร�อมกับการสอบระดับประเทศ และนั้นคือสาเหตุหลักท่ีทําให�เกิดความเครียดในเด็กกลุ�มดังกล�าวจนอาจมีผลกระทบต�อสภาวะจิตใจและร�างกาย ในบางกรณีท่ีเด็กมีความเครียดสะสมไว�มาก ไม�ว�าจากคนรอบข�าง หรือความกดดันท่ีเด็กสร�างข้ึนมาเอง อาจทําให�เด็กถึงข้ันทําร�ายตัวเองหรืออาจทําร�ายคนรอบข�างท่ีสําคัญกว�านั้นอาจถึงข้ันฆ�าตัวตายจากการผิดหวังท่ีตั้งไว� ซ่ึงเราก็สามารถพบเห็นได�ตามหน�าหนังสือพิมพ#ท่ัวไป แม�ในประเทศเท�าอัตราการฆ�าตัวตายจะน�อยกว�าต�างประเทศก็ตาม

กิจกรรมนันทนาการนั้นสามารถช�วยให�เด็กกลุ�มนี้คลายอาการเคร�งเครียดจากการคร่ําเคร�งอ�านหนังสือ โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 6 ดังนั้นการพักผ�อนจึงเป9นเรื่องสําคัญในสภาวะตึงเครียดจากการเตรียมตัวโดยมีเด็กอีกจํานวนไม�น�อยท่ีออกมาผ�อยคลายความเครียดด�วยกิจกรรมนันทนาการต�างๆ ซ่ึงล�วนเป9นกิจกรรมนันทนาการท่ีน�าสนใจและเกิดประโยชน#ท้ังสิ้น ยิ่งไปกว�านั้นยังช�วยผ�อนคลายอารมณ#เสริมสร�าง E.Q .ให�สูง พัฒนาอารมณ#ให�สดใสร�างเริงและสามารถต�อสู�กับปRญหาท่ีรุมเร�าได�ในอนาคตและหากเรามีอารมณ#ดี จะมีส�วนช�วยพัฒนาด�านการเล�าเรียนอีกด�วยแต�ก็ยังมีนักเรียนมัธยมปลายส�วนน�อย ท่ียังไม�ตระหนักถึงความสําคัญของการเรียนต�อในระดับอุดมศึกษามากเท�าท่ีควร เช�น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 4 และ ชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 5 บางส�วนจึงทําให�ผู�จัดทําสนใจข้ึนมาอีกประการหนึ่ง ถึงความเปลี่ยนแปลงต�อการใช�เวลาว�างของนักเรียนมัธยมปลายในแต�ละระดับชั้น ว�ามีการเปลี่ยนแปลงไปบ�างหรือไม� อย�างไร

Page 8: รวม

และจากโครงงานคณิตศาสตร#เรื่องโครงการสํารวจความคิดเห็นของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร# พ.ศ. 2550 เก่ียวกับการใช�เวลาว�างของของนักศึกษาได�กล�าวไว�ว�า ปRจจุบันสถานท่ีท่ีหมู�นักศึกษาชอบไปมีจํานวนมาก เนื่องจากปRจจุบันได�มีการพัฒนาปรับปรุงสถานท่ีต�างๆมากมาย ทําให�มีแหล�ง ช็อปปbhงให�หมู�นักศึกษามากข้ึน หรือนักศึกษาบางคนก็อาจชอบท่ีจะกลับบ�านมากกว�าไปเดินตามแหล�ง ช็อปปbhง ดังนั้นคณะทํางานจึงเล็งเห็นความสําคัญของการใช�เวลาว�างของนักศึกษา ว�านักศึกษาส�วนใหญ�ชอบทํากิจกรรมใดบ�างในเวลาเลิกเรียนหรือวันหยุด โครงงานนี้จึงเกิดข้ึน

(โครงงานคณิตศาสตร#เรื่องโครงการสํารวจความคิดเห็นของนักศึกษาระดับอุดมศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร# พ.ศ. 2550 กลุ�ม Abnormaths ภาคเรียนท่ี 2 ป7การศึกษา 2550 โรงเรียนวิสุทธิกษัตรี)

คณะผู�จัดทําได�ตระหนักเห็นประโยชน#จากการทํากิจกรรมนันทนาการข�างต�นและคิดว�าเป9นสิ่งสําคัญท่ีไม�ควรมองข�ามไป จึงได�ทําแบบสอบถามหรือโพลสํารวจ เพ่ือศึกษากิจกรรมนันทนาการของนักเรียนในกลุ�มตัวอย�างและนําไปวิเคราะห#ถึงประโยชน#ในแต�ละกิจกรรม เปkาหมายของการทําแบบสํารวจนี้ คือรวบรวมข�อมูลเก่ียวกับการทํากิจกรรมนันทนาการเพ่ือผ�อนคลายอารมณ#ตึงเครียดหรือกิจกรรมยามว�างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เพ่ือสร�างเสริมสนับสนุน กิจกรรมนั้นๆดําเนินต�อไปรวมไปถึงแลกเปลี่ยนกิจกรรมระหว�างกลุ�มนักเรียนด�วยกันเพ่ือให�เกิดความหลากหลาย หรือการเข�าไปมีส�วนร�วมในกิจกรรมนันทนาการของกันและกันช�วยสารสัมพันธ#กันดีระหว�างเพ่ือนกับเพ่ือน คนรู�จัก หรือบางคนท่ีไม�เคยรู�จักกันหากได�ทํากิจกรรมนันทนาการท่ีสนใจร�วมกันแล�วอาจสามารถเข�าใจและเปbดใจยอมรับซ่ึงกันและกันได�อีกทางหนึ่งเป9นการเสริมสร�างปฏิสัมพันธ#ในเกิดในสังคมท�ามกลางสภาวะความเห็นแก�ตัวของคนยุคปRจจุบันเป9นการสร�างเจตคติท่ีดีระหว�างคนในสังคม และหากกิจกรรมยามว�างนี้เป9นกิจกรรมท่ีสามารถสร�างแรงบัลดาลใจให�กับนักเรียนได� อาจจะมีนักเรียนบางส�วน ยึดเอากิจกรรมยามว�างของตัวเองไปเป9นอาชีพท่ีก�อให�เกิดรายได�แก�ตนเองในอนาคตอีกด�วย นี้เป9นจุดเริ่มต�นท่ีดีส�งเสริมให�คนในชาติมีปฏิสัมพันธ#ระหว�างกันและท่ีสําคัญยังช�วยลดปRญหาความเครียดในเด็ก และพัฒนาอารมณ#ให�แจ�มใสอยู�เสมอส�งผลในด�านการเรียนหนังสือและทําให�เด็กเหล�านั้นเติบโตเป9นผู�ใหญ�ท่ีดีในสังคมไทยต�อไปในอนาคต

2.วัตถุประสงค�

1.เพ่ือศึกษาการทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนหลังจากเลิกเรียนหรือมีเวลาว�าง

2.เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีต�อการทํากิจกรรมยามว�าง

3.ขอบเขตของการสํารวจ

ศึกษาประชากรนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จํานวน 300 คน

4.ประชากร

Page 9: รวม

นักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

5.กลุ#มตัวอย#าง

กลุ�มตัวอย�างท่ีใช�ในการเก็บข�อมูลเพ่ือจัดทําแบบสอบถามฉบับนี้ ได�แก� นักเรียนข้ึนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีเป9นจํานวน 300 คนแบ�งเป9นช�วงนั้นดังนี้

มัธยมศึกษาป7ท่ี 4 รวม 100 คน

มัธยมศึกษาป7ท่ี 5 รวม 100 คน

มัธยมศึกษาป7ท่ี 6 รวม 100 คน

รวมกลุ�มตัวอย�างท่ีใช�ในการสํารวจท้ังหมด 300 คน

6.เครื่องมือในการสํารวจ

แบบสํารวจเวลาว�างของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

7.ระยะเวลา

ต้ังแต�เดือนพฤษภาคม 2556 - มกราคม 2557

8.นิยามศัพท�เฉพาะ

8.1. กิจกรรมนันทนาการ หมายถึง กิจกรรมท่ีสมัครใจทําในยามว�าง เพ่ือให�เกิดความเพลิดเพลิน ผ�อนคลายความตึงเครียดท้ังร�างกายและจิตใจนันทนาการ การเล�น และความสนุกสนาน มักเกิดข้ึนในช�วงสุดสัปดาห# และวันหยุด ประกอบด�วย ดนตรี การเต�นรํา กีฬา งานอดิเรก เกม และการท�องเท่ียว การดูโทรทัศน# และฟRงเพลง เป9นรูปแบบสามัญของนันทนาการ

8.2. E.Q.อีคิว (EQ) มาจากคําเต็มว�า Emotional Quotient มีชื่อเรียกหลายแบบ เช�น ความฉลาดทางอารมณ# เชาว#อารมณ# หรือวุฒิภาวะทางอารมณ# อีคิว อาจไม�ใช�เรื่องใหม�นัก แต�เพ่ิงได�รับความสนใจอย�างกว�างขวางในช�วงไม�ก่ีป7มานี้ เหตุผลท่ีสําคัญอาจเป9นเพราะว�า ไอคิว (IQ) หรือระดับสติปRญญาเพียงอย�างเดียว ไม�สามารถตอบคําถามในเรื่องการทําให�บุคคลประสบความสําเร็จ หรือมีความสุขในชีวิตได�

8.3.พัฒนาทางอารมณ# หมายถึง การรู�จักอารมณ#ตนเองให�เวลาทบทวนอารมณ#ของตนเอง ฝqกให�เกิดการรู�ตัวเสมอและมีสตอยู�กับการรู�ตัว รู�จัดการกับอารมณ#ของตนเองทบทวนว�ามีอะไรบ�างท่ีทําลงไปเพ่ือตอบสนองอารมณ#ท่ีเกิดข้ึน และดูด�วยว�าผลท่ีตามมาเป9นเช�นไร เตรียมการในการแสดงอารมณ# ฝqกการสร�างความรู�สึกท่ีดีต�อตนเองรวมถึงการสร�างแรงจูงใจให�ตนเอง ทบทวนว�าสิ่งสําคัญในชีวิตของเรามีอะไรบ�าง นํา

Page 10: รวม

ความต�องการท่ีเป9นไปได�และเกิดประโยชน#มาต้ังเปkาหมายท่ีชัดเจนให�แก�ตนเองแล�ววางข้ันตอนท่ีจะมุ�งไปสู�เปkาหมายนั้น ในการปฏิบัติเพ่ือให� บรรลุเปkาหมายต�องระวังอย�าให�มีเหตุการณ#บางอย�างมาทําให�ไขว�เขววนออกนอกทางท่ีจะบรรลุเปkาหมาย ต�องลดความสมบูรณ#แบบในตัวเราลง ฝqกการมองหาประโยชน#จากอุปสรรคเพ่ือสร�างความรู�สึกดี ๆ ฝqกสร�างทัศนคติท่ีดีหามุมมองท่ีดีในเรื่องท่ีเราไม�พอใจการรักษาสัมพันธภาพท่ีดีต�อกัน สร�างอารมณ#ท่ีดีต�อกัน ฝqกการสร�างความรู�สึกท่ีดีต�อผู�อ่ืน เข�าใจ เห็นใจผู�อ่ืน ฝqกการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพสร�างความเข�าใจท่ีตรงกันชัดเจนฝqกการเป9นผู�ฟRงและผู�รับการสื่อสารด�วย การแสดงน้ําใจ เอ้ือเฟrhอ รู�จักการให�การรับการแลกเปลี่ยนให�เกิดคุณค�าและประโยชน#สําหรับตนเองและบุคคลท่ีเก่ียวข�อง

8.4.ความเครียด หมายถึงความเครียดนั้นเป9นภาวะทางจิตท่ีสื่อให�เห็นถึงความวิตกกังวล เกิดข้ึนจากความไม�ประสบผลสําเร็จ การสูญเสีย หรือการขาดสมดุลในชีวิต ความเครียดเกิดข้ึนได�กับบุคคลทุกคน และมักพบมากในกลุ�มผู�ประกอบอาชีพ ท่ีต�องใช�สมอง และการแข�งขันท่ีสูง โดยบุคคลท่ีมีความเครียดมาก ปรากฏการณ#ของโรคท่ีเก่ียวข�องกับความความเครียดก็จะสูงตามไปด�วย

8.5. ทักษะ หมายถึง ความชัดเจน และความชํานิชํานาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซ่ึงบุคคลสามารถสร�างข้ึนได�จากการเรียนรู� ได�แก� ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทํางานร�วมกับผู�อ่ืน การอ�าน การสอน การจัดการ ทักษะทางคณิตศาสตร# ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใช�เทคโนโลยี ฯลฯ ซ่ึงเป9นทักษะภายนอกท่ีสามารถมองเห็นได�ชัดเจน จากการกระทํา หรือจากการปฏิบัติ ซ่ึงทักษะดังกล�าว นั้นเป9นทักษะท่ีจําเป9นต�อการดํารงชีวิตท่ีจะทําให�ผู�มีทักษะเหล�านั้น มีชีวิตท่ีดี

8.6.กระบวนการ หมายถึง วิธีการท่ีองค#การใช�และปรับปรุงเพ่ือตอบสนองข�อกําหนดต�างๆของหัวข�อในหมวด 1-6 ปRจจัย 4 ประการ ท่ีใช�ประเมินกระบวนการได�แก� แนวทาง (Approach-A) การถ�ายทอดเพ่ือนําไปปฏิบัติ (Deployment-D) การเรียนรู� (Learning-L) และการบูรณาการ (Integration-I) หรือท่ีเรียกว�า ADLI

8.7.เวลาว�างหรือเวลาอิสระ หมายถึง เวลาท่ีบุคคลเป9นอิสระจากการหาเลี้ยงชีพ และเป9นเวลาท่ีเหลือจากการนอนและการประกอบกิจวัตรประจําวัน เช�น อาบน้ํา แปรงฟRน แต�งตัวเป9นต�น

9.ประโยชน�ของการศึกษา

1. ทําให�ทราบถึงกิจกรรมนันทนาการท่ีนักเรียนในช�วงมัธยมปลายทํากันมากท่ี

2.สามารถต�อยอดและวางแผนในการเลือกทํากิจกรรมนันทนาการของผู�ท่ีสนใจ

Page 11: รวม

บทท่ี 2

เอกสารท่ีเก่ียวข�อง

โครงงานการสํารวจการใช�เวลาว�างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาพิษณุโลกเขต 39 คณะผู�จัดทําได�ทําการค�นคว�าเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข�อง และนําเสนอตามลําดับหัวข�อต�อไปนี้

1.เอกสารท่ีเก่ียวข�องกับการใช�เวลาว�างและผลกระทบ

1.1 ความหมายของเวลาว�าง

1.2 ความสําคัญของการบริหารเวลา

1.3 มนุษยสัมพันธ#

1.4 ความเครียด

2. งานวิจัยท่ีเก่ียวข�อง

1.เอกสารท่ีเก่ียวข�อง

1.1.ความหมายของเวลาว#าง

Page 12: รวม

ในช�วงครึ่งแรกของศตวรรษท่ี 20 นักมานุษยวิทยาส�วนหนึ่งเริ่มสนใจประเด็นเก่ียวกับ “เวลาว�าง” ในมิติทางวัฒนธรรม เช�น มาลีนอฟสก้ี (1931) (นฤพนธ# ด�วงวิเศษ,2556)ได�พูดถึงเรื่องเวลาว�างและการพักผ�อนหย�อนใจ อัลเฟร็ด แอล โครเบอร#(1948) และ ฟ7ลิค คีซ่ิง (1960) อธิบายเก่ียวกับเรื่องเวลาว�างในฐานะเป9นเวลาของการสร�างสรรค#และคิดประดิษฐ#สิ่งต�างๆ คีซ่ิงพยายามชักจูงให�นัก มานุษยวิทยาหันมาวิเคราะห#และศึกษา “เวลาว�าง” อย�างเป9นระบบ โบแอซ (1940) และ วี กอร#ดอน ไชลด#(1951) อธิบายว�า เวลาว�างคือสิ่งสะท�อนความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม นักมานุษยวิทยาเหล�านี้เชื่อว�าการทํากสิกรรมแบบอาศัยปRจจัยธรรม ชาติ ทําให�มนุษย#มีเวลาว�างในการทํางานอ่ืนๆ เช�น งานท่ีอาศัยความชํานาญ งานช�าง งานหัตถกรรมต�างๆ กสิกรรมทําให�มี

อาหารมากข้ึน ประชากรของมนุษย#เพ่ิมข้ึน ส�งผลให�มนุษย#คิดประดิษฐ#สิ่งต�างๆข้ึนมา เวลาว�างจึงเป9นเครื่องหมายท่ีบ�งบอกว�า วัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงไปอย�างไรบ�าง

ทฤษฎีเก่ียวกับผลผลิตส�วนเกิน เป9นทฤษฎีท่ีได�รับความสนใจในมานุษยวิทยาเนื่องจากทําให�มองเห็นการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ทฤษฎีนี้เกิดข้ึนมาต้ังแต�ทศวรรษท่ี 30 จนถึงกลางทศวรรษท่ี 50 อย�างไรก็ตามหลังจากนั้น การศึกษาวิจัย ได�พบว�ามนุษย#ในสังคมเกษตรไม�ค�อยมีเวลาว�าง เพราะการเกษตรต�องอาศัยการดูแลเอาใจใส�ในหลายข้ันตอน และเวลาว�าง ก็อาจถูกใช�ไปกับการคิดและสร�างสิ่งต�างๆท่ีเก่ียวข�องการการผลิตในภาคเกษตร ความสัมพันธ#ของเวลาว�างกับวิวัฒนาการและความก�าวหน�าของวัฒนธรรมคือประเด็นหลักท่ีนักมานุษยวิทยาให�ความสนใจ นอกจากนั้น นักมานุษยวิทยายังสนใจเรื่อง รูปแบบของเวลาว�างด�วย อย�างไรก็ตาม เวลาว�างก็ยังเป9นสิ่งท่ีนักมานุษยวิทยายังสนใจน�อย ถึงแม�จะมีการพูดถึงเรื่องวัฒนธรรม ท่ีผ�านการแสดงออก เช�น ศิลปะ ดนตรี ละคร เกมส# เทศกาล วรรณกรรม การเต�นรํา การแสดง และระบบสัญลักษณ#อ่ืนๆ แต�สิ่งเหล�านี้ก็ไม�ใช�เรื่องของเวลาว�างโดยตรง

เม่ือเวลาว�างได�รับความสนใจจากนักมานุษยวิทยา เวลาว�างจะถูกมองว�าเป9นเวลาท่ีอิสระ กิจกรรมท่ีเกิดข้ึนในช�วงเวลา อิสระนี้ได�เป9นการพักผ�อน เช�น การเล�นเกมส# กีฬา การอ�านหนังสือ การพักแรม หรือดูโทรทัศน# ถึงแม�ว�าการพักผ�อนและ เวลาว�างจะมีลักษณะคล�ายกัน และมักจะถูกเรียกรวมกันว�า “กิจกรรมในยามว�าง” ในแง�หนึ่ง ความหมายนี้อาจจะเป9น

ประโยชน#เม่ือต�องสร�างนิยาม เพราะนักมานุษยวิทยาอาจต�องนิยามว�าเวลาว�างคืออะไรเม่ือลงไปศึกษาและต�องอธิบายให� ผู�ท่ีถูกศึกษาเข�าใจว�าเวลาว�างคืออะไร แต�อีกแง�หนึ่ง นิยามนี้อาจง�ายเกินไป ไม�ว�าจะอธิบายว�าเป9นเวลาอิสระหรือการทํากิจกรรม

อย�างใดอย�างหนึ่ง นิยามง�ายๆนี้อาจทําให�มองไม�เห็นสิ่งท่ีซ�อนอยู� เนื่องจากนักมานุษยวิทยาต�างรู�ว�าสิ่งท่ีเกิดข้ึนในช�วงเวลา ว�างนั้นคือการทํากิจกรรมหรือทํางานบางอย�าง ในสังคมจารีตประเพณี เวลาว�างของสตรีคือการทํางานบ�าน งานในไร�นา หรือไปจ�ายตลาด สิ่งเหล�านี้คือเวลาว�างทางสังคมของผู�หญิง เพราะการทําสิ่งเหล�านี้ทําให�ผู�หญิงได�พบปะเพ่ือนๆ จากตัวอย�างนี้ จะเห็นว�าท้ังเวลาอิสระและเวลาทํางานต�างไม�ใช�ความหมายของเวลาว�าง แต�บริบทของสิ่งท่ีเกิดข้ึนในเวลาอิสระและเวลาทํางาน คือสิ่งท่ีบ�งบอกว�าเวลาว�างคืออะไร

คนหนุ�มและคนสูงอายุ คนทุพพลภาพ หรือนักโทษในเรือนจํา อาจมีเวลาอิสระของตัวเอง แต�เวลาของคนเหล�านี้จะ ไม�ถูกมองว�าเป9นเวลาว�าง ในทํานองเดียวกัน มีรายงานจากมิชชันนารี เจ�าหน�าท่ีอาณานิคม และนักเดินทาง เก่ียวกับชนพ้ืน เมืองท่ีมีเวลาว�างหรือมีลักษณะท่ีอยู�ว�างๆไม�ทําอะไรเลย สิ่งนี้สะท�อนให�เห็นว�าชาวตะวันตกมองดูชนพ้ืนเมืองแบบดูถูกดูแคลน และเป9นความเข�าใจผิดๆของชาวตะวันตกท่ีว�าคนพ้ืนเมืองเป9นคนข้ีเกียจเพราะอยู�ในวัฒนธรรมท่ีล�าหลังตัวอย�างเช�น ไม�มี ความจําเป9นท่ีมนุษย#ในสังคมท่ียังไม�รู�จักการเก็บกักตุนอาหาร ต�องแสวงหาอาหารมาเกินความต�องการของตัวเอง

Page 13: รวม

การศึกษา ของมาร#แชล ซาลินส#(1972) กล�าวถึงชาวเซนว�าเป9นสังคมท่ีม่ังค่ัง แต�ป7เตอร# จัสต#(1980) อธิบายว�าชาวเซนเป9นพวกท่ีข้ีเกียจ

นิยามทางสังคมวิทยาอธิบายว�า เวลาว�างเป9นเรื่องของอิสระของทางเลือก เป9นความสนุกสนาน และปลดปล�อย อารมณ#ความรู�สึก นิยามดังกล�าวนี้ถึงแม�ว�าจะน�าประทับใจแต�ก็ทําให�เกิดความคลางแคลง โดยเฉพาะนักมานุษยวิทยา ไม�เชื่อเช�นนั้น เพราะเป9นเรื่องยากท่ีจะนิยามว�าอะไรคือ “เวลาว�าง” โดยเฉพาะในวัฒนธรรมท่ีต�างกัน ในสังคมอุตสาหกรรม สมัยใหม� ซ่ึงเวลาเป9นเรื่องมีค�า เวลากลายเป9นคุณค�าทางเศรษฐกิจ และต�องใช�เวลาอย�างระมัดระวัง จัสต#(1980) ต้ังข�อสังเกตว�า

ในสังคมอุตวาหกรรม การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีส�งผลให�เกิดการมีเวลาอิสระน�อยลง การวิจัยในทศวรรษท่ี 80 บ�งชี้ว�าไม�ว�าจะ เป9นทฤษฎีผลผลิตส�วนเกิน หรือแนวคิดของจัสต#ในเรื่องการจัดการกับเวลา ต�างก็อธิบายความสัมพันธ#ระหว�างความซับซ�อน ของวัฒนธรรมกับการอนุญาตให�มีเวลาอิสระ รูธ มูนโร(1983) ศึกษาสังคมชางคุง ซาน ชนเผ�ามาชิเกนกา ชนเผ�าคันชิโน ชนเผ�าคิคูยู ชนเผ�าโลโกลี และผู�หญิงชาวอเมริกัน การศึกษาพบว�าชาวคุง ซาน และชาวมาชิเกนกาเป9นพวกท่ีเร�ร�อนหาอาหาร ส�วนชนเผ�าอ่ืนๆเป9นพวกทํากสิกรรม มูนโรพบว�าในสังคมกสิกรรม มนุษย#จะสูญเสียเวลาในการทํางานต�างๆมากกว�ามนุษย# ท่ีเร�ร�อน เช�น ต�องขุดดิน เลี้ยงสัตว# จัดเตรียมอาหาร เตรียมแรงงาน และทํางานอ่ืนๆ ถ�าเวลาว�างเป9นสิ่งท่ีอยู�ตรงข�าม กับเวลาทํางาน อาจจะกล�าวได�ว�าสมาชิกในสังคมท่ีมีความซับซ�อน จะมีเวลาว�างมากกว�าสมาชิกในสังคมท่ีเรียบง�าย

คิม ฮิลล#(1985) อธิบายว�าความซับซ�อนของวัฒนธรรมและเวลาท่ีใช�ในการทํางานกับการไม�ได�ทํางาน ไม�ใช�สิ่งท่ีสัมพันธ#กัน ฮิลล#เชื่อว�าเม่ือท้ังสังคมกิสกรรมและเร�ร�อนต�างใช�เวลาในการหาอาหารไม�ต�างกัน แกร#รี อี ชิค(1986) อธิบายให� เห็นความสัมพันธ#ระหว�างการมีเวลาว�างกับความซับซ�อนทางวัฒนธรรม โดยศึกษาเปรียบเทียบจากหลายวัฒนธรรม ซ่ึงนําข�อมูลมาจาก HRAF ชิคไม�สามารถหานิยามท่ีตายตัวของเวลาว�างได� ท้ังๆท่ีข�อมูลใน HRAF ได�แยกประเภทว�าอะไรคือ

การพักผ�อน การอํานวยความสะดวก แรงงาน และกิจกรรมในช�วงเวลาว�าง ดังนั้น เวลาว�างจึงหมายถึงเวลาท่ีมิใช�การทํางาน

ในการสํารวจระบบมาตรฐานทางวัฒนธรรมมีการกําหนดว�าอะไรคือเวลาทํางานในหนึ่งวัน ข�อมูลนี้จะใช�เปรียบเทียบกับรหัสความซับซ�อนทางวัฒนธรรม ความสัมพันธ#ระหว�างเวลาทํางานกับความซับซ�อนทางวัฒนธรรมจะแสดงผลด�วยกราฟ ซ่ึงพบว�า ท้ังสังคมท่ีเรียบง�ายและซับซ�อนค�อนข�างมีเวลาอิสระมากกว�าสังคมท่ีอยู�ตรงกลางระหว�างซับซ�อนและเรียบง�าย นอกจากนั้นสังคม ท่ีมีความซับซ�อนก็มีความแตกต�างกันในเรื่องของเวลาว�าง ซ่ึงอาจเป9นผลมาจากการวัดสถิติท่ีผิดพลาด หรือสมมุติฐานเก่ียวกับ ทฤษฎีความสัมพันธ#ระหว�างเวลาว�างกับความซับซ�อนทางวัฒนธรรมเป9นสิ่งท่ีใช�ไม�ได�

อย�างไรก็ตาม ยังมีสมมุติฐานอ่ืนๆท่ีอาจเชื่อถือได� กล�าวคือ เวลาว�างเป9นสิ่งท่ีหายาก แต�สินค�าและวัตถุเป9นสิ่งท่ีสามารถจัดหาได� เด็กๆสามารถเป9นแรงงานได� ถ�าเวลาในการเลี้ยงเด็กมีน�อยกว�าเวลาว�างท่ีเด็กหันไปทําอย�างอ่ืน ในสังคมท่ีมีความต�องการ แรงงานท่ีเชี่ยวชาญจากผู�ใหญ� สังคมนั้นก็อาจต�องมีเด็กมากๆ ในสังคมท่ีเวลาว�างเป9นสิ่งท่ีหายากสําหรับผู�ใหญ� เด็กอาจถูกใช�เป9นแรงงานในการผลิต การศึกษาของชิค(1992) เชื่อว�าท้ังสังคมท่ีเรียบง�ายและซับซ�อน จะต�องมีช�วงเวลาท่ีสร�าง

ผลผลิตน�อยและช�วงเวลาเลี้ยงดูเด็กจะมีมากข้ึน

Page 14: รวม

ข�อมูลของ HRAF ได�บันทึกเก่ียวกับจํานวนของเด็กท่ีมีอายุอยู�ในช�วงแรงงานต�อประชากรเพศหญิง และเด็กท่ีเริ่มทํางานในครัวเรือน กราฟของข�อมูลนี้แสดงเป9นรูปตัวยูคว่ําและยูหงาย ถึงแม�ข�อสันนิษฐานจะสนับสนุนด�วยกราฟนี้ แต�ข�อมูลนี้ ต�องพิจารณาอย�างระมัดระวัง เนื่องจากข�อมูลของ HRAF มาจากคําถามท่ีต�างกันหลายลักษณะซ่ึงก�อให�เกิดข�อสงสัยมากมาย การศึกษาในสังคมเร�ร�อน ชี้ให�เห็นกลุ�มคนท่ีมีครัวเรือนขนาดเล็กและลูกๆไม�ต�องยุ�งกับการทํางานหาเลี้ยงครอบครัว ในทํานอง เดียวกัน ครอบครัวในตะวันตกก็ไม�ต�องยุ�งกับการหาเลี้ยงชีพทําให�มีเวลาเลี้ยงดูลูกมากข้ึน อย�างไรก็ตาม แม�แต�ในประวัติศาสตร# ตะวันตก ในช�วงต�นของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ชนชั้นแรงงานก็ยังมีเวลาสําหรับเรื่องส�วนตัว และแรงงานเด็กก็มีจํานวนมาก กล�าวได�ว�ามีการมีเวลาอิสระข้ึนอยู�กับสภาพการยังชีพ และในบริบทท่ีพูดถึงเวลาว�างก็มีหลักฐานท่ีบ�งชี้ว�าในทํานองเดียวกันนี้

โจชัว รูบิ้น (1986) เก็บข�อมูลเก่ียวกับการใช�เวลาของชนพ้ืนเมือง 4 กลุ�มในเขตอะเมซอน เพ่ือพิจารณาว�าคนเหล�านั้นมีประสบการณ#อย�างไรต�อการใช�เวลาว�าง ชนท้ัง 4 กลุ�มมีภาษาและวัฒนธรรมคล�ายกัน อาศัยอยู�ในสภาพแวดล�อมคล�ายกัน คือในตอนกลางของประเทศบราซิล แต�ละกลุ�มยังชีพด�วยการปลูกพืชแบบไร�หมุนเวียน และบางกลุ�มอาจเก็บของปzาล�าสัตว# อย�างไรก็ตาม แต�ละกลุ�มมีความต�างกันในแง�การติดต�อกับชาวบราซิล กล�าวคือ ชนเผ�าคาเนล�า และชนเผ�าโบโร�โร� อาศัยอยู�ในเขตสภาพแวดล�อมท่ีถูกทําลาย ในขณะท่ีชนเผ�าซาวังเต และชนเผ�าเมกราโนตี อาศัยอยู�ในพ้ืนท่ีอุดมสมบูรณ#กว�า รูบิ้นอธิบายว�าการใช�เวลาว�างของชนเผ�าท้ัง 4 กลุ�มนี้ แสดงให�เห็นการปรับตัวตามสภาพแวดล�อมของถ่ินอาศัยและการยังชีพ นอกจากนั้นยังบ�งบอกว�าชนท้ัง 4 เผ�ามีวิธีการหาอาหารและบริโภคท่ีต�างกัน เวลาว�างของชนท้ัง 4 เผ�าคือเวลาของการทํากิจกรรมท่ีอาจไม�เก่ียวข�องกับการหาอาหารหรือผลิตอาหาร และบางครั้ง เวลาว�างอาจเก่ียวข�องกับกระบวนการผลิตอาหารอย�างใกล�ชิด กิจกรรมท่ีต�องใช�พลังงานมากได�แก�การเต�นรํา ดังนั้นการทํากิจกรรมประเภทนี้ข้ึนอยู�กับสภาพแวดล�อมของอาหาร ข�อสมมุติฐานก็คือ กิจกรรมท่ีเกิดข้ึนในยามว�างอาจใช�เวลามากข้ึน เม่ือกิจกรรมท่ีเก่ียวกับการผลิตและหาอาหารมีน�อยลง

การวิเคราะห#การใช�เวลาดังกล�าวช�วยสนับสนุนข�อสมมุติฐานข�างต�น และทําให�เห็นลักษณะท่ีต�างกัน 2 แบบ ของการใช�เวลาว�าง ในชนเผ�าซาวังเตและเมกราโนตีมีการใช�พลังงานมากเพราะอยู�ในสภาพแวดล�อมท่ีสมบูรณ# ส�วนชนเผ�าคาเหล�าและโบโรโร� อยู�ในสภาพแวดล�อมท่ีเสื่อมโทรมกว�า ชนสองกลุ�มหลังนี้ใช�เวลาในการหาอาหารน�อยกว�า ซ่ึงทําให�มีเวลาว�างมากข้ึน ชนเผ�าซาวังเตและเมกราโนตีจะใช�เวลาว�างท่ีใช�พลังงานมาก เด็กในสังคมคาเนล�าจะใช�เวลาน�อยและพักผ�อนมากกว�า

เด็กชาวโบโรโร�จะใช�เวลาทํากิจกรรมท่ีไม�ต�องใช�พลังงานมาก แตกต�างจากชนเผ�าซาวังเตและเมกราโนตี ซ่ึงเด็กๆจะใช�เวลาเล�นมากกว�านอน

รูบิ้นพบว�าลักษณะของสภาพแวดล�อมกับการใช�พลังงานในเวลาว�างมีความสัมพันธ#กัน โดยเฉพาะกิจกรรมของเด็กๆ ท่ีใช�ในเวลาว�างสามารถบ�งชี้ได�ว�าพลังงานท่ีใช�ไปมากน�อยแค�ไหนในสภาพแวดล�อมต�างๆ สมาชิกของกลุ�มไม�จําเป9นต�องรู�ว�า ควรจะแบ�งสรรเวลาอย�างไรหรือจะได�ประโยชน#จากอะไร การเลือกท่ีจะทํางานมิได�เป9นสิ่งท่ีสําคัญ กล�าวคือมนุษย#ท่ีอยู�อาศัย

ในเขตสภาพแวดล�อมท่ีเสื่อมโทรมไม�ต�องการสิ่งของเครื่องใช�มากนัก ลักษณะเดียวกันนี้พบในสัตว#ตระกูลไพรเมทท่ีอาศัยอยู�ใน สภาพแวดล�อมท่ีกันดาร สัตว#พวกนี้จะใช�เวลาส�วนใหญ�กับการแสวงหาอาหารมากกว�าท่ีจะวิ่งเล�น

Page 15: รวม

การปรับตัวสําหรับเวลาว�างในสังคมอ่ืนๆยังไม�มีการศึกษา ตัวอย�างเช�น กลุ�มคนยากจน และกลุ�มคนชั้นกลางในวัฒนธรรม

อเมริกัน-ยุโรป กลุ�มคนท้ังสองนี้มีความต�างกันในเรื่องการใช�เวลาว�าง เวลาว�างในความหมายท่ีเป9นเวลาอิสระอาจพบได� ในแต�ละวัฒนธรรม ท้ังนี้ข้ึนอยู�กับลักษณะการยังชีพและความซับซ�อนทางวัฒนธรรม แต�การใช�เวลาว�างอิสระเพ่ือการทํางาน หรือการพักผ�อนอาจต�างกัน ความหลากหลายทางวัฒนธรรมเก่ียวกับกิจกรรมในเวลาว�างอาจเก่ียวข�องกับการทํางาน ซ่ึงอธิบายได�ด�วยทฤษฎีการฆ�าเวลาหรือเวลาส�วนเกิน ทฤษฎีนี้อธิบายว�าเวลาว�างเกิดข้ึนจากการทํางาน งานเพ่ือยังชีพนําไปสู�

การใช�เวลาว�างเต็มรูปแบบ ส�วนงานอดิเรกนําไปสู�การใช�เวลาว�างแบบสูญเปล�า ทฤษฎีการฆ�าเวลาเป9นการแยกให�เห็นมุมมอง ท่ีต�างกันสองด�าน คือ ด�านท่ีเป9นบวกและลบ งานท่ีต�องใช�แรงมากต�องการเวลาว�างเพ่ือพักผ�อน แต�งานท่ีทําเล�นๆทําให�ต�องมี เวลาว�างแบบต�องใช�แรง มีงานวิจัยบ�งชี้ให�เห็นความสัมพันธ#ระหว�างการทํางานกับการพักผ�อนต้ังแต�ทศวรรษท่ี 50 แต�ไม�ว�า จะเป9นทฤษฎีการฆ�าเวลาหรือเวลาส�วนเกิน ไม�สามารถอธิบายได�ว�าเวลาว�างหมายถึงอะไรแน� อาจเป9นไปได�ว�าทางเลือกของการทํางานหนัก กับการใช�เวลาว�างคือสิ่งท่ีเป9นผลมาจากความหลากหลายทางสภาพแวดล�อม วัฒนธรรมและลักษณะเฉพาะบางประการ

ถึงแม�ว�า การมีเวลาอิสระมากหรือน�อยจะข้ึนอยู�กับความวับซ�อนทางวัฒนธรรม กิจกรรมในยามว�างท่ีเป9นบวกและลบก็อาจสัมพันธ#กับความง�ายและความยากของการยังชีพ ไม�ว�าเวลาว�างหรือกิจกรรมท่ีเชื่อว�าเกิดข้ึนในยามว�างนั้นจะเก่ียวข�องกับบุคคลใดๆก็ตาม การเข�าใจความหมายของเวลาว�างในฐานะเป9นปรากฏการณ#ทางวัฒนธรรมท่ีพบเห็นได�ท่ัว ไป จําเป9นต�องได�รับการพิจารณาในส�วนประกอบต�างๆไม�ว�าจะเป9นเรื่องของรูปแบบกิจกรรม ช�วงเวลาท่ีเป9นอิสระ และความหมายของการกระทําท่ีผู�กระทําคิดว�าเป9นเวลาว�างด�วย

1.2.ความสําคัญของการบริหารเวลา

ฮอคไฮเซอร# (วิภาพร สิทธิสาตร#.2542:30; อ�างอิงจาก Hochheiser 1998) (การบริหารเวลา,2556) กล�าวว�า การบริหารเวลาไม�ใช�เพียงความคิด แต�เป9นท้ัง ความคิด การคิดและการกระทําว�า จะดําเนินการอย�างไร เพ่ือไปสู�จุดมุ�งหมายท่ีต้ังไว�ในเวลาท่ีมีอยู�ให�เกิดประโยชน#สูงสุด

มาร#ติน (วิภาพร สิทธิสาตร#. 2542:30; อ�างอิงจาก Martin.1998) ได�อธิบายถึงความสําคัญเก่ียวกับ การบริหารเวลาว�า เป9นสิ่งท่ีคนจําเป9นต�องนึกถึง เพราะไม�เช�นนั้น เวลาจะผ�านไปอย�างไร�ประโยชน#โดยท่ีไม�สามารถทํา อะไรได�เลย ซ่ึงในความเป9นจริง เพียง แต�คิดก็จะสามารถบริหารตนเองได� การบริหารตนเอง อาจจะเป9น เรื่องของการทํางาน เรื่องส�วนตัว แนวทางในการทํางาน และการดํารงชีวิต การบริหารเวลาไม�ใช�การ รีบเร�งในการทํางาน แต�เก่ียวข�องกับ เวลา

สุขใจ น�~าผุด (2536: 44-45) กล�าวว�า คนควรมี การบริหารเวลาโดยมีการจัดสรรเวลา ซ่ึงพิจารณาจากเวลา 24 ชัว่โมง ในสัดส�วนท่ีเหมาะสม กับวัน อันจะก�อให�เกิด ประโยชน#ท้ัง ด�านอาชีพ การงาน สุขภาพ และอ่ืนๆ หรือโดยการจดบันทึกเพ่ือได�เห็นว�า ได�ใช�เวลาคุ�มค�า การทํางานตาม จังหวะเวลา วางแผนให�สอดคล�อง กับจังหวะเวลา ทํางานตามแผนท่ี วางไว�สอดคล�องกับเวลาท่ีมีอยู� การใช�เวลาว�างให�เป9นประโยชน#เวลา ท่ีเว�นจากอาชีพ หรือการสร�าง สุขภาพย�อมเป9นเวลาว�าง ซ่ึงแต�ละคนมีอิสระท่ีจะเลือกใช�ได�ตามความถนัดและความพอใจการใช�เวลา ให�เกิดประโยชน#ด�วย การทํางานอดิเรกเป9นสิ่งท่ีดีท่ีสุด ไม�ว�าจะเป9นการเก็บรวบรวมสะสมสิ่งต�างๆงาน ประดิษฐ# การปลูกต�นไม� การอ�านหนังสือ ซ่ึงจะก�อให�เกิดความเพลิดเพลินความรู�และเป9นรายได� อย�างดี

Page 16: รวม

เสกสรรค# มธุลาภรังสรรค#. (2541: ออนไลน#) ได�สรุปลักษณะสําคัญของเวลา5 ประการคือ

1. เพ่ือช�วยให�ใช�ชีวิตได�ง�ายข้ึน ส�วนหนึ่งของการบริหารเวลาเป9นเรื่องของเทคนิคและทักษะ ซ่ึงจะช�วยให�สลัด การเสียเวลาท่ีไม�จําเป9นออกไป ทําให�ผู�ท่ีฝqกฝนรู�สึกว�ามีเวลามากข้ึนและอยากทํา อะไรมากข้ึน

2. เพ่ือให�มีเวลาให�กับคนสําคัญและสิ่งสําคัญมากข้ึนคนท่ีเป9นนักบริหารเวลามักจะไม� พลาดในการให�เวลากับคนสําคัญและสิ่งสําคัญ และจะต�อสู�เต็มท่ีรวมถึงเรียนรู�วิธีการต�างๆ เพ่ือให� ได�มาซ่ึงเวลาท่ีจะอยู�กับสิ่งท่ีมีคุณค�าสําหรับตัวเอง

3. เพ่ือรักษาความสมดุลในชีวิตทักษะการบริหารเวลาเป9นเสมือนผู�ช�วยให�สามารถปฏิบัติ หน�าท่ีได�ทุกบทบาทท่ีตนเองต�องรับผิดชอบ ท้ังเรื่อง ครอบครัว สังคมการเรียน สุขภาพ การเงินการ งาน ฯลฯ

4. เพ่ือให�มีความสุขกับการใช�ชีวิต คนท่ีบริหารเวลาได�ดีจะรู�สึกว�าชีวิตมีคุณค�า สิ่งเหล�านี้ นําไปสู�ความสบายใจและสุขใจ

5. เพ่ือให�ได�บรรลุเปkาหมายชีวิตท่ีได�ตั้งไว�แน�นอนคนท่ีเป9นนักบริหารเวลา ย�อมเป9นคนท่ีทํา อะไรอย�างมีเปkาหมาย และจะมุ�งม่ันจนกว�าถึง จุดหมาย ของตน เม่ือผสมกับทักษะและเทคนิคในการ บริหารเวลา โอกาสท่ีจะบรรลุเปkาหมายก็ย�อมมากข้ึน การบริหารเวลาเป9นสิ่งท่ีมีประโยชน#ต�อชีวิตเป9น อย�างยิ่ง

เกรียงศักด์ิเจริญวงศ#ศักด์ิ(2543: 18-27) กล�าวถึง การบริหารเวลาเวลาก็เหมือนชีวิต เม่ือใช� หมดแล�วก็หมดไป การบริหารเวลา ก็เท�ากับ การบริหารชีวิต และคนท่ีต�องการประสบความสําเร็จและ ความสุขในชีวิตย�อมหลักเลี่ยง การบริหารชีวิตหรือ การบริหารเวลา ไปไม�ได� การบริหารเวลามีความจําเป9นสามารถสรุปได�ดังต�อไปนี้

1. การทําให�ชีวิตมีเปkาหมาย ในการตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารเวลาท่ีจุดกระตุ�น ให�ค�นหาเปkาหมายท่ีมีคุณค�าในชีวิต เปkาหมายนั้น จะกลับมากระตุ�นเร�าให�มีความมุ�งม่ัน ต้ังใจ บริหาร เวลาในชีวิตจนกว�าไปถึงจุดหมายปลายทางของเปkาหมาย

2. ทําให�ไปถึงเปkาหมายท่ีตั้งไว� คนควรมีเปkาหมายและการท่ีจะประสบความสําเร็จได�นั้น บุคคลผู�นั้นต�องทุ�มเท บากบ่ันเพ่ือไปให�ถึง เปkาหมาย สําหรับคนท่ีตั้งใจไว�อย�างแท�จริงแล�วจะตระหนัก ถึงคุณค�าของเวลาทุกวินาทีพยายามอย�างเต็มท่ี ท่ีจะใช�เวลาท้ังหมด ท่ีมีอยู�ให�เกิดประโยชน#สูงสุดในการ ผลักดันชีวิตไปสู�เปkาหมาย โดยวางตารางเวลาใช�ชีวิตแต�ละวันว�า จะต�องทํากิจกรรมใด ในช�วงใด และ แต�ละช�วงของชีวิต ท้ังในระยะสั้น ระยะยาวว�าจะต�องทําอะไร จะต�องฝqกฝน เรียนรู�เพ่ือพัฒนาตน ในด�าน ใดบ�างจึงจะเอ้ือต�อการก�าวไปสู�ความสําเร็จ

3. ทําให�ชีวิตมีคุณค�า มีความหมาย สามารถนําเวลาไปทําในสิ่งต�างๆท่ีมีประโยชน# ต�อตนเองและผู�อ่ืน เช�นในการใช�การสร�างสรรค#ศิลปะ ท่ีจะช�วยจรรโลงจิตใจของคนในสังคม อ�านหนังสือแสวงหาความรู�ท่ีจะช�วยยกระดับปRญญาของตน ให�สูงข้ึนเพ่ือความก�าวหน�าในชีวิตและมี ส�วนช�วยพัฒนาสังคมให�ดีข้ึน สิ่งเหล�านี้ทําให�ชีวิตมีคุณค�า และมีความหมายมากข้ึน

4. ทําให�ชีวิตสมดุลครบด�าน การท่ีรู�จักจังหวะของเวลาในการดําเนินชีวิตและมี การจัดสรรเวลาในแต�ละด�าน ได�แก� ครอบครัว หน�าท่ีการงาน มิตรภาพสังคม ชีวิตส�วนตัวและอ่ืนๆได� อย�างสมดุลชีวิตก็สามารถท่ีจะประสบผลสําเร็จในทุกๆด�านได�อย�างภาคภูมิใจ

5. ทําให�ชีวิตมีความสุขความพึงพอใจในชีวิต ซ่ึงความพอใจในชีวิตเกิดจากการท่ีประสบ ความสําเร็จในด�านต�างๆในชีวิต เช�นการเรียน การงานชีวิตครอบครัว ผลมาจากความมุ�งม่ันอุตสาหะ พากเพียรในการบริหารเวลา บริหารชีวิตอย�างต้ังใจ นอกจากนี้การบริหารเวลาท่ีดี นํามาซ่ึงความสุข ความพึงพอใจในชีวิต เม่ือ

Page 17: รวม

การจัดสรรเวลาอย�างเพียงพอสําหรับการพักผ�อนประจําวัน การได�ใช�เวลากับ คนท่ีมีความหมายพิเศษ สุขภาพท่ีแข็งแรงสมบูรณ# เนื่องจากมีเวลาออกกําลังกายอย�างสม�~าเสมอ

การเป9นเจ�าของจิตใจ ท่ีสดชื่นเนื่องจาก ไม�ต�องเคร�งเครียด กับเส�นตายของงาน และการได�ไปพักผ�อน ตากอากาศ ฯลฯ

6. ทําให�ทํางานได�สําเร็จลุล�วงและได�รับความก�าวหน�าในชีวิตการบริหารเวลาคือการบริหารชีวิต จะทําให�คนพัฒนาตนจาก ความบกพร�อง ต�างๆ ได� หากเริ่มต�นต้ังเปkาหมายในชีวิตและเรียนรู�ท่ีจะ จัดสรรเวลาในการทํากิจกรรมต�างๆนั้น จะทําให�พบความสําเร็จ และความก�าวหน�าในชีวิต

บุญมาก พรหมพ�วย (2525:4) ให�ความเห็นเพ่ิมเติมว�าการบริหารเวลามีการตอบแทนสิ่ง ต�างๆอีกมากมายให�ในชีวิต ซ่ึงประเภทของการใช�เวลา แบ�งออกเป9น สําคัญและเร�งด�วน สําคัญแต�ไม�เร�งด�วน เร�งด�วนแต�ไม�สําคัญ งานยุ�งการเสียเวลาเปล�า

นอกจากนี้เสกสรรค#มธุลาภรังสรรค#(2541: ออนไลน#) ให�ความคิดเห็นว�า เวลามีความสําคัญต�อทุกคน เพราะธรรมชาติของเวลา มีลักษณะพิเศษ คือเวลาเป9นทรัพยากรท่ีจํากัดใช�แล�วหมดไป เวลาไม�สามารถซ้ือเพ่ิมได�ไม�ว�ารวยหรือจน เวลาไม�สามารถ เก็บเอาไว� ใช�ได� เวลาผ�านไปเรื่อยๆ ไม�หวนย�อนกลับมาความสําคัญของการบริหารเวลาช�วยให� ใช�ชวีิตได�ง�ายข้ึน รักษาความสมดุลในชีวิต มีความสุขกับการใช�ชีวิตบรรลุตามเปkา หมาย ดังท่ี จิตต# อินสว�าง(2549:1-3) ได�กล�าวว�าความจริงของ คนสามารถจัดการ กับการใช�เวลาของตนเองได� ซ่ึงเป9นการจัดการท่ีชาญฉลาด ฉะนั้นการบริหารเวลา จึงเป9นทรัพยากรท่ีสําคัญมาก ซ่ึงจะต�องเข�ากับ รูปแบบการดําเนินชีวิตและสิ่งแวดล�อมด�วย

จากความหมายและความสําคัญของการบริหารเวลาดังท่ีกล�าวไว�ข�างต�น อาจสรุปได�ว�า การบริหารเวลา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงให� คนปรับตนเองให�สอดคล�องกับเหตุการณ#รวมท้ังการท่ี กําหนดเก่ียวกับการควบคุมการปฏิบัติงานให�บรรลุตามเวลาและวัตถุประสงค# บุคคลรู�จักจัดสรรเวลา ในการทํากิจกรรมในแต�ละด�านโดยการรู�จักวางแผนและกําหนดเปkาหมายในการดําเนินชีวิตและปฏิบัติ ภารกิจของตน โดยมีการจัดระบบ การใช�เวลา ให�เกิดประโยชน#คุ�มค�าสูงสุดเพ่ือให�งานสําเร็จลุล�วง มีประสิทธิภาพ พร�อมท้ังสามารถ จัดสรรเวลาได�อย�าง สมดุลเพ่ือบรรลุเปkาหมายท่ีตนได�วางไว� ซ่ึงส�งผลต�อความก�าวหน�าในชีวิต

(http://www.novabizz.com/NovaAce/Time/Time_Management.htm)

1.3.มนุษย�สัมพันธ�

ความหมายของมนุษยสัมพันธ# (มนุษยสัมพันธ# Human Relations ,2556) คือ มนุษยสัมพันธ#จัดเป9นท้ังศาสตร# (Science) และศิลป� (Art) เนื่องจากมีหลักการ และทฤษฎีท่ีเป9นข�อความรู� และการนําหลักการ หรือทฤษฎีไปปฏิบัติให�ประสบ ความสําเร็จได�นั้นต�องอาศัยเทคนิควิธีการซ่ึงถือเป9น ศิลปะเฉพาะตัวของแต�ละบุคคล จะสังเกตเห็นได�อย�างหนึ่งว�า คนแต�ละคน มีความสามารถในการติดต�อกับผู� อ่ืนไม�เท�ากัน บางคนเป9นท่ีพอใจของคนหมู�มาก มีเพ่ือนมากหน�าหลายตา และมีคนท่ีอยากพูดคุยติดต�อ หรือทํางานร�วมกับเขามากมาย ในขณะท่ีบางคนไม�ค�อยมีใครอยาก จะเข�าใกล� หรือทํางานร�วมด�วย นั่นเป9นเพราะเขาขาดศิลปะในการติดต�อกับบุคคลอ่ืน ซ่ึงอาจเป9นเพราะไม�รู�หลักการว�าควรทําอย�างไร หรือเป9นเพราะนําหลักการไปใช�ไม� ถูกวิธี ดังนั้น การท่ีคนเราจะมีมนุษยสัมพันธ#ท่ีดีกับบุคคลอ่ืน จึงจําเป9นต�องเรียนรู�ท้ังภาคทฤษฎี และหม่ันฝqกฝนเพ่ือให�เกิดความเชี่ยวชาญ จนสามารถนําหลักการท่ีเป9นข�อ ความรู�ทางทฤษฎีไปใช�ได�อย�างเป9นธรรมชาติความหมายของมนุษยสัมพันธ# มีนักจิตวิทยาให�ความหมายไว�หลายท�านพอสรุปได�ดังนี้

Page 18: รวม

อริสโตเติล ( Aristotle ) นักปราชญ#ชาวกรีก อธิบายว�า มนุษย#เป9นสัตว#สังคม มนุษย#ใช�ชีวิตอยู�ร�วมกัน เป9นหมู�เป9นเหล�ามนุษย# อยู�ร�วมกัน เป9นกลุ�มเป9นพวก มีปฏิสัมพันธ#ร�วมกัน การท่ีมนุษย#อยู�ร�วมกัน ทําให�พวกเขารู�สึกปลอดภัย ซ่ึงเป9นสัญชาตญาณของมนุษย# ดังนั้นเราอาจกล�าวได�ว�า การท่ี มนุษย#มีสัมพันธ#กัน มนุษย#จึงเป9นสัตว#สังคม ดังท่ีนักปราชญ#ได�กล�าวไว�

มนุษยสัมพันธ# หมายถึง ความสัมพันธ#ในทางสังคม ระหว�างมนุษย# ซ่ึงจะก�อให�เกิดความเข�าใจอันดีต�อกัน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ( 2525 : 402 )

ในป7 พ.ศ. 2538 ราชบัณฑิตยสถาน ได�ให�ความหมายเพ่ิมเติมว�า มนุษยสัมพันธ# หมายถึง ความสัมพันธ#ในทางสังคมระหว�างมนุษย# ซ่ึงจะก�อให�เกิดความเข�าใจอันดีต�อกัน

มนุษยสัมพันธ# ( Human Relationships ) เป9นการอยู�ร�วมกันของมนุษย#เป9นหมู�เป9นคณะ หรือกลุ�มโดยมีการติดต�อสื่อสารกัน ระหว�างบุคคล ระหว�างกลุ�ม เพ่ือให�ทราบความต�องการของแต�ละบุคคล หรือกลุ�มรวมไปถึง วิธีการจูงใจ และประสานความต�องการ ของบุคคล และกลุ�มให�ผสมผสานกลมกลืนกันตามระบบท่ีสังคมต�องการ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ( 2538 : 628 )

มนุษยสัมพันธ# หมายถึง การแสวงหา เพ่ือทําความเข�าใจ โดยการใช�ลักษณะรูปแบบการ ติดต�อสัมพันธ#กัน ระหว�างบุคคลเป9นผล ก�อให�เกิดความเชื่อมโยง เพ่ือให�ได�ผลสําเร็จ ตามเปkาหมายขององค#การ ของแต�ละบุคคล ท่ีได�กําหนดไว� อํานวย แสงสว�าง ( 2544: 99)

มนุษยสัมพันธ# หมายถึง กระบวนการจูงใจของบุคคลอย�างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ โดยมีความพอใจ ในทางเศรษฐกิจ และสังคม มนุษย#สัมพันธ# จึงเป9นท้ังศาสตร# และศิลป� เพ่ือใช�ใน การเสริมสร�างความสัมพันธ#อันดี กับบุคคล การยอมรับนับถือ การให�ความร�วมมือ และการให�ความจงรักภักดี ในการติดต�อสัมพันธ#กัน ระหว�างบุคคล ต�อบุคคล ตลอดจนองค#กรต�อองค#กร David, Keith.1977

มนุษยสัมพันธ# หมายถึง ศาสตร# และศิลป�ในการเสริมสร�างความสัมพันธ#อันดี ระหว�างบุคคล เพ่ือต�องการให�ได�มาซ่ึง ความร�วมมือ ช�วยเหลือกัน ความรักใคร�นับถือ และความจงรักภักดี

มนุษยสัมพันธ# หมายถึง การรู�จักใช�วิธีการท่ีจะครองใจคนโดยมีความประสงค#ให�บุคคลเหล�านั้นนับถือ จงรักภักดี และให�ความ ร�วมมือร�วมใจ ทํางานด�วยความเต็มใจ

มนุษยสัมพันธ# เป9นเทคนิคการกระตุ�นให�คน และกลุ�มคน มาเก่ียวข�องกันท้ังในเรื่องงาน เรื่องส�วนตัวจน สามารถ ทํากิจกรรมใดๆ เพ่ือให�บรรลุเปkาหมายโดยความร�วมมือร�วมแรงร�วมใจ เพ่ือท่ีจะทํากิจกรรมดังกล�าวได�อย�างเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยการทํางาน เพ่ือส�วนรวมนี้จะเป9น กระบวนการกลุ�มท่ีทํางานร�วมกันด�วย ความเต็มใจ เต็มความสามารถ

มนุษยสัมพันธ# หมายถึง กระบวนการจูงใจ ให�ผู�ปฏิบัติงานภายใต�สถานการณ# ท่ีเป9นอยู�ให�เกิดความพึงพอใจในงาน และความสามารถ ทํางาน ให�ประสบผลสําเร็จตามเปkาหมายขององค#กรได�

มนุษยสัมพันธ# หมายถึง กระบวนการของศาสตร#ท่ีใช�ศิลปะสร�างความพอใจ รักใคร� ศรัทธา เคารพนับถือ โดยแสดงพฤติกรรม ให�เหมาะสมท้ังทางกาย วาจา และใจ เพ่ือโน�มนําให�มีความรู�สึกใกล�ชิดเป9นกันเอง จูงใจให�ร�วมมือร�วมใจ ในอันท่ีจะบรรลุสิ่งซ่ึง พึงประสงค#อย�างราบรื่น และอยู�ในสังคมได�อย�างสันติสุข

1.4.ความเครียด

Page 19: รวม

ความหมายของความเครียด เนื่องจากมีนักวิชาการได�ให��คําจํากัดความของความเครียดหลายท�านผู��วิจัยจึงได��รวบรวมคําจํากัดความเหล��านั้นมานําเสนอดังต��อไปนี้

เซลเย� (Selye, 1956, p. 54) ให��ความหมายวา� ความเครียดเป9นภาวะท่ีรางกาย �และจิตใจมีปฏิกิริยาตอบสนองต��อสิ่งท่ีมากระตุ�น�ท้ังจากภายในรางกาย � และนอกร�างกายเป99นผลให��เกิดการเปลี่ยนแปลงเก่ียวกับโครงสร�าง�และปฏิกิริยาเคมีภายในร�างกายเพ่ือต�อต��านการคุกคามทําให�ภาวะทางร��างกายและจิตใจขาดสมดุลแสดงให�รู��โดยกลุ��มอาการทางร�างกายท่ีมีลักษณะเฉพาะ

จอห#น#สันและเอนเกอร# (Johnson & Anger, 1990, pp. 243-245) ให��ความหมายว�าความเครียดหมายถึงการตอบสนองร�างกายโดยท่ัวไปหรือไม�เฉพาะเจาะจง ซ่ึงเป9นสัญญาณเตือนให��รู�ถึงความจําเป99นท่ีต�องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให��เกิดความเหมาะสม เพ่ือท่ีจะให��กลับคืนสู��สภาวะปกติอารมณ#ท่ีมีส��วนเก่ียวข�องกับความเครียดได��แก��โกรธความวิตกกังวลความคับข��องใจและความเครียดในระดับสูงอาจก�อให��เกิดปRญหาทางร�างกาย �

กีร#ดาโน, เอเวอรี่และดูเสค (Girdano, Everly & Dusek, 1997, อ�างถึงในอรรณพ8ถนอมวงษ##, 2539, หน�า 15) กล�าววา� ความเครียดคือปฏิกิริยาของร�างกายหรือสิ่งท่ีมากระตุ�นท้ังร�างกายและจิตใจ ซ่ึงสามารถทําให��ระบบของร��างกายเกิดความเม่ือยล�าจนถึงทําหน��าท่ีผิดปกติและเกิดโรคได�ใน�ท่ีสุด

เสริมศักด์ิวิศาลาภรณ## (2539, หน�า 62) ได��ให��คําจํากัดความว�า� ความเครียดเป99นปฏิกิริยาทางสรีรวิทยาและทางจิตวิทยา ท่ีเกิดข้ึนเม่ือบุคคลรับรู��ว��าไม�มีความสมดุลระหว��างระดับของความกดดันหรือระดับของงานท่ีจะต�องทํากับความสามารถท่ีจะต��อสู�กับความกดดันนั้นหรือความสามารถท่ีจะทํางาน

ฐานาธรรมคุณ (2532, หน�า 14) กล�าววา� ความเครียดหมายถึงกลุ��มอาการท่ีเกิดข้ึนในแต��ละบุคคลเพ่ือตอบสนองสิ่งท่ีมาคุกคาม และเพ่ือปรับภาวะสมดุลในบุคคลการตอบสนองท่ีเกิดข้ึนอาจปรากฏออกมาท้ังทางพฤติกรรมท่ีสังเกตได��และสังเกตไม��ได��โดยมีการตอบสนองท้ังทางด�านร�างกาย � จิตใจและอารมณ#

ลัคแมนและโซเรนเซน (Luckman & Sorensen, 1974, p. 10) ได��สรุปความหมายของ

ความเครียดไว�� 4 ประการดังนี้

1. สิ่งท่ีมาคุกคามหรือพยายามท่ีจะทําลายบุคคล

2. สิ่งท่ีทําให�บุคคลประสบความไม��พึงพอใจในสิ่งท่ีต�องการ

3. สิ่งท่ีขัดขวางพัฒนาการด�านร��างกายและจิตใจของมนุษย##

4. สิ่งท่ีมาคุกคามมนุษย#ทําให��สภาวะของร��างกายและจิตใจขาดความสมดุล

กรมการแพทย# (2533, หน�า 2) ได��ให��ความหมายความเครียดว�าความเครียดคือ

Page 20: รวม

การท่ีจิตใจของบุคคลต่ืนตัวพร�อมท่ีจะเผชิญกับปRRญหาหรือความกดดันอย�างใดอย�างหนึ่งท่ีเกิดข้ึนซ่ึงบุคคลคาดว��าจะเป99นเรื่องยากเรื่องท่ีฝrrนใจหรือเรื่องท่ีมีความสําคัญอย��างยิ่งต��อบุคคลซ่ึงบุคคลจะต�องทุ��มเทกําลังกายและกําลังใจท้ังหมด�เข�าแก��ไขหรือเข�าต��อสู��กับปRRญหานั้นๆ

นราธรศรประสิทธิ์ (2529, หน�า 12) กล��าววา� ความเครียดเป9นภาวะซ่ึงขาดความสมดุลด�านจิตใจของบุคคลอาจเกิดจากสภาพและสถานการณ#ท่ีแตกต��างกันออกไป อาการของความเครียดจะแสดงออกในรูปต�างๆเช�น�ความวิตกกังวลความรู��สึกกดดันซ่ึงทําให��เกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวะภาพเกิดการเป99นโรคได�ง�ายเช�นโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจเป9นต�น

จากความหมายดังกล��าว สรุปได��ว�าความเครียดหมายถึง ภาวะท่ีร�างกายและจิตใจเสียสมดุลและก�อให��เกิดปฏิกิริยาตอบสนองต�อสิ่งท่ีมาคุกคามท้ังภายในและภายนอกร�างกาย ซ่ึงมีอิทธิพลต�อการทํางานและเป9นผลต�อสภาวะร�างกายและจิตใจของมนุษย#

2.งานวิจัยท่ีเก่ียวข�อง

1.นางสาวอนัญญา ชูลี ได�ทําการศึกษาเรื่อง การใช�เวลาว�างของวัยรุ�นกับการสร�างตัวตน โดยมีวัตถุประสงค#เพ่ือศึกษาลักษณะการใช�เวลาว�างและการสร�างตัวตนของวัยรุ�นในเขตเมืองเชียงใหม� โดยกําหนดพ้ืนท่ีศึกษาเป9นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของรัฐบาลท่ีตั้งอยู�ในเขตเมืองเชียงใหม� ในการศึกษาได�ใช�ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข�อมูลโดยการสังเกตและการสัมภาษณ#วัยรุ�นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 10 ราย ข�อมูลท่ีได�ตรวจสอบความสมบูรณ#และแยกแยะเป9นหมวดหมู� วิเคราะห#และนําเสนอรายงานการวิจัยผลวิจัยสรุปดังนี ้

วัยรุ�นมีเวลาว�างท้ังท่ีบ�านและท่ีโรงเรียน เวลาว�างท่ีโรงเรียนแบ�งเป9นช�วง เช�า กลางวัน เย็น วัยรุ�นชายมักจะใช�เวลาว�างเล�นฟุตบอล บาสเกตบอล เล�นกีตาร# นั่งคุย อ�านหนังสือการ#ตูน และใช�สิ่งเสพติด ส�วยวันรุ�นหญิงมักจะนั่งคุย อ�านหนังสือการ#ตูน เล�นบาสเกตบอล บางครั้งเล�นการพนันและมีการทะเลาะวิวาทบ�าง เวลาว�างท่ีบ�านหลังเลิกเรียนจบถึงยี่สิบนาฬิกา วันรุ�นชายมักจะรวมกลุ�มทํากิจกรรมนอกบ�าน เช�น เล�นกีฬา เล�นสนุกเกอร# เท่ียวศูนย#การค�า เป9นต�น วัยรุ�นหญิงจะเท่ียวศูนย#การค�าเป9นบางครั้ง หลังจากยี่สิบนาฬิกาเป9นต�นไป วัยรุ�นหญิงและวัยรุ�นชายท่ีอยู�ภายในบ�านมักจะเล�นกีต�าร# ฟRงเพลง ดูโทรทัศน# วาดรูป เล�นคอมพิวเตอร# และวัยรุ�นชายบางส�วนทํากิจกรรมนอกบ�าน คือไปเท่ียวผับ ร�านสุรา ร�านสนุกเกอร# เป9นต�นและวันเสาร#-อาทิตย#วัยรุ�นชายหญิงใช�เวลาว�างไปเท่ียวศูนย#การค�า แหล�งท�องเท่ียว ตลาด และงานท่ีชุมชนจัดข้ึน

วัยรุ�นสร�างตัวตนจากการใช�เวลาว�าง โดยการรวมกลุ�มกับเพ่ือน มีการแลกเปลี่ยนค�านิยมเพ่ือสร�างลักษณะเฉพาะกลุ�มข้ึนมา และบางครั้งก็เป9นการยึดแบบอย�างจากบุคคลท่ีประสบความสําเร็จ กระทําตามค�านิยมของกลุ�ม และการรับเอาคุณค�าบางอย�างมาจากครอบครัว ญาติพ่ีน�องหรือบุคคลท่ีมีชื่อเสียงอ่ืนๆ ท่ีวัยรุ�นชื่นชอบ หรือไม�ก็ทําตามความต�องการและความชอบของตัวเอง

Page 21: รวม

2.วงธรรม สรณะ ,ราตรี พิงกุศล ได�ทํารายงานวิจัย พฤติกรรมการใช�เวลาว�างของนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

การวิจัย เรื่อง พฤติกรรมการใช�เวลาว�างของนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตมีวัตถุประสงค#เพ่ือเพ่ือศึกษาการใช�เวลาว�างของนักศึกษา และเพ่ือวางแผนการเสริมสร�างสมรรถนะในการเรียนรู�ของนักศึกษา ผู�วิจัยได�กําหนดวิธีการดําเนินงานวิจัยโดยใช�การสํารวจ และการสังเกตการณ#แบบมีส�วนร�วมการเก็บรวบรวมข�อมูลได�ใช�แบบสอบถามท่ีปรับปรุงจากงานวิจัยเรื่องพฤติกรรมการใช�เวลาของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม� ของ ชัชชัย สมศรี คณะเศรษฐศาสตร# มหาวิทยาลัยเชียงใหม� ประชากรท่ีศึกษาได�แก�นักศึกษาภาคปกติของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร# ซ่ึงมีจํานวนท้ังสิ้น 684 คน และใช�การวิเคราะห#ข�อมูลใช�สถิติเชิงพรรณนา คือ ค�าร�อยละ และค�าเฉลี่ย

จากการวิจัยพบว�า นักศึกษามีพฤติกรรมการใช�เวลาว�างท่ีปฏิบัติมากได�แก� การนอนหลับ,ดูทีวี วีดีโอ ภาพยนตร#,เท่ียวกับเพ่ือน,ทําการบ�าน/ทํารายงานตามท่ีอาจารย#มอบหมาย และศึกษาค�นคว�าหาข�อมูลในอินเตอร#เน็ท พฤติกรรมท่ีปฏิบัติในระดับปานกลาง ได�แก�อ�านหนังสือ,เล�นเกมคอมพิวเตอร#,เดินเท่ียวห�างสรรพสินค�า,ออกกําลังกาย,เข�าห�องสมุด,เข�าห�องสมุด และร�องคาราโอเกะ ส�วนพฤติกรรมท่ีปฏิบัติน�อยมาก ได�แก� การทํากิจกรรมสาธารณะ,การทํางานพิเศษและเรียนพิเศษเพ่ิมเติม เม่ือจําแนกรายด�านพบว�า นักศึกษามีพฤติกรรมการใช�เวลาว�างด�านการหาความบันเทิง(ร�อยละ3.24)การค�นหาความรู�(ร�อยละ3.16) และด�านการทํากิจกรรมอ่ืนๆ(ร�อยละ2.99)และนอกจากนี้จากการสังเกตพบว�าเวลาว�างส�วนใหญ�ของนักศึกษาคือการเล�น facebook พูดคุยกับกลุ�มเพ่ือนและไม�ชอบการอ�านหนังสือ

บทท่ี 3

วิธีการดําเนินงาน

Page 22: รวม

จากการดําเนินการศึกษาและวิเคราะห#ข�อมูลการสํารวจการใช�เวลาว�างของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2557 ซ่ึงใช�ระยะเวลาให�การดําเนินการ กลุ�มของข�าพเจ�าได�ดําเนินการมาอย�างต�อเนื่องจนประสบผลสําเร็จ จึงขอนําวิธีการดําเนินการจัดการตามหัวข�อ ดังนี้

1. วัตถุประสงค#ในการพัฒนา

2. วิธีการดําเนินการศึกษา

3. เครื่องมือท่ีใช�ในการพัฒนา

4. วิธีการเก็บรวบรวมข�อมูล

5. สถิติท่ีใช�ในการวิเคราะห#ข�อมูล

1.วัตถุประสงค�ในการพัฒนา

1.เพ่ือศึกษาการทํากิจกรรมนันทนาการของนักเรียนหลังจากเลิกเรียนหรือมีเวลาว�าง

2.เพ่ือศึกษาผลจากการทํากิจกรรมนันทนาการว�ากลุ�มตัวอย�างจะมีการพัฒนาด�านอารมณ#ไปในทิศทางท่ีดีข้ึนหรือไม� และพัฒนามากน�อยเพียงใด

2. วิธีการดําเนินการศึกษา

ระยะท่ี 1

1.ประชุมวางแผนเลือกหัวหน�ากลุ�มและรองหัวหน�ากลุ�ม วันท่ี 18 พ.ค. 56

2.จัดต้ังคณะกรรมการดําเนินงาน

ดังนี้

นางสาวนนทนี ไพรสนธิ์ (ประธาน)

นางสาวณัฐธยาน# วงศ#มหทรัพย# (รองประธาน)

นางสาวสุจิตราภา เศษนอก (เลขา)

Page 23: รวม

นางสาวปริญญาพร สอดจันทร# (สมาชิก)

นางสาวศศิธร สอนสิทธิ์ (สมาชิก)

3.ศึกษาข�อมูลงานวิจัย จากแหล�งต�างๆและกําหนดกลุ�มตัวอย�างโดยใช�กลุ�มตัวอย�างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2556 จํานวน 300 คน โดยใช�ระยะเวลาหนึ่งสัปดาห# 19-25 พ.ค. 56

เม่ือได�หัวข�อและกลุ�มตัวอย�างท่ีแน�นอนจึงเริ่มการปฏิบัติงานโดยมอบหมายงานให�สมาชิก ระยะท่ี 2

1. ดําเนินการตามแผนท่ีกําหนด

2. วิเคราะห#ข�อมูล (ข้ันตอนการดําเนินงานของการสํารวจกิจกรรมนันทนาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2556 จํานวน 300 คน)

ระยะท่ี 3

1.ให�ผู�เชี่ยวชาญตรวจสอบรายงานการสํารวจ

2. ปรับปรุงข้ันตอนของกิจกรรมตามผลการประเมินตามข้ันตอนท่ี 2

ระยะท่ี 4

1. จัดทํางานวิจัยการสํารวจความคิดเห็นจํานวน 300 แผ�น

2. เผยแพร�ประชาสัมพันธ#

ประชากร

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2556 จํานวน 300 คน

กลุ#มตัวอย#าง

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2556 จํานวน 300 คน

ระยะท่ี 5

1. จัดทําแบบสํารวจความคิดเห็นจํานวน 300 แผ�น

2. เผยแพร�ประชาสัมพันธ#

3. เครื่องมือท่ีใช�ในการพัฒนา

Page 24: รวม

1. แบบทดสอบท่ีใช�ในการสํารวจการทํากิจกรรมนันทนาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2556

เครื่องมือท่ีใช�ในการประเมิน

ลักษณะท่ีใช�ประเมิน มีจํานวน 1 ชุด คือ

แบบประเมินการทํากิจกรรมนันทนาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2556

4.วิธีการเก็บรวบรวมข�อมูล

การเก็บรวบรวมข�อมูลใช�แบบสอบถาม เก็บรวบรวมจากกลุ�มตัวอย�างท่ีกําหนด

-นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2556

5.สถิติท่ีใช�วิเคราะห�ข�อมูล

ผู�ทํารายงานดําเนินการวิเคราะห#ข�อมูล ดังนี้

1.นําแบบสอบถามแต�ละฉบับมาตรวจสอบความถูกต�องสมบูรณ#

2. ตรวจให�คะแนนแต�ละข�อของแบบสอบถามแต�ละชุด

3. วิเคราะห#ความสอดคล�อง ความเหมาะสมข�อปRจจัย ความต�องการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2556 โดยการคํานวณค�าเฉลี่ย และค�าเบ่ียงเบนมาตรฐาน

สถิติท่ีใช�และวิธีการวิเคราะห#ข�อมูล

1. ค�าเฉลี่ย (Mean)

2.ความส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)

ค�าเฉลี่ย (Mean)

X̅ =∑ ��

X ̅ แทน ค�าร�อยละ

∑ � แทน ผลรวมของคะแนน

Page 25: รวม

� แทน จํานวนข�อมูลท้ังหมด

2.ความส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)

�. = �� ∑ ��(∑ �)�

�(� − 1)

�. แทน ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน

∑ �� แทน ผลรวมของคะแนนยกกําลังสอง

(∑ �)� แทน กําลังสองของคะแนนรวม

� แทน จํานวนข�อมูลท้ังหมด

การแปรผลค�าเฉลี่ยใช�การแปลผลจากแบบมาตราส�วนประมาณค�าชนิด 5 ระดับตามวิธีการของลิเคิร#ท (Likert) ดังนี้

ค�าเฉลี่ย 4.50-5.00 หมายถึง นักเรียนเห็นด�วยกับข�อคําถามตามรายการในระดับ มากท่ีสุด/เห็นด�วยอย�างยิ่ง

ค�าเฉลี่ย 3.50-4.49 หมายถึง นักเรียนเห็นด�วยกับข�อคําถามตามรายการในระดับ มาก / เห็นด�วย

ค�าเฉลี่ย 2.50-3.49 หมายถึง นักเรียนเห็นด�วยกับข�อคําถามตามรายการในระดับ ปานกลาง / ไม�แน�ใจ

ค�าเฉลี่ย 1.50-2.49 หมายถึง นักเรียนเห็นด�วยกับข�อคําถามตามรายการในระดับ น�อย / ไม�เห็นด�วย

ค�าเฉลี่ย 1.00-1.49 หมายถึง นักเรียนเห็นด�วยกับข�อคําถามตามรายการในระดับ น�อยท่ีสุด / ไม�เห็นด�วยอย�างยิ่ง

เกณฑ#การประเมินความคิดเห็นเก่ียวกับกิจกรรมการออกกําลังกายของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีจากแบบสอบถาม โดยแบ�งเกณฑ#ค�าส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐานออกเป9น 5 ระดับ ดังนี้

ค�าส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐานระหว�าง 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู�ในระดับน�อยท่ีสุด

ค�าส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐานระหว�าง 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู�ในระดับน�อย

ค�าส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐานระหว�าง 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู�ในระดับปลานกลาง

ค�าส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐานระหว�าง 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู�ในระดับมาก

Page 26: รวม

ค�าส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐานระหว�าง 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความคิดเห็นอยู�ในระดับมากท่ีสุด

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะห�ข�อมูล

จากการดําเนินการสํารวจข�อมูลของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีในเรื่องการทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียน ซ่ึงเป9นการสํารวจระหว�างเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ถึงเดือน มกราคม พ.ศ. 2557 มีการประเมินผลการสํารวจเสร็จสิ้นการดําเนินงานคณะสํารวจได�จัดทําแบบสอบถาม เป9นเครื่องมือในการเก็บข�อมูล ซ่ึงมีกลุ�มตัวอย�างเป9นนักมัธยมปลายเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จํานวน 300 คน ได�แบ�งผลการวิเคราะห#ข�อมูล ออกเป9น 3 ตอนดังนี้

ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะห#ข�อมูลของนักเรียนต�อการทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ประจําป7การศึกษา 2556 ในภาพรวม

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห#ข�อมูลของของนักเรียนต�อการทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ประจําป7การศึกษา 2556 จําแนกตามระดับชั้น

ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะห#ข�อมูลของนักเรียนต�อการทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ประจําป7การศึกษา 2556 ในภาพรวม

ตารางท่ี 1 ผลการวิเคราะห#การทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ประจําป7การศึกษา 2556

Page 27: รวม

ข�อท่ี รายการ จํานวน ร�อยละ

1 อ�านหนังสือ 191 63.67

2 ดูโทรทัศน# 180 60.00

3 ฟRงเพลง 216 72.00

4 วาดรูป 87 29

5 เล�นกีฬา 88 29.33

6 เล�นดนตรี 68 22.67

7 เล�น social network 194 64.67

8 เล�นเกมคอมพิวเตอร# 128 42.67

9 หารายได�เสริม 42 14.00

10 ทําการบ�าน 141 47.00

11 ทํางานบ�าน/งานสวน 65 21.67

12 ดูภาพยนตร# 161 53.57

13 เท่ียวห�างสรรพสินค�า 94 31.33

14 คุยกับเพ่ือน 155 51.66

15 อ�านหนังสือพิมพ#/ข�าว 61 20.33

16 นอนหลับ 187 62.33

17 แต�งหนังสือ/นิยาย 60 20.00

18 Update block 37 12.33

19 ร�องคาราโอเกะ 61 20.33

20 เล�น games centre 37 12.33

Page 28: รวม

จากตารางท่ี 1 แสดงให�เห็นว�านักเรียนมัธยมปลายส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างในการทํากิจกรรมการฟRงเพลงมากท่ีสุด (72 %) และใช�เวลาว�างในการเล�นsocial network และอ�านหนังสือ เป9นอันดับสองและอันดับสาม (64.67 % และ 53.57 % ตามลําดับ) และนักเรียนมัธยมปลายส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างในการเล�น games centre และ update block น�อยเป9นอันดับหนึ่ง( 12.33 %) กิจกรรมหารายได�เสริมและแต�งหนังสือหรือนิยายน�อยเป9นอันดับสองและสาม(14 % และ 20 % ตามลําดับ)

ตารางท่ี 2 ผลการวิเคราะห#ความถ่ีในการทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ประจําป7การศึกษา 2556

ข�อท่ี รายการ ค�าเฉลี่ย

ค�าส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)

ระดับความถ่ี

1 อ�านหนังสือ 2.58 2.03 ปานกลาง

2 ดูโทรทัศน# 2.48 2.08 น�อย

3 ฟRงเพลง 3.35 1.95 ปานกลาง

4 วาดรูป 1.14 1.80 น�อยท่ีสุด

5 เล�นกีฬา 1.10 1.76 น�อยท่ีสุด

6 เล�นดนตรี 0.86 1.65 น�อยท่ีสุด

7 เล�น social network 2.88 2.14 ปานกลาง

8 เล�นเกมคอมพิวเตอร# 1.72 1.98 น�อย

9 หารายได�เสริม 0.47 1.20 น�อยท่ีสุด

10 ทําการบ�าน 2.07 2.08 น�อย

11 ทํางานบ�าน/งานสวน 0.87 1.60 น�อยท่ีสุด

12 ดูภาพยนตร# 2.31 2.05 น�อย

13 เท่ียวห�างสรรพสินค�า 1.35 1.91 น�อยท่ีสุด

14 คุยกับเพ่ือน 2.11 2.13 น�อย

Page 29: รวม

15 อ�านหนังสือพิมพ#/ข�าว 0.73 1.53 น�อยท่ีสุด

16 นอนหลับ 3.10 2.04 ปานกลาง

17 แต�งหนังสือ/นิยาย 0.82 1.65 น�อยท่ีสุด

18 Update block 0.46 1.26 น�อยท่ีสุด

19 ร�องคาราโอเกะ 0.80 1.58 น�อยท่ีสุด

20 เล�น games centre 0.50 1.34 น�อยท่ีสุด

รวมเฉลี่ย 1.52 0.58 น�อย

จากตารางท่ี 2 แสดงให�เห็นว�า นักเรียนมัธยมปลายส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างอยู�ในระดับ “น�อย” ( = 1.52) โดยกิจกรรมยามว�างการอ�านหนังสือ ฟRงเพลง เล�น social network และนอนหลับ มีระดับความพึงพอใจในระดับ “ปานกลาง” กิจกรรมยามว�างการดูโทรทัศน# เล�นเกมคอมพิวเตอร# ทําการบ�าน ดูภาพยนตร# และคุยกับเพ่ือน มีระดับความพึงพอใจในระดับ “น�อย” และกิจกรรมยามว�างวาดรูป เล�นกีฬา เล�นดนตรี หารายได�เสริม ทํางานบ�านหรืองานสวน เท่ียวห�างสรรพสินค�า อ�านหนังสือพิมพ#หรือข�าว แต�งหนังสือหรือนิยาย Update block ร�องคาราโอเกะ และ เล�น games centre มีระดับความพึงพอใจในระดับ “น�อยท่ีสุด”

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห#ข�อมูลของของนักเรียนต�อการทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ประจําป7การศึกษา 2556 จําแนกตามระดับชั้น

ตารางท่ี 3 ผลการวิเคราะห#การทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 4 ประจําป7การศึกษา 2556

ข�อท่ี รายการ จํานวน ร�อยละ

1 อ�านหนังสือ 61 61

2 ดูโทรทัศน# 61 61

3 ฟRงเพลง 80 80

Page 30: รวม

4 วาดรูป 24 24

5 เล�นกีฬา 31 31

6 เล�นดนตรี 22 22

7 เล�น social network 66 66

8 เล�นเกมคอมพิวเตอร# 35 35

9 หารายได�เสริม 17 17

10 ทําการบ�าน 46 46

11 ทํางานบ�าน/งานสวน 19 19

12 ดูภาพยนตร# 56 56

13 เท่ียวห�างสรรพสินค�า 22 22

14 คุยกับเพ่ือน 57 57

15 อ�านหนังสือพิมพ#/ข�าว 10 10

16 นอนหลับ 44 44

17 แต�งหนังสือ/นิยาย 21 21

18 Update block 12 12

19 ร�องคาราโอเกะ 17 17

20 เล�น games centre 12 12

จากตารางท่ี 3 แสดงให�เห็นว�านักเรียนมัธยมศึกษาป7ท่ี 4 ส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างในการทํากิจกรรมการฟRงเพลงมากท่ีสุด (80%) และใช�เวลาว�างในการเล�นsocial network เป9นอันดับสอง (66%) และกิจกรรมยามว�างอ�านหนังสือและดูโทรทัศน#เป9นอันดับสาม( 61%) และนักเรียนมัธยมศึกษาป7ท่ี 4 ส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างในการเล�น games centre และ update block น�อยเป9นอันดับหนึ่ง( 12%) กิจกรรมหารายได�เสริมและร�องคาราโอเกะน�อยเป9นอันดับสอง (17%) และกิจกรรมการทํางานบ�านและงานสวนเป9นอันดับสาม (19 %)

Page 31: รวม

ตารางท่ี 4 ผลการวิเคราะห#ความพึงพอใจในการทํากิจกรรมยามว�าของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 4 ประจําป7การศึกษา 2556

ข�อท่ี รายการ ค�าเฉลี่ย

ค�าส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)

ระดับความพึงพอใจ

1 อ�านหนังสือ 2.55 2.03 ปานกลาง

2 ดูโทรทัศน# 2.60 2.00 ปานกลาง

3 ฟRงเพลง 3.78 1.72 มาก

4 วาดรูป 1.03 1.72 น�อยท่ีสุด

5 เล�นกีฬา 1.27 1.84 น�อยท่ีสุด

6 เล�นดนตรี 0.91 1.72 น�อยท่ีสุด

7 เล�น social network 3.17 2.11 ปานกลาง

8 เล�นเกมคอมพิวเตอร# 1.55 1.99 น�อย

9 หารายได�เสริม 0.65 1.36 น�อยท่ีสุด

10 ทําการบ�าน 1.99 2.11 น�อย

11 ทํางานบ�าน/งานสวน 0.81 1.54 น�อยท่ีสุด

12 ดูภาพยนตร# 2.51 2.09 ปานกลาง

13 เท่ียวห�างสรรพสินค�า 1.35 2.02 น�อยท่ีสุด

14 คุยกับเพ่ือน 2.69 2.17 ปานกลาง

15 อ�านหนังสือพิมพ#/ข�าว 0.51 1.31 น�อยท่ีสุด

16 นอนหลับ 3.48 1.94 ปานกลาง

17 แต�งหนังสือ/นิยาย 0.97 1.73 น�อยท่ีสุด

18 Update block 0.61 1.48 น�อยท่ีสุด

Page 32: รวม

19 ร�องคาราโอเกะ 0.90 1.67 น�อยท่ีสุด

20 เล�น games centre 0.70 1.59 น�อยท่ีสุด

รวมเฉลี่ย 1.63 0.60 น�อย

จากตารางท่ี 4 แสดงให�เห็นว�า นักเรียนมัธยมศึกษาป7ท่ี 4 ส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างอยู�ในระดับ “น�อย” ( = 1.63) โดยกิจกรรมยามว�างการฟRงเพลง มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” กิจกรรมยามว�างการ

อ�านหนังสือ ดูโทรทัศน# เล�น social network ดูภาพยนตร# คุยกับเพ่ือน และนอนหลับ มีระดับความพึงพอใจในระดับ “ปานกลาง” กิจกรรมยามว�าง เล�นเกมคอมพิวเตอร# และทําการบ�าน มีระดับความพึงพอใจในระดับ “น�อย” และกิจกรรมยามว�างวาดรูป เล�นกีฬา เล�นดนตรี หารายได�เสริม ทํางานบ�านหรืองานสวน เท่ียวห�างสรรพสินค�า อ�านหนังสือพิมพ#หรือข�าว แต�งหนังสือหรือนิยาย Update block ร�องคาราโอเกะ และ เล�น games centre มีระดับความพึงพอใจในระดับ “น�อยท่ีสุด”

ตารางท่ี 5 ผลการวิเคราะห#การทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 5 ประจําป7การศึกษา 2556

ข�อท่ี รายการ จํานวน ร�อยละ

1 อ�านหนังสือ 64 64

2 ดูโทรทัศน# 66 66

3 ฟRงเพลง 78 78

4 วาดรูป 55 55

5 เล�นกีฬา 24 24

6 เล�นดนตรี 26 26

7 เล�น social network 69 69

8 เล�นเกมคอมพิวเตอร# 48 48

9 หารายได�เสริม 11 11

10 ทําการบ�าน 55 55

Page 33: รวม

11 ทํางานบ�าน/งานสวน 27 27

12 ดูภาพยนตร# 60 60

13 เท่ียวห�างสรรพสินค�า 38 38

14 คุยกับเพ่ือน 52 52

15 อ�านหนังสือพิมพ#/ข�าว 24 24

16 นอนหลับ 76 76

17 แต�งหนังสือ/นิยาย 16 16

18 Update block 9 9

19 ร�องคาราโอเกะ 17 17

20 เล�น games centre 11 11

จากตารางท่ี 5 แสดงให�เห็นว�านักเรียนมัธยมศึกษาป7ท่ี 5 ส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างในการทํากิจกรรมการฟRงเพลงมากท่ีสุด (78%) และใช�เวลาว�างในการนอนหลับเป9นอันดับสอง (76%) และกิจกรรมยามว�างดูโทรทัศน#เป9นอันดับสาม( 66%) และนักเรียนมัธยมศึกษาป7ท่ี 5 ส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างในการ update block น�อยเป9นอันดับหนึ่ง( 9 %) กิจกรรมเล�นgames centre และหารายได�เสริมน�อยเป9นอันดับสอง(11 %) และร�องคาราโอเกะเป9นอันดับสาม (17 %)

ตารางท่ี 6 ผลการวิเคราะห#ความถ่ีในการทํากิจกรรมยามว�าของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 5 ประจําป7การศึกษา 2556

ข�อท่ี รายการ ค�าเฉลี่ย

ค�าส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)

ระดับความพึงพอใจ

1 อ�านหนังสือ 2.55 2.06 ปานกลาง

2 ดูโทรทัศน# 2.61 2.12 ปานกลาง

3 ฟRงเพลง 3.31 2.00 ปานกลาง

4 วาดรูป 1.31 1.91 น�อยท่ีสุด

Page 34: รวม

5 เล�นกีฬา 0.87 1.61 น�อยท่ีสุด

6 เล�นดนตรี 1.01 1.78 น�อยท่ีสุด

7 เล�น social network 2.85 2.04 ปานกลาง

8 เล�นเกมคอมพิวเตอร# 1.84 1.99 น�อย

9 หารายได�เสริม 0.31 0.99 น�อยท่ีสุด

10 ทําการบ�าน 1.89 2.00 น�อย

11 ทํางานบ�าน/งานสวน 1.08 1.76 น�อยท่ีสุด

12 ดูภาพยนตร# 2.29 2.05 น�อย

13 เท่ียวห�างสรรพสินค�า 1.52 1.95 น�อย

14 คุยกับเพ่ือน 1.82 2.04 น�อย

15 อ�านหนังสือพิมพ#/ข�าว 0.84 1.61 น�อยท่ีสุด

16 นอนหลับ 3.01 2.03 ปานกลาง

17 แต�งหนังสือ/นิยาย 0.60 1.47 น�อยท่ีสุด

18 Update block 0.26 1.00 น�อยท่ีสุด

19 ร�องคาราโอเกะ 0.63 1.45 น�อยท่ีสุด

20 เล�น games centre 0.37 1.19 น�อยท่ีสุด

รวมเฉลี่ย 1.48 0.61 น�อยท่ีสุด

จากตารางท่ี 6 แสดงให�เห็นว�า นักเรียนมัธยมศึกษาป7ท่ี 5 ส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างอยู�ในระดับ “น�อยท่ีสุด” ( = 1.48) โดยกิจกรรมยามว�างการอ�านหนังสือ ดูโทรทัศน# ฟRงเพลง เล�น social network และนอนหลับ มีระดับความพึงพอใจในระดับ “ปานกลาง” กิจกรรมยามว�างการ เล�นเกมคอมพิวเตอร# ทําการบ�าน ดูภาพยนตร# เท่ียวห�างสรรพสินค�า คุยกับเพ่ือน มีระดับความพึงพอใจในระดับ “น�อย” กิจกรรมยามว�าง วาดรูป เล�นกีฬา เล�นดนตรี หารายได�เสริม ทํางานบ�านหรืองานสวน อ�านหนังสือพิมพ#หรือข�าว แต�งหนังสือหรือนิยาย Update block ร�องคาราโอเกะ และ เล�น games centre มีระดับความพึงพอใจในระดับ “น�อยท่ีสุด”

Page 35: รวม

ตารางท่ี 7 ผลการวิเคราะห#การทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 6 ประจําป7การศึกษา 2556

ข�อท่ี รายการ จํานวน ร�อยละ

1 อ�านหนังสือ 66 66

2 ดูโทรทัศน# 57 57

3 ฟRงเพลง 58 58

4 วาดรูป 28 28

5 เล�นกีฬา 33 33

6 เล�นดนตรี 20 20

7 เล�น social network 59 59

8 เล�นเกมคอมพิวเตอร# 45 45

9 หารายได�เสริม 14 14

10 ทําการบ�าน 40 40

11 ทํางานบ�าน/งานสวน 19 19

12 ดูภาพยนตร# 45 45

13 เท่ียวห�างสรรพสินค�า 34 34

Page 36: รวม

14 คุยกับเพ่ือน 46 46

15 อ�านหนังสือพิมพ#/ข�าว 24 24

16 นอนหลับ 67 67

17 แต�งหนังสือ/นิยาย 23 23

18 Update block 26 26

19 ร�องคาราโอเกะ 27 27

20 เล�น games centre 14 14

จาตารางท่ี 7 แสดงให�เห็นว�านักเรียนมัธยมศึกษาป7ท่ี 6 ส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างในการทํากิจกรรมการนอนหลับมากท่ีสุด (67 %) และใช�เวลาว�างในการอ�านหนังสือเป9นอันดับสอง (66 %) และกิจกรรมยามว�างฟRงเพลงเป9นอันดับสาม( 58 %) และนักเรียนมัธยมศึกษาป7ท่ี 6 ส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างในการ หารายได�เสริม และเล�นgames centre update block น�อยเป9นอันดับหนึ่ง( 14 %) กิจกรรมยามว�างทํางานบ�านหรืองานสวน น�อยเป9นอันดับสอง(19 %) และแต�งหนังสือหรือนิยายเป9นอันดับสาม (23 %)

ตารางท่ี 8 ผลการวิเคราะห#ความพึงพอใจในการทํากิจกรรมยามว�าของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 6 ประจําป7การศึกษา 2556

ข�อท่ี รายการ ค�าเฉลี่ย

ค�าส�วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)

ระดับความพึงพอใจ

1 อ�านหนังสือ 2.64 2.02 ปานกลาง

2 ดูโทรทัศน# 2.22 2.11 น�อย

3 ฟRงเพลง 2.97 2.05 ปานกลาง

4 วาดรูป 1.09 1.76 น�อยท่ีสุด

5 เล�นกีฬา 1.17 1.81 น�อยท่ีสุด

6 เล�นดนตรี 0.65 1.41 น�อยท่ีสุด

7 เล�น social network 2.62 2.24 ปานกลาง

Page 37: รวม

8 เล�นเกมคอมพิวเตอร# 1.78 1.96 น�อย

9 หารายได�เสริม 0.44 1.21 น�อยท่ีสุด

10 ทําการบ�าน 2.33 2.12 น�อย

11 ทํางานบ�าน/งานสวน 0.73 1.48 น�อยท่ีสุด

12 ดูภาพยนตร# 2.12 2.00 น�อย

13 เท่ียวห�างสรรพสินค�า 1.17 1.76 น�อยท่ีสุด

14 คุยกับเพ่ือน 1.81 2.07 น�อย

15 อ�านหนังสือพิมพ#/ข�าว 0.83 1.64 น�อยท่ีสุด

16 นอนหลับ 2.80 2.12 ปานกลาง

17 แต�งหนังสือ/นิยาย 0.90 1.73 น�อยท่ีสุด

18 Update block 0.52 1.25 น�อยท่ีสุด

19 ร�องคาราโอเกะ 0.86 1.61 น�อยท่ีสุด

20 เล�น games centre 0.42 1.21 น�อยท่ีสุด

รวมเฉลี่ย 1.44 0.52 น�อยท่ีสุด

จาตารางท่ี 8 แสดงให�เห็นว�า นักเรียนมัธยมศึกษาป7ท่ี 6 ส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างอยู�ในระดับ “น�อยท่ีสุด” ( = 1.44) โดยกิจกรรมยามว�างการอ�านหนังสือ ฟRงเพลง เล�น social network และนอนหลับ มีระดับความพึงพอใจในระดับ “ปานกลาง” กิจกรรมยามว�างการ ดูโทรทัศน# เล�นเกมคอมพิวเตอร# ทําการบ�าน ดูภาพยนตร# คุยกับเพ่ือน มีระดับความพึงพอใจในระดับ “น�อย” กิจกรรมยามว�าง วาดรูป เล�นกีฬา เล�นดนตรี หารายได�เสริม ทํางานบ�านหรืองานสวน เท่ียวห�างสรรพสินค�า อ�านหนังสือพิมพ#หรือข�าว แต�งหนังสือหรือนิยาย Update block ร�องคาราโอเกะ และ เล�น games centre มีระดับความพึงพอใจในระดับ “น�อยท่ีสุด”

บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข�อเสนอแนะ

รายงานผลการใช�เวลาว�างของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี สรุปการดําเนินการดังนี้ วัตถุประสงค�

Page 38: รวม

1. เพ่ือรายงานผลการสํารวจ การทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนหลังจากเลิกเรียนหรือมีเวลาว�างของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี 2. เพ่ือรายงานผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีต�อการทํากิจกรรมยามว�างของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

ประชากร ประชากรท่ีใช�ในการเก็บข�อมูลเพ่ือจัดทํารายงานฉบับนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2556

กลุ#มตัวอย#าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 4 จํานวน 100 คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 5 จํานวน 100 คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป7ท่ี 6 จํานวน 100 คน รวมท้ังหมดเป9นจํานวน 300 คน

เครื่องมือท่ีใช�ในการจัดเก็บข�อมูล เครื่องมือท่ีใช�ในการจัดเก็บข�อมูลเพ่ือรายงานผลการสํารวจนี้ คือ แบบสํารวจการใช�เวลาว�างของนักเรียนมัธยมปลาย เป9นแบบเลือกตอบ

ระยะเวลาในการดําเนินงาน ใช�เวลาการดําเนินการจัดทําภายในป7การศึกษา 2556

วิธีการดําเนินงาน ระยะท่ี 1

1.ประชุมวางแผนเลือกหัวหน�ากลุ�มและรองหัวหน�ากลุ�ม วันท่ี 18 พ.ค. 56

2.จัดต้ังคณะกรรมการดําเนินงาน 3. กําหนดหัวข�อ 4. กําหนดแนวทางการดําเนินงาน

ดังนี้ นางสาวนนทนี ไพรสนธิ์ (ประธาน)

นางสาวณัฐธยาน# วงศ#มหทรัพย# (รองประธาน)

นางสาวสุจิตราภา เศษนอก (เลขา)

นางสาวปริญญาพร สอดจันทร# (สมาชิก)

Page 39: รวม

นางสาวศศิธร สอนสิทธิ์ (สมาชิก)

4.ศึกษาข�อมูลงานวิจัย จากแหล�งต�างๆและกําหนดกลุ�มตัวอย�างโดยใช�กลุ�มตัวอย�างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2556 จํานวน 300 คน โดยใช�ระยะเวลาหนึ่งสัปดาห# 19-25 พ.ค. 56

เม่ือได�หัวข�อและกลุ�มตัวอย�างท่ีแน�นอนจึงเริ่มการปฏิบัติงานโดยมอบหมายงานให�สมาชิก ระยะท่ี 2

1. ดําเนินการตามแผนท่ีกําหนด

2. วิเคราะห#ข�อมูล (ข้ันตอนการดําเนินงานของการสํารวจกิจกรรมนันทนาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ป7การศึกษา 2556 จํานวน 300 คน)

ระยะท่ี 3

1.ให�ผู�เชี่ยวชาญตรวจสอบรายงานการสํารวจ

2. ปรับปรุงข้ันตอนของกิจกรรมตามผลการประเมินตามข้ันตอนท่ี 2

ระยะท่ี 4

1. จัดทํางานวิจัยการสํารวจความคิดเห็นจํานวน 300 แผ�น

2. เผยแพร�ประชาสัมพันธ#

สรุปผลการประเมิน

จากการวิเคราะห#ข�อมูลโดยละเอียดจากบทท่ี 4 สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ 1. ผลการศึกษาการใช�เวลาว�างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

ปะจําป7การศึกษา 2556 นักเรียนใช�เวลาว�างในการฟRงเพลงมากท่ีสุด (72 %) และใช�เวลาว�างในการเล�น และใช�เวลาว�างในการเล�น games centre และ update block น�อยท่ีสุด( 12.33 %) 2. ผลการใช�เวลาว�างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ประจําป7การศึกษา 2556 ระดับความพึงพอใจ ส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างอยู�ในระดับน�อย อภิปรายผล

นักเรียนชั้นมัธยมปลายส�วนใหญ�มีการใช�เวลาว�างในการฟRงเพลงมากท่ีสุดและใช�เวลาว�างในการเล�น games centre และ update block น�อยท่ีสุด ซ่ึงสอดคล�องกับงานวิจัยของ (นฤพนธ# ด�วงวิเศษ,2556)โดยนฤพนธ# ด�วงวิเศษได�พูดถึงเรื่องเวลาว�างและการพักผ�อนหย�อนใจ ทําให�งานวิจัยชิ้นนี้สอดคล�องกับงานวิจัยของนฤพนธ# ด�วงวิเศษ

Page 40: รวม

สาเหตุท่ีนักเรียนส�วนใหญ�ใช�เวลาว�างในการฟRงเพลงมากท่ีสุดเพราะเป9นกิจกรรมท่ีทําได�ง�าย อีกท้ังยังช�วยผ�อนคลายอารมณ#จากความเครียด ใช�เวลาไม�มากและสามารถทํากิจกรรมอ่ืนร�วมไปด�วยได� เช�น การทําการบ�าน ทํางานบ�าน เป9นต�น สําหรับการเล�น game center และ update block ท่ีได�คะแนนน�อยเนื่องจากนักเรียนมีระยะเวลาจํากัดในการเข�าไปเล�นเกม ภายใน game center ท้ังยังต�องเสียเงินจากการเล�นเกมด�วยทําให�นักเรียนซ่ึงส�วนมากยังไม�มีรายได�ไม�สามารถเขาไปเล�นเกมได�บ�อยครั้งนัก และการ update block เนื่องจากภายในโลก social network ของไทยยังไม�เปbดโอกาสให�เด็กไทยแสดงความคิดเห็นผ�าน block ต�างๆมากนัก ท้ังยังไม�ค�อยมีคนให�ความสนใจข�อมูลภายใน block นั้น ทําให�ไม�มีนักเรียนสนใจ update block มากเท�าไหร�นัก ข�อเสนอแนะ 1. ควรจัดทําการสํารวจนักเรียนในระดับชั้นให�ครบทุกคนในแต�ละห�อง

2. ควรนําผลการสํารวจนี้ไปต�อยอดเพ่ือเป9นแนวทางในการทํากิจกรรมยามว�างท่ีมีประโยชน#และสร�างสรรค#ต�อไป

ภาคผนวก

Page 41: รวม

ภาคผนวก ก

Page 42: รวม

แบบสํารวจการใช�เวลาว#างของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

คําช้ีแจง : เขียนเครื่องหมายถูก � ลงใน �

ตอนท่ี 1 ข�อมูลสถานภาพท่ัวไป

เพศ �หญิง �ชาย

อายุ �15 ป7 �16 ป7 �17 ป7 �18 ป7

ช้ัน ����ม.4 �ม.5 �ม.6

ตอนท่ี 2

2.1 คําช้ีแจง: ข�อมูลเก่ียวกับการใช�เวลาว�าง (เลือกได�มากกว�า 1 ข�อ)

�อ�านหนังสือ �เล�นเกมคอมพิวเตอร# ����อ�านหนังสือพิมพ#/ข�าว

�ดูโทรทัศน# �หารายได�เสริม �นอนหลับ

�ฟRงเพลง �ทําการบ�าน �แต�งหนังสือ/นิยาย

�วาดรูป �ทํางานบ�าน/งานสวน �update block

�เล�นกีฬา �ดูหนัง �ร�องคาราโอเกะ

Page 43: รวม

�เล�นดนตรี �เท่ียวห�างสรรพสินค�า �เล�น game centre

�เล�น social network �คุยกับเพ่ือน � อ่ืนๆ.......................(ระบุ)

2.2 คําช้ีแจง: เลือกความถ่ีในการใช�เวลาว�างของท�านต�อกิจกรรมต�างๆ(ตามหัวข�อ 2.1)

ระดับความพึงพอใจ

ข�อ รายการ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น�อย น�อยท่ีสุด

1 อ�านหนังสือ

2 ดูโทรทัศน#

3 ฟRงเพลง

4 วาดรูป

5 เล�นกีฬา

6 เล�นดนตรี

7 เล�น social network

8 เล�นเกมคอมพิวเตอร#

9 หารายได�เสริม

10 ทําการบ�าน

11 ทํางานบ�าน/งานสวน

12 ดูหนัง

13 เท่ียวห�างสรรพสินค�า

14 คุยกับเพ่ือน

15 อ�านหนังสือพิมพ#/ข�าว

16 นอนหลับ

Page 44: รวม

17 แต�งหนังสือ/นิยาย

18 Update block

19 ร�องคาราโอเกะ

20 เล�น games centre

21 อ่ืนๆ................................(ระบุ)

ข�อเสนอแนะ

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................

ขอขอบคุณผู�ทําแบบสํารวจทุกท�าน

คณะผู�จัดทํา

Page 45: รวม

ภาคผนวก ข

Page 46: รวม
Page 47: รวม
Page 48: รวม

บรรณานุกรม

ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมาร.(วันท่ี 31 กรกฎาคม 2551 ).เลี้ยงลูกอย�างไรให�มี EQ ดี.สืบค�นเม่ือ 1 มิถุนายน 2556, จากhttp://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx? NewsI=9510000089690 ภาวิณี วรประดิษฐ.วันท่ี 6 ธันวาคม 2555.ความเครียดและการจัดการกับความเครียด.สืบค�นเม่ือ 1 มิถุนายน 2556, จาก http://trat.nfe.go.th/trat/topic5_old.php?page=8 หอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม�. วันท่ี 4 กรกฎาคม 2550.สารสัมพันธ#ประกันคุณภาพชีวิต.สืบค�นเม่ือ 1 มิถุนายน 2556, จาก http://library.cmu.ac.th/web/qa/qa6450.html สํานักงานเกษตรอําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา. วันท่ี 28 มกราคม 2548.การพัฒนาและควบคุมอารมณ# (E.Q.).สืบค�นเม่ือ 1 มิถุนายน 2556, จาก http://nonsung.khorat.doae.go. Th/data_6_2_2.html วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. วันท่ี 10 มีนาคม 2556.นันทนาการ.สืบค�นเม่ือ 1 มิถุนายน 2556, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0% B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3 รศ. ดร. ภญ. ศรีจันทร# พรจิราศิลป�.วันท่ี 3 เมษายน 2554.ความเครียด และวิธีแก�ความเครียด.สืบค�นเม่ือ 1 มิถุนายน 2556, จาก http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/thai/knowledgeinfo.php?id=47 มานพ ชนูลพิสมัย รักจรรยา และ ชวนีย#พงศาพิชณ.วันท่ี 2 ธันวาคม 2550.วิธีการจัดการความเครียดของ นักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าพระนครเหนือ.สบืค�นเม่ือ 1 มิถุนายน 2556, จาก http://j.cit.kmutnb.ac.th/wpcontent/uploads/2011/07/%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0 %B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%883%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8% 9A%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%886%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E 0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8 %B1%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2% E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%885%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B 9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-42-51.pdf นิติ ฮีมมัล.วันท่ี 12 กรกฎาคม 2552.กิจกรรมนันทนาการ.สืบค�นเม่ือ 1 มิถุนายน 2556, จาก http://www.gotoknow.org/posts/281190 Green Recreation.วันท่ี 2 มีนาคม 2553.นันทนาการ.สืบค�นเม่ือ 1 มิถุนายน 2556, จาก http://thailand- recreation-club.blogspot.com/2010/03/blog-post_31.html กระทรวงการท�องเท่ียวและกีฬา สนามกีฬาแห�งชาติ .วันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553.ความหมายของกิจกรรม นันทนาการ.สืบค�นเม่ือ 1 มิถุนายน 2556, จาก http://www.dpe.go.th/ recreation/

Page 49: รวม