การวิเคราะห งบการเงินของ...

152
การวิเคราะหงบการเงินของบริษัทจัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน โดย นางสาวกนกวรรณ พงศชัยประสิทธิสารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ.2557

Upload: others

Post on 08-Jan-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

การวิเคราะหงบการเงินของบริษัทจัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน

โดยนางสาวกนกวรรณ พงศชัยประสิทธิ์

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ.2557

Page 2: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

Financial Statement Analysis of Jasmine International Public Company Limited and its Subsidiaries Compared with Businesses

in the same Industrial Sector

ByMiss Kanokwan Phongchaiprasit

A Study Report Submitted in Partial Fulfillment of the Requirement for Master Degree of Business Administration

KRIRK UNIVERSITY2014

Page 3: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

การวิเคราะหงบการเงินของบริษัทจัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน

โดยนางสาวกนกวรรณ พงศชัยประสิทธิ์

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ.2557

Page 4: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

หัวขอสารนิพนธ การวิเคราะหงบการเงินของบริษัทจัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน

ชื่อผูวิจัย นางสาวกนกวรรณ พงศชัยประสิทธิ์คณะ/มหาวิทยาลัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ธมกร ธาราศรีสุทธิปการศึกษา 2556

บทคัดยอ การวิจัยเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัทจัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน)

และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน มีวัตถุประสงค เพื่อวิเคราะหและเปรียบเทียบงบการเงินของบริษัทฯ กับบริษัทตางๆในกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยศึกษาถึงสภาพคลอง ประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย ความสามารถในการบริหารหนี้สิน ความสามารถในการทํากําไร และมูลคาของตลาด รวมถึงความสามารถในการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยทําการเก็บรวบรวมขอมูล จากรายงานประจําป และงบการเงินทําการวิเคราะห ใชเครื่องมือทางการเงิน วิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน และการวิเคราะหแนวโนม

ผลการวิเคราะหงบการเงินของบริษัทฯ ดานสภาพคลองมีนอยกวากลุมอุตสาหกรรม ดานประสิทธิภาพในการจัดการเกี่ยวกับสินคาคงเหลือดีขึ้น ดานการหมุนเวียนของลูกหนี้คอนขางลาชา ดานการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวรมีคาต่ําเนื่องจากมีการลงทุนขยายโครงขายเพื่อรองรับการใหบริการธุรกิจอินเตอรเน็ต ดานประสิทธิภาพในการบริหารหนี้สิน มีโครงสรางเงินลงทุนสวนใหญมาจากสวนของหนี้สิน แตก็มีแนวโนมที่ลดลงและความสามารถในการจายดอกเบี้ยอยูในระดับที่เพิ่มขึ้น ดานประสิทธิภาพในการทํากําไร มีแนวโนมดีขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งสูงกวากลุมอุตสาหกรรม และ มีอัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิสูงสุดในกลุมอุตสาหกรรมเดียวกันเนื่องจากผูลงทุนเต็มใจซื้อหุนในราคาที่สูงและเมื่อวิเคราะห ภาพรวมจากผลประกอบการทั้ง 5 ป มีแนวโนมการทํากําไรเพิ่มขึ้นทุกป ผลการวิจัยสรุปไดวาหุนของบริษัทฯ มีความนาสนใจที่จะลงทุนเนื่องจากเปนหุนที่ดีหุนหนึ่ง

คําสําคัญ : การวิเคราะหงบการเงิน, การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน, การวิเคราะหแนวโนม

(1)

Page 5: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธเรื่อง การวิเคราะหงบการเงินของบริษัทจัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย ธมกร ธาราศรีสุทธิ และรองศาสตราจารย ดร.วิไลลักษณ รัตนเพียรธัมมะ ที่อนุเคราะหใหคําปรึกษาแนะนําแนวทาง แสดงความคิดเห็นที่มีคุณคา ตลอดจนตรวจสอบและแกไขขอผิดพลาดและชวยเหลือในดานตางๆ ซึ่งชวยใหงานวิจัยนี้มีความถูกตองสมบูรณ

ขอกราบขอบพระคุณคณาจารยและอาจารยพิเศษ โครงการปริญญาโท ที่ไดประสิทธิประสาทความรูตลอดการศึกษาในหลักสูตร นอกจากนี้ขอขอบคุณเพื่อนรวมรุน MBA ทุกคนที่ไดรวมทุกขรวมสุขกันเปนเวลา 2 ป

สุดทายนี้ ขอขอบพระคุณมารดา พี่สาว นองสาวและผูอุปการคุณที่ใหการดูแลใหความรักความหวงใย และเปนกําลังใจที่สําคัญใหกับผูวิจัยเสมอมา ตลอดจนเปนแรงผลักดันใหงานวิจัยสําเร็จไปไดดวยดี ทั้งนี้ หากสารนิพนธฉบับนี้มีขอผิดพลาดประการใด ผูวิจัยกราบขออภัยมา ณ ที่นี้

กนกวรรณ พงศชัยประสิทธิ์ พ.ศ. 2557

(2)

Page 6: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

สารบัญหนา

บทคัดยอ (1)กิตติกรรมประกาศ (2)สารบัญตาราง (5)สารบัญแผนภาพ (6)

บทที่1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 31.3 ขอบเขตของการวิจัย 41.4 วิธีการศึกษา 41.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 61.6 นิยามศัพทที่เกี่ยวของ 6

2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 82.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับงบการเงิน 82.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิเคราะหงบการเงิน 182.3 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 282.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 442.5 กรอบแนวคิดการวิจัย2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

4747

3 ผลการวิเคราะห 503.1 การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน 553.2 การวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนม 72

(3)

Page 7: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

สารบัญ (ตอ)หนา

บทที่

4 สรุปและขอเสนอแนะ 824.1 สรุปผลการวิจัย 824.2 การอภิปรายผล 884.3 ขอเสนอแนะ 97

บรรณานุกรม 100ภาคผนวก 104ประวัติผูวิจัย 140

(4)

Page 8: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

สารบัญตารางตาราง หนา

3.1 อัตราสวนทางการเงินของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด(มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” 52

3.2 อัตราสวนทางการเงินของกลุม 2 ตามลักษณะของธุรกิจหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 53

3.3 อัตราสวนทางการเงินของกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 54

3.4 งบแสดงฐานะการเงิน (โดยยอ) ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนลจํากัด (มหาชน)และบริษัทยอย ป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 โดยใชป พ.ศ.2550 เปนปฐาน 72

3.5 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตามแนวนอนหรือแนวโนมของงบแสดงฐานะการเงิน โดยใชป พ.ศ.2500 เปนปฐาน 73

3.6 งบกําไรขาดทุน(โดยยอ) ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด(มหาชน) และบริษัทยอย ป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 โดยใชป พ.ศ.2550 เปนปฐาน 77

3.7 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตามแนวนอนหรือแนวโนมของงบกําไรขาดทุน โดยใชป พ.ศ.2550 เปนปฐาน 78

(5)

Page 9: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

สารบัญแผนภาพแผนภาพ หนา

2.1 การเปลี่ยนแปลงชื่อในงบการเงิน 102.2 โครงสรางการกํากับดูแลตลาดทุน 302.3 โครงสรางการจัดกลุมอุตสาหกรรม 322.4 โครงสรางและนิยามกลุมอุตสาหกรรม 8 กลุมและหมวดธุรกิจ

27 หมวด 342.5 หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามลักษณะธุรกิจ 412.6 โครงสรางกลุมธุรกิจของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

(มหาชน) และบริษัทยอย49

3.1 กราฟแสดงถึงอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท เปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 55

3.2 กราฟแสดงถึงอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็วของบริษัท เปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 56

3.3 กราฟแสดงถึงอัตราสวนการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 57

3.4 กราฟแสดงถึงอัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้ ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 58

3.5 กราฟแสดงถึงระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 59

3.6 กราฟแสดงถึงอัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 60

(6)

Page 10: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

สารบัญแผนภาพ (ตอ)แผนภาพ หนา3.7 กราฟแสดงถึงอัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม ของบริษัท

เปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 61

3.8 กราฟแสดงถึงอัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 62

3.9 กราฟแสดงถึงอัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 63

3.10 กราฟแสดงถึงอัตราสวนกําไรตอดอกเบี้ยจาย หรือความสามารถในการจายดอกเบี้ยของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 64

3.11 กราฟแสดงถึงอัตราสวนกําไรสุทธิ ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 65

3.12 กราฟแสดงถึงอัตราสวนกําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพยของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 66

3.13 กราฟแสดงถึงอัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 67

3.14 กราฟแสดงถึงอัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของเจาของ ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 68

(7)

Page 11: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

สารบัญแผนภาพ (ตอ)แผนภาพ หนา3.15 กราฟแสดงถึงอัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิ ของบริษัทแปรียบเทียบ

กับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 69

3.16 กราฟแสดงถึงอัตราสวนราคาตลาดตอกระแสเงินสด ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 70

3.17 กราฟแสดงถึงอัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชี ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 71

3.18 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตามแนวนอนหรือแนวโนม ของงบแสดงฐานะการเงิน : สินทรัพย โดยใชป พ.ศ. 2550 เปนปฐาน 74

3.19 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตามแนวนอนหรือแนวโนม ของงบแสดงฐานะการเงิน : หนี้สินและสวนของเจาของ โดยใชป พ.ศ. 2550 เปนปฐาน 75

3.20 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตามแนวนอนหรือแนวโนม ของงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ โดยใชป พ.ศ. 2550 เปนปฐาน 79

(8)

Page 12: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ปจจุบันกระแสความตองการทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) นับวันยิ่งมีความสําคัญมากขึ้นอยางตอเนื่องในการติดตอทุกชองทาง การสรางโอกาสการเรียนรู และการเขาถึงขอมูลตางๆ รวมถึงเทคโนโลยีสนเทศและการสื่อสารมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยางไมมีที่สิ้นสุด จึงเปนสิ่งสําคัญสําหรับการติดตอธุรกิจเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ชวยใหผูบริหารมีขอมูลและนําไปใชประโยชนในการบริหารองคการในประเด็นตางๆ เพื่อใหเกิดวิสัยทัศนและสรางโอกาสในการประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุดสําหรับองคการนั้นๆ

ประเทศไทยใหความสําคัญตอการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตามลําดับ จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540 – 2544) จนถึงปจจุบันฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) รวมทั้งการมีแผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ตอเนื่อง โดยมีรายละเอียดดังนี ้(ศูนยเทคโนโยลีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาต.ิ 2543: 12)

1. นโยบาย IT (นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ พ.ศ. 2539 – 2543) มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและทรัพยากรมนุษย

2. กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ.2544 – 2553 ของประเทศไทย (IT 2010) มีเปาหมายหลัก 3 ประการคือ

2.1 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศใหมีความพรอมในศักยภาพที่จะเปนผูนําดานเทคโนโลยีสารสนเทศได

2.2 เพิ่มจํานวนแรงงานที่มีความรูในประเทศ2.3 สงเสริมใหมีการจัดตั้งอุตสาหกรรมฐานความรูในประเทศ

3. กอตั้งกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขึ้น เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 โดยมีเปาหมายหลักเพื่อการวางแผนสงเสริมพัฒนา และดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Page 13: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

2

4. แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ.2545 -2549 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ ที่มีนายกรัฐมนตรีเปนประธานเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2544 และจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2545 แผนแมบทฉบับนี้ มีเปาหมายหลักดังนี้ (ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ.2552:4)

4.1 พัฒนาและยกระดับเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยใช ICT4.2 ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ICT ของประเทศ4.3 พัฒนาทรัพยากรมนุษยโดยเพิ่มการประยุกตใช ICT ในดานการศึกษาและการ

ฝกอบรม4.4 สรางความเขมแข็งของชุมชนในชนบทเพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน

5. แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 ไดรับความเห็นชอบตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2552 มีเปาหมายหลักดังนี้ (ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ. 2552:8-9)

5.1 ประชาชนไมนอยกวารอยละ 50 ของประชากรทั้งประเทศมีความรอบรูสามารถเขาถึง สรางสรรคและใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณรูเทาทัน มีคุณธรรมและจริยธรรม (Information Literacy) กอเกิดประโยชนตอการเรียนรู การทํางานและการดํารงชีวิตประจําวัน

5.2 ยกระดับความพรอมทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศโดยใหอยูในกลุมประเทศที่มีระดับการพัฒนาสูงสุด 25% ของประเทศที่มีการจัดลําดับใน Networked Readiness Index

5.3 เพิ่มบทบาทและความสําคัญของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในระบบเศรษฐกิจของประเทศโดยมีสัดสวนมูลคาเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT ตอ GDP ไมนอยกวารอยละ 15

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปนหนึ่งในบริษัท ที่ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารครบวงจร ทั้งในประเทศและระหวางประเทศ ดําเนินธุรกิจใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (Broadband Business) โดยใหบริการวงจรเชื่อมตอความเร็วสูง ใหบริการโครงขายดิจิตอล ใหบริการอินเทอรเน็ตและแอพพลิเคชั่นตางๆรวมทั้งใหบริการวายฟาย (Wi-Fi) ทั่วประเทศ ใหบริการโครงขายโทรคมนาคม (Telecom Network & Service Provider Business) โดยใหบริการโครงขายเคเบิ้ลใยแกวนําแสงใตน้ําในฝงทะเลดานตะวันออกและตะวันตก ใหบริการวงจรเชา เพื่อรับสงขอมูลภายในประเทศและระหวางประเทศ

Page 14: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

3

ใหบริการ International Internet Gateway ใหบริการสื่อสารผานดาวเทียม นอกจากนี้ยังทําธุรกิจเกี่ยวกับงานจัดหา ออกแบบ และวางระบบสื่อสารและโทรคมนาคม (System Integration) โดยเปนผูดําเนินการดานการจัดหาออกแบบวางระบบดานระบบสื่อสารและโทรคมนาคม จําหนายระบบคอมพิวเตอรและอุปกรณที่เกี่ยวของกับระบบสื่อสาร

บริษัทฯ ยังจดทะเบียนอยูในตลาดหลักทรัพยของประเทศไทย ซึ่งจากสภาวะการแขงขันทางการคา เพื่อเพิ่มสวนแบงทางการตลาดในกลุมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงจําเปนตองใหความสนใจในการใชขอมูลหลายๆ ดาน เพื่อใชประกอบการตัดสินใจและวางแผนกลยุทธ ซึ่งหนึ่งในเครื่องมือที่ผูบริหารสามารถเรียกใชไดงายและมีขอมูลใกลเคียงความจริงมากที่สุด คือ งบการเงิน ถึงแมวาตัวเลขที่ไดจากงบการเงินนั้นจะใหขอมูลที่เปนอดีตแตก็ยังเต็มไปดวยขอมูลที่เปนประโยชนในเชิงลึก และเปนแหลงขอมูลที่ไดจากภายในกิจการที่สําคัญแหลงหนึ่งอีกดวย โดยงบการเงินจะแสดงขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงินของกิจการ ที่เปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

นอกจากนี้ การที่ประเทศไทยจะตองเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาซียน (ASEAN EconomicCommunity : AEC) ในป พ.ศ.2558 และเพื่อใหขอมูลทางการบัญชีและการเงินเปนไปอยางสากล เหมาะสําหรับผูที่ตองการลงทุนในตลาดหลักทรัพยของประเทศไทย จึงมีการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานรายงานทางการเงินระหวางประเทศ สําหรับในการวิเคราะหงบการเงินที่สามารถเปรียบเทียบกันได

ผูวิจัยซึ่งปฏิบัติงานอยูในบริษัทในเครือกลุมจัสมินกรุป จึงมีความสนใจที่จะวิจัยเกี่ยวกับการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงินจากงบการเงินที่ผานมาของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เพื่อดูประสิทธิภาพและความสามารถในการดําเนินงานรวมถึงแนวโนมการเติบโตในอนาคตของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยโดยเปรียบเทียบกับงบการเงินของบริษัทตางๆในกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่จดทะเบียนอยูในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพื่อประโยชนในการตัดสินใจลงทุน รวมถึงนําขอมูลที่ไดรับไปใชเปนแนวทางในการวางแผนกลยุทธ ควบคุมการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกร

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อวิเคราะหและเปรียบเทียบงบการเงินของ บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

(มหาชน) และบริษัทยอย กับบริษัทตางๆในกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยี

Page 15: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

4

สารสนเทศและการสื่อสาร โดยศึกษาถึงสภาพคลอง ประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย ความสามารถในการบริหารหนี้สิน ความสามารถในการทํากําไร และมูลคาของตลาด รวมถึงความสามารถในการดําเนินงานของบริษัทฯ

1.3 ขอบเขตของการวิจัย1. ขอบเขตเนื้อหา ผูวิจัยศึกษาเฉพาะงบการเงินของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

(มหาชน) และบริษัทยอย และงบการเงินของบริษัทในกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในชวงระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ.2551- ป พ.ศ.2555 โดยทําการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงินและการวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนม (Horizontal Analysis or Trend Analysis) ของบริษัท

2. ขอบเขตดานเวลา ระยะเวลาที่ทําการศึกษา เริ่มตั้งแตเดือนกันยายน 2556 ถึงเดือน มกราคม 2557

1.4 วิธีการศึกษาการวิเคราะหงบการเงิน ของกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสาร กรณีศึกษา บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ในชวงระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ.2551 - ป พ.ศ.2555 นั้น ในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปริมาณ แบงออกเปน 2 สวน

1. การเก็บรวมรวมขอมูล2. การวิเคราะหขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูลทางการเงินในครั้งนี้ ทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูล

ทุติยภูมิ (Secondary Data) โดยรวบรวมจากรายงานประจําป งบการเงิน และแบบ 56-1 ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ในชวงระยะเวลาระหวางป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (www.set.or.th : วันที่สืบคน 8 กันยายน 2556)

การวิเคราะหขอมูลการวิเคราะหขอมูลในงบการเงิน เกี่ยวกับฐานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน รวมถึงการ

เปลี่ยนแปลงในแตละปของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

Page 16: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

5

เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ในชวงระยะเวลาตั้งแต ปพ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 ใชเครื่องมือในการวิเคราะห มีดังนี้

1. การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio Analysis)1.1 อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratios)

1.1.1 อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio)1.1.2 อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio หรือ Acid Test)

1.2 อัตราสวนประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย (Activity Ratios)1.2.1 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ (Inventory Turnover)1.2.2 อัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้ (Account Receivable Turnover)1.2.3 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection Period)1.2.4 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร (Total Fixed Assets

Turnover)1.2.5 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม (Total Assets Turnover)

1.3 อัตราสวนความสามารถในการบริหารหนี้สิน ( Leverage Ratios)1.3.1 อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย (Debt to Total Assets Ratio)1.3.2 อัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ (Debt to Equity Raito)1.3.3 อัตราสวนกําไรตอดอกเบี้ยจาย (Time Interest Earned) หรืออัตราสวน

ความสามารถในการจายดอกเบี้ย (Interest Coverage Ratio)1.4 อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร (Profitability Ratios)

1.4.1 อัตราสวนกําไรสุทธิ (Net Profit Margin)1.4.2 อัตราสวนกําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย (Earning Power)1.4.3 อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม (Return on Asset –ROA)1.4.4 อัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (Return on Equity ROE)

1.5 อัตราสวนมูลคาตลาด (Market Value Ratios)1.5.1 อัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิ (Price/Earning Ratio)1.5.2 อัตราสวนราคาตลาดตอกระแสเงินสด (Market/Cash Flow Ratio)1.5.3 อัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชี (Market/Book Ratio)

2. การวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนม (Horizontal Analysis or Trend Analysis)

Page 17: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

6

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. ทําใหผูลงทุนมีขอมูลผลการวิเคราะหฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของ บริษัท

จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย2. เปนขอมูลใหผูบริหารของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) ใชเปน

แนวทางในการวางแผนกลยุทธ ควบคุมการปฎิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกร3. เปนแนวทางในการศึกษาวิเคราะหงบการเงินของบริษัทอื่นๆ ตอไป

1.6 นิยามศัพทที่เกี่ยวของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หมายถึง ตลาดหลักทรัพยของประเทศไทยจัดตั้งขึ้นโดย

พระราชบัญญัติตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ. 2517 อยูภายใตการกํากับดูแลโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) เปดทําการซื้อขายขึ้นอยางเปนทางการครั้งแรกในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2518 ทําหนาที่เปนตลาดรองเพื่อแลกเปลี่ยนซื้อขายตราสารทุนของบริษัทตางๆที่ขึ้นทะเบียนไว และสงเสริมการออมเพื่อใหสามารถระดมเงินทุนเพิ่มเติมจากสาธารณะได สําหรับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และเปนศูนยกลางในการซื้อขายหลักทรัพยและใหบริการที่เกี่ยวของโดยไมนําผลกําไรมาแบงปนกัน สนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในการเปนเจาของกิจการธุรกิจและอุตสาหกรรมภายในประเทศ โดยสะดวกปจจุบันการดําเนินงานของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อยูภายใตพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 การดําเนินงานหลักไดแก การรับหลักทรัพยจดทะเบียนและดูแลการเปดเผยขอมูลของบริษัทจดทะเบียน การซื้อขายหลักทรัพยและการกํากับดูแลการซื้อขายหลักทรัพย การกํากับดูแลบริษัทสมาชิกสวนที่เกี่ยวของกับการซื้อขายหลักทรัพย ตลอดจนถึงการเผยแพรขอมูลและการสงเสริมความรูใหแกผูลงทุน

งบการเงิน หมายถึง รายงานทางการเงินเพื่อนําเสนอฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของกิจการอยางมีแบบแผน ประกอบดวยงบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน และหมายเหตุประกอบงบการเงินของกิจการ เพื่อใหขอมูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงิน ผลการดําเนินงานและการเปลี่ยนแปลงฐานะของกิจการ อันเปนประโยชนตอผูใชงบการเงินหลายกลุมในการนําไปใชตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ

งบแสดงฐานะการเงิน หมายถึง รายงานทางการเงินที่กิจการจัดทําขึ้น เพื่อแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง ประกอบดวยรายการประเภทสินทรัพย หนี้สิน และทุน

Page 18: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

7

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ หมายถึง รายงานทางการเงินที่กิจการจัดทําขึ้น เพื่อแสดงผลการดําเนินงานของกิจการสําหรับงวดเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจเปนรายเดือน สามเดือน หรือหกเดือน แตโดยปกติจะเปนหนึ่งป ประกอบดวยรายการประเภทรายไดและคาใชจาย

อัตราสวนทางการเงิน หมายถึง การนําขอมูลทางการเงินจากงบการเงินที่มีความสัมพันธหรือเกี่ยวของกันตั้งแต 2 รายการขึ้นไปมาเปรียบเทียบกันในรูปอัตราสวน เพื่อแสดงใหเห็นสภาพทางการเงินในลักษณะตางๆ ของธุรกิจ ถือเปนเครื่องมือทางการเงินอยางหนึ่งที่ใชในการวิเคราะหรายงานทางการเงิน

การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน หมายถึง การวิเคราะหใน 3 ลักษณะ คือ1. การวิเคราะหสถานะทางการเงินของบริษัท2. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานของบริษัทกับบริษัทอื่นๆ ที่อยูในอุตสาหกรรมเดียวกัน 3. การประเมินแนวโนมของสถานะทางการเงินของบริษัท จากขอมูลในอดีตที่ผานมา

Page 19: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

บทที่ 2แนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ

การวิจัยเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัทจัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ในชวงระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ.2551 - ป พ.ศ.2555 ในครั้งนี้ ผูวิจัยไดใชแนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการวิจัยมาเปนแนวทางสําหรับการวิเคราะหใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการวิจัย

2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับงบการเงิน2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิเคราะหงบการเงิน2.3 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ2.5 กรอบแนวคิด2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับงบการเงิน2.1.1 ความหมายของงบการเงิน

จากการคนควาเอกสารที่เกี่ยวของ มีนักวิชาการใหความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับงบการเงิน พอสรุปไดดังนี้

งบการเงิน หมายถึง รายงานทางการเงิน เพื่อนําเสนอฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดของกิจการ ประกอบดวยงบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน และหมายเหตุประกอบงบการเงินของกิจการโดยฝายผูบริหาร (ขุมทรัพย,2554:2, พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543,2543:2, ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย,2545:5, สภาวิชาวิชาชีพการบัญชี, 2552:12, เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค,2554:34, เยาวรักษ สุขวิบูลย,2556:1-15) ซึ่งจัดทําขึ้นตามมาตรฐานรายงานทางการเงินอยางนอยปละครั้ง เพื่อทบทวนหรือรายงานความกาวหนาที่เปลี่ยนแปลงระหวางชวงเวลาหนึ่ง (เพชรี ขุมทรัพย,2554:2, ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย,2545:5, สภาวิชาวิชาชีพการบัญชี, 2552:18, เยาวรักษ สุขวิบูลย,2556:1-16)

จากความหมายที่กลาวมาทั้งหมดขางตนผูวิจัยสรุปไดวา งบการเงินหมาย ถึง รายงานทางการเงินเพื่อนําเสนอฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของกิจการอยางมีแบบแผน ประกอบดวยงบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกระแสเงินสด งบแสดงการ

Page 20: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

9

เปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน และหมายเหตุประกอบงบการเงินของกิจการ โดยฝายผูบริหารซึ่งจัดทําขึ้นตามมาตรฐานรายงานทางการเงินอยางนอยปละครั้ง เพื่อใหขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดของกิจการ

2.1.1.1 มาตรฐานรายงานทางการเงินมาตรฐานรายงานทางการเงิน หมายถึง มาตรฐานและการตีความที่ออกโดย

คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชี ซึ่งประกอบดวยมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (International Financial Reporting Standards) หรือ IFRS มาตรฐานการบัญชี (International Accounting Standards) หรือ IAS การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (The IFRS Interpretations Committee) หรือ IFRIC และการตีความมาตรฐานการบัญชี (The Standing Interpretations Committee) หรือ SIC เพื่อใหการจัดทําบัญชีและงบการเงินเปนไปในแนวทางเดียวกัน (สภาวิชาชีพการบัญชี ประกาศภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 8/2549 เรื่องแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทําบัญชีและงบการเงินของผูมีหนาที่จัดทําบัญชีและผูประกอบวิชาชีพบัญชี, เยาวรักษ สุขวิบูลย 2556 : 2-5)

2.1.1.2 การเปลี่ยนแปลงชื่อในงบการเงิน เพื่อใหเปนมาตรฐานรายงานทางการเงินแบบเดียวกับตางประเทศ จึงมีการ

เปลี่ยนแปลงชื่อในงบการเงิน จากงบดุล (Balance Sheet) เปนงบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position) จากงบกําไรขาดทุน (Income Statement) เปนงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (Statement of Comprehensive Income) จากงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน (Statements of changes in shareholders’ equity) เปนงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ (Statements of changes in owner’s equity)(สภาวิชาชีพการบัญชี ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 17/2553 เรื่องมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2552) ในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2553, กรมพัฒนาธุรกิจ เรื่องกําหนดรายการยอที่ตองมีในงบการเงิน พ.ศ 2554 ลงวันที่ 28 กันยายน 2554, กรมสรรพากร ประกาศกรมสรรพากร เรื่อง การจัดทําบัญชีงบดุล บัญชีทําการ และบัญชีกําไรขาดทุนตามมาตรา 68 ทวิ แหงประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ 2555)

Page 21: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

10

เดิม ใหมงบดุล งบแสดงฐานะการเงินงบกําไรขาดทุน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของงบกระแสเงินสด งบกระแสเงินสดหมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน

แผนภาพที่ 2.1 การเปลี่ยนแปลงชื่อในงบการเงินที่มา : สภาวิชาชีพการบัญชี (ผิดพลาด! การอางอิงการเชื่อมโยงหลายมิติไมถูกตองสืบคน 8 กันยายน

2556)

2.1.2 องคประกอบของงบการเงิน 2.1.2.1 งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position) คือรายงานทางการเงินที่

กิจการจัดทําขึ้นเพื่อแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่งดังนี้- แสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง- สามารถนําตัวเลขในงบแสดงฐานะการเงินไปวิเคราะห หาอัตราสวนทาง

การเงิน- สามารถทราบโครงสรางของกิจการจากการหาความสัมพันธของสินทรัพย

หนี้สินและสวนของเจาของงบแสดงฐานะการเงินนี้มีองคประกอบสําคัญ 3 สวน คือ สินทรัพย (Assets) หนี้สิน

(Liabilities) และสวนของผูถือหุน (Shareholder’s) ผูถือหุนหรือเจาของกิจการและบุคคลภายนอก สามารถทราบถึงฐานะความมั่นคงของธุรกิจไดจากงบแสดงฐานะทางการเงิน โดยเฉพาะเจาหนี้ สามารถทราบวาธุรกิจนั้นจะอยูในฐานะที่จะชําระหนี้เมื่อครบกําหนดไดเพียงใด เชน ความสามารถวิเคราะหเพื่อทราบสภาพคลอง (Liquidity) ของธุรกิจนั้น ซึ่งจะทําใหทราบถึงความสามารถในการชําระหนี้ได นอกจากนั้น งบแสดงฐานะการเงินยังแสดงใหเห็นผลการดําเนินงานของธุรกิจตั้งแตเริ่มกิจการ เนื่องจากรายการตางๆ แสดงตัวเลขในลักษณะสะสม ทําใหทราบแนวโนมของรายการตางๆ ที่มีอยูวาเปนไปในทางเพิ่มขึ้นหรือลดลงรวมทั้งความสัมพันธระหวางรายการหนึ่งกับอีกรายการหนี่งซึ่งสิ่งเหลานี้จะชี้ใหเห็นวาธุรกิจมีสถานภาพเปลี่ยนแปลงอยางไร

Page 22: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

11

(1) สินทรัพย หมายถึง ทรัพยากรที่อยูในความควบคุมของกิจการ ทรัพยากรดังกลาวเปนผลของเหตุการณในอดีต ซึ่งกิจการคาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้น ในอนาคต

สินทรัพยแบงออกเปน 2 ประเภท คือ1. สินทรัพยหมุนเวียน (Current assets) 2. สินทรัพยไมหมุนเวียน (Non-current assets)กิจการตองจัดประเภทสินทรัพยเปนสินทรัพยหมุนเวียนเมื่อสินทรัพยนั้นเปนไปตาม

เงื่อนไขขอใดขอหนึ่งตอไปนี้1. คาดวาจะไดรับประโยชน หรือ ตั้งใจจะขายหรือใชภายในรอบระยะเวลาดําเนินงาน

ตามปกติของกิจการ2. ถือไวโดยมีวัตถุประสงคเบี้องตนคือมีไวเพื่อคา3. คาดวาจะไดรับประโยชนภายในระยะเวลา 12 เดือนนับจากรอบระยะเวลารายงาน4. สินทรัพยดังกลาวเปนเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดและไมมีขอจํากัดในการ

แลกเปลี่ยนหรือการใชระยะเวลาอยางนอย 12 เดือนนับจากรอบระยะเวลารายงานสินทรัพยที่ไมเปนไปตามเงื่อนไขขางตนใหจัดประเภทเปนสินทรัพยไมหมุนเวียนซึ่ง

รวมถึงสินทรัพยมีตัวตน สินทรัพยไมมีตัวตน และสินทรัพยทางการเงินซึ่งมีลักษณะที่เปนระยะยาวสินทรัพยหมุนเวียน ไดแก เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา

และตั๋วเงินรับ เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ และสินทรัพยหมุนเวียนอื่น

สินทรัพยไมหมุนเวียน ไดแก เงินกูยืมระยะยาวแกบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินลงทุนระยะยาว ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน

(2) หนี้สิน หมายถึง ภาระผูกพันในปจจุบันของกิจการ ซึ่งเปนผลของเหตุการณในอดีตโดยการชําระภาระผูกพันนั้นคาดวาจะสงผลใหกิจการสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชนเชิงเศรษฐกิจ

หนี้สินแบงออกเปน 2 ประเภท คือ1. หนี้สินหมุนเวียน (Current liabilities)2. หนี้สินไมหมุนเวียน (Non- current liabilities) หรือหนี้สินระยะยาว (Long-term

liabilities)หนี้สินจะจัดเปนหนี้สินหมุนเวียน เมื่อหนี้สินนั้นเปนไปตามเงื่อนไขขอใดขอหนึ่งตอไปนี้1. คาดวาจะมีการชําระภายในรอบระยะเวลาดําเนินงานตามปกติของกิจการ

Page 23: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

12

2. ถือไวโดยมีวัตถุประสงคเบื้องตนคือมีไวเพื่อคา3. ถึงกําหนดชําระภายใน 12 เดือนนับจากรอบระยะเวลารายงาน4. กิจการไมมีสิทธิอันปราศจากเงื่อนไข ใหเลื่อนการชําระหนี้ออกไปอีกเปนเวลาไมนอย

กวา 12 เดือน นับจากรอบระยะเวลารายงานหนี้สินที่ไมเปนไปตามเงื่อนไขขางตนใหจัดประเภทเปนหนี้สินไมหมุนเวียนหนี้สินหมุนเวียน ไดแก เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมจากธนาคาร เจาหนี้การคาและตั๋วเงิน

จาย เงินปนผลคางจาย สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน และหนี้สินหมุนเวียนอื่น

หนี้สินไมหมุนเวียน ไดแก ตั๋วเงินจายระยะยาว หุนกู เงินกูยืมระยะยาวจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะยาว เงินทุนสํารองเลี้ยงชีพและบําเหน็จ และหนี้สินอื่น

(3) สวนของเจาของ หมายถึง สวนไดเสียคงเหลือในสินทรัพยของกิจการหลังจากหักหนี้สินทั้งสิ้นออกแลว

2.1.2.2 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (Statement of Comprehensive Income) คือรายงานทางการเงินที่กิจการจัดทําขึ้น เพื่อแสดงผลการดําเนินงานของกิจการสําหรับงวดเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจเปนรายสามเดือน หรือหกเดือน แตโดยปกติจะเปนหนึ่งป กิจการจะรับรูรายไดและคาใชจายสําหรับงวด สวนของรายไดที่สูงหรือต่ํากวาคาใชจาย คือ กําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงาน เปนการชี้ใหเห็นวาบริษัทมีกําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิจากการดําเนินงาน แสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพการดําเนินงานของบริษัทนั้น ผลการดําเนินงานของบริษัทในดานกําไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิจะมีผลตองบแสดงฐานะทางการเงิน กลาวคือ กรณีที่รายไดมากกวาคาใชจาย (กําไรสุทธิ) ก็จะทําใหสวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้น สวนกรณีที่รายไดนอยกวาคาใชจาย (ขาดทุนสุทธิ) ก็จะเกิดผลในทางกลับกัน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จจึงเปนงบการเงินที่มีผลในการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของสวนของผูถือหุน ซึ่งเกิดจากการดําเนินงานในงวดเวลาหนึ่ง และมีความสัมพันธตอเนื่องเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของสินทรัพย

(1) รายได หมายถึง การเพิ่มขึ้นของประโยชนเชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีในรูปกระแสเขาหรือการเพิ่มคาของสินทรัพย หรือการลดลงของหนี้สิน อันสงผลใหสวนของเจาของเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ไมรวมถึงเงินทุนที่ไดรับจากผูมีสวนรวมในสวนของเจาของ

(2) คาใชจาย หมายถึง การลดลงของประโยชนเชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีในรูปกระแสออกหรือการลดคาของสินทรัพย หรือการเพิ่มขึ้นของหนี้สิน อันสงผลใหสวนของเจาของลดลง ทั้งน้ีไมรวมถึงการแบงปนใหกับผูมีสวนรวมในสวนของเจาของ

Page 24: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

13

2.1.2.3 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ (Statement of Change in Owner’s Equity) เปนงบที่แสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของระหวางตนงวดกับปลายงวด สะทอนใหเห็นถึงการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของสินทรัพยสุทธิของกิจการในระหวางงวด ที่ เปนตัวแทนของจํานวนรวมของรายไดและคาใชจายตางๆ รวมถึงผลกําไรและขาดทุนที่เกิดจากกิจกรรมในระหวางงวด

2.1.2.4 งบกระแสเงินสดหรืองบแสดงที่มาและใชไปของเงินลงทุน หรืองบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน จะเปนการนํารายการในงบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนที่เปนเงินสดมาแสดงการเปรียบเทียบ ณ วันสิ้นรอบบัญชีปจจุบันกับปที่ผานมาวามีแหลงที่ไดมาและใชไปของเงินสดจากที่ใด มีเงินสดคงเหลือจริงๆ จากการดําเนินงานหรือไม เพื่อดูสภาพคลองทางการเงินของกิจการ

งบกระแสเงินสดตองแสดงกระแสเงินสดที่เกิดขึ้นในระหวางรอบระยะเวลาบัญชี โดยจําแนกได ดังนี ้(เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556: 2-26)

1) กระแสเงินสดจากกิจกกรรมดําเนินงาน (Cash from operating activity) หมายถึงกิจกรรมหลักที่กอใหเกิดรายไดของกิจการและกิจกรรมอื่นที่มิใชกิจกรรมลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงิน เชน จากการขายสินคา จากการจายภาษีเงินได จากการจายดอกเบี้ยจาย จากการซื้อสินคา การจายคาใชจายในการดําเนินงานตางๆ รวมถึงรายไดอื่นๆ ที่เกิดจากการดําเนินงานของกิจการ

2) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน (Cash from investing activity) หมายถึง การไดมาและจําหนายสินทรัพยระยะยาวและเงินลงทุนอื่นซึ่งไมรวมอยูในรายการเทียบเทาเงินสด เชน จากการซื้อและจําหนายสินทรัพยถาวร และเงินลงทุนระยะสั้นและระยะยาวตางๆ นอกจากนี้ยังอาจจะรวมถึงดอกเบี้ยรับ และเงินปนผลที่ไดรับจากการลงทุนในหลักทรัพยลงทุนตางๆ เปนตน

3) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน (Cash from financing activity) หมายถึง กิจกรรมที่มีผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในขนาด และองคประกอบของสวนของเจาของและสวนของการกูยืมของกิจการ เชน การกูยืมและการชําระหนี้คืน การออกหุนทุนเพิ่มและการจายเงินปนผล เปนตน

2.1.2.5 หมายเหตุประกอบงบการเงิน เปนรายงานตอทายงบการเงินที่จะบอกขอมูลเพิ่มเติมที่มีประโยชนตอการวิเคราะหงบการเงิน ทําใหทราบวางบการเงินนั้นใชนโยบายและหลักเกณฑอยางไรในการจัดทํา เชน เกณฑการวัดมูลคาที่ใชจัดทํางบการเงิน ขอสมมติที่ใชในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน วิธีการคิดตนทุนสินคา การคิดคาเสื่อมราคา และเกณฑการรับรูรายได

Page 25: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

14

และคาใชจาย รวมถึงผลกระทบที่มีนัยสําคัญตอจํานวนเงินของรายการที่รับรูในงบการเงิน ก็จะตองเปดเผยใหทราบ เปนตน

2.1.3 ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงินลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน หมายถึง คุณสมบัติที่ทําใหขอมูลในงบการเงินมี

ประโยชนตอผูใชงบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพหลักของงบการเงินมี 4 ประการ ไดแก ความเขาใจได ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ ความเชื่อถือไดและการเปรียบเทียบกันได (สภาวิชาชีพการบัญช,ี2552:10, เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค,2554:35, เยาวรักษ สุขวิบูลย,2556:1-16)

2.1.3.1 ความเขาใจไดขอมูลในงบการเงินตองสามารถเขาใจไดในทันที ที่ผูใชงบการเงินใชขอมูล

ดังกลาวซึ่งมีขอสมมติวาผูใชงบการเงินมีความรูตามควรเกี่ยวกับธุรกิจ กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและการบัญชีรวมทั้งมีความตั้งใจตามที่ควรที่จะศึกษาขอมูลดังกลาว อยางไรก็ตามขอมูลแมวาจะมีความซับซอน แตถาเกี่ยวของกับการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจตองไมละเวนที่จะแสดงในงบการเงินเพียงเหตุผลที่วาขอมูลดังกลาวยากเกินกวาที่ผูใชงบการเงินบางสวนจะเขาใจได

2.1.3.2 ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจขอมูลที่มีประโยชนตองเกี่ยวของกับการตัดสินใจของผูใชงบการเงิน ขอมูลจะ

เกี่ยวของกับการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจไดก็ตอเมื่อขอมูลนั้นชวยใหผูใชงบการเงินสามารถประเมินเหตุการณในอดีต ปจจุบัน และอนาคต รวมทั้งชวยยืนยันหรือชี้ขอผิดพลาดของผลการประเมินที่ผานมาของผูใชงบการเงินไดความเกี่ยวของกับการตัดสินใจของขอมูลขึ้นอยูกับลักษณะและความมีสาระสําคัญของขอมูลนั้น ในบางกรณีลักษณะของขอมูลเพียงอยางเดียวก็เพียงพอที่จะใชตัดสินวาขอมูลมีความเกี่ยวของกับการตัดสินใจหรือไม

ความมีสาระสําคัญ หมายถึง ขอมูลที่จะถือวามีสาระสําคัญหากการไมแสดงขอมูล หรือการแสดงขอมูลผิดพลาดมีผลกระทบตอการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผูใชงบการเงิน ความมีสาระสําคัญขึ้นอยูกับขนาดของรายการ หรือขนาดของความผิดพลาดที่เกิดขึ้นภายใตสภาพการณเฉพาะซึ่งตองพิจารณาเปนแตละกรณี ดังนั้นความมีสาระสําคัญจึงถือเปนขอพิจารณามากกวาจะเปนลักษณะเชิงคุณภาพซึ่งขอมูลตองมีหากขอมูลนั้นจะถือวามีประโยชน

2.1.3.3 ความเชื่อถือไดขอมูลที่เปนประโยชนตองเชื่อถือได ขอมูลจะมีคุณสมบัติของความเชื่อถือได

หากปราศจากความผิดพลาดที่มีนัยสําคัญและความลําเอียง ซึ่งทําใหผูใชงบการเงินสามารถเชื่อไดวาขอมูลนั้นเปนตัวแทนอันเที่ยงธรรมของขอมูลที่ตองการ หรือสามารถคาดการณไดอยางสมเหตุสมผลวาขอมูลอาจมีความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ แตการบันทึกขอมูลดังกลาวอาจทําให

Page 26: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

15

ผูใชงบการเงินเขาใจผิดเนื่องจากขอมูลขาดความนาเชื่อถือ ตัวอยางเชนประมาณการคาเสียหายจากการถูกฟองรองที่อยูระหวางการพิจารณาคดีอาจขาดความนาเชื่อถือ เนื่องจากจํานวนคาความเสียหาย และผลการพิจารณาคดียังไมเปนที่แนนอน ดังนั้นอาจเปนการไมเหมาะสมที่กิจการจะรับรูคาเสียหายดังกลาวในงบแสดงฐานะการเงิน แตกิจการตองเปดเผยจํานวนคาเสียหายที่มีการเรียกรองและเหตุการณเกี่ยวกับการฟองรองดังกลาว ความนาเชื่อถือได มีลักษณะดังน้ี

(1) การเปนตัวแทนอันเที่ยงธรรมขอมูลจะมีความเชื่อถือไดเมื่อรายการและเหตุการณทางบัญชีไดถูกแสดง

ไวอยางเที่ยงธรรมที่ตองการใหแสดง หรือสามารถคาดการณไดอยางสมเหตุสมผลวาแสดงไดตัวอยางเชน งบแสดงฐานะการเงินตองเปนตัวแทนอันเที่ยงธรรมของรายการและเหตุการณทางบัญชีซึ่งกอใหเกิดสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของของกิจการ เฉพาะสวนที่เขาเกณฑการรับรูรายการ ณ วันที่เสนอรายงาน เปนตน

(2) เนื้อหาสําคัญกวารูปแบบเพื่อใหขอมูลเปนตัวแทนอันเที่ยงธรรมของรายการและเหตุการณ ทาง

บัญชี ขอมูลดังกลาวตองบันทึกและแสดงตามเนื้อหาและความเปนจริงเชิงเศรษฐกิจ มิใชตามรูปแบบทางกฎหมายหรือรูปแบบที่ทําขึ้น ตัวอยางเชน กิจการอาจโอนสินทรัพยใหกับบุคคลอื่นโดยมีเอกสารยืนยันวาไดมีการโอนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายไปใหกับบุคคลนั้นแลว แตมีขอตกลงใหกิจการยังคงไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพยนั้นตอไป ในกรณีดังกลาวการที่กิจการรายงานวาไดขายสินทรัพยจึงไมเปนตัวแทนอันเที่ยงธรรมของรายการที่เกิดขึ้น

(3) ความเปนกลางขอมูลที่แสดงอยูในงบการเงินมีความนาเชื่อถือ เมื่อมีความเปนกลาง หรือ

ปราศจากความลําเอียง งบการเงินจะขาดความเปนกลางหากการเลือกขอมูลหรือการแสดงขอมูลในงบการเงินนั้น มีผลทําใหผูใชงบการเงินตัดสินใจหรือใชดุลยพินิจ เพื่อใหไดผลตามเจตนาของกิจการ

(4) ความระมัดระวังโดยทั่วไปผูจัดทํางบการเงินตองประสบกับความไมแนนอนอันหลีกเลี่ยง

ไมได เกี่ยวกับเหตุการณและสภาพแวดลอมตางๆ ตัวอยางเชน ความสามารถในการเก็บหนี้ การประมาณอายุการใหประโยชนของโรงงานและอุปกรณ และจํานวนการเรียกรองคาเสียหายที่อาจเกิดขึ้นตามสัญญารับประกัน กิจการตองแสดงความไมแนนอนดังกลาว โดยการเปดเผยถึงลักษณะและผลกระทบโดยการใชหลักความระมัดระวังในการจัดทํางบการเงิน

Page 27: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

16

หลักความระมัดระวังนี้ คือ การใชดุลยพินิจที่จําเปนในการประมาณการภายใตความไมแนนอน เพื่อมิใหสินทรัพยหรือรายไดแสดงจํานวนสูงเกินไป และหนี้สินหรือคาใชจายแสดงจํานวนต่ําเกินไป อยางไรก็ตาม การใชหลักความระมัดระวังมิไดอนุญาตใหกิจการตั้งสํารองลับหรือตั้งคาเผื่อไวสูงเกินไปโดยเจตนาแสดงสินทรัพยหรือรายไดใหต่ําเกินไป หรือแสดงหนี้สินหรือคาใชจายใหสูงเกินไป เนื่องจากจะทําใหงบการเงินขาดความเปนกลางซึ่งมีผลตอความนาเชื่อถือ

(5) ความครบถวนขอมูลในงบการเงินที่ เชื่อถือไดตองครบถวนโดยคํานึงถึงความมี

สาระสําคัญของขอมูลและตนทุนในการจัดทํารายการ การละเวนไมแสดงบางรายการในงบการเงินจะทําใหขอมูลผิดพลาดหรือทําใหผูใชงบการเงินเขาใจผิด ขอมูลดังกลาวจะขาดความนาเชื่อถือและมีความเกี่ยวของกับการตัดสินใจนอยลง

2.1.3.4 การเปรียบเทียบไดผูใชงบการเงินตองสามารถเปรียบเทียบงบการเงินของกิจการในรอบระยะเวลา

ตางกัน เพื่อคาดคะเนถึงแนวโนมของฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการนั้น นอกจากนี้ผูใชงบการเงินยังตองสามารถเปรียบเทียบงบการเงินระหวางกิจการเพื่อประเมินฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน ดังนั้น การวัดมูลคาและการแสดงผลกระทบทางการเงินของรายการและเหตุการณทางบัญชีที่มีลักษณะคลายคลึงกัน จึงจําตองปฏิบัติอยางสม่ําเสมอไมวาจะเปนการปฏิบัติภายในกิจการเดียวกันแตตางรอบระยะเวลา หรือเปนการปฏิบัติของกิจการแตละกิจการก็ตาม

2.1.4 ขอจํากัดของขอมูลที่มีความเกี่ยวของกับการตัดสินใจและเชื่อถือไดเนื่องจากขอมูลในงบการเงินตองมีลักษณะเชิงคุณภาพในความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ

และตองมีความเชื่อถือได จึงทําใหมีขอจํากัดของขอมูล ดังนี้2.1.4.1 ความทันตอเวลา (Timeliness) การรายงานขอมูลลาชาอาจทําใหขอมูลเสียหาย

ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ อยางไรก็ตาม ฝายบริหารตองพิจารณาเปรียบเทียบระหวางประโยชนที่จะไดรับจากการรายงานที่ความทันตอเวลากับความเชื่อถือไดของรายงานนั้น กิจการอาจจําเปนตองเสนอรายงานใหทันตอเวลา กอนที่จะทราบขอมูลเกี่ยวกับรายงานและเหตุการณทางบัญชีในทุกลักษณะซึ่งมีผลใหความเชื่อถือไดของขอมูลลดลง ในทางกลับกัน หากกิจการจะรอจนกระทั่งทราบขอมูลในทุกลักษณะจึงจะเสนอรายงาน รายงานนั้นอาจมีความเชื่อถือไดสูง แตไมมีประโยชนตอผูใชงบการเงินในการตัดสินใจในชวงเวลานั้น

Page 28: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

17

2.1.4.2 ความสมดุลระหวางประโยชนที่ไดรับกับตนทุนที่เสียไป (Balance between Benefit and Cost) ถือเปนขอจํากัดที่สําคัญของงบการเงินมากกวาจะถือเปนลักษณะเชิงคุณภาพ โดยทั่วไป ประโยชนที่ไดรับจากขอมูลควรมากกวาตนทุนในการจัดหาขอมูลนั้น การประเมินประโยชนและตนทุนจําเปนตองใชดุลยพินิจเปนหลัก โดยเฉพาะเมื่อผูที่ไดรับประโยชนจากขอมูลไมตองรับผิดชอบตอตนทุนในการจัดหาขอมูลนั้น และขอมูลอาจใหประโยชนแกบุคคลอื่นนอกเหนือจากผูที่กิจการตองการเสนอขอมูล ดังนั้น จึงเปนการยากที่จะกําหนดสูตรสําเร็จในการหาความสมดุลระหวางประโยชนที่ไดรับกับตนทุนที่เสียไปเพื่อใหนํามาปฏิบัติไดในทุกกรณี

2.1.4.3 ความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพ (Balance of Qualitative Characteristics)ในทางปฏิบัติการสรางความสมดุลระหวางลักษณะเชิงคุณภาพตางๆ ถือเปนสิ่งจําเปน ผูจัดทํางบการเงินตองหาความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพตางๆ เพื่อใหงบการเงินบรรลุวัตถุประสงค แตความสัมพันธระหวางลักษณะเชิงคุณภาพจะแตกตางกันไปในแตละกรณี ผูจัดทํางบการเงินจึงจําเปนตองใชดุลยพินิจเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพในการตัดสินใจเลือกความสมดุลดังกลาว

2.1.4.4 การแสดงขอมูลที่ถูกตองตามควร (True and Fair View / Fair Presentation)โดยทั่วไปงบการเงินแสดงขอมูลที่ถูกตองตามควรเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ แมวาแมบทการบัญชีนี้ไมเกี่ยวของโดยตรงกับแนวคิดในการแสดงขอมูลที่ถูกตองตามควร แตการนําลักษณะเชิงคุณภาพ และมาตรฐานการบัญชีที่เหมาะสมมาปฏิบัติก็สามารถสงผลใหงบการเงินแสดงขอมูลที่ถูกตองและยุติธรรมได หรืออีกนัยหนึ่งงบการเงินนั้นใหขอมูลท่ีถูกตองตามควรนั้นเอง

2.1.5 ผูใชงบการเงินและตองการขอมูล ผูใชงบการเงินประกอบดวย ผูลงทุน (ทั้งผูลงทุนในปจจุบันและผูที่อาจตัดสินใจลงทุน

ในอนาคต) ลูกจาง ผูใหกู ผูขายสินคาและเจาหนี้อื่น ลูกคา รัฐบาลและหนวยงานราชการและสาธารณชน ผูใชงบการเงินเหลานี้ใชงบการเงินเพื่อตอบสนองความตองการขอมูลที่แตกตางกัน กลาวคือ (เพชรี ขุมทรัพย, 2554:7, สภาวิชาชีพการบัญชี, 2552:7, เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค, 2554:73เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:1-14)

2.1.5.1 ผูลงทุน หมายถึง ผูเปนเจาของเงินทุนรวมทั้งที่ปรึกษาซึ่งตองการทราบถึงความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการลงทุน ผูลงทุนตองการขอมูลที่จะชวยในการพิจารณาตัดสินใจ ซื้อ ขาย หรือถือเงินลงทุนนั้นตอไป นอกจากขอมูลดังกลาวผูลงทุนที่เปนผูถือหุนยังตองการขอมูลที่จะชวยในการประเมินความสามารถของกิจการในการจายเงินปนผลดวย

Page 29: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

18

2.1.5.2 ลูกจางและกลุมตัวแทนตองการขอมูลเกี่ยวกับความมั่นคงและความสามารถในการทํากําไรของนายจาง นอกจากนั้นยังตองการขอมูลที่จะชวยใหสามารถประเมินความสามารถของกิจการในการจายคาตอบแทน บําเน็จ บํานาญ และโอกาสในการจางงาน

2.1.5.3 ผูใหกูตองการขอมูลที่จะชวยในการพิจารณาวาเงินใหกูยืมและดอกเบี้ยที่เกิดขึ้น จะไดรับชําระเมื่อครบกําหนด

2.1.5.4 ผูขายสินคาและเจาหนี้อื่น ตองการขอมูลที่จะชวยในการตัดสินใจวาหนี้สินจะไดรับชําระเมื่อครบกําหนด เจาหนี้การคาอาจใหความสนใจขอมูลของกิจการในระยะเวลาที่สั้นกวาผูใหกู นอกจากวาการดําเนินงานของเจาหนี้นั้น ขึ้นอยูกับการดําเนินงานตอเนื่องของกิจการซึ่งเปนลูกคารายใหญ

2.1.5.5 ลูกคาตองการขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานตอเนื่องของกิจการ โดยเฉพาะกรณีที่มีความสัมพันธอันยาวนานหรือตองพึ่งพากิจการนั้น

2.1.5.6 รัฐบาลและหนวยงานราชการตองการขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานของกิจการในการจัดสรรทรัพยากรและกิจกรรมตางๆของกิจการ หนวยงานเหลานี้ตองการขอมูลเพื่อการกับดูแลกิจกรรม การพิจารณากําหนดนโยบายทางภาษี และเพื่อใชเปนฐานในการคํานวณรายไดประชาชาติ และจัดทําสถิติในดานตางๆขอมูลกิจการอาจกอใหเกิดผลกระทบตอสาธารณชนในหลายๆทาง เชน กิจการอาจมีสวนชวยอยางมากตอเศรษฐกิจทองถิ่นในหลายดาน ซึ่งรวมถึงการจางงานและการรับซื้อสินคาจากผูผลิตในทองถิ่น งบการเงินจะชวยสาธารณชนในการใหขอมูลเกี่ยวกับแนวโนมความสําเร็จและกิจกรรมการดําเนินงานตางๆ

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิเคราะหงบการเงิน 2.2.1 ความหมายของการวิเคราะหงบการเงิน

จากการคนควาเอกสารที่เกี่ยวของ มีนักวิชาการใหความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะหงบการเงินตางๆ พอสรุปไดดังนี้

การวิเคราะหงบการเงิน หมายถึง กระบวนการคนหาขอเท็จจริงเกี่ยวกับฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการ (ธงชัย สันติวงษและชัยยศ สันติวงษ, 2537:13, เพชรี ขุมทรัพย, 2554:1, ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2545:5, เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค,2554:74, เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:8-4) เพื่อทราบถึงฐานะและความมั่นคงของกิจการ (ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2545:5) เพื่อนําผลการวิเคราะหมาใชในการวางแผน ควบคุม และประกอบการตัดสินใจ (เพชรี ขุมทรัพย, 2554:1, เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค, 2554:74, เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:8-4)

Page 30: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

19

จากความหมายที่กลาวมาทั้งหมดขางตนผูวิจัยสรุปไดวา การวิเคราะหงบการเงิน หมายถึงกระบวนการคนหาขอเท็จจริงเกี่ยวกับฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของธุรกิจ เพื่อใหทราบถึงฐานะและความม่ันคงของธุรกิจและนําผลการวิเคราะหมาใชในการวางแผน ควบคุม และประกอบการตัดสินใจ

2.2.2 ประโยชนของการวิเคราะหงบการเงินการวิเคราะหงบการเงินใหประโยชนกับผูใชงบการเงิน ดังตอไปนี้ (เฉลิมขวัญ ครุธบุญ

ยงค, 2554:73, เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:8-4)2.2.2.1 เพื่อใชในการวิเคราะหการลงทุน และวิเคราะหพื้นฐานทางการเงิน ของกิจการที่

จะไปลงทุน2.2.2.2 เพื่อเปรียบเทียบผลการดําเนินงานในรอบระยะเวลาบัญชีที่ผานมาของกิจการ2.2.2.3 เพื่อทราบการดําเนินงานของกิจการในกิจกรรมดานตางๆ วาเปนไปในลักษณะที่

เหมาะสมเพียงใด เชน กิจกรรมการจัดหาเงิน กิจกรรมการลงทุนและกิจกรรมการดําเนินงาน2.2.2.4 เพื่อใชเปนเครื่องมือในการประเมินผลการดําเนินงานของฝายบริหารและคนหา

ปญหาและขอบกพรองที่เกิดขึ้นจากการบริหารงานเพื่อหาแนวทางแกไข2.2.2.5 เพื่อใชในการวิเคราะหจุดออน จุดแข็งของกิจการ และรูสถานภาพคูแขงขันจาก

การเปรียบเทียบงบการเงินของกิจการกับกลุมอุตสาหกรรม2.2.2.6 เพื่อใชในการกําหนดเปาหมายของกิจการ รวมทั้งใชในการทําแผนการเงินซึ่ง

เปนสวนหนึ่งของการวางแผนทางธุรกิจ (Business Plan) และวางแผนการดําเนินงานในอนาคตใหมีประสิทธิภาพ

2.2.3 เครื่องมือสําหรับการใชวิเคราะหงบการเงิน2.2.3.1 การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio Analysis)

1) ความหมายของการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงินการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio Analysis) หมายถึง การ

นําขอมูลทางการเงินจากงบการเงินที่มีความสัมพันธหรือเกี่ยวของกันมาเปรียบเทียบกันในรูปของอัตราสวน (เพชรี ขุมทรัพย, 2554:187 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2545:5, เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค, 2554:85) เพื่อแสดงใหเห็นสภาพทางการเงินในลักษณะตางๆ ของธุรกิจและถือเปนเครื่องมือทางการเงินอยางหนึ่งที่ใชในการวิเคราะหรายงานทางการเงินเพื่อประเมินฐานะการเงิน ประเมินประสิทธิภาพการดําเนินงาน โดยการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานกับธุรกิจอื่นหรือ

Page 31: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

20

เปรียบเทียบกับผลงานในอดีตที่ผานมา (เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค, 2554:85, เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:12-6) ซึ่งอาจจะเปนรายการในงบการเงินประเภทเดียวกัน หรือ งบการเงินตางประเภทกัน เชน งบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด (เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:12-6)

จากความหมายที่กลาวมาทั้งหมดขางตน ผูวิจัยสรุปไดวา การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน หมายถึง การนําขอมูลทางการเงินจากงบการเงินที่มีความสัมพันธหรือเกี่ยวของกันมาเปรียบเทียบกันในรูปของอัตราสวน เพื่อประเมินฐานะการเงิน ประสิทธิภาพการดําเนินงานและถือเปนเครื่องมือทางการเงินอยางหนึ่งที่ใชในการวิเคราะหรายงานทางการเงิน โดยการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานกับธุรกิจอื่นหรือเปรียบเทียบกับผลงานในอดีตที่ผานมา ซึ่งอาจจะเปนรายการในงบการเงินประเภทเดียวกันหรืองบการเงินตางประเภทกัน เชน งบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด

2) ความสําคัญของการเปรียบเทียบอัตราสวนทางการเงินอัตราสวนทางการเงินจะมีความหมายไดตองมีการเปรียบเทียบอัตราสวน

กับอัตราสวนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม อัตราสวนทางการเงินในอดีตของธุรกิจ และอัตรสวนทางการเงินของบริษัทคูแขง (เพชรี ขุมทรัพย, 2554: 187, ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548:59, เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค, 2554:87, เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:12-6)

2.1) อัตราสวนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม ซึ่งหาไดจากการเฉลี่ยอัตราสวนทางการเงินของกลุมบริษัทหรือหมวดธุรกิจ

2.2) อัตราสวนทางการเงินในอดีตของธุรกิจ เปนการเปรียบเทียบกับอัตราสวนทางการเงินของบริษัทเองในชวงการดําเนินงานที่ผานมาซึ่งจะทําใหมองเห็นภาพของธุรกิจไดดีที่สุด

2.3) อัตราสวนทางการเงินของบริษัทคูแขงเปนการเปรียบเทียบเพื่อจะทําใหเห็นถึงจุดออน จุดแข็ง เมื่อเทียบกับบริษัทคูแขงและทําใหสามารถกําหนดกลยุทธในการแขงขันไดแตมีขอจํากัดคือ ขอมูลงบการเงินที่จะนํามาวิเคราะหเปรียบเทียบ ควรจะใชมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ระบบบัญชี การบันทึกบัญชี และรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกัน

3) ประเภทของอัตราสวน การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงินนี้แบงตามจุดมุงหมายในการใชไดเปน 5

ลักษณะดวยกันคือ

Page 32: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

21

3.1) อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratios) อัตราสวนสภาพคลองทางการเงิน เปนการวิเคราะหความสามารถใน

การชําระหนี้ระยะสั้นหรือหนี้สินหมุนเวียนซึ่งเปนหนี้สินที่มีกําหนดระยะเวลาชําระไมเกินหนึ่งปโดยเปรียบเทียบกับสินทรัพยหมุนเวียนของกิจการ ทั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อวัดความสามารถของกิจการวา มีสินทรัพยหมุนเวียนเพียงพอที่จะชําระหนี้สินระยะสั้น หรือหนี้สินหมุนเวียนเมื่อครบกําหนดชําระหรือไม (ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548: 61, เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:12-9)

3.1.1) อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio) คืออัตราสวนระหวาง สินทรัพยหมุนเวียนตอหนี้สินหมุนเวียน ซึ่งบงบอกถึงสภาพคลองของกิจการในการที่จะชําระหนี้ระยะสั้น หาก อัตราสวนนี้มีคานอยกวา 1 หมายความวา กิจการมีหนี้สินหมุนเวียนมากกวาสินทรัพยหมุนเวียนอาจทําใหมีปญหาในการชําระหนี้ระยะสั้น แตการที่มีคาสูงกวา 1 มาก อาจหมายถึงประสิทธิภาพในการใชสินทรัพยของกิจการไมดีพอ ซึ่งอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนสามารถคํานวนไดดังนี้

อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน (เทา) =

3.1.2) อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio หรือ Acid Test) คือ อัตราสวนที่ปรับปรุงมาจากอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน ซึ่งในการคํานวณจะไมนําสินคาคงเหลือมาคิดรวมกับสินทรัพยหมุนเวียนอื่นๆ เชน เงินสด ลูกหนี้การคา และสินทรัพยในความตองการของตลาด เนื่องจากสินคาคงเหลือสามารถแปลงเปนเงินสดไดชากวา และอาจมีมูลคาต่ํากวามูลคาทางบัญชี ทําใหอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็วบอกถึงสภาพคลองของกิจการไดดีกวาอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน ซึ่งอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็วสามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (เทา) =

Page 33: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

22

3.2) อัตราสวนประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย (Activity Ratios)อัตราสวนประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย (Activity Ratios) เปนการ

วิเคราะหประสิทธิภาพในการจัดการสินทรัพย ที่กิจการใชในการดําเนินงาน อันไดแก สินทรัพยไมหมุนเวียนหรือสินทรัพยถาวร และสินทรัพยทั้งหมด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อวัดคุณภาพและประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย และเงินทุนจากเจาของกิจการ ที่สรางรายไดหรือผลตอบแทนใหแกกิจการ (เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556: 12-14, นุชจรี พิเชฐกุล, 2553:366)

3.2.1) อัตราสวนการหมุนเวียนของสินค าคงเหลือ ( Inventory Turnover) คือ จํานวนครั้งที่กิจการสามารถขายสินคาคงเหลือออกไปได คํานวณโดยใชตนทุนขายหารดวยสินคาคงเหลือเฉลี่ย โดยที่สินคาคงเหลือเฉลี่ย คือสินคาคงเหลือตนงวดบวกสินคาคงเหลือปลายงวดหารดวย 2 หากอัตราหมุนเวียนของสินคาคงเหลือสูง หมายความวากิจการสามารถขายสินคาไดเร็ว แตหากอัตรานี้สูงเนื่องจากสินคาคงเหลือนอยเกินไปจนทําใหสินคาคงเหลือไมพอขายและตองสูญเสียลูกคาไปในที่สุด ดังนั้นจึงตองมีการบริหารสินคาคงเหลือไมใหมากหรือนอยเกินไป ซึ่งอัตราหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ สามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ (ครั้ง) =

3.2.2) อัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้ (Account Receivable Turnover) คือ จํานวนครั้งที่กิจการสามารถเก็บเงินจากการขายเชื่อได คํานวณโดยใชยอดขายเชื่อสุทธิหารดวยลูกหนี้การคาเฉลี่ย โดยที่ลูกหนี้การคาเฉลี่ย คือ ลูกหนี้การคาตนงวดบวกลูกหนี้การคาปลายงวดหารดวย 2 หากอัตราหมุนเวียนของลูกหนี้สูง หมายความวากิจการสามารถเก็บเงินจากการขายเชื่อไดเร็ว แตหากอัตราสวนนี้สูงเกินไป อาจหมายถึงกิจการเขมงวดในการใหเครดิตกับลูกคามากเกินไปทําใหเสียเปรียบในการแขงขัน ดังนั้น การนําอัตราสวนนี้ไปเปรียบเทียบกับกิจการอื่น จึงควรดูนโยบายการใหเครดิตแกลูกหนี้ของกิจการดวย ซึ่งอัตราหมุนเวียนของลูกหนี้สามารถคํานวณไดดังนี้

Page 34: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

23

อัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้ (ครั้ง) = 3.2.3) ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection

Period) คือ อัตราสวนที่แสดงใหเห็นวาถึงระยะเวลาในการเรียกเก็บหนี้จากลูกหนี้ เพื่อใหทราบถึงคุณภาพของลูกหนี้ ประสิทธิภาพในการเรียกเก็บหนี้ และนโยบายในการใหสินเชื่อทางธุรกิจ หากระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ต่ํา หมายความวา กิจการสามารถเก็บเงินจากการขายเชื่อไดรวดเร็ว แตหากอัตราสวนนี้สูง แสดงใหเห็นถึงความไมมีประสิทธิภาพในการติดตามการชําระหนี้ของกิจการ ซึ่งระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้สามารถคํานวณไดดังนี้

ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (วัน) =

3.2.4) อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร (Total Fixed Assets Turnover) คือ อัตราสวนที่แสดงถึงประสิทธิภาพในการใชสินทรัพยถาวร (FA) เมื่อเทียบกับยอดขาย (SALES) ถาอัตราสวนที่ไดมีคาต่ํา แสดงวาบริษัทมีสินทรัพยถาวรมากเกินความตองการ ซึ่งอัตราการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวรสามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร (เทา) =

3.2.5) อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม (Total Assets Turnover) คือ อัตราสวนที่แสดงถึงประสิทธิภาพในการใชสินทรัพยทั้งหมด (TA) เมื่อเทียบกับยอดขาย (SALES) ถาอัตราสวนที่ไดมีคาต่ํา แสดงวาบริษัทมีสินทรัพยมากเกินความตองการ ซึ่งอัตราการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม สามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม (เทา) =

3.3) อัตราสวนความสามารถในการบริหารหนี้สิน ( Leverage Ratios)

Page 35: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

24

อัตราสวนความสามารถในการบริหารหนี้สิน (Leverage Ratios) เปนการวัดความสามารถในการจายชําระคืนหนี้สินระยะยาว และความสามารถที่จะระดมทุนใหมในอนาคต (ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548:61, เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:12-23) รวมถึงความสามารถในการชําระดอกเบี้ยและคืนเงินตน ทราบถึงสัดสวนเงินทุนในการกอหนี้ เพื่อดูขนาดความคุมครองที่เจาหนี้ไดรับจากเจาของ (เพชรี ขุมทรัพย, 2554:205)

3.3.1) อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย (Debt to Total Assets Ratio) คือ อัตราสวนที่แสดงใหเห็นถึงสัดสวนของเงินลงทุนในสินทรัพยรวมที่กิจการไดจากการกอหนี้ ถาอัตราสวนนี้สูงแสดงใหเห็นวากิจการจัดหาเงินลงทุนในสินทรัพยจากการกอหนี้เปนจํานวนมาก ซึ่งจะมีผลตอความเสี่ยงทางการเงินในการมีภาระจายชําระหนี้เมื่อครบกําหนดรวมทั้งดอกเบี้ยจายและเมื่อตองการลงทุนเพิ่มในอนาคตอาจไมสามารถจัดหาเงินทุนดวยการกอหนี้เพิ่มไดอีก เพราะเปนการเพิ่มความเสี่ยงใหเจาหนี้ในการที่จะไมไดรับชําระหนี้ครบตามจํานวนหนี้เมื่อถึงระยะเวลาครบกําหนดชําระ สามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย (เทา) =

3.3.2) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ (Debt to Equity Raito) คือ อัตราสวนที่แสดงใหเห็นถึงสัดสวนของเงินลงทุนที่ไดมาจากการกอหนี้เปรียบเทียบกับการไดมาของเงินทุนจากแหลงอื่น เชน หุนบุริมสิทธิ และหุนสามัญ ถาอัตราสวนนี้ใชวิเคราะหสัดสวนของหนี้สินของกิจการตอสวนของทุน ซึ่งหนี้สินประกอบดวย หนี้สินรวมทั้งหมด รวมถึงหุนกูแปลงสภาพดอยสิทธิ (Subordinated Convertible Bond) แตอาจจะรวมภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีดวยหรือไมก็ได ตลอดจนใหพิจารณาถึงมูลคาปจจุบันของภาระจากการเชาที่มีนัยสําคัญดวย สําหรับสวนของเจาของประกอบดวยมูลคาตามบัญชีของสวนของทุน อันไดแก หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ และกําไรสะสม สามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ (เทา) =

Page 36: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

25

3.3.3) อัตราสวนกําไรตอดอกเบี้ยจาย (Time Interest Earned) หรืออัตราสวนความสามารถในการจายดอกเบี้ย (Interest Coverage Ratio) เปนการวิเคราะหวากิจการมีความสามารถในการทํากําไรจากการดําเนินงานหรือกําไรกอนหักดอกเบี้ยจายและภาษี (EBIT) เปนกี่ เทาของดอกเบี้ยจาย ถาคาของอัตราสวนนี้มีคาสูง แสดงใหเห็นวากิจการมีความเสี่ยงทางการเงินต่ํา หรือมีความสามารถในการชําระดอกเบี้ยทําใหความเสี่ยงของเจาหนี้ลดลงในการที่ใหกิจการกูยืมเงิน แตถามีคาต่ํา แสดงวากิจการมีความเสี่ยงทางการเงินสูง และเจาหนี้มีความเสี่ยงสูงที่จะไดรับการชําระดอกเบี้ยไมตรงตามกําหนด และกิจการอาจจะจัดหาเงินทุนดวยการกูยืมเพิ่มเติมอีกไมได สามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนความสามารถในการจายดอกเบี้ย (เทา) =

3.4) อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร (Profitability Ratios)อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร (Profitability Ratios) เปนการ

วัดวาธุรกิจสามารถที่จะทํากําไรและกระแสเงินสดไดมากขึ้นหรือนอยลง รวมถึงการประเมินประสิทธิภาพในการหารายไดใหกับธุรกิจ (ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548:61, เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค, 2554:93)

การวิเคราะหอัตราสวนความสามารถในการทํากําไร มีวัตถุประสงคเพื่อทราบอัตรากําไรสุทธิ ผลการดําเนินงานและผลตอบแทนของกิจการ

3.4.1) อัตราสวนกําไรสุทธิ (Net Profit Margin) คือ อัตราสวนทางการเงินที่นํามาใชวัดประสิทธิภาพของบริษัทในการทํากําไรหลังจากหักตนทุน คาใชจาย รวมทั้งภาษีเงินไดหมดแลว ถาอัตราสวนที่ไดมีคาสูง แสดงใหเห็นวากิจการมีประสิทธิภาพในการทํากําไรไดดี ซึ่งอัตรากําไรสุทธิสามารถคํานวนไดดังนี้

อัตราสวนกําไรสุทธิ (%) =

Page 37: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

26

3.4.2) อัตราสวนกําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย (Earning Power) คือ อัตราสวนที่ใชในการวิเคราะหเพื่อหาผลตอบแทนที่ไดจากสินทรัพยทั้งหมดของกิจการ โดยการพิจารณากําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี (กําไรจากการดําเนินงาน) เทียบกับการใชสินทรัพยทั้งหมดของบริษัทสามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนกําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย (%) = 3.4.3) อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม (Return on Asset –

ROA) คือ อัตราสวนทางการเงินที่นํามาใชวัดความสามารถในการทํากําไรของสินทรัพยทั้งหมดที่ธุรกิจใชในการดําเนินงานวา ใหผลตอบแทนจากการดําเนินงานมากนอยเพียงใด ถาอัตราสวนที่ไดมีคาสูง แสดงใหเห็นถึงการใชสินทรัพยอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวมสามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม (%) =

3.4.4) อัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (Return on Equity ROE) คือ อัตราสวนทางการเงินที่นํามาใชแสดงใหเห็นวาเงินลงทุนในสวนของเจาของ จะไดรับผลตอบแทนกลับคืนมาจากการดําเนินการของกิจการนั้นในอัตราสวนเทาไร ถาอัตราสวนที่ไดมีคาสูง แสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพในการทํากําไรสูงดวย ซึ่งอัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุนสามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (%) =

3.5) อัตราสวนมูลคาตลาด (Market Value Ratios)อัตราสวนมูลคาตลาด (Market Value Ratios) เปนการวัดมูลคาหุนใน

ตลาดหลักทรัพย วานาสนใจลงทุนหรือไม (ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548:61, เยาวรักษ

Page 38: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

27

สุขวิบูลย, 556:12-28) เปนการวิเคราะหวานักลงทุนใหความสนใจที่ลงจะทุนซื้อหุนของกิจการหรือไม นักลงทุนจะพอใจลงทุนซื้อหุนในกิจการ ถาพบวากิจการมีประสิทธิภาพในการดําเนินงานดี สภาพคลองดี มีประสิทธิภาพการใชสินทรัพย มีการบริหารโครงสรางทางการเงินดี และมีความสามารถในการทํากําไร อันจะสงผลใหราคาตลาดของหุนของกิจการสูงขึ้น ดังนั้น การวิเคราะหมูลคาตลาดของของธุรกิจจึงมีวัตถุประสงค เพื่อจะไดทราบราคาซื้อขายหุนของกิจการเปนราคาที่เหมาะสม (เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:12-28)

3.5.1) อัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิ (Price/Earning Ratio) คือ อัตราสวนที่ใชเปรียบเทียบราคาตลาดตอหุนกับกําไรตอหุน เพื่อวิเคราะหวาราคาตลาดตอหุนเปนกี่เทาของกําไรตอหุน นักลงทุนสวนใหญใชในการพิจารณาลงทุนซื้อหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถาอัตราสวนนี้สูง แสดงใหเห็นวา กิจการนี้นาลงทุนเนื่องจากมีผลการดําเนินงานที่ดี มีแนวโนมวาจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่ดี แตถาอัตราสวนนี้ต่ํากวาอัตราสวนโดยเฉลี่ยของอุตสาหกรรม แสดงวา กิจการมีความเสี่ยงสูงไมนาลงทุน มีผลการดําเนินงานไมดี การบริหารงานไมมีประสิทธิภาพ โอกาสการเจริญเติบโตนอย และมีความเสี่ยงมากกวากิจการอื่นๆ สามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิ (เทา) =

3.5.2) อัตราสวนราคาตลาดตอกระแสเงินสด คือ อัตราสวนที่ใชเปรียบเทียบราคาตลาดตอหุนกับกระแสเงินสดตอหุน เพื่อวิเคราะหวาราคาตลาดตอหุนเปนกี่เทาของกระแสเงินสดตอหุน ถาอัตราสวนนี้สูง แสดงใหเห็นวา กิจการนี้นาลงทุนเนื่องจากมีผลการดําเนินงานที่ดี มีแนวโนมวาจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่ดี สามารถคํานวณไดดังนี้

อัตราสวนราคาตลาดตอกระแสเงินสด (เทา) =

3.5.3) อัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชี (Market/Book Ratio) คือ อัตราสวนที่ใชเปรียบเทียบราคาตลาดตอหุนกับราคาตามบัญชีตอหุน เพื่อดูวาราคาตลาดตอหุน

Page 39: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

28

เปนกี่เทาของราคาตามบัญชีตอหุน ถาอัตราสวนนี้สูง จะทําใหภาพพจนของกิจการดีในสายตาของนักลงทุน ดวยเชื่อมั่นวากิจการมีการบริหารอยางมีประสิทธิภาพ และคาดวาจะไดรับผลตอบแทนจากการลงทุนเปนที่นาพอใจ แตถาอัตราสวนนี้ต่ํากวา 1 และต่ํากวาอัตราสวนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม แสดงวากิจการมีผลประกอบการไมดี ไมนาลงทุนเมื่อเทียบกับกิจการอื่นสามารถคํานวนไดดังนี้

อัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชี (เทา) =

2.2.3.2 การวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนม (Horizontal Analysis or Trend Analysis)ความหมายของการวิเคราะหงบการเงินตามแนวนอนหรือแนวโนมการวิเคราะหงบการเงินตามแนวนอนหรือแนวโนม หมายถึง การวิเคราะหโดย

การเปรียบเทียบตัวเลขในงบการเงินตั้งแตสองงวดบัญชีขึ้นไป (ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548:57, เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค, 2554:127, เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:10-5) เพื่อดูวารายการในแตละงวดบัญชีมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ลดลง หรือไมเปลี่ยนแปลง (ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548:57) จากขอมูลในงบแสดงฐานะการเงิน หรือ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค, 2554:127) เพื่อดูแนวโนมหรือทิศทางของรายการตางๆ ที่ปรากฎในงบการเงิน การวิเคราะหแนวโนมตองใชงบการเงินของชวงเวลาหลายๆ ปตอเนื่องกัน สวนจะถือปใดเปนปฐานขึ้นอยูกับการวิเคราะหผลลัพธที่ไดจะแสดงถึงแนวโนมของรายการนั้นๆ โดยแสดงในรูปรอยละของขอมูลงวดกอนหรือปฐาน (เยาวรักษ สุขวิบูลย, 2556:10-5)

อัตราการเปลี่ยนแปลงของแนวโนม = x 100

จากความหมายที่กลาวมาทั้งหมดขางตนผูวิจัยสรุปไดวา การวิเคราะหงบการเงินตามแนวนอนหรือแนวโนม หมายถึง การวิเคราะหโดยการเปรียบเทียบตัวเลขในงบการเงินตั้งแตสองรอบระยะเวลาบัญชีขึ้นไป ปกตินิยมใชหลายๆ ปตอเนื่องกัน เพื่อดูแนวโนมหรือทิศทางของรายการตางๆ ในงบแสดงฐานะการเงิน หรืองบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในแตละงวดบัญชีมีการ

Page 40: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

29

เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ลดลง หรือไมเปลี่ยนแปลง สวนมากมักจะใชปแรกที่นํามาวิเคราะหเปนปฐาน ทําใหทราบแนวโนมในการดําเนินงานที่ผานมาและเพื่อเปนการวางแผนในอนาคต

2.3 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย2.3.1 ประวัติความเปนมาของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ตลาดทุนไทยยุคใหมมีจุดเริ่มตนจากการประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504 - 2509) เพื่อรองรับการเติบโตและสงเสริมความมั่นคงทางเศรษฐกิจและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตอมาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 - 2514) ไดเสนอใหมีการจัดตั้งตลาดหลักทรัพยที่มีระบบระเบียบขึ้นเปนครั้งแรกโดยเนนใหมีบทบาทสําคัญในการเปนแหลงระดมเงินทุนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ

พัฒนาการของตลาดทุนของไทยในยุคใหมนั้นสามารถแบงออกไดเปน 2 ยุคเริ่มจาก "ตลาดหุนกรุงเทพ"(Bangkok Stock Exchange) ซึ่งเปนองคกรเอกชนและตอมาเปน "ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย" ภายใตชื่อภาษาอังกฤษวา "The Securities Exchange of Thailand"

การจัดตั้งตลาดหุนของไทยเริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2505 ในรูปหางหุนสวนจํากัดโดยในปตอมาไดจดทะเบียนเปนบริษัทจํากัดและเปลี่ยนชื่อเปน "ตลาดหุนกรุงเทพ" (Bangkok Stock Exchange) ในป พ.ศ. 2515 แตการซื้อขายหุนก็ยังคงไมเปนที่สนใจโดยมูลคาการซื้อขายหุนที่ต่ําสุดมีเพียง 26 ลานบาทเทานั้นและในที่สุดตลาดหุนกรุงเทพก็ตองปดกิจการลง

2.3.2 การจัดตั้งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดตั้งตลาดหลักทรัพยที่มีระบบและไดรับการสนับสนุนอยาง

เปนทางการนั้นไดรับความสนใจจากประชาชนเปนอยางมากดังนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 - 2514) จึงไดเสนอแผนการจัดตั้งตลาดทุนดังกลาวขึ้นเปนครั้งแรกโดยใหมีเครื่องมืออํานวยความสะดวกและมาตรการสําหรับการซื้อขายหลักทรัพยที่เหมาะสมในปพ.ศ. 2512 รัฐบาลไดทําการวาจางศาสตราจารยซิดนียเอ็มรอบบิ้นสศาสตราจารยประจําภาควิชาการเงินจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบียสหรัฐอเมริกาเพื่อมาทําการศึกษาชองทางการพัฒนาตลาดทุนไทยในเวลาตอมา

ในปพ.ศ. 2517 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย พ.ศ.2517 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจะจัดใหมีแหลงกลางสําหรับการซื้อขายหลักทรัพยเพื่อสงเสริม

Page 41: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

30

การออมทรัพยและการระดมเงินทุนในประเทศ ตามมาดวยการแกไขบทบัญญัติเกี่ยวกับรายไดเพื่อใหสามารถนําเงินออมมาลงทุนในตลาดทุนได ในปพ.ศ. 2518 รูปแบบทางกฎหมายตางๆไดรับการปรับแกจนลงตัวและในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2518 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ชื่อภาษาอังกฤษในขณะนั้นคือ The Securities Exchange of Thailand) ไดเปดทําการซื้อขายขึ้นอยางเปนทางการครั้งแรกและไดทําการเปลี่ยนชื่อภาษาอังกฤษเปน "The Stock Exchange of Thailand" (SET) เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2534 และตั้งแตวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 ตลาดหลักทรัพยไดเปลี่ยนวิธีการซื้อขายหลักทรัพย เปนระบบคอมพิวเตอรที่ทันสมัย เปนลักษณะกระดานอิเล็กทรอนิกสแสดงราคาหลักทรัพย ตลาดหลักทรัพยเปนเพียงสถานที่จัดไวใหผูที่มีใบหุนไดมาเสนอขาย และผูที่ตองการซื้อเสนอซื้อหุนของบริษัทที่ตนสนใจซื้อ โดยประชาชนผูซื้อผูขายมิไดเขามาซื้อขายดวยตนเอง แตซื้อขายผานตัวแทนหรือนายหนา (Broker) แทน

2.3.3 โครงสรางการกํากับดูแลตลาดทุนพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยพ.ศ. 2535 กําหนดใหการดําเนินงานของ

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อยูภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) และกําหนดอํานาจหนาที่ใหคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเปนผูกําหนดนโยบายและควบคุมการดําเนินงานของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

แผนภาพ ที่ 2.2 โครงสรางการกํากับดูแลตลาดทุนที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (www.set.or.th วันที่สืบคน 8 กันยายน 2556)

Page 42: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

31

ตลาดแรก หมายถึง ตลาดที่ทําการซื้อขายหลักทรัพยครั้งแรก โดยบริษัทที่ตองการระดมทุนโดยการออกหลักทรัพยใหมเสนอขายหุนตอประชาชนครั้งแรก (Initial Public Offering) หรือเสนอขายหลักทรัพย ไดแก หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิ หุนกู หรือพันธบัตร แกประชาชนตองขออนุมัติจากคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) และดําเนินการตามเกณฑที่กําหนด จากนั้นคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยจะตองตรวจสอบสถานะทางการเงินและการดําเนินงานของบริษัทนั้นกอนท่ีจะอนุมัติใหบริษัททําการออกหลักทรัพยขายแกประชาชนได

ตลาดรอง หมายถึง ตลาดที่ทําการซื้อขายหลักทรัพย ตราสารทางการเงินที่เคยถูกทําการซื้อขายผานตลาดแรกมาแลวการซื้อขายหลักทรัพยในตลาดรองเปนเพียงการโอนเปลี่ยนมือผูถือหุนเทานั้น ตลาดรองทําหนาที่สนับสนุนการระดมเงินออมจากตลาดแรก

2.3.4 บทบาทตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 ตลาดหลักทรัพยมี

บทบาทสําคัญ ดังนี้1. ทําหนาที่เปนศูนยกลางการซื้อขายหลักทรัพยจดทะเบียน และพัฒนาระบบตางๆ ที่

จําเปนเพื่ออํานวยความสะดวกในการซื้อขายหลักทรัพย2. ดําเนินธุรกิจใดๆ ที่เกี่ยวของกับการซื้อขายหลักทรัพย เชน การทําหนาที่เปนสํานัก

หักบัญชี (Clearing House) ศูนยรับฝากหลักทรัพย นายทะเบียนหลักทรัพย หรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

3. การดําเนินธุรกิจอื่น ๆ ที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

2.3.5 โครงสรางการจัดบริษัทจดทะเบียนตามกลุมอุตสาหกรรมและหมวดธุรกิจปจจุบันตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดมีโครงสรางกลุมอุตสาหกรรมของบริษัทที่

จดทะเบียน เพื่อใหบริษัทที่ประกอบธุรกิจใกลเคียงกันไดอยูในหมวดหมูเดียวกัน เพื่อความเหมาะสมในการเปรียบเทียบระหวางกัน และเปนขอมูลดานการลงทุนไดอยางเหมาะสม โดยแนวทางการจัดกลุมมีหลักการโดยรวมคือ

1. ใหสามารถสะทอนถึงประเภทธุรกิจของบริษัทจดทะเบียนไดชัดเจน และสะทอนให

เห็นถึงอุตสาหกรรมของประเทศไดมากขึ้น

Page 43: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

32

2. นิยามและความหมายของแตละกลุมหมวดครอบคลุมและรองรับประเภทธุรกิจของ

บริษัทที่ดําเนินธุรกิจประเภทใหมๆ ที่คาดวาจะเขามาจดทะเบียนในอนาคตได

โครงสรางการจัดบริษัทจดทะเบียนตามกลุมอุตสาหกรรมและหมวดธุรกิจ

แผนภาพที่ 2.3 โครงสรางการจัดกลุมอุตสาหกรรม ที่มา: ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2.3.5.1 หลักการโดยรวมการจัดบริษัทจดทะเบียนตามกลุมอุตสหากรรม1) เปนการจัดเฉพาะบริษัทจดทะเบียน (หุนสามัญ) โดยตราสารทางการเงิน

อื่นๆ ยังคงแยกไวตางหาจากหุนสามัญและไมรวมอยูในการจัดกลุมอุตสาหกรรมนี้2) หมวดบริษัทจดทะเบียนที่แกไขการดําเนินงานไมไดตามกําหนด (Non-

Performing Group : NPG) ไมรวมอยูในโครงสรางการจัดกลุมนี้3) เปนการรวมกลุมของหมวดธุรกิจใกล เคียงกัน หรือมีแนวโนมที่จะ

เคลื่อนไหวไปในแนวทางเดียวกันไวดวยกัน4) โครงสรางในระดับกลุมอุตสาหกรรม (8 กลุม) และหมวดธุรกิจ (27 หมวด)

กลุมอุตสาหกรรม (Industry Group)

หมวดธุรกิจ

(Sector)หมวดธุรกิจ

(Sector)

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (SET)

หมวดธุรกิจ

(Sector)

(8 กลุม)

(27 หมวด)

Page 44: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

33

2.3.5.2 หลักเกณฑการจัดบริษัทลงในหมวดธุรกิจ1) พิจารณาจัดบริษัทลงในหมวดธุรกิจตามประเภทธุรกิจ ที่สรางรายไดให

บริษัทเกินรอยละ 50 เปนสําคัญ2) หากไมมีธุรกิจใดที่สรางรายไดใหบริษัทเกินรอยละ 50 จะใชเกณฑดาน

กําไรพิจารณาเปนเกณฑรอง อยางไรก็ตามตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อาจพิจารณาใชหลักเกณฑอื่นๆ ประกอบตามที่เห็นสมควร

3) ในกรณีที่บริษัทจดทะเบียนดําเนินธุรกิจ โดยผานการถือหุนในบริษัทยอยหลายแหง (Holding Company) บริษัทจะถูกจัดตามประเภทธุรกิจของบริษัทยอยที่สรางรายไดหลักใหแกบริษัท

2.3.5.3 การพิจารณาทบทวนการจัดหมวดธุรกิจเนื่องจากในอนาคตบริษัทจดทะเบียนอาจมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของการ

ดําเนินธุรกิจ จึงจะตองมีการทบทวนการจัดหมวดธุรกิจอยางสม่ําเสมอ โดยสามารถกระทําไดใน 3 กรณี ไดแก

1) การพิจารณาประจําป ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จะทบทวนความเหมาะสมของบริษัทจดทะเบียนในแตละกลุมอุตสาหกรรมและหมวดธุรกิจเปนประจําทุกปโดยใชขอมูลจากแบบรายงาน 56-1 เปนหลัก ทั้งนี้ทางตลาดทรัพยแหงประเทศไทย จะมีหนังสือแจงไปยังบริษัทนั้นๆ ลวงหนา

2) โครงสรางของบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงอยางชัดเจน ในกรณีที่บริษัทจดทะเบียนมีการปรับเปลี่ยนจนทําใหโครงสรางของรายไดหลักเปลี่ยนแปลงไป เชน การครอบงํากิจการ หรือเปลี่ยนประเภทการประกอบธุรกิจ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยจะพิจารณาทบทวนการจัดหมวดธุรกิจของบริษัทโดยไมตองรอการพิจารณาประจําป โดยการปรับยายจะกระทําเมื่อการเปลี่ยนแปลงโครงสรางมีผลแลวเทานั้น ทั้งนี้ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จะสงหนังสือไปแจงใหทางบริษัทราบลวงหนา

3) การรองขอจากทางบริษัทจดทะเบียน บริษัทจดทะเบียนจะรองขอใหทางตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทําการปรับเปลี่ยนการจัดกลุมอุตสาหกรรมและหมวดธุรกิจได หากเห็นวาไมเหมาะสม โดยใหทําหนังสือพรอมทั้งแนบขอมูลตางๆ มาที่ตลาดหลักทรัพย

Page 45: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

34

Page 46: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

35

Industry Group Sector Name (En) ช่ือหมวดธุรกิจ (ไทย) Index Symbol

Agribusiness ธุรกิจการเกษตร AGRI

Food and Beverage อาหารและเคร่ืองด่ืม FOOD

Fashion แฟช่ัน FASHION

Home & Office Products ของใชในครัวเรือนและสํานักงาน HOME

Personal Products &

Pharmaceuticalsของใชสวนตัวและเวชภัณฑ PERSON

Banking ธนาคาร BANK

Finance and Securities เงินทุนและหลักทรัพย FIN

Insurance ประกันภัยและประกันชีวิต INSUR

Automotive ยานยนต AUTO

Industrial Materials & Machinery วัสดุอุตสาหกรรมและเคร่ืองจักร IMM

Packaging บรรจุภัณฑ PKG

Paper & Printing Materials กระดาษและวัสดุการพิมพ PAPER

Petrochemicals & Chemicals ปโตรเคมีและเคมีภัณฑ PETRO

Steel เหล็ก STEEL

Construction Materials วัสดุกอสราง COMMAT

Property Development พัฒนาอสังหาริมทรัพย PROP

Property fund กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย PFUND

Energy & Utilities พลังงานและสาธารณูปโภค ENERG

Mining เหมืองแร MINE

Commerce พาณิชย COMM

Media & Publishing สื่อและสิ่งพ่ิมพ MEDIA

Health Care Services การแพทย HELTH

Tourism & Leisure การทองเที่ยวและสันทนาการ TOURISM

Professional Services บริการเฉพาะกิจ PROF

Transportation & Logistics ขนสงและโลจิสติกส TRANS

Electronic Components ช้ินสวนอิเล็กทรอนิกส ETRON

Information & Communication

Technologyเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ICT

ทรัพยากร

Resources

เทคโนโลยี

Technology

บริการ

Service

เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร

Agro & Food Industry

สินคาอุปโภคบริโภค

Consumer Products

ธุรกิจการเงิน

Financials

สินคาอุตสาหกรรม

Industrials

อสังหาริมทรัพยและกอสราง

Property & Construction

แผนภาพที่ 2.4 โครงสรางและนิยามกลุมอุตสาหกรรม 8 กลุมและหมวดธุรกิจ 27 หมวดที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จัดกลุมอุตสาหกรรมและหมวดธุรกิจในป 2554

Page 47: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

36

2.3.5.4 นิยามของกลุมอุตสาหกรรม1) กลุมเกษตรและอุตสาหกรรม (Agro & Food Industry) หมายถึง กลุม

อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการเพาะปลูก ทําปาไม ทําปศุสัตว การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร และการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม

1.1) หมวดธุรกิจการเกษตร (Agribusiness) ประกอบดวยธุรกิจที่ทําการเพาะปลูก ทําการปศุสัตว ทําการประมง ทําปาไม การแปรรูป การชําแหละและการเก็บกักรักษาสินคาเกษตร รวมถึงตัวแทนจําหนายผลิตผลทางการเกษตรเบื้องตนเพื่อนําไปใชตอในอุตสาหกรรมอื่นๆ ยกเวน ธุรกิจท่ีเกี่ยวกับปุย และยาปราบศัตรูพืชที่เปนเคมีภัณฑและกิจการที่เกี่ยวของกับเสนใย

1.2) หมวดอาหารและเครื่องดื่ม (Food & Beverage) ประกอบดวยผูผลิตอาหารโดยแปรรูปจากผลิตผลทางการเกษตร ผูประกอบกิจการรานอาหาร ตัวแทนจําหนายอาหารและรวมถึงผูผลิตเครื่องดื่มตาง ๆ

2) กลุมสินคาอุปโภคบริโภค (Consumer Products) หมายถึง กลุมอุตสาห-กรรมที่เกี่ยวกับสินคาเพื่อการอุปโภคบริโภคตางๆ ทั้งที่เปนสินคาที่จําเปนและสินคาฟุมเฟอย

2.1) หมวดแฟชั่น (Fashion) ประกอบดวยผูประกอบธุรกิจ เปนผูผลิต ออกแบบ เปนตัวแทนจําหนายสินคา ตอไปนี้

2.1.1) เครื่องนุงหม รองเทา เครื่องหนัง และกระเปา2.1.2) ผูเจียรนัยและแปรรูปอัญมณี และเครื่องประดับตางๆ2.1.3) ผูผลิตวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมนี้ เชน ผูผลิตเสนใย

เสนดาย และฟอกหนัง เปนตน2.2) หมวดของใชในครัวเรือนและสํานักงาน (Home & Office Products)

ประกอบดวยผูประกอบธุรกิจเกี่ยวกับสินคาประเภทของใชในครัวเรือน หรือสํานักงาน ดังนี้ 2.2.1) ผูผลิตแล ะตัว แทน จําห น าย ของใช ในครั ว เรื อน เชน

เฟอรนิเจอร เครื่องตกแตงบาน อุปกรณกีฬา ของเลน และเครื่องครัว เปนตน2.2.2) ผูผลิตและตัวแทนจําหนายเครื่องใชไฟฟาภายในบาน และ

สํานักงานเชน โทรทัศน เครื่องเสียง เครื่องถายเอกสาร เปนตน2.2.3) ผูผลิตของใชในสํานักงาน เชน ปากกา และแฟมเอกสาร

ตางๆ

Page 48: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

37

2.3) หมวดของใชสวนตัวและเวชภัณฑ (Personal Products) ประกอบดวยผูประกอบธุรกิจตอไปนี้

2.3.1) ผูผลิตและตัวแทนจําหนายสินคาเพื่อการอุปโภคสวนตัวตางๆ เชน เครื่องสําอาง ผลิตภัณฑบํารุงผิวพรรณ น้ําหอม ผาออม และกระดาษชําระ

2.3.2) ผูผลิตและตัวแทนจําหนายยา เครื่องมือทางการแพทย และสินคาที่ใช Biotechnology ตางๆ

3) กลุมธุรกิจการเงิน (Financials) หมายถึง กลุมผูใหบริหารทางการเงินประเภทตางๆ เชน ธนาคาร บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย และบริษัทประกันภัย เปนตน

3.1) หมวดธนาคาร (Banking) ประกอบดวย ผูที่ประกอบธุรกิจธนาคารตาม พ.ร.บ. การธนาคารพาณิชยและกฎหมายที่เกี่ยวของ รวมถึงกิจการในลักษณะเดียวกันที่จัดตั้งขึ้นภายใตกฎหมายพิเศษ

3.2) หมวดเงินทุนและหลักทรัพย (Finance & Securities) ประกอบดวย ผูประกอบธุรกิจบริษัทเงินทุน ลิสซิ่ง เชาซื้อ แฟกเตอริ่ง บัตรเครดิต สินเชื่อเพื่อการบริโภค บริษัทหลักทรัพย บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนรวม และผูใหบริการดานธุรกิจหลักทรัพยอื่นๆ (ในกรณีของการเชาซื้อจะตองไมเปนผูใหบริการหรือขายสินคาใหแกลูกคาโดยตรง)

3.3) หมวดประกันภัยและประกันชีวิต ( Insurance) ประกอบดวย ผูประกอบการธุรกิจตาม พ.ร.บ.ประกันภัย พ.ร.บ.ประกันชีวิต รวมทั้งกิจการใหลักษณะเดียวกันที่จัดตั้งขึ้นภายใตกฎหมายพิเศษ

4) กลุมสินคาอุตสาหกรรม (Industrials) หมายถึง กลุมอุตสาหกรรมเกี่ยวกับวัตถุดิบทั่วไปที่สามารถนําไปใชในหลายอุตสาหกรรม สินคาขั้นตนหรือสินคาขั้นกลาง เครื่องมือและเครื่องจักรตาง ๆที่นําไปใชตอในอุตสาหกรรมการผลิตตางๆ นอกจากนี้ ยังรวมถึงอุตสาหกรรมยานยนต

4.1) หมวดยานยนต (Automotive) ประกอบดวย ผูประกอบธุรกิจตอไปนี้4.1.1) ผูผลิตหรือประกอบรถยนตและยานยนตประเภทตางๆ4.1.2) ผูผลิต ตัวแทนจําหนายหรือผูประกอบชิ้นสวนหรืออะไหล

รถยนต4.1.3) ผูใหบริการซอมบํารุงรถยนต 4.1.4) ผูจัดจําหนาย และศูนยจําหนายรถยนตทั้งมือหน่ึงและมือสอง

4.2) หมวดปโตรเคมีและเคมีภัณฑ (Petrochemicals & Chemicals) ประกอบดวยผูประกอบธุรกิจตอไปนี้

Page 49: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

38

4.2.1) ผูผลิตและตัวแทนจําหนายสินคาในอุตสาหกรรมปโตรเคมีเม็ดและผลพลาสติก และผลิตภัณฑพลาสติกตางๆ

4.2.2) ผูผลิตและตัวแทนจําหนายสารเคมี เคมีภัณฑพื้นฐาน เคมีภัณฑแปรรูปตางๆ ปุย และยาปราบศัตรูพืช

4.2.3) ยกเวน การผลิตสินคาพลาสติกขึ้นรูปเพื่อเปนอุปกรณ ชิ้นสวนหรือเครื่องประกอบของสินคาขั้นสุดทาย หรือ กลุมสินคาใดเปนการเฉพาะ

4.3) หมวดวัสดุอุตสาหกรรมและเครื่องจักร (Industrial Materials & Machine) ประกอบดวยผูประกอบธุรกิจ ตอไปนี้

4.3.1) ผูผลิตและจําหนายเครื่องจักรและเครื่องมือทุกชนิด ไมวาจะเปนเครื่องจักรกลหนักหรือเบา

4.3.2) อุปกรณหรือสวนประกอบพื้นฐานของเครื่องใชไฟฟาตางๆ เชน สายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟา และมอเตอรตางๆ

4.3.3) วัตถุดิบที่ ใช ในหลายอุตสาหกรรมแตไมใช เหล็ก เชน อลูมิเนียม เปนตน

4.3.4) ยกเวน บริษัทที่ผลิตเครื่องมือหรืออุปกรณที่ใชไดเฉพาะในหมวดธุรกิจของสินคาขั้นปลายนั้นๆ

4.4). หมวดบรรจุภัณฑ (Packaging) ประกอบดวย ผูผลิตและตัวแทนจําหนายบรรจุภัณฑและสวนประกอบของบรรจุภัณฑ รวมทั้งวัสดุหรือผลิตภัณฑซึ่งนําไปผลิตบรรจุภัณฑซึ่งไมไดระบุไวในหมวดธุรกิจอื่นๆ

4.5) หมวดกระดาษและวัสดุการพิมพ (Paper & Printing Materials) ประกอบดวยผูประกอบธุรกิจตอไปนี้

4.5.1) ผูผลิตและตัวแทนจําหนายเยื่อกระดาษ กระดาษ และผลิตภัณฑกระดาษทุกชนิด

4.5.2) ผูผลิตและตัวแทนจําหนายหมึกสําหรับใชในการพิมพตางๆ (แตไมรวมโรงพิมพซึ่งอยูในหมวด Media &Publishing)

4.6) หมวดเหล็ก (Steel) ประกอบดวย ผูผลิต แปรรูป หรือจําหนายผลิตภัณฑเหล็ก หรือ มีสวนประกอบจากเหล็กเปนหลัก เชน สเตนเลส เปนตน

Page 50: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

39

5) กลุมอสังหาริมทรัพยและกอสราง (Property & Construction) หมายถึง กลุมผูผลิตวัสดุกอสรางและผูพัฒนาอสังหาริมทรัพย

5.1) หมวดวัสดุกอสราง (Construction Materials) ประกอบดวย ผูผลิตและตัวแทนจําหนายวัสดุกอสรางและวัสดุตกแตงตางๆ ไมวาจะผลิตมาจากวัสดุประเภทใดก็ตามที่มิใชเหล็ก และรวมถึงสุขภัณฑ

5.2) หมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพย (Property Development) ประกอบดวยผูประกอบธุรกิจตอไปนี้

5.2.1) ผูใหบริการกอสรางอาคาร ที่อยูอาศัย และสิ่งปลูกสรางอื่นๆ 5.2.2) ผูพัฒนา บริหาร จัดการ หรือใหบริการที่เกี่ยวของกับ

อสังหาริมทรัพย5.2.3) ตัวแทนหรือนายหนาในการจําหนายและใหเชา

อสังหาริมทรัพย5.2.4) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย

5.3) หมวดกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย (Property Fund) ประกอบดวยกองทุนรวมที่มีวัตถุประสงคที่จะนําเงินไปลงทุนในอสังหาริมทรัพยตางๆ เชน หางสรรพสินคาโรงหนัง สนามบิน เซอรวิส อพารทเมนท ฯลฯ รายไดของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพยมาจากคาเชา ดอกเบี้ยและกําไรจากการซื้อขายอสังหาริมทรัพย

6) กลุมทรัพยากร (Resources) หมายถึง กลุมอุตสาหกรรมเกี่ยวกับการแสวงหาหรือจัดการทรัพยากรตางๆ เชน การผลิตและจัดสรรเชื้อเพลิง พลังงาน และการทําเหมืองแร เปนตน

6.1) หมวดพลังงานและสาธารณูปโภค (Energy & Utilities) ประกอบดวยผูประกอบธุรกิจตอไปนี้

6.1.1) ผูผลิต สํารวจ ขุดเจาะ กลั่น และตัวแทนจําหนายพลังงานธรรมชาติในรูปตางๆ เชน น้ํามันและกาซธรรมชาติ

6.1.2) ผูใหบริการสาธารณูปโภคตางๆ เชน ไฟฟา ประปา และแกส6.2) หมวดเหมืองแร (Mining) ประกอบดวย ผูสํารวจแร ทําเหมืองแร ถลุง

แร และตัวแทนจําหนายแรโดยแรเหลานี้เปนแรธาตุตางๆ ทั้งที่เปนโลหะและอโลหะ แตไมรวมถึงแรธาตุที่ใหพลังงาน

7) กลุมบริการ (Services) หมายถึง กลุมผูประกอบธุรกิจในสาขาบริการที่มิใชบริการทางการเงินหรือไมไดถูกระบุเฉพาะเจาะจงใหอยูในกลุมอุตสาหกรรมอื่น

Page 51: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

40

7.1) หมวดการแพทย (Health Care Services) ประกอบดวย ผูใหบริการทางการแพทย ทันตแพทย ศัลยกรรมความงาม การฟนฟูสุขภาพและสมรรถภาพทางกายอื่นๆ

7.2) หมวดสื่อและสิ่งพิมพ (Media & Publishing) ประกอบดวยผูประกอบธุรกิจตอไปนี้

7.2.1) ผูผลิตและตัวแทนจําหนายสื่อดานตางๆ ไดแก สื่อบันเทิง เชน ดนตรี ภาพยนตร ละคร และรายการบันเทิงตางๆ รวมถึงผูใหบริการดานความบันเทิงอื่นๆ เชน โรงภาพยนตร และโรงละคร ผูกระจายภาพและเสียง เชน สถานีวิทยุและโทรทัศนผูผลิตและจัดทําสื่อโฆษณาตางๆ เชน Advertising Agency

7.2.2) ผูผลิตและตัวแทนจําหนายสื่อสิ่ งพิมพ เชน โรงพิมพ สํานักพิมพ และผูผลิตหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ และสื่อสิ่งพิมพอื่นๆ

7.3) หมวดบริการเฉพาะกิจ (Professional Services) ประกอบดวย บริษัทที่ใหบริการเฉพาะดานตางๆ ที่ไมไดระบุไวหมวดธุรกิจ เชน การศึกษา ที่ปรึกษาทางธุรกิจ และผูใหบริการบําบัดของเสีย เปนตน และ ผูใหบริการดังกลาวอาจจะใหบริการโดยเฉพาะแกธุรกิจประเภทหนึ่งก็ได เชน ที่ปรึกษาทางอสังหาริมทรัพยก็ใหอยูในหมวดนี้

7.4) หมวดพาณิชย (Commerce) ประกอบดวยผูใหบริการจําหนายสินคาทั้งแบบคาปลีกและคาสงใหแกผูบริโภค ทั้งที่มีหนารานเปนสถานที่จัดจําหนาย เชน หางราน หางสรรพสินคา ดิสเคาทสโตร รานสะดวกซื้อ และการขายที่ไมมีหนาราน เชน การขายผานสื่ออิเล็กทรอนิกส และสินคาที่จําหนายตองเปนสินคาขั้นสุดทายสําหรับผูบริโภค จะเปนสินคาจากหลายหมวดก็ได

7.5) หมวดการทองเที่ยวและสันทนาการ (Tourism & Leisure) ประกอบดวย ผูประกอบการโรงแรมและที่พักชั่วคราวตางๆ และผูใหบริการดานการทองเที่ยวตางๆ เชนบริษัท นําเที่ยว และ ผูประกอบกิจการสถานที่เพื่อการพักผอน สันทนาการและทัศนศึกษา เชน สวนสัตว สถานบันเทิง สถานเพื่อออกกําลังกายและสนามกีฬา

7.6) หมวดขนสงและโลจิสติกส (Transportation & Logistic) ประกอบดวยผูใหบริการที่เกี่ยวของกับการขนสงในทุกๆ ชองทาง ตัวอยาง เชน สนามบินและสายการบินผูใหบริการขนสงทางน้ํา เชน ทาเรือและบริษัทเดินเรือ ผูใหบริการขนสงทางรถไฟ และการขนสงทางบกอื่นๆ และผูรับสงสินคาแบบครบวงจร (Logistics) และผูรับฝากสินคา ใหเชาคลังสินคา และบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

Page 52: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

41

8) กลุมเทคโนโลยี (Technology) หมายถึง กลุมอุตสาหกรรมเกี่ยวกับสินคาเทคโนโลยี ไมวาจะเปนสินคาขั้นตน ขั้นกลางหรือขั้นสุดทาย และรวมถึงผูใหบริการทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

8.1) หมวดชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส (Electronic Components) ประกอบดวย ผูผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสที่ใชในเครื่องใชไฟฟา หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสโดยทั่วไป เชน IC PCB Semiconductor ยกเวน ชิ้นสวนที่ผลิตขึ้นเพื่อใชเฉพาะในคอมพิวเตอร

8.2) หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication Technology) ประกอบดวยผูประกอบธุรกิจตอไปนี้

8.2.1) ผูใหบริการเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการจัดการขอมูลและการสื่อสาร เชน ผูใหบริการเครือขายโทรคมนาคม ดาวเทียม เคเบิล ผูวางระบบ IT และผูใหบริการเครือขายทางอินเทอรเน็ต จัดทําออกแบบอินเทอรเน็ต เปนตน

8.2.2) ผูผลิต หรือ ใหบริการติดตั้งระบบคอมพิวเตอร เมนเฟรม Server

8.2.3) ผูผลิตและหรือผูจําหนายอุปกรณสําหรับเทคโนโลยี เชน อุปกรณสื่อสารโทรคมนาคมฮารดแวร และชิ้นสวนเฉพาะของคอมพิวเตอร และผูพัฒนาซอฟทแวร

2.3.5.5 การปรับหมวดธุรกิจ หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยมีการปรับหมวดสื่อสารเปน หมวดเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology ชื่อยอ ICT) โดยจะมีการปรับยายบริษัทจดทะเบียนไปอยูในหมวดธุรกิจที่เหมาะสม เริ่มตั้งแตวันที่ 3 กรกฎาคม 2549

สําหรับหมวดธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ไดปรับนิยามของหมวดสื่อสารเดิมใหครอบคลุมถึงผูใหบริการเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการจัดการขอมูลและการสื่อสาร ผูใหบริการเครือขายทางอินเทอรเน็ต และผูผลิตหรือใหบริการติดตั้งระบบคอมพิวเตอรเมนเฟรม Server ผูผลิตและจําหนายอุปกรณสื่อสารโทรคมนาคม ฮารดแวร และชิ้นสวนเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรและผูพัฒนาซอฟทแวร สงผลใหมีการยายบริษัทจดทะเบียนจากหมวดเครื่องใชไฟฟาและคอมพิวเตอร 4 บริษัทมารวมในกลุมนี้ เมื่อประกอบดวยบริษัทในหมวดสื่อสารเดิม 18 บริษัท จึงทําใหมีบริษัทในหมวดนี้ ทั้งสิ้น 22 บริษัท

ปจจุบันมีการจัดบริษัทจดทะเบียนในหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จํานวนทั้งสิ้น 27 บริษัท

Page 53: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

42

แผนภาพที่ 2.5 หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามลักษณะธุรกิจ

SET

กลุมเกษตรและ

อุตสาหกรรมอาหาร

กลุมสินคา

อุปโภคบริโภค

กลุมธุรกิจ

การเงิน

กลุมสินคา

อุตสาหกรรม

กลุมอสังหาริมทรัพย

และกอสราง

กลุมบริการ

กลุมทรัพยากร

กลุมเทคโน

โลยี

หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

หมวดชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส

ธุรกิจระบบสื่อสารโทรคมนาคม เปนกลุมธุรกิจที่ใหบริการดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารโทรคมนาคมผานโครงขายโทรคมนาคมตางๆ รวมทั้งบริการรับเหมาออกแบบ ติดตั้งบํารุงรักษาระบบแบบครบวงจร

กลุมธุรกิจใหบริการอินเทอรเน็ต เปนกลุมธุรกิจที่ใหบริการศูนยขอมูลอินเทอรเน็ต บริการอินเทอรเน็ตและบริการรับ-สงสัญญาณผานดาวเทียมเพื่อการสื่อสารทั้งภายในประเทศและตางประเทศ

กลุมธุรกิจจําหนายอุปกรณสื่อสาร เปนกลุมธุรกิจที่นําเขาเปนตัวแทนจําหนายและจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่รวมถึงอะไหลและอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่

กลุมธุรกิจสื่อสารไอทีและโทรคมนาคมครบวงจร เปนกลุมธุรกิจที่ใหบริการสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย ดาวเทียม ธุรกิจมัลติมีเดียรวมถึงบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงและอุปกรณสื่อสารไอทีทุกชนิด

กลุมที่ 1

กลุมที่ 2

กลุมที่ 3

กลุมที่ 4

Page 54: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

43

กลุมที่ 1. ธุรกิจระบบสื่อสารโทรคมนาคม ประกอบดวยจํานวน 6 บริษัท ดังนี้1. บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)2. บริษัท สามารถเทเลคอม จํากัด (มหาชน)3. บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน)4. บริษัท แอ็ดวานซ อินเฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน)5. บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จํากัด (มหาชน)6. บริษัท จัสมิน เทเลคอม ซิสเต็มส จํากัด (มหาชน)

กลุมที่ 2 ธุรกิจใหบริการอินเทอรเน็ต ประกอบดวยจํานวน 4 บริษัท ดังนี้1. บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน)2. บริษัท เมโทรซิสเต็มคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)3. บริษัท ซีเอส ล็อคซอินโฟ จํากัด (มหาชน)4. บริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย จํากัด (มหาชน)

กลุมที่ 3 ธุรกิจจําหนายอุปกรณสื่อสาร ประกอบดวยจํานวน 12 บริษัท ดังนี้1. บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)2. บริษัท ซินเน็ค (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)3. บริษัท เอสวีโอเอ จํากัด (มหาชน)4. บริษัท เจ มารท จํากัด (มหาชน)5. บริษัท สามารถ ไอ-โมบาย จํากัด (มหาชน)6. บริษัท ฟอรท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)7. บริษัท เอ็ม ลิ้งค เอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)8. บริษัท ทีดับบลิวแซด คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)9. บริษัท พรีเมียร เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน)10. บริษัท อินเตอรแนชั่นเนิลเอนจีเนียริง จํากัด (มหาชน)11. บริษัท ซิมโฟนี่ คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน)12. บริษัท บลิส-เทล จํากัด (มหาชน)

Page 55: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

44

กลุมที่ 4 ธุรกิจสื่อสารไอทีและโทรคมนาคมครบวงจร ประกอบดวยจํานวน 5 บริษัท ดังนี้1. บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน)2. บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)3. บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)4. บริษัท สามารถคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)5. บริษัท ทีทีแอนดที จํากัด (มหาชน)

Page 56: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

45

2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของจรุวรรณ ขุนทอง (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรม

เกษตรและอาหาร กรณี บริษัท สามพราน จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึ่งผลการศึกษาสรุปไดวา ประเด็นเกี่ยวกับฐานะทางการเงิน ปรากฎวา บริษัทฯขาดสภาพคลอง สงผลใหบริษัทฯ มีความสามารถในการจายชาระหนี้ระยะสั้นนั้นอยูในเกณฑที่ต่ํา แตก็มีแนวโนมดีขึ้นทุกป ในประเด็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการดําเนินงาน ปรากฎวา บริษัทฯ มีการบริหารจัดการทั้งลูกหนี้และสินคาไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในประเด็นเกี่ยวกับโครงสรางเงินลงทุน ปรากฎวา แมวาโครงสรางเงินลงทุนของบริษัทฯ จะมาจากสวนของหนี้สินเปนสวนใหญแตก็มีแนวโนมที่จะใชเงินทุนจากสวนของหนี้สินลดลงและความสามารถในการจายดอกเบี้ยก็อยูในระดับที่เพิ่มขึ้น ในประเด็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการทํากําไรปรากฏวา บริษัทฯ มีประสิทธิภาพในการดําเนินงานในการทํากําไรเพิ่มขึ้นภายใตความเสี่ยงทางการเงินและความเสี่ยงทางธุรกิจ

พยุง เกียงศรี (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท ไทยชูการ เทอรมิเนิ้ล จํากัด (มหาชน) ผลการศึกษาสรุปวา บริษัท ไทยชูการ เทอรมิเนิ้ล จากัด (มหาชน) มีอัตราสวนในการทํากําไร และมีอัตราสวนที่สามารถวัดประสิทธิภาพการทํางานได ถึงแมจะมีอัตราสวนวัดสภาพคลองคอนขางนอยแตก็มีสัดสวนกําไรใหกับผูถือหุน ซึ่งอาจเปนผลจากการบริหารสินคาคงเหลือ ระยะเวลาขาย และ ลูกหนี้ เพื่อสรางอัตราสวนสภาพคลองใหมากขึ้น

วรณัน แซซิว (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึ่งผลการศึกษาสรุปไดวา (1) อัตราสวนดานสภาพคลองทางการเงิน ในป 2551 ถึง 2555 บริษัทฯ สะทอนใหเห็นความสามารถมีในการชาระหนี้มีสภาพคลองพอสมควร ในอัตราสวน 1.18 - 1.80 และ 0.48 - 1.18 เทา (2) วิ เคราะหอัตราสวนแสดงความสามารถในการบริหารสินทรัพย บริษัทฯ มีความสามารถพอสมควรในการใชเงินลงทุนในการบริหารสินทรัพย ในอัตรา 4.94 - 9.08, 3.51 - 5.00, 1.29 – 1.56 เทา (3) วิเคราะหอัตราสวนแสดงความสามารถในการกอหนี้บริษัทฯ มีความสามารถในการจัดหาแหลงเงินทุนคอนขางสูง โดยคิดเปนอัตรารอยละ 51.67 - 61.11, 20.51 - 30.45, 106 - 157.11 และ (4) วิเคราะหอัตราสวนแสดงความสามารถในการทํากําไร บริษัทฯ มีความสามารถในการทํากําไรใหกิจการดีขึ้นเรื่อย ๆ โดยเห็นไดจากอัตรารอยละ 13.12 – 19.49, 3.78 -9.28, 2.06 - 7.88, 3.00 – 10.99 และ 7.08 – 24.21 บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปนบริษัทนาสนใจในการลงทุน เนื่องจากภาพรวมจากผลประกอบการทั้ง 5 ปแนวโนมมีการทํากําไรทุกป เนื่องจากบริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) และ

Page 57: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

46

บริษัทยอยมีพันธมิตรทางธุรกิจหลายบริษัท ทําใหการขยายการตลาดทั้งในประเทศ และตางประเทศ จึงทําใหมีการเพิ่มชองทางในการผลิต และจําหนายสินคาไดมากขึ้น

ศิริวรรณ ลิ้มสมบัติอนันต (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท แบตเตอร เวิลด กรีน จํากัด (มหาชน) ผลการศึกษาสรุปวา การศึกษาขอมูลในแนวดิ่งและแนวโนมพบวา บริษัทฯ มีแนวโนมในการทํารายไดและกําไรเพิ่มขึ้นจากสภาพเศรษฐกิจที่การสงเสริมภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากการลงทุนสินทรัพยเพิ่มในสวนที่หลุมกลบขยะ สวนการวิเคราะหอัตราสภาพคลองของบริษัทฯ อยูในเกณฑปกติ แตมีระยะเวลาในการเก็บหนี้มีจํานวนมากกวาระยะเวลาการชําระหนี้ อาจมีผลกระทบตอสภาพคลองของบริษัทฯในภายหลังได อัตราสวนวิเคราะหความสามารถในการหากําไรของบริษัทฯ เปนอัตราสวนวัดประสิทธิภาพในการใชเงินทุนทั้งหมด หรือเงินทุนจากสวนของผูถือหุน สําหรับบริษัทฯนี้ ผลตอบแทนสวนของผูถือหุนสามัญ (Return on Equity) ก็ไดเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทุกป

สุรียพร จันทรงาม (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท สุรพลฟูดส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึ่งผลการศึกษาสรุปไดวา สภาพคลอง อยูในเกณฑที่ดีมาก ในสวนของสินทรัพยหมุนเวียนตอหนี้สินหมุนเวียนของบริษัทฯในป พ.ศ. 2551-2552 และ 2555 มีสภาพคลองมากเพราะมีสินทรัพยหมุนเวียนไว 2.08 – 2.68 และ 2.07 บาท สําหรับทุกๆหนี้สินหมุนเวียน 1 บาท สวนป พ.ศ. 2553 กลับมีสภาพคลองลดลงในสวนของสินทรัพยหมุนเวียนตอหนี้สินหมุนเวียนคือ1.36 เทา เพราะมีสินทรัพยหมุนเวียนไว 1.36 บาท สําหรับทุกๆหนี้สินหมุนเวียน 1บาท โดยทั่วไปอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนควรจะมีคาอยางนอยเปน 2: 1 ดานประสิทธิภาพในการดําเนินงาน ของบริษัทฯ มีอัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้อยูในเกณฑที่ดี สวนสินคาคงเหลือ ระยะเวลาการขายสินคา และการบริหารจัดการสินคาคงเหลือไปในทิศทางที่ดีขึ้น ดานความสามารถในการกอหนี้ของบริษัทฯ มีโครงสรางเงินทุนสวนมากมาจากแหลงเงินทุนภายในบริษัทฯ ทําใหบริษัทไมตองรับภาระดอกเบี้ยความสามารถในการชําระหนี้อยูในเกณฑดีขึ้นดานความสามารถในการทํากําไร พบวา บริษัทฯ มีความสามารถในการทํากําไรอยูในเกณฑที่ดี อาจจะมีลดลงบางแตก็ไมมากนักเม่ือเทียบกันทั้ง 5 ป

สุจินต ดวงดี (2553) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท ไปรษณียไทย จํากัด พ.ศ.2547-2551 ซึ่งผลการศึกษาสรุปไดวา บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด มีสภาพคลองอยูในเกณฑคอนขางดีและมีแนวโนมปรับเพิ่มขึ้นทุกปอยางตอเนื่องและความสามารถในการทํากําไรเปนไปในทิศทางเดียวกันแตปรับขึ้นไมมากนัก แตอัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม และอัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้ รวมทั้งการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือมีแนวโนมลดลง

Page 58: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

47

อนิรุทธ บุญลอย (2553) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของธุรกิจสกัดน้ํามันปาลม ในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหงบการเงินของธุรกิจสกัดน้ํามันปาลมในประเทศไทย ผลการศึกษาพบวา ความสามารถในการทํากําไร ของธุรกิจสกัดน้ํามันปาลมในประเทศไทย มีอัตราการทํากําไรเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สภาพคลองของธุรกิจก็มีแนวโนมดีขึ้นทุกป ประสิทธิภาพในการดําเนินงาน ระยะเวลาในการเก็บหนี้และระยะเวลาการหมุนของสินคาอยูในเกณฑดี ดังนั้นจึงสงผลใหความเสี่ยงตอการขาดสภาพคลองของธุรกิจมีนอย สวนความสามารถในการชาระหนี้ก็อยูในเกณฑที่ดี

รัญจวน สมศรี (2552) ไดทําการศึกษาเรื่องการประเมินฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน โดยวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลปาซาง อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา ซึ่งผลการศึกษาสรุปไดวา ฐานะการเงินขององคการบริหารสวนตําบลปาซาง มีสภาพคลองของสินทรัพยสูงและมีความสามารถในการชําระหนี้ระยะสั้นไดดี และสามารถบริหารสินทรัพยเพิ่มขึ้น ดานสภาพหนี้หรือความเสี่ยงทางดานการเงินและภาระหนี้สินอยูในระดับต่ําเนื่องจากไมมีการกูยืมเงินจากแหลงเงินกูใดมาลงทุน ความสามารถในการทํากําไร มีอัตรากําไรสุทธิ(เงินสะสมสุทธิ) และอัตราผลตอบแทนตอสินทรัพยที่ลดลง

อมราลักษณ ภูวไนยวีรพงศ (2552) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงิน คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปงบประมาณ 2547 – 2551 ซึ่งผลการศึกษาสรุปไดวา ดานความคลองตัวทางการเงินระยะสั้น ในสวนของเงินทุนหมุนเวียนอยูในเกณฑที่ดีมีสภาพคลองสูงเพียงพอตอการชําระหนี้ระยะสั้นและมีอัตราหนี้สินคงที่ดานความสามารถในการบริหารการเงินอยูในเกณฑที่ดี โดยเปนการใชประโยชนจากสินทรัพยอยางเต็มที่ ดานความสามารถในการทํากําไรมีรายรับอยูในเกณฑที่ดีและคาใชจายมีสัดสวนเพิ่มขึ้นทุกป

วิลาวัลย ตุมเฟยม (2551) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินเปรียบเทียบบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ โดยการนํางบการเงินเฉพาะกิจการรายไตรมาสของบริษัทตั้งแตเริ่มซื้อขายหลักทรัพยในตลาดฯ ถึงไตรมาสที่ 2 ป พ.ศ. 2551 ที่มี 6 ไตรมาสขึ้นไป จํานวน 41 บริษัท มาวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน ผลการศึกษาพบวา อัตราสวนวัดความสามารถในการทํากําไร บริษัทที่เจริญเติบโตขึ้นมีจานวน 25 บริษัท มีแนวโนมลดลง 16 บริษัท เกิดจากการที่ตนทุนขายและตนทุนการดําเนินงานสูง อัตราสวนวัดสภาพคลองของทั้งตลาดสวนใหญสามารถจายหนี้ระยะสั้นไดดี อัตราวัดภาระหนี้สินจานวน 20 บริษัท มีอัตราการเพิ่มขึ้นของหนี้สินมากกวาการเพิ่มขึ้นของทุน และความสามารถในการจายดอกเบี้ยเปนไปในทิศทางเดียวกับผลการดําเนินงาน อัตราวัดมูลคาตลาด ไมสามารถนํามาวิเคราะหทิศทางการดําเนินงานได เนื่องจากมูลคา

Page 59: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

48

ทางบัญชีที่เกิดจากการบันทึกตัวเลข ตามมาตรฐานของบัญชีไมสามารถกําหนดทิศทางราคาตลาดได

2.5 กรอบแนวคิดการวิจัย

จากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ของธงชัย สันติวงษและชัยยศ สันติวงษ (2537) เพชรี ขุมทรัพย (2554) เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค (2554) เยาวรักษ สุขวิบูลย (2556) นํามาวิเคราะหงบการเงินของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย โดยใชอัตราสวนทางการเงินมาชวยในการวิเคราะหงบการเงิน จากการนําขอมูลในงบการเงินซึ่งประกอบดวย งบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกระแสเงินสด ที่มีความสัมพันธหรือเกี่ยวของกันมาเปรียบเทียบกันในรูปของอัตราสวน ทําใหไดผลการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio Analysis) ดังนี้

1. อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratios)2. อัตราสวนประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย (Activity Ratios)3. อัตราสวนความสามารถในการบริหารหนี้สิน (Leverage Ratios)4. อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร(Profitability Ratios)5. อัตราสวนมูลคาตลาด (Market Value Ratios)

และการวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนม (Horizontal Analysis or Trend Analysis) โดยการเปรียบเทียบตัวเลขในงบการเงินตั้งแตสองรอบระยะเวลาบัญชีขึ้นไปคํานวณเปนรอยละ โดยนําตัวเลขในแตละปตั้งคูณดวยหนึ่งรอยหารดวยปฐาน เพื่อดูแนวโนมหรือทิศทางของรายการตางๆ ในแตละงวดบัญชีมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ลดลง หรือไมเปลี่ยนแปลง เพื่อประเมินฐานะการเงิน ประสิทธิภาพการดําเนินงาน

2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

กลุมอุตสาหกรรม หมายถึง บริษัทประกอบธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 27 บริษัท ผูใหบริการเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการจัดการขอมูลและการสื่อสาร ผูผลิตหรือใหบริการติดตั้งระบบคอมพิวเตอร เมนเฟรม Server ผูผลิตและหรือผูจําหนายอุปกรณสําหรับเทคโนโลยี และมีการแบงกลุมตามลักษณะของธุรกิจได 4 กลุม

Page 60: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

49

กลุม 2 หมายถึง กลุมธุรกิจใหบริการอินเทอรเน็ต เปนกลุมธุรกิจที่ใหบริการศูนยขอมูลอินเทอรเน็ต บริการอินเทอรเน็ตและบริการรับ-สงสัญญาณผานดาวเทียมเพื่อการสื่อสารทั้งภายในประเทศและตางประเทศ ประกอบดวย 4 บริษัท คือ บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) บริษัท เมโทรซิสเต็มคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ซีเอส ล็อคซอินโฟ จํากัด (มหาชน) และ บริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย จํากัด (มหาชน)

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) หมายถึง บริษัทหนึ่งที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยมีชื่อยอหลักทรัพยวา “JAS” และถือหุนในบริษัทยอย มีนโยบายการดําเนินธุรกิจเปนบริษัทเพื่อการลงทุน หรือ Holding Company โดยมีวัตถุประสงคในการลงทุนธุรกิจโทรคมนาคมและสารสนเทศ และเลือกลงทุนในธุรกิจตางๆ ที่มีผลิตภัณฑและบริการหลากหลายที่เอื้อประโยชนตอกันโดยอาศัยศักยภาพของโครงขาย

บริษัทยอย หมายถึง บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) เปนผูถือหุนโดยสวนใหญของบริษัทยอย ซึ่งบริษัทยอยประกอบธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารครบวงจร ทั้งในประเทศและระหวางประเทศ ดําเนินธุรกิจใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง โดยใหบริการวงจรเชื่อมตอความเร็วสูง ใหบริการโครงขายดิจิตอล ใหบริการอินเทอรเน็ตและแอพพลิเคชั่นตางๆ รวมทั้งใหบริการวายฟายทั่วประเทศ ใหบริการโครงขายโทรคมนาคม โดยใหบริการโครงขายเคเบิ้ลใยแกวนําแสงใตน้ําในฝงทะเลดานตะวันออกและตะวันตก ใหบริการวงจรเชา เพื่อรับสงขอมูลภายในประเทศและระหวางประเทศ ใหบริการสื่อสารผานดาวเทียม รวมทั้งธุรกิจเกี่ยวกับงานจัดหา ออกแบบ และวางระบบสื่อสารและโทรคมนาคม และเปนผูดําเนินการดานการจัดหาออกแบบวางระบบดานระบบสื่อสารและโทรคมนาคม จําหนายระบบคอมพิวเตอรและอุปกรณที่เกี่ยวของกับระบบสื่อสาร

Page 61: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

50

โครงสรางกลุมธุรกิจของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน)

บริษัท ทริปเปลที บรอดแบนด จํากัด (มหาชน)

บริษัท ทริปเปลที อินเทอรเน็ต จํากัด

บริษัท อิน คลาวด จํากัด

ธุรกิจใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง

ธุรกิจใหบริการโครงขาย

โทรคมนาคม

บริษัท จัสมิน ซับมารีน เทเลคอมมวินิเคชั่นส จํากัด

บริษัท ไทยลองดิสแทนสเทเลคอมนิวนิเคชั่นส จํากัด

บริษัท จัสเทล เน็ทเวิรค จํากัด

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนต จํากัด

บริษัท อคิวเมนท จํากัด

บริษัท เอเซียส รีเยนแนล เซอรวิส จํากัด

บริษัท สมารท ไฮเวย จํากัด

ธุรกิจงานจัดหาออกแบบและวางระบบสื่อสารและ

โทรตมนาคม

บริษัท จัสมิน เทเลคอม ซิสเต็มส จํากัด (มหาชน)

บริษัท คลาวด คอมพิวติ้ง โซลูชั่นส จํากัด

ธุรกิจอื่นๆ

บริษัท พรีเมียม แอสเซท จํากัด

บริษัท แจงวัฒนะแพลนเนอร จํากัด

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล โอเวอรซีส จํากัด

บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด

บริษัท เอเซียส (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท ปากเกร็ด แพลนเนอร จํากัด

แผนภาพที่ 2.6 โครงสรางกลุมธุรกิจของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยที่มา : รายงานประจําป 2555 ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน)

Page 62: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

บทที่ 3ผลการวิเคราะห

ในการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ในชวงระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ.2551 - ป พ.ศ.2555 ครั้งนี้ ผูวิจัยไดใชเครื่องมือทางการเงินตางๆ ในการวิ เคราะห เชิงปริมาณ และเชิงพรรณา วิเคราะหและเปรียบเทียบงบการเงิน เพื่อประเมินประสิทธิภาพเกี่ยวกับฐานะทางการเงิน ผลการดําเนินงานรวมถึงการเปลี่ยนแปลงในแตละป ของบริษัทฯ กับกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามลักษณะของธุรกิจเปน 4 กลุม ดังนี้

1. กลุมธุรกิจระบบสื่อสารโทรคมนาคม เปนกลุมธุรกิจที่ใหบริการดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารโทรคมนาคมผานโครงขายโทรคมนาคมตางๆ รวมทั้งบริการรับเหมาออกแบบ ติดตั้งบํารุงรักษาระบบแบบครบวงจร

2. กลุมธุรกิจใหบริการอินเทอรเน็ต เปนกลุมธุรกิจที่ใหบริการศูนยขอมูลอินเทอรเน็ตบริการอินเทอรเน็ตและบริการรับ-สงสัญญาณผานดาวเทียม เพื่อการสื่อสารทั้งภายในประเทศและตางประเทศ

3. กลุมธุรกิจจําหนายอุปกรณสื่อสาร เปนกลุมธุรกิจที่นําเขาเปนตัวแทนจําหนายและจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่รวมถึงอะไหลและอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่

4. กลุมธุรกิจสื่อสารไอทีและโทรคมนาคมครบวงจร เปนกลุมธุรกิจที่ใหบริการสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย ดาวเทียม ธุรกิจมัลติมีเดียรวมถึงบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงและอุปกรณสื่อสารไอทีทุกชนิด

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ชื่อยอหลักทรัพย “JAS” ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทั้งในประเทศและระหวางประเทศ ดําเนินธุรกิจใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (Broadband Business) โดยใหบริการวงจรเชื่อมตอความเร็วสูง ใหบริการโครงขายดิจิตอล ใหบริการอินเทอรเน็ตและแอพพลิเคชั่นตางๆ รวมทั้งใหบริการวายฟาย (Wi-Fi) ทั่วประเทศ ซึ่งบริษัทจัดอยูในกลุมที่ 2 ตามลักษณะของธุรกิจ

ในการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท จะทําการเปรียบเทียบกับอัตราสวนทางการเงินของกลุมที่ 2 และอัตราสวนทางการเงินของอุตสาหกรรมหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดังนี้

Page 63: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

51

3.1 การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio Analysis) 3.1.1 อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratios)3.1.2 อัตราสวนประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย (Activity Ratios)3.1.3 อัตราสวนความสามารถในการบริหารหนี้สิน (Leverage Ratios)3.1.4 อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร(Profitability Ratios)3.1.5 อัตราสวนมูลคาตลาด (Market Value Ratios)

3.2 การวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนม (Horizontal Analysis or Trend Analysis) จากผลการคํานวณหาคาอัตราสวนทางการเงินของบริษัทฯ กลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม

ทั้ง 17 อัตราสวน ไดผลการวิเคราะหดังนี้

Page 64: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

52

ตาราง 3.1 อัตราสวนทางการเงินของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS”

อัตราสวน 2551 2552 2553 2554 25551. ดานสภาพคลอง 1.1 อัตราสวนทุนหมุนเวียน 1.23 1.14 1.02 0.78 1.24 1.2 อัตราสวนทุนหมุนเวียนเร็ว 1.21 1.10 0.99 0.77 1.23

2. ดานประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย 2.1 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ 34.03 32.40 22.02 25.61 78.55 2.2 อัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้ 2.44 2.55 2.43 2.42 2.71 2.3 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ 149 143 150 151 135 2.4 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร 0.88 0.99 0.85 0.78 0.86 2.5 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม 0.43 0.52 0.50 0.49 0.53

3. ดานความสามารถในการบริหารหนี้สิน 3.1 อัตราสวนหน้ีสินตอสินทรัพย 0.52 0.58 0.62 0.59 0.50 3.2 อัตราสวนหน้ีสินตอสวนของเจาของ 1.07 1.39 1.61 1.42 1.00 3.3 อัตราสวนกําไรตอดอกเบ้ียจาย -2.16 3.28 3.52 4.29 7.41

4. ดานความสามารถในการทํากําไร 4.1 อัตราสวนกําไรสุทธิ -22.20 2.71 6.12 11.01 19.85 4.2 อัตราสวนกําไรสุทธิจากการดําเนินงาน ตอสินทรัพย

9.59 7.65 8.50 12.04 17.07

4.3 อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม -9.63 1.42 3.05 5.34 10.61 4.4 อัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน -19.96 3.40 7.98 12.91 21.19

5. ดานมูลคาตลาด 5.1 อัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิ -2.59 33.51 25.13 14.27 19.01 5.2 อัตราสวนราคาตอกระแสเงินสด 2.04 7.24 4.77 4.75 8.48 5.3 อัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชี 0.52 1.14 2.00 1.84 4.03

ที่มา : จากการคํานวณจากงบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกระแสเงินสด ป พ.ศ.2551 - พ.ศ.2555

Page 65: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

53

ตาราง 3.2 อัตราสวนทางการเงินของกลุม 2 ตามลักษณะของธุรกิจ หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

อัตราสวน 2551 2552 2553 2554 25551. ดานสภาพคลอง 1.1 อัตราสวนทุนหมุนเวียน 1.68 1.84 1.97 1.77 1.76 1.2 อัตราสวนทุนหมุนเวียนเร็ว 1.59 1.7 1.85 1.62 1.63

2. ดานประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย 2.1 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ 28.94 43.23 52.52 29.86 39.14 2.2 อัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้ 5.50 6.23 6.16 5.67 5.37 2.3 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ 82 73 75 80 81 2.4 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร 3.53 3.54 3.43 3.58 3.39 2.5 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม 1.23 1.30 1.22 1.22 1.23

3. ดานความสามารถในการบริหารหนี้สิน 3.1 อัตราสวนหน้ีสินตอสินทรัพย 0.46 0.43 0.43 0.44 0.41 3.2 อัตราสวนหน้ีสินตอสวนของเจาของ 0.91 0.83 0.88 0.89 0.76 3.3 อัตราสวนกําไรตอดอกเบ้ียจาย 2.83 3.31 5.50 3.91 6.69

4. ดานความสามารถในการทํากําไร 4.1 อัตราสวนกําไรสุทธิ -4.62 4.34 5.02 -0.78 8.97 4.2 อัตราสวนกําไรสุทธิจากการดําเนินงาน ตอสินทรัพย

5.31 7.51 8.18 8.64 11.05

4.3 อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม 0.22 5.26 6.61 3.26 9.29 4.4 อัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน 1.20 9.78 12.99 8.52 17.84

5. ดานมูลคาตลาด 5.1 อัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิ -0.03 19.38 2.17 6.49 10.45 5.2 อัตราสวนราคาตอกระแสเงินสด 0.99 2.55 2.58 -3.36 3.08 5.3 อัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชี 0.46 0.76 1.05 1.07 2.00

ที่มา : จากการคํานวณจากงบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกระแสเงินสด ป พ.ศ.2551 - พ.ศ.2555

Page 66: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

54

ตาราง 3.3 อัตราสวนทางการเงินของกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

อัตราสวน 2551 2552 2553 2554 25551. ดานสภาพคลอง 1.1 อัตราสวนทุนหมุนเวียน 1.20 1.25 1.43 1.25 1.22 1.2 อัตราสวนทุนหมุนเวียนเร็ว 0.95 1.02 1.18 1.03 1.03

2. ดานประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย 2.1 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ 31.40 32.44 30.82 25.34 23.73 2.2 อัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้ 8.25 8.98 9.37 8.27 7.01 2.3 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ 70 66 75 89 92 2.4 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร 7.32 7.45 7.03 6.41 6.99 2.5 อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม 1.69 1.50 1.52 1.50 1.50

3. ดานความสามารถในการบริหารหนี้สิน 3.1 อัตราสวนหน้ีสินตอสินทรัพย 0.57 0.57 0.57 0.65 0.72 3.2 อัตราสวนหน้ีสินตอสวนของเจาของ 2.39 2.72 1.52 1.97 2.34 3.3 อัตราสวนกําไรตอดอกเบ้ียจาย 3.86 4.98 8.58 6.73 6.37

4. ดานความสามารถในการทํากําไร 4.1 อัตราสวนกําไรสุทธิ -1.00 3.84 -6.06 3.70 -3.10 4.2 อัตราสวนกําไรสุทธิจากการดําเนินงาน ตอสินทรัพย

1.58 4.75 3.90 5.39 3.37

4.3 อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม -6.16 3.35 2.45 -0.66 0.35 4.4 อัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน -0.05 8.52 11.40 13.39 30.46

5. ดานมูลคาตลาด 5.1 อัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิ 5.18 13.79 10.18 6.60 15.03 5.2 อัตราสวนราคาตอกระแสเงินสด 4.03 4.63 6.86 5.98 14.21 5.3 อัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชี 1.54 2.40 3.11 2.05 3.43

ที่มา : จากการคํานวณจากงบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกระแสเงินสด ป พ.ศ.2551 - พ.ศ.2555

Page 67: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

55

3.1 การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio Analysis) 3.1.1 อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratios)

การวิเคราะหอัตราสวนสภาพคลอง ประกอบดวยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน และอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว อัตราสวนกลุมนี้จะแสดงใหเห็นถึงสภาพคลองของธุรกิจ วามีสินทรัพยหมุนเวียนเพียงพอที่จะชําระหนี้สินหมุนเวียน โดยผลการวิเคราะหปรากฎอยูในแผนภาพที่ 3.1 ถึง แผนภาพที่ 3.2

แผนภาพที่ 3.1 กราฟแสดงถึงอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท เปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม เทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.1 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาต่ําสุดเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยของกลุม 2 อยูระหวาง 1.68 - 1.97 เทา ในขณะที่คาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมอยูระหวาง 1.20 - 1.43 เทา และของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย อยูระหวาง 0.78 – 1.24 เทา แสดงใหเห็นวาบริษัทฯ มีสภาพคลองต่ําเกินไป จนอาจเกิดปญหาการชําระหนี้สินหมุนเวียน โดยเฉพาะอยางยิ่งในป พ.ศ.2554 มีคาต่ําลงเหลือเพียง 0.78 เทา แตถึงกระนั้น ทางบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ก็ไดทําการปรับปรุงสภาพคลองจนอยูที่ระดับเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมไดในป พ.ศ.2555

Page 68: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

56

แผนภาพที่ 3.2 กราฟแสดงถึงอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็วของบริษัท เปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.2 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาใกลเคียงเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมหรือสูงกวาในบางป แตมีคาเฉลี่ยต่ํากวาของกลุม 2 โดยคาเฉลี่ยของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย มีคาอยูระหวาง 0.77 - 1.23 เทา และกลุม 2 มีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 1.59 - 1.85 เทา ในขณะที่คาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมอยูระหวาง 0.95 - 1.18 เทา แสดงใหเห็นวาบริษัทฯ มีสภาพคลองต่ําเกินไป เมื่อเทียบกับในกลุม 2 จนอาจเกิดปญหาการชําระหนี้สินหมุนเวียน โดยเฉพาะอยางยิ่งในป พ.ศ. 2553 - 2554 มีคาต่ําลงเหลือเพียง 0.99 และ 0.77 เทา ตามลําดับ เนื่องจากมีการกูยืมเงินระยะสั้นและเจาหนี้อุปกรณเพิ่มขึ้น แตถึงกระนั้น ในป พ.ศ. 2555 ทางบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ไดจายชําระเงินกูยืมระยะสั้นและเจาหนี้คาอุปกรณไปจํานวนหนึ่ง ทําใหอัตราสวนนี้ดีขึ้นมาอยูที่ระดับ 1.23 เทา

Page 69: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

57

3.1.2 อัตราสวนประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย (Activity Ratios)การวิเคราะหอัตราสวนประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย ประกอบดวยการวิเคราะห

อัตราสวนการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ อัตราการหมุนเวียนของลูกหน้ี ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม โดยผลการวิเคราะหปรากฎอยูในแผนภาพที่ 3.3 ถึง แผนภาพที่ 3.7

แผนภาพที่ 3.3 กราฟแสดงถึงอัตราสวนการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.3 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาใกลเคียงเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยอยูระหวาง 22.02 – 78.55 ครั้ง และกลุม 2 มีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 28.94 – 52.52 ครั้ง ในขณะที่คาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมอยูระหวาง 23.73 – 32.44 ครั้ง สวนในป 2553 บริษัทฯ มีการบริหารเกี่ยวกับสินคาคงเหลือสําหรับการขายสินคาและใหบริการ เพื่อเพิ่มยอดขายใหกิจการ มีคาเฉลี่ยลงมาอยูที่ระดับ 22.02 ครั้ง ต่ํากวาคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม สวนป พ.ศ.2555 บริษัทมีการบริหารงานไดมีประสิทธิภาพทําใหมีคาเฉล่ียเพิ่มขึ้นเปน 78.55 ครั้ง สูงกวากลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม

Page 70: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

58

แผนภาพที่ 3.4 กราฟแสดงถึงอัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้ของบริษัทเปรียบเทียบ กับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.4 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้ ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาต่ําที่สุดเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยในกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยของกลุม 2 อยูระหวาง 5.37 – 6.23 ครั้งในขณะที่คาเฉลี่ยของอุตสาหกรรมอยูระหวาง 7.01 – 9.37 ครั้ง และคาเฉลี่ยของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย อยูระหวาง 2.42 – 2.71 ครั้ง แสดงใหเห็นวาบริษัท ฯ มีการเรียกเก็บหนี้จากลูกหนี้คอนขางลาชา แสดงใหเห็นวาการบริหารเกี่ยวกับลูกหนี้มีประสิทธิภาพนอยกวากับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม

Page 71: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

59

แผนภาพที่ 3.5 กราฟแสดงถึงระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.5 แสดงใหเห็นวาระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีจํานวนวันมากที่สุดเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยในกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยของกลุม 2 อยูระหวาง 73 – 82 วัน ในขณะที่คาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมอยูระหวาง 66 – 92 วัน และคาเฉลี่ยของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย อยูระหวาง 135 – 151 วัน แสดงใหเห็นวา บริษัทฯ มีการบริหารเกี่ยวกับการเรียกเก็บหนี้ที่มีประสิทธิภาพนอยกวากลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม เนื่องจากลูกหนี้การคาสวนใหญเปนหนวยงานราชการ ซึ่งมีเงื่อนไขการจายชําระตามสัญญาสัมปทาน ทําใหระยะเวลาในการรับชําระหนี้คอนขางนานกวาลูกหนี้กลุมอื่นๆ แตในป พ.ศ. 2555 ระยะเวลาการเรียกเก็บหนี้ดีขึ้นกวาทุกๆ ป คือลดลงเหลือ 135 วัน

Page 72: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

60

แผนภาพที่ 3.6 กราฟแสดงถึงอัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.6 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาต่ําที่สุดเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยของกลุม 2 อยูระหวาง 3.39 – 3.58 เทา คาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมอยูระหวาง 6.41 – 7.45 เทา และคาเฉลี่ยของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย อยูระหวาง 0.78 – 0.99 เทา เนื่องจากบริษัทฯ มีการเรงลงทุนขยายงานดานโครงขายเพื่อรองรับการใหบริการธุรกิจอินเทอรเน็ต ถึงแมวารายไดจากการขายจะเพิ่มขึ้นโดยตลอด 5 ปอีก 140 % ก็ตาม แตก็ยังคงทําใหอัตราสวนนี้ต่ํากวาคาเฉลี่ยของกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมมาโดยตลอด

Page 73: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

61

แผนภาพที่ 3.7 กราฟแสดงถึงอัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.7 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาต่ําที่สุด โดยคาเฉลี่ยอยูระหวาง 0.43 – 0.53 เทา คาเฉลี่ยของกลุม 2 มีคาอยูระหวาง 1.22 – 1.30 เทา ในขณะที่คาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมอยูระหวาง 1.50 – 1.69 เทา แสดงใหเห็นวาบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย มีประสิทธิภาพในการใชสินทรัพยทั้งหมดเพื่อหารายไดต่ํามาก คือทําไดประมาณครึ่งเทาในขณะที่กลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมทําไดประมาณหนึ่งเทาครึ่งของมูลคาสินทรัพยทั้งหมดที่มีอยู ซึ่งสาเหตุสวนหนึ่งมาจากการลงทุนขยายงานดานโครงขายเพื่อรองรับการใหบริการธุรกิจอินเทอรเน็ต

Page 74: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

62

3.1.3 อัตราสวนความสามารถในการบริหารหนี้สิน (Leverage Ratios)การวิเคราะหอัตราสวนความสามารถในการบริหารหนี้สิน ประกอบดวยการวิเคราะห

อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย อัตราหนี้สินตอสวนของเจาของ และอัตราสวนกําไรตอดอกเบี้ยจาย โดยผลการวิเคราะหปรากฎอยูในแผนภาพที่ 3.8 ถึง แผนภาพที่ 3.10

แผนภาพที่ 3.8 กราฟแสดงถึงอัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.8 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาใกลเคียงเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม แตสูงกวาคาเฉลี่ยของกลุม 2 โดยคาเฉล่ียอยูระหวาง 0.50 – 0.62 เทา และคาเฉลี่ยของกลุม 2 อยูระหวาง 0.41 – 0.46 เทา ในขณะที่คาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมอยูระหวาง 0.57 – 0.72 เทา เนื่องจาก บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย มีเจาหนี้คาอุปกรณที่คางชําระและภาระหนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการ จึงสงผลใหมีคาเฉลี่ยมากกวากลุม 2 ซึ่งมีผลตอความเสี่ยงของธุรกิจ แตอยางไรก็ตาม ป พ.ศ.2554 และ ป พ.ศ 2555 ทางบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ไดปรับปรุงการบริหารภาระหนี้สิน จนอยูในระดับที่ดีต่ํากวากลุมอุตสาหกรรม และใกลเคียงกับกลุม 2 มากขึ้น

Page 75: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

63

แผนภาพที่ 3.9 กราฟแสดงถึงอัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.9 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาสูงกวาเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และต่ํากวาคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยอยูระหวาง 1.00 – 1.61 เทา และคาเฉลี่ยของกลุม 2 อยูระหวาง 0.76 – 0.91 เทา ในขณะที่คาเฉลี่ยของอุตสาหกรรมอยูระหวาง 1.52 – 2.72 เทา แสดงใหเห็นวา บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย มีโครงสรางของเงินทุนที่เกิดจากการกูยืมตอสวนของเจาของเปนสัดสวนที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับกลุม 2 โดยเฉพาะในป พ.ศ. 2553 เพิ่มขึ้นเปน 1.61 เทาและไดปรับลดลงเหลือ 1 เทาในป พ.ศ.2555 ทําใหภาระการจายคืนเงินตนและดอกเบี้ยลดลง ขณะเดียวกันกลุมอุตสาหกรรมกลับเพิ่มขึ้นเปน 2.34 เทา

Page 76: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

64

แผนภาพที่ 3.10 กราฟแสดงถึงอัตราสวนกําไรตอดอกเบี้ยจาย หรือความสามารถในการจายดอกเบี้ยของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.10 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนกําไรตอดอกเบี้ยจาย ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาต่ําที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยอยูระหวาง -2.16 – 7.41 เทา และคาเฉลี่ยของกลุม 2 อยูระหวาง 2.83 – 6.69 เทา ในขณะที่คาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมอยูระหวาง 3.86 – 8.58 เทา แสดงใหเห็นวา ในป พ.ศ. 2551 – ป พ.ศ. 2553 บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย มีความสามารถในการจายดอกเบี้ยต่ําที่สุด เนื่องจากมีผลขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายที่บันทึกรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร ใน ป พ.ศ.2554 มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน บันทึกอยูในคาใชจายของกิจการ ทําใหกําไรจากการดําเนินงานในรอบปนั้น ต่ํากวาการดําเนินงานปกติ สวนป พ.ศ.2555 กิจการมีการปรับปรุงภาวะหนี้สินใหลดลง จนมีผลทําใหอัตราสวนนี้ปรับตัวสูงขึ้นกวากลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมได

Page 77: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

65

3.1.4 อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร (Profitability Ratios)การวิเคราะหอัตราสวนความสามารถในการทํากําไร ประกอบดวยการวิเคราะห อัตรา

กําไรสุทธิ อัตรากําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย อัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน โดยผลการวิเคราะหปรากฎอยูในแผนภาพที่ 3.11 ถึง แผนภาพที่ 3.14

แผนภาพที่ 3.11 กราฟแสดงถึงอัตราสวนกําไรสุทธิ ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.11 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนกําไรสุทธิ ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุดในป พ.ศ. 2551 – ป พ.ศ. 2552 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งในป พ.ศ. 2551 มีการขาดทุนถึงรอยละ 22.2 และในป พ.ศ. 2553 – ป พ.ศ. 2555 มีคาเฉลี่ยสูงสุดเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยในกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยมีอัตราสวนกําไรสุทธิอยูระหวางรอยละ -22.20 – 19.85 และอัตราสวนกําไรสุทธิของกลุม 2 อยูระหวางรอยละ -4.62 – 8.97 ในขณะที่อัตราสวนกําไรสุทธิของอุตสาหกรรมอยูระหวางรอยละ -6.06 – 3.84 เนื่องจากในป พ.ศ. 2551 – ป พ.ศ. 2552 บริษัท ฯ มีการบันทึกผลขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายที่บันทึกรวมอยูในคาใชจายอื่นๆ ทําใหประสิทธิภาพของบริษัทในการทํากําไรต่ํากวากลุม

Page 78: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

66

อุตสาหกรรม และในป พ.ศ. 2553 – ป พ.ศ. 2555 มีการปรับปรุงประสิทธิภาพของบริษัทในการทํากําไรไดดีจนอยูในระดับที่ดีกวาทั้งกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม

แผนภาพที่ 3.12 กราฟแสดงถึงอัตราสวนกําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.12 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนกําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด เมื่อเทียบกับคาเฉล่ียของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยอยูระหวางรอยละ 7.65 – 17.07 และคาเฉลี่ยของกลุม 2 อยูระหวางรอยละ 5.61 – 11.05 ในขณะที่คาเฉลี่ยของอุตสาหกรรมอยูระหวางรอยละ 1.58 – 5.39 แสดงใหเห็นวาบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย มีประสิทธิภาพในการทํากําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย ซึ่งสะทอนใหเห็นแนวโนมของรายได การควบคุมคาใชจายทั้งดานการขายและการบริหารดีขึ้นมาโดยตลอดตั้งแตป พ.ศ. 2552 จนถึงป พ.ศ. 2555

Page 79: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

67

แผนภาพที่ 3.13 กราฟแสดงถึงอัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.13 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาต่ําที่สุด ในป 2551 – ป พ.ศ. 2552 เมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม และมีคาเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้นในป พ.ศ. 2553 – ป พ.ศ.2555 เมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยอยูระหวางรอยละ -9.63 – 10.61 และคาเฉลี่ยของกลุม 2 อยูระหวางรอยละ 0.22 – 9.29 ในขณะที่คาเฉลี่ยของอุตสาหกรรมอยูระหวางรอยละ -6.16 – 3.35 เนื่องจากในป พ.ศ.2551- ป พ.ศ. 2553 มีบันทึกผลขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายที่บันทึกรวมอยูในคาใชจายอื่นๆ สงผลใหกําไรสุทธิต่ํากวาการดําเนินงานปกติ จึงทําใหอัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย ต่ํากวากลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม สวนในป พ.ศ. 2554 – ป พ.ศ. 2555 มีการปรับปรุงการดําเนินงานทําใหประสิทธิภาพจากการบริหารสินทรัพยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถทําไดสูงขึ้นเปนรอยละ 10.61 ในป พ.ศ. 2555

Page 80: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

68

แผนภาพที่ 3.14 กราฟแสดงถึงอัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของเจาของ ของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.14 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของเจาของ ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาต่ําที่สุด ในชวงป พ.ศ. 2551 – ป พ.ศ.2553 เมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยอยูระหวางรอยละ -19.96 – 21.19 และคาเฉลี่ยของกลุม 2 อยูระหวางรอยละ 8.82 – 18.03 ในขณะที่คาเฉลี่ยของอุตสาหกรรมอยูระหวางรอยละ -0.05 – 30.46 ในป พ.ศ.2551 มีอัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของเจาของรอยละ -19.96 หรือขาดทุนรอยละ 19.96 เนื่องจากบันทึกผลขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย และขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย แตการลงทุนขยายโครงขายเพื่อรองรับธุรกิจใหบริการดานอินเทอรเน็ต ทําใหประสิทธภาพในการทํากําไร และใหผลตอบแทนตอสวนของเจาของในป พ.ศ. 2552 - ป พ.ศ. 2555 มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จนใกลเคียงกลุม 2 กับกลุมอุตสาหกรรม

Page 81: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

69

3.1.5 อัตราสวนมูลคาตลาด (Market Value Ratios)การวิเคราะหอัตราสวนมูลคาตลาด ประกอบดวยการวิเคราะห อัตราสวนราคาตอกําไร

สุทธิ อัตราสวนราคาตลาดตอกระแสเงินสด อัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชี โดยผลการวิเคราะหปรากฎอยูในแผนภาพที่ 3.15 ถึง แผนภาพที่ 3.17

แผนภาพที่ 3.15 กราฟแสดงถึงอัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.15 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิ ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” ในป พ.ศ.2552 – ป พ.ศ.2555 มีคาสูงสุด สวนป พ.ศ.2551 มีคาต่ําที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยอยูระหวาง -2.59 – 33.51 เทา และคาเฉลี่ยของกลุม 2 มีคาอยูระหวาง -0.03 – 19.38 เทา ในขณะที่คาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมอยูระหวาง 5.18 – 15.03 เทา แสดงใหเห็นวาบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย มีประสิทธิภาพในการดําเนินงาน การใชสินทรัพยและการบริหารโครงสรางทางการเงินที่ดี ทําใหผูลงทุนเต็มใจซื้อหุน JAS ในราคาที่สูง สงผลใหอัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิสูงขึ้นตามไปดวย ซึ่งสูงกวากลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมมาโดยตลอดตั้งแตป พ.ศ.2552 – ป พ.ศ.2555

Page 82: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

70

แผนภาพที่ 3.16 กราฟแสดงถึงอัตราสวนราคาตลาดตอกระแสเงินสดของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.16 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนราคาตลาดตอกระแสเงินสดของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” ในป พ.ศ.2551 มีคาเฉลี่ยใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม และป พ.ศ.2552 มีคาสูงสุด สวนป พ.ศ.2553 – ป พ.ศ.2555 อยูระหวางคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยอยูระหวาง 2.04 – 8.48 เทา และคาเฉลี่ยของกลุม 2 มีคาอยูระหวาง -3.36 – 3.08 เทา ในขณะที่คาเฉลี่ยของอุตสาหกรรมอยูระหวาง 4.03 – 14.21 เทา แสดงใหเห็นวาบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย มีประสิทธิภาพในการบริหารธุรกิจอยูในเกณฑดี ทําใหนักลงทุนเต็มใจซื้อหุน JAS ในราคาที่สูงสงผลใหอัตราสวนราคาตอกระแสเงินสดสูงกวากลุม 2 มาโดยตลอดตั้งแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 แตก็ยังต่ํากวากลุมอุตสาหกรรมในชวงป พ.ศ.2553 – ป พ.ศ.2555

Page 83: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

71

แผนภาพที่ 3.17 กราฟแสดงถึงอัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชีของบริษัทเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากแผนภาพที่ 3.17 แสดงใหเห็นวาอัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชี ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” ในป พ.ศ.2551 มีคาเฉลี่ยใกลเคียงกับกลุม 2 แตต่ํากวากลุมอุตสาหกรรม สวนป พ.ศ.2552 – ป พ.ศ.2555 มีการปรับตัวสูงขึ้นมาอยูระหวางคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม โดยคาเฉลี่ยอยูระหวาง 0.52 – 4.03 เทา และคาเฉลี่ยของกลุม 2 อยูระหวาง 0.46 – 2.00 เทา ในขณะที่คาเฉลี่ยของอุตสาหกรรมอยูระหวาง 1.54 – 3.43 เทา แสดงใหเห็นวาบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย มีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพดีขึ้นจนสงผลใหอัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชีมีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อยๆ จนขึ้นไปอยูสูงสุดที่ 4.03 เทา

Page 84: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

72

3.2 การวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนม (Horizontal Analysis or Trend Analysis) การวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนมโดยการเปรียบเทียบตัวเลขในงบการเงิน เพื่อดู

แนวโนมหรือทิศทางของรายการตางๆ ในงบแสดงฐานะการเงิน ประกอบดวยสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ หรืองบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ประกอบดวย รายได และคาใชจายในแตละงวด คํานวณเปนรอยละ โดยนําตัวเลขในป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 ตั้งคูณดวยหนึ่งรอยหารดวยปฐาน ซึ่งจะใชขอมูลตัวเลขของป พ.ศ.2550 เปนปฐาน จะไดคาเปนรอยละ การเปรียบเทียบตามแนวนอนของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ทําใหทราบถึงแนวโนมของฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานที่ผานมา แสดงไดดังน้ี

ตารางที่ 3.4 งบแสดงฐานะการเงิน (โดยยอ) ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 โดยใชป พ.ศ.2550 เปนปฐาน

หนวย : ลานบาทรายการ 2550 2551 2552 2553 2554 2555

สินทรัพย เงินสดและเทียบเทาเงินสด 3,418.0 2,364.8 1,569.4 1,920.0 1,581.0 1,478.5 ลูกหนี้การคา 1,850.0 2,529.1 4,027.9 3,883.2 3,970.0 3,684.8 สินคาคงเหลือ 79.7 119.2 225.4 291.8 70.4 48.9 สินทรัพยหมุนเวียนอื่น 1,206.2 1,231.1 1,643.8 1,830.0 1,798.1 2,071.7รวมสินทรัพยหมุนเวียน 6,553.9 6,244.3 7,466.6 7,925.0 7,419.6 7,283.9 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณสุทธิ 3,452.6 4,166.9 6,776.2 9,581.6 10,874.1 11,077.6 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 4,973.0 1,917.4 1,701.8 1,795.1 1,273.6 1,038.9รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน 8,425.6 6,084.3 8,478.1 11,376.7 12,147.7 12,116.5รวมสินทรัพย 14,979.4 12,328.6 15,944.7 19,301.7 19,567.3 19,400.5

หนี้สินและสวนของเจาของ เจาหนี้การคา 1,431.4 1,957.9 2,698.3 3,386.1 3,009.1 2,655.7 หนี้สินหมุนเวียน 1,973.7 3,124.0 3,872.2 4,351.1 6,478.1 1,038.9รวมหนี้สินหมุนเวียน 3,405.1 5,081.9 5,670.5 7,737.2 9,487.2 5,868.0 หนี้สินไมหมุนเวียน 2,737.2 1,295.6 2,714.5 4,182.3 1,980.5 3,821.1รวมสวนของหนี้สิน 6,142.2 6,377.5 9,285.0 11,919.5 11,467.7 9,689.1สวนของผูถือหุน 8,837.2 5,951.1 6,659.6 7,382.2 8,099.6 9,711.4รวมหนี้สินและสวนของเจาของ 14,979.4 12,328.6 15,944.7 19,301.7 19,567.3 19,400.5

Page 85: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

73

ตารางที่ 3.5 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตามแนวนอนหรือแนวโนมของงบแสดงฐานะการเงิน โดยใชป พ.ศ. 2550 เปนปฐาน

รายการ 2550 2551 2552 2553 2554 2555สินทรัพย เงินสดและเทียบเทาเงินสด 100.0 69.2 45.9 56.2 46.3 43.3 ลูกหนี้การคา 100.0 136.7 217.7 209.9 214.6 199.2 สินคาคงเหลือ 100.0 149.7 283.0 366.4 88.4 61.4 สินทรัพยหมุนเวียนอื่น 100.0 102.1 136.3 151.7 149.1 171.8รวมสินทรัพยหมุนเวียน 100.0 95.3 113.9 120.9 113.2 111.1 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณสุทธิ 100.0 120.7 196.3 277.5 315.0 320.8 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 100.0 38.6 34.2 36.1 25.6 20.9รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน 100.0 72.2 100.6 135.0 144.2 143.8รวมสินทรัพย 100.0 82.3 106.4 128.9 130.6 129.5

หนี้สินและสวนของเจาของ เจาหนี้การคา 100.0 136.8 188.5 236.6 210.2 185.5 หนี้สินหมุนเวียน 100.0 158.3 196.2 220.5 328.2 162.8รวมหนี้สินหมุนเวียน 100.0 149.2 193.0 227.2 278.6 172.3 หนี้สินไมหมุนเวียน 100.0 47.3 99.2 152.8 72.4 139.6รวมสวนของหนี้สิน 100.0 103.8 151.2 194.1 186.7 157.7สวนของผูถือหุน 100.0 67.3 75.4 83.5 91.7 109.9รวมหนี้สินและสวนของเจาของ 100.0 82.3 106.4 128.9 130.6 129.5

Page 86: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

แผนภาพที่ 3.18 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตามแนวนอนหรือแนวโนม ของงบแสดงฐานะการเงิน : สินทรัพย โดยใชป พ.ศ. 2550 เปนปฐาน

74

Page 87: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

แผนภาพที่ 3.19 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตามแนวนอนหรือแนวโนมของงบแสดงฐานะการเงิน : หนี้สินและสวนของเจาของ โดยใชป พ.ศ. 2550 เปนปฐาน

75

Page 88: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

76

จากตารางที่ 3.4 – 3.5 และแผนภาพที่ 3.18 – 3.19 พบวาสินทรัพยหมุนเวียนในป พ.ศ. 2551 จํานวน 6,244.3 ลานบาท เมื่อเทียบกับป พ.ศ.2550 จํานวน 6,533.9 ลานบาท ลดลงเล็กนอยจํานวน 309.6 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 4.7 จากนั้นตั้งแตป พ.ศ.2552 – ป พ.ศ.2555 สินทรัพยหมุนเวียนมีคาเพิ่มขึ้นกวาปฐานทั้งหมดและในป พ.ศ.2553 มีคาสูงสุดเทากับ 7,925 ลานบาทหรือรอยละ 120.9 แสดงใหเห็นวาบริษัทฯ มีสินทรัพยหมุนเวียนเพิ่มมากขึ้นสภาพคลองดีขึ้น และเมื่อพิจารณาองคประกอบของสินทรัพยหมุนเวียน จะพบวา เงินสดและเทียบเทาเงินสด ในป พ.ศ.2550 ซึ่งมีอยู 3,418 ลานบาทไดลดลงต่ํากวาเดิมตลอดตั้งแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 โดยป พ.ศ.2555 มีจํานวนต่ําสุดเพียง 1,478.5 ลานบาท หรือรอยละ 43.3 เทานั้น ลูกหนี้การคาในป พ.ศ.2550 มีจํานวน 1,850 ลานบาท มีจํานวนเพิ่มขึ้นตลอด โดยป พ.ศ.2552 มีจํานวนสูงสุด 4,027.9 ลานบาทหรือรอยละ 217.7 และยังคงอยูในระดับสูงประมาณรอยละ 200 เมื่อเทียบกับป พ.ศ.2550 ดานสินคาคงเหลือในป พ.ศ.2550 มีจํานวน 79.7 ลานบาท ไดเพิ่มสูงขึ้นตั้งแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ. 2553 และในป พ.ศ.2553 มีคาสูงสุดเทากับ 291.80 ลานบาท หรือรอยละ 366.4 และในปถัดมาบริษัทฯ มีการบริหารปรับปรุงสินคาคงเหลือไดอยางประสิทธิภาพทําใหทยอยลดลงต่ํากวาป พ.ศ. 2550 โดยในป พ.ศ.2555 มีจํานวน 48.9 ลานบาท หรือรอยละ 61.4 สวนสินทรัพยหมุนเวียนอื่นในป พ.ศ.2550 มีจํานวน 1,206.2 ลานบาท และไดมีจํานวนเพิ่มขึ้นตลอด โดยในป พ.ศ.2555 มีจํานวนสูงสุด 2,071.7 ลานบาท หรือรอยละ 171.8

ดานสินทรัพยไมหมุนเวียน พบวา ในป 2551 มีจํานวน 6,084.3 ลานบาท เมื่อเทียบกับป พ.ศ.2550 จํานวน 8,425.6 ลานบาท ลดลงจํานวน 2,341.3 ลานบาทหรือลดลงรอยละ 27.8 จากนั้นตั้งแตป พ.ศ.2552 – ป พ.ศ.2555 สินทรัพยไมหมุนเวียนมีคาเพิ่มขึ้นกวาปฐานทั้งหมด และในป พ.ศ.2554 มีคาสูงสุดเทากับ 12,116.5 ลานบาท หรือรอยละ 144.2 เนื่องจากบริษัทฯ มีการลงทุนขยายงานดานโครงขายเปนจํานวนมากเพื่อรองรับการใหบริการอินเทอรเน็ตที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

สวนทางดานหนี้สิน พบวา ป พ.ศ.2550 มีจํานวน 6,142.2 ลานบาท ตั้งแตป พ.ศ.2551 - ป พ.ศ.2555 มีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกปจากปฐาน โดยในป พ.ศ.2553 มีคาสูงสุดเทากับ 11,919.5 ลานบาทหรือรอยละ 194.1 เนื่องจากมีการขยายงานดานโครงขาย ทําใหเกิดการกูยืมเงินมาลงทุนเปนเหตุใหหนี้สินไมหมุนเวียนเพิ่มขึ้นเปน 4,182.3 ลานบาทและเจาหนี้คาอุปกรณเพิ่มมากขึ้นเปน 3,386.1 ลานบาทดวย

สวนของเจาของ เมื่อพิจารณาพบวา ในป พ.ศ.2551 มีจํานวน 5,951.15 ลานบาท เมื่อเทียบกับป พ.ศ.2550 จํานวน 8,837.2 ลานบาท ลดลงจํานวน 2,886.1 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 32.7 เนื่องจาก บริษัทฯ ไดลดทุนจดทะเบียนโดยการลดมูลคาที่ตราไว (Par) จากเดิมหุนละ 1 บาท เปน 0.50 บาท เพื่อนําสวนเกินทุนจากการลดมูลคาหุนที่ตราไวไปหักกลบกับผลขาดทุนสะสมของ

Page 89: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

77

บริษัทฯ และจากการปรับปรุงการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพทําใหผลประกอบการดีขึ้น สงผลใหสัดสวนของผูถือหุนปรับตัวเพิ่มขึ้น ตั้งแตป พ.ศ.2552 – ป พ.ศ.2555 โดยในป พ.ศ.2555 มีจํานวน 9,711.4 ลานบาท หรือรอยละ 109.9

ตารางที่ 3.6 งบกําไรขาดทุน (โดยยอ) ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 โดยใชป พ.ศ.2550 เปนปฐาน

หนวย : ลานบาทรายการ 2550 2551 2552 2553 2554 2555

กําไรขาดทุน โดยยอรายไดจากการขายและบริการ 4,330.7 5,350.2 8,370.5 9,625.9 9,497.9 10,369.5หัก ตนทุนขาย 2,559.1 3,383.9 5,583.7 5,695.7 4,637.8 4,686.0กําไรขั้นตน 1,771.7 1,966.3 2,786.9 3,930.2 4,860.1 5,683.5หัก คาใชจายในการขายและ การบริหาร 704.6 784.2 1,566.6 2,289.8 2,504.0 2,372.2กําไรจากการดําเนินงาน 1,067.1 1,182.1 1,220.3 1,640.4 2,356.0 3,311.3บวก รายไดอื่น 302.2 228.4 220.0 210.4 84.6 132.4หัก คาใชจายอื่น 14.4 2,054.2 629.2 465.8 433.6 451.6กําไร(ขาดทุน) กอนดอกเบี้ยและภาษี 1,354.9 (643.8) 811.1 1,385.0 2,007.0 2,992.3หัก ดอกเบี้ยจาย 371.3 297.5 246.9 393.2 467.8 404.0กําไร(ขาดทุน) กอนภาษี 983.6 (941.3) 564.2 991.8 1,539.2 2,588.0หัก ภาษี 317.0 246.4 337.7 402.8 493.5 529.8กําไร(ขาดทุน)สุทธิ 666.6 (1,187.7) 226.4 589.0 1,045.6 2,058.3

Page 90: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

78

ตารางที่ 3.7 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตามแนวนอนหรือแนวโนมของงบกําไรขาดทุน โดยใชป พ.ศ.2550 เปนปฐาน

รายการ 2550 2551 2552 2553 2554 2555กําไรขาดทุน โดยยอรายไดจากการขายและบริการ 100.0 123.5 193.3 222.3 219.3 239.4หัก ตนทุนขาย 100.0 132.2 218.2 222.6 181.2 183.1กําไรขั้นตน 100.0 111.0 157.3 221.8 274.3 320.8หัก คาใชจายในการขายและ การบริหาร 100.0 111.3 222.3 325.0 355.4 336.7กําไรจากการดําเนินงาน 100.0 110.8 114.4 153.7 220.8 310.3บวก รายไดอื่น 100.0 75.6 72.8 69.6 28.0 43.8หัก คาใชจายอื่น 100.0 14,260.4 4,367.7 3,233.5 3,010.2 3,135.2กําไร(ขาดทุน)กอนดอกเบี้ยและภาษี 100.0 (47.5) 59.9 102.2 148.1 220.8หัก ดอกเบี้ยจาย 100.0 80.1 66.5 105.9 126.0 108.8กําไร(ขาดทุน) กอนภาษี 100.0 (95.7) 57.4 100.8 156.5 263.1หัก ภาษี 100.0 77.7 106.5 127.1 155.7 167.1กําไร(ขาดทุน)สุทธิ 100.0 (178.2) 34.0 88.4 156.9 308.8

Page 91: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

แผนภาพที่ 3.20 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตามแนวนอนหรือแนวโนมของงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ โดยใชป พ.ศ. 2550 เปนปฐาน

79

Page 92: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

80

จากตารางที่ 3.6 – 3.7 และแผนภาพที่ 3.20 ดานรายได พบวา รายไดจากการขาย ในป พ.ศ.2550 มีจํานวน 4,330.7 ลานบาท และบริษัทฯ มีรายไดจากการขายเพิ่มขึ้นกวาปฐานทั้งหมด นับตั้งแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 และสูงสุดในป พ.ศ.2555 จํานวน 10,369.5 ลานบาทหรือรอยละ 239.40 เนื่องจากรายไดจากธุรกิจใหบริการอินเทอรเน็ตมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น จากการออกเคมเปญตางๆ เพื่อกระตุนยอดขายอยางตอเนื่อง สงผลใหรายไดเพิ่มขึ้นตลอด

ดานคาใชจาย มีแนวโนมสัมพันธไปกับรายได โดยพิจารณาองคประกอบพบวา ตนทุนขาย ในป พ.ศ.2550 มีจํานวน 2,559.1 ลานบาท เมื่อบริษัทฯ มีการขยายโครงขายสําหรับการใหบริการธุรกิจตางๆของกิจการ ทําใหตนทุนขายมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นตามสัดสวนของรายได โดยในป พ.ศ.2553 มีคาสูงสุดจํานวน 5,695.7 ลานบาท หรือรอยละ 222.6

คาใชจายในการขายและการบริหาร พบวา ในป พ.ศ.2550 มีจํานวน 704.6 ลานบาท และมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นกวาปฐานทั้งหมด นับตั้งแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 และสูงสุดในป พ.ศ. 2554 จํานวน 2,504 ลานบาท เพิ่มขึ้น 1,800 ลานบาท หรือรอยละ 355.4 เนื่องจากคาใชจายที่เพิ่มขึ้นหลักๆ ไดแก คาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน คาใชจายทางการตลาด และคาใชจายในการใหบริการ รวมถึงตนทุนในสวนคาเสื่อมราคาของอุปกรณโทรคมนาคมตาง ๆ

คาใชจายอื่นๆ พบวาในป พ.ศ.2550 มีจํานวน 14.4 ลานบาท และมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นกวาปฐานทั้งหมด นับต้ังแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 สูงสุดในป พ.ศ.2551 เนื่องจากมีผลขาดทุนจากการขายหลักทรัพยลงทุนและดอยคาในหลักทรัพยลงทุน ผลขาดทุนการดอยคาของสินทรัพย และคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เปนจํานวน 2,504 ลานบาท จึงทําใหคาใชจายนี้มีลักษณะผิดปกติจนสงผลใหบริษัทฯ ขาดทุนในป พ.ศ.2551 สวนในป พ.ศ.2553 – ป พ.ศ.2555 มีบันทึกขาดทุนจากการปรับโครงสรางหนี้เพิ่มขึ้น

ดอกเบี้ยจาย พบวา ในป พ.ศ.2550 มีจํานวน 371.3 ลานบาท และมีแนวโนมลดลงในป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2552 โดยป พ.ศ.2552 มีจํานวน 246.9 ลานบาท ลดลงจํานวน 124.50 หรือรอยละ 33.5 เนื่องจากมีการจายชําระเงินกูตามระยะเวลาครบกําหนดชําระ และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นสูงสุดในป พ.ศ.2554 จํานวน 467.8 ลานบาท หรือรอยละ 126 เนื่องจากมีการกูยืมเงินเพื่อขยายงานดานโครงขายเพื่อรองรับธุรกิจของกิจการ

สวนกําไรสุทธิ พบวา ในป พ.ศ.2551 บริษัทฯ มีผลขาดทุนเทากับ 1,187.7 ลานบาท เนื่องจากการบันทึกผลขาดทุนการดอยคาตางๆ รวมอยูในคาใชจายอื่นๆ เมื่อเทียบกับป พ.ศ.2550 มีกําไรสุทธิจํานวน 666.6 ลานบาท ซึ่งลดลงเปนจํานวนเทากับ 1,854.3 ลานบาทหรือรอยละ -178.2 และในป พ.ศ.2552 - ป พ.ศ.2555 มีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยป พ.ศ.2555 มีคาสูงสุดเทากับจํานวน 2,058.3 ลานบาทหรือรอยละ 308.8 แสดงใหเห็นวา บริษัทมีประสิทธิภาพในการบริหารธุรกิจอยู

Page 93: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

81

ในเกณฑดี มีการลงทุนขยายธุรกิจในดานเทคโนโลยีดานการสื่อสารทางอินเทอรเน็ตและเพิ่มชองทางดานรายไดเพิ่มขึ้น สงผลใหมีกําไรสุทธิดีขึ้นอยางมาก

Page 94: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

บทที่ 4 สรุปและขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ในชวงระยะเวลาระหวางป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 โดยเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในบทนี้เปนการสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับวัตถุประสงค ขอบเขตของการวิจัย วิธีการวิจัย ผลการวิจัยและขอเสนอแนะดังนี้

4.1 สรุปผลการวิจัย4.2 การอภิปรายผล4.3 ขอเสนอแนะ

4.1 สรุปผลการวิจัย4.1.1 วัตถุประสงคของการวิจัย

วัตถุประสงคในการวิจัยครั้งนี้ เพื่อวิเคราะหและเปรียบเทียบงบการเงินของ บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย กับบริษัทตางๆ ที่ดําเนินกิจการในกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยศึกษาถึงสภาพคลองของกิจการ ประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย ความสามารถในการบริหารหนี้สิน ความสามารถในการทํากําไร มูลคาของตลาด รวมถึงรวมถึงความสามารถในการบริหารและการดําเนินงาน ในชวงระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ.2551- ป พ.ศ.2555

4.1.2 วิธีการดําเนินการวิจัยการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน)และ

บริษัทยอย ในชวงระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 ซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี หมวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สวนเครื่องมือทางการเงินที่ใชโดยการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน และวิเคราะหคาแนวนอนหรือแนวโนม เพื่อประเมินความสามารถในการบริหารและการดําเนินงานของบริษัทฯ

4.1.3 ผลการวิจัย4.1.3.1 การวิเคราะหและเปรียบเทียบงบการเงินโดยใชอัตราสวนทางการเงิน

1) อัตราสวนสภาพคลอง ผลจากการวิเคราะหอัตราสวนสภาพคลอง พบวา จัสมิน อินเตอรเนชั่น

แนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย “JAS” มีคาต่ําสุดเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ย

Page 95: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

83

ของกลุมอุตสาหกรรม ซึ่งคาเฉลี่ยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนของบริษัทฯ มีคาอยูระหวาง 0.78 - 1.24 เทา และคาเฉลี่ยอัตราเงินทุนหมุนเวียนเร็วของบริษัทฯ อยูระหวาง 0.77 - 1.23 เทา ทําใหทราบวา บริษัทฯ มีสัดสวนของสินทรัพยหมุนเวียนที่มีสภาพคลองนอยกวาสัดสวนของหนี้สินหมุนเวียนอาจทําใหมีปญหาในการชําระหนี้ระยะสั้น ซึ่งแสดงใหเห็นวาประสิทธิภาพในการใชสินทรัพยของกิจการมีนอยกวาเม่ือเปรียบเทียบกับกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม

2) อัตราสวนประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย ผลจากการวิเคราะหอัตราสวนประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย เพื่อวัด

คุณภาพและประสิทธิภาพในการจัดการสินทรัพยและเงินทุนจากเจาของกิจการที่สรางรายไดหรือผลตอบแทนใหกิจการ ประกอบดวยอัตราสวนการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม พบวา

อัตราสวนการหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ ของบริษัทฯ มีคาอยูระหวาง 22.02 - 78.55 ครั้ง ทําใหทราบวาบริษัทฯ มีการบริหารสินคาคงเหลือสําหรับการขายและใหบริการ ต่ํากวาคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรมในชวงป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2554 สวนป พ.ศ.2555 บริษัทฯ มีการบริหารงานไดมีประสิทธิภาพทําใหมีคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเปน 78.55 ครั้ง สูงกวากลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม ซึ่งถาอัตราสวนนี้สูงเนื่องจากสินคาคงเหลือนอยเกินไปจนทําใหสินคาคงเหลือไมพอขายและตองสูญเสียลูกคาไปในที่สุด แตธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศเปนลักษณะการใหบริการเปนสวนใหญ ดังนั้นจึงไมตองเก็บสินคาคงเหลือเปนปริมาณมากเหมือนกลุมอุตสาหกรรมอื่นๆ ซึ่งแสดงใหเห็นวากิจการมีการบริหารสินคาคงเหลือไมใหเหลือมากหรือนอยเกินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ

อัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้ มีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 2.42 – 2.71 ครั้ง และคาของระยะเวลาถัวฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ อยูระหวาง 135 - 151 วัน ซึ่งพบวา บริษัทฯ มีการบริหารเกี่ยวกับการเรียกเก็บหนี้ที่มีประสิทธิภาพนอยกวากลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม เนื่องจากลูกหนี้การคาสวนใหญเปนหนวยงานราชการ ซึ่งมีเงื่อนไขการจายชําระตามสัญญาสัมปทาน ทําใหระยะเวลาในการรับชําระหนี้คอนขางนานกวาลูกหนี้กลุมอื่นๆ จึงอาจเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหตองมีการกูยืมเงินระยะสั้นและการเพิ่มขึ้นของเจาหนี้คาอุปกรณ เพราะเรียกเก็บเงินจากลูกหนี้มาใชจายไมทัน

อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร มีคาอยูระหวาง 0.78 - 0.99 เทา และอัตราสวนอัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม มีคาอยูระหวาง 0.43 - 0.53 เทา ทั้งสองอัตราสวนนี้ผลการวิเคราะหแสดงในทิศทางเดียวกัน เนื่องจากบริษัทฯ มีการเรงลงทุนขยายงาน

Page 96: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

84

ดานโครงขายเพื่อรองรับการใหบริการธุรกิจอินเทอรเน็ต ถึงแมวารายไดจากการขายจะเพิ่มขึ้นโดยตลอด 5 ปก็ตาม แตก็ยังคงทําใหอัตราสวนนี้ต่ํากวาคาเฉลี่ยของกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม

3) อัตราสวนประสิทธิภาพในการบริหารหนี้สิน ผลจากการวิเคราะหอัตราสวนประสิทธิภาพในการบริหารหนี้สิน เพื่อ

ใชวัดความสามารถในการจายชําระคืนหนี้สินระยะยาวและความสามารถที่จะระดมทุนใหมในอนาคต ประกอบดวยอัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย อัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ อัตราสวนกําไรตอดอกเบี้ยจาย พบวา

อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย มีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 0.50 - 0.62 เทาเนื่องจากบริษัทฯ มีเจาหนี้คาอุปกรณที่คางชําระและภาระหนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการ จึงสงผลใหมีคาเฉลี่ยมากกวากลุม 2 ซึ่งมีผลตอความเสี่ยงของธุรกิจ แตอยางไรก็ตาม ป พ.ศ.2554 และ ป พ.ศ.2555 ทางบริษัทฯ ไดปรับปรุงการบริหารภาระหนี้สิน จนอยูในระดับที่ดีต่ํากวากลุมอุตสาหกรรม และใกลเคียงกับกลุม 2 มากขึ้น

อัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ มีคาอยูระหวาง 1.00 – 1.61 เทาเนื่องจากบริษัทฯ มีโครงสรางของเงินทุนที่เกิดจากการกูยืมตอสวนของเจาของเปนสัดสวนที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับกลุม 2 โดยเฉพาะในป พ.ศ.2553 เพิ่มขึ้นเปน 1.61 เทาและไดปรับลดลงเหลือ 1 เทาในป พ.ศ.2555 ทําใหภาระการจายคืนเงินตนและดอกเบี้ยลดลง และจากการบริหารธุรกิจที่มีประสิทธิภาพสงผลกําไรสุทธิเพิ่มขึ้นทําใหสวนของเจาของมีสัดสวนเพิ่มขึ้นดวย

อัตราสวนกําไรตอดอกเบี้ยจาย มีคาอยูระหวาง -2.16 - 7.41 เทา แสดงใหเห็นวา ในป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2553 มีความสามารถในการจายดอกเบี้ยต่ําที่สุด เนื่องจากมีผลขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายที่บันทึกรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร ใน ป พ.ศ.2554 มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนบันทึกอยูในคาใชจายอื่นๆ ของกิจการ ทําใหกําไรจากการดําเนินงานในรอบปนั้น ต่ํากวาการดําเนินงานปกติ สวนป พ.ศ.2555 กิจการมีการปรับปรุงภาระหนี้สินใหลดลง จนมีผลทําใหอัตราสวนนี้ปรับตัวสูงขึ้นกวากลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมได

4) อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร ผลจากการวิเคราะหอัตราสวนประสิทธิภาพในการทํากําไร เปนการวัด

วา ธุรกิจสามารถนําสินทรัพยมาเพื่อหาประโยชนในการสรางกําไรและกระแสเงินสดไดมากขึ้นหรือนอยลง รวมถึงการประเมินประสิทธิภาพในการหารายไดใหกับธุรกิจ พบวา

อัตราสวนกําไรสุทธิ มีคาอยูระหวางรอยละ -22.20 - 19.85 และมีคาเฉลี่ยต่ําสุดในป พ.ศ.2551 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม เนื่องจาก บริษัทฯ ไดบันทึกผลขาดทุนจากการการขายหลักทรัพยและขาดทุนจากการดอยคาใน

Page 97: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

85

หลักทรัพยที่ลงทุนและการดอยคาของสินทรัพยที่บันทึกรวมอยูในคาใชจายอื่นๆ ทําใหอัตราสวนกําไรสุทธิในป พ.ศ.2551 ติดลบถึงรอยละ 22.2 หลังจากนั้นตั้งแตป พ.ศ.2553 – ป พ.ศ.2555 อัตราสวนกําไรสุทธิก็เพิ่มขึ้นโดยตลอด จนถึงระดับรอยละ 19.85 สูงกวากลุม 2 ซึ่งอยูที่ระดับรอยละ 8.97 และกลุมอุตสาหกรรมอยูที่ระดับติดลบถึงรอยละ 3.10

อัตราสวนกําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย มีคาเฉลี่ยสูงสุดเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม มีคาเฉลี่ยอยูระหวางรอยละ 7.65 – 17.07 แสดงใหเห็นวา บริษัทฯ มีประสิทธิภาพในการทํากําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย ซึ่งสะทอนใหเห็นแนวโนมของรายได การควบคุมคาใชจายทั้งดานการขายและการบริหารดีขึ้น มาโดยตลอดตั้งแตป พ.ศ.2552 จนถึงป พ.ศ.2555

อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย มีคาเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้นตามระยะเวลาการดําเนินงาน ซึ่งมีคาเฉลี่ยอยูระหวางรอยละ -9.63 – 10.61 เนื่องจากในป พ.ศ.2551- ป พ.ศ.2553 มีการบันทึกผลขาดทุนจากการขายหลักทรัพยลงทุนและดอยคาในหลักทรัพยลงทุนและการดอยคาของสินทรัพยที่บันทึกรวมอยูในคาใชจายอื่นๆ สงผลใหกําไรสุทธิต่ํากวาการดําเนินงานปกติ จึงทําใหอัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย ต่ํากวากลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม สวนในป พ.ศ.2554 – ป พ.ศ.2555 มีการปรับปรุงการดําเนินงานทําใหประสิทธิภาพจากการบริหารสินทรัพยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถทําไดสูงขึ้นเปนรอยละ 10.61 ในป พ.ศ.2555

อัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของเจาของ มีคาเฉลี่ยเปนแนวทิศทางเดียวกันกับอัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย ซึ่งมีคาเฉลี่ยอยูระหวางรอยละ -19.96 – 21.19 เนื่องจากบันทึกผลขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย และขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย แตการลงทุนขยายโครงขายเพื่อรองรับธุรกิจใหบริการดานอินเทอรเน็ต ทําใหประสิทธภาพในการทํากําไร และใหผลตอบแทนตอสวนของเจาของในป พ.ศ.2552 - ป พ.ศ.2555 มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จนใกลเคียงกลุม 2 กับกลุมอุตสาหกรรม

5) อัตราสวนมูลคาตลาด ผลจากการวิเคราะหอัตราสวนมูลคาตลาด เปนการวัดประสิทธิภาพใน

การดําเนินงานดี สภาพคลองดี มีประสิทธิภาพการใชสินทรัพย มีการบริหารโครงสรางทางการเงินดี และมีความสามารถในการทํากําไร อันจะสงผลใหราคาตลาดของหุนของกิจการสูงขึ้น ดังนั้น การวิเคราะหอัตราสวนมูลคาตลาดของของธุรกิจจึงมีวัตถุประสงค เพื่อจะไดทราบราคาซื้อขายหุนของกิจการเปนราคาที่เหมาะสม จากการวิเคราะหพบวา

อัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิ มีคาเฉลี่ยสูงสุดเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยกลุมอุตสาหกรรม อยูระหวาง -2.59 – 33.51 เทา แสดงใหเห็นวา บริษัทฯ มี

Page 98: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

86

ประสิทธิภาพในการดําเนินงานการใชสินทรัพยและการบริหารโครงสรางทางการเงินที่ดี ทําใหผูลงทุนเต็มใจซื้อหุน JAS ในราคาที่สูง สงผลใหอัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิสูงขึ้นตามไปดวย ซึ่งสูงกวากลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมมาโดยตลอดตั้งแตป พ.ศ.2552 – ป พ.ศ.2555 นักลงทุนสวนใหญใชในการพิจารณาลงทุนซื้อหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถาอัตราสวนนี้สูง แสดงใหเห็นวา กิจการนี้นาลงทุนเนื่องจากมีผลการดําเนินงานที่ดี มีแนวโนมวาจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่ดี

อัตราสวนราคาตลาดตอกระแสเงินสด มีคาเฉลี่ยใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม อยูระหวาง 2.04 – 8.48 เทา ถาอัตราสวนนี้สูง กิจการนี้นาลงทุนเนื่องจากมีผลการดําเนินงานที่ดี มีแนวโนมวาจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่ดี แสดงใหเห็นวาบริษัทฯ มีประสิทธิภาพในการบริหารธุรกิจอยูในเกณฑดี ทําใหนักลงทุนเต็มใจซื้อหุน JAS ในราคาที่สูงมาโดยตลอดตั้งแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555

อัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชี ในป พ.ศ.2551 มีคาเฉลี่ยใกลเคียงกับกลุม 2 แตต่ํากวากลุมอุตสาหกรรม สวนป พ.ศ.2552 – ป พ.ศ.2555 อยูระหวางคาเฉลี่ยของกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม ซึ่งมีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 0.52 – 4.03 เทา โดยอัตราสวนที่ใชเปรียบเทียบราคาตลาดตอหุนกับราคาตามบัญชีตอหุนนี้ เพื่อดูวาราคาตลาดตอหุนเปนกี่เทาของราคาตามบัญชีตอหุน ถาอัตราสวนนี้สูง จะทําใหภาพพจนของกิจการดีในสายตาของนักลงทุน ดวยความเชื่อมั่นวากิจการมีการบริหารอยางมีประสิทธิภาพ และคาดวาจะไดรับผลตอบแทนจากการลงทุนเปนที่นาพอใจ แสดงใหเห็นวาบริษัทฯ มีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพดีขึ้นสงผลใหอัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชีมีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อยๆและนักลงทุนเชื่อมั่นและคาดหวังวาจะไดรับผลตอบแทนเปนที่นาพอใจ

4.1.3.2 การวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนม ผลการวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนม เพื่อทราบถึงความสามารถในการ

บริหารและการดําเนินงาน พบวา สินทรัพยหมุนเวียน มีแนวโนมลดลงเล็กนอย ในป พ.ศ.2551 และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในปถัดไป เมื่อพิจารณาองคประกอบของสินทรัพยหมุนเวียน พบวา

เงินสดและเทียบเทาเงินสดมีแนวโนมลดลง มีจํานวนต่ําสุดในป พ.ศ.2555 เพียง 1,478.5 ลานบาท หรือรอยละ 43.3 เนื่องจากมีการจายชําระเจาหนี้การคาและเงินกูยืม

ลูกหนี้การคามีแนวโนมสูงขึ้นในป พ.ศ.2552 มีจํานวนสูงสุด 4,027.9 ลานบาทหรือรอยละ 217.7 เนื่องจากมีปรับเปลี่ยนขอตกลงเรื่องอัตราสวนแบงรายไดตามสัญญาสัมปทาน และทยอยลดลงเนื่องจากมีการเรงรัดจัดเก็บหนี้ไดในปตอมา

Page 99: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

87

สินคาคงเหลือมีแนวโนมสูงขึ้นในป ป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2553 และในป พ.ศ.2553 มีคาสูงสุดเทากับ 291.80 ลานบาท หรือรอยละ 366.4 และทยอยลดลงในป พ.ศ.2554 – ป พ.ศ.2555 และในปถัดมาบริษัทฯ มีการบริหารปรับปรุงสินคาคงเหลือไดอยางประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นทําใหทยอยลดลงต่ํากวาป พ.ศ.2550

ดานสินทรัพยไมหมุนเวียน ประกอบดวยที่ดิน อาคาร และอุปกรณสุทธิ มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น และในป พ.ศ.2554 มีคาสูงสุดเทากับ 12,116.5 ลานบาท หรือรอยละ 144.2 แสดงใหเห็นวาบริษัทฯ มีการลงทุนขยายงานดานโครงขายเปนจํานวนมากเพื่อรองรับธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ตที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นมีแนวโนมลดลง เมื่อพิจารณาสินทรัพยรวม พบวา มีแนวโนมทิศทางเดียวกับสินทรัพยหมุนเวียน

สวนทางดานหนี้สิน พบวา มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากปฐานทุกป โดยในป พ.ศ.2553 มีคาสูงสุดเทากับ 11,919.5 ลานบาทหรือรอยละ 194.1 เนื่องจากมีการขยายงานดานโครงขาย ทําใหเกิดการกูยืมเงินมาลงทุนและเจาหนี้คาอุปกรณเพิ่มมากขึ้น

สวนของเจาของ พบวา ในป พ.ศ.2551 มีแนวโนมลดลงจากปฐาน เปนจํานวน 2,886.1 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 32.7 เนื่องจากบริษัทฯ ไดลดทุนจดทะเบียนโดยการลดมูลคาที่ตราไว (Par) จากเดิมหุนละ 1 บาท เปน 0.50 บาท เพื่อนําสวนเกินทุนจากการลดมูลคาหุนที่ตราไวไปหักกลบกับผลขาดทุนสะสมของบริษัทฯ และจากการปรับปรุงการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพทําใหผลประกอบการดีขึ้น สงผลใหสัดสวนของผูถือหุนปรับตัวเพิ่มขึ้น ตั้งแตป พ.ศ. 2552 – ป พ.ศ.2555

ดานรายได พบวา บริษัทฯ มีรายไดจากการขายมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากปฐานทั้งหมด นับตั้งแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 และสูงสุดในป พ.ศ.2555 จํานวน 10,369.5 ลานบาทหรือรอยละ 239.40 เนื่องจากรายไดจากธุรกิจใหบริการอินเทอรเน็ตมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น จากการออกเคมเปญตางๆ เพื่อกระตุนยอดขายอยางตอเนื่อง สงผลใหรายไดเพิ่มขึ้นตลอด

ดานคาใชจาย มีแนวโนมสัมพันธไปในทิศทางเดียวกับรายได เมื่อพิจารณาองคประกอบพบวา ตนทุนขาย ในป พ.ศ.2553 มีคาสูงสุดจํานวน 5,695.7 ลานบาท หรือรอยละ 222.6 และบริษัทฯ มีการลงทุนขยายโครงขายสําหรับการใหบริการธุรกิจตางๆของกิจการ ทําใหตนทุนขายมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นตามสัดสวนของรายได

คาใชจายในการขายและการบริหาร พบวา มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นกวาปฐานทั้งหมด นับตั้งแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 และสูงสุดในป พ.ศ.2554 จํานวน 2,504 ลานบาท เพิ่มขึ้น 1,800 ลานบาท หรือรอยละ 355.4 เนื่องจากคาใชจายที่เพิ่มขึ้นหลักๆ ไดแก คาใชจาย

Page 100: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

88

เกี่ยวกับพนักงาน คาใชจายทางการตลาด และคาใชจายในการใหบริการ รวมถึงตนทุนในสวนคาเสื่อมราคาของอุปกรณโทรคมนาคมตางๆ

คาใชจายอื่นๆ พบวามีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นกวาปฐานทั้งหมด นับตั้งแตป พ.ศ. 2551 – ป พ.ศ.2555 และสูงสุดในป พ.ศ.2551 เนื่องจากมีผลขาดทุนจากการขายหลักทรัพยและดอยคาในหลักทรัพยที่ลงทุน ผลขาดทุนการดอยคาของสินทรัพย และคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเปนจํานวน 2,504 ลานบาท รอยละ 14,260.40 ในป พ.ศ.2552 มีจํานวน 692.2 ลานหรือรอยละ 4,367.7 สวนในป พ.ศ.2553 – ป พ.ศ.2555 มีบันทึกขาดทุนจากการปรับโครงสรางหนี้เพิ่มขึ้น

ดอกเบี้ยจาย พบวามีแนวโนมลดลงในป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2552 โดยป พ.ศ. 2552 มีจํานวน 246.9 ลานบาท ลดลงจากปฐานจํานวน 124.50 หรือรอยละ 33.5 เนื่องจากมีการจายชําระเงินกูตามระยะเวลาครบกําหนดชําระ และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นสูงสุดในป พ.ศ.2554 จํานวน 467.8 ลานบาท หรือรอยละ 126 เนื่องจากมีการกูยืมเงินเพื่อขยายงานดานโครงขายเพื่อรองรับธุรกิจของกิจการ

สวนกําไรสุทธิ พบวา ในป พ.ศ.2551 บริษัทฯ มีผลขาดทุนเทากับ 1,187.7 ลานบาท เนื่องจากการบันทึกผลขาดทุนการดอยคาตางๆ รวมอยูในคาใชจายอื่นๆ เมื่อเทียบกับปฐานซึ่งลดลงเปนจํานวนเทากับ 1,854.3 ลานบาทหรือรอยละ -178.2 และในป พ.ศ.2552 - ป พ.ศ. 2555 มีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยป พ.ศ.2555 มีคาสูงสุดเทากับจํานวน 2,058.3 ลานบาทหรือรอยละ 308.8 แสดงใหเห็นวา บริษัทมีประสิทธิภาพในการบริหารธุรกิจอยูในเกณฑดี มีการลงทุนขยายธุรกิจในดานเทคโนโลยีดานการสื่อสารทางอินเทอรเน็ตและเพิ่มชองทางดานรายไดเพิ่มขึ้น สงผลใหมีกําไรสุทธิดีขึ้น

4.2 การอภิปรายผล จากการวิจัย เรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ในชวงระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555

4.2.1 การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน4.2.1.1 อัตราสวนสภาพคลอง ทําใหทราบวาบริษัทฯ มีสัดสวนของสินทรัพย

หมุนเวียนที่มีสภาพคลองนอยกวาสัดสวนของหนี้สินหมุนเวียน ซึ่งแสดงใหเห็นวาความสามารถในการจายชําระหนี้สินระยะสั้นเฉลี่ยทั้ง 5 ป มีนอยหรือขาดสภาพคลองนั่นเอง แมจะวิเคราะหอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็วแยกออกมา ก็ยังแสดงผลวา ขาดสภาพคลอง หรือความสามารถใน

Page 101: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

89

การจายชําระหนี้ระยะสั้นอยูในเกณฑที่ต่ํา แตหากมองภาพรวมจะทําเห็นวา แนวโนมของความสามารถในการจายชําระหนี้ระยะสั้นนั้นดีขึ้นทุกป ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของจรุวรรณ ขุนทอง (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท สามพราน จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา ประเด็นเกี่ยวกับฐานะทางการเงินของบริษัทฯ ยังขาดสภาพคลอง สงผลใหบริษัทฯ มีความสามารถในการจายชําระหนี้ระยะสั้นนั้นอยูในเกณฑที่ต่ํา สอดคลองกับผลการวิจัยของ พยุง เกียงศรี (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท ไทยชูการ เทอรมิเนิ้ล จํากัด (มหาชน) พบวาอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียนเร็วของบริษัทฯ มีสภาพคลองนอยมากเปนเพราะมีสินคาคงเหลือรวมอยูในสินทรัพยหมุนเวียนเปนจํานวนมาก

4.2.1.2 อัตราสวนประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย ไดผลดังนี้1) อัตราสวนการหมุนเวียนของสินคา ในชวงแรกมีคาเฉลี่ยใกลเคียงกับของ

กลุมอุตสาหกรรม และในปถัดๆ มาบริษัทฯ มีการบริหารสินคาคงเหลืออยางมีประสิทธิภาพไปในทิศทางที่ดีขึ้นทําใหมีคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นสูงกวาอุตสาหกรรมเปนอยางมาก ซึ่งธุรกิจของบริษัทฯมีลักษณะการใหบริการทางดานโครงขายและอินเทอรเน็ตเปนสวนใหญ ดังนั้นจึงไมตองเก็บสินคาคงเหลือเปนปริมาณมากเหมือนธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมรายอื่นๆ สงผลใหกิจการมีการบริหารสินคาคงเหลือไมใหเหลือมากหรือนอยเกินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของวรณัน แซซิว (2555)ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา อัตราสวนหมุนเวียนของสินคาคงเหลือเพิ่มขึ้นทุกๆป การบริหารจัดการสินคาคงเหลือไปในทิศทางที่ดีขึ้น และสอดคลองกับผลการวิจัยของสุรียพร จันทรงาม (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท สุรพลฟูดส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา มีประสิทธิภาพในการบริหารสินคาคงเหลือไปในทิศทางที่ดีขึ้นมีจํานวนหมุนเวียนอยูในเกณฑที่ดี

2) อัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้รวมถึงการเรียกเก็บหนี้คอนขางลาชา เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงเง่ือนไขการจายชําระตามสัญญาสัมปทาน ทําใหตองมีการกูยืมเงินระยะสั้นและการเพิ่มขึ้นของเจาหนี้คาอุปกรณ สงผลกระทบตอกระแสเงินสดรับที่ใชจายในการบริหารเพราะเรียกเก็บเงินจากลูกหนี้มาใชจายไมทัน ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของสุจินต ดวงดี (2553) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท ไปรษณียไทย จํากัด พ.ศ.2547-2551 พบวา บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด มีอัตราสวนการหมุนเวียนของลูกหนี้รวมถึงการจัดเก็บหนี้ที่ใชระยะเวลานานมากขึ้นกวาระยะเวลาที่บริษัทฯ กําหนดไวตามสัญญานั้นอาจเกิดผลกระทบตอ

Page 102: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

90

กระแสเงินสดรับและสภาพคลองของบริษัทฯ และสอดคลองกับผลการวิจัยของพยุง เกียงศรี (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท ไทยชูการ เทอรมิเนิ้ล จํากัด (มหาชน) พบวา อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้นอย ใชเวลานานในการเก็บหนี้สงผลตอสภาพคลองในการชําระหนี้สินหมุนเวียน และสอดคลองกับผลงานวิจัย ศิริวรรณ ลิ้มสมบัติอนันต (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท แบตเตอร เวิลด กรีน จํากัด (มหาชน) พบวา บริษัท มีระยะเวลาในการเก็บหนี้มีจํานวนมากกวาระยะเวลาการชําระหนี้ อาจมีผลกระทบตอสภาพคลองของบริษัทฯในภายหลังได

3) อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวรและสินทรัพยรวม ที่กิจการใชในการดําเนินงาน เพื่อวัดคุณภาพและประสิทธิในการจัดการสินทรัพยและเงินทุนจากเจาของกิจการที่สรางรายไดหรือผลตอบแทนใหกิจการ มีคาต่ํากวากลุมอุตสาหกรรม สรุปวา การลงทุนของสินทรัพยถาวร 1 บาท สามารถสรางรายไดอยูในชวง 0.78 - 0.99 บาท และการลงทุนของสินทรัพยรวม 1 บาท สามารถสรางรายไดอยูในชวง 0.43 - 0.53 บาท ซึ่งผลที่ไดรับยังนอยกวาเงินลุงทุนในสินทรัพยถาวรอีกดวย เนื่องจากบริษัทฯ มีการเรงลงทุนขยายงานดานโครงขายเพื่อรองรับการใหบริการธุรกิจอินเทอรเน็ตในระยะแรก ถึงแมวารายไดจากการขายจะเพิ่มขึ้นโดยตลอด 5 ปก็ตาม ก็ยังคงทําใหอัตราสวนทั้ง 2 ต่ําอยางตอเนื่อง ซึ่งไมสอดคลองกับผลการวิจัยของวรณัน แซซิว (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา อัตราสวนการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม มีแนวโนมเพิ่มขึ้น สรุปไดวาลงทุน 1 บาท สามารถทํารายไดอยูในชวง 1.29-1.56 บาท ซึ่งเปนไปตามหลักการทางทฤษฏีของนักวิชาการ เพชรี ขุมทรัพย(2554) เยาวรักษ สุขวิบูลย (2556) นุชจรี พิเชฐกุล (2553) และเฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค (2554) กลาววา ถาอัตราสวนที่ไดมีคาต่ํา แสดงวาบริษัทฯ มีประสิทธิภาพในการใชสินทรัพยทั้งหมดเพื่อหารายไดต่ํามาก มีสินทรัพยถาวรมากเกินความตองการ แตดวยเหตุผลของการเรงลงทุนขยายงานโครงขายอินเทอรเน็ตในชวงนี้ เพื่อสนองความตองการและสรางรายไดในอนาคต จึงยังไมใชขอบงชี้วา บริษัทฯ มีประสิทธิภาพต่ําในประเด็นนี้

4.2.1.3 อัตราสวนประสิทธิภาพในการบริหารหนี้สิน ไดผลดังนี้1) อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพย คาเฉลี่ยของบริษัทฯใกลเคียงกับของกลุม

อุตสาหกรรม แตสูงกวาคาเฉลี่ยของกลุม 2 ซึ่งมีผลตอความเสี่ยงของธุรกิจ เนื่องจากบริษัทฯ มีเจาหนี้คาอุปกรณที่คางชําระและภาระหนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการ ในป พ.ศ.2555 ทางบริษัทฯ ไดปรับปรุงการบริหารภาระหนี้สิน จนอยูในระดับที่ดีต่ํากวากลุมอุตสาหกรรม และใกลเคียงกับกลุม 2 มากขึ้น ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของวรณัน แซซิว (2555) ไดทําการศึกษา

Page 103: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

91

เรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา กิจการมีเงินทุนจากภายนอกกิจการนอย โครงสรางเงินทุนสวนมากมาจากแหลงเงินทุนภายในกิจการ ซึ่งเปนไปตามหลักการทางทฤษฏีของนักวิชาการ เพชรี ขุมทรัพย (2554) เยาวรักษ สุขวิบูลย (2556) และเฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค (2554) กลาววา อัตราสวนนี้แสดงใหเห็นถึง สัดสวนของเงินลงทุนในสินทรัพยรวมที่กิจการไดจากการกอหนี้ ถาอัตราสวนนี้สูงแสดงใหเห็นวากิจการจัดหาเงินลงทุนในสินทรัพยจากการกอหนี้เปนจํานวนมาก ซึ่งจะมีผลตอความเสี่ยงทางการเงิน ในการจายชําระหนี้ทั้งเงินตนและดอกเบี้ยเมื่อครบกําหนดและเมื่อตองการเงินลงทุนเพิ่มในอนาคตอาจไมสามารถจัดหาเงินทุนดวยการกอหนี้เพิ่มไดอีก เพราะเปนการเพิ่มความเสี่ยงใหเจาหนี้ในการที่จะไมไดรับชําระหนี้ครบตามจํานวนเมื่อถึงกําหนดชําระ

2) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ มีคาอยูระหวาง 1.00 – 1.61 เทาเนื่องจากบริษัทฯมีโครงสรางของเงินทุนที่เกิดจากการกูยืมตอสวนของเจาของเปนสัดสวนที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับกลุม 2 เนื่องจากในป พ.ศ.2550 บริษัทฯ มีมติอนุมัติโครงการซื้อหุนสามัญคืนเพื่อบริหารการเงิน โดยรับซื้อคืนไมเกินรอยละ 10 ของหุนสามัญที่จําหนายไดแลวทั้งหมดภายในเวลาไมเกิน 3 ป ( 15 มีนาคม 2551 – 14 กันยายน 2553) สงผลใหในป พ.ศ.2551 บริษัทฯ ไดลดทุนจดทะเบียนโดยการลดมูลคาที่ตราไว (Par) จากเดิมหุนละ 1 บาท เปน 0.50 บาท เพื่อนําสวนเกินทุนจากการลดมูลคาหุนที่ตราไวไปหักกลบกับผลขาดทุนสะสมของบริษัทฯ และสวนต่ํากวามูลคาหุนสามัญ โดยสวนที่เหลือไดแสดงไวในรายการสวนเกินทุนจากการลดทุน และในป พ.ศ.2553 อัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของเพิ่มขึ้นเปน 1.61 เทาและไดปรับลดลงเหลือ 1 เทาในป พ.ศ. 2555 ทําใหภาระการจายคืนเงินตนและดอกเบี้ยลดลง และจากการบริหารธุรกิจที่มีประสิทธิภาพสงผลกําไรสุทธิเพิ่มขึ้นทําใหสวนของเจาของมีสัดสวนเพิ่มขึ้นดวย ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของจรุวรรณ ขุนทอง (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท สามพราน จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา โครงสรางเงินทุนของบริษัทมาจากการกอหนี้แตโดยเฉลี่ยลดลงทุกป ในชวงป 2555 อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนลดลงเหลือ 1.52 เทา นอยกวาคาเฉลี่ย 5 ป คือ 4.39 เทา เพราะมีการปรับปรุงทุน คือลางผลขาดทุนสะสมที่ยกมาของบริษัทฯ ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 แสดงใหเห็นกําไรจากการดําเนินงานที่เพิ่มขึ้นทําใหสามารถชดเชยขาดทุนสะสมที่คงเหลืออยูไดหมด จนมีกําไรสะสมในที่สุดบริษัทฯ มีการบริหารจัดการทุนคือจัดใหมีโครงสรางทางการเงินที่เหมาะสม เพื่อคงความสามารถในการดําเนินธุรกิจอยางตอเนื่อง ซึ่งสงผลใหเจาหนี้มีความเสี่ยงที่จะไมไดรับชําระหนี้เมื่อครบกําหนดนอยลง

Page 104: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

92

3) อัตราสวนกําไรตอดอกเบี้ยจาย บริษัทฯ มีความสามารถในการจายดอกเบี้ยต่ําที่สุด มีคาอยูระหวาง -2.16 - 7.41 เทา เนื่องจากในป พ.ศ.2551 –ป พ.ศ.2553 มีการบันทึกผลขาดทุนจากการดอยคาในหลักทรัพยลงทุนและขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่บันทึกรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร และใน ป พ.ศ.2554 มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน บันทึกอยูในคาใชจายอื่นๆ ของกิจการ สงผลใหกําไรจากการดําเนินงานในรอบปนั้น ต่ํากวาการดําเนินงานปกติ สวนป พ.ศ.2555 กิจการมีการปรับปรุงภาระหนี้สินใหลดลง จนมีผลทําใหอัตราสวนนี้ปรับตัวสูงขึ้นกวากลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรมได ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ จรุวรรณ ขุนทอง (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท สามพราน จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา อัตราสวนความสามารถในการจายดอกเบี้ยมีแนวโนมดีขึ้น โดยเฉลี่ยทุกป กลาวคือบริษัทฯมีฐานะการเงินที่ดีพอ และแสดงใหเห็นวามีความสามารถในการจายดอกเบี้ยจายสูงขึ้น ซึ่งเปนไปตามหลักการทางทฤษฏีของนักวิชาการ เพชรี ขุมทรัพย (2554) เยาวรักษ สุขวิบูลย (2556) และเฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค (2554) กลาววา ถาคาของอัตราสวนนี้สูง แสดงใหเห็นวากิจการมีความเสี่ยงทางการเงินต่ําหรือมีความสามารถในการชําระดอกเบี้ย ทําใหความเสี่ยงของเจาหนี้ลดลงในการที่ใหกิจการกูยืม แตถามีคาต่ํา แสดงวากิจการมีความเสี่ยงทางการเงินสูงและเจาหนี้มีความเสี่ยงสูงที่จะไดรับดอกเบี้ยไมตรงตามกําหนด และกิจการอาจจะจัดหาเงินทุนดวยการกูยืมเพิ่มเติมอีกไมได

4.2.1.4 อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร ไดผลดังนี้1) อัตราสวนกําไรสุทธิ มีคาเฉลี่ยต่ําสุดในป พ.ศ.2551 และมีแนวโนมดีขี้น

จนกระทั่งสูงกวากลุมอุตสาหกรรมเรื่อยๆในปถัดมา เนื่องจากบริษัทฯ มีการลงทุนในสินทรัพยขยายโครงขาย เพื่อนํามาสรางรายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการและกระแสเงินสดไดเพิ่มมากขึ้น รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมคาใชจายเกี่ยวกับการขายและการบริหาร สงผลใหกําไรสุทธิเพิ่มขึ้นในปถัดมา ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของวรณัน แซซิว (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา บริษัทมีความสามารถในการทํากําไร มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีเนื่องจากมียอดขายเพิ่มขึ้น และสอดคลองกับผลการวิจัยของ จรุวรรณ ขุนทอง (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท สามพราน จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา อัตรากําไรสุทธิเพิ่มสูงขึ้นอยางมีสาระสําคัญ เนื่องมาจากคาใชจายในการบริหารที่ลดลง จึงทําใหอัตรากําไรสุทธิสูงขึ้น

2) อัตราสวนกําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย มีคาเฉลี่ยสูงสุดเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และกลุมอุตสาหกรรม มีคาเฉลี่ยอยูระหวางรอยละ 7.65 – 17.07 พบวา

Page 105: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

93

บริษัทฯ มีประสิทธิภาพในการทํากําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย ซึ่งสะทอนใหเห็นแนวโนมของรายไดและการควบคุมคาใชจายทั้งดานการขายและการบริหารดีขึ้น ซึ่งเปนไปตามหลักการทางทฤษฏีของนักวิชาการ เพชรี ขุมทรัพย (2554) เยาวรักษ สุขวิบูลย (2556) และเฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค (2554) กลาววา อัตราสวนนี้แสดงใหเห็นถึง การหาผลตอบแทนที่ไดจากสินทรัพยทั้งหมดของกิจการ โดยการพิจารณากําไรกอนหักดอกเบี้ยและภาษี (กําไรจากการดําเนินงาน) เทียบกับการใชสินทรัพยทั้งหมดของบริษัท สามารถนํามาใชเปนตัวประมาณกระแสเงินสดกอนภาษีหรือประเมินมูลคากิจการในอนาคตได

3) อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย ซึ่งทางบริษัทฯ มีคาเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้นตามระยะเวลาการดําเนินงาน อยูระหวางรอยละ -9.63 – 10.61 ในป พ.ศ.2555 มีการปรับปรุงการดําเนินงานทําใหประสิทธิภาพจากการบริหารสินทรัพยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถทําไดสูงขึ้นเปนรอยละ 10.61 ซึ่งเปนการวัดความสามารถในการทํากําไรของเงินลงทุนที่มาจากสองสวนดวยกันคือ หนี้สินและสวนของผูถือหุน ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของจรุวรรณ ขุนทอง (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท สามพราน จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา ผลตอบแทนตอสินทรัพยรวมเพิ่มขึ้นจากปกอนๆ ซึ่งเกิดจาก บริษัทฯ มีความสามารถและมีประสิทธิภาพในการใชทรัพยสินเพื่อกอใหเกิดกําไรกลับคืนสูบริษัทเพิ่มมากขึ้น

4) อัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของเจาของ มีคาเฉลี่ยเปนแนวทิศทางเดียวกันกับอัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย ซึ่งมีคาเฉลี่ยอยูระหวางรอยละ -19.96 – 21.19 มีการลงทุนขยายโครงขายเพื่อรองรับธุรกิจใหบริการดานอินเทอรเน็ต ทําใหประสิทธภาพในการทํากําไรติดลบอยางมากในชวงตนของการลงทุน แตมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นในเวลาตอมา ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของวรณัน แซซิว (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา อัตราผลตอบแทนของสวนผูถือหุน ในปพ.ศ.2551 มีอัตรารอยละ 7.08 และเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แสดงวาผลตอบแทนที่ไดจากการลงทุนจะคอยๆ ใหผลดีขึ้นเรื่อยๆ ในเวลาตอมา และสอดคลองกับงานวิจัยของสุรียพร จันทรงาม (2555) ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท สุรพลฟูดส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย พบวา บริษัทฯ มีความสามรถในการทํากําไรอยูในเกณฑที่ดี สงผลใหผลตอบแทนตอสวนของเจาของเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนไปตามหลักการทางทฤษฏีของนักวิชาการ เพชรี ขุมทรัพย (2554) เยาวรักษ สุขวิบูลย (2556) และเฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค (2554) กลาววาอัตราสวนตอบแทนตอสวนของเจาของ เปนการวิเคราะหที่สําคัญที่สุดสําหรับผูถือหุนของกิจการหรือผูถือหุนสามัญ เนื่องจาก

Page 106: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

94

เปนการแสดงใหเห็นถึงความสามารถในการสรางผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่ผูถือหุนนํามาลงทุนหลังจากการจายผลตอบแทนคืนใหกับผูลงทุนประเภทอื่นไปแลว

4.2.1.5 อัตราสวนมูลคาตลาด ไดผลดังนี้ 1) อัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิ ของบริษัทฯ มีคาเฉลี่ยสูงสุดเมื่อเทียบกับ

คาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉล่ียกลุมอุตสาหกรรม อยูระหวาง -2.59 – 33.51 เทา ซึ่งพบวาบริษัทฯ มีประสิทธิภาพในการดําเนินงานการใชสินทรัพยและการบริหารโครงสรางทางการเงินที่ดี ทําใหผูลงทุนเต็มใจซื้อหุน JAS ในราคาที่สูง สงผลใหอัตราสวนราคาตอกําไรสุทธิสูงขึ้นตามไปดวย ซึ่งเปนไปตามหลักการทางทฤษฏีของนักวิชาการ เยาวรักษ สุขวิบูลย (2556) กลาววา ถาอัตราสวนนี้สูง แสดงใหเห็นวา กิจการนี้นาลงทุนเนื่องจากมีผลการดําเนินงานที่ดี มีแนวโนมวาจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่ดี แตถาอัตราสวนนี้ต่ํากวาอัตราสวนโดยเฉลี่ยของอุตสาหกรรม แสดงวา กิจการมีความเสี่ยงสูงไมนาลงทุน มีผลการดําเนินงานไมดี การบริหารงานไมมีประสิทธิภาพ โอกาสการเจริญเติบโตนอย และมีความเสี่ยงมากกวากิจการอื่นๆ

2) อัตราสวนราคาตลาดตอกระแสเงินสด ของบริษัทฯ มีคาเฉลี่ยใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของกลุม 2 และคาเฉลี่ยของกลุมอุตสาหกรรม อยูระหวาง 2.04 – 8.48 เทา บริษัทฯ มีประสิทธิภาพในการบริหารธุรกิจอยูในเกณฑดี ทําใหนักลงทุนเต็มใจซื้อหุน JAS ในราคาที่สูงมาโดยตลอดตั้งแตป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2555 ซึ่งเปนไปตามหลักการทางทฤษฏีของนักวิชาการ เยาวรักษ สุขวิบูลย (2556) กลาววา ถาอัตราสวนนี้สูง กิจการนี้นาลงทุนเนื่องจากมีผลการดําเนินงานที่ดี มีแนวโนมวาจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่ดี

3) อัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชี ของบริษัทฯ มีคาเฉลี่ยใกลเคียงกับกลุม 2 เนื่องจากผลกระทบจากราคาตามบัญชี และมีแนวโนมดีขึ้นในปถัดมา และใกลเคียงกับกลุมอุตสาหกรรม บริษัทฯ มีการลงทุนขยายโครงขายมีประสิทธิภาพในการทํากําไรสุทธิจากการดําเนินงานตอสินทรัพย ซึ่งสะทอนใหเห็นแนวโนมของรายได การควบคุมคาใชจายทั้งดานการขายและการบริหารดีขึ้นโดยตลอดสงผลในราคาตลาดตอหุนสูงขึ้นในสายตานักลงทุน ซึ่งเปนไปตามหลักการทางทฤษฏีของนักวิชาการ เยาวรักษ สุขวิบูลย (2556) กลาววา อัตราสวนที่ใชเปรียบเทียบราคาตลาดตอหุนกับราคาตามบัญชีตอหุนนี้ เพื่อดูวาราคาตลาดตอหุนเปนกี่เทาของราคาตามบัญชีตอหุน ถาอัตราสวนนี้สูง จะทําใหภาพพจนของกิจการดีในสายตาของนักลงทุน ดวยเชื่อมั่นวากิจการมีการบริหารอยางมีประสิทธิภาพ และคาดวาจะไดรับผลตอบแทนจากการลงทุนเปนที่นาพอใจ แสดงใหเห็นวาบริษัทฯ มีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพดีขึ้นจนสงผลใหอัตราสวนราคาตลาดตอราคาตามบัญชีมีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อยๆและนักลงทุนเชื่อมั่นและคาดหวังวาจะไดรับผลตอบแทนเปนที่นาพอใจ

Page 107: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

95

4.2.2 การวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนมการวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนม พบวาสินทรัพยหมุนเวียน มีแนวโนมลดลง ในป

แรกและมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในปถัดไป เมื่อพิจารณาองคประกอบของสินทรัพยหมุนเวียน พบวา เงินสดและเทียบเทาเงินสดมีแนวโนมลดลง ลูกหนี้การคามีแนวโนมสูงขึ้น สินคาคงเหลือมีแนวโนมสูงขึ้นในป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2553 และทยอยลดลงในป พ.ศ.2554 – ป พ.ศ.2555 แสดงวา บริษัทฯ มีการปรับปรุงบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นทําใหสินทรัพยหมุนเวียนมีแนวโนมสูงขึ้น

ดานสินทรัพยไมหมุนเวียน ประกอบดวยที่ดิน อาคาร และอุปกรณสุทธิ มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น แสดงใหเห็นวาบริษัทฯ มีการลงทุนขยายงานดานโครงขายเปนจํานวนมากเพื่อรองรับการใหบริการอินเทอรเน็ตที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นมีแนวโนมลดลง เมื่อพิจารณาสินทรัพยรวม พบวา มีแนวโนมสูงขึ้นเชนเดียวกับสินทรัพยหมุนเวียน

ดานหนี้สิน พบวา มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากปฐานทุกป โดยในป พ.ศ.2553 มีคาสูงสุดเทากับ 11,919.5 ลานบาทหรือรอยละ 194.1 เนื่องจากมีการขยายงานดานโครงขาย ทําใหเกิดการกูยืมเงินมาลงทุนและเจาหน้ีคาอุปกรณเพิ่มมากขึ้น แตในป พ.ศ.2555 มีการจายชําระหนี้ฟนฟู สงผลใหหนี้สินรวมมียอดลดลง เมื่อดูจากแนวโนมจะทยอยลดลงในปตอมา

สวนของเจาของ พบวา ในป พ.ศ.2551 มีแนวโนมลดลงจากปฐาน เนื่องจากบริษัทฯ ไดลดทุนจดทะเบียนโดยการลดมูลคาที่ตราไว (Par) จากเดิมหุนละ 1 บาท เปน 0.50 บาท เพื่อนําสวนเกินทุนจากการลดมูลคาหุนที่ตราไวไปหักกลบกับผลขาดทุนสะสมของบริษัทฯ และจากการปรับปรุงการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพทําใหผลประกอบการดีขึ้น สงผลใหสัดสวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้น ตั้งแตป พ.ศ.2552 – ป พ.ศ.2555 โดยในป พ.ศ.2555 มีจํานวนเพิ่มขึ้นเปน 9,711.4 ลานบาท หรือรอยละ 109.9

ดานรายได พบวา บริษัทฯ มีรายไดจากการขายและบริการเพิ่มขึ้นกวาปฐานทั้งหมด เนื่องจากรายไดจากธุรกิจใหบริการอินเทอรเน็ตมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น เปนผลมาจากการออกเคมเปญตางๆ เพื่อกระตุนยอดขายอยางตอเนื่อง สงผลใหรายไดเพิ่มขึ้นตลอด

ดานคาใชจาย มีแนวโนมสัมพันธไปในทิศทางเดียวกันกับรายได โดยพิจารณาองคประกอบ พบวา บริษัทฯ มีการขยายโครงขายสําหรับการใหบริการธุรกิจตางๆของกิจการ ทําใหตนทุนขายมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นตามสัดสวนของรายได คาใชจายในการขายและการบริหาร มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นกวาปฐานทั้งหมด เนื่องจากคาใชจายที่เพิ่มขึ้นหลักๆ ไดแก คาใชจายเกี่ยวกับ

Page 108: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

96

พนักงาน คาใชจายทางการตลาด และคาใชจายในการใหบริการ รวมถึงตนทุนในสวนคาเสื่อมราคาของอุปกรณโทรคมนาคมตางๆ

คาใชจายอื่นๆ พบวา มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นกวาปฐานทั้งหมด เนื่องจากมีผลขาดทุนจากการขายหลักทรัพยและดอยคาในหลักทรัพยที่ลงทุน ผลขาดทุนการดอยคาของสินทรัพย และคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สวนดอกเบี้ยจาย มีแนวโนมลดลงในป พ.ศ.2551 – ป พ.ศ.2552 เนื่องจากมีการจายชําระเงินกูตามระยะเวลาครบกําหนดชําระ และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นสูงสุดในป พ.ศ.2554 เนื่องจากมีการลงทุนขยายงานดานโครงขายเพื่อรองรับธุรกิจของกิจการจึงมีการกูยืมเงินเพิ่มและมีภาระดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น

กําไรสุทธิ พบวา ในป พ.ศ.2551 บริษัทฯ มีผลขาดทุน เนื่องจากการบันทึกผลขาดทุนการดอยคาตางๆ รวมอยูในคาใชจายอื่นๆ เมื่อเทียบกับปฐาน และในป พ.ศ.2552 - ป พ.ศ. 2555 มีแนวโนมเพิ่มขึ้นโดยป พ.ศ.2555 มีอัตราผลตอบแทนสูงรอยละ 308.8 จากปฐาน แสดงใหเห็นวา บริษัทมีประสิทธิภาพในการบริหารธุรกิจอยูในเกณฑดี มีการลงทุนขยายธุรกิจในดานเทคโนโลยีดานการสื่อสารทางอินเทอรเน็ตและเพิ่มชองทางดานรายไดเพิ่มขึ้นสงผลใหมีกําไรสุทธิดีขึ้น

จากการอภิปรายผลของการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตามแนวนอนหรือแนวโนมมีความสอดคลองกับผลการวิจัยของวรณัน แซซิว (2555)ไดทําการศึกษาเรื่องการวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึ่งผลการศึกษาสรุปวา อัตราขยายตัวของรายได ในชวงระยะเวลา 5 ป มีแนวโนมสูงขึ้น อัตราการขยายตัวของตนทุนขาย ก็มีแนวโนมสูงขึ้นเชนกัน สําหรับผลตอบแทนของกิจการ ยอดกําไรขั้นตนก็เชนกันมีแนวโนมผลตอบแทนสูง ซึ่งเปนไปตามหลักการทางทฤษฏีของนักวิชาการ เพชรี ขุมทรัพย (2554) เยาวรักษ สุขวิบูลย (2556) เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค (2554) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (2545) ซึ่งเปนการวิเคราะหโดยการเปรียบเทียบตัวเลขในงบการเงินตั้งแตสองรอบระยะเวลาบัญชีขึ้นไป ปกตินิยมใชหลายๆ ปตอเนื่องกัน เพื่อดูแนวโนมหรือทิศทางของรายการตางๆ ในงบแสดงฐานะการเงิน หรืองบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในแตละงวดบัญชีมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ลดลง หรือไมเปลี่ยนแปลง ทําใหทราบแนวโนมในการดําเนินงานที่ผานมาและเพื่อเปนการวางแผนในอนาคต

Page 109: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

97

4.3 ขอเสนอแนะ4.3.1 ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย

จากการวิจัยเรื่อง การวิเคราะหงบการเงินของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย เปรียบเทียบกับธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ในชวงระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ.2551 - ป พ.ศ.2555 ผูวิจัยใหขอเสนอแนะดังนี้

4.3.1.1 การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน 1) อัตราสวนสภาพคลอง จะเห็นวา บริษัทฯ มีสัดสวนของสินทรัพย

หมุนเวียนที่มีสภาพคลองนอยกวาสัดสวนของหนี้สินหมุนเวียน ซึ่งแสดงใหเห็นวาความสามารถในการจายชําระหนี้สินระยะสั้นเฉลี่ยทั้ง 5 ป มีนอยหรือขาดสภาพคลองนั่นเอง เพื่อรักษาสภาพคลองใหเพิ่มขึ้น คือ การพยายามเปลี่ยนสินทรัพยหมุนเวียนรวมใหเปนเงินสดใหมากขึ้นเทาที่จะสามารถทําได จะไดนํามาชําระหนี้สินไดตามกําหนด การเพิ่มยอดรายไดจากการบริการและเรงรัดการจัดเก็บหนี้ใหเร็วที่สุด ก็เปนวิธีการที่ดีในการเพิ่มสภาพคลองใหกับบริษัทฯ ได

2) อัตราสวนประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย จะเห็นวา บริษัทฯ มีการเรียกเก็บหนี้คอนขางลาชา ควรมีการปรับเปลี่ยนนโยบายเพื่อเรงรัดการเรียกเก็บหนี้ใหรวดเร็ว หากลูกหนี้สะสมเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก อาจจะเกิดหนี้สูญได หรืออยางนอยก็เปนการสรางภาระทางการเงินที่ตองกูยืมเงินมาใชจายและเสียดอกเบี้ย ดานสินทรัพยไมหมุนเวียนที่กิจการมีการขยายการลงทุนในโครงขาย ก็ควรตองมีนโยบายสงเสริมการตลาดใหมาก เพื่อมุงเนนใหเกิดยอดรายไดจากการใหบริการ ใหสอดคลองกับสินทรัพยที่ลงทุน และจะไดรับกระแสเงินสดเขามาสําหรับใชในการบริหารตอไป

3) อัตราสวนความสามารถในการบริหารหนี้สิน จะเห็นวา บริษัทฯ มีอัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพยรวม และอัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของไมดีนัก เพราะบริษัทฯ มีการขยายการลงทุนเพิ่มขึ้นซึ่งตองอาศัยเงินลงทุนเปนจํานวนมหาศาล ดังนั้นจึงควรปรับปรุงนโยบายการขอขยายเครดิตจากเจาหนี้เพื่อชะลอการจายชําระหนี้ หรือตอรองกับแหลงเงินกูในเรื่องอัตราดอกเบี้ยใหปรับลดลง หรือหาแหลงเงินกูที่ใหอัตราดอกเบี้ยที่ต่ํากวาเดิม หรือมีนโยบายออกหุนกู เพื่อลดอัตราดอกเบี้ยใหต่ําลงจะทําใหภาระทางการเงินดีขึ้น

4) อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร จะเห็นวา บริษัทฯ มีรายไดจากการขายเพิ่มขึ้น และมีคาใชจายสําหรับกระตุนยอดขายเพิ่มขึ้นดวย ดังนั้น จึงควรมีนโยบายเกี่ยวกับคาใชจายทั้งดานการตลาด รวมถึงคาใชจายในการขายและบริหารที่เหมาะสมใหมากยิ่งขึ้น

5) อัตราสวนมูลคาตลาด จะเห็นวาบริษัทฯ มีอัตราสวนเกี่ยวกับมูลคาตลาดสูง แสดงใหเห็นวา กิจการนี้นาลงทุนเนื่องจากมีผลการดําเนินงานที่ดี มีแนวโนมวาจะมีอัตราการ

Page 110: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

98

เจริญเติบโตที่ดี มีประสิทธิภาพในการบริหารธุรกิจอยูในเกณฑดี ทําใหนักลงทุนเต็มใจซื้อหุน JAS ในราคาที่สูง ดังนั้น บริษัทฯ จึงตองพยายามสรางความเชื่อมั่นใหกับผูลงทุนวาบริษัทฯ จะสามารถเติบโตตอไปไดอยางดี โดยพยายามสรางรายไดใหเพิ่มยิ่งขึ้นดวยกลยุทธทางการตลาดรูปแบบตางๆ ในการนําเสนอผลิตภัณฑของบริษัทฯ สูผูบริโภคทั่วไปใหมากยิ่งขึ้น

4.3.1.2 การวิเคราะหแนวนอนหรือแนวโนม การวิเคราะหงบการเงินตามแนวนอนหรือแนวโนม จะเห็นวา สินทรัพย

หมุนเวียนโดยเฉพาะเงินสดมีแนวโนมลดลง แตลูกหนี้การคามีแนวโนมเพิ่มขึ้น ดังนั้น บริษัทฯ ควรปรับปรุงนโยบายการเรงรัดจัดเก็บหนี้ใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อเปลี่ยนจากลูกหนี้การคาเปนกระแสเงินสดรับสําหรับใชในกิจการ เพื่อลดภาระการกูยืมเงินระยะสั้นมาใชจายหมุนเวียนในกิจการ

สวนสินทรัพยไมหมุนเวียน ประกอบดวยที่ดิน อาคาร และอุปกรณสุทธิ จะเห็นวา มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากบริษัทฯ มีการลงทุนขยายงานดานโครงขายเปนจํานวนมากเพื่อรองรับการใหบริการอินเทอรเน็ตที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ดังนั้นจึงควรเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพยใหมากขึ้น โดยการกระตุนยอดขายใหสัมพันธกับสินทรัพยที่มีการลงทุนขยายโครงขายที่เพิ่มขึ้น

ดานหนี้สิน จะเห็นวา บริษัทฯ มีแนวโนมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการขยายงานดานโครงขาย ทําใหเกิดการกูยืมเงินมาลงทุนและเจาหนี้คาอุปกรณเพิ่มมากขึ้น ควรพยายามตอรองขอขยายเครดิตเจาหนี้ และตอรองอัตราดอกเบี้ยเงินกูกับเจาหนี้เงินกูใหลดต่ําลง หรือพยายามหาแหลงเงินทุนอื่นๆ ที่มีดอกเบี้ยต่ํากวามาใช

ดานรายได จะเห็นวา บริษัทฯ มีรายไดจากการขายเพิ่มขึ้นจากปฐานทั้งหมด เนื่องจากการใหบริการอินเทอรเน็ตมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น จากการออกเคมเปญตางๆ เพื่อกระตุนยอดขายอยางตอเนื่อง ดังนั้น บริษัทฯ จึงควรเพิ่มชองทางการสงเสริมการขายใหหลากหลายรูปแบบใหครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อกระตุนยอดขายเพิ่มขึ้น

ดานคาใชจาย มีแนวโนมสัมพันธไปในทิศทางเดียวกันกับรายได จะเห็นวาบริษัทฯ มีการขยายโครงขายสําหรับการใหบริการธุรกิจตางๆของกิจการ ทําใหตนทุนขายมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นตามสัดสวนของรายได คาใชจายในการขายและการบริหาร มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นกวาปฐานทั้งหมด ควรเพิ่มการจัดทําคูมือการทํางานที่เกี่ยวของกับคาใชจายตางๆ เพื่อควบคุมคาใชจายใหเปนไปตามงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ หรืออยางนอยก็ควบคุมคาใชจายที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ํากวาการเพิ่มขึ้นของรายได เพื่อจะทําใหบริษัทฯ มีกําไรสุทธิเพิ่มมากขึ้น

Page 111: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

99

4.3.2 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป4.3.2.1 ควรวิเคราะหงบการเงิน โดยใชเครื่องมือทางการเงินเพิ่มขึ้น เชน การ

วิเคราะหงบการเงินตามแนวตั้งหรือแนวดิ่ง เพื่อใหเห็นภาพรวมของการดําเนินงานตามกิจกรรมตางๆ ของกิจการไดอยางชัดเจนมากยิ่งขึ้น

4.3.2.2 ควรวิเคราะหงบกระแสเงินสดตามกิจกรรมตางๆ เพื่อสามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยสุทธิของกิจการ โครงสรางทางการเงินของกิจการ และความสามารถของกิจการในการจัดการเกี่ยวกับจํานวนเงิน และระยะเวลาของกระแสเงินสดเพื่อปรับใหเขากับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณและโอกาสในการใชประโยชนจากเงินสดที่มีอยู

4.3.2.3 ควรวิเคราะหเปรียบเทียบงบการเงินในอุตสาหกรรมที่แตกตางกัน เพื่อพิจารณาวา อุตสาหกรรมประเภทใด นาจะใหความสนใจในการลงทุนของนักลงทุนมากกวากัน

4.3.2.4 ควรวิ เคราะ ห เปรี ยบเที ยบอัตราผลตอบแ ทน แล ะคว ามเสี่ ย งข องอุตสาหกรรมที่แตกตางกัน เพื่อเปนแนวทางใหนักลงทุนเลือกตัดสินใจลงทุนในตลาดหลักทรัพย

Page 112: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

จินดา ขันทอง. 2540. การวิเคราะหงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. 2545. เทคนิคการวิเคราะหงบการเงินบริษัทจดทะเบียน.กรุงเทพมหานคร : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

______________ . 2546. เทคนิคการวิเคราะหงบการเงินบริษัทจดทะเบียน. กรุงเทพมหานคร : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

______________ . 2548. เทคนิคการวิเคราะหงบการเงินบริษัทจดทะเบียน. กรุงเทพมหานคร : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

______________ . 2543. การวิเคราะหหลักทรัพยโดยใชปจจัยพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

______________ . 2545. การวิเคราะหหลักทรัพยโดยใชปจจัยพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

______________ . 2548. การวิเคราะหงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

ธงชัย สันติวงษและชัยยศ สันติวงษ. 2529. การวิเคราะหงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.

______________ . 2534. การวิเคราะหงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.______________ . 2537. การวิเคราะหงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค. 2554. การบัญชีเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.______________. 2554. การวิเคราะหรายงานทางการเงิน. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น

จํากัด (มหาชน).นุชจรี พิเชฐกุล. 2553. การรายงานและการวิเคราะหงบการเงิน. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลธัญบุรี.พยอม สิงหเสนหและนรีนุช เมฆวิชัย. 2543. การบัญชีการเงิน. กรุงเทพมหานคร : ชวนพิมพ.

Page 113: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

101

เพชรี ขุมทรัพย. 2538 การวิเคราะหงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

_____________ . 2544. การวิเคราะหงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

_____________ . 2548. การวิเคราะหงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

_____________ . 2554. วิเคราะหงบการเงิน: หลักและการประยุกต. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

เยาวรักษ สุขวิบูลย. 2556. รายงานการเงินและการวิเคราะหงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด ทีพีเอ็น เพรส.

วรรณนิภา หลอเพ็ญศรีและชเนตตี พิพัฒนางกูร. 2549. การเงินธุรกิจ : กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกริก.

วรศักดิ์ ทุมมานนท. 2552. มิติใหมของงบการเงินและการวิเคราะห. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ บริษัท ธรรมนิติ เพรส จํากัด.

เอกสารอื่นๆจรุวรรณ ขุนเทอง. 2555 “การวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา

บริษัท มาลีสามพราน จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย” สารนิพนธเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

พยุง เกียงศรี. 2555 “การวิเคราะหงบการเงินบริษัท ไทย ชูการ เทอรมิเนิ้ล จํากัด (มหาชน)” สารนิพนธเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

รัญจวน สมศรี. 2553 “การประเมินฐานทางการเงินและผลการดําเนินงานโดยวิธีวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน : กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลปาซาง อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา” การศึกษาอิสระ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.

วรณัน แซซิว. 2555 “การวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารเ ทคโนโลยีกรณีศึกษา บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย” สารนิพนธเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

วิลาวัลย ตุมเฟยม. 2551 “การวิเคราะหงบการเงินเปรียบเทียบบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ” สารนิพนธเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

Page 114: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

102

ศิริวรรณ ลิ้มสมบัติอนันต. 2555 “การวิเคราะหงบการแบตเตอร เวิลด กรีน จํากัด (มหาชน)” สารนิพนธเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

สุจินต ดวงดี. 2553 “การวิเคราะหงบการเงินของบริษัท ไปรษณียไทย จํากัด พ.ศ.2547-2551” การศึกษาคนควาอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุรียพร จันทรงาม. 2555 “การวิเคราะหงบการเงินของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กรณีศึกษา บริษัท สุรพลฟูดส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย” สารนิพนธเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง.

อนิรุทธ บุญลอย. 2553 “การวิเคราะหงบการเงินของธุรกิจสกัดนํ้ามันปาลมในประเทศไทย” การศึกษาอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ .

อมราลักษณ ภูวไนยวีรพงศ. 2552 “การวิเคราะหงบการเงิน คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปงบประมาณ 2547 – 2551” รายงานวิจัย คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

BooksArthur J Keown; John D Martin; J William Petty.2011. Foundations of Finance The Logic and

Practice of Financial Management 7ED. Pearson Education, Inc.Charles H. Gibson.2012. Financial Statement Analysis 13th Edition. Thomson South-Western.Eugene F. Brigham; Joel F. Houston.2009. Fundamentals of Financial Management. South-

Western Publisher.John D. Martin, Arthur J. Keown, J. William Petty.2013. Foundations of Finance 8e by Keown,

Martin, Petty 8th Edition. Pearson Education.K.R. Subramanyam, John Wild.2013. Financial Statement Analysis Edition: 11. McGraw-

Hill/Irwin.McAnally, Sommers, Zhang Easton.2013. Financial Statement Analysis: 3rd edition.

Cambridge Business Publishers.William R. Lasher.2013. NEW Practical Financial Management. Cengage Learning, Inc.Warren, Carl S.; Reeve, James M.; Fess, Philip E.2011. Financial Accounting. South-Western

College.

Page 115: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

103

เว็บไซตตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. 2555. งบการเงิน ประจําป 2550 – ป 2555 ของบริษัท จัสมิน

อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน). สืบคนเมื่อ 1 กันยายน 2556 เขาถึงไดจาก http://market.sec.or.th/public/idisc/FinancialStatement.aspx?lang=th&reportcode=PP06.

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. 2555. เกี่ยวกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. สืบคนเมื่อ 8 กันยายน 2556 เขาถึงไดจาก http://www.set.or.th/th/about/overview/history_p1.html.

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน). 2555. งบการเงิน ประจําป 2550 – ป 2555 ของบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน). สืบคนเมื่อ 1 กันยายน 2556 เขาถึงไดจาก http://www.jasmine.com/about_annual_th.html.

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมถ. 2553. แมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2552). สืบคนเมื่อ 8 กันยายน 2556 เขาถึงไดจากhttp://fap.or.th.a33.readyplanet.net/images/column_1359010309/1%20Framwork.pdf?mode=preview.

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมถ. 2556. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555).สืบคนเมื่อ 8 กันยายน 2556 เขาถึงไดจากhttp://www.fap.or.th/images/column_1359010309/TAS%201%20-%20Web_28%2011%2056.pdf?mode=preview.

Page 116: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

ภาคผนวก

Page 117: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

105

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงินณ วันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

หนวย : บาทป 2550 ป 2551

สินทรัพยสินทรัพยหมุนเวียนเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 3,418,036,348 2,364,823,737เงินลงทุนชั่วคราว-เงินฝากกับสถาบันการเงิน 535,187,373 180,403,836ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น 1,849,978,870 2,529,149,321เงินใหกูยืมระยะสั้นและลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน-สุทธิ 9,508,691 18,002,067สินคาคงเหลือ – สุทธิ 79,655,411 119,221,648สินทรัพยหมุนเวียนอื่นมูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมเรียกชําระ 270,353,338 228,116,295สินทรัพยรอการขาย 53,581,518ตนทุนโครงขายจายลวงหนา 67,788,300 333,941,760ลูกหนี้อื่น 85,441,181 74,426,344ภาษีซื้อยังไมถึงกําหนดชําระ 50,308,787 96,951,025ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย 66,568,696 38,862,569 เงินจายลวงหนาคาสินคาและบริการ 38,052,457 139,763,749 เงินประกันผลงาน 23,533,470 238,091 ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน 9,507,478 17,575,874 อื่นๆ 49,946,786 49,209,449รวมสินทรัพยหมุนเวียนอื่น 661,500,493 979,085,156รวมสินทรัพยหมุนเวียน 6,553,867,186 6,244,267,283

Page 118: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

106

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

หนวย : บาทป 2550 ป 2551

สินทรัพยสินทรัพยไมหมุนเวียนเงินฝากกับสถาบันการเงินที่มีภาระค้ําประกัน 480,666,929 448,693,871ลูกหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกัน –สวนที่เกินหนี่งป 22,115,001ลูกหนี้ตามสัญญาปรับโครงสรางหนี้ 51,338,990เงินลงทุนในบริษัทรวม 2,933,091,119 10,287,609เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย – สุทธิ 364,504,763ที่ดินอาคารและอุปกรณ 3,452,582,932 4,166,932,199คอมพิวเตอรซอฟทแวร 16,006,174สิทธิการเชา - สุทธิสินทรัพยรอการขาย 53,581,518สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ตนทุนโครงการรอตัดจาย – สุทธิ 1,324,586,466 971,124,519 คาความนิยม – สุทธิ 88,856,582 64,709,439 เงินจายลวงหนาเพื่อโครงการลงทุนแกกิจการที่เกี่ยวของกัน

33,780,742 9,609,392

อื่นๆ 7,074,715 10,358,370รวมสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 1,454,298,505 1,055,801,720รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน 8,425,559,993 6,084,341,337รวมสินทรัพย 14,979,427,179 12,328,608,620

Page 119: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

107

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

หนวย : บาทป 2550 ป 2551

หนี้สินและสวนของผูถือหุนหนี้สินหมุนเวียนเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร 324,367,676 439,933,279เจาหนี้การคา 1,310,945,204 1,773,406,857เจาหนี้และตั๋วเงินจายคาอุปกรณที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 311,186,078 341,368,192เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 761,600,000 1,598,200,000หนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการที่ถึงกําหนด 28,134,029 29,486,720เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน 23,744,784 72,106,583หนี้สินหมุนเวียนอื่น ตนทุนงานคางจาย 205,104,093 248,705,028 เงินรับลวงหนาคาสินคาและบริการ 88,826,277 181,802,670 ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย 136,649,924 101,965,961 ภาษีขายยังไมถึงกําหนดชําระ 78,186,592 116,832,524 คาใชจายคางจาย 47,870,779 58,064,230 ภาษีเงินได หัก ณ ที่จายคางจาย 17,758,556 51,250,438 เงินค้ําประกันผลงาน 25,076,869 25,736,412 เจาหนี้อื่น 23,778,691 28,577,725 อื่นๆ 21,841,513 14,466,685รวมหนี้สินหมุนเวียนอื่น 645,093,294 827,401,673รวมหนี้สินหมุนเวียน 3,405,071,065 5,081,903,304

Page 120: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

108

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

หนวย : บาทป 2550 ป 2551

หนี้สินไมหมุนเวียนเจาหนี้และตั๋วเงินจายคาอุปกรณ-สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป 329,460,556 เงินกูยืมระยะยาว– สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งป 1,332,800,000 225,000,000หนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการ กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน 1,063,528,128 1,058,734,720รวมหนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการ-สุทธิจากสวนที่ ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 1,063,528,125 1,058,734,720หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 11,386,628 11,837,185รวมหนี้สินไมหมุนเวียน 2,737,175,312 1,295,571,905รวมหนี้สิน 6,142,246,377 6,377,475,209

Page 121: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

109

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

หนวย : บาทป 2550 ป 2551

สวนของผูถือหุนทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 15,485,673,420 หุน มูลคาหุนละ 0.5 บาท (2550: หุนสามัญ 15,845,673,420 หุน มูลคาหุนละ1 บาท) 15,485,673,420 7,742,836,710 หุนบุริมสิทธิ-ชนิดไมสะสมเงินปนผลรอยละ 2.5 จํานวน 200,000,000 หุน มูลคาหุนละ 0.5 บาท (2550: หุนบุริมสิทธิ์ 200,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) 200,000,000 100,000,000

15,685,673,420 7,842,836,710 ทุนออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว หุนสามัญ 8,322,667,163 หุน มูลคาหุนละ 0.5 บาท (2550: หุนสามัญ 8,319,907,163 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) 8,319,907,163 4,161,333,582เงินรับลวงหนาคาหุน 667,110สวนต่ํากวามูลคาหุนสามัญ (1,757,699,267) (530,750)ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ 26,074,479 877,401สวนเกินมูลคาหุนจากใบสําคัญแสดงสิทธิที่หมดสิทธิการใช

25,169,527

สวนเกินทุนจากการลดทุน 200,781,377ผลกําไร (ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้นจริง สวนเกินของเงินลงทุนในบริษัทยอยซึ่งเกิดจากการซื้อ เงินลงทุนในบริษัทยอยเพิ่มเติมในราคาที่ต่ํากวามูลคาตามบัญชีของบริษัทยอย ณ วันที่ซื้อ 64,034,826

Page 122: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

110

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

หนวย : บาทป 2550 ป 2551

สวนของผูถือหุน(ตอ) สวนเกินทุนจากสวนล้ํามูลคาหุนของบริษัทยอย 50,720,577 49,665,575 กําไร (ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากการเปลี่ยนแปลง มูลคาของเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย 2,468,700 (629,630,120)หุนของบริษัทฯ ที่ถือโดยบริษัทยอย (620,919,884)กําไรสะสม จัดสรรแลว สํารองตามกฎหมาย - บริษัทฯ 83,076,226 83,076,226 สํารองตามกฎหมาย - บริษัทยอย 276,982,930 303,944,799สํารองหุนทุนซื้อคืน 300,745,624 300,745,624ยังไมไดจัดสรร (ขาดทุน) 864,497,058 1,480,373,116สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ 8,166,773,490 5,419,588,409หัก: หุนทุนซื้อคืน (300,745,624) (300,745,624)สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ – สุทธิ 7,866,027,866 5,118,842,785สวนของผุมีสวนนอยของบริษัทยอย 971,152,936 832,290,626รวมสวนของผูถือหุน 8,837,180,802 5,951,133,411รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน 14,979,427,179 12,328,608,620

Page 123: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

111

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกําไรขาดทุนณ วันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

หนวย : บาทป 2550 ป 2551

กําไรขาดทุน :รายไดรายไดจากการขายและบริการ 4,330,726,394 5,350,215,003รายไดอื่นคาจัดการรับ 360,000 360,000 ดอกเบี้ยรับ 146,639,265 89,353,237กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 57,980,096 9,674,420รายไดจากการโอนกลับภาระหนี้สิน 77,779,302 อื่นๆ 97,241,150 49,797357รวมรายไดอื่น 302,220,511 223,964,316รวมรายได 4,632,946,905 5,574,179,319คาใชจายตนทุนขายและบริการ 2,559,058,131 3,383,946,193คาใชจายในการขายและบริการ 81,127,787 165,120,893คาใชจายในการบริหาร 623,466,036 619,086,022ขาดทุนจากการขายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย 206,537,486คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,918,483 18,261,441คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน 1,737,911,367คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยอื่น 12,486,710 91,535,036รวมคาใชจาย 3,278,057,147 6,222,398,438

Page 124: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

112

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกําไรขาดทุน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

ป 2550 ป 2551กําไร (ขาดทุน) กอนคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินไดนิติบุคคล 1,354,889,758 (648,219,119)คาใชจายทางการเงิน (371,294,831) (297,532,809)สวนแบงกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม (644,669,911) 4,432,318กําไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินไดนิติบุคคล 338,925,016 (941,319,610)ภาษีเงินไดนิติบุคคล (316,980,521) (246,358,311)กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับป 21,944,495 (1,187,677,921)

การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ (41,426,109) (1,244,916,896)สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย 63,370,604 57,238,975

21,944,495 (1,187,677,921)

กําไร (ขาดทุน) ตอหุนกําไร (ขาดทุน) ตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไร (ขาดทุน) สุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ (0.005) (0.186)

กําไร (ขาดทุน) ตอหุนปรับลด กําไร (ขาดทุน) สุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ (0.005) (0.186)

Page 125: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

113

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสดสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

หนวย : บาทป 2550 ป 2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานกําไร(ขาดทุน)กอนคาใชจายภาษีเงินได 338,925,016 (941,319,610)รายการปรับกระทบยอดกําไรกอนภาษีเปนเงินสดรับ(จาย) จากกิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย 796,662,569 790,837,901คาเผือหนี้สงสัยจะสูญ 1,918,483 18,261,441ขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุน 1,737,911,367ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย 12,486,710 91,535,036ขาดทุนจากการขายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย 206,537760ตัดจําหนายสินทรัพย 2,341,404 6,781,319กําไรจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ (205,809) (214,321)สวนแบงขาดทุน (กําไร) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม 644,669,911 (4,432,318)กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริงจากหนี้สินระยะยาว (14,620,521) (7,174,528)ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง (34,548,074) 27,018,621สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรจากการขายอุปกรณ ของบริษัทยอย 40,736,226 25,323,489 ดอกเบี้ยรับ (146,639,265) (89,335,237)ดอกเบี้ยจาย 363,830,264 274,588,477กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย และหนี้สินดําเนินงาน 2,005,556,914 2,136,301,397

Page 126: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

114

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

หนวย : บาทป 2550 ป 2551

สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น)ลูกหนี้การคา 143,338,309 (722,784,469)ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน (8,603,705) (8,493,376)สินคาคงเหลือ (15,358,400) (2.522.132)สินทรัพยหมุนเวียนอื่น 68,052,521 (358,871,847)สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 1,017,413 20,887,695หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง)เจาหนี้การคา 358,751,447 444,152,761เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน (52,438,415) 48,361,799หนี้สินหมุนเวียนอื่น (55,780,497) 206,540,938หนี้สินหมุนไมเวียนอื่น 6,474,716 450,557เงินสดจากกิจการดําเนินงาน 2,451,101,303 1,764,023,323 จายภาษีเงินไดนิติบุคคล (400,720,378) (254,042,365)เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 2,050,289,925 1,509,980,958

Page 127: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

115

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

หนวย : บาทป 2550 ป 2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนเงินลงทุนชั่วคราวลดลง (เพิ่มขึ้น) 107,212,956 354,783,537เงินฝากกับสถาบันการเงินที่มีภาระค้ําประกันลดลง (เพิ่มขึ้น)

(46,268,470) 31,973,058

เงินสดรับจากการชําระบัญชีในบริษัทยอย 52,565,747เงินปนผลรับจากเงินลงทุนในบริษัทยอยเงินสดจายจากการลงทุนในบริษัทยอย (180,442,699) (97,565,409)เงินสดจายจากการลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย (119,639,576)เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย 105,506,353เงินสดรับจากการจําหนายพี่ดิน อาคารและอุปกรณ 1,970,569 4,535,879ดอกเบี้ยรับ 147,003,106 101,220,680ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ (436,319,745) (1,276,484,952)เงินสดสุทธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน (406,844,283) (843,013,683)

Page 128: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

116

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2550 และ 2551

หนวย : บาทป 2550 ป 2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินดอกเบี้ยจาย (304,015,561) (231,001,053)เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมจากธนาคารเพิ่มขึ้น(ลดลง) (63,026,518) 115,565,603เงินสดจายเจาหนี้และตั๋วเงินจายคาอุปกณ (270,571,944) (338,175,273)เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร 300,000,000เงินสดจายคืนเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร (860,368,000) (571,200,000)เงินสดจายคืนหนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการ (830,494,826) (3,440,717)เงินปนผลจายแกผูถือหุนของบริษัทฯ (123,527,423) (313,718,164)เงินปนผลจายแกผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย (48,146,026) (59,729,257)เงินสดจายจากการซื้อหุนของบริษัทฯ โดยบริษัทยอย (620,919,884)เงินสดรับจากการเพิ่มทุนของบริษัทยอย 1,681,820 950,000เงินสดรับจาการใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุนสามัญ 1,488,859เงินสดจายซื้อหุนทุนซื้อคืน (300,745,624)เงินสดสุทธิใชไปในกิจการจัดหาเงิน (2,799,214,102) (1,720,179,886)เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ (1,155,768,460) (1,053,212,611)เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป 4,573,804,808 3,418,036,348เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป 3,418,036,348 2,364,823,737

Page 129: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

117

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงินณ วันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

สินทรัพยสินทรัพยหมุนเวียนเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 1,569,434,340 1,920,012,455เงินลงทุนชั่วคราว-เงินฝากกับสถาบันการเงิน 20,176,220 190,755,318ลูกหนี้การคา-สุทธิ 4,027,943,068 3,732,612,670เงินใหกูยืมระยะสั้นและลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน-สุทธิ 21,554,626 3,560,482สินคาคงเหลือ 225,421,553 291,837,348เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย-สุทธิ 91,246,937สินทรัพยรอการขาย-สุทธิ 227,732,913 156,485,851สินทรัพยหมุนเวียนอื่นมูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมเรียกชําระ 346,537,3149 635,621,891ตนทุนโครงขายจายลวงหนา 136,012,745 157,911,771 ลูกหนี้อื่น 400,459,358 147,002,416ภาษีซื้อยังไมถึงกําหนดชําระ 232,212,170 271,344,196 ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย 70,994,542 102,274,549เงินจายลวงหนาคาสินคาและบริการ 72,753,918 47,635,794ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน 37,015,055 90,719,313 อื่นๆ 78,511,641 85,989,530รวมสินทรัพยหมุนเวียนอื่น 1,374,316,778 1,538,499,460รวมสินทรัพยหมุนเวียน 7,466,579,498 7,925,010,521

Page 130: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

118

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

สินทรัพย(ตอ) สินทรัพยไมหมุนเวียนเงินฝากกับสถาบันการเงินที่มีภาระค้ําประกัน 235,059,558 233,395,173ลูกหนี้ตามสัญญาปรับโครงสรางหนี้ 337,264,186เงินลงทุนในบริษัทรวม 13,216,656 22,988,511เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย-สุทธิ 700,721,285ที่ดิน อาคารและอุปกรณ-สุทธิ 6,776,238,555 10,357,816,787สินทรัพยไมมีตัวตน-คอมพิวเตอรซอฟทแวร-สุทธิ 54,366,100 85,990,433สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ตนทุนโครงการรอตัดจาย-สุทธิ 617,922,270 264,824,234คาความนิยม–สุทธิ 40,562,296 16,920,453เงินจายลวงหนาเพื่อโครงการลงทุนแกกิจการที่เกี่ยวของกัน 9,609,392 4,801,863อื่นๆ 30,391,527 52,735,237รวมสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 698,485,485 339,281,787รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน 8,478,087,639 11,376,736,857รวมสินทรัพย 15,944,667,137 19,301,747,378

Page 131: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

119

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

หนี้สินและสวนของผูถือหุนหนี้สินหมุนเวียนเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร 1,283,397,372 617,907,188เจาหนี้การคา 2,373,545,290 3,018,419,863เจาหนี้คาอุปกรณที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 19,689,776 815,519,577สวนของหนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 32,249,191 67,687,094เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 1,340,405,576 1,021,085,575หนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 10,371,221 81,305,558เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน 95,579,183 17,852,404หนี้สินหมุนเวียนอื่นตนทุนงานคางจาย 304,894,975 685,906,134 เงินรับลวงหนาคาสินคาและบริการ 357,629,510 433,008,927ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย 147,328,711 167,502,327ภาษีขายยังไมถึงกําหนดชําระ 239,003,390 321,510,452คาใชจายคางจาย 53,371,786 46,010,844ภาษีเงินได หัก ณ ที่จายคางจาย 37,593,452 35,074,711เงินค้ําประกันผลงาน 53,580,981 95,646,781

Page 132: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

120

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

เจาหนี้อื่น 122,207,680 208,135,339เจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงิน 864,119 154,191,416 อื่นๆ 98,791,510 45,647,303รวมหนี้สินหมุนเวียนอื่น 1,415,271,114 2,192,634,234รวมหนี้สินหมุนเวียน 6,570,508,723 7,832,411,493

หนี้สินไมหมุนเวียนเจาหนี้คาอุปกรณ-สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 1,387,525,205 2,054,307,602หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน-สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งป 90,563,287 131,528,785เงินกูยืมระยะยาว-สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 169,367,497 910,861,922หนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการ-สุทธิจากสวนที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป 1,054,094,150 978,439,780หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 12,974,894 11,958,548รวมหนี้สินไมหมุนเวียน 2,714,525,033 4,087,096,637รวมหนี้สิน 9,285,033,756 11,919,508,130

Page 133: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

121

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

สวนของผูถือหุนทุนเรือนหุน หุนสามัญ 7,399,491,378 หุน มูลคาหุนละ 0.5 บาท (2552:หุนสามัญ 15,845,673,420หุน มูลคาหุนละ0.5 บาท) 7,742,836,710 3,699,745,689 หุนบุริมสิทธิ-ชนิดไมสะสมเงินปนผลรอยละ 2.5 จํานวน 200,000,000 หุน มูลคาหุนละ 0.5 บาท 100,000,000

7,742,836,710 3,699,745,689 ทุนออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว หุนสามัญ 7,399,491,378 หุน มูลคาหุนละ 0.5 บาท (2552:หุนสามัญ 9,431,618,578หุน มูลคาหุนละ0.5 บาท) 4,715,809,289 3,699,745,689เงินรับลวงหนาคาหุน 80,000สวนต่ํากวามูลคาหุนสามัญ (224,549,619) (224,549,619)สวนเกินมูลคาหุนจากใบสําคัญแสดงสิทธิที่หมดสิทธิการใช 25,169,527 25,169,527สวนเกินทุนจากการลดทุน 200,781,377 200,781,377สวนเกินมูลคาหุนทุนซื้อคืน 2,001,013 114,395,581ผลกําไร (ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้นจริง สวนเกินของเงินลงทุนในบริษัทยอยซึ่งเกิดจากการซื้อ เงินลงทุนในบริษัทยอยเพิ่มเติมในราคาที่ต่ํากวามูลคา ตามบัญชี ณ วันซื้อ 84,309,490 85,141,834 สวนเกินทุนจากสวนล้ํามูลคาหุนของบริษัทยอย 49,665,575 49,665,575

Page 134: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

122

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

สวนของผูถือหุน (ตอ)สวนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงสันสวนเงินลงทุน ในบริษัทยอย 13,272,788 13,272,788หุนของบริษัทฯที่ถือโดยบริษัทยอย (514,948,884)กําไรสะสม จัดสรรแลว สํารองตามกฎหมาย - บริษัทฯ 83,076,226 87,433,281 สํารองตามกฎหมาย - บริษัทยอย 326,477,579 351,194,316 สํารองหุนทุนซื้อคืน 915,745,592 299,969,582ยังไมไดจัดสรร (ขาดทุน) 1,046,362,913 2,165,894,612สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ 6,723,172,866 6,568,204,543หัก: หุนทุนซื้อคืน (915,745,592) (299,969,582)สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ – สุทธิ 5,807,427,274 6,568,234,961สวนของผุมีสวนนอยของบริษัทยอย 852,206,107 814,004,287รวมสวนของผูถือหุน 6,659,633,381 7,382,239,248รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน 15,944,667,137 19,301,747,378

Page 135: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

123

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จณ วันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

กําไรขาดทุน :รายไดรายไดจากการขายและบริการ 8,370,544,747 9,625,947,776รายไดอื่น รายไดจากการโอนกลับภาระหนี้สิน 67,800,315 คาจัดการรับ 360,000 ดอกเบี้ยรับ 36,484,583 34,718,328กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 53,830,788 103,127,532 อื่นๆ 58,561,429 62,734,935รวมรายไดอื่น 217,037,105 200,580,795รวมรายได 8,587,581,852 9,826,528,571คาใชจายตนทุนขายและบริการ 5,583,680,337 5,695,728,636คาใชจายในการขายและบริการ 355,339,712 713,944,383คาใชจายในการบริหาร 1,078,178,468 1,417,791,358คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร 133,046,510 158,087,467ขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการปรับโครงสรางหนี้ 243,615,488ขาดทุนจากการดวยคาของเงินลงทุน 516,311,755 23,342,240ขาดทุนจากการดวยคาของสินทรัพย 95,260,630 41,434,234ขาดทุนจากการขายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย 2,791,103 90,140,850หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ 14,808,532 67,265,084

Page 136: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

124

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

กําไรขาดทุน (ตอ)รวมคาใชจาย 7,779,417,047 8,451,349,740กําไรกอนสวนแบงกําไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม คาใชจายทางการเงินและคาใชจายภาษีเงินได 808,164,805 1,375,178,831สวนแบงกําไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม 2,929,047 9,771,855กําไรกอนคาใชจายทางการเงินและคาใชจายภาษีเงินได 811,093,852 1,384,950,686คาใชจายทางการเงิน (246,933,269) (393,170,597)กําไรกอนคาใชจายภาษีเงินได 564,160,583 991,780,089คาใชจายภาษีเงินได (337,726,294) (420,771,630)กําไรสําหรับป 226,434,289 589,008,459

การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ 203,522,545 663,289,852สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย 22,911,744 (74,281,393)

226,434,289 589,008,459

กําไร (ขาดทุน) ตอหุนกําไร (ขาดทุน) ตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไร (ขาดทุน) สุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ 0.033 0.097

กําไร (ขาดทุน) ตอหุนปรับลด กําไร (ขาดทุน) สุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ 0.032 0.097

Page 137: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

125

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสดสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานกําไรกอนคาใชจายภาษีเงินได 564,160,583 991,780,089รายการปรับกระทบยอดกําไรสุทธิกอนภาษีเปนเงินสดรับ รับ (จาย)จากกิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย 1,025,117,296 1,391,317,571 คาเผือหนี้สงสัยจะสูญ 14,808,532 67,265,084 ขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุน 516,311,755 23,342,240 ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย 95,260,630 41,434,234โอนกลับคาเผือการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ (3,057,131)โอนกลับคาเผื่อการดวยคาของสินทรัพย (24,072,108) ขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการปรับโครงสรางหนี้ 243,615,488 ขาดทุนจากการขายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย 2,791,103 90,140,850ขาดทุน(กําไร)จากการจําหนายอุปกรณ 3,198,385 2,494,938 กําไรจากการจําหนายสินทรัพยรอการขาย (25,291,591)เงินปนผลรับจากเงินลงทุนในบริษัทยอยสวนแบงขาดทุน (กําไร) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม (2,929,047) (9,771,855)ขาดทุน(กําไร)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริงจากเจาหนี้คาอุปกรณ 6,946,663 (900,162) ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง (54,347,554) (113,149,173)สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรจากการขายอุปกรณ ของบริษัทยอย 85,411,607 48,579,073

Page 138: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

126

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน (ตอ)รายไดจากการโอนกลับภาระหนี้สิน (67,800,315)ดอกเบี้ยรับ (36,484,583) (34,718,328) ดอกเบี้ยจาย 240,550,844 378,699,196กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย และหนี้สินดําเนินงาน 2,367,704,308 3,093,000,006 ลูกหนี้การคา (2,389,629,674) 17,994,144 ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน (311,797) (265,322,561) สินคาคงเหลือ (324,666,646) (62,615,689) มูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมเรียกชําระ (118,421,054) (21,899,026) ตนทุนโครงการจายลวงหนา 197,929,015 (289,084,542) สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (434,105,741) 174,769,543 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (20,033,157) (17,536,181)หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น 1,566,588,204 352,467,714 เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน 23,472,600 (77,726,779) ตนทุนงานคางจาย 56,474,206 384,239,882 เงินรับลวงหนาคาสินคาและบริการ 175,826,840 75,379,417 คาใชจายคางจาย 9,038,427 (7,136,994) หนี้สินหมุนเวียนอื่น 264,634,352 163,938,018 หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 1,137,710 (1,016,346)

Page 139: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

127

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

เงินสดจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน 1,375,637,593 3,519,450,606 จายภาษีเงินไดนิติบุคคล (327,794,341) (413,877,622)เงินสดสุทธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน 1,047,843,252 3,105,572,984

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนเงินลงทุนชั่วคราวลดลง (เพิ่มขึ้น) 160,227,616 (170,579,098)เงินฝากกับสถาบันการเงินที่มีภาระค้ําประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) 213,634,313 1,664,385เงินปนผลรับจากเงินลงทุนในบริษัทยอยเงินสดจายจากการลงทุนในบริษัทยอย (5,803,200) (229,710)เงินสดจายจากการลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย (2368,219,160)เงินสดรับจากการขายลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย 14,630,184 417,690,279เงินสดรับจากการจําหนายอุปกรณ 5,380,037 28,337,544เงินสดรับจากการจําหนายสินทรัพยรอการขาย 78,873,109 53,454,671ดอกเบี้ยรับ 35,898,790 27,075,307ซื้ออาคารและอุปกรณ (1,812,614,328) (2,498,967,728)ซื้อคอมพิวเตอรซอฟทแวร (43,942,155) (57,283,748)เงินสดสุทธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน (1,591,934,794) (2,198,838,098)

Page 140: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

128

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2553

หนวย : บาทป 2552 ป 2553

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินดอกเบี้ยจาย (229,651,304) (236,420,785)เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร(ลดลง) 843,464,093 (665,490,184)เงินสดจายเจาหนี้คาอุปกรณ (354,687,887) (105,408,987)เงินสดรับจากการกูยืมระยะยาวจากธนาคาร 202,873,072 850,000,000เงินสดจายคืนเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร (513,350,971) (427,825,576)เงินสดจายคืนหนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการ (20,807,041) (4,720,033)เงินปนผลจายแกถือหุนของบริษัทฯ (130,450,371)เงินปนผลจายแกถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย (51,157,502) (11,437,446)เงินสดจายคืนหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน (52,011,263)เงินสดรับจากการขายหุนของบริษัทฯที่ถือโดยบริษัทยอย 158,107,326 527,497,456เงินสดรับจาการใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุน สามัญ 328,912,327 80,000เงินสดจายซื้อหุนทุนซื้อคืน (614,999,968) (299,696,582)เงินสดสุทธิใชไปในกิจการจัดหาเงิน (251,297,855) (556,156,771)เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ (795,389,397) 350,578,115เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป 2,364,823,737 1,569,434,340เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป 1,569,434,340 1,920,012,455

Page 141: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

129

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 และ 2555

หนวย : บาทป 2554 ป 2555

สินทรัพยสินทรัพยหมุนเวียนเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 1,581,033,141 1,478,529,885เงินลงทุนชั่วคราว-เงินฝากกับสถาบันการเงิน 373,521,699 903,853,524ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น 4,077,208,838 3,684,819,076มูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมเรียกชําระ 645,242,838 642,994,421เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกันสินคาคงเหลือ 70,399,887 48,913,589สินทรัพยรอการขาย 113,182,972 88,885,126ตนทุนโครงการจายลวงหนา 99,534,928 12,372,429ภาษีซื้อยังไมถึงกําหนดชําระ 278,027,293 283,075,445คาใชจายจายลวงหนา 38,101,420 32,454,970สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 143,345,749 108,038,240รวมสินทรัพยหมุนเวียน 7,419,598,817 7,283,936,705

Page 142: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

130

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 และ 2555

หนวย : บาทป 2554 ป 2555

สินทรัพย(ตอ)สินทรัพยไมหมุนเวียนเงินฝากกับสถาบันการเงินที่มีภาระค้ําประกัน 223,880,709 144,413,480เงินฝากธนาคารประเภทประจําระยะยาว 40,623,779ลูกหนี้ตามสัญญาปรับโครงสรางหนี้ 149,805,640 101,577,570เงินลงทุนในบริษัทยอยเงินลงทุนในบริษัทรวม 22,811,187 23,302,557อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน 699,395,609 661,872,972ที่ดินอาคารและอุปกรณ 10,874,066,645 11,077,579,022คอมพิวเตอรซอฟทแวร 58,522,164 33,732,430คาเชาจายลวงหนาสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เงินจายลวงหนาเพื่อโครงการลงทุนแกกิจการที่เกี่ยวของกัน

4,801,863 4,861,233

อื่นๆ 73,744,454 69,189,508รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน 12,147,652,050 12,116,528,772รวมสินทรัพย 19,657,250,867 19,400,465,477

Page 143: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

131

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 และ 2555

หนวย : บาทป 2554 ป 2555

หนี้สินและสวนของผูถือหุนหนี้สินหมุนเวียนเงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร 547,146,112 486,931,118เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น 3,009,138,565 2,655,653,482ตนทุนงานคางจาย 348,410,482 397,073,222เจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา 42,715,423 410,948สวนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว 1,641,039,453 359,484,000 หนี้สินตามสัญญาเชาระยะยาว 126,371,480 74,441,046 หนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการ กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน 849,080,662 204,111,575 เจาหนี้คาอุปกรณ 1,930,446,034 551,176,628ภาษีเงินไดคางจาย 229,223,848 222,659,385เงินรับลวงหนาคาสินคาและบริการ 355,070,067 474,673,091ภาษีขายยังไมถึงกําหนดชําระ 347,157,675 371,753,800หนี้สินหมุนเวียนอื่น 61,417,798 69,582,065รวมหนี้สินหมุนเวียน 9,487,217,599 5,867,950,360

Page 144: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

132

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 และ 2555

หนวย : บาทป 2554 ป 2555

หนี้สินไมหมุนเวียนยอดคงเหลือของหนี้สินระยะยาวสุทธิจากสวนที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว 1,103,943,943 2,684,459,943 หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน 80,687,754 47,322,075 หนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการ กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน 135,002,545 504,078,755 เจาหนี้คาอุปกรณ 472,408,378 357,685,633สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน 172,714,438 216,493,148หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 15,701,776 11,106,739รวมหนี้สินไมหมุนเวียน 1,980,458,834 3,821,146,293รวมหนี้สิน 11,467,676,433 9,689,096,653

Page 145: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

133

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบแสดงฐานะการเงิน (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 และ 2555

หนวย : บาทป 2554 ป 2555

สวนของผูถือหุนทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญจํานวน 7,244,251,378 หุน มูลคาหุนละ 0.5 บาท 3,622,125,689 3,622,125,689 ทุนออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว หุนสามัญจํานวน 7,244,251,378 หุน มูลคาหุนละ 0.5 บาท 3,622,125,689 3,622,125,689สวนต่ํากวามูลคาหุนสามัญ (224,549,619) (224,549,619)กําไรสะสม จัดสรรแลว สํารองตามกฎหมาย - บริษัทฯ 106,290,695 149,983,905 สํารองตามกฎหมาย - บริษัทยอย 400,456,402 464,457,665สํารองหุนทุนซื้อคืน 298,642,766 ยังไมไดจัดสรร 2,902,287,249 4,421,445,624องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน 307,541,843 258,177,239สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ 7,114,152,259 8,990,283,269หัก : หุนทุนซื้อคืน (298,642,766)สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ – สุทธิ 7,114,152,259 8,691,640,503สวนของผุมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย 985,422,175 1,019,728,321รวมสวนของผูถือหุน 8,099,574,434 9,711,368,824รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน 19,567,250,867 19,400,465,477

Page 146: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

134

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 และ 2555

หนวย : บาทป 2554 ป 2555

กําไรขาดทุน :รายไดรายไดจากการขายและบริการ 9,497,853,495 10,369,488,277รายไดอื่น คาจัดการรับ ดอกเบี้ยรับ 39,200,177 31,926,535กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 71,139,430 อื่นๆ 45,590,227 28,804,307รวมรายไดอื่น 84,790,344 131,870,272รวมรายได 9,582,643,839 10,501,358,549คาใชจายตนทุนขายและบริการ 4,637,774,987 4,686,019,589คาใชจายในการขายและบริการ 791,177,099 732,838,101คาใชจายในการบริหาร 1,712,865,074 1,639,347,663คาใชจายอื่น ขาดทุนจากการปรับโครงสรางหนี้ 32,189,587 ขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการปรับโครงสรางหนี้ 103,689,566 34,637,098 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ 171,858,460 379,621,157 ขาดทุนจากการดวยคาของสินทรัพย 16,920,453 37,372,763 ขาดทุนจากการขายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย 11,940,637

Page 147: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

135

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ตอ)ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 และ 2555

หนวย : บาทป 2554 ป 2555

กําไรขาดทุน(ตอ) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 97,024,034รวมคาใชจาย 7,575,439,897 7,509,836,371กําไรกอนสวนแบงกําไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม คาใชจายทางการเงินและคาใชจายภาษีเงินได 2,007,026,618 2,991,522,178สวนแบงกําไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม (177,324) 491,370กําไรกอนคาใชจายทางการเงินและคาใชจายภาษีเงินได 2,007,026,618 2,992,013,548คาใชจายทางการเงิน (467,841,790) (403,968,555)กําไรกอนคาใชจายภาษีเงินได 1,539,184,828 2,588,044,993คาใชจายภาษีเงินได (493,538,522) (529,792,313)กําไรสําหรับป 1,045,646,306 2,058,252,680

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น :ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย (30,485,305)ผลขาดทุนจากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย (2,724)กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป (2,724) (30,485,305)

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป 1,045,643,582 2,027,767,375

Page 148: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

136

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสดสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2554 และ 2555

หนวย : บาทป 2554 ป 2555

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานกําไรกอนคาใชจายภาษีเงินได 1,539,184,828 2,588,044,993รายการปรับกระทบยอดกําไรกอนภาษีเปนเงินสดรับ(จาย) จากกิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย 1,850,930,478 1,715,397,195 บันทึกหนี้สงสัยจะสูญ 10,226,009 240,346,477 บันทึกหนี้สูญ 161,632,451 139,274,680 ตัดจําหนายทรัพยสิน 3,371,070 1,114,531 บันทึกคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย 16,920,453 37,372,763 ขาดทุนจากการปรับโครงสรางหนี้ 32,189,587 ขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการปรับโครงสรางหนี้ 103,689,566 34,637,098 ขาดทุนจากการขายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย 11,940,637 ขาดทุน (กําไร) จากการจําหนายอุปกรณ 3,277,364 (371,682) สวนแบงขาดทุน (กําไร) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม 177,324 (491,370) สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน 19,283,504 19,903,294 ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริงจากเจาหนี้คาอุปกรณ 11,296,450 (25,887,882) ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง 81,815,930 (39,413,742) ดอกเบี้ยรับ (39,200,117) (31,926,535) ดอกเบี้ยจาย 466,354,758 390,580,798

Page 149: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

137

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสด (ตอ)สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2554 และ 2555

หนวย : บาทป 2554 ป 2555

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน(ตอ)กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย และหนี้สินดําเนินงาน 4,273,090,292 5,068,580,618สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (343,678,386) (38,637,372) เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน มูลคางานที่แลวเสร็จแตยังไมเรียกชําระ (9,620,947) 2,248,417 สินคาคงเหลือ 353,065,189 129,763,100ตนทุนโครงการจายลวงหนา 58,376,843 87,162,499ภาษีซื้อยังไมถึงกําหนดชําระ (6,683,097) (5,048,152)คาใชจายจายลวงหนา 24,818,121 5,646,450สินทรัพยหมุนเวียนอื่น 120,971,086 (4,018,015)สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (6,209,112) (9,280,690)ลูกหนี้ตามสัญญาปรับโครงสรางหนี้ 21,406,560 12,571,475หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง)เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น (460,441,886) (325,763,248)ตนทุนงานคางจาย (338,776,438) 49,542,175เงินรับลวงหนาคาสินคาและบริการ (111,750,861) 119,603,024ภาษีขายยังไมถึงกําหนดชําระ 25,647,223 24,596,125หนี้สินหมุนเวียนอื่น (28,240,702) 8,164,267 หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 3,272,488 (11,204,926)

Page 150: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

138

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2554 และ 2555

หนวย : บาทป 2554 ป 2555

เงินสดจากกิจการดําเนินงาน(ตอ)เงินสดจากกิจการดําเนินงาน 3,575,246,373 5,113,925,747 จายภาษีเงินไดนิติบุคคล (432,717,180) (498,145,783)เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 3,142,529,193 4,615,779,964

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนเงินลงทุนชั่วคราวลดลง (เพิ่มขึ้น) (182,766,381) (530,331,825)เงินฝากกับสถาบันการเงินที่มีภาระค้ําประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) (30,485,536) 79,467,229เงินฝากธนาคารประเภทประจําระยะยาวลดลง (เพิ่มขึ้น) (623,779) 40,623,779เงินปนผลรับจากเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย 157,596,623เงินสดรับจากการจําหนายอุปกรณ 5,047,814 6,402,341เงินสดรับจากการจําหนายสินทรัพยรอการขาย 9,355,645ดอกเบี้ยรับ 36,927,115 30,113,354ซื้ออสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน (4,566,778) (3,851,324)ซื้ออาคารและอุปกรณ (2,286,430,222) (1,401,504,368)ซื้อคอมพิวเตอรซอฟทแวร (19,084,006) (16,042,844)เงินสดสุทธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน (2,315,029,505) (1,795,123,658)

Page 151: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

139

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยงบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2554 และ 2555

หนวย : บาทป 2554 ป 2555

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินดอกเบี้ยจาย (279,483,687) (302,420,164)เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคารลดลง (70,761,076) (60,214,994)เงินสดรับจากการกูยืมระยะยาวจากธนาคาร 960,369,736 479,306,469เงินสดจายคืนเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร (147,333,837) (180,345,922)เงินสดจายคืนหนี้ตามสัญญาเชาการเงิน (113,867,114) (146,597,372)เงินสดจายคืนหนี้สินระยะยาวตามแผนฟนฟูกิจการ (75,662,131) (275,892,877)เงินสดจายคืนเจาหนี้คาอุปกรณ (1,214,308,625) (2,072,027,222)เงินสดรับจากการเพิ่มทุนของบริษัทยอย 2,055,187เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอย 96,207,373 141,373,961เงินสดจายจากการลงทุนของบริษัทยอย (3,627) (5,909,333)เงินปนผลจายแกถือหุนของบริษัทฯ (311,475,813) (180,520,712)เงินปนผลจายแกผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของ บริษัทยอย (15,049,988) (21,268,630)เงินสดรับจาการใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุน สามัญของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย 2,834,600เงินสดจายซื้อหุนทุนซื้อคืน (298,642,766)เงินสดสุทธิใชไปในกิจการจัดหาเงิน (1,116,479,002) (2,923,159,562)เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ (338,979,314) (102,503,256)เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป 1,920,012,455 1,581,033,141เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป 1,581,033,141 1,478,529,885

Page 152: การวิเคราะห งบการเงินของ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2557/F_Kanokwan...2.2 แนวค ดและทฤษฎ เก ยวก

140

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-นามสกุล นางสาวกนกวรรณ พงศชัยประสิทธิ์วัน เดือน ปเกิด 28 ธันวาคม 2513สถานที่เกิด จังหวัดปทุมธานี

ประวัติการศึกษาพ.ศ. 2538 บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยเกริกพ.ศ. 2557 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยเกริก

ประวัติการทํางานพ.ศ. 2551 – พ.ศ.2552 ตําแหนงผูจัดการอาวุโส ฝายบัญชีและการเงิน

บริษัท เอเซียส รีเยนแนล เซอรวิส จํากัด พ.ศ. 2552 - พ.ศ.2556 ตําแหนงผูจัดการอาวุโส ฝายบัญชีและการเงิน

บริษัท ทีทีแอนดที ซับสไครเบอร เซอรวิสเซส จํากัด พ.ศ. 2556 – ปจจุบัน ตําแหนงผูจัดการอาวุโส ฝายบัญชี

บริษัท ทริปเปลที บรอดแบนด จํากัด (มหาชน)