บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - lru 2.pdfบทท 2 เคร องมอช...

41
บทที2 เครื่องมือชาง 2.1 ความนํา การทํางานทางชางเกษตรจะเปนการซอมแซมและการบํารุงรักษา เครื่องมือ อุปกรณ และเครื่องจักรกล เกษตร ในการปฏิบัติงานดังกลาว จะมีการใชเครื่องมือพื้นฐานทั่ว ไป มีเครื่องมือขนาดเล็กหลายประเภท ซึ่งแตกตางกันทั้งลักษณะ รูปราง และการใชงาน ดังนั้นจึงจําเปนตองรูจักเครื่องมือตาง เพื่อการเรียกชื่อ ไดอยางถูกตอง รูจักหนาที่ของเครื่องมือเหลานั ้น รวมทั้งสามารถใชงานไดอยางปลอดภัย 2.2 เครื่องมือวัด ในการผลิตหรือซอมแซมเครื่องมือหรืออุปกรณตาง จะตองมีการวัด เพื่อตรวจสอบขนาดวามีขนาด หรือมิติตาง เทาไร จุดประสงคที่สําคัญเปนการวัดเพื่อตรวจสอบสัดสวนของชิ้นงาน หรือการกําหนด ตําแหนงบนชิ้นงาน ดังนั้นการวัดจึงเปนงานที่สําคัญอยางหนึ่งที่จะตองศึกษาใหมีความรูอยางละเอียด ถูกตอง ซึ่งเครื่องมือวัดมีหลายประเภท และความละเอียดที่แตกตางกัน ทั้งเปนการวัดแบบหยาบ หรือ การวัดแบบละเอียด การเลือกใชเครื่องมื่อวัดจะตองพิจารณาถึงความตองการคาที่วัดได วาตองการความ ละเอียดถูกตอง ความเที่ยงตรง เทาใด เครื่องมือวัดสามารถจําแนกไดดังนี2.2.1 เครื่องมือวัดชิ้นงานทั่วไป เครื่องมือวัดชิ้นงานทั่วไป ที่ชางเกษตรควรรูมีดังนี2.2.1.1 บรรทัดเหล็ก (Steel Rules) บรรทัดเหล็กเปนเครื่องมือวัดความยาวชนิดแรกที่มีใชในทาง ชางทั่ว ไป ทําดวยเหล็กไรสนิม (Stainless Steel) บรรทัดเหล็กที่ตองการความเที่ยงตรงเปนพิเศษจะทํา ดวยทองเหลืองหรือเงินผสมนิเกิล บรรทัดเหล็กมีหลายขนาดความยาว เชน 6 นิ้ว 12 นิ้ว และ 36 นิ้ว เปนตน เปนเครื่องมือวัดที่ไมตองการความละเอียดมากนัก วัดเพื่อตรวจสอบขนาดของชิ้นงานแบบคราว นิยมใช ในงานชางกล บรรทัดเหล็กเปนการวัดชิ้นงานโดยตรง ความเที่ยงตรงขึ้นอยูกับความรูสึกของสายตาผูวัด บนบรรทัดเหล็กจะมีสเกลบอก

Upload: others

Post on 03-Mar-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

บทที่ 2 เครื่องมือชาง

2.1 ความนํา การทํางานทางชางเกษตรจะเปนการซอมแซมและการบํารุงรักษา เครื่องมือ อุปกรณ และเครื่องจักรกล

เกษตร ในการปฏิบัติงานดังกลาว จะมกีารใชเครื่องมือพื้นฐานทัว่ ๆ ไป มีเครื่องมอืขนาดเล็กหลายประเภท

ซ่ึงแตกตางกนัทั้งลักษณะ รูปราง และการใชงาน ดังนัน้จึงจําเปนตองรูจักเครื่องมือตาง ๆ เพื่อการเรียกชื่อ

ไดอยางถูกตอง รูจักหนาที่ของเครื่องมือเหลานั้น รวมทั้งสามารถใชงานไดอยางปลอดภัย

2.2 เครื่องมอืวัด ในการผลิตหรือซอมแซมเครื่องมือหรืออุปกรณตาง ๆ จะตองมกีารวัด เพื่อตรวจสอบขนาดวามีขนาด

หรือมิติตาง ๆ เทาไร จดุประสงคที่สําคัญเปนการวัดเพื่อตรวจสอบสัดสวนของชิน้งาน หรือการกําหนด

ตําแหนงบนชิน้งาน ดังนั้นการวัดจงึเปนงานที่สําคัญอยางหนึ่งที่จะตองศึกษาใหมีความรูอยางละเอียด

ถูกตอง ซ่ึงเครื่องมือวัดมหีลายประเภท และความละเอียดทีแ่ตกตางกัน ทั้งเปนการวัดแบบหยาบ ๆ หรือ

การวัดแบบละเอียด การเลือกใชเครื่องมื่อวัดจะตองพิจารณาถึงความตองการคาที่วัดได วาตองการความ

ละเอียดถูกตอง ความเที่ยงตรง เทาใด เครือ่งมือวัดสามารถจําแนกไดดงันี้

2.2.1 เคร่ืองมือวัดชิ้นงานทัว่ไป

เครื่องมือวัดชิน้งานทั่วไป ทีช่างเกษตรควรรูมีดังนี้

2.2.1.1 บรรทัดเหล็ก (Steel Rules) บรรทัดเหล็กเปนเครื่องมือวัดความยาวชนิดแรกที่มีใชในทาง

ชางทั่ว ๆ ไป ทําดวยเหล็กไรสนิม (Stainless Steel) บรรทัดเหล็กที่ตองการความเที่ยงตรงเปนพิเศษจะทํา

ดวยทองเหลืองหรือเงินผสมนิเกิล บรรทัดเหล็กมีหลายขนาดความยาว เชน 6 นิ้ว 12 นิ้ว และ 36 นิว้ เปนตน

เปนเครื่องมือวัดที่ไมตองการความละเอียดมากนกั วัดเพื่อตรวจสอบขนาดของชิ้นงานแบบคราว ๆ นิยมใช

ในงานชางกล บรรทัดเหล็กเปนการวัดชิน้งานโดยตรง ความเที่ยงตรงขึ้นอยูกับความรูสึกของสายตาผูวดั

บนบรรทัดเหล็กจะมีสเกลบอก

Page 2: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

18

ภาพที่ 2.1 บรรทัดเหล็ก

บนหนาความกวางของบรรทัดเหล็กจะมสีเกลบอกระยะ ซ่ึงอาจจะมหีนาเดยีวหรือทั้ง 2 หนาก็ได

สเกลบอกระยะมีหนวยที่ใชวัดทัว่ ๆ ไป 2 ระบบดวยกนั คือ ระบบเมตริก และระบบอังกฤษ

ระบบเมตริก มีหนวยสําหรับเรียกคาทีไ่ดจากการวดัเปนมิลลิเมตร เซนติเมตร ในบรรทัดเหล็ก

ทั่วไปที่ยาว 1 ฟุต ทางดานหนวยเมตริกจะทําไวยาว 30 เซนติเมตร ใน 1 เซนตเิมตรจะแบงเปน 10 ชอง แต

ละชองมีคา 1/10 เซนติเมตร หรือเทากับ 1 มิลลิเมตร ใน 1 มิลลิเมตร จะแบงยอยเปน 2 สวน คาที่แบง

ละเอียดขั้นสดุทายจะมีคาเทากับ 0.5 มิลลิเมตร

ระบบอังกฤษ มีหนวยสําหรับเรียกคาทีไ่ดจากการวดัเปนเศษสวนของนิ้ว การวัดเปนนิ้ววัดได

ละเอียดถึง 1/64 นิ้ว โดยการนําเอาระยะ 1 นิ้ว มาแบงเปน 8 สวน แตละสวนจะมีคา 1/8 นิว้ หรือเรียก

โดยทั่วไปวา 1 หุน จากนั้นเอา 1 ชองเล็กมาแบงอีก 8 สวนเทา ๆ กนั ดังนั้นคาที่ไดจากการแบงครั้งสุดทาย

จะมีคา 1/64 นิว้

การแบงละเอยีดของนิ้วจะแบงเฉพาะ 1 ถึง 3 นิ้วแรกเทานั้น สวนนิว้ตอไปจะแบงละเอียดเพยีง 1/16

นิ้ว เนื่องจากไมมีความจําเปนที่ตองแบงใหละเอียดทุกนิว้

การใชบรรทัดเหล็กสําหรับอานระยะความยาว การอานคาที่ไดจากการวัด สายตาจะตองตั้งฉากกบั

สเกลการวัด บรรทัดจะตองตัง้ฉากกับงาน และขอบของบรรทัดจะตองสัมผัสผิวงาน การอานคาสเกลจะตอง

มองใหตรงกับขอบงาน

การใชบรรทัดเหล็กสําหรับตรวจสอบความเรียบของผิวงาน โดยการสองดูแสงที่ลอดออกมาจาก

ขอบของบรรทัดเหล็กทีว่างทาบอยูบนชิ้นงาน

Page 3: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

19

2.2.1.2 บรรทัดขอเก่ียว (Hook Rules) บรรทัดขอเกี่ยวเปนบรรทัดที่มีลักษณะคลายกับบรรทัด

เหล็ก แตแตกตางกันตรงที่ปลายสุดบรรทัดจะมเีหล็กกลารูปรางเปนขอเกี่ยว เพื่อเกาะยึดชิน้งาน ใชสําหรับ

วัดความยาวทัว่ ๆ ไป จะมีขอดีตรงที่มีขอเกี่ยวสวนขอบชิ้นงานทําใหวดังานไดสะดวกยิ่งขึ้น โดยเฉพาะงาน

ในรองหรือช้ินงานที่เปนสนั

ภาพที่ 2.2 บรรทัดขอเกี่ยว

2.2.1.3 ตลับเมตร (Tapemeasure) ตลับเมตรเปนเครือ่งมือวัดชนดิหนึ่งที่มีสายวดัเก็บอยูในตลบั

อยางมิดชิด ทําใหสะดวกในการนําติดตัวไปใชงานไดตลอดเวลา ตลับเมตรใชในการวัดหาระยะความยาว

ขนาดของวัสดุ ช้ินงาน ปลายสุดสายวัดของตลับเมตรมีขอเกี่ยว ซ่ึงใชเปนที่เกาะยดึกับขอบของชิ้นงานที่

ตองการวัด ทําใหการดึงสายวดัออกจากตลับ เพื่อใชในการวดัระยะหรือตรวจสอบขนาดของวัสดุหรือ

ช้ินงานไดสะดวก ซึ่งผูใชควรเรียนรูเร่ืองสําคัญของตลับเมตร

ภาพที่ 2.3 ตลับเมตร

Page 4: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

20

2.2.1.4 ฉากตาย (Solid Square) ฉากตายเปนเครื่องสําหรับวัดมุมฉาก หรือมีช่ือเรียกอีกอยางหนึ่ง

วา ฉาก 90 องศา ฉากตายทาํจากเหลก็เครื่องมือที่ผานการชุบผิวแข็ง เจยีรนัยผิวเรียบ มีความเที่ยงตรงสูงใช

งานไดทั้งดานในและดานนอกของฉาก ใชสําหรับขีดเสนตั้งฉากซึ่งกนัและกนั หรือใชการตรวจสอบความ

เรียบผิว ฉากตายมีอยู 2 แบบ ดวยกันคือ แบบที่ใบฉากเลื่อยไมได ใบฉากยึดตดิแนนกับฐานฉาก และแบบ

ใบฉากเลื่อยได ใบฉากมีรองเลื่อนอยูในรอยผาของฐานฉากจะมีสกรูขนัใบฉากใหตดิแนนกับฐานฉาก ฉาก

ตายจะใชในการตรวจสอบมุมฉากภายนอกชิ้นงาน ตรวจสอบมุมฉากภายใน ตรวจสอบความเรียบของผิว

งาน พรอมกับตรวจความไดฉากระหวางผิวงานทั้ง 2 ดาน ใชฉากเพื่อขีดเสน และใชตรวจสอบความได

ฉากของงานรูปทรงกระบอกบนแทนระดบั

ฉากตายเปนเครื่องมือวัดเพื่อการตรวจสอบความละเอียดเที่ยงตรง ไมควรนําไปเก็บรวมกับ

เครื่องมืออ่ืน ๆ โดยเฉพาะเครื่องมือที่มีคมตัด อยาใชฉากตายวัดความเรียบของผิวงานที่หยาบหรือไมไดลบ

คม เมื่อตองการเปลี่ยนจุดตรวจสอบ ใหยกฉากขึ้นจนพนผิวงานกอน อยาลากฉากเพราะจะทําใหฉากชํารุด

ฉะนั้นในการใชฉากจึงตองระมัดระวัง อยาใหฉากตกหลนกับพื้นจะทําใหเสียหายได

ภาพที่ 2.4 ฉากเลื่อน และการใชฉากตาย

2.2.1.5 ฉากผสม (Combination Set) ฉากผสมเปนเครื่องมือที่ใชกันทั่ว ๆ ไป สวนมากทําจาก

เหล็กกลาชุบแข็ง หรือเหล็กกลาสแตนเลส มีสวนประกอบที่สําคัญดังนี้

1) หวัมุมฉาก (Square Head) ใชวดัมุม 90 องศา และ 45 องศา มีระดับน้ําบรรจุอยูในหลอดแกว

เพื่อวัดระดับ หัวมุมฉากสามารถเลื่อนไดตลอดความยาวของบรรทัด

Page 5: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

21

2) หวัหาศนูยกลาง (Center Head) มีรูปเปนตัววี (V) ในลักษณะมุมฉากเขาสัมผัสกับขอบงาน

กลม ทําใหบรรทัดพาดในแนวเสนผาศูนยกลางของงาน สามารถเลื่อนไดตลอดความยาวของบรรทดั การใช

หัวหาศูนยกลางของงาน โดยกดหวัหาศนูยแนบเขากับชิ้นงานกลมแลวใชเหล็กขดีเสนไว แลวหมุนชิ้นงาน

ไปประมาณ 1/3 รอบ แลวขีดเสนที่ 2 จากนั้นหมุนชิน้งานไปประมาณ 2/3 รอบ แลวขีดเสนที่ 3 จะได

ศูนยกลางตามตองการ

3) หัววัดมุม (Proractor Head) ใชวดัมุมไดตั้งแต 0 ถึง 180 องศา องศาในการปรับมุมตองคลาย

ตัวล็อคทั้ง 2 ขางกอนแลวจึงเลื่อนหามุมที่ตองการ หลังจากนั้นจึงขนัสกรูใหแนน

4) บรรทัด (Rule)มีลักษณะเหมือนบรรทัดเหล็กทั่ว ๆ ไป แตมีความหนามากกวา สวนตรงกลาง

บรรทัดมีรองตลอดความยาวของบรรทัดเพื่อใชประกอบเขากับหวัวดัมุม หัวมุมฉาก และหวัหาศนูยกลาง

ภาพที่ 2.5 ชุดฉากผสม

2.2.1.6 เคร่ืองมือวัดถายขนาด เปนเครื่องมือวัดที่ไมมีสเกลที่ตัวเครื่องมือ ถาตองการทราบคาที่วัด

ไดจะตองนําไปเทียบกับบรรทัด เครื่องมือวัดถายขนาดที่ใชกันมาก คือ คาลิปเปอร (Caliper) ซ่ึงมี 2 ชนิด

ดังนี ้

1) คาลิปเปอรวัดนอก (Outside Caliper) หรือที่เรียกวา “เขาควาย” คาลิปเปอรวัดนอกนี้ใชวดั

ขนาดเสนผาศนูยกลางของชิน้งานที่มีรูปทรงกลม ทรงกระบอก ความหนาของชิ้นงาน ขอควรระวังในการ

ใชคารลิปเปอรวัดนอก คือ ในการจรดปลายขาทั้ง 2 ขาง ของคาลิปเปอรกับวัตถุนัน้จะตองอยูในแนวเสน

แกนกลาง โดยเฉพาะอยางยิง่วัตถุที่เปนทางกลมหรือทรงกระบอก ถาขาทั้ง 2 ขาง ไมอยูในแนวแกนจะทํา

ใหขนานที่วัดไดผิดไป

Page 6: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

22

ภาพที่ 2.6 คาลิปเปอรวัดนอก

2) คาลิปเปอรวัดใน (Inside Caliper) หรือที่เรียกกนัทั่วไปวา “ตีนผี” เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับวดั

ขนาดภายในของงาน เชน รูกลม รูเหล่ียม เปนตน ขอควรระวังในการใชคาลิปเปอร คือ สวนปลายขาของ

คาลิปเปอรเปนสวนที่ผานการชุบแข็งและขัดลับอยางดีจนเรียบเสมอกนั เมื่อเวลาบีบขาทั้ง 2 ขางเขาชนกนั

ขาทั้ง 2 ขางจะจรดกันไดพอดี ดังนั้นจะตองรักษาสวนปลายขาอยาใหกระทบกระแทกสิ่งอ่ืนใดจนสึกหรอ

หรือบิ่นไป ในการขยับขาทัง้ 2 ขางเขามานั้น ถาเปนชนดิที่ไมมีสกรูปรับใหเคาะที่สวนกลางลําตัวของคาลิป

เปอร อยาเคาะที่สวนปลายขา

ภาพที่ 2.7 คาลิปเปอรวัดใน

Page 7: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

23

2.2.1.7 หวีวัดฟนเกลียว (Screw Pitch Gauge) หววีัดฟนเกลียวบางทกี็เรียกวา “เกจวัดเกลียว” เปน

เครื่องมือที่ใชสําหรับวัดเทยีบระยะหางของสันเกลียว ดงันั้นจึงมหีลายแผนใน 1 ชุด มีทั้งระบบเมตริก และ

ระบบอังกฤษ การใชงานเพื่อหาระยะพชิทของเกลียว ใหทดลองเอาขางที่ฟนของหววีัดเกลียวทาบไปที่ตัว

เกลียวสวนแผนที่เหลือเก็บไวในดามจับ จนกระทั่งฟนของหววีัดเกลียวสามารถเขาประกบไดสนิทกับตัว

เกลียว จึงอานคาที่อยูบนแผนหววีัดเกลียว

ภาพที่ 2.8 หววีัดฟนเกลียวหรือเกจวดัเกลียว

2.2.1.8 เกจวัดความหนา (Filler Gauge) เปนเครื่องมือที่ใชวัดความหนาของชองวางตาง ๆ เชน

การวัดชองวางของเขี้ยวหัวเทียน ใชในการตั้งระยะชองวางระหวางวาลวกับกระเดื่องกดลิ้นในเครื่องยนต

เปนตน สามารถวัดละเอียดไดถึง 0.01 มิลลิเมตร สามารถวัดไดทั้งระบบเมตริกและระบบอังกฤษ การวัด

ความหนาของชองวางทําไดโดยนําฟลเลอรเกจสอดไประหวางชองวางจนรูสึกวาความหนาของฟลเลอรเกจ

ที่สอดเขาไปพอดีกับชองวางนั้น

ภาพที่ 2.9 เกจวัดความหนา

Page 8: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

24

2.2.1.9 เกจวัดรัศมี (Fillet guage) เกจวัดรัศมี เปนเกจที่ใชสําหรับตรวจสอบรัศมีทั้งภายในและ

ภายนอก ในชดุหนึ่ง ๆ จะมทีั้งแผนที่เปนสวนเวาสําหรับตรวจสอบรัศมีภายนอก และแผนที่เปนสวนโคงซ่ึง

ใชตรวจสอบรศัมีภายใน ชุดแผนเกจทั้ง 2 ชนิดจะอยูคนละดานของดามจับ เกจรัศมี 1 ชุดจะประกอบดวย

แผนเกจสอบรศัมีหลายขนาดความโคง โดยจะมีตวัเลขบอกรัศมอียูบนแผนเกจและจะเรียงตามลําดับรัศมี

จากมากไปหานอย ชุดเกจรัศมีที่ใชกันม ี3 ชุด คือ ชุดที่ 1 เกจวัดรัศมจีาก 1 ถึง 7 มลิลิเมตร ชุดที ่2 เกจวดั

รัศมีจาก 7.5 ถึง 15 มิลลิเมตร ชุดที่ 3 เกจวัดรัศมีจาก 15 ถึง 25 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.10 เกจวดัรัศม ี

การใชเกจรัศมีอยางถูกตอง ควรเลือกเกจรศัมีใหถูกตองกับลักษณะงาน การวัดตรวจสอบใหใช

เกจวัดรัศมีทาบกับชิ้นงานแลวหันหนาเขาหาแสงสวาง ใหสังเกตจากแสงที่ลอดผานเกจออกมาวามีมากหรือ

ไมเพียงใด ถามีมากแสดงวาขนาดรัศมีทีน่ําไปใชขณะนั้นไมไดขนาดตรงตามความโคงของชิ้นงาน จะตอง

เปนเกจวดัรัศมีไปเรื่อย ๆ กระทั่งเกจวัดรศัมีสามารถทาบเขากับชิ้นงานไดสนิทพอด ี

2.2.2 เคร่ืองมือวัดละเอียด

การตรวจสอบชิ้นงาน โดยใชเครื่องมือวดัทั่วไปคาที่อานไดจะเปนคาเลขจํานวนเตม็ตามสเกลวัด

ถาขนาดชิ้นงานไมตรงกับขดีสเกล ทําใหไมสามารถอานคาที่ถูกตองได ดังนั้นจึงมกีารสรางเครื่องมือที่วัด

คาไดละเอียดมากขึ้น มีหลายชนิดดวยกัน แตที่นิยมใชกนัมีดังนี ้

Page 9: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

25

2.2.2.1 เวอรเนียรคาลิปเปอร (Vernier Caliper) เปนเครื่องมือวัดที่อาศัยหลักการของคารลิปเปอร

รวมกับบรรทัดเหล็กทําใหสามารถอานไดทันที และมสีเกลที่ละเอียดมากขึ้น สามารถวัดความโตภายนอก

ภายใน และความลึกของชิ้นงานได

เขี้ยววัดใน สเกลเลื่อน สเกลหลัก

กานวัดความลึก

สกรูล็อคหรือปุมล็อค

ปากวัดนอก

ภาพที่ 2.11 เวอรเนียคารลิปเปอร

สวนประกอบของเวอรเนียรคาลิปเปอร มีดังนี ้

1) ปากวัดนอก เปนสวนที่ใชวดัความโตดานนอกชิ้นงาน

2) เขี้ยววัดใน เปนสวนที่ใชวัดความโตภายในชิ้นงาน

3) กานวดัความลกึ เปนกานที่อยูบนขาเลื่อน ใชสําหรับวัดความลึกของชิ้นงาน

4) สเกลหลัก เปนขีดสเกลที่อยูบนไมบรรทดั มีหนวยวัดทัง้ระบบเมตริกและระบบอังกฤษ

5) สเกลเลื่อน หรือเรียกวา “เวอรเนียสเกล” เปนสเกลที่อยูบนขาเลื่อน ใชสําหรับอานคาละเอียด

6) สกรูล็อคหรือปุมล็อค ใชสําหรับล็อคเวอรเนียสเกลเขากบัสเกลหลัก

วิธีการอานคาจากเวอรเนียคาลิปเปอร เนื่องจากสเกลหลกัของเวอรเนยีรสามารถอานคาไดทั้งระบบ

เมตริกและระบบอังกฤษ ซ่ึงอธิบายไดดังนี ้

ในระบบอังกฤษการอานคาจากเวอรเนียรคาลิปเปอรรจะบอกหนวยเปนนิ้ว จะยกตวัอยางเพื่อนํามา

อธิบายการอานคาในระบบอังกกฤษที่ระดับความละเอยีดของการวัดตามหลักการการแบงสเกลและการอาน

Page 10: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

26

คาระบบอังกฤษ 1/128 นิ้ว และ หลักการการแบงสเกลและการอานคาระบบอังกฤษ 1/1000 นิ้ว พอเขาใจ

ดังนี้

หลักการการแบงสเกลและการอานคาระบบอังกฤษ 1/128 นิ้ว

ภาพที่ 2.12 ตัวอยางหลักการแบงสเกลและการอานคาระบบอังกฤษ 1/128 นิ้ว

จากภาพที่ 2.12 ตัวอยางหลักการการแบงสเกลและการอานคาระบบองักฤษ 1/128 นิ้ว จะเห็นวา

8 ชองสเกลเลื่อนจะมีคาเทากับ 7/16 นิ้ว ดังนั้น 1 ชองสเกลเลื่อนจะมีคาเทากับ 7/16 นิ้ว คูณ 1/8 นิ้ว คือ

7/128 นิ้ว คาความแตกตางระหวางสเกลหลักกับสเกลเลื่อนจะมีคาเทากับ 1/16 นิ้ว ลบ 7/128 นิ้ว คือ 1/128

นิ้ว

ภาพที่ 2.13 ตัวอยางการอานคาเวอรเนยีคาลิปเปอรระบบอังกฤษที่ระดับความละเอยีด 1/128 นิว้

Page 11: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

27

หลักการการแบงสเกลและการอานคาระบบอังกฤษ 1/1000 นิ้ว

25

ภาพที่ 2.14 ตัวอยางหลักการแบงสเกลและการอานคาระบบอังกฤษ 1/1000 นิ้ว

จากภาพที่ 2.14 ตัวอยางหลักการการแบงสเกลและการอานคาระบบองักฤษ 1/1000 นิ้ว จะเหน็วา

25 ชวงสเกลเลื่อนมีคาเทากบั 1.225 นิ้ว ดังนั้น 1 ชวงสเกลเลื่อนมีคาเทากับ 1.225/25 นิ้ว คือ 0.449 นิ้ว คา

ความแตกตางระหวางสเกลหลักกับสเกลเลื่อนเทากับ 0.050 – 0.049 นิ้ว คือ 0.001 นิว้

ภาพที่ 2.15 ตัวอยางการอานคาเวอรเนยีคาลิปเปอรระบบอังกฤษที่ระดับความละเอยีด 1/1000 นิว้

Page 12: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

28

ในระบบเมตริกการอานคาจากเวอรเนียรคาลิปเปอรรจะบอกหนวยเปนมิลลิเมตร จะยกตัวอยางเพือ่นํามาอธิบายการอานคาในระบบเมตริกที่ระดับความละเอียดของการวดัตามหลักการการแบงสเกลและการอานคาระบบเมตริก 1/20 มิลลิเมตร และ หลักการการแบงสเกลและการอานคาระบบเมตริก 1/50 มิลลิเมตร พอเขาใจดังนี ้

ภาพที่ 2.16 ตัวอยางหลักการแบงสเกลและการอานคาระบบเมตริก 1/20 มิลลิเมตร

จากภาพที่ 2.16 ตัวอยางหลกัการการแบงสเกลและการอานคาระบบเมตริก 1/20 มิลลิเมตรจะเหน็วา 20 ชวงสเกลเลื่อนมีคาเทากับ 19 มิลลิเมตร ดังนัน้ 1 ชวงสเกลเลื่อนมีคาเทากับ 19/20 คือ 0.95 มิลลิเมตร คาความแตกตางระหวางสเกลหลักกับสเกลเลื่อนเทากับ 1 – 0.95 คือ 0.05 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.17 ตัวอยางการอานคาเวอรเนยีคาลิปเปอรระบบเมตริกที่ระดบัความละเอียด 1/20 มิลลิเมตร

Page 13: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

29

ภาพที่ 2.18 ตัวอยางหลักการแบงสเกลและการอานคาระบบเมตริก 1/50 มิลลิเมตร

จากภาพที่ 2.18 ตัวอยางหลักการการแบงสเกลและการอานคาระบบเมตริก 1/50 มลิลิเมตร จะเหน็วา 50 ชวงสเกลเลื่อนมีคาเทากับ 49 มิลลิเมตร ดังนัน้ 1 ชวงสเกลเลื่อนมีคาเทากับ 49/50 คือ 0.98 มิลลิเมตร คาความแตกตางระหวางสเกลหลักกับสเกลเลื่อนเทากับ 1 – 0.98 คือ 0.02 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.19 ตัวอยางการอานคาเวอรเนยีคาลิปเปอรระบบเมตริกที่ระดบัความละเอียด 1/50 มิลลิเมตร

Page 14: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

30

ลักษณะการใชงานเวอรเนยีคาลิปเปอรสําหรับวัดงาน

• ใชวัดความโตของชิ้นงาน

ภาพที่ 2.20 วิธีใชเขี้ยววัดในสําหรับวัดความโตของชิ้นงาน

• ใชวัดชิน้งานภายนอก

ภาพที่ 2.21 วิธีใชเวอรเนียคาลิปเปอรวัดขนาดงาน และวิธีใชปลายปากวัดนอกวัดความโตนอกทีม่ีลักษณะ

รองตกรองแคบ

• ใชวัดความลึกของชิ้นงาน

ภาพที่ 2.22 วิธีการใชกานวดัความลึกงาน

Page 15: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

31

ขั้นตอนการใชงานเวอรเนยีคาลิปเปอร มีดังนี ้

1) ตรวจสอบเครื่องมือวัด

1.1) ใชผาเช็ดทําความสะอาดทกุชิ้นสวนของเวอรเนียกอนใชงาน

1.2) คลายล็อคสกรูทดลองเลื่อนเวอรเนยีสเกลไป- มาเบา ๆ เพื่อตรวจสอบดูวาสามารถใชงาน

ไดคลองตัวหรือไม

1.3) ตรวจสอบปากวัดของเวอรเนีย ยกเวอรเนยีขึ้นสองดูวาบริเวณปากเวอรเนียมีแสงสวางผาน

หรือไม

2) การวัดขนาดงาน ตามลําดับขั้นดังนี ้

2.1) ทําความสะอาดบริเวณผิวงานที่ตองการวัด

2.2) เลือกใชปากวัดงานใหเหมาะสมกับลักษณะงานทีต่องการ

2.3) เล่ือนเวอรเนียสเกลใหปากเวอรเนียสัมผัสชิ้นงาน ควรใชแรงกดใหพอด ี

2.4) ขณะวัดงาน สายตาตองมองตั้งฉากกับตําแหนงที่อาน แลวจึงอานคา

3) เมื่อเลิกปฏิบัติงาน ควรทาํความสะอาด ชโลมดวยน้ํามนั และเก็บรักษาดวยความระมัดระวัง

ปจจุบันการอานคาที่ไดจากการวัดดวยเวอรเนียคาลิปเปอรสามารถอานคาไดทันท ี เมื่อทําการวัด

งาน คาที่วัดไดแสดงผลออกมาเปนตวัเลข (digits) ซ่ึงมีระบบการวดัใหเลือกใชทัง้ระบบเมตริกและระบบ

อังกฤษไดตามตองการ

ภาพที่ 2.23 เวอรเนียคาลิปเปอรแบบดิจิตอล (Digital Vernier caliper)

Page 16: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

32

2.2.2.2 ไมโครมิเตอร (Micrometer) เปนเครื่องมือวดัละเอียดอีกชนิดหนึ่ง สามารถอานคาได

ละเอียดและถกูตองมากที่สุด วัดขนาดไดทั้งภายในและภายนอกของชิน้งาน โดยทัว่ไปไมโครมิเตอรที่นิยม

ใชสามารถวัดคาละเอียดไดเทากับ 1/1000 นิ้ว หรือ 0.01 มิลลิเมตร หรือสามารถอานไดทั้งระบบเมตริกและ

ระบบอังกฤษ

ภาพที่ 2.24 แสดงสวนประกอบของไมโครมิเตอร

สวนประกอบของไมโครมิเตอรมีดังนี ้

ขาจับสําหรับวดัลาง

แกนเหลก็ลาง เปนสวนที่ติดกับโครงสําหรับจับและวัดความหนา มีลักษณะเปนปุมแกนกลม

ผิวหนาสัมผัสเรียบ ทําหนาทีร่องรับชิ้นงานขณะทําการวัด

แกนเหล็กบน เปนสวนที่เล่ือนเขา – ออก สัมผัสกับชิ้นงานที่จะวัด สามารถเลื่อนเขาออกโดย

การหมุนที่ปลอกหมุน

หวงสําหรับสอดจับใหกระชับมือ

ปุมล็อคและปลดล็อคแกนหมนุ

Page 17: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

33

กรอบลาย สําหรับจับแกนหมุน

สลักล็อคสําหรับการตั้งคาไมโครมิเตอร

ปุมปรับคาละเอียดในการหมุนไมโครมิเตอร

แกนลางสําหรับหมุน

กานสําหรับแสดงหนวยวัด

ปลอกหมุน เปนปลอกที่สวมครอบ ใชสําหรับหมุนเพื่อใหแกนวัดเลื่อนเขาสัมผัสกับชิ้นงาน

ที่พอดี เพื่อวัดขนาดภายนอกของชิ้นงานบนปลอกหมุนจะมีสเกลรอบปลอกหมุน

หนวยสําหรับวัด 1 ชอง เทากับ 1.00 มิลลิเมตร

หนวยยอยในการวัด 1 รอบ เทากับ 0.50 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.25 ไมโครมิเตอรสําหรับวัดภายนอก

วิธีการอานคาจากไมโครมิเตอร ซ่ึงอธิบายไดจากภาพตอไปนี ้

ภาพที่ 2.26 ตัวอยางการอานคาที่วัดไดจากการใชไมโครมิเตอรเมื่อปลอกหมุนสเกลหมุนไป 1 รอบ

Page 18: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

34

จากภาพที่ 2.26 ตัวอยางการอานคาที่วัดไดจากการใชไมโครมิเตอร จะเห็นวา ปลอกหมุนสเกล

หมุนไปแลว 1รอบ จะสังเกตเห็นขีดสเกลที่แกนกลาง 1 ขีด (ไมรวมขดีศูนย) ดังนี ้

1) สเกลที่แกนกลาง ปลอกหมุนผานไป 1 รอบ แสดงวา วัดผานไปแลว 0.50 มิลลิเมตร จะอานคา

ไดเปน 1 x 0.50 เทากับ 0.50 มิลลิเมตร

2) อานขีดสเกลที่ปลอกหมุน อานคาได 0.24 มิลลิเมตร

3) รวมคาที่อานไดจากขอ 1 และ 2 ไดคาที่อาน เทากับ 0.50 + 0.24 เทากับ 0.74 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.27 ตัวอยางการอานคาที่วัดไดจากการใชไมโครมิเตอรเมื่อปลอกหมุนสเกลหมุนไป 5 รอบ

จากภาพที่ 2.27 ตัวอยางการอานคาที่วดัไดจากการใชไมโครมิเตอร จะเห็นวา ปลอกหมุนสเกล

หมุนไปแลว 5 รอบ จะสังเกตเหน็ขีดสเกลที่แกนกลาง 5 ขีด (ไมรวมขีดศูนย) ดังนี ้

1) สเกลที่แกนกลาง ปลอกหมุนผานไปแลว 5 รอบ แสดงวา วัดผานไปแลว 5 x 0.50 มิลลิเมตร

เทากับ 2.50 มิลลิเมตร

2) อานขีดสเกลที่ปลอกหมุน และขีดสเกลที่ปลอกหมุน อานคาได 0.30 มิลลิเมตร

3) รวมคาที่อานไดจาก ขอ 1 และ 2 ไดคาทีอ่านเทากับ 2.50 + 0.30) เทากับ 2.80 มิลลิเมตร

ในการบันทกึคาที่วัดไดจากการวัดดวยไมโครมิเตอรจะบันทึกคาหลังจุดทศนยิมจํานวน 3 ตําแหนง

เชน คาที่อานได 2.80 มิลลิเมตร ดังภาพที่ 2.27 เมื่อทําการจดบันทึกคาที่ตองจดบันทกึคือ 2.800 มิลลิเมตร

Page 19: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

35

2.3 เครื่องมือท่ัวไป เครื่องมือทั่วไปสําหรับการปฏิบัติงานทางดานชาง มีดังนี้

2.3.1 คอน (Hammers)

คอนเปนเครื่องมือสําหรับตอก ย้ํา ตัด เคาะ ตีขึ้นรูปโลหะแผน และเพือ่เพิ่มแรงกระแทกลงบน

เครื่องมืออ่ืน คอนที่ใชกันทัว่ ๆ ไปมี 3 แบบ ดังนี ้

2.3.1.1 คอนหัวแข็ง ลําตัวคอนทําดวยเหล็กกลาอยางดี มรูีปรางแตกตางกันตามลักษณะทีใ่ชงาน

เชน คอนหวักลม คอนหัวตดัตามยาว คอนหัวตัดตามขวาง เปนตน

ภาพที่ 2.28 คอนหัวแข็ง

2.3.1.2 คอนหัวแข็งปานกลาง ลําตัวของคอนทําดวยพลาสติกแข็ง ตะกัว่ ทองแดง ทองเหลือง ใช

กับงานที่ตองการความละเอยีดพอควร

ภาพที่ 2.29 คอนหัวแข็งปานกลาง

Page 20: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

36

2.3.1.3 คอนหัวออน สวนลําตัวของคอนทาํดวยไมหรือยาง

ภาพที่ 2.30 คอนหัวออน

2.3.1.4 คอนหัวหงอน ทําดวยเหล็กกลา ลักษณะสวนหัวคอนโคงงอไปขางหลังมีชองตรงกลางใชสําหรับถอนตะปู สวนใหญจะนยิมใชกับงานกอสราง

ภาพที่ 2.31 คอนหัวหงอน

คอนมีสวนประกอบที่สําคัญ ดังนี ้1) หัวคอน(Head) สวนหนาสัมผัสกับผิวงานจะตองเรียบและแข็ง สวนลําตัวของคอนจะตองเหนยีว

เพื่อปองกันการแตกอันเนื่องจากการกระแทก 2) ดามคอน (Handle) จะตองมีความเหมาะสมกับหัวคอน ทั้งลักษณะ ขนาดความยาว ดามคอน

สวนใหญทําดวยไมเนื้อแข็ง ซ่ึงมีความแข็งแรงเพียงพอ สวนที่ดามสวมเขาไปในหัวคอนจะตองมีล่ิมอัดไว เพื่อปองกันไมใหหวัคอนหลุดเวลาใชงาน ในการใชงานควรเลือกใชคอนใหเหมาะสมกับงาน กอนใชควรตรวจสภาพของคอน ถาล่ิมหลุด ดามแตก ดานเปอนน้ํามัน ควรแกไขสิ่งบกพรองเหลานี้เพื่อใหเกิดความปลอดภัยตอการปฏิบัติงาน

Page 21: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

37

2.3.2 ไขควง (Screwdrivers) ไขควง เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับขันหรือคลายสกรูที่มีหวัเปนรอง ปากไขควงมี 2 แบบ คือ ไข

ควงแบบปากแบน (Flat screwdrivers) และไขควงแบบปากแฉก (Phillips screwdrivers)

ภาพที่ 2.32 ไขควงปากแบนและปากแฉก

ในงานบางประเภทที่มีอยูในรองหรือซอกที่เปนมุม ซ่ึงไขควงธรรมดาไมสามารถเขาไปทํางาน

ไดจะใชไขควงซึ่งมีลักษณะเปนกานงอ มีปลายทั้ง 2 ดานเรียกวา “ไขควงออฟเซ็ท” (Double-ended)

ภาพที่ 2.33 ไขควงออฟเซ็ท (Double-ended screwdrivers)

ในการใชไขควงนั้น ควรเลอืกขนาดปากไขควงใหเหมาะสมกับรองของสกรู ไขควงตองสะอาด ไม

สกปรกเปรอะเปอนน้ํามันหรือจารบี ไมควรใชไขควงผดิประเภท เชนใชแทนสกัดหรือเหล็กสง สภาพของ

ไขควงที่นํามาใชตองอยูในสภาพดีพรอมใชงาน ดามไมแตก ปากไขควงไมบิ่นหรือเยินเสียหาย

Page 22: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

38

2.3.3 ประแจ (Spanners) ประแจเปนเครื่องมือใชสําหรับขันยึดหรือคลายน็อตหรือสกรูที่มีหัวเหล่ียม หรือหัวกลมเเหลี่ยม

ลําตัวของประแจสวนมากจะทําดวยเหล็กกลาผสมโครเมียม เหล็กกลาผสม ประแจมีหลายชนิด ขนาด และระบบ ทั้งระบบเมตริกหนวยเปนมิลลิเมตร นิยมเรียกเปนเบอร เชน ประแจเบอร 10, 12, 14, 18 เปนตน และระบบอังกฤษหนวยเปนนิ้ว เชน ½ นิ้ว ¾ นิ้ว 1 นิว้ เปนตน ประแจที่นิยมใชโดยทั่วไปมีดังนี ้

2.3.3.1 ประแจปากตาย (Open ended spanners) ใชสําหรับสกรูที่มีขนาดเทากับความกวางของปากประแจ มหีลายขนาดตามระบบเมตริกและระบบอังกฤษ

ภาพที่ 2.34 ประแจปากตาย

2.3.3.2 ประแจแหวน (Ring spanners) ใชกับงานที่ตองการรับแรงมาก ๆ เนื่องจากจุดจับยึดกับหัวสกรูมีหลายจุดมากกวาประแจปากตาย ทําใหหวัน็อตไมเยินงาย

ภาพที่ 2.35 ประแจแหวน

2.3.3.3 ประแจปากผสม (Combination spanners) เปนประแจซึ่งมีทั้งปากตายและแหวนในอันเดียวกัน

ภาพที่ 2.36 ประแจผสม

Page 23: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

39

2.3.3.4 ประแจปากเลื่อน (Adjustable spanners) เปนประแจที่ปากสามารถเลื่อนปรับไดตาม

ขนาดของสกรู สามารถนํามาใชงานในกรณีที่ไมมีประแจปากตายหรอืประแจแหวน แตถาไมจาํเปนแลว

ควรใชประแจเลื่อนเนื่องจากจะทําใหหวันอ็ตเยินได

ภาพที่ 2.37 ประแจเลื่อน

2.3.3.5 ประแจจับทอ (Pipe wrench) ใชในงานจับทอ ซ่ึงสวนใหญจะไมนํามาจับหัวน็อต

เนื่องจากที่ปากของประแจจบัทอที่ฟนแหลมคมทั้งสองขาง ชางประปาจะเรียกวา “ประแจคอมา”

ภาพที่ 2.38 ประแจจับทอ

2.3.3.6 ประแจบล็อค (Socket spanners) มีลักษณะคลายกับประแจแหวน แตแยกดามออกจาก

สวนหวัหรือลูกบล็อกที่มีหลายขนาด สวนที่เปนดามสามารถเปลี่ยนไดตามลักษณะงาน มีช่ือเรียกตาม

รูปราง เชน ดามกรอกแกรก ดามตัวท ีดามแข็ง ดามควง และดามปอนด เปนตน ดามปอนด เปนดามที่มีเกจ

วัดแรงบดิที่ตวัดาม ระหวางลูกบล็อกและดามสามารถตอใหมีความยาวไดขอตอทีน่ิยมใชไดแก ขอตอส้ัน

ขอตอยาว และขอตอออน เปนตน ขอตอออนเปนขอตอที่บิดงอไปมาไดในงานในพื้นที่โคงงอ

Page 24: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

40

ภาพที่ 2.39 ประแจบล็อก 2.3.3.7 ประแจสลัก (Pin spanners) ใชสําหรับขันชิ้นงานที่มีแปนเกลียวพเิศษเปนรูกลม

ภาพที่ 2.40 ประแจสลัก

2.3.3.8 ประแจขันทาย (End spanners) เปนประแจที่ใชขันแปนเกลียวที่มีรองเปนเหล่ียม

ภาพที่ 2.41 ประแจขันทาย

Page 25: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

41

2.3.3.9 ประแจตะขอ (Hook spanners) เปนประแจที่มลัีกษณะสวนปากเปนเดือยคลายตะขอมี

ทั้งกลมและเหลี่ยม ใชขันแปนเกลียวที่มีรูกลม

ภาพที่ 2.42 ประแจตะขอ

2.3.3.10 ประแจแอล (Hexagon Socket Wrench) ใชสําหรับขันหรือคลายสกรูหัวฝงหก

เหล่ียม

ภาพที่ 2.43 ประแจแอล

ในการใชประแจ ควรตรวจสอบกอนใชทกุครั้ง อยาตอประแจเพื่อลดการออกแรง ประแจที่ชํารุดไม

ควรนําไปใชงาน สําหรับประแจเลื่อนกอนใชตองปรับปากใหตึงพอดีกับขนาดน็อตที่จะขัน ถาปรับปากไม

ตึงจะทําใหหวัน็อตเยินได การขันน็อตควรดึงประแจเขาหาตัว สามารถปองกันการเกิดอุบัติเหตุไดงายกวา

ผลักออกจากตวั และประแจตองสะอาดไมเปรอะเปอนน้าํมันหรือจารบ ี

Page 26: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

42

2.3.4 คีม (Pliers)

คีมเปนเครื่องมือที่ใชสําหรับจับ บิด ตดั ดงึ พับ บีบ หรือตัดชิ้นงาน คมีทําจากเหล็กกลาผสม คีมมี

หลายชนิด และขนาด สามารถเลือกตามลักษณะการใชงาน มีดังนี ้

2.3.4.1 คีมปากผสม (Combination pliers) เปนคีมทีม่ีปากหลายลักษณะ ทั้งฟนหยัก ฟนแบน

ดานนอก และคมตัด ดามคีมมีลายกันล่ืน บางแบบจะมีฉนวนไฟฟาหุมที่ดามดวย สามารถใชประโยชน

หลายอยาง เชน จับงานแบน จับงานกลม ปากตัดลวด เปนตน

ภาพที่ 2.44 คมีปากผสม

2.3.4.2 คีมตัด (Diagonal pliers) เปนคมีที่มีปากเปนคมตัด ใชตดัลวด ตัดสายไฟ ดึงและถาง

สลักผา ฯลฯ

ภาพที่ 2.45 คมีตัด

2.3.4.3 คีมปากแบนยาว (Flat nose pliers) เปนคีมที่มีปากเปนลักษณะแบน แคบและมีความยาว

มาก ใชจับงานในทีแ่คบ

ภาพที่ 2.46 คมีปากแบนยาว

Page 27: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

43

2.3.4.4 คีมปากกลมยาว (Round nose pliers) เปนคีมที่ใชจับหรือตัดงานที่เปนรูหวง หรือดัดหวง

ภาพที่ 2.47 คมีปากกลมยาว

2.3.4.5 คีมปากขยาย (Slip-joint pliers) เปนคีมที่สามารถขยายปากใหมีความกวางเพิ่มขึ้นได ใช

จับงานที่มีขนาดโตกวาที่คีมธรรมดาจับได

ภาพที่ 2.48 คมีปากขยาย

2.3.4.6 คีมลอค (Vice-Grip pliers) เปนคีมที่ใชจับงานที่ตองการใหแนนแข็งแรงเมือ่ปลอยมือ คีมก็

ยังสามารถจับยึดงานได

ภาพที่ 2.49 คมีลอค

ในการใชคีมนัน้ ควรใชคีมที่อยูในสภาพดีไมชํารุดเสียหาย ไมควรใชคีมจับขันน็อตหรือการใชคมี

ไมเหมาะกับลักษณะงาน และอยาใชคีมเกินกําลังที่คีมจะรับไดหรือตอแขนคีมหรือเอาคอนตอกลงคีมเพื่อ

เพิ่มแรง ซ่ึงจะทําใหคีมชํารุดเสียหายได

Page 28: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

44

2.3.5 แทนระดับ (Surface plate)

แทนระดับ เปนแทนเหล็กหลอขนาดใหญผิวหนาแบนเรียบ ทําหนาที่เปนโตะสําหรับงานราง

แบบ การเกิดรอยเยินขึน้บนแทนระดับเพยีงเล็กนอย จะสงผลใหงานรางแบบเกดิการผิดพลาดได หลังจาก

เลิกใชตองทําความสะอาด ชโลมน้ํามัน แลวปดดวยฝาปดที่ทําดวยไม แทนระดับที่ผานการขูดผิวหรือแทน

ระดับที่ทําจากหินแกรนิตจะมีราคาแพงกวาแทนระดับทีท่ําจากเหลก็หลอผานกรรมวิธีการปาดผิวหนาดวย

เครื่องไสหรือเครื่องกัด

ภาพที่ 2.50 แทนระดับ

2.3.6 ฉากชวยงานรางแบบ (Angle plate)

ฉากชวยงานรางแบบ เปนแทนเหล็กซึ่งมหีนาทั้งสองดานตั้งฉากซึ่งกนัและกนั มีหนาที่ยึดชิน้งาน

หรือชวยประกบไมใหช้ินงานพลิกเวลาขีดดวยเวอรเนียไฮเกจหรือขอชางบนแทนระดับ หลังจากใชงานแลว

ตองทําความสะอาดและชโลมน้ํามันกอนนาํไปเก็บ

ภาพที่ 2.51 ฉากชวยงานรางแบบ

Page 29: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

45

2.3.7 แทนตัววี (V-Block)

แทนตวัวี เปนแทนโลหะมีรูปรางตัววี ใชสําหรับเปนตวัรองรับชิ้นงานทรงกลม เนื่องจากการราง

แบบหรือการเจาะชิ้นงานกลมจะเกิดปญหาจากชิ้นงานกลิง้ไปมาได

ภาพที่ 2.52 แทนตัวว ี

2.3.8 เหล็กตอกรางแบบ (Prick punch)

เหล็กตอกรางแบบเปนเครื่องมือที่มีปลายแหลม มีมุมระหวาง 30 – 60 องศา ใชสําหรับตอกหมาย

บนเสนรางแบบ เพื่อใหเห็นไดชัดเจนไมลบงาย

ภาพที่ 2.53 เหล็กตอกรางแบบ

2.3.9 เหล็กตอกนําศูนย (Center punch)

เหล็กตอกนําศนูย เปนเครื่องมือที่มีรูปรางคลายกับเหล็กตอกรางแบบ แตมีมุมที่สวนปลายแหลม

แตกตางกันคือ มีมุม 90 องศา หนาที่ของเหล็กตอกนําศูนย คือ ใชตอกนาํศูนยกลางกอนเจาะ ซ่ึงจะทาํให

เจาะงานไดตรงจุดที่ตองการ

ภาพที่ 2.54 เหล็กตอกนําศนูย

Page 30: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

46

2.3.10 เหล็กตอกตัวเลขและตัวอักษร (Stamps) เหล็กตอกตวัเลขและตัวอักษร เปนเครื่องมือที่ใชทําใหเกิดสัญลักษณหรือรหัสบนชิ้นงาน

กอนตอกควรพิจารณาวางใหถูกตอง และวางแผนใหเปนระเบียบโดยการขีดเสนรางไวกอน เวลาตอกจะตองวางเหล็กตอกใหตั้งฉากกับผิวงาน

ภาพที่ 2.55 เหล็กตอกตวัเลขและตัวอักษร

2.3.11 เหล็กสง (Punch) เหล็กสง เปนเครื่องมือสําหรับสงหรือถอดงานจําพวกสลัก สวนปลายของเหล็กสงจะมี 2

แบบ คือ ปลายเรียว (Drift punch) และปลายทรงกระบอก (Pin punch) การใชเหล็กสงนั้นในตอนแรกของการเริ่มถอดสลักควรใชเหล็กสงปลายเรียว เพื่อปองกนัการคดงอของเหล็กสง ถาใชเหล็กสงปลายทรง กระบอกกอน เมื่อออกแรงมากแตไมทําใหสลักหลุดออกมาไดจะทําใหเหล็กสงงอ

ภาพที่ 2.56 เหล็กสงปลายเรียว และปลายทรงกระบอก

2.3.12 เหล็กตอกเจาะรู (Hallow Punch)

เหล็กตอกเจาะรู เปนเครื่องมือสําหรับเจาะรูบนวัสดแุผนบาง เชน โลหะออน ยาง หนัง

กระดาษ เปนตน ควรวางชิน้งานบนไมแผนเรียบ เพื่อปองกันการเยนิของเหล็กตอกเจาะรู

ภาพที่ 2.57 เหล็กตอกเจาะรู

Page 31: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

47

2.3.13 เคร่ืองมือชวยจับรูปตัวซี (C- Clamp)

เครื่องมือชวยจับรูปตัวซี เปนเครื่องมือสําหรับจับชิ้นงาน ซ่ึงไมเหมาะที่จะจับยึดดวยปากกา

เนื่องจากปากกาไมสามารถเปลี่ยนทิศทางการจับยึดไดสะดวก

ภาพที่ 2.58 เครื่องมือชวยจบัรูปตัวซี

2.3.14 ปากกาจับงาน ( ฺBench Vise)

ปากกาจับงาน เปนเครื่องมือสําหรับจับยึดชิ้นงานบนโตะงาน ปากกาจับงานทําจาก

เหล็กหลอมีปากสามารถเลื่อนเขาออกไดโดยการหมุนมอืหมุน หลังจากเลิกใชงานแลวตองทําความสะอาด

ชโลมน้ํามันที่สวนปากของปากกา และสกรูนําเลื่อน จากนั้นหมนุมือหมุนใหระยะหางของปากกาทั้งสอง

ของปากกาหางกัน 20 มิลลิเมตร ปลอยมือหมุนใหอยูในแนวดิ่ง

ภาพที่ 2.59 ปากกาจับงาน

Page 32: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

48

2.3.15 ตะไบ ( ฺFiles)

ตะไบ เปนเครื่องมือสําหรับลดขนาดชิ้นงาน ปรับแตงผิวงานใหเรียบ หรือเปลี่ยนรูปรางชิ้นงาน

ตะไบมีหลายแบบ และขนาด เชน ตะไบแบน ตะไบทองปลิง ตะไบสี่เหล่ียม และตะไบกลม เปนตน

ภาพที่ 2.60 ตะไบ

2.3.16 แปรงปดตะไบ ( ฺFiles brush)

แปรงปดตะไบ เปนแปรงที่ใชสําหรับทําความสะอาดรองตะไบ หลังจากใชงานในรองตะไบจะ

มีเศษโลหะตดิอยู ถาไมทําความสะอาด เศษโลหะที่ติดอยูจะไปขูดผิวงานทําใหเกิดรอยขูดขีด ขนแปรงควร

ทําดวยเหล็กจะทําความสะอาดไดดกีวาวัสดุอ่ืน

ภาพที่ 2.61 แปรงปดตะไบ

2.3.17 แปรงปดชิ้นงาน ( ฺBrush)

แปรงปดชิ้นงาน เปนแปรงที่ใชสําหรับทําความสะอาดผิวหนาชิ้นงานกอนที่จะตรวจสอบ

ขนาด หรือตรวจสอบผิวงานเพื่อไมใหเศษโลหะ หรือเศษผงติดอยูกบัผิวงานอันจะทาํใหเกิดการผิดพลาดใน

การตรวจสอบได แปรงปดชิน้งานสวนมากจะนิยมใชแปรงทาสีขนาด 3 นิ้วแทน เนือ่งจากหาซื้อไดสะดวก

Page 33: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

49

ภาพที่ 2.62 แปรงปดชิ้นงาน

2.3.18 เหล็กขูด ( ฺScraper)

เหล็กขูด เปนเครื่องมือตกแตง เพื่อใหผิวงานเรียบกวาผิวงานจากการตะไบ ลดผิวสัมผัส

ระหวางหนาสัมผัสของผิวงาน 2 ช้ิน และชวยใหน้ํามนัสามารถเกาะอยูกับผิวงานนัน้ได งานที่พบสวนใหญ

ไดแก งานขูดแทนระดับ ขูดแบริ่งเครื่องยนต เปนตน

ภาพที่ 2.63 เหล็กขูด

2.3.19 สกัด ( ฺChisels)

สกัด เปนเครื่องมือที่ใชตัดแยก ถากผิว โลหะ เพื่อใหเรียบ กอนทีจ่ะนําไปปรับผิวดวยเครื่องมือ

อยางอื่น สกัดมีหลายแบบ เชน สกัดปลายแบน สกัดปลายมน สกัดปลายจิ้งจก เปนตน กอนจะนําสกัดไปใช

งานจะตองพิจารณาวาคมตัดจะตองแข็งกวาโลหะที่จะนําไปสกัด สวนที่รับแรงกระแทกจากคอนจะตองไม

มีรอยเยิน

ภาพที่ 2.64 สกัด

Page 34: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

50

2.3.20 เล่ือยมือ ( ฺHand Hack Saw) เล่ือยมือ เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับตัดแบงชิ้นงานอยางหยาบ ๆ สามารถใชไดกับงานที่มีขนาด

โตไมมากนัก เล่ือยมือมีสวนประกอบ 2 สวน คือโครงเลื่อย (Frame) และใบเลื่อย (Blade)

ภาพที่ 2.65 เล่ือยมือ

2.3.21 เหล็กขีด ( ฺScriber) เหล็กขีด เปนเครื่องมือที่ใชขีดเพื่อรางแบบงานมีหนาทีเ่หมือนกับดินสอ เหล็กขีดทําจากเหลก็

กลาโดยใหปลายแหลมซึ่งอาจมีดานเดียวหรือสองดานก็ได ปลายดานงอมีหนาที่ขีดเสนในสวนที่ปลายดานตรงไมสามารถเขาไปขีดได เมื่อจะลับเหล็กขีดใหแหลมคมควรลับดวยหินน้ํามนัไมควรลับดวยหินเจยีรนยั เพราะความรอนที่เกิดจากการลับจะทําใหความแข็งของเหล็กลดลง

ภาพที่ 2.66 เหล็กขีด

2.3.22 วงเวียน (Divider)

วงเวยีน เปนเครื่องมือสําหรับขีดใหเปนวงกลม ใชถายแบบ หรือแบงเสน ปลายทั้งสองขางของ

วงเวยีนเปนเหล็กมีปลายแหลม

ภาพที่ 2.67 วงเวียน

Page 35: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

51

2.3.23 วงเวียนขางอ (Hermaphrodite caliper)

วงเวยีนขางอ จะแตกตางจากวงเวยีนธรรมดา ตรงที่ขาขางหนึ่งของวงเวยีนเปนเหล็กแหลม

ปลายอีกขางหนึ่งจะเปนขางอ ขาดานงอมีหนาที่เกีย่วงาน ขาดานที่แหลมมีไวสําหรับขีดงาน ใชในการหา

ศูนยกลางวงกลม ขีดเสนใหขนานกับขอบงาน

ภาพที่ 2.68 วงเวียนขางอ

2.3.24 ขอชาง (Sureace guage)

ขอชาง เปนเครื่องมือที่ใชงานรางแบบเปนสวนใหญ กอนขีดตองเทียบขนาดกับเครื่องมือวัดเพื่อ

ทราบระยะทีจ่ะขีด เวลาขีดจะใชงานรวมกับแทนระดับ

ภาพที่ 2.69 ขาชาง

Page 36: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

52

2.3.25 ดอกควาน (Reamer)

ดอกรีมเมอร เปนเครื่องมอืที่ใชควานผวิรูใหเรียบ ซ่ึงมีทั้งใชดามจับควานดวยมือ และใชกับ

เครื่องเจาะ แตตองใชความเรว็รอบที่ต่ํา ผิวงานจึงเรียบ

ภาพที่ 2.70 ดอกควาน

2.3.26 ดอกตัดเกลียวใน (Taps)

ดอกตัดเกลียวใน เปนเครื่องมือที่ใชทําเกลียวเพื่อใสน็อตโดยปกตดิอกตัดเกลียว 1 ชุด

ประกอบดวย ดอกตัดเกลียว 3 ดอก ดวยกนั คือ ดอกตัดนํา ตอกตัดกลาง และดอกสาํเร็จ

ภาพที่ 2.71 ดอกตัดเกลยีวใน

Page 37: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

53

2.3.27 ดอกตัดเกลียวนอก (Dies)

ดอกตัดเกลียวนอก เปนเครื่องมือที่ใชทําเกลียวนอกหรอืข้ึนเกลียวมีขนาดตาง ๆ กัน ตามขนาด

ของเกลียวที่ตองการใช สวนมากเกลยีวทีม่ีขนาดเล็ก ๆ ไมนิยมที่จะขึ้นเกลียว สกรูที่ไดจากการทําเกลียว

หรือข้ึนเกลียวดวยมือจะเปนเกลียวปากเดยีว

ภาพที่ 2.72 ดอกตัดเกลยีวนอก

2.3.28 ดอกผายปาก (Counter Sink)

ดอกผายปาก เปนเครื่องมือที่ใชในการผายปากเจาะรูเพือ่ใหสกรูหวัเรียว (Taper Head Screw)

ฝงลงไปในรองผายปากรู ดอกผายปากจะมมีุมสวนปลาย 90 องศา

ภาพที่ 2.73 ดอกผายปาก

2.3.29 ดอกควานฝงหัว (Counter Bore)

ในการประกอบงานบางชิ้นจําเปนตองใชสกรูที่มีหัวเปนบาฉาก ซ่ึงสวนหวัตองฝงลงไปในเนื้อ

ช้ินงาน ดังนัน้จึงตองใชดอกควานฝงหวัควานหลังจากเจาะนําดวยดอกสวานแลวเพื่อใหเกิดบาเปนมมุฉาก

ภาพที่ 2.74 ดอกควานฝงหวั

Page 38: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

54

2.3.30 ดอกนําศูนย (Counter Drill)

ดอกนําศูนย เปนเครื่องมือที่ใชในการเจาะที่ตองการความเที่ยงตรงมาก ๆ ถาใชดอกสวานเจาะ

นําในครั้งแรก สวนที่เปนคมขวางจะทาํใหความเทีย่งตรงของงานผิดไป ดังนัน้จึงควรใชดอกนําศนูยเจาะนํา

กอนเพราะดอกนําศูนยมีความคมขวางนอยกวา ในการเจาะนําดวยดอกนําศูนยจะมีระยะจํากดั ถาเจาะลึก

เกินสวนที่เรียว ดอกนําศูนยจะหกัได

ภาพที่ 2.75 ดอกนําศูนย

2.4 เครื่องมอืกล เครื่องมือกล เปนเครื่องมือทุนแรงที่สําคัญสําหรับงานชางทั่วๆ ไป เครื่องมือกลตาง ๆ จะชวยใหการ

ปฏิบัติงานทําไดรวดเร็วขึ้น เนื่องจากเครื่องมือกลจะใชตนกําลังจากไฟฟา เครื่องมือกลที่สําคัญมีดังนี้

2.4.1 สวานไฟฟา (Electric Drill)

สวานไฟฟา เปนเครื่องมือที่ชวยในการเจาะชิ้นงาน สวนปลายจะมีหวัจับดอกเจาะไดหลายชนิด

และหลายขนาด ที่ใชกนัทั่วไปมีอยู 2 แบบ ดังนี ้

2.4.1.1 สวานมือ (Handle Electric Drill) ใชเจาะชิน้งานที่ตองการความโตของรูไมเกิน 5 หุน

ในการเจาะรูขนาดใหญดวยสวานมือ ควรใชดอกเจาะนํากอน แลวจึงใชดอกที่มีขนาดตามตองการ

ภาพที่ 2.76 สวานมือ

Page 39: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

55

2.4.1.2 สวานแทน (Electric Drill Stand) เปนเครื่องมือกลที่ใชอยูกบัที่ เคล่ือนยายไมสะดวก ใช

เจาะชิ้นงานทีม่ีความโตของรูมาก ๆ ช้ินงานที่ไดจะมีความเที่ยงตรงสูง ในการเจาะรูขนาดใหญควรเจาะดวย

ดอกนําศูนยกอน และดอกที่มีขนาดโตขึ้นตามลําดับ แลวจึงใชดอกที่มีขนาดตามตองการ กอนใชงานควร

ตรวจเครื่องวาชํารุดหรือไม การเจาะรูที่มีขนาดใหญควรใชความเรว็รอบที่ต่ํา และจบัยึดชิ้นงานใหแข็งแรง

มั่นคง

ภาพที่ 2.77 สวานแทน

2.4.2 ไฟเบอรตัดเหล็ก (Cutter Wheel)

ไฟเบอรตัดเหล็ก เปนเครื่องมือตัดเหล็กทีม่ีลักษณะเปนทอน วงลอตัดทําจากใยหนิผสมไฟเบอร

หมุนดวยความเร็วสูง การใชงานตองระมัดระวังอันตรายจากเศษผงเหล็กและประกายไฟทีเ่กิดจากการตัด

กระเดน็เขาตา ควรหันทายเครื่องไปในที่ปลอดภัย

ภาพที่ 2.78 ไฟเบอรตัดเหล็ก

Page 40: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

56

2.4.3 หินเจียร ( Grinder)

หินเจยีร เปนเครื่องมือที่ชวยในการลดขนาดของชิ้นงาน ใชในการตัดและขัดได ขึน้อยูกับชนิด

ของใบหินเจียรที่ตองการ หนิเจียรทีน่ิยมใชกันมีอยู 2 แบบ ดังนี ้

2.4.3.1 หินเจียรมือ (Angle Grinder) เปนเครื่องมือที่ชวยในการตกแตงผิวช้ินงาน บางครั้งใชใน

การเจียรแนวเชื่อมออกเพื่อถอดสวนประกอบของชิ้นงาน หินเจยีรมือแบงออกตามขนาดของใบหินเจยีรได

2 ขนาด ดวยกันคือ ขนาด 3 นิ้ว และ 5 นิ้ว การประกอบใบหนิเจยีรเขากับเครื่อง ตองขันใหแนนโดยใช

ประแจสลัก (Pin wrench) ซ่ึงจะมีมาใหพรอมกับเครื่อง

ภาพที่ 2.79 หนิเจียรมือ

2.4.3.2 หินเจียรแทน (Grinder Stand) ) เปนเครื่องมือกลที่ใชอยูกับที่ เคล่ือนยายไมสะดวก ใช

ตกแตงชิ้นงาน การใชงานตองระวังเศษผงเหล็กกระเด็นเขาตา ผูปฏิบัติงานควรสวมแวนตาปองกนัเมื่อใช

งาน

ภาพที่ 2.80 หนิเจียรแทน

Page 41: บทที่ 2 าง 2.1 ความนํา - LRU 2.pdfบทท 2 เคร องมอช าง 2.1 ความน า การท างานทางช างเกษตรจะเป

57

2.5 สรุป ลักษณะงานทางชางเกษตร เปนการซอมแซม การบํารุงรักษา และการประดษิฐ เครื่องมอืทาง

การเกษตร ในการปฏิบัติงาน จะตองมีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือทั่วไป เพื่อใหสามารถใชงานไดถูกตองและ

ปลอดภัย เครือ่งมือทางดานชาง สามารถแบงออกเปนประเภทตาง ๆ เชน เครื่องจักรกล (Power Tools)

เครื่องมือขนาดเล็ก (Hand Tools) และเครื่องมือวัด (Measuring Tools) เครื่องมือแตละประเภทจะมีขอควร

ระวังในการใชแตกตางกันไป ดังนั้นผูใชจะตองระมดัระวงัในการใชงาน เพื่อใหสามารถใชเครื่องมือไดทน

นาน และมีความปลอดภัยในระหวางการปฏิบัติงาน