บทที่ 2 - burapha...

26
บทที2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในบทนี้ผูศึกษาไดทําการศึกษาคนควาขอมูลที่เกี่ยวของกับความคิดเห็นของเจาหนาทีผูปฏิบัติงานตามโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) ของหนวยงานราชการในจังหวัดชลบุรี โดยนําเสนอตามลําดับ ดังนี1. แนวนโยบายของรัฐบาล 2. แนวคิดเกี่ยวกับระบบงบประมาณ และระบบการเงินและการบัญชี 3. การบริหารงบประมาณดวยระบบอิเล็กทรอนิกส 4. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดเห็น 5. แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติและการปฏิบัติ 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวนโยบายของรัฐบาล คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่รองนายกรัฐมนตรี (นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ) ประธาน อนุกรรมการกํากับการดําเนินการออกแบบโครงสรางและรายละเอียดระบบการบริหารงานการคลัง ภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) เสนอมติคณะกรรมการปรับปรุงระบบการบริหารงาน การคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ดังนี(กรมบัญชีกลาง, ออนไลน, 2548) 1. เห็นชอบเคาโครงการออกแบบระบบการคลังในระบบอิเล็กทรอนิกส และแผนปฏิบัติการ 2546-2548 เพื่อดําเนินการออกใช ตามที่ธนาคารกรุงไทยเสนอ โดยใหมีการจัดสราง national system เพื่อเปนลิขสิทธิ์ของรัฐบาลตอไป รวมทั้งกรอบวงเงินลงทุน คาบริหารจัดการ คาดําเนินการ โครงการฯ โดยมอบหมายใหธนาคารกรุงไทยเปนผูลงทุนและจัดหาอุปกรณ hardware software ระบบเครือขายและความปลอดภัยไปกอนจนกวาระบบจะแลวเสร็จและมีการสงมอบใหกับรัฐบาล ภายในวงเงินไมเกิน 1,500 ลานบาท ทั้งนีใหเปนไปตามที่มีการเบิกจายจริง ประหยัด และมี ประสิทธิภาพ 2. มอบหมายใหกระทรวงการคลัง สํานักงบประมาณ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร รับผิดชอบรวมกับสํานักงานโครงการฯ สํานักนายกรัฐมนตรี และธนาคารกรุงไทย เพื่อตรวจสอบรายละเอียด และคาใชจายลงทุน

Upload: others

Post on 05-Mar-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

5

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในบทนี้ผูศึกษาไดทําการศึกษาคนควาขอมลูที่เกี่ยวของกบัความคิดเหน็ของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตามโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงนิการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) ของหนวยงานราชการในจังหวดัชลบุรี โดยนําเสนอตามลําดับ ดังนี ้

1. แนวนโยบายของรัฐบาล 2. แนวคดิเกีย่วกับระบบงบประมาณ และระบบการเงินและการบัญช ี3. การบริหารงบประมาณดวยระบบอิเล็กทรอนิกส 4. แนวคดิทฤษฎีเกีย่วกับความคิดเหน็ 5. แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติและการปฏิบัติ 6. งานวิจยัที่เกี่ยวของ

แนวนโยบายของรัฐบาล

คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่รองนายกรัฐมนตรี (นายสมคิด จาตศุรีพิทักษ) ประธานอนุกรรมการกาํกับการดําเนนิการออกแบบโครงสรางและรายละเอียดระบบการบริหารงานการคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) เสนอมติคณะกรรมการปรบัปรุงระบบการบริหารงานการคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ดงันี้ (กรมบัญชกีลาง, ออนไลน, 2548) 1. เห็นชอบเคาโครงการออกแบบระบบการคลังในระบบอิเล็กทรอนิกส และแผนปฏิบัตกิารป 2546-2548 เพื่อดําเนินการออกใช ตามทีธ่นาคารกรุงไทยเสนอ โดยใหมีการจัดสราง national system เพื่อเปนลิขสิทธิ์ของรัฐบาลตอไป รวมทั้งกรอบวงเงินลงทุน คาบริหารจัดการ คาดําเนินการโครงการฯ โดยมอบหมายใหธนาคารกรุงไทยเปนผูลงทนุและจดัหาอปุกรณ hardware software ระบบเครือขายและความปลอดภัยไปกอนจนกวาระบบจะแลวเสร็จและมีการสงมอบใหกับรัฐบาล ภายในวงเงินไมเกิน 1,500 ลานบาท ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่มีการเบิกจายจริง ประหยดั และมีประสิทธิภาพ 2. มอบหมายใหกระทรวงการคลัง สํานักงบประมาณ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รับผิดชอบรวมกับสาํนกังานโครงการฯ สํานักนายกรัฐมนตรี และธนาคารกรุงไทย เพื่อตรวจสอบรายละเอียด และคาใชจายลงทุน

Page 2: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

6

ในการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2546 นายกรัฐมนตรี พันโททักษณิ ชินวัตร ไดเสนอวา การนําระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (government fiscal management information system-GFMIS) มาใชในภาคราชการ ซ่ึงไดเร่ิมทดลองใชกับสํานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง สํานักงานการตรวจเงินแผนดนิ และสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะเปนหนวยงานนํารองมาตั้งแตวนัที ่1 ตุลาคม 2546 แลว และไดนําระบบดังกลาวมาใชอยางจริงจังกบัทุกสวนราชการ และองคกรอิสระ ทั้งในสวนกลางและสวนภูมภิาคตั้งแตวนัที่ 1 ตลุาคม 2547 เปนตนไปและในอนาคตอาจจะโอนใหกรมบัญชีกลางเปนผูรับผิดชอบระบบดังกลาวทั้งหมดตอไป ซ่ึงคณะรัฐมนตรีพิจารณา ลงมติรับทราบและเห็นชอบตามที่นายกรัฐมนตรเีสนอ ระบบ GFMIS เปนระบบที่มกีารบูรณาการ (integrated) เชื่อมโยงภายในแตละระบบงานอยางสมบูรณ โดยการนําเขาขอมูลจะนําเขาเพียงครั้งเดยีว (single entry) และระบบจะบันทึกรายการที่เกีย่วของใหอัตโนมัติ การปรับปรุงขอมูลเปนแบบทันทีทันใด (online real-time) แลวผูใชระบบสามารถเรียกรายงานไดในหลายรูปแบบ เชน รายงานที่เกิดจากขอมูลงานประจําวันทั้งดานระบบจัดซื้อ ระบบงบประมาณ และระบบบัญชีการเงิน รายงานสําหรบัผูบริหารในแตละระดับ ทั้งผูบริหารระดับหนวยเบิกจาย กองคลัง กองพัสดุ กรม กระทรวง และระดับรัฐบาล ทั้งนี้ตามสิทธิ (authorization) ที่ไดรับในแตละเครื่อง โดยขอมูลการบันทึกจะเขาไปอยูในฐานขอมลูกลางของระบบแยกตามกลุมมาตรฐานรหัสที่อยูในรายการนั้น ๆ ทําใหการใชขอมูลจากการเรียกรายงาน ตาง ๆ สามารถมองในมิติของแตละกลุมมาตรฐานรหัสนั้น ๆไดในความละเอียด เชน ตามรหัสโครงสรางสวนราชการ และพื้นที่ ตามเอกสาร UA ของหนวยงานทาน ตามรหัสงบประมาณ และผลผลิต ตามผังบัญชี รหัสพัสดุ GPSC และรหัสผูขายเปนตน

หลักการและแนวคิดของรัฐบาล ในการดาํเนินโครงการฯ ปรัชญาของการปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐครั้งนี้ คือ ทําการเงนิภาครัฐทั้งหมดใหโปรงใส ชัดเจน มีประสิทธิภาพ เปนประโยชนตามเปาหมายที่กําหนดไวในการบรหิารประเทศดแูลประชาชน บําบัดทุกขบํารุงสุข กระจาย และสรางความเจริญใหเกดิขึ้น ที่ผานมา รัฐบาลจะบริหารจดัการงบประมาณ ทําแผนออกมา แตผลสุดทายไมรูวา การจายเงนิ การลงทุน การบริหารดังกลาวนั้น ประชาชนไดรับจริงหรือไม ถูกตองหรือไม เปนธรรมหรือไม ปญหาในอดีต คือ การดูแลเร่ืองการใชจายของรัฐวา ดหีรือไมด ีมีการคอรัปชั่นหรือไม โปรงใสหรือไม ชัดเจนหรือไม เปนเรื่องที่พูดกนัมาโดยตลอด คร้ังนี้เปนครั้งแรกที่รัฐบาลจะปฏิรูปการจัดการใหโปรงใสที่สุด ใหบรรลุเปาหมายตาม ที่กําหนดไวใหไดรับผลตอบแทนที่คุมคากับเงินที่เรียกเก็บมาจากประชาชน เพราะไมวาจะเขียน

Page 3: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

7

กฎหมายดีอยางไรจะมีระบบนโยบายดีอยางไร คนจะเกงอยางไรก็แลวแตจะไมเปนผล ถางบประมาณไมลงไปถึงเปาหมาย และไมสามารถตรวจสอบการปฏิบัติงานของภาครัฐได ที่ผานมาทุกรัฐบาลพยายามที่จะสรางเครื่องมืออุปกรณ สรางระบบเพื่อการตรวจสอบควบคุมแตผลสุดทายกลายเปนการสรางระบบความลาชา เพราะยิ่งมกีารใชจายเงนิมาก ยิ่งมีคนมาก มีระบบงานมาก มีเปาหมายมาก มีนโยบายมาก ทุกอยางก็เลยกลายเปนเรื่องที่มีระเบียบ มีวิธีการจัดการ ซ่ึงความจริงเปนอุปสรรคในการบริหารทั้งสิ้น คร้ังนี้จึงเปนการแกปญหาเบด็เสร็จจริง ๆ และตรงเปาทีสุ่ด คือ ถาจายเงินลงไปเพื่อทาํตามนโยบาย คําถาม คือ ไดผลอยางไร ไปถึงหรือไม ถูกตองหรือไม บริหารจัดการดีหรือไม มปีระสิทธิภาพหรือไม ไดผลตามที่ตองการหรือไม เปนเปาหมายทีจ่ะตองไดคําตอบ สรุปไดวา โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) เปนระบบการบริหารจัดการ การเงินการคลัง และบริหารภาครัฐ ใหโปรงใสทีสุ่ด รวดเร็วทีสุ่ด มีประสิทธิภาพ วดัผลได ติดตามได ตรวจสอบได แกไขได ปรับปรุงได ที่สําคัญที่สุด เปดเผยได พูดงาย ๆ คือ ขจัดความมดืออกจากระบบ ขจัดอุปสรรค ขอกีดขวางทั้งหมด ทําใหการจัดการของประเทศสูจดุที่กํากับ ควบคุม ดูแลใหเปนไปตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพดวยความถูกตอง ประหยดั ชัดเจน ไมมีการฉอราษฎรบังหลวง เพราะระบบจะเหมือนกับเอ็กซเรยการไหลของเงิน ซ่ึงเปนเหมือนเสนเลือดในการหลอเล้ียงเศรษฐกิจทั้งหมดใหตรวจสอบไดทุกขั้นตอน

วัตถุประสงคของโครงการฯ (โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส, ออนไลน, 2548) โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส ไดสรางและดําเนินการจัดทํา ระบบหลัก ดานการเงินการคลังภาครัฐ (core function) ที่รองรับการบริหารงบประมาณ การบริหารการคลัง และบัญชีหลัก ที่ครอบคลุม การเงินการคลัง เปนระบบเดียว เชื่อมโยงอยางบูรณาการครบวงจร สามารถรวบรวมขอมลูดานการเงินการคลัง พันธกิจ และ การบริหารงบประมาณ รายรับรายจาย เงินนอกงบประมาณ การกูยืม และการบริหารฐานะเงินคงคลัง ที่ถูกตอง รวดเร็ว ทันเวลา (online real-time) ระบบนี้เปนการปฏิรูปการบริหารงานในแนวทางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-government ในสวนของ e-fiscal & finance)

ขอบเขตของโครงการฯ โครงการปรับปรุงระบบการบริหารงานการคลังภาครัฐ (GFMIS) เปนโครงการดําเนินการปรับปรุงระบบการจัดการของหนวยงานภาครฐั ใหมีความทนัสมัยและมีประสิทธิภาพ โดยนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศทันสมัยมาประยุกตใช เพื่อปรับกระบวนการดําเนนิงาน และ

Page 4: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

8

การจัดการภาครัฐดานการงบประมาณ การบัญชี การจัดซ้ือจัดจาง การเบิกจายงบประมาณ และ การบริหารทรัพยากรบุคคล ใหเปนไปในทิศทางเดียวกบันโยบายปฏรูิประบบราชการ ที่เนนประสิทธิภาพและความคลองตัวในการดําเนินงาน ทําใหการใชทรัพยากรภายในองคกรเปนไป อยางคุมคา พรอมกับการไดขอมูลสถานภาพการคลังของรัฐที่ถูกตอง รวดเรว็ และทนัการณ เพื่อการบริหารนโยบายเศรษฐกจิของประเทศ

การดําเนินงานตามโครงการฯ ประกอบดวย 1. ระบบวางแผนและจดัทาํงบประมาณ เพือ่รองรับการวางแผนและจัดทํางบประมาณแบบมุงเนนผลงาน (performance based budgetary) ที่เนนผลผลิตและผลลัพธ (output-outcome) รวมทั้งเปนเครื่องมือที่จะชวยในการจัดทํางบประมาณในแตละขั้นตอน โดยระบบ GFMIS จะตอเชื่อมและทาํงานรวมกับระบบ BIS ของสํานักงบประมาณ 2. ระบบการติดตามการใชจายงบประมาณ (budget monitoring) ซ่ึงจะติดตามเปรียบเทียบการใชจายงบประมาณกับเปาหมาย ผลผลิตเปนรายเดือน รายไตรมาส เพือ่ใชในการวิเคราะหคาใชจายตนทนุดานตาง ๆ โดยเฉพาะคาใชจายดานบุคลากร 3. ระบบการบรหิารการเบกิจายแบบอิเล็กทรอนิกส (budget execution and electronic payment system) เพื่อใหการบริหารเงินสดมีประสิทธิภาพ และมีสภาพคลองที่ดีขึ้น โดย สวนราชการไมตองเบิกเงินสํารองเก็บไวในบัญชีของแตละสวนราชการ นอกจากนี ้ยังเปนระบบ ที่สามารถควบคุมติดตามอนมุัติการเบิกจายไดอยางเปนขั้นตอน และเพิ่มประสิทธิภาพ และความรวดเร็วในการเบิกจาย การโอนเงินแกคูสัญญาไดเร็วขึ้น ทําใหคูสัญญาลดภาระดานดอกเบี้ย อันจะนํามาสูราคาซึ่งลดลงในที่สุด 4. ระบบขอมูล สําหรับผูบริหาร ในการตดิตามการเบิกจายงบประมาณ ซ่ึงจะสามารถใหขอมูลแบบ online real-time ทันทีที่บันทึกรายการ ทั้งนี้เพื่อใชในการวเิคราะหการใชจายงบประมาณวาเปนไปตามเปาหมาย ระยะเวลาที่กําหนดไวหรือไม และเปนระบบทีใ่ชในการวิเคราะห กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ การใชจายงบประมาณโดยละเอียดแตละรายการไดตลอดเวลา และเปนระบบที่เชื่อมตอกับระบบการสั่งจายเงิน (payment system) ของธนาคารกรุงไทย และคณะรัฐมนตรีใชในการบริหาร ติดตามเปาหมายการดําเนินงานของสวนราชการ 5. ระบบบัญชีการเงิน การคลังภาครัฐแบบเกณฑคงคาง (national accounting system) ซ่ึงจะรวบรวมขอมูล และจัดทํางบการเงินของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ ในภาพรวมทัง้หมด 6. ระบบการจดัซื้อ เพื่อการลงทุนสินทรัพยถาวร เปนระบบการจัดซื้อเพื่อการลงทุนสินทรัพยถาวรที่เชื่อมโยงกบัระบบงบประมาณและบัญชีการเงิน

Page 5: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

9

7. ระบบขอมูลเพื่อติดตาม ตรวจสอบ (auditing information system) ซ่ึงจะใชในการกํากับ ติดตาม การใชงบประมาณของสวนราชการ โดยเจาหนาที่ผูรับผิดชอบสามารถเรียกดขูอมูลไดทันทีโดยไมตองเดนิทางไปยังสวนราชการ อันกอใหเกิดความสะดวก รวดเร็วในการทํางานมากขึ้น 8. ระบบบริหารทรัพยากรบคุคลเฉพาะระบบโครงสรางองคกร (organization management) ทั้งระบบขอมูลบุคลากร (personal administration) ระบบเงินเดือนและผลประโยชน (personal and benefit) เฉพาะขาราชการทีสํ่านักงาน ก.พ.รับผิดชอบ เปนระบบฐานขอมูลขาราชการตนแบบที่มี ขอมูล รายละเอียด บุคลากร และเงินเดือน อยูในฐานขอมูลเดยีวกัน ที่สามารถเรียกดูขอมูลเพื่อการบริหารไดทนัทีแบบ online real-time สรุปไดวา การดําเนินงานตามโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงนิการคลังภาครัฐ สูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) ประกอบดวย การวางแผนและการจดัทํางบประมาณ การติดตามการใชจายงบประมาณ การบริหารการเบกิจายแบบอิเล็กทรอนิกส การบัญชี การบริหารทรัพยากรบุคคล การจัดซื้อจัดจาง และการจัดทําขอมูลเพื่อใชในการวิเคราะห ตดิตาม กํากับ และตรวจสอบไดตลอดเวลา กระบวนงานหลักอิเล็กทรอนิกส 1. กระบวนงานการจัดสรร โอน/ ยายงบประมาณอิเล็กทรอนิกส เปนการปรับเปลี่ยน การจัดสรร/อนมุัติเงินงวด ใหเปนไปตามแผนการใชเงนิรายเดือนของสวนราชการที่เสนอ และสํานักงบประมาณเหน็ชอบ รวมถึงดําเนินการโอน/ยายงบประมาณในระบบ GFMIS โดยตรง และเตรียมการยกเลิกการพิมพใบงวดใหแกสวนราชการ เนื่องจากสวนราชการผูใชระบบ GFMIS สามารถเรียกดูขอมูลการจดัสรรโอน/ยายงบประมาณไดทนัทีจากระบบ 2. กระบวนงานการติดตามการใชจายงบประมาณ การรบัรู/นําสงรายไดแผนดนิ และเบิกจายฎีกาอิเล็กทรอนิกส 2.1 ปรับขั้นตอนการบันทึกการรับรู/การนาํสงรายไดแผนดิน และการกระทบยอดรายการของสวนราชการ โดยสวนราชการทําการบันทึกรายการตรงในระบบ ในกรณสีวนราชการจัดเก็บรายไดหลักที่มีปริมาณรายการมาก เชน กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร ระบบ GFMIS จะเชือ่มโยงตรงสูระบบ 2.2 ในดานจาย ดําเนินการจายตรง โอนเงนิเขาสูบัญชีผูขาย และขาราชการ เตรียมการลด/ยกเลิกเอกสารการเบิกจายระหวางสวนราชการและกรมบัญชีกลาง/คลังจังหวัดเพือ่ลดข้ันตอน และเพิ่มความรวดเร็วในการเบิกจาย 3. กระบวนงานการจัดทําบญัชีอิเล็กทรอนิกสแบบเกณฑคงคาง บัญชีตนทุน และบญัชีบริหาร เพื่อสรางใหเกดิระบบงานมาตรฐานดานการบัญชีของทุกสวนราชการและประเทศ ทั้งนี้

Page 6: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

10

เพื่อลดภาระในการปฏิบัติงาน เพิ่มความสะดวก ความรวดเร็วในการปดบัญชี และจดัทํารายการของทุกสวนราชการ รวมถึงการจัดทําทะเบยีนสินทรัพยถาวรกลาง และเริ่มการบันทึกรายการบัญชีตนทุน 4. กระบวนงานการตรวจสอบอิเล็กทรอนิกส สรางใหเกดิขอมูลเพื่อการติดตาม ตรวจสอบในระบบรวมถึงการจัดเก็บขอมลูยอนหลังเพื่อการตรวจสอบใน electronic media แทนการจัดเก็บรายการที่เปนกระดาษ ทําใหลดปริมาณเอกสาร และสถานที่จัดเก็บของสวนราชการ 5. กระบวนการการจัดซื้อจดัจางอิเล็กทรอนิกส กําหนดมาตรฐานรหสัพัสดุ GPSC เพื่อสรางใหเกดิ catalog อิเล็กทรอนิกสกลาง เพื่อสามารถดําเนินการจดัซื้อจัดจางแบบ e-shopping e-auction และ e-tendering ในอนาคต โดยบันทึกรายการจัดซื้อจัดจางในระบบ ทั้งการจัดซื้อโครงการมูลคาสูง และการจดัซื้อวัสดุใชสอยทั่วไป มูลคาต่ําแตมีปริมาณมาก รวมถึงวิเคราะห เปรียบเทียบราคากลางพัสดุแตละกลุม/ประเภท สรุปไดวา กระบวนงานหลกัอิเล็กทรอนิกส ประกอบดวย กระบวนงานเกี่ยวกับการจัดสรร โอน/ยายงบประมาณ การติดตามการใชจายงบประมาณ การรับรูและนําสงรายไดแผนดิน การเบิกจาย การจัดทําบัญชี การจัดซื้อจัดจาง การจัดทําขอมูลตาง ๆ ที่มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได ซ่ึงมีอุปกรณการทํางานที่สามารถรองรับการปฏิบัติงานของทุกสวนราชการได

ประโยชนท่ีจะไดรับจากโครงการ GFMIS 1. ดานงบประมาณ 1.1 ผูบริหารและผูที่เกี่ยวของสามารถติดตาม และเรียกดขูอมูลสถานภาพการเบิกจาย งบประมาณไดจากระบบ GFMIS ไดทุกขัน้ตอนตั้งแตสถานะใบสั่งซื้อส่ังจาง การวางฎีกา และ การจายเงนิใหแกผูขาย 1.2 ชวยลดภาระการจัดทํารายงานใหสวนกลาง เนื่องจากหนวยงานในสวนกลาง ซ่ึงประกอบดวยกระทรวง สํานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสํานักตรวจเงินแผนดิน สามารถเรียกดูรายงานจากระบบ GFMIS ได 1.3 ชวยใหการเบิกจายงบประมาณมีความสะดวก และรวดเรว็ขึ้นเนื่องจากระบบGFMIS สามารถตรวจสอบงบประมาณจดัสรรไดโดยอัตโนมัติ 1.4 ระบบ GFMIS สามารถรองรับการบริหารตนทุน โดยเฉพาะตนทุนกิจกรรม อันเปนหนึ่งในขอมูลที่สําคัญในการประเมินผลความสําเร็จของผลผลิตและผลลัพธ 2. ดานการเบกิจาย 2.1 ระบบ GFMIS สามารถรองรับ การรับและนําสงรายไดทั้งเงินในงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ และรองรับการบันทึกบัญชีในผังบญัชีมาตรฐาน

Page 7: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

11

2.2 หนวยงานในสวนกลาง สามารถเรียกดูรายงานและตรวจสอบสถานะภาพการรับและนําสงในระบบ GFMIS ไดตลอดเวลา 2.3 ผูที่เกี่ยวของสามารถเรียกดูรายงานการรับและนําสง และลงลึกในรายละเอียดเพือ่ตรวจสอบความถูกตองไดทนัที 2.4 ชวยใหระบบการเบิกจายเงินกับคลังมีความสะดวก รวดเร็วขึน้ อีกทั้งยังเชื่อมโยงระบบเบิกจายไดกับระบบการจัดซื้อจัดจาง และระบบงบประมาณซึ่งสามารถตรวจสอบงบประมาณอตัโนมัติ ณ จดุที่นําขอมูลเขาระบบ และทราบงบประมาณคงเหลือไดทันที 2.5 ลดภาระการจายเงนิของสวนราชการใหแกผูขาย/คูสัญญาในกรณีทีม่ีการสั่งซื้อ ส่ังจางตั้งแต 5,000 บาทขึ้นไป โดยที่กรมบญัชีกลางจะเปนผูส่ังจายเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของผูขาย/คูสัญญาโดยผานระบบของธนาคารกรุงไทย 2.6 ผูขาย/คูสัญญา ซ่ึงเปนเจาหนี้ของสวนราชการจะไดรับชําระเงินรวดเร็วขึน้ ทุกสวนราชการ 3. ดานการจดัซ้ือจัดจาง 3.1 ผูบริหารสามารถเรียกแสดงขอมูลการจัดซ้ือจัดจางไดจากระบบ GFMIS ในหลายมติิตั้งแตในหนวยงานระดับกระทรวง กรม หนวยงานที่ทําหนาที่จดัซื้อจดัจาง และผูขาย 3.2 ลดความซ้ําซอนในการบันทึกขอมูลเนื่องจากการทาํงานในระบบ GFMIS จะคัดลอกขอมูลตั้งแตการทาํใบขอเสนอซื้อเสนอจาง ไปเปนใบสั่งซื้อส่ังจาง และอางอิงในการรับและตั้งเบิก 3.3 ลดเวลาในการจัดเตรียมเอกสารเพื่อการบริหารและติดตามกระบวนการจัดซื้อ จัดจางเนื่องจากมีการบันทึกขอมูลการจัดซื้อจัดจางไวในระบบ GFMIS ซ่ึงผูที่เกี่ยวของสามารถเรียกดูขอมูลจากระบบได 3.4 การกําหนดมาตรฐานรหสัสินคาและบริการภาครัฐจะเปนประโยชนสําหรับการกําหนดราคากลางของพัสดเุพื่อใชประกอบในการวางแผนการจดัทํางบประมาณและการจดัซื้อจดัจาง 4. ดานการบญัชี 4.1 มีการกําหนดรหัสโครงสราง รหัสงบประมาณ และรหัสบัญชีที่สอดคลองและเปนรหัสกลางใชรวมกนัทุกสวนราชการ ซ่ึง CFO ของแตละกรมและจังหวดัสามารถนํามาใชในการบริหารและวิเคราะหขอมูลการเงินการคลังที่ถูกตองและรวดเรว็ 4.2 การบันทกึบัญชีในระบบ GFMIS เปนการบันทึกบญัชีในลักษณะการบันทึกรายการครั้งเดยีว (single entry) ซ่ึงทุกสวนราชการสามารถใชขอมูลรวมกันเปนการชวยลดขั้นตอนการจัดทําขอมลูดานงบประมาณ บัญชี การเงิน การคลัง และการพัสดปุระเภทตาง ๆ

Page 8: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

12

4.3 ระบบ GFMIS จะชวยจดัทํารายงานการเงินประจําวนั งบดุลและงบการเงินอื่น ๆ ซ่ึงชวยอํานวยความสะดวกใหแกคลังจังหวัดในการจดัทาํรายงานการเงนิ การคลัง การปดบัญชีประจําวนั ประจําเดือน และประจําป 4.4 สามารถเรียกดูขอมูลทางดานการเงนิและการบัญชีของจังหวดัไดทนัที ซ่ึงเปนการสนับสนุนการจัดทําขอมลูวิเคราะหการเงิน รายงานภาวการณคลังของจังหวดัดานเศรษฐกิจการคลังใหแกผูวาราชการจังหวดั 5. ดานทรัพยากรบุคคล 5.1 ขอมูลของขาราชการถูกจัดเก็บรวบอยูในระบบ GFMIS ซ่ึงสามารถเรียกดูขอมลูไดงาย และรวดเร็ว 5.2 ผูบริหารสามารถจัดการขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนือ่งจากสามารถเรียกดูขอมูลไดในหลายลักษณะทั้งในภาพรวมและในสวนที่ลึก เชน รายงานจํานวนบุคลากรแยกตามระดับขั้น รายงานบุคลากรแยกตามระดับขั้นเงินเดือน รายงานคาใชจาย ประมาณการทางดานบุคลากรแยกตามหนวยงาน และรายงานอืน่ ๆ โครงการ GFMIS ที่รัฐบาลดําเนินการในครั้งนี้ถือไดวาเปนการปฏิรูปกระบวนการบริหารจัดการดานการเงนิและการคลังครั้งสําคัญที่สุดในประวัติศาสตร จําเปนอยางยิ่งที่จะตองไดรับความรวมมือจากขาราชการทุกคน รวมใจกันนําประเทศไทย กาวสูยุคใหมแหงการเปล่ียนแปลงเพื่อส่ิงที่ดีขึ้น สรุปไดวา ประโยชนทีจ่ะไดรับจากโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) ประกอบดวย ดานงบประมาณ ดานการเบกิจาย ดานการจัดซื้อจัดจาง ดานการบัญชแีละดานการทรัพยากรบุคคล

เปาหมายระบบงาน GFMIS เปาหมายในระบบการดําเนนิงาน ประกอบดวย 1. รวบรวมกระบวนงานดานงบประมาณทัง้หมด ในวนัที ่1 ตุลาคม 2547 เปนรูปแบบสมบูรณ เชน ระบบ AS-IS business blueprint ขึ้นจนครบวงจร ในดานงบประมาณ การรับและเบิกจาย การบญัชีของรัฐ การกําหนดมาตรฐานขอมูล การประเมินผลและการพัฒนาอิเล็กทรอนิกส ใหสามารถปฏิบัติการไดครบวงจร ขนานไปกับการดําเนนิการในระบบเอกสารเดิมเทาที่จําเปน 2. กําหนดมาตรฐานรหัส และกระบวนงานหลักทางอิเล็กทรอนิกสใหเชื่อมโยงกับ ทุกสวนราชการใหเปนระบบมาตรฐานการเงินการคลัง การบัญชี การจัดซ้ือจัดจาง การเบิกจาย ที่สามารถตรวจสอบไดอยางรวดเร็ว (online real-time) และสรางศูนยขอมูลกลาง

Page 9: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

13

3. สรางระบบเครือขายที่สามารถรองรับขอบเขต ปริมาณงานตามความตองการของ สวนราชการหลัก และรองรับการปฏิบัติงานทั่วประเทศแบบรวมศูนย โดยใหขาราชการของ ทุกสวนราชการปฏิบัติงานทั้งในระบบและกระบวนงานปจจุบัน (AS-IS) เพื่อวดัผลและพัฒนากระบวนงาน และระบบงานเขาสูระบบบูรณาการที่สมบรูณ (TO-BE) ในปงบประมาณ 2549 และตอเนื่องอยางถาวร 4. สรางศูนยขอมูลกลาง และศูนยขอมูลปฏิบัติการ ของหนวยราชการระดับกรม กระทรวง และประเทศ และพัฒนาศักยภาพของระบบงาน GFMIS ใหสอดคลองกับนโยบายและเปาหมายของ รัฐบาลในดานความถูกตองโปรงใส ขจัดการประพฤติมิชอบ เพื่อใหเกดิประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ตลอดจนเพื่อความผาสุขของประชาชน สรุปไดวา เปาหมายระบบงานตามโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) ประกอบดวย การรวบรวมกระบวนงานดานงบประมาณทั้งหมด การกาํหนดมาตรฐานรหัสที่เชื่อมโยงทุกสวนราชการที่สามารถตรวจสอบไดตลอดเวลา (online real-time) การสรางระบบเครือขายทั่วประเทศ และสรางศูนยขอมูลใหสอดคลองกับนโยบายและเปาหมายของรฐับาล

แนวคิดเกี่ยวกับระบบงบประมาณและระบบการเงินและบัญชี

ความหมายของงบประมาณ งบประมาณเปนเครื่องมือสําคัญที่ชวยประกอบการตัดสนิใจในการใชทรัพยากรที่มอียู ใหเกิดประโยชนและมีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยบรรลุเปาหมายของแผนงานทีว่างไว คําวา “งบประมาณ” มีความหมายหลากหลาย แตกตางกนัออกไปตามที่นักวิชาการหลายวิชาชีพไดใหความหมายตาง ๆ ดังนี้ นักวิชาการบญัชี ใหความหมายงบประมาณ คือ เอกสารอยางหนึ่งประกอบดวยขอความและตัวเลขซึ่งเสนอขอรายจาย เพื่อรายการและวัตถุประสงคตาง ๆ ขอความจะพรรณนาถึงรายการคาใชจาย เชน เงินเดือน ครุภณัฑ คาใชสอย ฯลฯ หรือวัตถุประสงค เชน การเศรษฐกจิ การศึกษา การปองกันประเทศ ฯลฯ และมีตัวเลขแนบอยูดวยทุกรายการ หรือทุกวตัถุประสงค เชอรวูด (Sherwood, 1954, p.25 อางถึงใน ณรงค ดุษฎวีรรักษ, 2527, หนา 73) ใหความหมายวา “งบประมาณ คือ แผนเบ็ดเสร็จ ซ่ึงแสดงออกในรูปตวัเงนิ แสดงโครงการดําเนนิงานทั้งหมดในระยะเวลาหนึ่ง แผนนี้จะรวมถึงการประมาณการบริหาร กิจกรรม โครงการและคาใชจาย ตลอดจนทรัพยากรที่จําเปนในการสนับสนุนในการดําเนินงานใหบรรลุตามแผนที่กําหนด

Page 10: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

14

ประกอบดวยการกระทํา 3 ขั้น ดวยกัน คอื ขั้นที่หนึ่ง “การจัดเตรยีม” ขั้นที่สอง “การอนุมัติ” ขั้นที่สาม “การบริหาร” ไกรยุทธ ธีรตยาคีนันท (2528, หนา 7) ไดใหความหมายของงบประมาณวา งบประมาณ เปนขอความอยางเปนทางการของแผนการจัดการ และนโยบายดําเนินงานสําหรับชวงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อใชเปนเครื่องชี้ทางหรือเปนพิมพเขียวสําหรับการปฏิบัติงานขององคการสําหรับชวงระยะเวลานั้น ๆ พจนานกุรมฉบับราชบัณฑติยสถาน พ.ศ. 2525 ใหความหมายงบประมาณวา คือ บญัชีหรือจํานวนเงนิที่กําหนดรายรับ รายจายเงนิ ในแงของบัญชี งบประมาณ คือ การแสดงรายรับและรายจาย ในแงของงบประมาณ คือ แผนการใชจายทรัพยากรของรัฐ ในการดําเนนิการใด ๆ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวในชวงระยะเวลาหนึ่งมากนอยเพียงใดนั้น ยอมขึ้นอยูกับภารกจิของรัฐบาลแตละระดับ ที่ไหนมภีารกิจมากก็ตองใชเงินตามสัดสวนที่จําเปน สรุปไดวา งบประมาณ หมายถึง เปนเครื่องมือที่สําคัญในการทําใหภารกิจตาง ๆ ของรัฐบาลสามารถดําเนินการไปไดอยางตอเนื่อง โดยมีแผนงาน งาน/โครงการรองรับ เพื่อการบริหารและพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศ และใหมีการจัดสรรทรัพยากรที่มอียูอยางจํากัด นํามาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถรักษาเสถียรภาพของรัฐบาลและประเทศ ลักษณะที่ดีของงบประมาณ ลักษณะงบประมาณทีด่ีตองประกอบดวยหลักการที่สําคัญ 6 ประการ ดังนี ้(พรศิริ ศรีโพธิ์งาม, 2543, หนา 7) 1. หลักการคาดการณไกล (foresight) หมายความวา จะทาํอะไร จะใชเงนิในปใด เทาใดตองคิดวางแผนไว ไมใชนึกจะทําก็ทํา ตองการใหเงินเทาใดก็เพียงหาเงินโดยไมคํานึงถึงวามีอนุญาตไวในงบประมาณหรือไม 2. หลักประชาธิปไตย (democracy) คือ จะตองใหราษฎรเจาของเงินไดรูเห็นและใหความเหน็ชอบดวยทั้งเงินไดและเงินจาย 3. หลักดุลยภาพ (balance) งบประมาณจะตองสมดุลกนัแตไมใหหมายความวารายไดรายจายจะตองเทากันทุกป บางปก็อาจขาดดุล แตก็ตองพยายามใหมเีกินดุลบาง มฉิะนั้นจะมีหนี้สินลนพนตัว 4. หลักสารัตถประโยชน (utility) ตองคํานึงถึงประโยชนปจจุบันและอนาคตจึงตองใหมีรายจายลงทุนไวใหมากพอเปนสัดสวนเหมาะสมกับรายจายประจําป 5. หลักความยุติธรรม (equity) ตองใหมีความยุติธรรมทัง้ในดานรายไดและรายจาย เชน กรณีรายไดจากการจัดเก็บภาษี ตองใหยุติธรรมที่สุด คนมีเงินมากยอมจะตองเสียภาษีมากกวาคนจน เปนตน

Page 11: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

15

6. หลักประสทิธิภาพ (efficiency) หลักนี้เกี่ยวกับการควบคุมงบประมาณรายไดและรายจายที่สวนราชการผูมีหนาที่จะตองระมดัระวังสอดสองใหเกิดสมรรถภาพขึ้น นอกจากลกัษณะสําคัญของงบประมาณทีด่ีดังกลาวขางตนแลว งบประมาณควรจะประกอบดวยคุณลักษณะตาง ๆ คือ มีความชัดเจน เปดเผยได มีพื้นฐานอยูบนความสุจริตใจ และมีความยืดหยุน จะตองปรากฏแตเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับเงนิหรืองบประมาณเทานัน้ และมีความยืดหยุน สรุปไดวา ลักษณะของงบประมาณที่ดี คือ ตองชัดเจน เปดเผยได มีความยืดหยุน มกีารสมดุล มีความยุติธรรม เพื่อใหเกิดการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ประเภทของระบบงบประมาณ 1. งบประมาณเพื่อการควบคุม หรืองบประมาณแบบแสดงรายการ (line-item budjet) งบประมาณแบบนี้ มีวัตถุประสงคที่จะใชเปนเครื่องมือในการควบคุมของแตละหนวยงานในการจําแนกตามลักษณะของการใชจาย คือ แยกเปนหมวดเงินเดือน หมวดคาตอบแทนใชสอยและวัสดุ หมวดเงินอุดหนุน หมวดรายจายอ่ืน ฯลฯ 2. งบประมาณเพื่อการจัดการ หรืองบประมาณแบบแสดงผลงาน (performance budjet system) คือ งบประมาณที่คาํนึงถึงแผนและผลการดําเนนิงาน หรือปจจัยนําออกที่ไดจากการใชจายของภาครัฐ มากกวาปจจยันําเขาซึ่งจะมีระยะเวลาดําเนินการของแผน 1 ป 3. งบประมาณเพื่อการวางแผน หรืองบประมาณแบบแผนงาน (planning or programming system) ไดแก งบประมาณทีค่ํานึงถึงการวางแผนระยะยาว เพื่อใหบรรลุเปาหมายหรือวัตถุประสงคที่ตั้งไว โดยไดวิเคราะห จัดเรยีง แผนงานตามความจําเปน และความสําคัญกอนหลัง เพื่อใหเกิดความ คุมคาในการดําเนินการโดยเปรียบเทียบ ผลที่คาดวาจะไดรับกับคาใชจาย 4. งบประมาณเพื่อการแกปญหา ขอจํากัดทางทรัพยากร หรืองบประมาณฐานศนูย (zero-base budjeting system) ไดแก การจดัทํางบประมาณโดยไมนําคาใชจายในปกอนมาพิจารณาจะมีการจดัลําดับความสําคญัของงาน/โครงการ เพื่อจัดสรรคาใชจายภายใตขอจํากดัของทรัพยากร สามารถเคลื่อนยายทรัพยากรระหวางงาน/โครงการ เพื่อใหเกิดการใชประโยชนสูงสุดจากงบประมาณ สรุปไดวา ประเภทของงบประมาณ ประกอบดวย งบประมาณเพื่อการควบคุม งบประมาณเพื่อการจัดการ งบประมาณเพื่อการวางแผน และงบประมาณเพื่อการแกปญหา อํานาจหนาท่ีของรัฐบาลเกีย่วกับการงบประมาณ อํานาจหนาทีข่องรัฐบาลในแตละประเทศเกี่ยวกับการงบประมาณนัน้ มีความแตกตางกันออกไปแลวแตรูปแบบการปกครอง วัฒนธรรม จริยธรรม สําหรับประเทศไทย อํานาจหนาที่ของรัฐบาลดานการงบประมาณ มีกฎหมายหลกัที่เกีย่วของ 3 ฉบับ ดังนี ้

Page 12: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

16

1. รัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พทุธศักราช 2540 2. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 (และที่แกไขเพิ่มเตมิ) 3. พระราชบัญญัติเงินคลัง พ.ศ.2491 (และที่แกไขเพิ่มเติม) รัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช 2540 ประกอบดวย 1. มาตรา 179 งบประมาณรายจายของแผนดิน ใหทําเปนพระราชบัญญัติ ถาพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป งบประมาณออกไมทันปงบประมาณใหมใหใชกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจายในปงบประมาณปกอนนั้นไปพลางกอน 2 มาตรา 181 การจายเงนิแผนดินจะกระทาํไดเฉพาะที่ไดอนุญาตไวในกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจาย กฎหมายวาดวยวธีิการงบประมาณ กฎหมายเกี่ยวกับการโอนงบประมาณหรือกฎหมายวาดวยเงนิคงคลัง เวนแตในกรณีจําเปนเรงดวนจะจายไปกอนก็ไดแตตองเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการทีก่ฎหมายบัญญัติ ในกรณีเชนวานี้ตองตั้งงบประมาณรายจายชดใชในพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจาย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ประจาํปงบประมาณถัดไป สรุปไดวา รัฐบาลสามารถใชจายเงินงบประมาณไดจะตองตราเปนกฎหมายโดยรัฐสภา เรียกวา “พระราชบัญญัติ” อยางไรก็ตามรฐัธรรมนูญไดยกเวน ใหรัฐบาลสามารถเบิกจายเงินงบประมาณไปกอนที่ไดรับอนุญาตจากรัฐสภาได แตตองตั้งงบประมาณรายจายชดใชในพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจาย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณถัดไป พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 (และทีแ่กไขเพิ่มเติม) ประกอบดวย 1. มาตรา 15 “ใหผูอํานวยการ เสนองบประมาณประจําปตอนายกรัฐมนตรี เพื่อคณะรัฐมนตรีเสนอตอสภาเปนเวลาอยางนอยสองเดือนกอนวนัเริ่มปงบประมาณนัน้” จากอํานาจของกฎหมายจะเหน็ไดวาการเสนอรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปตอรัฐสภาเปนหนาที่ของคณะรัฐมนตรี โดยมีผูอํานวยการสํานักงบประมาณเปนผูรับผิชอบเกี่ยวกับการจัดทําขอเสนอตอนายกรัฐมนตรี กอนที่คณะรัฐมนตรีพิจารณานําเสนอรัฐสภาตอไป 2. มาตรา 16 “ถาพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปออกใชไมทันปงบประมาณใหม ใหใชงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณที่ลวงแลวไปพลางกอนไดตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่ผูอํานวยการกําหนดโดยอนุมัตนิายกรัฐมนตร”ี เปนการใหอํานาจรัฐบาลสามารถใชงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณที่ลวงแลวไปพลางกอน กรณีที่พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปออกใชไมทนัปงบประมาณ

Page 13: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

17

3. มาตรา 17 “ในกรณจีําเปนจะตองจายเงนิหรือกอหนี้ผูกพันเกินกวา หรือนอกเหนอื ไปจากที่กาํหนดไวในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป คณะรัฐมนตรีอาจเสนอรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเตมิตอรัฐสภาได และใหแสดงถึงเงินที่พึงไดมาสําหรับรายจายตามงบประมาณรายจายเพิ่มเติมที่ขอตั้งดวย การจัดทํางบประมาณเพิ่มเติมใหเปนไปตามวิธีการที่ผูอํานวยการกําหนด” เปนการทําใหรัฐบาลมีอํานาจที่จะเสนอรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม ในกรณีที่เหน็วามีความจําเปนตองจายเงินหรือกอหนี้มากไปกวาที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป 4. มาตรา 19 “รายจายทีก่ําหนดไวในรายการใด สําหรบัสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ก็ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย จะโอนหรือนําไปใชในรายการอื่นมิได เวนแตจะไดรับอนุญาตจากผูอํานวยการ แตผูอํานวยการจะอนุญาตมิไดในกรณีที่เปนผลใหเพิ่มรายจายประเภท เงินราชการลับ หรือเปนงานหรือโครงการใหม เวนแตจะไดรับอนุมัตจิากคณะรัฐมนตรี 5. มาตรา 19 วรรค 3 “ในกรณีจําเปนผูอํานวยการโดยอนุมัตินายกรัฐมนตรีจะโอนรายจายทีจ่ะโอนหรือนําไปใชในรายการอื่น และใหรัฐบาลมีอํานาจหนาที่ในการอนมุัติมีการโอนเปล่ียนแปลงรายการคาใชจายในงบกลางได โดยผานนายกรัฐมนตรใีนฐานะหวัหนารัฐบาล 6. มาตรา 29 ทวิ “ใหมเีงินทุนจํานวนหนึง่โดยใหรัฐมนตรีจายจากคลัง เรียกวา “เงินทุนสํารองจาย” เปนจํานวนหนึ่งรอยลานบาท เงินทุนนีใ้หนําไปใชจายไดในกรณีที่มีความจําเปนเพื่อประโยชนแกราชการแผนดิน โดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี และเมื่อไดจายไปแลว ขอตั้งจายชดใชเพื่อสมทบเงินทุนนั้นไวจายตอไป” จากนยัดังกลาวเปนการใหอํานาจในการใชจายเงนิทนุสํารองจาย พระราชบัญญัติเงินคลัง พ.ศ. 2491 (และทีแ่กไขเพิม่เติม) กําหนดใหรัฐบาลสามารถจะใชจายเงินตามกฎหมายตาง ๆ นอกเหนือไปจากพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป และพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเตมิไดอีกโดยอาศัย 1. พระราชบัญญัติโอนเงินงบประมาณ 2. พระราชบัญญัติใหรัฐบาลจายเงินไปพลางกอน 3. พระราชกําหนดที่ออกตามความในบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ ระบบการเงินและการบัญชี (คูมือการเงินการบัญชี, 2528) การบัญชี (accounting) หมายถึง วิชาการและหนาที่งานที่เกี่ยวกับรายการทางการเงนิ การตรวจสอบอนุมัติ การวดัมูลคา การจัดบันทึก การจดัหมวดหมู การเรียบเรียง การสรุปผล ตลอดจนการวเิคราะห ตีความหมาย และการนําเสนอขอมูลเหลานั้นอยางมีหลักเกณฑตามความตองการของฝายบริหาร

Page 14: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

18

มาตรฐานทางการบัญชี หรือหลักการบัญชทีี่รับรองทั่วไป เปนกฎเกณฑที่ยอมรับกันโดยทั่วไปของนักบัญชีที่เกีย่วกับหลักการบัญชี และวิธีปฏิบัติทางการ ไดแก 1. หลักราคาทุนหรือตนทนุในอดตี (the hospital cost principle) 2. หลักการเกดิขึ้นของรายได หรือการรับรูรายได (the revenue realization principle) 3. หลักการเปรียบเทียบรายไดกับรายจาย หรือการจับคูคาใชจายกับรายได (the matching principle) 4. หลักเงินคงคาง (the accrual basis principle) 5. หลักโดยประมาณ (the estimation principle) 6. หลักการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ (the full disclosure principle) การจัดทําบัญชีจึงเกิดจากความสัมพันธระหวางวัตถุประสงคและหลักพื้นฐานทางการบัญชีเพื่อประโยชนของผูประกอบกิจการ นักลงทุน ผูถือหุน เจาหนี้ ลูกจาง สวนราชการ องคการและประชาชนโดยทั่วไป ใชตรวจสอบ ประเมินระยะเวลา ทราบผลการดําเนินงานและฐานะทางการเงินของกิจการ ซ่ึงสามารถดูไดจากรายงานทางการเงินหรืองบการเงิน (financial statement) ซ่ึงหมายถึงงบกําไรขาดทุน งบกําไรสะสม งบดุล งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน งบยอยซ่ึงรูปแบบทางการบัญชีที่ใชขึ้นอยูกับความเหมาะสมขององคการและวตัถุประสงคขององคการนั้น ๆ สรุปไดวา ระบบการเงินและบัญชี หมายถงึ การจัดทําเกีย่วกับการเงินและการบัญชี เพื่อประโยชนในการตรวจสอบ การวัดมูลคาและทราบฐานะทางการเงิน

การบริหารงบประมาณดวยระบบอิเลก็ทรอนิกส

สํานักงบประมาณ กําหนดหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติเกีย่วกับการบรหิารงบประมาณดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ไว ดังตอไปนี ้(โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส, ออนไลน, 2548) 1. หลักเกณฑและวิธีปฏิบัตทิี่กําหนดไวนี้ ใหใชสําหรับการดําเนนิการรับสงขอมูลการงบประมาณดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ตามโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูอิเล็กทรอนิกส ซ่ึงตอไปนี้ เรียกวา “ระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ” โดยเปนขอปฏิบัติระหวางสวนราชการและรัฐวิสาหกจิตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 และที่แกไขเพิ่มเติม กับสํานักงบประมาณ 2. สวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจใด จะตองดําเนินการรับสงขอมูลการงบประมาณเรื่องใดดวยระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ ใหเปนไปตามขอตกลงที่ไดกระทํากบัสํานักงานโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส

Page 15: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

19

3. ใหถือวาวนัที่ไดจดัสงเอกสารอิเล็กทรอนิกสในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐอยางถูกตองครบถวนแลวเปนวันที่ไดจัดสงเอกสาร ตลอดจนการใหความเห็นชอบ อนุมตัิ อนุญาต หรือรายงาน แลวแตกรณี ทั้งนี้ ใหผูจัดสงเอกสารอิเล็กทรอนิกสประสานงานเพื่อแจงใหผูรับทราบถึงการจัดสงเอกสารทันที ขอใหสวนราชการหรือรัฐวสิาหกิจดําเนินการตามระบบการบริหารงานภายใน ในแตละเร่ืองใหเสร็จสิน้ถูกตอง กอนการจัดสงเอกสารอิเล็กทรอนิกสในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐใหสํานักงบประมาณ 4. ใหสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจจัดพิมพขอมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่ไดจัดสงและ ที่ไดรับโดยถกูตองแลวเปนสําเนาเอกสารเพื่อเก็บไวเปนหลักฐาน กรณีจําเปนตองใชเอกสารกระดาษแทนเอกสารอิเล็กทรอนิกส หรือกรณีที่ระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐขัดของไมสามารถใชงานได ใหใชสําเนาเอกสารกระดาษที่จัดพิมพไวเปนหลักฐานอางอิงแทนเอกสารอิเล็กทรอนิกสได ทั้งนี้ กรณีจะถือวาระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐขัดของไมสามารถใชงานไดนัน้ จะตองไดรับคํายนืยันจากสํานกังานโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลงัภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกสดวย 5. เมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปหรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเตมิผานการพิจารณาของรัฐสภาแลว สํานกังบประมาณจะบันทึกขอมูลรายจายที่ปรับปรุงตามผลการพิจารณาของรัฐสภาแลว เขาสูระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ โดยมผีลนับแตวันที่พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม มีผลบังคับใชแลว ขอมูลงบประมาณรายจายของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจ จะแสดงถงึผลผลิต กิจกรรม แผนงาน งาน โครงการ งบรายจายและรายการ ตามเอกสารประกอบรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายทีไ่ดแกไขปรับปรุงตามผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ที่ผานการพิจารณาของรัฐสภาแลว 6. การขอความเห็นชอบแผนการปฎิบัติงาน และแผนการใชจายงบประมาณ ตามระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ ใหสวนราชการและรัฐวิสาหกิจจัดทําแผน (ตามแบบ ส.ง.ป.301 ส.ง.ป.302 ส.ง.ป.302/1 ส.ง.ป.302/2) เปนเอกสารอิเล็กทรอนิกสในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ และจัดทําหนงัสือราชการแจงสํานักงบประมาณ เพื่อขอความเหน็ชอบแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณดังกลาวดวย กรณีที่แผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณยังไมไดรับความเหน็ชอบจากสํานักงบประมาณ หากสวนราชการหรือรัฐวิสาหกจิมีความจําเปนตองแกไข ปรับปรุงใหจัดทําเปน

Page 16: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

20

เอกสารอิเล็กทรอนิกสฉบับใหม จัดสงในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐโดยมีหนังสือราชการแจงสํานักงบประมาณทุกครั้งทีจ่ะมีการแกไข การจัดทําแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณตามวรรคหนึ่งสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจจะตองจัดทาํขอมูลการจัดสรรงบประมาณสําหรับหนวยงานในสวนภมูิภาคใหสอดคลองกับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ (ตามแบบ ส.ง.ป.302 จ และ ส.ง.ป.302 จ) เปนเอกสารอิเล็กทรอนิกสเพื่อบันทึกลงในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐสําหรับหนวยงานในภูมิภาคดวย 7. เมื่อสํานักงบประมาณใหความเหน็ชอบแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณแลว จะจัดสงใหสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ พรอมทั้งมีหนังสือราชการแจงการใหความเห็นชอบแผนดังกลาวดวย 8. ใหสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ บันทึกแผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณสําหรับหนวยงานในภูมิภาค (ตามแบบ ส.ง.ป. 301 จ และ ส.ง.ป. 302 จ) ใหสอดคลองกับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณที่สํานักงบประมาณไดใหความเหน็ชอบแลวลงในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ และจดัทําหนังสือราชการหรือเอกสารราชการอื่นใดเพื่อแจงหนวยงานในภูมิภาคทราบดวย 9. กรณีที่สวนราชการหรือรัฐวิสาหกจิประสงคจะขอปรับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ ใหสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจจัดทําแผนเปนเอกสารอิเล็กทรอนิกสในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ และทําหนงัสือราชการแจงสํานักงบประมาณเพื่อขอความเหน็ชอบ โดยถือปฏิบัติเชนเดียวกับการขอความเห็นชอบแผนตามที่กําหนดในขอ 6 10. การขอรับการจัดสรรงบประมาณใหสวนราชการหรอืรัฐวิสาหกิจจดัทํารายละเอยีดคําขอเงินประจํางวด เปนเอกสารอิเล็กทรอนิกสระบบอเิล็กทรอนิกสภาครัฐ พรอมทั้งมีหนังสือราชการถึงสํานักงบประมาณ แจงขอรับการจัดสรรงบประมาณดังกลาว กรณีที่ตองมีรายละเอียดประกอบการพิจารณาอื่น ๆ ใหจดัสงเปนเอกสารพรอมกับหนังสือราชการตามวรรคหนึง่ 11. สํานักงบประมาณจะจดัสรรงบประมาณ โดยการอนุมัติเงินประจํางวดในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ และจดัทําใบรายงานการจัดสรรตามแบบใบอนมุัติเงินประจํางวดสงให สวนราชการหรือ รัฐวิสาหกจิ โดยมหีนังสอืราชการแจงการจัดสรรงบประมาณดังกลาว พรอมทั้งสําเนาสงกรมบัญชีกลางและสํานักงานการตรวจเงินแผนดินดวย 12. การจัดสรรงบประมาณตามขอ 11 สํานักงบประมาณจะจัดสรรโดยระบุหนวยเบิกจายที่สํานักเบิกสวนกลาง เพื่อสวนราชการหรอืรัฐวิสาหกิจโอนจัดสรรงบประมาณดังกลาวใหแก

Page 17: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

21

หนวยงานในภูมิภาคใหสอดคลองกับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณที่ สํานักงบประมาณเหน็ชอบแลว สําหรับงบประมาณรายจายงบกลาง จะจัดสรรใหโดยระบหุนวยเบิกจายตามที่สวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจขอรับการจดัสรรเงินประจํางวด 13. ใหสวนราชการหรือรัฐวสิาหกิจดําเนินการโอนจัดสรรงบประมาณใหหนวยงานในภูมิภาค (ตามแบบ ง.241) ในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ และจัดทําหนงัสือราชการหรือเอกสารราชการอื่นใด เพื่อแจงหนวยงานภูมภิาคทราบดวย 14. สํานักงบประมาณอาจอนุมัติเงินประจาํงวด โดยสวนราชการหรือรัฐวิสาหกจิไมตองขอรับการจัดสรร ตามหลักเกณฑและวิธีการที่สํานักงบประมาณกําหนดตามความเหมาะสมใน แตละปงบประมาณ โดยจดัสรรผานระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ และมีหนังสือแจงสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจทราบดวย กรณีที่สวนราชการหรือรัฐวสิาหกิจมีความประสงคจะใชจายหรือกอหนี้ผูกพันเกินกวาวงเงินงบประมาณที่สํานักงบประมาณจดัสรรใหแลวตามวรรคหนึ่ง หรือการขอรับการจัดสรรงบประมาณรายจายงบกลาง ใหขอรับการจดัสรรตามวิธีการที่กําหนดไวขอ 10 15. กรณีที่สวนราชการหรือรัฐวิสาหกจิจะขออนุมัติโอน และหรือเปลี่ยนแปลงรายการจากสํานักงบประมาณ ใหสวนราชการหรือรัฐวิสาหกจิจัดทํารายละเอียดคําขอโอนเปลี่ยนแปลงเปนเอกสารอิเล็กทรอนิกสในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ และทําหนังสือราชการแจงสํานักงบประมาณเพื่อขอความเห็นชอบ โดยถือปฏิบัติเชนเดยีวกับการขอรับการจัดสรรงบประมาณ ตามที่กําหนด ในขอ 10 16. ใหสวนราชการหรือรัฐวสิาหกิจ รายงานผลการจัดซื้อจัดจาง (ตามแบบ ส.ง.ป.302/2) และผลการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ (ตามแบบ ง.241 ส.ง.ป.303) ของหนวยงานสวนกลางและหนวยงานในภูมิภาค ตลอดจนประมวลผลการปฏิบัติงาน และผลการใชจายงบประมาณ เพื่อรายงาน (ตามแบบ ส.ง.ป.301 ส.ง.ป.302) ผานระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐตามระยะเวลาที่กําหนดในระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ โดยไมตองแจงเปนหนังสือราชการหรือจัดทําเอกสารสงสํานักงบประมาณ 17. เพื่อใหการดําเนินการตามหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติเกีย่วกับการบริหารงบประมาณดวยระบบอิเล็กทรอนิกสเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ขอใหสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จัดใหมี ผูประสานงาน และแจงใหสํานักงบประมาณทราบเพื่อประสานงานแกไขปญหาขอขัดของในการปฏิบัติรวมกับเจาหนาที่สํานกังบประมาณที่รับผิดชอบการจัดทํางบประมาณของสวนราชการและรัฐวิสาหกจิ

Page 18: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

22

ในกรณีมีปญหาขอขัดของเกี่ยวกับการบรหิารงบประมาณดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ใหผูประสานงานรายงานใหหัวหนาสวนราชการหรือหัวหนารัฐวิสาหกิจ หรือผูไดรับมอบหมายเพื่อส่ังการในการแกไขปญหารวมกับเจาหนาที่สํานักงบประมาณโดยเร็ว สรุปไดวา การบริหารงบประมาณดวยระบบอิเล็กทรอนิกส เปนความรับผิดชอบของสํานักงบประมาณ ซ่ึงไดกําหนดวิธีปฏิบัติไวเรียกวา “ระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ” โดยดําเนินงานเกี่ยวกับการรับสงขอมูล การจัดสงเอกสาร การจัดพิมพเอกสาร การบันทึกขอมูล การขอความเห็นชอบแผนการปฏิบัติงานหรือแผนการใชจายงบประมาณ การจดัทําหรือปรับเปลี่ยนแผนการปฏิบัติงาน การจัดสรรงบประมาณ การรายงานผลการปฏิบัติงาน ซ่ึงการจัดทํานั้นจะทําเปนเอกสารอิเล็กทรอนิกสในระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐ

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดเห็น

คําวาความคิดเห็น (opinion) และทัศนคติ (attitude) มีความสัมพันธใกลเคียงกันมากความหมายของความคิดเหน็ที่ปรากฏในพจนานุกรมศพัททางสังคมวิทยาอังกฤษ-ไทย ฉบับ ราชบัณฑิตสถาน (2524, หนา 246-247) ใหความหมายไววา “เปนขอพิจารณาเห็นวาเปนจริง จากการใชปญญาความคิดประกอบ ถึงแมจะไมไดอาศัยหลักฐานพิสูจนยืนยันไดเสมอก็ตาม” สวนพจนานกุรมเวบสเตอร (New Websster’ s Dictionary, 1974, p. 644) ใหความหมายวา ความคิดเหน็ หมายถึง การตัดสิน คําวิจารณ ความเห็นหรือรูปแบบของการประเมินผลในใจเกี่ยวกับขาวสารที่ไดรับ เปนความเชื่อของบุคคลที่มีตอเหตุการณหรือขาวสารโดยความเชือ่นั้นจะขึ้นอยูกับประสบการณและการสังเกตของแตละบคุคล หรือ ความคิดเห็น คือ การแสดงออกทางความคิด ความสนใจ ความรูสึกที่มีตอส่ิงใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณใดเหตุการณหนึ่ง และพจนานุกรมออกฟอรด แอดวานซ เลอรนเนอร คอมแพสส (Oxford Advanced Learner’s Dictionary, 2005, p. 539) ไดให ความหมาย ความคิดเห็น หมายถึง ความรูสึก ความนึกคดิ ความเชื่อ การตัดสินใจเกี่ยวกับคนใด คนหนึ่งหรือ ส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ซ่ึงไมอาจจะบอกไดวาเปนการถูกตองหรือไม

จานีส และเคลี ่(Janis & Kelly อางถึงใน พงษไพบูลย ศลิาวราเวทย, 2538, หนา 37) ไดใหความเหน็วา “ทัศนคติเปนการแสดงออกในเรื่อง ความรูสึกทั้งดานบวกและดานลบ หรือความชอบของแตละบุคคล ซ่ึงสิ่งเหลานี้อาจจะอยูในจิตใตสํานึก แตความคิดเห็น นั้นไมเปนเพียงแตชอบแตยังเปนการแสดงถึงการคาดคะเน (expectation) หรือการทํานาย (prediction) ในแตละบุคคล ซ่ึงมักจะแสดงออกมาในรปูของคําพูดเสมอ”

Page 19: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

23

สรุปไดวา ความคิดเห็น เปนการแสดง ออกทางดานความรูสึก ความคิด ความเชื่อ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ส่ิงใดสิ่งหนึ่ง หรือ เหตุการณหนึ่งโดยเฉพาะ มีความสอดคลองกับความรูสึกภายในของตนดวยการแสดงออกโดยการพดู การเขียนหรือวิธีการอื่น ๆ

การแสดงออกทางความคิดเห็นนี้ อาจจะรวบรวมไดจากอารมณ ประสบการณ และสภาพความเปนจริงในขณะนัน้ เปนพื้นฐานในการแสดงออก ซ่ึงอาจจะถูกตองหรือไมก็ได อาจจะไดรับการยอมรบัหรือปฏิเสธจากคนอื่นก็ได ความคิดเห็นนี้อาจะเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา

ดังนั้น ในการศึกษาวจิัยคร้ังนี้ เร่ือง ความคิดเห็นของเจาหนาที่ที่ปฏิบัตงิานในสายงานดานการเงนิและบัญชี ตอการดําเนินการงานตามโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส จึงเปนการแสดงออกถึงความรูสึก และอารมณที่มีตอการดําเนินงาน โดยอาศัยพ้ืนฐานความรู ประสบการณ และสภาพความเปนจริงมาประกอบในการแสดงความคิดเห็น

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับทัศนคติและการปฏิบัติ

พจนานกุรมฉบับราชบัณฑติยสถาน พ.ศ. 2542 ไดใหความหมายไววา ทัศนคติ คือ แนวความคิดเห็น

นัลแนลลี (Nunnally อางถึงใน พงษไพบลูย ศิลาวราเวทย, 2538, หนา 37) กลาววา “ทั้งความคิดเห็นและทัศนคตินั้นเปนเรื่องการแสดงออกของแตละบุคคล ตอประชาชนทั่วไป ตอขนบธรรมเนียมประเพณี และการแสดงออกทางความคิดในโลกที่เกีย่วกับตัวเขา” นอกจากนี้ นัลแนลลี พยายามที่จะแยกความหมายของ “ทัศนคติ” และ “ความคิดเหน็” โดยกลาววา “ความ คิดเห็นทีจ่ะใชในเรื่องที่เกีย่วกับการลงความเห็น (judgemet) และความรู (knowledge) ในขณะที่ ทัศนคติจะใชในเรื่องที่เกี่ยวกบัความรูสึก (feeling) และความชอบพอ (preference)” และเขายังกลาววา “อาจใชคําวา ความคิดเห็นมากกวาคําวาทัศนคต”ิ อยางไรก็ตาม ทั้งความคิดเห็นและ ทัศนคติตางกม็ีความสัมพันธกันมาก

ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2526, หนา 3) กลาววา ความคิดเหน็เปนการแสดงออกทางดาน ทัศนคติอยางหนึ่งแตการแสดงความคิดเห็นนัน้มักจะมอีารมณเปนสวนประกอบและเปนสวนที่พรอมจะมีปฏิกิริยา เฉพาะอยางตอสถานการณภายนอก

สุชา จันทรเอม และสุรางค จันทรเอม (2533, หนา 104) ไดใหความเหน็วา เราไมสามารถแยกทศันคติและความคิดเห็นออกจากกนัได เพราะทัศนคติและความคิดเหน็นั้นมีลักษณะคลาย ๆ กัน แตลักษณะความคิดเห็นจะไมลึกซึ้งเหมือนทัศนคติ

Page 20: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

24

ความพึงพอใจในการปฏบิัตงิาน ความพึงพอใจการปฏิบัติงานหรือความพอใจในการทํางาน เปนคําที่มีความหมาย เกี่ยวของกับความตองการของมนุษยโดยตรง ซ่ึงมีความเกี่ยวของกับขวัญ เจตคติ และการจูงใจเปน อยางมาก ในการปฏิบัติงานของบุคคลหรือกลุมคนในหนวยงานหรือองคการตาง ๆ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคคลจะมีผลเปนอยางมากตอการปฏิบัติงานของบุคคล กลาวคือ ผูปฏิบัติงานที่มีความพึงพอใจในการทํางาน ยอมปฏิบตัิงานไดสําเร็จและมีประสิทธิภาพมากกวาผูปฏิบัติงานที่มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานต่ํา สําหรับหนวยงานหรือองคการตาง ๆ ถาบุคคลภายในหนวยงานหรือองคการมี ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานอยูในระดับสูง ยอมสงผลดีตอหนวยงานหรือองคการนัน้เปนอยางยิ่ง สําหรับความหมายของคําวา “ความพึงพอใจในการปฏิบัติ” ไดมีผูใหความหมายไว หลายทาน ดังนี้ กิติมา ปรีดีดิลก (2529, หนา 321) ไดใหความหมายไววา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน หมายถึง ความรูสึกที่ชอบหรือพอใจที่มีตอองคประกอบสิ่งจูงใจในดานตาง ๆ ของงานและ ผูปฏิบัติงานนั้นไดรับการตอบสนองตามความตองการของเขาได นภดล เชนะโยธิน (2531, หนา 175) ใหความหมายวา ความพึงพอใจในการทํางาน หมายถึง ความรูสึกพอใจหรือชอบใจในงานที่ทําและเตม็ใจที่ปฏิบัติงานนั้นใหบรรลุวัตถุประสงคขององคการ ปรานี อารยะศาสตร (2519, หนา 2) ไดความหมายในแนวเดยีวกันวา ความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงาน คือ ความรูสึกในทางที่ดทีี่บุคคลมีตองานที่ทําอยู ถาบุคคลใดมีความพึงพอใจ ในงานมาก กจ็ะเสียสละอุทศิแรงกาย แรงใจ แรงปญญาใหแกงานนั้น ผูใดมีความพึงพอใจในงานนอยกจ็ะทําเพยีงตามหนาที ่ กูด (Good, 1973, p. 13) ไดใหความหมายวา ความพึงพอใจการปฏิบัติงาน หมายถึง ระดับความพอใจซึ่งเปนผลมาจากความสนใจและทัศนคติของบุคคลที่มีตอคุณภาพและสภาพงานนั้น ๆ

สรุปไดวา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน หมายถึง ความคิดเห็น ความรูสึกหรือเจตคติของบุคคลที่มีตอการปฏิบัติงาน ซ่ึงจะเปนความรูสึกหรือเจตคติที่เปนไปในทางบวก อันจะเปนผลใหบุคคลปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ยอมเสียสละและอุทิศแรงกาย แรงใจ และสติปญญาใหแกงานนั้น ทั้งนี้ขึ้นอยูกับองคประกอบตาง ๆ ที่เปนสิ่งจูงใจในงานนั้น ๆ และผูปฏิบัติงานนั้น

Page 21: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

25

ไดรับการตอบสนองความตองการของเขาได ซ่ึงจะทําใหผูปฏิบัติงานยอมอุทิศตนเพื่องานนั้นอยางเต็มความสามารถของเขา เพื่อใหงานนั้นประสบผลสําเร็จตามเปาหมายขององคการ

องคประกอบท่ีทําใหบุคคลเกิดความพงึพอใจในการปฏบิัติงาน ในเรื่องขององคประกอบตาง ๆ ที่สงผลใหบุคคลเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน จนกระทั่งยอมอุทิศแรงกายและแรงใจใหกบัการทํางานอยางเต็มความสามารถนั้น ไดมีนักการศึกษาหลายคน ไดทําการศกึษาวจิัยพรอมทั้งเสนอถึงองคประกอบที่เปนสิ่งจูงใจใหบคุคลเกิดความ พึงพอใจในการทํางาน จนสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน ภิญโญ สาธร (2516, หนา 175-177) ไดกลาวถึงสิ่งที่จะเปนสิ่งจูงใจใหบคุคลทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูไดนาน ที่สําคญัมี 5 ประการ คือ

1. ส่ิงจูงใจที่เปนวัตถุ เชน เงินและสิ่งของ 2. ส่ิงจูงใจที่เปนโอกาส เชน การไดมีโอกาสที่จะมีชื่อเสียงดีเดน มเีกียรตยิศ มีอํานาจ

มากขึ้น และมโีอกาสในตําแหนงสูงขึ้น 3. ส่ิงจูงใจที่เปนสภาพของการทํางาน ซ่ึงอาศัยวัตถุเปนหลัก เชน ใหมีทีน่ั่งทํางานดี

มีหองงานสวนตัว โตะหวัหนาใหญกวาโตะทํางานบุคลากรอื่น ๆ ฯลฯ 4. ส่ิงจูงใจที่เปนสภาพของการทํางาน ซ่ึงไมเกี่ยวกับวัตถุ เชน สภาพของสังคมครูใน

โรงเรียนชวยใหโรงเรียนนาอยู 5. การบาํรุงขวัญหรือกระตุนใจและสรางความรูสึกใหเกิดกบัครูทั้งหลายวา ตนมีสวนรวม

อยางสําคัญในการสรางชื่อเสียงใหโรงเรยีน เกศินี หงสนันทน (2518, หนา 129-130) ไดสรุปปจจัยที่เปนความตองการขั้นพื้นฐานใน

การสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงานไว 7 ประการ คือ 1. มีการใหเกียรติและตระหนกัในผลงานที่ไดกระทํา 2. มีผลงานที่ควรแกการสนใจ ทาทายความสามารถ 3. มีการทํางานเปนกลุมที่มีการประสานงานเปนอยางด ี4. มีอิสระในการวิจัย 5. มีความมั่นคงในการทํางาน 6. มีความกาวหนาซึ่งไดรับพจิารณาอยางเสมอภาคและยุตธิรรม 7. มีการควบคุมดี สุธีระ ทานตวณิช (2527, หนา 70) ไดกลาวถึงความตองการของมนุษย อาจแบงเปน

ประเภทใหญ ๆ ได 2 อยาง คือ

Page 22: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

26

1. ความตองการที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เชน ความหวิ ความรูสึกทางเพศ ความตองการความปลอดภยั

2. ความตองการที่เกิดขึ้นจากการสะสมของประสบการณ ซ่ึงแตกตางกันไปในแตละบุคคล ความตองการในลักษณะนี้เกี่ยวของกับการจูงใจในองคการสมัยใหมมากกวาความตองการอยางแรก

กิลเมอร (Gilmer, 1996, pp. 279-283 อางถึงใน ปราณี อารยะศาสตร, 2519, หนา 45) สรุปองคประกอบที่สงผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไวดังนี ้

1. ความมั่นคงปลอดภัยในการทํางาน 2. โอกาสกาวหนาในการทํางาน 3. สภาพที่ทํางานและการจัดการ 4. คาจางหรือรายได 5. ลักษณะที่แทจริงของที่ทํางาน 6. การควบคุมแลบังคับบัญชา 7. ลักษณะทางสังคม 8. การติดตอส่ือสาร 9. สภาพการทํางาน 10. ผลประโยชนตอบแทน จากองคประกอบที่ทําใหบุคคลเกิดความพงึพอใจในการปฏิบัติงาน ตามที่ไดกลาวมาเปน

ส่ิงจูงใจใหบุคคลมีพฤติกรรมหรือแสดงออก อันเนื่องมาจากองคประกอบเหลานี้ ซ่ึงสามารถแบงออกเปนสิ่งจูงใจที่เกดิขึ้นจากภายในบุคคลและภายนอกตัวบุคคล

ส่ิงจูงใจที่เกดิขึ้นจากภายในตัวบุคคล ไดแก 1. การมีช่ือเสียง 2. มีเกียรตยิศ 3. การมีตําแหนงสูงขึ้น 4. การยอมรับนบัถือ 5. การไดรับความกาวหนาในการทํางาน 6. ความมั่นคงในการทํางาน สวนสิ่งจูงใจทีเ่กิดจากภายนอกตัวบุคคล ไดแก 1. เงินเดือนคาจาง 2. ส่ิงของเครื่องใชตาง ๆ 3. มีส่ิงอํานวยความสะดวกในการทํางาน

Page 23: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

27

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

งานวิจยัที่เกี่ยวของกับความคดิเห็นของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตามโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) พบวาไมมีผูเคยทําการศึกษาวิจยั ดังนั้นผูวจิัยจึงไดนํางานวิจยัที่สามารถเทียบเคียงกันได คอืงานวิจยัที่เกีย่วกับการปฏิบัติงานดานบัญชีและการเงิน และงานวจิัยที่เกี่ยวกับการนําระบบอิเล็กทรอนิกสมาใชในการปฏิบัติงาน ดังนี ้ ชุมศักดิ์ ชุมนุม (2541, บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาวิจัยเร่ือง “ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสํานกังานศึกษาธิการอาํเภอ กรณีศกึษาเขตการศกึษา 10” ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสํานักงานศึกษาธิการอาํเภอ โดยภาพรวมอยูในระดบัปานกลางเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา งานที่สํานักงานศกึษาธกิารอําเภอปฏบิัติไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด คือการบริหารงานการติดตามและการประเมินผลและสงเสริมการศาสนา สวนงานที่มีประสิทธิภาพต่ําสุด คือ การบริหารงานกิจการพิเศษ การบริหารงานสงเสริมพลานามัยและการบริหารงานสงเสริมการศึกษา ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไดแก จํานวนบุคลากร เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องโรเนียว เครื่องปรับอากาศและงบประมาณ ปจจัยที่ไมมีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไดแก อายเุฉลี่ยและอายุราชการของบุคลากร ระดับการศึกษา เครื่องพิมพดีด โทรศัพท เครื่องโทรสาร ตูเย็น พัดลม รถจักรยานยนตและรถยนต ผลการทดสอบสมมติฐาน ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความสําเร็จในการบริหารกิจการ คือระดับการศึกษากับการไดรับการนิเทศติดตามผลจากหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ และปจจยัที่ไมมีความสัมพนัธกับความสาํเร็จของการบริหารกิจการ เพศ อายุ อาชพี รายไดตอเดอืน การไดรับการฝกอบรม การสนับสนุนวัสด ุอุปกรณ และการไดติดตอส่ือสาร ภัทรานิษฐ กจิถา (2544, บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง ปญหาในการปฏิบัติงานดานบัญชีและการเงิน กรณีศกึษาธุรกิจน้ํามนัการปโตรเลียมแหงประเทศไทย พบวาปญหาในระดับตนสวนใหญจะเปนปญหาในสวนที่เกี่ยวของกับบุคลากร ซ่ึงปญหาที่มีระดับมากที่สุดคือ เร่ืองความลาชาในขั้นตอนการปฏิบัติงานสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานขั้นตอไป ดวยเหตุที่งานดานบัญชีและการเงินเปนงานที่คอนขางมีกําหนดเวลาที่แนนอนในการแลวเสร็จของแตละขั้นตอน ดังนัน้ ในการแกไขปญหาจึงควรจัดใหมีการจดัระบบองคการดานบัญชีและการเงินใหม รวมทั้งการวางระบบใหงานแตละขั้นตอนเสร็จสิ้นภายในระยะเวลที่กาํหนดเพื่อจะไมใหสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานในขัน้ตอ ๆ ไป ทั้งนี้จะตองไดรับความรวมมือจากผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของทุกคน เพื่อใหผลงานออกมาอยางมีประสิทธิภาพและสามารถบรรลุเปาหมายขององคการไดตอไป

Page 24: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

28

พิสิษฐณัฐฐา ไชยดวง (2545, บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง ปญหาการปฏิบัติงานการเงินบัญชีและพัสดุของเจาหนาทีก่ารเงนิ ศึกษากรณสํีานักงานศึกษาธิการอําเภอและจังหวัด ในเขตการศึกษาที่ 3 พบวา เจาหนาที่การเงนิที่ปฏิบัติงานการเงิน บัญชีและพัสดุ ที่มีวฒุิการศึกษาตางกัน ปฏิบัติงานในสํานักงานที่แตกตางกัน ในภาพรวมแลวมีผลการปฏิบัติงานที่ไมแตกตางกัน และสาเหตุของปญหาการปฏิบัติงานการเงนิ บัญชีและพสัดุ เกิดจากเจาหนาที่ไมเขาใจระบบและระเบียบขอปฏิบัติอยางแทจริง การมอบหมายงานไมตรงกับตาํแหนงหนาทีส่ายการเงิน บญัชีและพัสดุ และขาดแคลนทรัพยากรทางการบริหาร ขอเสนอแนะคอื ควรจัดอบรมสัมมนาเจาหนาที่การเงินบญัชีและพัสดุ ใหเจาหนาทีก่ารเงินศึกษาระเบียบ กฎหมาย ขอบังคับที่เกี่ยวของกับการปฏิบัตงิานการเงินบัญชีและพัสดุ และสํานักงานศึกษาธิการอําเภอ/จังหวัด ควรนิเทศติดตามการปฏิบัติงานการเงินบัญชีและพัสดุเปนลําดับแรก ทิพวรรณ ล้ิมสมบัติอนันต (2546, บทคัดยอ) ไดศึกษาเรือ่ง ปญหาการบริหารงานธุรการและการเงนิของผูบริหารโรงเรียนตามทัศนะของผูบริหารและเจาหนาที่ธุรการ ศึกษากรณีโรงเรียนประถมศึกษาในกลุมกรุงธนใต สังกดักรุงเทพมหานคร พบวา ปญหาดานงานสารบรรณ งานทะเบียน และรายงานพสัดุ และงานการเงินและบัญชี มีความแตกตางกัน สวนดานงบประมาณ งานเกี่ยวกบัการรักษาความปลอดภัยของอาคารสถานที่ และงานประชาสัมพันธของโรงเรียนไมมีความแตกตางกัน ขอเสนอแนะคือ ควรจดัใหมีการฝกอบรมผูบริหารและเจาหนาทีธุ่รการ การบรรจุแตงตั้งเจาหนาที่ธุรการและการเงิน โดยกําหนดวฒุิการศึกษา คณุสมบัติใหเหมาะสมกับตําแหนง จดัทําคูมือในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานธุรการและการเงิน เพื่อใหเกิดความคลองตัวในการปฏิบัติงาน มีความถูกตอง และสามารถปฏิบัติเปนแนวทางเดยีวกันทุกโรงเรียน ลัดดาวัลย ไชยวานิชยผล (2547, บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบการจดัซื้อ จัดจางทางอิเล็กทรอนิกส ศึกษากรณีสวนคลังและพัสดุ สํานักงานปลัดกระทรวงพลังงาน พบวา กระบวนการ ขั้นตอนในการจัดซื้อจัดจาง ในรูปแบบการประมูลดวยอิเล็กทรอนิกส (e-auction) เปนแนวทางปฏิบัติที่ดี มีความโปรงใส ลดปญหาการฮั้ว การอุม และคาหัวคิด ปญหาและอุปสรรคในการจดัซื้อจดัจางทางอิเล็กทรอนิกส ระบบงบประมาณกําหนดเปนหมวดรายจาย เงนิประจํางวดมีลักษณะรายจายตางกนัถึงแมพัสดุมีลักษณะใกลเคียงกนัก็ไมสามารถรวบรวมเพื่อจดัซื้อจัดจางทางอิเล็กทรอนิกสได ขาดความคลองตัวในการปฏิบัติงาน เจาหนาที่สวนใหญขาดทักษะในการใชเครื่องคอมพิวเตอร หลักเกณฑและแนวทางการกําหนดชวงราคาขั้นต่ําในอัตรารอยละ 3-5 ของวงเงินงบประมาณ เนื่องจากชวงราคามีวงเงินสูงสงผลใหการประมูลไมสงผลสําเร็จ ในภาพรวม คือ การจัดซื้อจัดจางทางอิเล็กทรอนิกส จะประสบผลสําเร็จตองสรางความเขาใจรวมกันทุกฝายระหวางเจาหนาที่ของรัฐ ผูเขารวมประมูล ผูเกี่ยวของ และประชาชน ซ่ึงการนําระบบจัดซื้อจัดจาง

Page 25: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

29

ทางอิเล็กทรอนิกส มาใชเปาหมายที่สําคัญคือการปองกันการทุจริตคอรรับชั่น เกิดความโปรงใส และสามารถตรวจสอบได

สรุปไดวา งานวิจยัที่เกีย่วของกับโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) คือ งานวิจัยเกีย่วกับการปฏิบัติงานดานการเงินและบัญชี ผูศึกษาไดพบวา การปฏิบัติงานดานการเงินและบัญชี มีความลาชาในการปฏบิัติงานมากทีสุ่ด และปญหาของการปฏิบตัิงานดานการเงินและบัญชี สวนใหญเกิดจากผูปฏิบัติงานขาดความรูความเขาใจในระบบระเบยีบ ขอบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานอยางแทจริง และตวัผูปฏิบัติงานดานการเงินและบญัชี ไมมีคณุสมบัติ วุฒกิารศกึษาตรงกบัตําแหนงงานที่ปฏิบัติ จึงควรมกีารจัดฝกอบรมใหความรู หรือจัดทําคูมือการปฏิบัติงานเกีย่วกับงานการเงินและบัญชี เพื่อใหการปฏบิัติงานมีความถูกตอง และเปนแนวทางเดยีวกันทกุสวนราชการ ซ่ึงในแตละสวนราชการควรกําหนดใหมีการออกติดตามการปฏบิัติงานของงานการเงินและบัญชี และการคัดเลือกบุคคลเขาทํางานในสายงานการเงินและบญัชี และการนาํระบบอิเล็กทรอนิกสในดานการจัดซื้อจดัจางมาใชในการปฏิบัติงาน สามารถปองกันการทุจริตคอรัปชั่น มีความโปรงใส และตรวจสอบได

จากแนวนโยบายของรัฐบาลดานระบบการบริหารการเงนิการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) และแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ ผูศึกษาไดนํามากําหนดกรอบแนวคดิ ดังนี ้

Page 26: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files//47936203/chapter2.pdfบทที่ 2 ... งานวิจัยที่ี่ เก ยวของ

30

กรอบแนวคิดเกี่ยวกับความคิดเห็นของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตาม โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS)

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ผลการดําเนินงาน (ระดับความสําเร็จ ตามโครงการเปลี่ยนระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐสูระบบ

- เพศ อิเล็กทรอนิกส (GFMIS)

- สถานภาพ - ดานงบประมาณ

- อาย ุ - ดานการเบกิจาย

- ระดับการศึกษา - ดานการจดัซื้อจัดจาง

- ประสบการณในการปฏิบัติงาน - ดานการบญัชี

- รายไดเฉลี่ยตอเดือน - ดานทรัพยากรบุคคล

ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิการศึกษา