บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 ·...

22
เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 40 บทที3 การบริหารสินคาคงคลัง กิจการที่มีการซื้อขายสินคา หรือทรัพยสินเพื่อใชประกอบการดําเนินงาน จําเปนตองมีระบบการจัดการ ซื้อสินคาใหสามารถตรวจสอบและควบคุมไดอยางมีประสิทธิภาพตั้งแตระบบการจัดซื้อ ตลอดจนเครื่องมือหรือ อุปกรณตาง ที่ชวยใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยทั่วไปกิจการตองมีระบบการปองกันไมใหระบบการผลิต สินคาหยุดชะงักหรือขาดชวงการผลิต ทําใหกิจการตองมีการสํารองสินคาหรือวัตถุดิบใหเพียงพอตลอดเวลาและ เพื่อปองกันเหตุการณไมอาจเกิดขึ้นได การบริหารสินคาคงคลังจึงตองคํานึงถึงการลงทุนในสินคาคงเหลือเพื่อ เก็บรักษาไวในคลังสินคาใหนอยที่สุด แตจะตองมีสินคาเพียงพอตอความตองการของตลาด และสินคานั้นตองไม ขาดมือและอยูในสภาพที่พรอมใชในการผลิตหรือขายตลอดเวลา ในบทนี้จึงกลาวถึงหัวขอการระบบการจัดซื้อ และการตีราคาสินคาคงเหลือ การบริหารสินคาคงเหลือ และระบบการบริหารสินคาแบบทันเวลา ดังนี1. ระบบการจัดซื้อและการตีราคาสินคาคงเหลือ การจัดซื้อเปนกิจกรรมที่ทําหนาที่รับผิดชอบในการจัดหาพัสดุ สินคา และสินทรัพยที่ตองใชภายใน กิจการใหมีพรอมอยูเสมอเพื่อตอบสนองความตองการของฝายตาง รวมถึงการวางแผน และกําหนดนโยบายทีเกี่ยวของ เชน การเลือกแหลงซื้อ การติดตามผลการจัดซื้อ การตรวจสอบคุณภาพของจัดซื้อ และการสงตอผูใช วัตถุประสงคในการจัดซื้อ พอสรุปไดดังนี1. สนับสนุนการดําเนินงานของบริษัทโดยการจัดสินคา วัตถุดิบ สินทรัพย วัสดุและบริการไมใหขาด สาย สามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่องตลอดเวลา 2. ราคาที่ซื้อจะตองมีราคาไมเกินกวาคูแขงและมีคุณภาพที่ดี เหมาะสมกับราคาที่ซื้อมาไมแพงและไม ต่ําจนทําใหคุณภาพของสินคาเปลี่ยนไป 3. ตองรักษาคุณภาพของสินคา สินทรัพย วัสดุที่ซื้อใหอยูในมาตรฐานอยางเพียงพอ 4. การลงทุนในการซื้อสินคา วัตถุดิบ สินทรัพย วัสดุใหนอยที่สุดแตมีใหเพียงพอตอความตองการของ ฝายที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนฝายผลิต ฝายขาย ฝายคลังสินคา เปนตน 5. ควรสรางแหลงขายที่เชื่อถือไดไวเปนแหลงสํารอง นอกจากการมีแหลงขายประจํา และตองมีการ ตรวจสอบแหลงขายและแสวงหาแหลงขายใหมเพื่อปองกันการขาดแคลนสินคาหรือวัตถุดิบ 6. รักษาฐานะการแขงขันใหกับบริษัทในการจัดซื้อสินคา สินทรัพย วัสดุและบริการใหมีคุณภาพและ ประสิทธิภาพ 7. พัฒนาความสัมพันธกับผูขายเพื่อใหไดสิ่งของที่ดีและบริการที่ดีเพื่อประโยชนของกิจการทั้งปจจุบัน และอนาคต 8. แสวงหาความรวมมือและประสานงานกับฝายอื่นในการใหขอเสนอแนะ การสํารวจความคิดเห็น เพื่อ นําไปปรับปรุงการจัดซื้อครั้งตอไป 9. ฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถในตัวสินคา สินทรัพย วัสดุ หรือการใหบริการ และแนวทางในการแกไขปญหาที่อาจจะเกิดขึ้น 10. จัดทํานโยบายและวิธีการจัดซื้อใหบรรลุถึงวัตถุประสงคของฝายและกิจการอยางมีประสิทธิภาพ เปาหมายและนโยบายในการบริหารจัดซื้อที่สําคัญมีดังนี1. ยกระดับคุณภาพของสินคาหรือวัตถุดิบใหไดมาตรฐานที่ฝายบริหาร ฝายผลิต หรือฝายที่เกี่ยวของได

Upload: others

Post on 10-Jul-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 40

บทที่ 3 การบริหารสินคาคงคลงั

กิจการที่มีการซื้อขายสินคา หรือทรัพยสินเพ่ือใชประกอบการดําเนินงาน จําเปนตองมีระบบการจัดการซื้อสินคาใหสามารถตรวจสอบและควบคุมไดอยางมีประสิทธิภาพตั้งแตระบบการจัดซื้อ ตลอดจนเครื่องมือหรืออุปกรณตาง ๆ ที่ชวยใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยทั่วไปกิจการตองมีระบบการปองกันไมใหระบบการผลิตสินคาหยุดชะงักหรือขาดชวงการผลิต ทําใหกิจการตองมีการสํารองสินคาหรือวัตถุดิบใหเพียงพอตลอดเวลาและเพ่ือปองกันเหตุการณไมอาจเกิดขึ้นได การบริหารสินคาคงคลังจึงตองคํานึงถึงการลงทุนในสินคาคงเหลือเพ่ือเก็บรักษาไวในคลังสินคาใหนอยที่สุด แตจะตองมีสินคาเพียงพอตอความตองการของตลาด และสินคานั้นตองไมขาดมือและอยูในสภาพที่พรอมใชในการผลิตหรือขายตลอดเวลา ในบทนี้จึงกลาวถึงหัวขอการระบบการจัดซื้อและการตรีาคาสินคาคงเหลือ การบริหารสินคาคงเหลือ และระบบการบริหารสินคาแบบทันเวลา ดังนี้

1. ระบบการจัดซื้อและการตีราคาสินคาคงเหลือ

การจัดซื้อเปนกิจกรรมที่ทําหนาที่รับผิดชอบในการจัดหาพัสดุ สินคา และสินทรัพยที่ตองใชภายในกิจการใหมีพรอมอยูเสมอเพื่อตอบสนองความตองการของฝายตาง ๆ รวมถึงการวางแผน และกําหนดนโยบายที่เกี่ยวของ เชน การเลือกแหลงซื้อ การติดตามผลการจัดซื้อ การตรวจสอบคุณภาพของจัดซื้อ และการสงตอผูใช วัตถุประสงคในการจัดซื้อ พอสรุปไดดังนี้ 1. สนับสนุนการดําเนินงานของบริษัทโดยการจัดสินคา วัตถุดิบ สินทรัพย วัสดุและบริการไมใหขาดสาย สามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่องตลอดเวลา 2. ราคาที่ซื้อจะตองมีราคาไมเกินกวาคูแขงและมีคุณภาพที่ดี เหมาะสมกับราคาที่ซื้อมาไมแพงและไมตํ่าจนทําใหคุณภาพของสินคาเปล่ียนไป 3. ตองรักษาคุณภาพของสินคา สินทรัพย วัสดุที่ซื้อใหอยูในมาตรฐานอยางเพียงพอ 4. การลงทุนในการซื้อสินคา วัตถุดิบ สินทรัพย วัสดุใหนอยที่สุดแตมีใหเพียงพอตอความตองการของฝายที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนฝายผลิต ฝายขาย ฝายคลังสินคา เปนตน 5. ควรสรางแหลงขายที่เชื่อถือไดไวเปนแหลงสํารอง นอกจากการมีแหลงขายประจํา และตองมีการตรวจสอบแหลงขายและแสวงหาแหลงขายใหมเพ่ือปองกันการขาดแคลนสินคาหรือวัตถุดิบ 6. รักษาฐานะการแขงขันใหกับบริษัทในการจัดซื้อสินคา สินทรัพย วัสดุและบริการใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

7. พัฒนาความสัมพันธกับผูขายเพื่อใหไดส่ิงของที่ดีและบริการที่ดีเพ่ือประโยชนของกิจการทั้งปจจุบันและอนาคต 8. แสวงหาความรวมมือและประสานงานกับฝายอื่นในการใหขอเสนอแนะ การสํารวจความคิดเห็น เพ่ือนําไปปรบัปรุงการจัดซื้อครั้งตอไป 9. ฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถในตัวสินคา สินทรัพย วัสดุ หรือการใหบริการและแนวทางในการแกไขปญหาที่อาจจะเกิดขึ้น 10. จัดทํานโยบายและวิธีการจัดซื้อใหบรรลุถึงวัตถุประสงคของฝายและกิจการอยางมีประสิทธิภาพ

เปาหมายและนโยบายในการบริหารจัดซื้อที่สําคัญมีดังนี้ 1. ยกระดับคุณภาพของสินคาหรือวัตถุดิบใหไดมาตรฐานที่ฝายบริหาร ฝายผลิต หรือฝายที่เกี่ยวของได

Page 2: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 41

กําหนดคุณภาพของสิ้นคาไว 2. ปฏิบัติอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ จะตองมีการติดตามและยึดถือเปนแนวปฏิบัติอยางเครงครัด 3. เพ่ิมการแขงขันขององคการในอุตสาหกรรมนั้น ๆ จะตองหาแหลงขายเพิ่มเติมและพัฒนาคุณภาพ

ของสินคาและวัตถุดิบใหสามารถตอสูกับการแขงขันในตลาดไดอยางพอเพียง 4. ประสานงานอยางมีประสิทธิภาพกับหนวยงานอื่น ควรจัดใหมีการประชุม วิเคราะหปญหารวมกัน

และหาแนวทางในการแกไขปญหาและการปองกัน 5. สรางสัมพันธที่ดีกับคูคาทุกราย ควรมีการเยี่ยมผูขาย แลกเปล่ียนความคิดเห็นกันและจัดใหมีการ

พบปะสังสรรค 6. จัดหาสินคาใหไดในเวลาและราคาที่ถูกตอง ตองมีการจัดระบบต่ําสุดและสูงสุดที่เกิดความตองการใน

ตัวสินคาและวัตถุดิบ โดยบริหารใหเกิดความเพียงพอตอความตองการของฝายผลิตหรือฝายขายในราคาที่เหมาะสม

หนาท่ีของการจัดซื้อ ในการจัดซื้อสินคา วัตถุดิบ สินทรัพย วัสดุส้ินเปลือง หรือการใหบริการใด ฝายจัดซื้อมีหนาที่ในการจัดซื้อดังนี้ 1. รวบรวมขอมูลและจัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดซื้อสินคา วัตถุดิบ สินทรัพย วัสดุส้ินเปลือง และการใหบริการ 2. ศึกษา วิเคราะห ตรวจสอบรายละเอียดของสิ่งที่จะตองมีการจัดซื้อ 3. จัดระบบเอกสารแบบฟอรมที่จําเปนเพ่ือใชในงานจัดซื้อเพ่ือใหสามารถตรวจสอบและควบคุมภายในเพ่ือปองกันการทุจริต 4. บริหารพัสดุตาง ๆ ใหมีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองความตองการของฝายตาง ๆ ของกิจการไมวาจะเปนการขาย การผลิต หรือวัสดุอุปกรณที่จําเปน 5. มีการประมาณราคา หรือจัดใหมีราคากลางเพื่อใชในการจัดซื้อในแตละผลิตภัณฑ ตามเงื่อนไขและนโยบายของกิจการ 6. จัดจําหนายพัสดุที่ชํารุด เสียหาย ลาสมัย ใชการไมได ออกจากกิจการโดยการจัดทํารายงานการจัดจําหนาย 7. จัดทํางบประมาณในการจัดซื้อพัสดุตาง ๆ เพ่ือใหมีเพียงพอตอความตองการและควบคุมได 8. กําหนดมาตรฐานของพัสดุและคุณสมบัติเฉพาะของพัสดุในแตละประเภท 9. จัดทํารายงานการจัดซื้อในแตละรอบเดือน เพ่ือทราบถึงความเคลื่อนไหวในการจัดซื้อและคาใชจายตาง ๆ ที่ไดจายไป กิจการที่มีสินคาคงเหลือไมวาจะอยูในรูปของสินคาสําเร็จรูป หรือวัตถุดิบในกิจการอุตสาหกรรม เมื่อส้ินรอบระยะเวลาบัญชีตองมีการตรวจนับและตีราคาเพื่อคํานวณหามูลคาสินคาที่เหลืออยู การตีราคาสินคาคงเหลือนั้นมีหลายวิธีตามความเหมาะสม วิธีที่นิยมและเปนที่รูจักไดแก วิธีเขากอนออกกอน วิธีเขาหลังออกกอน วิธีถัวเฉล่ียถวงน้ําหนัก วิธีเฉพาะเจาะจง วิธีสินคาจํานวนฐาน วิธีราคาซื้อครั้งหลังสุด วิธีถัวเฉล่ียอยางงาย วิธีถัวเฉล่ียเคล่ือนที่ วิธีเขาหลังออกกอนรวมสินคาเปนกลุม วิธี Dollar-value LIFO วิธีราคาขายปลีก และวิธีทีราคาทุนหรือราคาตลาดที่ตํ่ากวา ซึ่งแตละวิธีจะมีผลกระทบตองบการเงินแตกตางกัน

1.1 วิธีเขากอนออกกอน (First-In, First-Out: FIFO) การตีราคาสินคาคงเหลือวิธีนี้เหมาะกับกิจการที่ไมตองการใหสินคาซื้อไวครั้งแรกเก็บไวนานเกินไป ซึ่ง

อาจจะทําใหสินคาเสื่อมคุณภาพหากไมสามารถจําหนายได สินคาที่เหลือจะเปนสินคาที่ซื้อหรืผลิตไดครั้งหลังสุดตามลําดับ

Page 3: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 42

ตัวอยาง บริษัท พรนุรักษจํากัด มีขอมูลเกี่ยวกับการซื้อ-ขายสินคาในเดือนมกราคม 2550 ดังนี้ ปริมาณ ราคาตอหนวย รวม สินคาคงเหลือ ณ 1 มกราคม 2550 500 12.00 6,000 บวก ซื้อ 8 มกราคม 400 12.50 5,000 ซื้อ 15 มกราคม 400 12.80 5,120 ซื้อ 20 มกราคม 100 900 13.00 1,300 สินคาที่มีไวเพ่ือขาย 1,400 17,420 หัก ขาย 2 มกราคม 400 ขาย 12 มกราคม 300 ขาย 19 มกราคม 450 1,150 สินคาคงเหลือปลายงวด 250

1.1.1 ในกรณีบันทึกสินคาแบบสิ้นงวด (Periodic inventory method) จะมีการตรวจนับสินคาคงเหลือเพ่ือนํามาคํานวณหามูลคาหรือราคาทั้งหมดของสินคา ณ วันส้ินงวด

1.1.2 ในกรณีบันทึกสินคาแบบตอเนื่อง (Perpetual inventory method) หากกิจการเลือกการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินคาแบบตอเนื่อง จะตองคํานวณหาสินคาคงเหลือโดยคํานวณหาทุกครั้งที่มีการซื้อสินคาหรือขายสินคา ซึ่งโดยปกติจะคํานวณหาสินคาคงเหลือในบัตรคุมสินคา (Stock Card) หรือ รายงานสินคา วัตถุดิบ เพ่ือบันทึกการเปลี่ยนแปลงในสินคาคงเหลือของกิจการทุกครั้งที่ซื้อหรือขายสินคาในระหวางงวด

รายการรับ รายการจาย คงเหลือ วัน เดือน ป

ปริมาณ ราคา/หนวย

ตนทุนทั้งสิ้น

ปริมาณ ราคา/หนวย

ตนทุนทั้งสิ้น

ปริมาณ ราคา/หนวย

ตนทุนทั้งสิน้

Page 4: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 43

1.2 วิธีเขาหลังออกกอน (Last-in, First-out method or LIFO) การตีราคาสินคาคงเหลือวิธีนี้จะคํานวณหาวา สินคาที่ซื้อหรือผลิตครั้งหลังยอมจะถูกขายออกไป

กอนและสินคาคงเหลือจะเปนสินคาที่ซื้อหรือผลิตไดกอน หรือครั้งแรก ๆ ตามลําดับ วิธีนี้เหมาะสมสําหรับกิจการที่ตองการใหสินคาซื้อไวครั้งหลัง ๆ ขายออกไปกอนเนื่องจากสินคาที่ซื้อมาครั้งแรก ๆ ถึงแมจะมีการเก็บไวนานก็ไมเนาบูดเสียหาย หรือไมเส่ือมสภาพไดงาย เหมาะกับสินคาหรือวัตถุดิบที่เก็บรักษาโดยไมมีระยะเวลาในการเก็บรักษา หรือย่ิงเก็บนานยิ่งมีคามากยิ่งขึ้น เชน อัญมณี ทอง วัตถุโบราณ ซึ่งระยะเวลาในการเก็บรักษาไดนานจึงเหมาะสมที่จะเลือกการตีราคาสินคาคงเหลือโดยวิธีนี้ เพราะการคํานวณหาสินคาคงเหลือในวิธีนี้จะใชราคาที่ซื้อมาครั้งแรกซึ่งเปนราคาต่ํากวาราคาที่ซื้อมาครั้งหลัง

ตัวอยาง จากตัวอยางเดิม บริษัทพรนุรักษ จํากัด คํานวณหาสินคาคงเหลือดวยราคาทุนโดยวิธี LIFO ดังนี้

1.2.1 ในกรณีที่บันทึกบัญชีสินคาแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory Method) หากกิจการเลือกวิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินคาแบบสิ้นงวด จะตองมีการตรวจนับจํานวนสินคาคงเหลือวามีจํานวนเทาไร แลวจึงจะนํามาคาํนวณหามูลคาหรือราคาทั้งหมดของสินคาคงเหลือ ณ วันส้ินงวดบัญชี

1.2.2 ในกรณีบันทึกบัญชีสินคาแบบตอเนื่อง (Perpetual Inventory Method) หากกิจการเลือกการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินคาแบบตอเนื่อง จะตองคํานวณหาสินคาคงเหลือโดยคํานวณหาทุกครั้งที่มีการซื้อสินคา หรือขายสินคาซึ่งโดยปกติจะคํานวณหาสินคาคงเหลือในบัตรคุมสินคา (Stock Card) หรือ รายงานสินคา วัตถุดิบ เพ่ือบันทึกการเปลี่ยนแปลงในสินคาคงเหลือของกิจการทุกครั้งที่ซื้อหรือขายสินคาระหวางงวด

รายการรับ รายการจาย คงเหลือ วัน เดือน ป

ปริมาณ ราคา/หนวย

ตนทุนทั้งสิ้น

ปริมาณ ราคา/หนวย

ตนทุนทั้งสิ้น

ปริมาณ ราคา/หนวย

ตนทุนทั้งสิน้

Page 5: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 44

1.3 วิธีถัวเฉลี่ยถวงนํ้าหนัก (Weighted-Average Method) การตีราคาสินคาคงเหลือวิธีนี้จะคํานวณจากราคาทุนของสินคาที่มีไวขายตอหนวยเทากับราคาทุน

ทั้งหมดของสินคาที่กิจการไดซื้อมาซึ่งรวมสินคาคงเหลือตนงวดดวย หารดวยจํานวนหนวยของสินคาทั้งหมดที่มีไวเพ่ือขาย วิธนีี้จะใชกับกิจการที่เลือกวิธีบันทึกบัญชีสินคาแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory Method) เทานั้น

ตัวอยาง จากตัวอยางเดิม บริษัทพรนุรักษ จํากัด การคํานวณหาสินคาคงเหลือดวยราคาทุนโดยวิธี Weighted-Average Method หากกิจการเลือกวิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินคาแบบสิ้นงวด จะตองมีการตรวจนับจํานวนสินคาคงเหลือวามีจํานวนเทาไร แลวจึงจะนํามาคํานวณหามูลคาหรือราคาทั้งหมดของสินคาคงเหลือ ณ วันส้ินงวดบัญชี ดังตอไปนี้

1.4 วิธีเฉพาะเจาะจง (Specific Identifications Method)

การตีราคาสินคาคงเหลือวิธีนี้จะคํานวณจากสินคาที่สามารถแยกออกไดอยางชัดเจนวา สินคาชนิดใดซื้อมาเมื่อใดราคาเทาไร ก็ใหตีราคาสินคาคงเหลือตามราคาที่แทจริงของแตละประเภทที่เหลืออยู ดังนั้นเมื่อกิจการขายสินคาออกไปก็จะตองทราบในทันทีวา สินคาขายเปนสินคาตัวใดราคาที่ซื้อมาเทาไร เหมาะกับกิจการที่ซื้อสินคาแตละครั้งมีจํานวนไมมากและมีขนาดใหญราคาคอนขางสูง เชน รถยนต เครื่องจักรขนาดใหญ เปนตน

ตัวอยาง จากตัวอยางเดิม บริษัทพรนุรักษ จํากัด การคํานวณหาสินคาคงเหลือดวยราคาทุนโดยวิธีเฉพาะเจาะจง (Specific Identification) โดยสินคาคงเหลือจํานวน 50 หนวย เปนสินคาของวันที่ 8 สวนที่เหลือเปนของวันที่ 15 กิจการจะคํานวณหาสินคาคงเหลือไดดังนี้

1.5 วิธีสินคาจํานวนฐาน (Base Stock Method)

การตีราคาสินคาคงเหลือวีนี้จะคํานวณจากสินคาที่มีคุณสมบัติเปนสินทรัพยถาวรอยางหนึ่งของกิจการและจะกําหนดราคาทุนที่ซื้อหรือผลิตขึ้นมาเปนสินคาคงเหลือ สวนจํานวนสินคาที่นอกเหนือจากนี้จะคํานวณราคาโดยใชวีเขากอนออกกอน (FIFO)

ตัวอยาง จากตัวอยางเดิม บริษัทพรนุรักษ จํากัด การคํานวณหาสินคาคงเหลือดวยราคาทุนโดยวิธีสินคาจํานวนฐาน (Base Stock Method) หากกิจการจําตองมีการตรวจนับจํานวนสินคาคงเหลือวามีจํานวนเทาไร แลวจึงจะนํามาคํานวณหามูลคาหรือราคาทั้งหมดของสินคาคงเหลือ ณ วันส้ินงวดบัญชี

กิจการตองการใหมีสินคาจํานวนฐานสํารองไวในคลังสินคาเปนจํานวน 100 หนวย ซึ่งเมื่อรวมกับ

Page 6: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 45

สินคาคงเหลืออีก 250 หนวยจะเปน 350 หนวย ซึ่งจะคํานวณหาสินคาคงเหลือไดดังนี้

1.6 วิธีราคาซื้อคร้ังหลังสุด (Cost of Latest Purchases)

การตีราคาสินคาคงเหลือวิธีนี้จะคํานวณจากราคาของสินคาที่ซื้อครั้งสุดทาย โดยนําราคาตอหนวยของสินคาที่ซื้อครั้งหลังสุดมาคํานวณหาสินคาคงเหลือปลายงวดของกิจการ

ตัวอยาง จากตัวอยางเดิม บริษัทพรนุรักษ จํากัด การคํานวณหาสินคาคงเหลือดวยราคาทุนโดยวิธีซื้อครั้งสุดทาย (Cost of Latest Purchases) หากกิจการเลือกวิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินคาคงเหลือแบบส้ินงวด จะตองมีการตรวจนับจํานวนสินคาคงเหลือวามีจํานวนเทาไร แลวจึงจะนํามาคํานวณหามูลคาหรือราคาทั้งหมดของสินคาคงเหลือ ณ วันส้ินงวดบัญชี

1.7 วิธีถัวเฉลี่ยอยางงาย (Simple-Average Method)

การตีราคาสินคาคงเหลือวีนี้จะคํานวณหาสินคาคงเหลือโดยการนําราคาตอหนวยของการซื้อสินคาในแตละคร้ังมารวมกันแลวหารดวยจํานวนครั้งที่ซื้อมาซึ่งจะทําใหไดราคาตอหนวยโดยเฉลี่ย แลวนําไปคํานวณหาสินคาคงเหลือปลายงวด โดยการนําไปคูณกับจํานวนหนวยที่ตรวจนับได การคํานวณหาสินคาคงเหลือวิธีถัวเฉล่ียอยางงายนี้จะใชกับการบันทึกบัญชีสินคาแบบ Periodic Inventory เทานั้น

ตัวอยาง จากตัวอยางเดิม บริษัทพรนุรักษ จํากัด การคํานวณหาสินคาคงเหลือดวยราคาทุนโดยวิธีถัวเฉล่ียอยางงาย (Simple-Average Method) หากกิจการเลือกวิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินคาแบบสิ้นงวด จะตองมีการตรวจนับจํานวนสินคาคงเหลือวามีจํานวนเทาไร แลวจึงจะนํามาคํานวณหามูลคาหรือราคาทั้งหมดของสินคาคงเหลือ ณ วันส้ินงวดบัญชี ดังตอไปนี้

1.8 วิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนท่ี (Moving-Average Method)

การตีราคาสินคาคงเหลือดวยราคาทุนวิธีนี้จะเปนการถัวเฉล่ียหาราคาสินคาตอหนวยทุกครั้งที่มีการซื้อสินคาเขามาในกิจการ ดังนั้นอัตราสินคาคงเหลือตอหนวยขึ้นลงอยูตลอดเวลาทุกครั้งที่มีการซื้อเขากิจการ การคํานวณสินคาคงเหลือวิธีน้ีจะใชกับกิจการที่เลือกการบันทึกบัญชีแบบตอเนื่อง (Perpetual Inventory Method) เทานั้น

Page 7: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 46

ตัวอยาง จากตัวอยางเดิม บริษัทพรนุรักษ จํากัด การคํานวณหาสินคาคงเหลือดวยราคาทุนโดยวิธีถัวเฉล่ียเคล่ือนที่ (Moving-Average Method) หากกิจการเลือกวิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินคาแบบตอเนื่อง จะคํานวณหาสินคาคงเหลือของกิจการในรายงานสินคาและวัตถุดิบดังตอไปนี้

รายการรับ รายการจาย คงเหลือ วัน เดือน ป

ปริมาณ ตนทุน/หนวย

ตนทุนทั้งสิ้น

ปริมาณ ตนทุน/หนวย

ตนทุนทั้งสิ้น

ปริมาณ ตนทุน/หนวย

ตนทุนทั้งสิ้น

1.9 วิธีเขาหลังออกกอนรวมสินคาเปนกลุม (Pooled LIFO)

การตีราคาสินคาคงเหลือวิธีนี้ดัดแปลงมาจากวิธีเขาหลังออกกอน (LIFO) เนื่องจากวิธี LIFO หากตีราคาสินคาแตละประเภท (Single Goods) จะทําใหเกิดความยุงยากสิ้นเปลืองเวลาในการตีราคาคอนขางมาก บางกิจการจึงนําสินคาที่มีหลายชนิด หลายประเภทมารวมกลุมเปนกลุมเดียวกันเพ่ือใหสะดวกตอการตีราคาสินคาคงเหลือ การตีราคาสินคาคงเหลือวิธีนี้จะเปนการคํานวณราคาตอหนวยของสินคาคงเหลือตนงวด และซื้อระหวางงวด แลวจึงจะนํามูลคาทั้งหมดมาคํานวณสินคาคงเหลือปลายงวด

ตัวอยาง บริษัทพรนุรักษ จํากัด มีสินคาคงเหลือดังนี้ วัตถุดบิ ปริมาณ (กิโลกรัม) ราคาตอหนวย (บาท) รวมเงิน

1. ถ่ัวดํา 30,000 5.50 165,000 2. ถ่ัวแดง 40,000 6.25 250,000 3. ถ่ัวเขียว 25,000 8.40 210,000 4. ลูกบัว 10,000 11.90 119,000

ซื้อระหวางงวด วัตถุดิบ

ปริมาณคงเหลือตน

งวด ปริมาณ

ราคาตอหนวย

รวมเงิน

ปริมาณความ

ตองการใช

ปริมาณคงเหลือปลาย

งวด

1. ถ่ัวดํา 30,000 35,000 6.00 210,000 35,000 30,000 2. ถ่ัวแดง 40,000 42,000 7.80 327,600 38,000 44,000 3. ถ่ัวเขียว 25,000 30,000 10.50 315,000 31,000 24,000 4. ลูกบัว 10,000 20,000 12.00 240,000 18,000 12,000 105,000 127,000 1,092,600 112,000 110,000

ราคาซื้อระหวางงวดถัวเฉล่ียตอหนวย = ................................... บาท

Page 8: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 47

การคํานวณหาสินคาคงเหลือปลายงวดวิธี Pooled LIFO มีดังนี้

1.10 วิธี Dollar-value LIFO

การตีราคาสินคาคงเหลือวิธีนี้จะเปนการเพิ่มและลดในการคํานวณสินคาคงเหลือรวมเปนกลุม (Pooled LIFO) ซึ่งเกิดจากการเปรียบเทียบรายไดจากการขายสินคากับตนทุนของสินคาโดยการคํานวณราคาของสินคาแทนที่จะคํานวณปริมาณของสินคาคงเหลือรวมเปนกลุม ซึ่งจะทําใหสินคาบางชนิดที่เหลือนอยก็จะสามารถชดเชยไดโดยนําสินคาอีกชนิดหนึ่งมาชดเชยซึ่งอยูในกลุมเดียวกัน และใชดรรชนีราคา (Price Index) เปนเครื่องมือในการวัดคาของสินคาคงเหลือในวันส้ินรอบระยะเวลาบัญชี

ตัวอยาง บริษัทพรนุรักษ จํากัด มีสินคาคงเหลือดังนี้

31 ธันวาคม สินคาคงเหลือส้ินงวด ราคา ณ วันส้ินงวด

ดัชนีราคา %

สินคาคงเหลือส้ินงวด ราคาปฐาน

ปฐาน 2550 8,000,000 100 8,000,000 2551 11,960,000 115 11,040,000

1.11 วิธีราคาขายปลีก (Retail Inventory)

การตีราคาสินคาคงเหลือโดยวิธีนี้ เปนการคํานวณสินคาคงเหลือโดยวิธีราคาทุนโดยประมาณอันเกิดจากการตั้งราคาขายปลีกของธุรกิจขายปลีกหรือหางสรรพสินคาหักดวยอัตรากําไรขั้นตน (Gross margin) เพ่ือเปนการกําหนดตนทุนของสินคาคงเหลือที่มีจํานวนมากหลายประเภทหลายรายการใหสะดวกตอการตีราคาของสินคาคงเหลือไดรวดเร็วใกลเคียงกับขอเท็จจริง วิธีนี้จะถูกนํามาใชตอเมื่อวิธีตีราคาสินคาคงเหลือดวยราคา

Page 9: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 48

ทุนไมเหมาะสม การกําหนดราคาขายปลีกมักจะคํานวณตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ ราคาขายปลีก = ราคาทุน + กําไรที่ตองการ Retail = Cost + Markup ตัวอยาง บริษัทพรนุรักษ จํากัดไดซื้อสินคามาในราคาทุน 15,000 บาท โดยกําหนดอัตรา

Markup ในอัตรา 25% ดังนั้นกิจการจะตั้งราคาขายไดดังนี้

เมื่อเราทราบอัตรารอยละของกําไรที่ตองการ (Markup) เราสามารถนําอัตราดังกลาวมาคํานวณหาราคาของสินคาคงเหลือปลายงวดโดยวิธี Retail Inventory ไดดังนี้

ราคาทุน ราคาขายปลีก สินคาคงเหลือ ตนงวด 840,000 1,500,000 บวก : ซื้อสินคา 2,960,000 3,500,000

สินคามีไวเพ่ือขาย 3,800,000 5,000,000 หัก : ขายสินคา 3,000,000

สินคาคงเหลือ ปลายงวด 2,000,000 ดังนั้น สินคาคงเหลือปลายงวดในราคาทุนจะคํานวณไดดังนี้

Page 10: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 49

1.12 การตีราคาสินคาดวยราคาทุนหรือราคาตลาดที่ตํ่ากวา (Lower of Cost or Market Inventory Method)

เมื่อส้ินงวดบัญชีกิจการจะตองมีการตีราคาสินคาคงเหลือตามหลักการบัญชี จะตองมีการตรวจนับสินคาคงเหลือหากกิจการเลือกวิธีการบันทึกบัญชีแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory Method) และหากกิจการบันทึกบัญชีสินคาแบบตอเนื่อง (Perpetual Inventory Method) กิจการก็จะทราบมูลคาสินคาคงเหลือไดจากบัญชีแยกประเภท “บัญชีสินคา” หรือจากรายงานสินคาและวัตถุดิบ ซึ่งไมวาจะเลือกวิธีการบันทึกบัญชีแบบใดก็ตามมูลคาของสินคาคงเหลือ ณ วันส้ินงวดบัญชีก็จะเปนราคาทุน หลักเกณฑในการตีราคาสินคาคงเหลือ ณ วันส้ินงวดบัญชีกิจการจะตองนําราคาทุนหรือราคาตลาดของสินคาคงเหลือมาเปรียบเทียบกัน ซึ่งราคาไหนต่ํากวาจะใชราคานั้นเปนราคาของสินคาคงเหลือ ราคาตลาด (Market Value) หมายถึง มูลคาสุทธิที่คาดวาจะขายได ณ วันตีราคาสินคาคงเหลือราคาที่เปล่ียนแทนปจจุบันโดยการซื้อหรือสรางขึ้นแทน หรือราคาที่จะตองจายเพื่อซื้อสินคาหรือผลิตสินคานั้นขึ้นมาใหม

ดังนั้นเมื่อส้ินงวดบัญชีกิจการจะตองมีการเปรียบเทียบระหวางราคาทุนกับราคาตลาดแลวแตราคาใดจะตํ่ากวาในวันสุดทายของรอบระยะเวลาบัญชี ตัวอยางการเปรียบเทียบราคา

สินคา ราคาทุน ราคาตลาด ราคาทุนหรือราคาตลาดที่ตํ่ากวา

ก. 800 1,200 800 ข. 600 550 550 ค. 500 900 500 ง. 1,200 1,100 1,100 จ. 1,300 1,900 1,300 รวม 4,400 6,650 4,250

การนําราคาตลาดมาตีราคาสินคาคงเหลือในกรณีที่ราคาตลาดต่ํากวาราคาทุน “ราคาตลาด” จะตองไม

สูงกวาราคาสุทธิที่กิจการอาจขายสินคานั้นได (Net realizable value) หักดวยกําไรปกติ ซึ่งจะทําใหปองกันไมใหเกิดผลขาดทุนจากการขายสินคาในอนาคต การเปรียบเทียบราคาทุนหรือราคาตลาดแลวแตราคาใดจะต่ํากวาสามารถกระทําได 3 วิธี คือเปรียบเทียบระหวางราคาทุนกับราคาตลาดของสินคาแตละรายการ แตละพวก และยอดรวม

1. การเปรียบเทียบระหวางราคาทุนกับราคาตลาดของสินคาแตละรายการ

วิธีจะเปนการนําราคาทุนตอหนวยและราคาตลาดตอหนวยของสินคาแตละรายการหรือแตละตัว (Stock keeping units = SKU) มาเปรียบเทียบกันราคาไหนต่ํากวาจะใชราคานั้นเปนสินคาคงเหลือปลายงวด

ตัวอยาง บริษัทพรนุรักษ จํากัด มีสินคาคงเหลือและตีราคาสินคาดังนี้

ราคาตอหนวย ราคารวม รายการ จํานวน

ราคาทุน ราคาตลาด ราคาทุน ราคาตลาด ราคาทุนหรือราคาตลาด

แผนกเสื้อเชิ้ต แขนยาว 3,000 400 350 แขนส้ัน 1,000 310 340

Page 11: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 50

ราคาตอหนวย ราคารวม รายการ จํานวน

ราคาทุน ราคาตลาด ราคาทุน ราคาตลาด ราคาทุนหรือราคาตลาด

แผนกกางเกง

ขายาว 2,000 400 520 ขาส้ัน 500 300 320

สินคาคงเหลือ

2. การเปรียบเทียบระหวางราคาทุนกับราคาตลาดของสินคาแตละพวก วิธีนี้จะเปนการเปรียบเทียบราคาทุนกับราคาตลาดของสินคาแตละพวก แตละประเภท หรือแตละ

แผนก โดยเปรียบเทียบเปนแผนกของสินคา ตัวอยางวิธีการเปรียบเทียบ

ราคาตอหนวย ราคารวม รายการ จํานวน

ราคาทุน ราคาตลาด ราคาทุน ราคาตลาด ราคาทุนหรือราคาตลาด

แผนกเสื้อเชิ้ต แขนยาว 3,000 400 350 แขนส้ัน 1,000 310 340 แผนกกางเกง

ขายาว 2,000 400 520 ขาส้ัน 500 300 320

สินคาคงเหลือ

3. การเปรียบเทียบระหวางราคาทุนกับราคาตลาดของสินคาดวยยอดรวม การเปรียบเทียบระหวางราคาทุนกับราคาตลาดของสินคาดวยยอดรวม จะเปนการเปรียบเทียบ

จากยอดรวมของสินคาทั้งส้ินที่กิจการคงเหลืออยู ณ วันส้ินรอบระยะเวลาบัญชีโดยนํายอดรวมของสินคาทั้งหมดดวยราคาทุน มาเปรียบเทียบราคาสินคาทั้งหมดดวยราคาตลาดราคาไหนต่ํากวาจะใชราคานั้นเปนสินคาคงเหลือของกิจการ

ราคาตอหนวย ราคารวม รายการ จํานวน

ราคาทุน ราคาตลาด ราคาทุน ราคาตลาด ราคาทุนหรือราคาตลาด

แผนกเสื้อเชิ้ต แขนยาว 3,000 400 350 แขนส้ัน 1,000 310 340 แผนกกางเกง

ขายาว 2,000 400 520 ขาส้ัน 500 300 320

สินคาคงเหลือ

Page 12: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 51

1.13 มูลคาสุทธิท่ีจะไดรับ (Net Realizable Value) หมายถึง มูลคาหรือราคาที่กิจการคาดวาจะขายไดตามปกติของธุรกิจแลวหักดวยตนทุนสวนเพ่ิมที่

จะทําใหสินคานั้นผลิตเสร็จและคาใชจายอื่นที่กิจการจําเปนตองจายไปเพ่ือใหขายสินคานั้นได จะเห็นไดวาบางครั้ง “ราคาตลาด” มีขอจํากัดคอนขางมาก ซึ่งจํานวนอาจจะไมมากหรือนอยไปกวามูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับ (Net realizable value) เชน

สินคา – ราคาขาย 100,000 บาท หัก ตนทุนสวนเพ่ิมที่จะทําใหสินคาเสร็จสมบูรณ 10,000 บาท มูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับ 90,000 บาท หัก สวนลดกําไรที่ตองการ (10% ของยอดขาย) 10,000 บาท มูลคาสุทธิ 80,000 บาท

การเปรียบเทียบการตีราคาสินคาคงเหลือระหวางราคาทุนกับมูลคาสุทธิท่ีจะไดรับ ในการตีราคาสินคาคงเหลือ ณ วันส้ินงวดบัญชีซึ่งไดทราบกันแลวราคาของสินคามีอยู 2 ราคา คือ

ราคาทุน หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับ ดังนั้น ณ วันส้ินงวดบัญชีจะตองมีการเปรียบเทียบระหวางราคาทุนกับมูลคาสุทธิที่จะไดรับ (ตามกฎหมายภาษีอากรยังคงเรียกวา “ราคาตลาด”) ราคาใดต่ํากวาใหใชราคานั้นเปนสินคาคงเหลือ

ตัวอยาง เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2550 เปนวันปดบัญชีของบริษัท พรนุรักษ จํากัด ไดมีการตรวจนับสินคาคงเหลือ ณ วันส้ินงวดบัญชีดังกลาวมีรายละเอียดดังตอไปนี้

ประเภท ราคาทุน ราคาที่คาดวาจะขายได

ตนทุนทําตอจนเสร็จและจําหนาย

มูลคาสุทธิที่จะไดรับ

ราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับต่ํากวา

ก 500 700 70 ข 600 650 80 ค 450 580 20 ง 700 780 90 จ 550 670 40 2,800 3,380 300

2. การบริหารสินคาคงเหลือ

สินคาคงเหลือที่กิจการเก็บไวในคลังสินคา มักมีขอจํากัดในเรื่องของปริมาณในการเก็บรักษา ความตองการของสินคาในแตละชวงเวลาตามสถานการณการตลาด หรือสินคาขายไมออก ผูบริหารสินคาคงเหลือตองมีความสามารถในการบริหารใหเกิดความสมดุลระหวางปริมาณสินคาคงเหลือกับความตองการสินคาเหลานั้น นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึงประโยชนที่กิจการจะไดรับจากการสั่งซื้อสินคาในแตละครั้ง โดยทําใหสินคาที่คงเหลืออยูในคลังสินคามีอยางเหมาะสมและยืดหยุนได การจะสั่งซื้อสินคาใหไดสัดสวนที่ถูกตองและประหยัดไดนั้นจะคํานึงถึงเหตุอยู 2 ประการ คือ จะส่ังซื้อเมื่อใด และจํานวนเทาใด การพิจารณาวาเมื่อใดจะทําการสั่งซื้อหรือหากสั่งซื้อจะส่ังซื้อครั้งละเทาใดจึงจะประหยัดคาใชจาย คาใชจายที่เกี่ยวของมีดังนี้

Page 13: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 52

2.1 คาใชจายในการจัดหา (Cost to buy: CB) เปนคาใชจายที่กิจการไดจายไปเพ่ือใหไดสินคามาจัดเก็บและนําออกจําหนายตามความตองการของตลาด หรือตามความตองการของฝายผลิต ฝายขายหรือฝายคลังสินคา ประกอบดวย 1) คาใชจายในการตัดสินใจและคํานวณหาความตองการ ไดแก ระยะเวลาในการจัดหา และระยะเวลาในการคํานวณและตรวจสอบขอมูล และ 2) คาใชจายในการดําเนินงานใหไดมา ไดแก คาใชจายในการทําเอกสาร คาใชจายในการทํารายงาน คาใชจายดานบัญชี คาใชจายดานสินคา คาใชจายตาง ๆ นี้จะผันแปรไปตามปริมาณการสั่งซื้อหรืความถี่ในการสั่งซื้อสินคาในแตละครั้ง คาใชจายดังกลาวคํานวณไดดังนี้ คาใชจายในการจัดหา = จํานวนที่ตองการทั้งป x คาใชจายในการจัดหาแตละครั้ง จํานวนที่จัดหาในแตละครั้ง หรือ CB = P x S Q

2.2 คาใชจายในการเก็บรักษา (Cost to hold: CH) เปนคาใชจายที่กิจการตองจายไปเพื่อการเก็บรักษาสินคาคงเหลือในคลังสินคาที่ ยังไมไดนําออกจําหนาย ซึ่งจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับปริมาณของสินคาที่กิจการไดจัดเก็บไว ประกอบดวย คาประกันภัย คาดูแลรักษาความปลอดภัย คาใชจายในการขนยาย คาใชจายในการจัดเก็บ คาพ้ืนที่การจัดเก็บ คาใชจายในการเส่ือมสภาพหรือลาสมัย คาใชจายในการปฏิบัติงาน นอกจากนี้อาจมีดอกเบี้ยจายอันเกิดจากการนําเงินไปลงทุนซื้อสินคาคงเหลือ

คาใชจายตาง ๆ นี้จะมีการเปล่ียนแปลงไปตามจํานวนการสั่งซื้อในแตละครั้งขึ้นอยูกับปริมาณการสั่งซื้อมากหรือนอยซึ่งจะมีผลกระทบตอคาใชจายในการเก็บรักษา คาใชจายดังกลาวคํานวณไดดังนี้

คาใชจายในการเก็บรักษา = จํานวนเฉลี่ยที่เก็บไว x คาใชจายในการเก็บรักษาสินคาตอหนวย หรือ CH = (Q/2) x C

2.3 จํานวนสั่งซื้อท่ีประหยัด (Economic order quantity: EOQ) กิจการที่เปนผูผลิตหรือขายสินคาจําเปนตองมีวัตถุดิบหรือสินคาใหเพียงพอตอความตองการของตลาดและตองมีสินคาหรือวัตถุดิบสํารองเผื่อไว ในกรณีที่จําเปนเรงดวนก็สามารถจัดหาไดอยางรวดเร็ว ดังนั้น กิจการสวนมากจึงนิยมมีสินคาเก็บไวในคลังสินคาเปนจํานวนมากซึ่งบอยครั้งที่มากหรือนอยกวาความจําเปน ปญหาหนึ่งที่ธุรกิจมักพบบอยคือสินคาหรือวัตถุดิบที่เก็บไวนั้นเส่ือมคุณภาพ ลาสมัย สูญหาย หรือเก็บรักษาไวไมคุมกับคาใชจายที่ไดจายไป ดังนั้นส่ิงที่ตองคํานึงถึงคือ ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic order quantity) และจุดส่ังซื้อ (Reorder point) ในการกําหนดปริมาณการสั่งซื้อและจุดส่ังซื้อ มีคาใชจายที่สงผลกระทบโดยตรงตอตนทุนรวมของสินคาไดแก 1. คาใชจายในการสั่งซื้อ (Ordering cost) หรือ คาใชจายในการเตรียมการ (Set up cost) เชน คาเอกสาร การจัดทําบัญชี การควบคุมและตรวจสอบ

2. คาใชจายในการเก็บรักษา (Holding cost) เชน คาเชาคลังสินคา คาประกันภัย คารักษาความปลอดภัย คาดอกเบี้ย คาภาษีอากร การเสื่อมคุภาพและลาสมัยสินคา

3. คาใชจายเมื่อสินคาคงเหลือขาดมือ (Stock out cost) ซึ่งมีผลทําใหกิจการเสียโอกาสในการผลิตหรือขายสินคา อีกทั้งยังทําใหเกิดการสูญเสียลูกคาและมีคาใชจายอื่นเนื่องจากไมมีสินคาเพียงพอตอความตองการของลูกคา รวมถึงกระทบตอกระบวนการผลิตทําใหพนักงานเกิดชวงเวลาสูญเปลา หรืองานผลิตหยุดชะงัก

Page 14: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 53

4. มูลคาสินคาคงเหลือที่จะตองเก็บรักษาไวมีมูลคาสูงอันเกิดจากการลงทุนซื้อหรือผลิตสินคาเหลานั้น ซึ่งมูลคาของสินคาคงเหลือจะคํานวณไดจากตนทุนตอหนวยคูณดวยปริมาณสินคาคงเหลือ ในการกําหนดปริมาณการสั่งซื้อและจุดส่ังซื้อใหมที่จะทําใหคาใชจายทั้งหมดต่ําสุดนั้นจะตองทราบคาใชจายรวมตลอดปของกิจการและสินคาคงเหลือถัวเฉล่ียของกิจการซึ่งคํานวณไดจาก คาใชจายรวมตลอดป = คาใชจายในการสั่งซื้อตลอดป + คาใชจายในการเก็บรักษาตลอดป สินคาคงเหลือถัวเฉล่ีย = (สินคาคงเหลือตนงวด + สินคาคงเหลือปลายงวด)/2 = (Q + 0)/2 = Q/2 คํานวณตนทุนทั้งหมดที่เกี่ยวของไดดังนี้ ตนทุนรวม = คาใชจายในการสั่งซื้อ + คาใชจายในการเก็บรักษา TC = (S x (P/Q)) + (C x (Q/2)) โดย TC = ตนทุนรวม Q = จํานวนหนวยที่ส่ังซื้อตอครั้ง S = คาใชจายในการสั่งซื้อตอครั้ง P = ความตองการสินคาตอป C = คาใชจายในการเก็บรักษาสินคาตอหนวย

ตัวอยาง บริษัท พรนุรักษจํากัด มีขอมูลเพ่ือใชคํานวณปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด ดังนี้ 1. กิจการมีความตองการสินคา 2,000 หนวยตอป 2. คาใชจายในการสั่งซื้อครั้งละ 45 บาท 3. คาใชจายในการเก็บรักษาสินคาตลอดป 2 บาท/หนวย

ปริมาณการ ส่ังซื้อ (Q)

จํานวนครั้งการส่ังซื้อ (P/Q)

คาใชจายในการส่ังซื้อ ((P/Q) x S)

สินคาคงเหลือเฉล่ีย (Q/2)

คาใชจายในการเก็บรักษา ((Q/2) x C)

คาใชจายรวม

10 50 100 200 300 500 800

1,000 1,500 จากตัวอยางจะเห็นวาหากตองการประหยัดคาใชจายกิจการตองส่ังซื้อครั้งละ 300 หนวย ซึ่งจะเสียคาใชจายรวมเกี่ยวกับสินคาเทากันคือ 600 บาท ความสัมพันธดังกลาว จัดเปนสมการไดดังนี้

Page 15: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 54

2.4 การกําหนดจุดสั่งซื้อ (Reorder point) เปนจุดที่ตองทําการสั่งซื้อสินคาโดยกําหนดจุดส่ังซื้อเผื่อสินคาที่ตองการใชต้ังแตวันที่ส่ังซื้อจนถึงวันที่ไดรับสินคา (Lead time) การคํานวณทําไดโดย จุดส่ังซื้อ = ระยะเวลาที่ส่ังซื้อจนกระทั่งไดรับสินคา x อัตราการใชสินคาตอวัน R = L x r โดย R = จุดส่ังซื้อ r = อัตราการใชสินคาตอวัน (ความตองการใชสินคาตอป/จํานวนวัน) L = ระยะเวลาที่ส่ังซื้อจนกระทั่งไดรับสินคา ตัวอยาง บริษัท พรนุรักษ จํากัด มีรายละเอียดเกี่ยวกับสินคาดังนี้ 1. กิจการมีความตองการสินคา 2,000 หนวยตอป 2. คาใชจายในการสั่งซื้อครั้งละ 10 บาท 3. คาใชจายในการเก็บรักษาสินคาตลอดป 2 บาท/หนวย 4. สินคาจะไดรับ 5 วันหลังจากมีการสั่งซื้อ ในสภาพความเปนจริงกิจการจําเปนตองเก็บรักษาสินคาคงเหลือในคลังสินคาใหมีเพียงพอตอความตองการของตลาด แตตองไมลงทุนในการสั่งซื้อหรืผลิตสินคามากเกินความตองการ และส้ินเปลืองคาใชจายในการจัดหา คาใชจายในการเก็บรักษา ดังนั้น การกําหนดจํานวนสั่งซื้อที่ประหยัด ก็คือการคํานึงถึงปริมาณของสินคาคงคลังวาจําเปนตองมีอยูเทาใดจึงจะเสียคาใชจายต่ําที่สุด สามารถคํานวณไดดังนี้ จํานวนสั่งซื้อที่ประหยัด = 2 x จํานวนความตองการทั้งป x คาใชจายในการจัดหาตอครั้ง คาใชจายในการเก็บรักษาสินคาตอหนวย

หรือ EOQ = CSxP2

ตัวอยาง บริษัท พรนุรักษ จํากัด มีรายละเอียดเกี่ยวกับสินคาดังนี้ 1. กิจการมีความตองการสินคา 2,000 หนวยตอป 2. กิจการมีคาใชจายในการจัดหาแตละครั้งเปนเงิน 400 บาท 3. คาใชจายในการเก็บรักษา 20% ของราคาสินคา 4. สินคามีราคาหนวยละ 100 บาท การคํานวณจํานวนสั่งซื้อที่ประหยัดทําไดดังนี้

Page 16: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 55

บางกรณีอาจใชกราฟเขามารวมในการวิเคราะหได ตัวอยาง บริษัท พรนุรักษ จํากัด มีความตองการสินคา 13,000 หนวยตอป ราคาหนวยละ 14 บาท ผลตอบแทนขั้นต่ํารอยละ 15 และมีคาใชจายอื่นไดแก คาประกันภัย คาจางพนักงานดูแล และอื่น ๆ รวม 3.10 บาทตอหนวย โดยมีการขายสินคา 250 หนวยตอสัปดาห (13,000/52) สินคาจะไดรับหลังการสั่งซื้อ 2 สัปดาห โดยมีคาใชจายในการสั่งซื้อ 200 บาทตอครั้ง

คาใชจายในการเก็บรักษาตอหนวย ประกอบดวย ตนทุนเสียโอกาสจากการเก็บรักษาสินคา (14 x 15%) = 2.10 บาท คาประกันภัย คาจางพนักงานดูแล และอ่ืน ๆ = 3.10 บาท รวมคาใชจายในการเก็บรักษาตอหนวย = 5.20 บาท

เมื่อคํานวณเปนชวงจํานวนการสั่งซื้อจะเปนดังนี้

จํานวนการสั่งซื้อ คาใชจายในการสั่งซื้อ คาใชจายในการเก็บรักษา คาใชจายรวม

250 500 750

1,000 1,250 1,500 1,750 2,000

จากขอมูลดังกลาวแสดงเปนภาพความสัมพันธไดดังภาพท่ี 3.2

Page 17: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 56

0

จํานวนการสัง่ซื้อ (หนวย)

2,000

4,000

6,000

8,000

10,000

400 800 1,200 1,600 2,000

ตนทุน

รวม

(Tot

al Co

st)

1,000

5,200

EOQ

ภาพที่ 3.2 จุดส่ังซื้อที่ประหยัด

สวนจุดส่ังซื้อที่ประหยัดสามารถแสดงระดับของสินคาตามระยะเวลาไดดังภาพที่ 3.3

0ระยะเวลา (สปัดาห)

200

400

600

800

1,000

จํานว

นวัตถุ

ดิบ (ห

นวย)

1 2 3 4 5 6 7 8

500

ภาพที่ 3.3 จํานวนสินคาปลอดภัย

อยางไรก็ตามการคํานวณดังกลาวเปนเพียงวิธีการเบื้องตนในการคํานวณหาจุดส่ังซื้อที่ประหยัด ในทางปฏิบัติยังมีวิธีการพิจารณาอีกหลายกรณีซึ่งตองนํามาใชในการประกอบการตัดสินใจ นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึงการกําหนดความตองการของสินคาดวย เชน ความตองการขั้นตน ความตองการทดแทน ความตองการสํารอง ความตองการขดเชยเวลาในการจัดหา ความตองการพิเศษ เปนตน

Page 18: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 57

3. ระบบการบริหารสินคาแบบทันเวลา

การบริหารสินคาแบบทันเวลาพอดี (Just-in-time: JIT) เปนแนวคิดการการบริหารจัดการระบบการผลิตสินคาโดยการนําคําส่ังผลิต หรือความตองการสินคาสําเร็จรูปจากลูกคามาวางแผนการผลิตสินคาเพ่ือนําไปใชในการบริหารจัดการวัตถุดิบอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะชวยใหองคกรมีความไดเปรียบทางการแขงขัน และไดรับผลตอบแทนโดยรวมมากขึ้น นอกจากนี้ยังชวยลดความสูญเสียจากกระบวนการที่ไมเพ่ิมคุณคา (Non-value added activities) เนื่องจากระบบนี้จะไมมีสินคาคงคลังเกินความจําเปนทําใหตนทุนคาใชจายของสินคาคงคลังหมดไป ระบบการบริหารสินคาแบบทันเวลาพอดียังชวยลดความผันแปร หรือเหตุการณที่อาจทําใหการผลิตสินคาจนกระทั่งสงมอบสินคาใหแกลูกคาขาดประสิทธิภาพ และเมื่อความผันแปรนอยลงทําใหการสูญเสียระหวางกระบวนการนอยลงดวย ความผันแปรเกิดขึ้นไดหลายชวงตามระบบการผลิตที่สําคัญ ไดแก 1. ระบบการจัดซื้อ เกิดจากความไมแนนอน หรือความผิดพลาดของกระบวนการในการจัดหาวัตถุดิบ ผูจําหนาย การขนสง การสงมอบสินคา การตรวจรับและตรวจสอบวัตถุดิบ เปนตน 2. ระบบการผลิต เกิดจากความไมแนนอนหรือความผิดพลาดของบุคลากร ฝมือแรงงานที่แตกตาง การจัดทํารายละเอียดทางวิศวกรรม และขอกําหนดเฉพาะของผลิตภัณฑ เปนตน 3. ระบบการขนสง เกิดจากความไมแนนอนและความผิดพลาดในการสื่อสาร ตารางการขนสง เปนตน 4. ความตองการของลูกคา เกิดจากการประมาณความตองการของลูกคาไมถูกตอง การจัดการเกี่ยวกับการผลิตสินคาเพ่ือสงมอบใหแกลูกคา มีระบบสําคัญที่เกี่ยวของไดแก ระบบการจัดซื้อ ระบบการรับวัตถุดิบ ระบบการผลิต ระบบสินคาคงคลัง และระบบการขนสง ซึ่งระบบการบริหารสินคาแบบทันเวลาพอดีมีเปาหมายสําคัญที่เกี่ยวของ 4 ประการ ไดแก 1. กําจัดกิจกรรมที่ไมจําเปน (Elimination of unnecessary activities) การคนหาและคัดเลือกผูจัดหาวัตถุดิบ (Suppliers) ที่ดีจะทําใหกิจกรรมที่เกี่ยวกับการรับหรือตรวจรับ/ตรวจสอบวัตถุดิบไมมีความจําเปนอีกตอไป 2. กําจัดสินคาคงคลังในองคกร (Elimination of in-plant inventory) จะมีการบริหารจัดการใหการจัดสงวัตถุดิบไปยังเปาหมายในเวลาที่ตองการ ดังนั้นในระบบการผลิตจะไมมีความจําเปนตองมีวัตถุดิบ/สินคาคงคลัง นอกจากเกิดความไมแนนอนขึ้นในการจัดสง 3. กําจัดสินคาคงคลังระหวางการขนสง (Elimination of in-transit inventory) เปนการลดปริมาณสินคาคงคลังระหวางการขนสงโดยการจัดหาวัตถุดิบ และผูตองการจัดตั้งโรงงานผลิตใกลกับองคกร และจัดสงในปริมาณไมมาก แตบอยครั้ง ทําใหปริมาณสินคาสําเร็จรูปเคล่ือนยายไปยังลูกคา โรงงานหรือผูกระจายสินคาโดยไมมีสินคาคางในคลังสินคา เทคนิคที่มักใชในการลดสินคาคงคลัง คือ การทําสินคาคงคลังแบบฝากขาย (Consignment inventory) กิจการจะสงสินคาไปยังคลังสินคาของผูซื้อ/ผูผลิต ผูซื้อจะทําการชําระเงินเมื่อสินคาถูกใชหรือจําหนายไป 4. กําจัดผูจัดหาวัตถุดิบที่ดอยคุณภาพ (Elimination of poor suppliers) ทําการลดจํานวนผูจัดหาใหนอยลงเพ่ือเพ่ิมความรวมมือระหวางผูจัดหากับกิจการ กอใหเกิดคุณภาพและความนาเชื่อถือมากขึ้น โดยอาจตกลงเปนสัญญาการจัดซื้อที่ชัดเจน จึงทําใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการผลิต จากเปาหมายและวิธีการตามระบบการนําระบบการบริหารสินคาแบบทันเวลาจึงตองคํานึงถึงปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ดังนี้ 1. ความตองการความหลากหลาย ผูจัดหาวัตถุดิบสวนใหญไมตองการที่จะผูกมัดดวยสัญญาระยะยาวกับผูซื้อเพียงรายเดียว ซึ่งมีความเสี่ยงทางการตลาดสูง

Page 19: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 58

2. ตารางการทํางานลูกคาที่ขาดประสิทธิภาพ ผูจัดหาวัตถุดิบสวนใหญไมเชื่อมั่นในความสามารถของผูซื้อในการลดการสั่งซื้อเพ่ือใหเกิดความราบรื่นและจัดตารางการทํางานไดอยางลงตัว 3. การเปล่ียนแปลงทางวิศวกรรม ในกิจการที่มีการเปลี่ยนแปลงดานวิศวกรรมบอยครั้ง ผูจัดหาวัตถุดิบไมมีเวลาเพียงพอในการปรับเปล่ียนกระบวนการทําใหเกิดปญหาในการประสานงานและการนําระบบบริหารสินคาแบบทันเวลาไปใช 4. การประกันคุณภาพ การผลิตโดยไมมีของเสียผูจัดหาสวนใหญมักมองวามีความเปนไปไดนอย จึงมักไมเชื่อถือในระบบ 5. ปริมาณการผลิตขนาดเล็ก ปกติผูจัดหามักออกแบบกระบวนการผลิตของตนเปนลักษณะของการผลิตปริมาณมากเพื่อลดตนทุนการผลิต ดังนั้น การสงมอบวัตถุดิบโดยเนนความถี่มากขึ้น ปริมาณการผลิตเล็กลงจึงถูกมองวาเปนการผลักภาระตนทุนการเก็บรกัษาไปยังผูจัดหาวัตถุดิบ 6. ทําเลที่ต้ัง การสงมอบวัตถุดิบหรือสินคาบอยครั้งในปริมาณนอยมักถูกมองวาเปนการสงมอบที่ไมคุมคาทางเศรษฐกิจ 7. การจัดวางผังโรงงานที่สอดคลอง ในการผลิตแบบทันเวลาตองมีการออกแบบการเคลื่อนยาย (Movement) จากกระบวนการหนึ่งไปยังกระบวนการหนึ่งอยางสอดคลอง เชน จัดสายการผลิตลักษณะรูปตัวยู (U-shape) ในกรณีที่ตองปรับปรุงโรงงานมักมีตนทุนสูง ผูบริหารบางรายจึงมองวาไมคุมกับการลงทุน

เมื่อใชระบบบริหารสินคาแบบทันเวลา จะชวยลดปริมาณสินคาคงคลังซึ่งจะทําใหปญหาที่ซอนอยูภายใตสินคาคงคลังจํานวนมากไดรับการเปดเผยและถูกแกไขใหหมดไป ซึ่งเมื่อแกไขปญหาแตละปญหาจะชวยใหสามารถลดปริมาณสินคาคงคลังใหลดลงไดอีก จนสุดทายจะไมมีสินคาคงคลังเหลืออีกตอไป ความสูญเปลาในการผลิต (Eliminate 7 Types of Waste) ประกอบดวย

1. การผลิตมากเกินไป (Overproduction) ชิ้นสวนและผลิตภัณฑถูกผลิตมากเกินความตองการ 2. การรอคอย (Waiting) วัสดุหรือขอมูลสารสนเทศ หยุดนิ่งไมเคล่ือนไหวหรือติดขัดเคลื่อนไหวไม

สะดวก 3. การขนสง (Transportation) มีการเคลื่อนไหวหรือมีการขนยายวัสดุในระยะทางที่มากเกินไป 4. กระบวนการผลิตที่ขาดประสิทธิภาพ (Processing itself) มีการปฏิบัติงานที่ไมจําเปน 5. การมีวัสดุหรือสินคาคงคลัง (Stocks) วัตถุดิบและผลิตภัณฑสําเร็จรูปมีเก็บไวมากเกินความจําเปน 6. การเคลื่อนไหว (Motion) มีการเคลื่อนไหวที่ไมจําเปนของผูปฏิบัติงาน 7. การผลิตของเสีย (Making defect) วัสดุและขอมูลสารสนเทศไมไดมาตรฐาน ผลิตภัณฑไมมีคุณภาพ การใชระบบบริหารสินคาแบบทันเวลา จะชวยคนพบและขจัดความสูญเปลา ดังภาพที่ 3.4

กอนใชระบบบริหารสินคาแบบทันเวลา

ของเสีย

เวลาการจัดเตรยีม การสงมอบ

ลาชา

ปญหาคุณภาพ

ความขัดของของกระบวนการผลิต

ระดับสินคาคงคลัง

หลังใชระบบบริหารสินคาแบบทันเวลา

ของเสีย

เวลาการจดัเตรยีม การสงมอบ

ลาชา

ปญหาคุณภาพ

ความขัดของของกระบวนการผลิต

ระดับสินคาคงคลัง

ภาพที่ 3.4 การลดปริมาณสินคาคงคลังเพ่ือขจัดปญหา

Page 20: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 59

จะเห็นไดวาเมื่อใชระบบบริหารสินคาแบบทันเวลาจะทําใหพบปญหาความขัดของของกระบวนการผลิต และปญหาคุณภาพ เมื่อทําการปรับปรุงแลวจะสามารถลดลงไดอีก และอาจพบปญหาเกี่ยวกับเวลาการจัดเตรียม ปญหาการสงมอบลาชา และปญหาของเสียตามมา นอกจากนี้ยังชวยเพ่ิมประสิทธิภาพ และลดระยะเวลาทั้งกระบวนการไดอยางชัดเจน

ตัวอยาง บรษิัท พรนุรักษ จํากัด มีขั้นตอนการผลิตสินคาจนกระทั่งจําหนายรวมเวลา 14 วัน ดังนี้

ขั้นตอน ระยะเวลาที่ใช (วัน)

การสั่งซื้อวัตถุดิบ 0.5 การตรวจสอบวัตถุดิบ 1 การขนยายวัตถุดิบเขาคลัง 1 การจัดเก็บวัตถุดิบ 5 การขนยายวัตถุดิบรอการผลิต 1 การเตรียมเครื่องจักร 1.5 การผลิตสินคา 2 การตรวจสอบคุณภาพสินคา 0.4 การขนยายเขาคลังรอสง 0.6 การบรรจุและขนสง 1

รวมเวลาทั้งส้ิน 14

เมื่อทําการวิเคราะหกิจกรรมและมีการปรับปรุงคุณภาพโดยรวม และพัฒนาการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง โดยใชระบบบริหารสินคาแบบทันเวลา ทําใหระยะเวลาของกระบวนการบางสวนลดลง หรือหายไป ไดแก ขั้นตอนในการตรวจสอบวัตถุดิบ การขนยายวัตถุดิบเขาคลัง การเก็บวัตถุดิบ การตรวจสอบคุณภาพสินคา และการขนยายเขาคลังรอสงจะลดลงจนกระทั่งหมดไป ทําใหระยะเวลาการผลิตหลังจากนําระบบบริหารสินคาแบบทันเวลาเขามาใชเปนดังนี้

ขั้นตอน ระยะเวลาที่ใช (วัน)

การสั่งซื้อวัตถุดิบ 0.3 การขนยายวัตถุดิบรอการผลิต 1 การเตรียมเครื่องจักร 1 การผลิตสินคา 1.8 การบรรจุและขนสง 0.6

รวมเวลาทั้งส้ิน 4.7

เมื่อศึกษากิจกรรมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจะชวยใหกิจการทราบถึงกิจกรรมที่เพ่ิมคา และกิจกรรมที่ไมเพ่ิมคาเพ่ือกําหนดกระบวนการในการพัฒนาประสิทธิภาพที่เหมาะสม กระบวนการในการวิเคราะหกิจกรรมเพื่อปรับปรุงคุณภาพโดยรวมแสดงดังภาพที่ 3.5

Page 21: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 60

ส่ังซื้อวัตถุดบิ

ส่ังซื้อวัตถุดิบ

ตรวจสอบวัตถุดบิ

ตรวจสอบวัตถุดิบ

ขนยายเข าคลัง

ขนยายเขาคลัง

จัดเก็บวัตถุดิบ

จัดเกบ็วัตถุดิบ

ขนยายรอการผลิต

ขนยายรอการผลิต

เตรียมเครื่องจักร

เตรยีมเครื่องจักร

ผลิตสินคา

ผลิตสินคา

ตรวจสอบคณุภาพ

ตรวจสอบคุณภาพ

ขนยายเข าคลัง

ขนยายเขาคลัง

บรรจุและขนส ง

บรรจุและขนส ง

0.5ระยะเวลา (วัน) 1 1 5 1 1.5 2 0.4 0.6 1

NVA NVA NVA NVA NVA NVA VA NVA NVA VA

0.3 0 0 0 1 1 1.8 0 0 0.6ระยะเวลา (วัน)

เม่ือทําการวิเคราะหและปรับปรุงคุณภาพโดยรวม เชนใช JIT เขามาชวย

14

4.7

กิจกรรมท่ีเกี่ยวของ

NVA

VA

กจิกรรมท่ีไมเพิม่คา

กจิกรรมท่ีเพิม่คา

ภาพที่ 3.5 การวิเคราะหกิจกรรมเพื่อปรับปรุงคุณภาพโดยรวม

เมื่อนําระบบบริหารสินคาแบบทันเวลาความถี่ในการขนสงเพ่ิมขึ้น สงผลใหตนทุนการสั่งซื้อสูงขึ้น ในขณะที่คาใชจายในการเก็บรักษาลดลง และในทายที่สุดจะทําใหกิจการมีกําไรมากขึ้น ตัวอยาง บริษัทพรนุรักษ จํากัด มีขอมูลคาใชจายเกี่ยวกับการจัดซื้อวัตถุดิบที่ตองการใชทั้งป 13,000 หนวย ราคาหนวยละ 14 บาท ผลตอบแทนขั้นต่ํารอยละ 15 และมีคาใชจายอื่นในการสั่งซื้อครั้งละ 2 บาท คาประกันภัย คาจางพนักงานดูแล และอ่ืนๆ รวม 3.10 บาทตอหนวย ทั้งนี้หากซื้อจํานวนลดลงจากเดิมราคาสินคาที่จัดซื้อจะเพ่ิมขึ้นจากเดิมหนวยละ 14 บาทเปน 14.02 บาท/หนวย และคาดวาจะมีสินคาขาดมือไมเกิน 150 หนวย/ป และตองหาชดเชยจากภายนอกในราคาสูงกวาปกติหนวยละ 4 บาท เมื่อทําการเปรียบเทียบตนทุนรวมจากการจัดซื้อเดิม 13 ครั้ง/ป กับการจัดซื้อตามระบบบริหารแบบทันเวลาแยกเปน 130 ครั้ง/ป จะแสดงผลดังนี้

การจัดซื้อ รายการ

เดิม Just-in-Time

Page 22: บทที่ 3 การบริหารสินค าคงคล ัง · 2010-10-07 · เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร

เอกสารการสอน 961 421 การบัญชีบริหาร : ผศ.อนุรักษ ทองสุโขวงศ 61

การจัดซื้อ รายการ

เดิม Just-in-Time

เมื่อใชระบบบริหารสินคาแบบทันเวลาจะเกิดประโยชน ดังนี้ 1. เปนการยกระดับคุณภาพสินคาใหสูงขึ้นและลดของเสียจากการผลิตใหนอยลง เมื่อคนงานผลิต

ชิ้นสวนเสร็จ ก็จะสงตอไปใหกับคนงานคนตอไปทันที ถาพบขอบกพรองคนงานที่รับชิ้นสวนมาก็จะรีบแจงใหคนงานที่ผลิตทราบทันทีเพ่ือหาสาเหตุและแกไขใหถูกตอง คุณภาพสินคาจึงดีขึ้นตางจากการผลิตครั้งละมากๆ คนงานที่รับชิ้นสวนมามักไมสนใจขอบกพรองแตจะรีบผลิตตอทันทีเพราะยังมีชิ้นสวนที่ตองผลิตตออีกมาก

2. ตอบสนองความตองการของตลาดไดเร็ว เนื่องจากการผลิตมีความคลองตัวสูง การเตรียมการผลิตใชเวลานอย และสายการผลิตก็สามารถผลิตสินคาไดหลายอยางในเวลาเดียวกัน จึงทําใหสินคาสําเร็จรูปคงคลังเหลืออยูนอยมาก เพราะเปนไปตามความตองการของตลาดอยางแทจริง การพยากรณการผลิตแมนยําขึ้นเพราะเปนการพยากรณระยะส้ัน ผูบริหารไมตองเสียเวลาในการแกไขปญหาตางๆ ในโรงงาน ทําใหมีเวลาสําหรับการกําหนดนโยบาย วางแผนการตลาด และเรื่องอื่นไดมากขึ้น

3. คนงานจะมีความรับผิดชอบตองานของตนเองและงานของสวนรวมสูงมาก ความรับผิดชอบตอตนเองก็คือ จะตองผลิตสินคาที่ดี มีคุณภาพสูง สงตอใหคนงานคนตอไปโดยถือเหมือนวาเปนลูกคา ดานความรับผิดชอบตอสวนรวมก็คือคนงานทุกคนจะตองชวยกันแกปญหาเมื่อมีปญหาเกิดขึ้นในการผลิต เพ่ือไมใหการผลิตหยุดชะงักเปนเวลานาน