วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ...

97
ผลของการจัดทาขึ้น-ลงเตียงตอระดับความปวดและความพึงพอใจ ในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง เจริญศรี เอื้ออารีพันธุ วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผูใหญ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน .. 2549 ISBN 974-627-135-0 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยคริสเตียน

Upload: others

Post on 04-Oct-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

ผลของการจัดทาขึ้น-ลงเตียงตอระดับความปวดและความพึงพอใจ

ในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง

เจริญศรี เอื้ออารีพันธุ

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลกัสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผูใหญ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน พ.ศ. 2549

ISBN 974-627-135-0 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยคริสเตียน

Page 2: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

วิทยานิพนธ เร่ือง

ผลของการจัดทาขึ้น-ลงตียงตอระดับความปวดและความพึงพอใจในผูปวยผาตดักระดูกสันหลัง

................................................................................. นางสาวเจริญศรี เอื้ออารีพันธุ ผูวิจัย .................................................................................

อาจารย ดร. ศากุล ชางไม วท.บ. (พยาบาลและผดุงครรภ) วท.ม. (พยาบาลศาสตร). Ph.D. (Health Science) ประธานกรรมการที่ปรึกษาวทิยานิพนธ .................................................................................

ผูชวยศาสตราจารย ดร. อรพรรณ โตสิงห ป.พ.ส. (พยาบาล) M.S. (Advenced medical-Surgical Nursing) พย.ด. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานพินธ .................................................................................

รองศาสตราจารยสมพันธ หญิชีระนันทน วท.บ. (พยาบาล) เกียรตินยิม, M.S. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานพินธ

.................................................................... ...............................................................................

รองศาสตราจารย ดร.ประกอบ คุณารักษ รองศาสตราจารยสมพันธ หญิชีระนันทน กศ.บ., M.S., Ph.D. วท.บ. (พยาบาล) เกียรตินยิม, M.S. คณบดีบณัฑิตวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต

Page 3: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

ผลของการจัดทาขึ้น-ลงเตียงตอระดับความปวดและความพึงพอใจในผูปวยผาตดักระดูกสันหลัง ไดรับการพิจารณาอนุมัติใหนับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสตูร

พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผูใหญ วันท่ี 29 ธันวาคม พ.ศ. 2549

................................................................................. นางสาวเจริญศรี เอื้ออารีพันธุ ผูวิจัย

................................................................................. รองศาสตราจารยดร.ประกอบ คุณารักษ กศ.บ., M.S., Ph.D. ประธานคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ

................................................................................. อาจารย ดร. ศากุล ชางไม วท.บ. (พยาบาลและผดุงครรภ) วท.ม. (พยาบาลศาสตร) Ph.D. (Health Science) กรรมการสอบวิทยานิพนธ

................................................................................. ผูชวยศาสตราจารย ดร. อรพรรณ โตสิงห ป.พ.ส. (พยาบาล) M.S. (Advenced medical-Surgical Nursing) พย.ด. กรรมการสอบวิทยานิพนธ ................................................................................. รองศาสตราจารยดร.ประกอบ คุณารักษ กศ.บ.,M.S.,Ph.D. คณบดีบณัฑิตวิทยาลัย

Page 4: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงได ดวยผูวิจัยไดรับความกรุณาจากรองศาสตราจารย

สมพันธ หิญชีระนันทน ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรพรรณ โตสิงห และอาจารย ดร.ศากุล ชางไมที่ไดใหขอเสนอแนะและความคิดเห็นตางๆ ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งในความกรุณาของอาจารยทุกทานเปนอยางยิ่ง ขอกราบขอบพระคุณนายแพทยสุชาติ หาญไชยพิบูลยกุล หัวหนาศูนยวิจัยสถาบันประสาทวิทยา อาจารย ดร.สุพัฒนา คําสอน และอาจารยสุชาดา เรืองรัตนอัมพรที่กรุณาตรวจสอบและใหคําแนะนําในงานวิจัย

ขอกราบขอบพระคุณผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ใหความกรุณาตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือสําหรับการวิจัย

ขอกราบขอบพระคุณนายแพทยมัยธัช สามเสน ผูอํานวยการสถาบันประสาทวิทยา ที่กรุณาอนุญาตใหทําการเก็บขอมูล ขอขอบคุณเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานภายในสถาบันประสาทวิทยาทุกทานที่กรุณาอํานวยความสะดวกในการเก็บขอมูล และการวิจัยคร้ังนี้สําเร็จไดดวยความรวมมืออยางดียิ่งของผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลังที่กรุณาใหขอมูลที่เปนประโยชนในการวิจัย ผูวิจัย ขอขอบคุณไว ณ โอกาสนี้

สุดทาย ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม พี่ นอง และเพื่อนๆ ทุกทาน ที่มีสวนรวมชวยเหลือสนับสนุนและใหกําลังใจผูวิจัยจนสําเร็จการศึกษา

เจริญศรี เอื้ออารีพันธุ

Page 5: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

472027 : สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ; พย.ม. ( การพยาบาลผูใหญ ) คําสําคัญ : การผาตัดกระดูกสันหลัง / การจัดการความปวด / การพยาบาลผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง เจริญศรี เอื้ออารีพันธุ : ผลของการจัดทาขึ้น-ลงเตียงตอระดับความปวดและความพึงพอใจในผูปวย ผาตัดกระดูกสันหลัง ( THE EFFECTS OF CHANGING FROM SUPINE TO STANDING POSITION ON THE LEVEL OF PAIN AND SATISFACTION IN PATIENT WITH LAMINECTOMY ) คณะกรรมการ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ อาจารย ดร.ศากุล ชางไม Ph.D. (Health), ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรพรรณ โตสิงห, พย.ด., รองศาสตราจารย สมพันธ หิญชีระนันทน, M.S.; 89 หนา. ISBN 974-627-135-0. การผาตัดกระดูกสันหลังคือการทําผาตัดในกระดูกสันหลังระดับเอวเพื่อที่จะลดแรงกดดันที่มีตอประสาทไขสันหลัง ซึ่งการผาตัดทําใหผูปวยประสบกับความปวดและถูกจํากัดการเคลื่อนไหว พยาบาลควรจะสอนผูปวยทราบถึงวิธีการลุกลงจากเตียง นั่นหมายถึงการยืนและเดินดวยทาที่ถูกตองเพื่อที่จะทําใหผูปวยไมเกิดภาวะแทรกซอนที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งประกอบดวยสองทาคือการลุกลงจากเตียงและการขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลังและดวยทาดานหนา

การศึกษาครั้งนี้ใชระเบียบวิธีการวิจัยแบบกึ่งทดลองเพื่อที่จะเปรียบเทียบความปวดและความพึงพอใจในการพยาบาลที่ผูปวยไดรับจากการฝกปฏิบัติใหลุกขึ้นและลงจากเตียงดวยทาดานหลังและทาดานหนา กลุม ตัวอยางคือผูปวยที่ไดรับการผาตัดกระดูกสันหลังและพักรักษาตัวในสถาบันประสาทวิทยาตั้งแตเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฏาคม พ.ศ.2549 จํานวน 40 คน โดยกลุมตัวอยางจะถูกสุมโดยการจับฉลากแบงออกเปน 2 กลุม กลุมแรกฝกปฏิบัติดวยทาดานหนาและกลุมที่ 2 ดวยทาดานหลัง เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวยแบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล แบบประเมินระดับความปวดและแบบบันทึกความพึงพอใจในการดูแลที่ไดรับจากพยาบาล การวิเคราะหขอมูลโดยหาคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ เปรียบเทียบความปวดและความพึงพอใจในการดูแลที่ไดรับจากพยาบาลดวยสถิติทดสอบคาที

ผลการวิจัยพบวา 1. คาเฉลี่ยคะแนนความปวดเมื่อเปรียบเทียบระหวางการจัดทาขึ้น-ลงเตียงจากทั้งสองกลุมพบวาไม

มีความแตกตางกัน 2. คาเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางเมื่อเปรียบเทียบระหวางการลงจากเตียงดวยทา

ดานหนากับทาดานหลังพบวาไมมีความแตกตางกัน 3. คาเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางเมื่อเปรียบเทียบระหวางการขึ้นนอนบนเตียงดวย

ทาดานหนากับทาดานหลังพบวาไมมีความแตกตางกัน 4. คาเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของผูปวยเมื่อเปรียบเทียบระหวางการดูแลที่ไดรับจากพยาบาล

ทั้งสองกลุมพบวาไมมีความแตกตางกัน จากผลการวิจัยครั้งนี้พบวาหลังผาตัดกระดูกสันหลัง พยาบาลควรจะแนะนําใหผูปวยเลือกทาในการ

ลุกขึ้นและลงจากเตียงหรือนอนลงบนเตียงเอง เนื่องจากความปวดและความพึงพอใจของผูปวยระหวางทาดานหลังและทาดานหนาไมมีความแตกตางกันและในโอกาสขางหนาควรมีการศึกษาเปรียบเทียบระหวางสองทาในกลุมเดียวกันของผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลัง

Page 6: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

472027 : MAJOR : ADULT NURSING ; M.N.S. ( ADULT NURSING) KEY WORDS : SPINE SURGERY / PAIN MANAGEMENT / SPINE SURGERY CARE CHAROENSRI UA-AREEPAN : THE EFFECTS OF CHANGING FROM SUPINE TO STANDING POSITON ON THE LEVEL OF PAIN AND SATISFACTION IN PATIENTS WITH LAMINECTOMY. THESIS ADVISORS : DR. SAKUL CHANGMAI, Ph.D.(Health Science), ASST. PROF. DR. ORPAN THOSINGH, Ph.D., ASSOC PROF. SOMPAN HINJIRANAN, M.S.; 89 p. ISBN 974-627-135-0

Lumbar laminectomy is an operation performed on the lower spine to relieve pressure on nerve roots. Persistent pain and limitation of movement are often experienced by patients who have undergone such surgery. Nurses should teach patients how to get out of bed in order to stand, as well as how to walk by performing in an appropriate position , so that they will not develop any complications.There are two means of getting up and out of bed and of lying down on the bed; in backwards and forwards positions.

This study was a quasi – experimental research design to compare pain and satisfaction in patients who received a training program to get up and out of bed by performing in backwards and forwards position.The sample was 40 patients who had undergone laminectomy surgery and had been admitted to a Prasat Neurological Institute from March to July 2006. Purposive sampling with inclusion criteria was used to select 40 patients to join the study .The sample was randomly divided into two groups; group one was trained with forward position and group two with backward position. The instruments used in this study included questionnaires which consisted of personal data, a pain scale, and a measure of patient satisfasction with care received from nurses. Data were analysed by using mean, standard deviation, and Independent t- test. Results of the study revealed that:

1. The mean scores of level pain when compared between changing from supine to standing position for both groups were not significantly different ( p>.05 );

2. The mean scores of patient satisfaction when compared between getting up and out of bed in backwards and forwards positions were not significantly different ( p>0.05 );

3. The mean scores of patient satisfaction when compared between lying down on the bed in backwards and forwards positions were not significantly different ( p>0.05 );

4. The mean scores of patient satisfaction when compared between care received from nurses of both groups were not significantly different ( p>0.05 ).

The recommendation of this study is that after back surgery, nurses should advise patients to select their own preferred position to get up and out of bed ,as well as to lie down on the bed, since there is no difference in pain and patient satisfaction between the backwards and forwards positions. Moreover, there should be another study to compare the two positions in the same group of patients who have undergone back surgery.

Page 7: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

สารบัญ

หนา

กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................... ค

บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................................. ง

บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................. จ

สารบัญ .................................................................................................................................... ฉ

สารบัญตาราง .......................................................................................................................... ซ

สารบัญแผนภูมิ........................................................................................................................ ฌ

สารบัญภาพประกอบ............................................................................................................... ญ

บทท่ี

1 บทนํา............................................................................................................................ 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ................................................................ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย........................................................................................ 5 คําถามการวิจยั ....................................................................................................... 5 วัตถุประสงคการวิจยั ............................................................................................. 5 สมมติฐานการวิจัย ................................................................................................. 6 ขอบเขตการวจิัย .................................................................................................... 7 ขอจํากัดการวจิัย .................................................................................................... 7 ขอตกลงเบื้องตน ................................................................................................... 7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ................................................................................... 7 นิยามตวัแปร.......................................................................................................... 7

2 วรรณกรรมที่เก่ียวของ ................................................................................................. 9 การผาตัดกระดูกสันหลัง ....................................................................................... 9 ความปวดและพยาธิสรีรวิทยาของความปวดหลังผาตัด ........................................ 10 การพยาบาลผูปวยกอน-หลังผาตัดกระดกูสันหลัง ................................................ 15 แนวปฏิบัตกิารพยาบาลผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังของสถาบันประสาทวิทยา ..... 20 ความพึงพอใจในการจดัทาขึน้-ลงเตียงของผูปวย.................................................. 23

Page 8: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

สารบัญ (ตอ) หนา

3 วิธีดําเนินการวิจัย ......................................................................................................... 25 ประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง...................................................................... 25 คุณสมบัติที่ใชในการคัดผูปวยออกจากการศึกษา.................................................. 26 สถานที่ศึกษา ......................................................................................................... 26 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ....................................................................................... 27 การหาคุณภาพของเครื่องมือ.................................................................................. 29 การพิทักษสิทธิของกลุมตัวอยาง ........................................................................... 29 การเก็บรวบรวมขอมูล........................................................................................... 29 การวิเคราะหขอมูล ................................................................................................ 32

4 ผลการวิจัย .................................................................................................................... 33 ผลการวิจัย ............................................................................................................. 33

5 การอภิปรายผล............................................................................................................. 47 การอภิปรายผล ...................................................................................................... 47

6 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ ................................................................................ 53 สรุปผลการวิจัย...................................................................................................... 53 ขอเสนอแนะ.......................................................................................................... 54

บรรณานุกรม........................................................................................................................... 56

ภาคผนวก ................................................................................................................................ 63

ก รายนามผูทรงคุณวุฒิ .................................................................................................... 64

ข การพิทักษสิทธิ์ของผูเขารวมการวจิัย ........................................................................... 67

ค เครื่องมือที่ใชในการวิจยั .............................................................................................. 69

ง แบบประเมนิความปวด ................................................................................................ 70

จ แบบประเมินความพึงพอใจตอการจดัทาขึ้น-ลงเตียงในกลุมตวัอยาง........................... 73

ฉ แผนพับเรือ่งการเตรียมความพรอมการขึ้นจากเตยีงในผูปวยหลังผาตัด ...................... 75

ช ผลการวิเคราะหขอมูลทางสถติิ .................................................................................... 84

ประวัติผูวิจัย............................................................................................................................ 89

Page 9: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1 จํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามขอมูลสวนบุคคล (n=40) ...................... 35

2 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของความรูสึกปวดกอนและหลัง จากการจดัทาขึ้นลงเตียงทานดานหนาและดวยทาดานหลัง ..................................... 37

3 การเปรียบเทยีบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความปวดในการจดัทาดานหนา กับทาดานหลังลงเตียงในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง ............................................... 38

4 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความปวดในการจัดทาดานหนา กับทาดานหลังขึ้นเตียงในผูปวยผาตัดกระดูกสนัหลัง .............................................. 39

5 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลสําหรับกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนา (n=20) .............. 40

6 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานความพึงพอใจในการชวยเหลือของ พยาบาลตอกลุมตัวอยางทีไ่ดรับการจัดทาขึน้-ลงเตียงดวยทาดานหลัง (n=20)......... 41

7 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการชวยเหลือของ พยาบาลตอการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลัง (n=20)................. 42

8 เปรียบเทยีบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการจัดทาลงเตียงดวย ดานหนากับทาดานหลัง............................................................................................ 43

9 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการจัดทาขึ้นลงเตียง ดวยทาดานหนากับทาดานหลัง ................................................................................ 43

10 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการจัดทาหลังลงจาก เตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลัง ......................................................................... 44

11 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการจัดทาขึ้นนอน บนเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลัง ................................................................... 45

12 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจตอการจัดทาลงจากเตียงดวย

ทาดานหนากบัทาดานหลัง ....................................................................................... 45

13 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจตอการจัดทาขึ้นนอนบนเตยีงดวยทาดานหนากับทาดานหลัง................................................................................ 46

Page 10: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

สารบัญแผนภูม ิ

แผนภูมิที ่ หนา

1 กรอบแนวคิดในการวิจัย........................................................................................... 6

2 แสดงวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล ................................................................................ 31

Page 11: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

สารบัญภาพประกอบ

ภาพประกอบที่ หนา

1 มาตรวัดความปวดดวยสายตา................................................................................... 13

2 มาตรวัดความปวดแบบตัวเลข .................................................................................. 13

3 มาตรวัดความปวดดวยวาจา...................................................................................... 13

Page 12: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคญัของปญหา

ภาวะหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนกดทับเสนประสาท เปนภาวะที่พบบอยที่สุด

ของผูปวยที่มีปญหาทางกระดูกและกลามเนื้อที่มารับการรักษาในโรงพยาบาล จากสถิติพบวามีการผาตัดหมอนรองกระดูกสันหลังในแตละประเทศโดยเฉลี่ยแลวประมาณ 15 คน ตอประชากร 100,000 คน ในประเทศสหรัฐอเมริกามีอัตราสูงถึง 450-900 คน ตอประชากร 100,000 คน สําหรับประเทศไทยจากสถิติของสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข พบวาการ ผาตัดหมอนรองกระดูกสันหลังพบเปนอันดับที่ 10 ของผูปวยทั้งหมดที่รับการรักษาในสถาบันประสาทวิทยาและมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นทุกป กลาวคือ จากสถิติ ป พ.ศ.2545 พ.ศ.2546 และ พ.ศ.2547 มีผูปวยเขารับการผาตัดกระดูกสันหลังจํานวน 534, 544 และ 560 ราย ตามลําดับ ปจจุบันการรักษาอาจใชวิธีรักษาตามอาการ (Conservative) ไดแกการนอนพัก การใหยาแกปวด การทํากายภาพบําบัด การบริหารกลามเนื้อ เปนตน แตหากการรักษาตามอาการไมไดผลอาจจําเปนตองรักษาดวยการผาตัด (ธวัช ประสาทฤทธา, 2548: 61) วิธีการผาตัดหมอนรองกระดูกสันหลัง ทําโดยการนําเนื้อหมอนรองกระดูกสันหลังที่เคลื่อนผิดที่และกดทับเนื้อเยื่อประสาทออก เพื่อชวยใหเสนประสาทเปนอิสระจากการถูกกดทับ โดยมีเปาหมายคือปลดเปลื้องสิ่งตางๆ ที่กดทับเสนประสาทออก (Neural decompression) และทําใหอาการปวดชาหายไป โดยไมทําใหเกิดอันตรายตอเนื้อเยื่อขางเคียง (วิวัฒน วจนะวิศิษฐ, 2543: 231)

การผาตัดดังกลาวแบงเปน 2 วิธี คือ การผาตัดเขาทางดานหนาและผาตัดเขาทาง ดานหลัง ซ่ึงการผาตัดเขาทางดานหลังเปนวิธีที่ไดรับความนิยมมากกวา ผูปวยจะไดรับการจัด ทานอนคว่ําบนเตียงผาตัด แพทยลงมีดบริเวณเนื้อเยื่อใหถึงชั้นกระดูกจากนั้นตรวจสอบตําแหนงให

Page 13: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

2

ถูกตองและใชเครื่องมือตัดปกกระดูกสันหลัง (Lamina) บางสวนออกเรียกวา Hemilaminectomy หรือตัดออกทั้งหมดเรียกวา Total Laminectomy หลังจากนั้นจะคีบเอาหมอนรองกระดูกสันหลัง ที่ถูกกดทับออก แตการตัดปกกระดูกสันหลังออกทั้งหมด นั้นอาจทําใหสูญเสียความมั่นคงของกระดูกสันหลัง จึงตองดามเหล็กตามแนวกระดูกสันหลังเพื่อชวยพยุงไว การตัดปกกระดูกสันหลังเปนวิธีดั้งเดิมที่นิยมแพรหลาย ปจจุบันความกาวหนาทางเทคโนโลยี ทําใหแพทยคนพบวิธีการทําผาตัดหมอนรองกระดูกสันหลังวิธีใหมขึ้น คือ การผาตัดที่ใชกลองไมโครสโคป (Microscope) ที่มีกําลังขยายมากและมีแหลงกําเนิดแสงที่ดีมาชวยทําผาตัด (Microdiscectomy)

นอกจากนี้ยังมีวิธีการผาตัดแบบใชเลเซอร (Percutaneous laser discectomy) และแบบใชเครื่องมือ Nucleotome เขาไปตัดหมอนรองกระดูกสันหลังและดูดออกเพื่อลดแรงดัน (Pressure) ในชองวางใกลเคียงกับหมอนรองกระดูกสันหลัง ทําใหหมอนรองกระดูกที่เคล่ือนตัวถอยกลับเขาไปในชองวาง การผาตัดแบบนี้บาดแผลเล็กและมีการบาดเจ็บตอเนื้อเยื่อใกลเคียงนอย ระยะเวลาการพักรักษาตัวอยูโรงพยาบาลนอยลง และรักษาความมั่นคงของกระดูกสันหลังไวไดดีกวา แตอยางไรก็ตามวิธีการทําผาตัดดังกลาวยังมีขอจํากัด เนื่องจากมีคาใชจายสูงและตองใชแพทยที่มีความชํานาญอยางมาก แพทยสวนใหญจึงนิยมใชวิธีการผาตัดแบบดั้งเดิม สําหรับวิธีการผาตัดเขาทางดานหนาเพื่อเขาไปขูดตัดหมอนรองกระดูกสันหลังที่ไปกดทับเสนประสาทออก จากนั้นทดแทนดวยกระดูกจากเชิงกรานที่ตัดเปนทอน เพื่อเขาไปเสริมชองหมอนรองกระดูกหรือเปล่ียนเปนขอเทียม (Artificial disc) ซ่ึงทั้งสองวิธีคือการผาตัดเขาทางดานหนาและเขาทางดานหลัง ผูปวยจําเปนตองนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลประมาณ 7 วันหลังผาตัด จากนั้นแพทยจึงตัดไหมและใหผูปวยกลับไปพักฟนตอที่บานได

การผาตัดกระดูกสันหลังเปนการผาตัดใหญที่กอใหเกิดความปวดแกผูปวยในระยะ หลังผาตัด การผาตัดตองลงมีดผาตัดในแนวตั้งทําใหมีโอกาสทําลายเสนประสาทไดมากกวา แนวขวางที่ใชในการผาตัดทั่วไป (สมร ทินวงศ, 2533: 25) และขณะผาตัดจะมีการตัด ดึงร้ัง หรือจับตองเนื้อเยื่อและอวัยวะตางๆ ที่เกี่ยวของ ทําใหเนื้อเยื่อบริเวณที่ผาตัดไดรับบาดเจ็บ เปนผลใหกลามเนื้อบริเวณนั้นมีการหดรัดตัว สงผลใหปริมาณการไหลเวียนของเลือดลดลง กลามเนื้อไดรับออกซิเจนนอยลง ในขณะเดียวกันรางกายจะมีการเผาผลาญมากขึ้น ตอมาการเผาผลาญจะเปลี่ยนไปเปนแบบไมใชออกซิเจน (Anaerobic metabolism) ทําใหเกิดกรดแลคติค (Lactic acid) มีผลทําใหเกิดความเจ็บปวดอยางตอเนื่องและมากขึ้นเรื่อยๆ (สมจิตร ชัยยะสมุทร,2536: 20) ประกอบกับเนื้อเยื่อบริเวณแผลผาตัดที่ไดรับบาดเจ็บจะหลั่งสารพรอสตาแกลนดิน (Prostaglandin) ไปกระตุนปลายประสาทรับความรูสึกใหมีความไวตอการกระตุนโดยตรงหรือไวตอสารเคมี คือ แบรดดี ไคนิน (Bradykinin) และ ฮีสตามีน (Histamine) ที่เนื้อเยื่อบาดเจ็บหล่ังออกมา มีผลทําใหเนื้อเยื่อ

Page 14: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

3

ไวตอความรูสึกปวดมากขึ้นโดยสงไปตามใยประสาทเอ-เดลตา (A-delta) และใยประสาทซี (C-fibers) เขาสูไขสันหลังที่จัดเปนระบบประสาทสวนกลาง (พงษภารดี เจาฑะเกษตริน และ สมพันธ หิญชีระนันทน, 2539: 67) นอกจากนี้ความปวดของผูปวยจะเกิดบริเวณกลามเนื้อหลังและขาเนื่องจากรากประสาทไขสันหลังถูกกระทบกระเทือนจากการผาตัด รวมถึงผูปวยตองนอนอยูในทาเดียวเปนเวลานานๆ ในขณะผาตัดและหลังผาตัดผูปวยสวนใหญจะถูกจํากัดกิจกรรมและการเคลื่อนไหว โดยใหนอนอยูบนเตียงหามลุกนั่งหรือเดินอยางนอย 2-3 วัน (Footner, 1992: 120) โดยมีพยาบาลชวยพลิกตะแคงตัวแบบทอนไม (Log rolling) เพื่อลดหรือหลีกเล่ียง/ปองกันการเกิดแรงกดทับจากการนอนบนเตียงนานๆ ในการพลิกตะแคงตัวดังกลาวผูปวยตองเกร็งหลังใหแข็งเพือ่จัดใหแนวกระดูกสันหลังอยูในแนวตรง ซ่ึงวิธีพลิกตะแคงตัวมีโอกาสทําใหผูปวยเกิดความปวดจากการเกร็งกลามเนื้อหลังได นอกจากนั้นหลังผาตัดเมื่อแผลผาตัดเริ่มหายจะเกิดการดึงร้ังของแผลผาตัด (Scarring) และพังผืด (Adhesion) เพื่อยึดติดเนื้อเยื่อบริเวณขางเคียง เชน เอ็นขอตอ ทําใหมีการยืดขยายของกลามเนื้อไดนอย มีผลทําใหการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังบริเวณเอวลดนอยลงเกิดอาการหลังแข็ง (Stiff back) และเมื่อผูปวยจําเปนตองมีกิจกรรมที่ตองกมหรือเงยในภายหลังการผาตัดอาจทําใหเกิดอาการปวดได

เมื่อผูปวยเกิดอาการปวดขึ้นจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระตางๆไดแกการตอบสนองของประสาทอัตโนมัติ คือ หัวใจจะเตนเร็วขึ้น เพิ่มแรงบีบตัวมากขึ้น จํานวนเลือดที่ถูกบีบออกจากหัวใจเพิ่มมากขึ้น หายใจเร็วขึ้น ความดันโลหิตสูงขึ้น ปลายมือปลายเทาเย็นซีดเพราะหลอดเลือดสวนปลายตีบ มีการไหลลัดของเลือดจากอวัยวะภายในและผิวหนังไปกลามเนื้อลาย หัวใจ ปอดและระบบประสาท มานตาขยาย เหงื่อออกคลื่นไส อาเจียน หลอดลมขยายเพื่อเพิ่มออกซิเจน มีการยับยั้งการขับหล่ังและการบีบตัวของทางเดินอาหาร กลามเนื้อหูรูดหดเกร็ง กระเพาะปสสาวะและทอไตบีบตัวลดลงเกิดการคั่งของปสสาวะ กระตุนการหลั่งของฮอรโมน antidiuretic, aldosterone และ cortisol ทําใหน้ําตาลในเลือดสูงขึ้น ถาความปวดรุนแรงอาจทําใหเกิดภาวะ neurogenic shock ได

เมื่อผูปวยเกิดความปวดจะแสดงปฏิกิริยาตอบสนองตอความปวด โดยจะสูหรือถอยขึ้นกับความอดทนตอความปวด (Pain tolerance) ซ่ึงเกี่ยวของกับชนิดของความเจ็บปวด บุคลิกภาพ การปรับตัว ประสบการณความปวด ส่ิงแวดลอม สังคม และวัฒนธรรม เปนตน การตอบสนองความปวดจะแสดงออกทางปฏิกิริยาทางจิต เชน เศรา กลัว วิตกกังวล โกรธ ไมมีสมาธิ กระสับกระสาย หงุดหงิด เก็บตัว รับประทานอาหารไดนอย เปนตน หรืออาจแสดงปฏิกิริยาทางจิตสรีระ เชนการแสดงออกเปนออกทางสีหนาและหยุดการเคลื่อนไหวบริเวณที่ปวด หรือลูบคลําบริเวณที่เจ็บปวด

Page 15: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

4

นอกจากนี้ผูปวยจะตอบสนองดานน้ําเสียงดวยคําพูดบอกความรูสึก (ลิวรรณ อุนนาภิรักษ, 2546: 119) ดังนั้นความปวดจึงเปนปญหาที่สําคัญ เนื่องจากความปวดจะสงผลกระทบตอรางกาย ความรูสึกนึกคิดและการมีปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่น ทําใหผูปวยเคล่ือนไหวไดนอยลงหรือหยุดการเคลื่อนไหว ไมกลาขยับเขยื้อนรางกายแมวาจะสามารถกระทําไดตามแผนการรักษากลาวคือการไดเร่ิมเดิน (Ambulate) ไดหลังผาตัดใน 2 - 3 วัน ซ่ึงการลุกเดินใหเร็วที่สุดเปนส่ิงที่จําเปนมากในผูปวยหลังผาตัดทุกราย เนื่องจากเปนการปองกันภาวะแทรกซอนหลังผาตัด เชน ทองอืด ทองผูก ปอดแฟบ (Atelectasis) ปอดอักเสบ (Hypostatic pneumonia) และการติดเชื้อทางเดินปสสาวะ ดังนั้นพยาบาลจะตองพยายามกระตุนและแนะนําใหผูปวยลุกเดินใหเร็วที่สุดตามแผนการรักษา โดยแนะนําวิธีขึ้น-ลงเตียงอยางถูกตอง เพื่อปองกันไมใหเกิดการทรุดตัวหรือเคล่ือนที่ของกระดูกสันหลังหรือหมอนรองกระดูกสันหลัง นอกจากนี้ยังเปนการปองกันไมใหผูปวยมีอาการปวดเพิ่มมากขึ้นกวาเดิมในขณะที่ตองไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงเพื่อลุกเดินในครั้งแรก (Early ambulate) หลังผาตัด

สถาบันประสาทวิทยามีการจัดทําแนวปฏิบัติการพยาบาลผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง (Clinical nursing practice guidelines for surgical spine) ขึ้นในปพ.ศ 2547 โดยไดมีการจัดประชุมผูเชี่ยวชาญทางดานประสาทศัลยกรรม ไดแก แพทย พยาบาล เภสัชกรรมและกายภาพบําบัด เปนตน มารวมกันจัดทําเปนแนวปฏิบัติการพยาบาลผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังประกอบดวย เนื้อหาเกี่ยวกับผูปวยที่มีปญหาปวดหลังและเสนประสาทถูกกดทับที่เขารับการรักษาในสถาบันประสาทวิทยา ความรูทั่วไปที่เกี่ยวกับการผาตัดกระดูกสันหลัง ปญหาที่พบบอยในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังและการแกไขปญหา แนวทางในการเขียนขอวินิจฉัยการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล ขั้นตอนการรับใหม การประเมินสภาพผูปวย การพยาบาลกอนและหลังผาตัด รวมถึงทาที่ใชสําหรับการลุกเดินในผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลัง และการวางแผนจําหนายผูปวยกลับบาน

ในฐานะผูวิจัยเปนพยาบาลที่ปฏิบัติงานในแผนกประสาทศัลยกรรมของสถาบันประสาทวิทยาและไดนําแนวปฏิบัติการพยาบาลดังกลาวมาใชพบวา การจัดทาขึ้น-ลงเตียงหรือทาที่ใชสําหรับการลุกเดินในผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลัง สามารถจัดได 2 ทา คือทาขึ้น-ลงเตียงดวย ทาดานหนาและทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง และจากการศึกษาคนควาจากเอกสารตาง ๆ พบวา จัดทาขึ้น-ลงเตียง หรือทาในการลุกเดินของผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลังครั้งแรกอยาง ถูกวิธีสามารถชวยใหผูปวยไมเกิดความปวดเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบความปวดและความพึงพอใจของผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอวที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาและทาดานหลังวาทาใดที่จะทําใหผูปวยเกิดความปวดนอยกวาและ/หรือเกิดความพึงพอใจมากกวา

Page 16: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

5

กรอบแนวคิดในการวิจัย การวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยไดใชกรอบทฤษฏีความปวดของเมลแซ็กคและวอลล (Melzack and

Wall, 1994: 147) มาดัดแปลงใชในผูปวยที่ไดรับการผาตัดกระดูกสันหลัง โดยอธิบายวาสาเหตุของความปวดเกิดจากการที่ผูปวยที่ไดรับการผาตัดกระดูกสันหลังทําใหเนื้อเยื่อไดรับบาดเจ็บ มีผลทําใหกลามเนื้อหดรัดตัวสงผลใหปริมาณการไหลเวียนเลือดลดลง กลามเนื้อไดรับออกซิเจนนอยลงในขณะกลามเนื้อหดตัวจะมีการเผาผลาญแบบไมใชออกซิเจนมากขึ้น กอใหเกิดกรดแลคติดไปกระตุนใยประสาทขนาดเล็กของระบบประสาทสวนปลาย ซ่ึงเมื่อถูกกระตุนเปนเวลานานจะสงสัญญาณประสาทกระจายไปสูอวัยวะอื่นที่มีใยประสาทเชื่อมถึงซับสแตนเทีย จิลาโนซาเกิดอาการปวดราว (Refer pain) และสัญญาณประสาทเชื่อมถึงกันเหลานี้สามารถรวมตัวกันที่ซับสแตนเทีย จิลาติโนซา ทําใหสัญญาณประสาทมีพลังสูงอยางตอเนื่อง เกิดอาการปวดอยางรุนแรง นอกจากนี้ในกระบวนการหายของแผลจะทําใหเกิดการดึงรั้งของเนื้อเยื่อข้ึนหรืออาจเกิดพังผืดรอบ ๆ ไปยึดติดกับเนื้อเยื่อขางเคียงทําใหความยืดหยุนนอยลง มีผลใหการเคลื่อนไหวบริเวณสวนเอวทําไดนอยลง และเมื่อผูปวยเคลื่อนไหวหรือลุกเดิน (Ambulation) จะทําใหเกิดอาการปวดไดมากขึ้น ดังนั้นผูวิจัยจึงไดศึกษาเพื่อเปรียบเทียบวิธีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาและการขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลังวาทาใดที่จะทําใหผูปวยเกิดความปวดนอยกวาและ/หรือเกิดความพึงพอใจมากกวา

คําถามการวิจัย

การจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนามีความปวดและความพึงพอใจแตกตางจากการจัด

ทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลังหรือไม

วัตถุประสงคของการวิจัย

เพื่อศึกษาเปรยีบเทียบความปวดและความพึงพอใจในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอวที่ไดรับการจัดทาขึ้น–ลงเตียงดวยทาดานหนาและทาดานหลัง

Page 17: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

6

แผนภูมิท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

สมมติฐานการวิจัย

ผูปวยที่ไดรับการจัดทาขึ้น - ลงเตียงดวยทาดานหนามีความปวดและความพึงพอใจตอ

การจัดทาแตกตางจากผูปวยที่ไดรับการจัดทาขึ้น - ลงเตียงดวยทาดานหลัง

ความปวด

การจัดทาดานหลังขึ้น-ลงเตียง

- ระดับความปวด - ความพึงพอใจในการจัดทา

ผูปวยหลังการผาตัด กระดูกสันหลัง

การดึงรั้งของเนื้อเยื่อ

การจัดทาดานหนาขึ้น-ลงเตียง

เนื้อเยื่อไดรับบาดเจ็บ

การเกิดพังผืดรอบๆ กระดูกสันหลัง

Page 18: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

7

ขอบเขตการวิจัย การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาความปวดและความพึงพอใจของผูปวยผาตัดกระดูกสัน

หลังระดับเอว ที่มีอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป ที่หอผูปวยศัลยกรรมชาย ศัลยกรรมหญิง พิเศษศัลยกรรมและจักษุพิเศษของสถาบันประสาทวิทยา ตั้งแตเดือน มีนาคม 2549 ถึงเดือน กรกฎาคม 2549 จํานวน 40 ราย

ขอจํากัดการวิจัย

การวิจยัคร้ังนี้เก็บขอมูลเพียงครั้งเดียวภายหลังการจัดทาขึน้-ลงเตียง

ขอตกลงเบื้องตน การผาตัดกระดูกสันหลังที่ไดรับจากศัลยแพทยประสาทนั้นเปนไปตามมาตรฐานของ

การผาตัดตามราชวิทยาลัยแพทยศาสตร

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1. เพื่อปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาลใหมากยิ่งขึ้นและ

ผูปวยเกิดความพึงพอใจในการพยาบาลที่ไดรับ 2. เปนแนวทางสําหรับผูสนใจที่จะศึกษาคนควาวิจัยเกี่ยวกับการพยาบาลผูปวยหลัง

ผาตัดกระดูกสันหลัง นิยามตัวแปร

ผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอว หมายถึง ผูปวยไดรับการผาตัดกระดูกสันหลัง

ระดับเอว (Lumbar) ที่มีพยาธิสภาพของกระดูกสันหลังในระดับเดียว การจัดทาดานหนาลงเตียง หมายถึง การลงจากเตียงโดยพยาบาลจัดทาใหผูปวยนอน

ตะแคงหนาชิดขอบเตียงดานที่จะลุกลงจากเตียง หลังจากนั้นผูปวยใชมือขางที่ติดกับที่นอนยันตัว

Page 19: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

8

ลุกขึ้นนั่งพรอมทั้งหยอนเทาลงขางเตียงใหหลังตรง แลวคอยๆ หยอนเทาลงพื้นและยืนแยกเทาออกเล็กนอย ลงน้ําหนักไปยังฝาเทาทั้งสองขาง

การจัดทาดานหนาขึ้นเตียง หมายถึง การขึ้นเตียงนอน โดยพยาบาลจัดทาใหผูปวยนั่งชิดขอบเตียงแลวคอยๆ ตะแคงหยอนลําตัวลงบนท่ีนอนพรอมกับยกเทาขึ้นเตียง จัดทานอนที่สุขสบายใหหลังตรง ใชหมอนวางตามแนวยาวของหลังและระหวางขา

การจัดทาดานหลังลงเตียง หมายถึง การลงจากเตียงโดยพยาบาลจัดใหผูปวยนอนคว่ําชิดขอบเตียงดานที่จะลงและคอยๆ หยอนเทาลงพื้น เมื่อเทาทั้งสองขางถึงพื้นผูปวยใชมือทั้งสองยันที่นอนดันตัวลุกขึ้นจากเตียงโดยใหหลังตรง แยกเทาออกเล็กนอยลงน้ําหนักไปยังฝาเทาทั้งสองขาง

การจัดทาดานหลังขึ้นเตียง หมายถึง การขึ้นเตียงนอน โดยพยาบาลจัดทาใหผูปวย ใชหนาอกนอนราบกับที่นอน แลวจึงคอยๆ ยกเทาขึ้นเตียงทีละขางจัดทาที่สุขสบายใหหลังตรง ใชหมอนวางตามแนวยาวของหลังและระหวางขา

ความปวด หมายถึง ความรู สึกของผูปวยจากการปวดที่ เกิดขึ้นบริเวณหลัง อันเนื่องมาจากการเคลื่อนไหว ซ่ึงประเมินระดับความปวดไดโดยใช Pain Scale ของสถาบันประสาทวิทยาที่มีการแบงตัวเลขตั้งแต 0–10 โดย 0 หมายถึงไมปวดเลยและ 10 หมายถึงปวดมากที่สุด

ความพึงพอใจในการพยาบาลที่ไดรับ หมายถึง ความรูสึกที่สอดคลองกันระหวางความคาดหวังของผูปวยกับการพยาบาลที่ไดรับจริงจากการที่ผูวิจัยจัดทาขึ้น-ลงจากเตียง โดยประเมินจากแบบวัดความพึงพอใจที่ผูวิจัยสรางขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมและสิ่งที่เกิดขึ้นจริงจากการปฏิบัติ

Page 20: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

9

บทที่ 2

วรรณกรรมที่เกี่ยวของ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi experimental research) เพื่อศึกษาเปรียบเทยีบ

ความปวดและความพึงพอใจของการจัดทาขึ้น-ลงเตียงในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอว การทบทวนวรรณกรรมประกอบดวยหัวขอดังนี้

1. การผาตัดกระดูกสันหลัง

2. ความปวดและพยาธิสรีรวิทยาของความปวดหลังผาตัด

3. การพยาบาลผูปวยกอน-หลังผาตัดกระดูกสันหลัง

4. แนวปฏิบัติการพยาบาลผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังของสถาบันประสาทวิทยา

5. ความพึงพอใจในการจัดทาขึ้น- ลงเตียงของผูปวย การผาตัดกระดูกสันหลัง

การผาตัดกระดูกสันหลังเปนการรักษาโรคที่เกิดเกี่ยวกับกระดูกสันหลังเชนโรคกระดูก

สันหลังหัก หลังคด เนื้องอก วัณโรค หมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้นหรือเส่ือม ชองไขสันหลังตีบแคบ และการเคลื่อนของกระดูกสันหลัง ซ่ึงแพทยจะทําผาตัดเมื่อผูปวยไดรับการรักษาตามอาการ (Conservative treatment) ดวยวิธีอ่ืนๆ ไมดีขึ้น หรือผูปวยมีภาวะการขับถายปสสาวะทีผิ่ดปกต ิและมีกลามเนื้อออนแรงต่ํากวาเกรดสาม โดยมีจุดประสงคของการผาตัดเพื่อชวยแกไขการบีบกดรากประสาทและการเชื่อมโครงสรางของกระดูกและขอเพื่อความมั่นคง (วิเชียร เลาหเจริญสมบัติ, 2538: 309)

Page 21: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

10

การผาตัดกระดูกสันหลังมีหลายวิธีดังนี ้1. การผาตัดเพื่อแกไขการบีบกด (Decompression) ประสาทไขสันหลัง เชน การตัด

แผน หรือหลังคากระดูกสันหลังออก (Laminectomy) การผาตัดสวนหลังของอินเตอรเวอรทีบรอล ฟอราเมน (Intervertebral foramen) การผาตัดยกหลังคาของกระดูกสันหลังใหสูงขึ้น (Laminoplasty) การผาตัดโดยผาเขาทางดานหลังตัดกระดูกหลังคาแลวเอาหมอนรองกระดูกสันหลังที่มีพยาธิสภาพออก (Laminectomy and disectomy) การผาตัดโดยผาเขาทางดานหนาเพื่อนําหมอนรองกระดูก สันหลังออก (Anterior disectomy) การผาตัดโดยใชเครื่องมือ (Disc forceps) สอดเขาไปตัดดึงสวนของหมอนรองกระดูกสันหลังที่เสื่อมสภาพออก โดยไมตองตัดหลังคากระดูกสันหลัง (Percutaneous posterolateral disectomy)

2. การเชื่อมโครงสรางของกระดูกสันหลังเพื่อความมั่นคง (Fusion or stabilization) เปนการเชื่อมดวยกระดูก โลหะ ซีเมนตอยางใดอยางหนึ่ง เชน การเชื่อมเขาดานหลัง (Posterior fusion) การเชื่อมทางดานหนา (Anterior interbody fusion) การเชื่อมทางดานหลังกับดานขาง (Posterolateral fusion)

จะเห็นไดวาการผาตัดกระดูกสันหลังมีหลายวิธี วิธีปฏิบัติสวนใหญที่ใชในสถาบันประสาทวิทยาคือการผาตัดเพื่อแกไขการบีบกดโดยวิธีทําการตัดหลังคากระดูกสันหลังออก (Laminectomy) หรือการนํา Intervertebral disc ออก ( Disectomy ) และการผาตัดเชื่อมโครงสรางของกระดูกสันหลังเพื่อความมั่นคง (Fusion or stabilization) เชนการเชื่อมกระดูก Vertebra 2 ระดับ โดยใช Screw แทงผาน Pedicle บนและลางตอVertebra ที่หัก ( Transpedicular screw fixation ) ซ ึ่งภายหลังการผาตัดดวยวิธีดังกลาว ผูปวยมักประสบปญหาเกี่ยวกับความปวด และการมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวที่จํากัดเพราะตองระมัดระวังปญหาที่เกิดขึ้นกับแผลผาตัดได ดังนั้นพยาบาลจึงควรทําความเขาใจเกี่ยวกับความปวดและพยาธิสรีรวิทยาของความปวดหลังผาตัด ดังกลาว ความปวดและพยาธิสรีรวิทยาของความปวดหลังผาตัด การผาตัดทําใหเนื้อเยื่อและเซลลประสาทถูกทําลายหรือบอบช้ํา เกิดมีการหลั่งสารที่ทําใหเกิดความปวดไปกระตุนปลายประสาทรับความปวด กระแสประสาทถูกสงไปยังไขสันหลังแลวสงตอไปยังสมองจนเกิดการรับรูความปวดขึ้น ปฏิกิริยาและการตอบสนองตอความปวดที่เกิดขึ้นอธิบายไดดังนี้ (ลิวรรณ อุนนาภิรักษ, 2546: 89)

Page 22: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

11

1. ปฏิกิริยาเฉพาะที่ เมื่อเนื้อเยื่อไดรับอันตรายจะหลั่งสารเคมี คือ โพสตาแกลนดิน (Postaglandin) ไปกระตุนปลายประสาทรับความปวด ใหไวตอการกระตุนดวยแรงกลหรือสารเคมีที่ เนื้อเยื่อหล่ังออกมา คือ บริเวณผิวหนังจะหลั่งแบรดีไคนิน (Bradykinin) และโปตัสเซียม (Potassium) ไปกระตุนปลายประสาทรับความปวดและมีผลใหใยประสาทถูกตัดขาด สวนบริเวณอวัยวะที่อยูลึกลงไป เชน ชั้นพังผืด กลามเนื้อ และเยื่อบุตางๆ จะหลั่งสารฮีสตามีน (Histamine) ไปกระตุนปลายประสาทรับความปวดรวมกับความทนของตัวรับความรูสึกปวดลดต่ําลง และมีการถูกตัดใยประสาทที่นําออกจากตัวเซลลแอกซอน (Axon) นอกจากนี้บริเวณอวัยวะภายใน สรีรวิทยาของความปวดที่เกิดขึ้นเหมือนกับบริเวณผิวหนังและบริเวณอวัยวะที่อยูลึกลงไปรวมกับมีการตึงตัวและหดรัดตัวของกลามเนื้อเรียบ

2. ปฏิกิริยาระดับไขสันหลัง จะทําใหกลามเนื้อลายและหลอดเลือดหดตัวมีผลทําใหการไหลเวียนโลหิตลดลงเกิดการขาดออกซิเจน (Hypoxia) ทําใหมีการเผาผลาญแบบไมใชออกซิเจน (Anaerobic metabolism) เกิดกรดแลกติค ซ่ึงจะไปกระตุนปลายประสาทรับความปวดที่กลามเนื้อใหสงสัญญาณตอไปยังสมอง เมื่อกลามเนื้อและหลอดเลือดมีการหดตัวใหมอีกครั้ง ทําใหเกิดความปวดรุนแรงขึ้นไปเพิ่มปฏิกิริยาสะทอนกลับที่ไขสันหลังมากขึ้น มีผลใหความปวดเปนวงจรตอเนื่อง (Bonica, 1990: 463)

3. ปฏิกิริยาระดับเหนือไขสันหลัง เมื่อเกิดความปวดขึ้นจะถูกสงสัญญาณไปที่ศูนยควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติในไฮโปธาลามัส (Hypothalamus) เพื่อไปเรงการทํางานของระบบประสาทซิมพาเธติค (Sympathetic) ใหมีการหล่ังอิพิเนฟฟน (Epinephrine) เพิ่มขึ้นทําใหหัวใจ เตนเร็ว ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น หายใจเร็วข้ึน ถาความปวดรุนแรงและคงอยูนานจะทําใหหัวใจ เตนชาลง ความดันโลหิตลดลง

4. ระดับเปลือกสมอง เมื่อมีความปวดสมองสวนที่รับผิดชอบทางอารมณจะถูกกระตุนเกิดความรูสึกไมพึงปรารถนา โดยแสดงพฤติกรรมตางๆ เชน หงุดหงิด กระสับกระสาย วิตกกังวล กลัว รองไหหรือหยุดการเคลื่อนไหวเปนตน

จากที่กลาวมาขางตนจะเห็นวา ความปวดที่เกิดจากการไดรับบาดเจ็บของเนื้อเยื่อนั้นมีปจจัยที่เกี่ยวของ คือ บริเวณที่เนื้อเยื่อไดรับบาดเจ็บ ซ่ึงผูปวยที่ผาตัดกระดูกสันหลังมักไดรับการลงมีดผาตัดบริเวณแนวกระดูกสันหลังระดับเอวในแนวตรง ทําใหเกิดความปวดไดมากกวาผูปวยที่ผาตัดบริเวณหนาทองในแนวขวาง ดังนั้นเมื่อไดรับอนุญาตใหลุกเดิน (Ambulation) ผูปวยสวนใหญจึงเกิดความไมแนใจตอการลุกเดินที่อาจมีผลตอความปวดได อยางไรก็ตามวิธีการลุกเดินหมายถึงการลุกขึ้นจากทานอน สามารถปฏิบัติได 2 วิธี โดยใชทาที่ตางกันคือการลุกขึ้นจากทานอน

Page 23: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

12

โดยใชทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาและการลุกขึ้นจากทานอน โดยใชทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง

1. การลุกขึ้นจากทานอน โดยใชทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนา (Schoen, 2001: 244) 1.1 ลงเตียง โดยนอนตะแคงหนาชิดขอบเตียงดานที่จะลง ใชมือขางที่ติดกับที่นอน

ยันตัวลุกขึ้นนั่งพรอมทั้งหยอนเทาลงขางเตียงใหหลังตรงคอยๆ หยอนเทาลงพื้น หลังจากนั้นลุกขึ้นขางเตียง แยกเทาออกเล็กนอย ลงน้ําหนักไปยังฝาเทาทั้งสองขาง

1.2 ขึ้นเตียง โดยใหผูปวยนั่งชิดขอบเตียงแลวคอยๆ ตะแคงหยอนตัวลงบนที่นอนพรอมกับยกเทาขึ้นเตียง จัดทานอนใหสุขสบายใหหลังตรงใชหมอนวางตามแนวยาวของหลังและระหวางขา

2. การลุกเดินโดยใชทาขึ้น- ลงเตียงดวยทาดานหลัง (สมหมาย วนะนานต, 2540: 47)

2.1 ลงเตียง โดยนอนคว่ําชิดขอบเตียงดานที่จะลง และคอยๆ หยอนเทาลงพื้น เมือ่เทาลงพื้นทั้งสองขางใชมือยันที่นอนดันตัวลุกขึ้นจากเตียงใหหลังตรง แยกเทาออกเล็กนอยลง น้ําหนักไปยังฝาเทาทั้งสองขาง

2.2 ขึ้นเตียงโดยใหผูปวยนอนคว่ําหนาแนวราบกับที่นอน แลวจึงคอยๆ ยกเทาขึ้นเตียงทีละขาง จัดทาใหสุขสบายหลังตรงใชหมอนวางตามแนวยาวของหลังและระหวางขา

จากที่กลาวมาขางตนทําใหผูวิจัยมีความสนใจวาถาผูปวยไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงระหวางทาดานหนากับทาดานหลังจะมีความปวดและความพึงพอใจแตกตางกันหรือไม ซ่ึงทั้งทาดานหนาและทาดานหลังที่ผูปวยใชขึ้น-ลงเตียงเปนทาที่ปลอดภัยไมกอใหเกิดภาวะแทรกซอนแกผูปวย สามารถนําไปใชไดแลวแตความพึงพอใจของผูปวย อยางไรก็ตามผูปวยอาจพบกับปญหาความปวดดังไดกลาวมาแลว พยาบาลจึงจําเปนตองประเมินความปวดของผูปวยกอนใหผูปวยมกีารลุกจากเตียง การประเมินความปวดจากผูปวยเปนรายบคุคลสามารถประเมินโดยวิธีหลักๆ ไดดังนี ้ (พงศภารดี เจาฑะเกษตริน และคณะ, 2547: 122-123; สุพร พลยานันท, 2528: 88-96)

1. ประเมินจากคําบอกเลาของผูปวย ประสบการณความปวดเปนความรูสึกสวนบุคคล ที่บุคคลอื่นไมอาจหยั่งรูถึงระดับความรุนแรงมากนอยเพียงใด แตสามารถประเมินไดจากคําบอกเลาของผูปวยเอง การประเมินนี้เปนการประเมินที่ไดขอมูลตรงกับความเปนจริงที่สุด เนื่องจากไดขอมูลจากผูปวยโดยตรง เพราะผูปวยเทานั้นที่รูปริมาณและจํานวนของความปวดที่ถูกตอง ซ่ึงมีการคดิคนออกมาหลายแบบเพื่อใหงาย และสะดวกตอการใช เชน

Page 24: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

13

1.1 มาตรวัดความปวดดวยสายตา (Visual analog scale: VAS) มาตรวัดชนิดนี้มีความยาว 10 เซนติเมตร อยูในแนวนอนหรือแนวตั้ง ไมมีตัวเลขหรือคําบรรยายบนมาตรวัด โดยเริ่มจากซายมือแสดงถึงความรูสึกไมปวดเลย สวนทางดานขวามือแสดงถึงปวดมากที่สุด ผูปวยสามารถทําเครื่องหมายบนมาตรวัดตําแหนงใดก็ไดตามความปวดของตนเอง จากนั้นจึงนาํไปปรับใหเปนตัวเลขโดยเทียบกับมาตรวัดที่แสดงตัวเลข

ไมปวดเลย ปวดมากที่สุด

ภาพประกอบ 1 มาตรวัดความปวดดวยสายตา ท่ีมา : Luckman,1997: 345

1.2 มาตรวัดความปวดแบบตัวเลข (Numerical rating scale: NRS) มาตรวัดนี้คลายกับมาตรวัดดวยสายตา แตมีการแบงตัวเลขตั้งแต 0-10 โดย 0 หมายถึงไมปวดเลย และ 10 หมายถึงปวดมากที่สุด มาตรวัดนี้สามารถประเมินความปวดไดงายและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการมีตัวเลขกําหนดจะทําใหเขาใจไดงายขึ้น

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ไมรูสึกปวดเลย รูสึกปวดปานกลาง รูสึกปวดมากที่สุด ภาพประกอบ 2 มาตรวัดความปวดแบบตัวเลข

ท่ีมา: Luckman,1997: 345

1.3 มาตรวัดความปวดดวยวาจา (Verbal rating scale: VRS) มาตรวัดนี้แบงความปวดเปนระดับตางๆ โดยจัดเปนลําดับคําพูดส้ันๆ เพื่อใหผูปวยเขาใจงาย เชน ไมปวดเลย, ปวดเล็กนอย, ปวดปานกลาง, ปวดมาก และปวดมากที่สุด มาตรวัดนี้เหมาะสําหรับผูปวยที่ไมสามารถประเมินความปวดออกมาเปนตัวเลขได เชน ผูปวยหนัก วิธีนี้นิยมใชรวมกับมาตรวัดความปวดแบบตัวเลข

ไมปวดเลย ปวดเล็กนอย ปวดปานกลาง ปวดมาก ปวดมากขึ้น ปวดมากที่สุด ภาพประกอบ 3 มาตรวัดความปวดดวยวาจา

ท่ีมา: Luckman,1997: 345

Page 25: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

14

2. การประเมินความปวดจากการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา เปนการประเมินความ

ปวดจากการทํางานของระบบประสาทอัตโนมัติ 2.1 ความปวดระดับเล็กนอยถึงปานกลาง หรือมีความปวดระดับพื้นผิวของรางกาย

จะมีการตอบสนองโดยประสาทซิมพาเทติค (Sympathetic nervous system) ไดแก หนาซีด มานตาขยาย เหงื่อออกมาก ความดันโลหิต และอัตราการเตนของหัวใจเพิ่มขึ้น

2.2 ความปวดรุนแรง ยาวนาน หรือปวดเนื้อเยื่อรางกายบริเวณลึก จะมีการตอบสนองของระบบประสาทพาราซิมพาเทติค (Parasympathetic nervous system) ไดแก คล่ืนไส อาเจียน ออนเพลีย เปนลม ระดับความรูสึกตัวเลวลง อัตราการเตนของหัวใจและความดันโลหิตลดลง เปนตน

3. ประเมินโดยสงัเกตพฤติกรรมของผูปวย 3.1 พฤติกรรมดานการเคลื่อนไหว (Motor behavior) เปนการแสดงออกที่บงบอก

ถึงความรูสึกปวด โดยการเคลื่อนไหวของรางกาย สีหนา ทาทาง เชน ลูบบริเวณที่ปวด กํามือแนน หรือนอนนิ่งไมเคลื่อนไหว การแสดงออกทางสีหนา เชน กัดฟน หนานิ่วคิ้วขมวด เปนตน

3.2 พฤติกรรมดานเสียง (Vocal behavior) เชน รองครวญคราง รองไห สะอื้น เสียงสูดปาก หรือรองกรี๊ด เปนตน

3.3 พฤติกรรมดานอารมณ (Affective behavior) เชน หงุดหงิด ฉุนเฉียว กระสับกระสาย หรือซึมเศรา เปนตน

การประเมินความปวดสามารถทําไดหลายวิธีดังกลาว ในการเลือกใชจึงควรเลือก ตามความเหมาะสมกับผูปวย ความสะดวก และมีประสิทธิภาพมากที่สุด ในการวิจัยครั้งนี้ใช การประเมินความปวดผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลัง โดยใชมาตรวัดแบบตัวเลข (Numerical rating scale: NRS) ซ่ึงเปนการประเมินความปวดจากผูปวยโดยตรง จึงสามารถประเมินความปวดของผูปวยไดดี และเปนวิธีที่ผูปวยเขาใจงายเนื่องมีการแบงชวงของความปวดที่เหมาะสมไมกวางหรือแคบเกินไป สะดวกและใชเวลานอย เหมาะสําหรับผูปวยหลังผาตัดขณะกําลังปวดและสวนใหญเปนผูสูงอายุ ดังนั้นการประเมินความปวดจึงเปนวิธีหนึ่งของพยาบาล เพื่อที่จะไดชวยเหลือใหการพยาบาลผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังไดถูกตอง อยางไรก็ตาม นอกจากการประเมินความปวดแลว ยังมีการพยาบาลอื่นๆ ที่ผูปวยตองไดรับเพื่อใหฟนสภาพภายหลังการผาตัดโดยเร็วที่สุด

Page 26: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

15

การพยาบาลผูปวยกอน–หลังผาตัดกระดูกสันหลัง

ผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังทุกรายจําเปนจะตองไดรับการพยาบาลที่ถูกตอง เพื่อชวยใหปลอดภัยจากภาวะแทรกซอนตางๆ ซ่ึงการพยาบาลผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังแบงเปน การพยาบาลกอนผาตัด การพยาบาลหลังผาตัดและการพยาบาลฟนฟูสภาพขณะกลับบาน ดังนี ้ (คณาจารยภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร, 2535: 245 ; กลุมภารกิจบริการวิชาการพยาบาล สถาบันประสาทวิทยา,2547: 2 - 24)

การพยาบาลผูปวยกอนผาตัด แบงเปนการเตรียมผูปวยทางดานจิตใจและทางดาน รางกาย

1. การเตรียมผูปวยทางดานจิตใจ กอนผาตัดผูปวยสวนใหญมักมีความวิตกกังวลและกลัว ผูปวยอาจแสดงออกทางดานรางกาย เชน อารมณฉุนเฉียว นอนไมหลับ หรือหลับๆ ตื่นๆ อาจหงุดหงิด สับสน ไมสบายใจ กระวนกระวาย สะดุง ตกใจงาย เปนตน ซ่ึงการแสดงออกเหลานี้จะเปนผลเสียตอสุขภาพของผูปวย จนอาจทําใหสภาพผูปวยไมเหมาะสมที่จะทําการผาตัดหรือไดรับยาระงับความรูสึก ดังนั้นพยาบาลควรมีบทบาทในการชวยเหลือใหผูปวยลดความวิตกกังวลและเตรียมพรอมทางดานจิตใจเพื่อจะทําการผาตัด สรางสัมพันธที่ดีระหวางผูปวยกับพยาบาลเพื่อให ผูปวยมีความรูสึกไววางใจและสามารถระบายความรูสึกหรือความวิตกกังวลได กระตุนใหผูปวยไดพูดคุยระบายความรูสึกความวิตกกังวล และรับฟงดวยความเต็มใจ พูดคุยปลอบโยนใหกําลังใจและใหขอมูลที่ถูกตองแกผูปวยถึงสาเหตุและความจําเปนของการผาตัด รวมทั้งอธิบายเกี่ยวกับการผาตัด สภาพภายหลังการผาตัด นอกจากนั้นควรแนะนําและชี้แจงใหญาติทราบเกี่ยวกับความวิตกกังวลของผูปวยและสงเสริมใหญาติใหกําลังใจและปลอบโยนผูปวย

2. การเตรียมผูปวยดานรางกายแบงเปนดังนี้ 2.1 การประเมินสภาพทั่วไปของผูปวยกอนผาตัด เชน สภาพทั่วไประดับความ

รูสึกตัว สัญญาณชีพ ควรซักประวัติเกี่ยวกับโรคประจําตัว การใชยาประจําและการแพยา นอกจากนี้ ผูปวยควรเตรียมความพรอมทางดานรางกาย เชน อาบน้ํา ตัดเล็บ ลางสีเล็บที่ทาไวออก สระผม โกนหนวด แปรงฟน งดแตงหนา ถอดฟนปลอม ถอดเครื่องประดับ งดสูบบุหร่ีอยางนอย 2 สัปดาห งดอาหารและน้ํากอนผาตัดอยางนอย 6-8 ชั่วโมง ฝกหายใจและไอขับเสมหะอยางถูกวิธี

การฝกหายใจที่ถูกวิธี 1. วางมือบนหนาอก 2. คอยๆ หายใจออกยาวๆ ใหเต็มที่

Page 27: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

16

3. หายใจเขายาวๆ ลึกๆ กล้ันหายใจไวหามเบง นับ 1–5 แลวคอยๆ ปลอยลมหายใจออกทั้งทางจมูกและปาก

4. ทําซ้ําประมาณ 15 ครั้ง ในขณะฝกหายใจ 5 ครั้งติดตอกัน ควรฝกวันละ 2 รอบ

การฝกขับเสมหะอยางถูกวิธี 1. ประสานมือทั้งสองขางและวางบริเวณหนาทอง 2. คอยๆ หายใจออกยาวๆ ใหเต็มที่ 3. หายใจเขายาวๆ ลึกๆ กล้ันหายใจไวหามเบงนับ 1-5 แลวคอยๆ ปลอยลม

หายใจออก 4. อาปากหายใจเขาลึกๆ 5. ไอแรงๆ อยางเร็ว 1- 2 คร้ัง จะทําใหเสมหะที่อยูในปอดออกมาได 6. ฝกจนสามารถทําไดอยางถูกตองหลังผาตัด

2.2 การไดรับยากอนผาตัด ยาที่นิยมใช ไดแก ไดอะซีแพม (Diazepam) หรือ

Dormicum เพื่อชวยลดความวิตกกังวลกอนผาตัดสงเสริมใหผูปวยไดพักผอน และอะโตรปน

(Atropine) เพื่อลดการหลั่งสารคัดหล่ังของเยื่อเมือกและน้ําในรางกายสวนอ่ืนๆ และยังชวยปองกันการคลื่นไสและลดอาการอาเจียนจากการไดรับยาระงับความรูสึกได โดยแพทยอาจวางแผนใหยา

Diazepam หรือ Dormicum คืนกอนนอนของวันกอนผาตัดและเชาของวันผาตัด นอกนี้แพทยอาจใหยาปฏิชีวนะกับผูปวย เชน คลอกซาซิลิน (Cloxacillin) เพื่อปองกันการติดเชื้อหลังผาตัด

2.3 การสอนและแนะนําการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการผาตัดกระดูกสันหลัง การออกกําลังกาย วิธีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงทั้งดานหนาและดานหลังการฝกหายใจที่ถูกวิธี และการฝกขับเสมหะอยางถูกวิธีกอนผาตัด เพื่อใหผูปวยนําไปปฏิบัติภายหลังผาตัดเปนสิ่งจําเปน เพราะถาผูปวยสามารถนําความรูที่ไดรับคําแนะนําจากพยาบาลกอนผาตัดไปปฏิบัติภายหลังผาตัดไดอยางรวดเร็ว

2.4 ติดตามผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ ซ่ึงไดแก การตรวจเลือดเพื่อทราบผลของจํานวนเม็ดเลือดขาว จํานวนเม็ดเลือดแดง เวลาในการแข็งตัวของเลือด กลุมเลือด การทํางานของไต น้ําตาลในเลือด นอกจากนี้ติดตามผลการตรวจปสสาวะ ผลเอ็กซเรยทรวงอกและกระดูกสันหลังดวยคลื่นแมเหล็กไฟฟา (MRI) คอมพิวเตอร (CT scan) บางรายอาจตองเตรียมเลือดไว เพื่อใหทดแทนในระยะผาตัดหรือหลังผาตัด โดยเฉพาะในรายที่อาจตองเสียเลือดมาก ถาไมไดเลือดสํารองควรรายงานใหแพทยทราบ เพราะแพทยจะไดงดการผาตัด เนื่องจากจะเปนการเสี่ยงตอการเกิดอันตรายกับผูปวยได

Page 28: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

17

2.5 การเตรียมทางดานเอกสาร ไดแกการใหผูปวยเซ็นชื่อยอมรับการใชยาระงับความรูสึกและการผาตัด เพื่ออนุญาตใหผูอ่ืนซ่ึงไดแก แพทยและพยาบาลกระทําการใด ๆ โดยตรงตอรางกายของตนเอง พรอมทั้งมีพยานเซ็นชื่อกํากับดวย และครบถวนทุกครั้ง ผูที่เซ็นใบยินยอมจะตองมีอายุเกิน18 ปขึ้นไป และมีสติสัมปชัญญะสมบูรณหากผูปวยมีสุขภาพจิตหรือสติสัมปชัญญะไมสมบูรณตองใหผูปกครองตามกฎหมายเซ็นยินยอมดวยไดแกบิดา มารดา สาม ี

ภรรยาหรือบุตรที่บรรลุนิติภาวะแลว เปนตน การพยาบาลผูปวยหลังผาตัด มีวัตถุประสงคเพื่อชวยใหผูปวยกลับคืนสูสภาพปกติ

โดยเร็ว โดยไมมีภาวะแทรกซอนภายหลังผาตัด และเสริมสรางใหมีสุขภาพดีทั้งรางกายและจิตใจ

ในระยะแรกประกอบดวย วันแรก 1. ประเมินสัญญาณชีพไดแก ชีพจร อัตราการหายใจ ความดันโลหิต โดยวัดทุก

15 นาที จํานวน 4 ครั้ง ตอมาทุกครึ่งชั่วโมงจํานวน 2 ครั้งและทุก 1 ชั่วโมง จนกระทั่งสัญญาณชีพคงที่หลังจากนั้นวัดทุก 4 ชั่วโมง นอกจากนั้นจะตองประเมินกําลังของแขน-ขา (Motor power) ถาผิดปกติรายงานแพทยทราบ

2. ตรวจดูบริเวณแผลผาตัด เพื่อดูการสูญเสียเลือดออกจากแผลผาตัด ควรประเมินทุก

1 ชั่วโมงใน 8 ชั่วโมง และตอมาทุก 2 ชั่วโมงใน 24 ชั่วโมงแรกหลังผาตัด ถามีเลือดซึมออกมามากควรใชผากอซปดทับใหแนน ไมดึงผาปดแผลเกาออกและรีบรายงานใหแพทยทราบ นอกจากนี้จะตองประเมินความเจ็บปวดของแผลผาตัดดวย มาตรวัดความปวดทุก 4-6 ชั่วโมง

3. ดูแลการทํางานของทอระบายใหมีประสิทธิภาพ โดยการจัดทอระบายไมใหดึงร้ัง

โดยเฉพาะเวลาผูปวยพลิกตัวหรือขณะเคลื่อนไหว เพื่อปองกันการเล่ือนหลุดของสายทอระบาย

นอกจากนี้ดูแลไมใหทอระบายหักพับงอและทํางานตามปกติเปนระบบสุญญากาศ เพื่อใหระบายไดดี รวมทั้งจัดตําแหนงของทอระบายใหอยูต่ํากวาระดับบาดแผลลงมา และควรบันทึกจํานวนสารระบายในขวดรองรับอยางนอยทุก 8 ชั่วโมง เพื่อประเมินการสูญเสียเลือดโดยประเมินลักษณะและสีของเลือดหรือสารคัดหล่ังที่ออกมา ถาเลือดออกมากกวา 3 ซีซี./กก./ชม. แสดงวา ผูปวยมีภาวะตกเลือดหลังผาตัด หรือเลือดที่ออกมาเปนสีแดงสดควรรีบรายงานใหแพทยทราบ

4. ดูแลใหไดรับสารน้ําทางหลอดเลือดดําอยางเพียงพอตามแผนการรักษา 5. นอนพักบนเตียงหามไขหัวเตียงสูง โดยพยาบาลจะดูแลพลิกตะแคงตัวแบบทอนไม

(Log rolling) ทุก 2 ชั่วโมง โดยพยาบาลใชผาขวางหรือผายกเตียงชวยพลิกตัวใหไหล หลัง สะโพกและตนขาพลิกพรอมกันใหหลังตรง เมื่ออยูในทาตะแคงใชหมอนยาววางตามแนวยาวของหลังและใชหมอนสั้นวางระหวางขาโดยใหขาลางเหยียดตรง ขาบนงอ 45 องศา

Page 29: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

18

6. แนะนําใหผูปวยรับประทานอาหารที่มีประโยชน เพื่อสงเสริมการหายของแผล

โดยเฉพาะสารอาหารประเภทโปรตีนและวิตามิน เชน เนื้อสัตว ไข นม ผักและผลไม ในกรณีไมมีขอหามหรือคล่ืนไสอาเจียน

7. ดูแลความสะอาดของรางกาย 8. ดูแลเร่ืองการขับถายปสสาวะ ถาไมถายปสสาวะใน 8 ชั่วโมง แนะนําใหผูปวยดื่ม

น้ํามากๆ และใหวาง Cold pack บริเวณหัวเหนา หรืออาจใชน้ําราดบริเวณหัวเหนา เพื่อเปนการกระตุนใหผูปวยถายปสสาวะ แตถายังไมถายปสสาวะรายงานแพทยทราบเพื่อจะไดสวนปสสาวะ

9. ถามีอาการผิดปกต ิเชน แขน-ขาออนแรง ปวดมากขึ้นแจงใหพยาบาลทราบ ตั้งแตวันท่ีสอง 1. ประเมินสภาพผูปวยโดยการตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงจนกวากลับสูสภาพ

ปกต ิหลังจากนั้นจะเปลี่ยนเปนทุก 12 ชั่วโมง 2. ดูแลความสะอาดของรางกาย 3. ในกรณีที่แพทยอนุญาตใหลุกจากเตียงได ควรขึ้น–ลงเตียงตามคําแนะนําของแพทย

และพยาบาล รวมทั้งควรสวมใสอุปกรณพยุงหลัง (Lumbar corset) ตามแผนการรักษา 4. หลีกเลี่ยงการทํากิจกรรมดังตอไปนี้

4.1 การนั่งนานๆ ยกเวนเวลาขับถายนั่งบนโถสวมชักโครก 4.2 การเอี้ยวหรือบิดบริเวณบั้นเอว 4.3 การยกของหนัก ตั้งแต 4 กิโลกรัมขึ้นไป

5. ออกกําลังกายดังนี้ 5.1 นอนราบ เหยียดขา กระดกขอเทาขึ้นใหมากที่สุด และคางไวนับ 1 ถึง 5 ทํา

ขางละ 5 คร้ัง 5.2 นอนราบหลังแนบกับพื้น งอเขาและสะโพกคางไว แลวเหยียดออกนับ 1 ถึง 5

แลววางลงทําขางละ 5 คร้ัง 5.3 เหยียดขา ยกทีละขางคางไวนับ 1 ถึง 5 แลววางลงทําขางละ 5 คร้ัง 5.4 นอนชันเขาทั้งสองขาง ยกศีรษะและไหลขึ้นคางไวนับ 1 ถึง 5 แลววางลง

ทําซ้ํา 5 คร้ัง 6. การสังเกตแผลผาตัด ปกติแพทยจะไมเปดแผลเลยอยางนอย 7 วัน ถึง 2 สัปดาห

อยางไรก็ตามหากแพทยเปดแผลและตัดไหมแลวแผลติดดี หลังจากนั้นสังเกตวามีอักเสบ บวมแดง

รอนหรือมีหนองไหลหรือไม

Page 30: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

19

7. ประเมินความเจ็บปวดวาเจ็บปวดมากนอยเพียงใด สาเหตุมาจากอะไร เชนปวดแผลหลังผาตัดจะปวดในระยะ 24-72 ชั่วโมง ดูแลใหผูปวยไดรับยาแกปวด ตามแผนการรักษาของแพทย เชน ทรามอล (Tramal) หรือ เพนธีดีน (Petedine) ฉีดเขาทางหลอดเลือดดําใน 24 ชั่วโมงแรก เพราะอาการปวดคอนขางรุนแรง ในระยะตอมาอาจจะใหยาบรรเทาอาการปวด เชน พารา เซตามอล หรือยาตานการอักเสบชนิดไมมีสเตียรอยด นอกจากนี้ควรสังเกตอาการขางเคียงของยาที่ผูปวยไดรับดวย

8. ดูแลใหผูปวยไดรับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย 9. ดูแลปองกันภาวะทองผูก 10. ใหการพยาบาลอยางนิ่มนวลเบามือ เพื่อลดการกระทบกระเทือนบริเวณแผลผาตัด

ชวยเหลือผูปวยในการจัดทาหรือเคล่ือนไหวรางกาย เพื่อใหผูปวยมีอาการเจ็บปวดลดนอยลงขณะเปล่ียนทาหรือเคลื่อนไหว

การพยาบาลเพื่อฟนฟูสภาพกอนกลับบานภายหลังผาตัด 5-7 วัน เมื่อสภาพผูปวยดีและไมมีภาวะแทรกซอนใดๆ แพทยมักอนุญาตใหผูปวยกลับบานได พยาบาลมีบทบาทสําคัญที่ตองเตรียมผูปวยใหพรอมที่จะกลับไปฟนฟูสภาพตอท่ีบาน โดยการใหคําแนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยูบาน ดังตอไปนี้

1. อาหาร ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชนตอรางกายอยางเพียงพอ เพื่อสงเสริมการหายของแผลและการติดของกระดูก ไดแก อาหารประเภทโปรตีน วิตามินซี และแคลเซียมไมควรรับประทานอาหารของหมักดอง หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกฮอล

2. การพักผอนควรพักผอนอยางเพียงพออยางนอยวันละ 6-8 ชั่วโมง เพื่อสงเสริมรางกายมีความแข็งแรง

3. การออกกําลังกาย ควรออกกําลังกายเชนเดียวกับขณะอยูโรงพยาบาล เชน การออกกําลังกายขอทุกขอ การเกร็งกลามเนื้อมัดตางๆ การยกขา หรือแขนขึ้นลง เปนตน

4. ควรหลีกเลี่ยงดังตอไปนี้หลังผาตัด 4.1 การเอี้ยวตัวหรือบิดบริเวณบั้นเอว 4.2 การยก ลาก แบก ของหนกัไมเกิน 4 กิโลกรัมภายใน 3-4 สัปดาหแรก 4.3 การเอื้อมหยิบของบนที่สูงอยางนอย 4 สัปดาห 4.4 เลนกีฬาที่ปะทะ เชน ฟุตบอล บาสเก็ตบอล 4.5 ขับรถทางไกลอยางนอย 6-8 สัปดาห 4.6 การขึ้นบันไดไมควรเกนิวันละ 2 คร้ัง

Page 31: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

20

5. การดูแลแผลผาตัด ควรรักษาความสะอาดของรางกายโดยทั่วไปและบริเวณผาตัด

ไมควรแกะเกาแผล ระวังไมใหแผลเปยกน้ํา ถาแผลสกปรกหรือมีสารคัดหล่ังควรไปทําแผลที่สถานพยาบาลใกลบาน และตัดไหมตามแพทยนัด

6. การมีเพศสัมพันธในทาปกติได 7. การมาตรวจตามนัด ควรมาตรวจตามนัด เพื่อแพทยจะไดติดตามความกาวหนาของ

การรักษา 8. การรับประทานยา ซ่ึงตองแนะนําใหผูปวยรับประทานใหครบทั้งเวลาและขนาดยา

ไมควรเพิ่มหรือลดขนาดยาเอง นอกจากนี้ควรสังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทยจากการแพยา

เชน มีผ่ืนขึ้น ใจสั่น ปวดทอง หรือถายอุจจาระเปนเลือดเปนตน 9. การสังเกตอาการผิดปกติ ไดแกแผลที่มีลักษณะปวด บวมแดง รอน มีหนองไหล มี

กล่ินเหม็น มีไข มีอาการเจ็บปวดบริเวณแผลผาตัด หรือแขนหรือขาผิดรูป หรือมีการเปลี่ยนแปลงความปวดของแขน–ขามากขึ้นหรือออนแรง เปนตน ถามีอาการเหลานี้ ควรรีบมาพบแพทยทันท ี

ไมตองรอใหถึงวันนัด จากการพยาบาลทั้งกอนและหลังผาตัดผูปวยดังกลาวแลว พบวาปจจุบันโรงพยาบาล

บางแหงไดมีการกําหนดแนวทางการพยาบาลหรือแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อดูแลผูปวยแตละกลุมไวดวย ซ่ึงสถาบันประสาทวิทยาไดมีกําหนดแนวปฏิบัติการพยาบาลผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังไวแลว แนวปฏิบัติการพยาบาลผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังของสถาบันประสาทวิทยา (Clinical Nursing Practice Guidelines for Surgical Spine)

สถาบันประสาทวิทยาเปนโรงพยาบาลเฉพาะทางสมองและไขสันหลังแหงแรกของ

ประเทศไทย ขนาด 300 เตียง สังกัดกรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข จุดประสงคเพื่อการบําบัดรักษาและฟนฟูโรคทางระบบประสาท สมอง ไขสันหลัง สภาวะอารมณ สภาพพฤติกรรมตางๆ ที่แปรปรวนไปจากเดิม นอกจากนี้เปนศูนยกลางบริการฝกอบรมบุคลากรทางการแพทย (Training Service) ของกระทรวงสาธารณสุข ไดแก แพทย พยาบาล เภสัชกร ทันตแพทย นักเรียนพยาบาลจากวิทยาลัยตางๆ รวมทั้งไดมีการศึกษาคนควาทําวิจัยทางโรคสมองและไขสันหลัง โดยมีการแบงหนวยงานออกเปนกลุมภารกิจบริการวิชาการพยาบาลและกลุมการตรวจวินิจฉัย จากที่กลาวมาแลวขางตน สถาบันประสาทวิทยาจึงมีความจําเปนที่จะตองมีการจัดทําแนวทางการพยาบาลผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังสําหรับพยาบาลขึ้น (Clinical Nursing Practice Guidelines for

Page 32: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

21

Surgical Spine) ในปพ.ศ. 2547 โดยจัดใหมีการประชุมและแสดงความคิดเห็นรวมกันในกลุม ผูเชี่ยวชาญทางดานศัลยกรรมประสาทไดแก แพทย พยาบาล เภสัชกร นักกายภาพบําบัด เปนตน เนื้อหาประกอบดวยผูปวยมีอาการปวดหลังเนื่องจากพยาธิสภาพของโรคและมารับการรักษาที่สถาบันประสาทวิทยา แพทยจะทําการตรวจวินิจฉัยโรคและรับเขาไวเพื่อทําผาตัด พยาบาลที่แผนกผูปวยนอกจะโทรติดตอประสานงานกับพยาบาลหอผูปวยเพื่อที่จะเตรียมรับผูปวย ซ่ึงแบงขั้นตอนในการเตรียมรับผูปวยจนถึงผูปวยจําหนายประกอบดวย 7 ขั้นตอน ดังนี้ (กลุมภารกิจบริการวิชาการพยาบาล สถาบันประสาทวิทยา , 2547 : 2-24)

1. การรับผูปวยเขารับการรักษาในโรงพยาบาลและการบําบัดทางการพยาบาลพรอมการบันทึก ประกอบดวยกิจกรรมการพยาบาล ดังนี้

1.1 การเตรียมรับผูปวยในการรับผูปวยใหม ไดแก การรับแจงขอมูลจากงานพยาบาลผูปวยนอกเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของผูปวยใหม เพื่อประเมินสภาพผูปวยและแผนการรักษาตอเนื่อง เตรียมเตียงและอุปกรณสําหรับผูปวยใหม

1.2 การรับผูปวยใหม เริ่มตั้งแตพยาบาลกลาวตอนรับผูปวยและญาติ จัดใหผูปวยนอนเตียงเปลี่ยนเสื้อผาของโรงพยาบาล ติดปายชื่อ ประเมินสภาพผูปวยโดยการซักประวัติ วัดสัญญาณชีพ ประเมินความปวดดวย Pain scale แนะนําสถานที่ กฎระเบียบของโรงพยาบาล สิทธิบัตร คารักษาพยาบาล และการรายงานแพทยทราบ

1.3 กิจกรรมพยาบาล ไดแก การตรวจสอบการลงนามยินยอมรักษา การพยาบาลตามสภาพผูปวย การสงตรวจตางๆ เชน เลือด ปสสาวะ เอกซเรย การเบิกอาหาร การจัดทํารายงานพรอมทั้งบันทึก

1.4 การใหความรูตอบขอซักถามแกญาติและผูปวยเกี่ยวกับโรค

2. การประเมินสภาพทางการพยาบาล (Nursing assessment) ไดแก การวัดสัญญาณชีพ (Vital signs) การประเมินสภาพผูปวยทางระบบประสาท (Neurological signs) การประเมินการทํากิจวัตรประจําวัน (Activity daily living) การประเมินความเสี่ยงของแผลกดทับ (Braden scale) การประเมินความรูสึกรอน-เย็น และปวด การประเมินกําลังของแขน-ขา เปนตน

3. การเตรียมผูปวยกอนผาตัด ผูปวยที่ไดรับการผาตัดจะไดรับการเตรียมความพรอมจากพยาบาลประจําหอผูปวย วิสัญญีพยาบาล และพยาบาลหองผาตัด

3.1 การประสานงานเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการและทางเอกซ-เรย พรอมทั้งการติดตามผล เชน การเจาะเลือดเพื่อสงตรวจนับเม็ดเลือด กลุมเลือด การทํางานของไต

Page 33: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

22

(BUN, Creatinine) อิเลคโตรลัยท ตรวจปสสาวะ การตรวจคลื่นหัวใจ การตรวจเอกซเรยปอดและกระดูกสันหลัง เอกซเรยคอมพิวเตอร (CT scan) การตรวจคลื่นแมเหล็ก (MRI)

3.2 การเตรียมความพรอมทางดานรางกายและจิตใจ เอกสารตางๆ เชน การประเมินความรูของผูปวยและญาติ การใหคําแนะนําและกําลังใจ งดน้ําและอาหารกอนผาตัด 6 ช่ัวโมง ดูแลทําสะอาดรางกาย ใหยากอนผาตัด ติดปายชื่อ สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพ รวมทั้งกําลังแขน-ขา การเซ็นใบยินยอมในการผาตัด เปนตน

4. การพยาบาลในวันผาตัด ผูปวยจะไดรับจากพยาบาลประจําหอผูปวย วิสัญญีพยาบาลและพยาบาลหองผาตัด เชน การตรวจวัดสัญญาณชีพและการบันทึก การใหยาและสารนํ้าทางหลอดเลือดดํา การประสานงานในการรับ-สงผูปวยเพื่อเขาหองผาตัด เตรียมอุปกรณและการจัดเก็บอุปกรณในการผาตัด การบันทึกและรายงานอาการผูปวย การดูแลผูปวยที่ไดรับยาระงับความ รูสึก และ การสงตรวจทางหองปฏิบัติการ การชวยเหลือแพทยในการผาตัด เปนตน

5. การพยาบาลหลังผาตัดในวันแรก ผูปวยจะไดรับการดูแลจากพยาบาลประจําหอ ผูปวย ดังนี้

5.1 การประเมินสภาพ (Assessment) การตรวจวัดและบันทึกสัญญาณ และกําลังของแขน-ขา การประเมินความปวด

5.2 การบําบัดทางการพยาบาล (Nursing intervention) ดูแลใหนอนพักบนเตียงหามไขหัวเตียง การพลิกตะแคงตัวแบบทอนไม (Log rolling) การดูแลเรื่องความสะอาดของรางกาย การดูแลแผลและสายระบายเลือด การดูแลเกี่ยวกับการขับถายปสสาวะ การสอนและการทบทวนการปฏิบัติตนของผูปวย

6. การพยาบาลหลังผาตัดในวันที่ 2-3 ผูปวยจะไดรับการดูแลจากพยาบาลประจําหอ ผูปวย ไดแก การตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพ การชวยแพทยในการถอดทอระบายเลือดออก ดูแลความสะอาดรางกาย การรับประทานอาหาร ดูแลใหผูปวยลุกจากเตียง (Ambulation) การ ทบทวนการปฏิบัติตนของผูปวย ประเมินความพึงพอใจของผูปวยในหองผาตัด

7. พยาบาลหลังผาตัดในวันที่ 4-7 ผูปวยจะไดรับจากพยาบาลประจําหอผูปวย ไดแก การตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพ ดูแลความสะอาดของรางกาย การขับถายปสสาวะและอุจจาระ การชวยแพทยในการตัดไหม การสอนและการทบทวนการปฏิบัติตนกลับบาน

ในทางปฏิบัติจริงผูปวยท่ีไดรับการผาตัดกระดูกสันหลังจะไดรับการดูแลตามแนวปฏิบัติการพยาบาลดังกลาว ซ่ึงในสวนของการลุกจากเตียงนั้น พยาบาลสามารถชวยจัดทาขึ้น-ลงเตียงใหกับผูปวยไดทั้งสองทาดังไดกลาวมาแลว ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบความ

Page 34: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

23

แตกตางของผลที่เกิดขึ้นจากการจัดทาขึ้น–ลงเตียงทั้งสองทาโดยประเมินจากความปวดและความพึงพอใจในผลที่ไดรับจากการจัดทาขึ้น- ลงเตียงแตละทา ความพึงพอใจในการจัดทาขึ้น-ลงเตียงของผูปวย

ความพึงพอใจในการพยาบาลที่ไดรับเปนความสอดคลองกันระหวางความคาดหวัง

ของผูปวยตอการพยาบาลกับการรับรูตอการพยาบาลที่ไดรับจริง (La Monica, et al., 1986: 44) ซ่ึงความคาดหวังของผูปวยตอพยาบาลที่ทําใหผูปวยเกิดความพึงพอใจ คือ การปฏิบัติการเชิงวิชาชีพ การสรางสัมพันธภาพในการดูแลโดยคํานึงความเปนบุคคล ไมลวงละเมิดความเปนสวนตัวใหความสําคัญและสนใจ ความตองการรับฟงปญหา ความกังวลหวงใยของผูปวยรวมกับการใหขอมูลและดูแลผูปวยดวยความนุมนวล ออนโยน (สมจิต หนุเจริญกุล, 1994: 184; Eriksen, 1987: 31-35) นอกจากนี้ยังมีปจจัยอ่ืนที่มีผลตอความพึงพอใจของผูปวย เชน คาใชจายในการรักษาพยาบาลเจตคติ และประสบการณในอดีตที่มีตอการรักษาพยาบาล ตลอดจนภาวะสุขภาพของผูปวยทั้งดานรางกายและจิตใจ (Naylor, et al., 1991: 213; Zahr, et al., 1991: 338) แตอยางไรก็ตามโคทและเบอรี่ (Coter & Berry, 1987 cited by Naylor,1991: 213) กลาววา ปจจัยสําคัญที่สุดตอความพึงพอใจของผูปวยที่เขารับการรักษาในโรงพยาบาล คือ การดูแลที่ไดรับจากพยาบาล ซ่ึงพยาบาลและผูปวยจะตองตั้งเปาหมายรวมกัน ทําใหผูปวยไดรับการตอบสนองที่ตรงกับความตองการยอมทําใหผูปวยเกิดความพึงพอใจ (สมจิต หนุเจริญกุล, 1994: 183-191) และเมื่อผูปวยมีความพึงพอใจสูงสุดจะไดใหความรวมมือตามแผนการดูแลอยางตอเนื่อง (Fitzpartrick, 1991: 887) ความพึงพอใจนี้เปนสิ่งที่บงชี้ไดถึงคุณภาพของการพยาบาล และมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพผูปวย (Munro, et al., 1994: 119) นั่นคือ มีผลตอการเพิ่มการยอมรับและการเรียนรูในการดูแลสุขภาพ (Hoddock, 1991: 10) นอกจากนี้ พิกุล วิญญาเงือก (2532: 54) ศึกษาผลของการประยุกตใชทฤษฏีความสําเร็จตามจุดมุงหมายของคิงตอการฟนฟูสภาพหลังผาตัดและความพึงพอใจของผูปวย โดยศึกษาในผูปวยที่ผาตัดนิ่วในไตจํานวน 40 คน พบวากลุมทดลองมีความพึงพอใจตอการพยาบาลสูงกวากลุมควบคุมแสดงวาการใหผูปวยมีสวนรวมในการกําหนดเปาหมายที่เปนผลลัพธจากการใหการพยาบาลจะสรางความพึงพอใจตอการพยาบาล ซ่ึงสอดคลองกับสมหมาย วนะนานต (2540: 45) ไดทําการศึกษาเกี่ยวกับผลของการสงเสรมิใหผูปวยมีสวนรวมในการดูแลตนเอง ตอการฟนสภาพภายหลังผาตัดกระดูกสันหลังและความพึงพอใจในการพยาบาลที่ไดรับพบวา ผูปวยจะมีความพึงพอใจในดานความสนใจเอาใจใสของพยาบาล การติดตอส่ือสาร

Page 35: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

24

และการใหขอมูลเกี่ยวกับความเจ็บปวยและความสามารถที่จะกระทํากิจกรรมภายหลังการผาตัด ซ่ึงการลุกเดินหลังผาตัดจัดเปนกิจกรรมอยางหนึ่งที่ผูปวยสามารถกระทําไดเอง

เมื่อผูปวยไดรับอนุญาตใหลุกเดิน พยาบาลในฐานะบุคลากรทางการแพทย จําเปนจะตองใหการพยาบาลหรือคําแนะนํา เพื่อชวยใหผูปวยที่ทําผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอวและหลังสามารถที่จะลุกจากเตียงไดถูกตอง โดยวิธีการจัดทาเพื่อใหกระดูกสันหลังอยูนิ่ง (Immobilization) และแนวตรงหรือการเคลื่อนไหวนอยที่สุด ลดการแบกน้ําหนัก ทําใหผูปวยไมเกิดความปวดหรือปวดนอยลง นอกจากนี้ยังปองกันการเคลื่อนที่ของกระดูกที่ปลูกถาย/เครื่องมือดามกระดูกไวประคับประคองใหกระดูกสันหลังอยูในแนวที่ตองการ และลดภาวะเครียดตอกระดูกสันหลัง จากการศึกษา พบวา ผูปวยลุกเดินในวันแรกหลังผาตัดผูปวยตองการกําลังใจในการลุกเดินและความชวยเหลือในการใสเสื้อพยุงหลังเนื่องจากเจ็บแผล แตเมื่อผูปวยไดรับการสอนทําใหเห็นความสําคัญของการลุกจากเตียง (สมหมาย วนะนานต, 2540: 81) ผูปวยจะพยายามที่จะลุกจากเตียงถึงแมวาในระยะแรกๆ จะมีความเจ็บปวดอยูบาง ซ่ึงผูวิจัยในฐานะพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผูปวยศัลยกรรมพิเศษ ซ่ึงไดนําแนวปฏิบัติการพยาบาลมาใช จึงตองการศึกษาเปรียบเทียบความปวดและความพงึพอใจของผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอวที่ไดรับการจัดทาขึ้น - ลงเตียงดวยทาดานหนากับผูปวยที่ไดรับการจัดทาขึ้น - ลงเตียงดวยทาดานหลังตามวิธีที่กําหนดไวในแนวปฏิบัติการพยาบาลดังกลาว

Page 36: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

25

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi - experimental research) เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของการจัดทาขึ้น-ลงเตียงระหวางทาดานหนาขึ้น-ลงเตียงและทาดานหลังขึ้น-ลงเตียงตอระดับความปวดและความพึงพอใจในการพยาบาลที่ไดรับจากการจัดทาในผูปวยผาตัดกระดูก สันหลัง ประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง

ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ คือ ผูปวยทั้งชายและหญิงที่เขารับการรักษาโดยการ ผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอวในหอผูปวยศัลยกรรมหญิง ศัลยกรรมชาย พิเศษศัลยกรรมและจักษุพิเศษของสถาบันประสาทวิทยาตั้งแตเดือนมีนาคม ถึงเดือนกรกฎาคม 2549 จํานวน 40 ราย การเลือกกลุมตัวอยางมีคุณสมบัติดังตอไปนี้

1. อายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป 2. เปนผูที่ไดรับการผาตัดกระดูกสันหลังระดับเดียว 3. ไมมีอาการแขน ขาออนแรง 4. เปนผูที่สามารถพูดและเขาใจภาษาไทยไดเปนอยางด ี5. มีสภาพการรับรู บุคคล เวลา สถานที่ อยูในระดับปกติ ไมมีประวัติเจ็บปวยทางจิต 6. ไมมีปญหาดานการไดยิน การใชภาษาพูดและการใชสายตายกเวนสายตายาว

หรือส้ัน 7. มีแผนการรักษาใหลุกเดินได (Ambulation) 8. มีความพรอมและยนิดีใหความรวมมือในการทําวิจยั

Page 37: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

26

คุณสมบัติท่ีใชในการคัดผูปวยออกจากการศึกษา

1. ผูปวยที่มีระดับความปวดกอนที่จะลงจากเตียงตั้งแต 7 ขึ้นไป 2. มีภาวะแทรกซอนหลังผาตัดเชน ขาออนแรง เวียนศีรษะ เปนตน สําหรับขนาดของกลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยกําหนดตามเกณฑของโพลิต

และฮังคเลอร (Polit & Hungler, 1983: 427) ที่กําหนดวาการวิจัยแบบทดลองสามารถใช กลุมตัวอยางไดอยางนอยที่สุด 20-30 ราย ผูวิจัยจึงเลือกกลุมตัวอยางตามคุณสมบัติที่กําหนดจํานวน กลุมละ 30 ราย รวม 60 ราย แตในจํานวนนี้ผูปวยปฏิเสธการเขารวมการวิจัยจํานวน 6 ราย เนื่องจากมีอาการปวดแผลมาก มีภาวะแทรกซอนหลังผาตัดคือขาออนแรงจํานวน 1 ราย เวียนศีรษะจํานวน 5 ราย ออนเพลีย 3 ราย และนอกจากนี้แพทยไมมีแผนการรักษาใหลุกจากเตียงจํานวน 5 ราย ดังนั้นจึงไดกลุมตัวอยางเพียงกลุมละ 20 ราย รวม 40 ราย สถานที่ศึกษา

ในการศึกษาครั้งนี้สถานที่ศึกษาคือหอผูปวยศัลยกรรมชาย ศัลยกรรมหญิง ศัลยกรรมพิเศษและจักษุพิเศษ สถาบันประสาทวิทยา สังกัดกรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข

สถาบันประสาทวิทยาจัดเปนโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ มีจํานวนเตียงรับผูปวยทาง ศัลยกรรม 80 เตียง มีแพทยเฉพาะทางศัลยกรรมประสาท 7 คน และมีพยาบาลวิชาชีพที่ดูแลผูปวยทางศัลยกรรม 45 คน โดยแบงเปนประจําหอผูปวยศัลยกรรมชาย 15 คน ประจําหอผูปวย ศัลยกรรมหญิง15 คน ประจําหอผูปวยศัลยกรรมพิเศษ 5 คน และประจําหอผูปวยจักษุพิเศษ 6 คนที่ใหบริการดูแลผูปวยที่มีปญหาเกี่ยวกับระบบประสาท โดยทุกหอผูปวยมีแนวทางในการดูแล ผูปวยที่เหมือนกันตามแนวปฏิบัติการพยาบาล คือ ผูปวยทุกรายจะไดชมวีดิทัศนเร่ืองคําแนะนําในการผาตัดและไดรับการฝกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทาขึ้น-ลงเตียง การฝกหายใจเขาออกชา ๆ อยาง ถูกวิธี วิธีการออกกําลังกายหลังผาตัด เปนตน นอกจากนี้จะไดรับการเยี่ยมจากพยาบาลวิสัญญี และพยาบาลหองผาตัดในวันกอนและหลังเขารับการผาตัด

เมื่อผูปวยไดรับผาตัดแลว ผูปวยจะไดรับการดูแลที่หองพักฟนเพื่อสังเกตอาการจนกระทั่งรูสึกตัวดีไมมีภาวะแทรกซอนจึงถูกสงกลับมายังหอผูปวย พยาบาลประจําหอผูปวยจะทําหนาที่ดูแลใหผูปวยนอนตะแคงหลังตรง งอขาเล็กนอยโดยวางหมอนสั้นไวระหวางขาทั้งสองขางและวางหมอนยาวบริเวณดานหลัง สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพตามแผนการรักษา รวมทั้งกําลัง

Page 38: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

27

ของแขน-ขา นอกจากนี้ดูแลพลิกตะแคงตัวใหทุก 2 ชั่วโมง ดูแลสายตางๆ หรือทอระบายเลือดใหทํางานไดตามปกติ ดูแลความสะอาดของรางกาย การรับประทานอาหารและยาตามแผนการรักษา

จากที่กลาวมาขางตนพบวาพยาบาลมีภาระงานที่หนักเนื่องจากจะตองดูแลผูปวยหลังผาตัดและผูปวยในระยะพักฟนเปนจํานวนมาก ซ่ึงผูวิจัยสามารถนํามาวิเคราะหภาระงานของพยาบาลโดยใชสูตรไดดังนี้ (นิตยา ศรีญาณลักษณ, 2545: 180)

เมื่อคํานวณไดจํานวนพยาบาลตามสูตรดังกลาวขางตนแลว ผูวิจัยไดนํามาบวกเพิ่มขึ้น

อีก 1ใน4-ของจํานวนพยาบาลที่คํานวณไดเนื่องจากอาจมีพยาบาลปวย ลา และหยุดการปฏิบัติงาน ซ่ึงเมื่อพิจารณาแลวพบวาสถาบันประสาทวิทยาควรมีพยาบาลประจําหอผูปวยศัลยกรรมชาย 21 คน ประจําหอผูปวยศัลยกรรมหญิง 21 คน ประจําหอผูปวยศัลยกรรมพิเศษ 6 คนและประจําหอผูปวยจักษุพิเศษ 6 คน ทําใหพยาบาลที่ประจําแตละหอผูปวยมีภาระงานที่มากขึ้นจนไมสามารถที่จะดูแลผูปวยไดทุกคนอยางใกลชิดและตลอดเวลา

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย 2 สวน ไดแก 1. เครื่องมือที่ใชในการทดลองไดแกคูมือการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการผาตัดและการลุก

จากเตียง ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ 1.1 ความรูเกี่ยวกบักระดกูสันหลัง 1.2 วิธีการทําผาตัดกระดกูสันหลัง 1.3 การปฏิบัติตนกอน-หลังผาตัดกระดกูสันหลัง 1.4 การเตรียมผูปวยเพื่อการลุกจากเตยีง 1.5 ประโยชนของการลุกจากเตยีง

2. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลประกอบดวยแบบสอบถามและการประเมินดังนี้

จํานวนพยาบาล = จํานวนผูปวย × จํานวนชั่วโมงที่ผูปวยตองการการพยาบาลตอวนั จํานวนชัว่โมงการทํางานของพยาบาลตอเวร

Page 39: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

28

2.1 แบบสอบถามขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ การวินิจฉัยโรค การผาตัด ประสบการณผาตัดกระดูกสันหลัง ประวัติการใชยาแกปวด

2.2 แบบประเมินความปวด (Pain scale) เปนมาตรวัดแบบเสนตรง (11-Point numerical rating scale (NRS) มีลักษณะเปนเสนตรงขนาด 10 ซ.ม. แทนระดับความปวด วางตามแนวนอนปลายขางหนึ่งเปนจุดเริ่มตน คือ 0 หมายถึง ไมรูสึกปวด และปลายอีกขางหนึ่ง คือ 10 หมายถึง ความรูสึกปวดมากที่สุด มาตรวัดนี้สถาบันประสาทวิทยาใชเปนเครื่องมือวัดความปวดในผูปวยที่ผาตัดกระดูกสันหลัง เนื่องจากมีระดับสเกลนอยและมองเห็นไดชัดเจน ซ่ึงผูวิจัยจะนํามาวัดผูปวยกอนลงจากเตียง หลังลงจากเตียงและหลังขึ้นนอนบนเตียง เกณฑการใหคะแนนความปวด เมื่อผูวิจัยนํามาวิเคราะหแบงเปน 3 ระดับ ดังนี้

0–3 คะแนน หมายถึง กลุมตัวอยางไมรูสึกปวดเลยถึงปวดเล็กนอย

4–7 คะแนน หมายถึง กลุมตัวอยางมรีะดับความปวดปานกลาง

8–10 คะแนน หมายถึง กลุมตัวอยางมรีะดับความปวดมากที่สุด 2.3 แบบประเมินความพึงพอใจของผูปวยในการชวยเหลือของพยาบาลในการจัดทา

ขึ้น-ลงเตียงในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังและความพึงพอใจในการจัดทาขึ้น-ลงเตียง โดยผูวิจัยไดสรางแบบวัดขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมและจากประสบการณการทํางานในแผนกศัลยกรรมประสาท สถาบันประสาทวิทยา ประกอบดวยขอคําถามเกี่ยวกับความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลในการจัดทาขึ้น-ลงเตียง จํานวน 8 ขอ และความพึงพอใจในการจัดทาขึ้น–ลงเตียงจํานวน 4 ขอ เกณฑการใหคะแนนแบงเปน 1-5 ระดับ ดังนี้

1 คะแนน หมายถึง กลุมตัวอยางมคีวามพึงพอใจนอยที่สุด

2 คะแนน หมายถึง กลุมตัวอยางมคีวามพึงพอใจนอย

3 คะแนน หมายถึง กลุมตัวอยางมคีวามพึงพอใจปานกลาง

4 คะแนน หมายถึง กลุมตัวอยางมคีวามพึงพอใจมาก

5 คะแนน หมายถึง กลุมตัวอยางมคีวามพึงพอใจมากที่สุด เมื่อไดคะแนนรวมของความพึงพอใจผูวิจัยนํามาวิเคราะหโดยแบงออกเปน 3 ระดับคือ ความพึงพอใจนอยหรือต่ํา มีคะแนนอยูในชวง 1.00–1.33 ความพึงพอใจปานกลาง มีคะแนนอยูในชวง 1.34-3.66 ความพึงพอใจมากหรือสูง มีคะแนนอยูในชวง 3.67–5.00

Page 40: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

29

การหาคุณภาพของเครื่องมอื การหาคุณภาพของเครื่องมือสําหรับการวิจัยครั้งนี้ ใชการตรวจสอบความตรงตาม

เนื้อหา (Content validity) และการหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) 1. การตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (Content validity) โดยมีการนําแบบสอบถาม

ความพึงพอใจที่ผูวิจัยสรางขึ้นไปใหผูทรงคุณวุฒิ ซ่ึงประกอบดวยแพทยผูเชี่ยวชาญดานประสาทศัลยกรรม 1 ทาน พยาบาลหัวหนาหอผูปวยประสาทศัลยกรรม 1 ทาน อาจารยพยาบาลที่มีความรูดานการพยาบาลศัลยกรรม 3 ทาน ตรวจสอบและรวมกันแสดงความคิดเห็นพบวา ผูทรงคุณวุฒิมีความเห็นตรงกันเปนจํานวนรอยละ 80 แสดงวาเครื่องมือมีความตรงตามเนื้อหา (Content validity) จากนั้นผูวิจัยนําเครื่องมือมาพิจารณาปรับปรุงแกไขใหสมบูรณตามขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิ

2. การหาความเที่ยง (Reliability) ผูวิจัยนําแบบวัดความพึงพอใจของผูปวยหลังผาตัดไปหาความเที่ยง ดวยการทดลองใชในผูปวยที่มีลักษณะคลายตัวอยางประชากรจํานวน 30 ราย และนําคะแนนที่ไดมาหาความเที่ยงโดยหาคาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s coefficient of Alpha) ไดคาเทากับ 0.78

การพิทักษสิทธ์ิของกลุมตัวอยาง

ผูวิจัยพิทักษสิทธ์ิของกลุมตัวอยางทุกรายดวยขออนุญาตการเขารวมโครงการวิจัย เซ็นชื่อแสดงความยินยอมเปนลายลักษณอักษร หลังจากผูวิจัยช้ีแจงวัตถุประสงคของการวิจัยขั้นตอนการเก็บขอมูลและระยะเวลาของการวิจัย พรอมทั้งแจงใหทราบถึงสิทธิของกลุมตัวอยางในการตอบรับหรือปฎิเสธการเขารวมในการวิจัยครั้งนี้ โดยไมมีผลตอการดูแลรักษาที่กลุมตัวอยางไดรับ ในระหวางการวิจัยหากกลุมตัวอยางไมพอใจหรือไมตองการเขารวมในการวิจัย กลุมตัวอยางสามารถถอนตัวจากการวิจัยไดตลอดเวลา โดยไมมีผลตอการดูแลรักษาที่ไดรับ และในระหวางการดําเนินการวิจัย หากกลุมตัวอยางมีความไมสุขสบายจากอาการปวด ผูวิจัยจะหยุดการเก็บรวบรวมขอมูลและใหการชวยเหลือผูปวยทันทีตามมาตรฐานวิชาชีพ หากกลุมตัวอยางมีอาการดีขึ้นและยินดีใหขอมูลตอ ผูวิจัยจะดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตอไปจนจบ ขอมูลตางๆ ของกลุมตัวอยางที่ไดจากการวิจัยคร้ังนี้ถือเปนความลับและแสดงขอมูลอยูในภาพรวม

การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยทําหนังสือแนะนําตัวจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ถึงผูอํานวยการ

สถาบันประสาทวิทยา เพื่อขอความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูล จากนั้นผูวิจัยเขาพบ

Page 41: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

30

คณะกรรมการจริยธรรม เสนอโครงรางวิจัยเพื่อพิจารณาและอนุญาตใหเก็บขอมูล เมื่อไดรับอนุญาตแลวจึงเขาพบหัวหนาหอผูปวยศัลยกรรมหญิง ศัลยกรรมชาย พิเศษศัลยกรรมและจักษุพิเศษ แนะนําตัวเพื่อขอความรวมมือในการทําวิจัย ชี้แจงวัตถุประสงค รายละเอียดในการทําวิจัย และการดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลจากนั้นผูวิจัยจึงดําเนินการคัดเลือกกลุมตัวอยางตามเกณฑที่กําหนดแบงออกเปน 2 กลุม โดยวิธีสุมจับสลากเพื่อการกําหนดกลุมโดยกลุมที่ 1 ผูวิจัยดูแลใหกลุมตัวอยางขึ้น-ลงจากเตียงดวยทาดานหนา กลุมที่ 2 ผูวิจัยดูแลใหกลุมตัวอยางขึ้น-ลงจากเตียงดวยทาดานหลัง ทั้งนี้ผูวิจัยไดพิจารณาคัดเลือกใหแตละกลุมมีขอมูลผูปวยไดแกเพศ อายุที่แตกตางกันไมเกิน 10 ป และมีระดับการผาตัดระดับเดียวกัน เมื่อไดกลุมตัวอยางแตละกลุมผูวิจัยจะเขาพบเพื่อแนะนําตนเอง ขอความรวมมือจากกลุมตัวอยางในการเขารวมการวิจัย บอกวัตถุประสงคในการทําวิจัยและวิธีการศึกษา เมื่อกลุมตัวอยางลงนามยินยอมเขารวมการวิจัย จึงดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูลของกลุมตัวอยาง ดังนี้

1. กอนผาตัด 1 วัน ผูวิจัยสรางสัมพันธภาพกับกลุมตัวอยางเปนรายบุคคล เพื่อสัมภาษณขอมูลสวนบุคคล แนะนําการปฏิบัติตนกอน–หลังผาตัดกระดูกสันหลังตามคูมือการปฏิบัติตนของสถาบันประสาท ที่ผูวิจัยไดนํามาปรับเพิ่มเติมเนื้อหาในเรื่องความสําคัญของกระดูกสันหลัง ผาตัดอยางไร การปฏิบัติตัวกอนและหลังผาตัดประโยชนของการลุกเดินและการเตรียมตัวในการลุกเดิน พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูปวยซักถามปญหาหรือขอสงสัยตางๆ หลังจากนั้นใหกลุมตัวอยางไดทดลองฝกปฏิบัติ ไดแก ฝกการหายใจเขาลึกๆ และเปาออกทางปากชาๆ การไออยางมีประสิทธิภาพ การบริหารกลามเนื้อและขอตางๆ วิธีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงทั้งทาดานหนาและทาดานหลัง พรอมทั้งมอบเอกสารคูมือใหกลุมตัวอยางไดอานทบทวนและฝกปฏิบัติตอไป

2. หลังผาตัด 1 วัน ผูวิจัยประสานความรวมมือกับแพทยเจาของไขเกี่ยวกับวันที่กลุมตัวอยางจะสามารถลุกเดินได จากนั้นทําการตกลงรวมกับกลุมตัวอยาง สอบถามความพรอมในการลุกเดินและทบทวนการปฏิบัติตนเมื่อตองขึ้น-ลงจากเตียง หลังจากนั้นกระตุนใหกลุมตัวอยางขึ้น-ลงจากเตียงตามวิธีที่กลุมตัวอยางจับฉลากไดตามหมายเลข 1 หรือ 2 ผูวิจัยจะดูแลใสเข็มขัดและ/หรือเสื้อพยุงหลัง (Lumbar corset) ตามแผนการรักษาใหเรียบรอย กอนที่จะใหผูปวยขึ้น-ลงจากเตียงในทาที่ถูกตอง กลาวคือ ผูวิจัยจัดใหกลุมตัวอยางลุกลงจากเตียงในทาเดียวกับทาขึ้นเตียง นอกจากนี้ขณะกลุมตัวอยางลุกจากเตียง ผูวิจัยยืนอยูในดานที่กลุมตัวอยางลงเตียงเพื่อสรางความมั่นใจ และเปนกําลังใจในการลุกเดิน รวมทั้งปองกันอุบัติเหตุจากหกลมเนื่องจากกลุมตัวอยางอาจเกิดอาการเวียนศีรษะไดในขณะลุกเดินครั้งแรก

3. ผูวิจัยทําการประเมินความปวดดวย Pain scale กอนผูปวยลุกลงจากเตียง จากนั้น ผูวิจัยจัดใหกลุมตัวอยางลงจากเตียงและขึ้นจากเตียงในทาที่จับฉลากได ซ่ึงผูวิจัยไดใหกลุมตัวอยาง

Page 42: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

31

ชี้บอกระดับความปวดจากแผนปายที่ใชสําหรับประเมินความปวดแบบ Numerical Rating Scale ของสถาบันประสาทวิทยา ซ่ึงผูวิจัยไดนํามาใชวัดกับกลุมตัวอยางในขั้นตอนที่ผูปวยกอนลงเตียงและขึ้นเตียงตามลําดับพรอมทั้งบันทึกไว

4. ผูวิจัยไดนําแบบประเมินความพึงพอใจตอการจัดทาขึ้น-ลงเตียงแตละทาใหผูปวยประเมิน ทั้งนี้เปนไปตามแผนภูมิกิจกรรมการเก็บขอมูลดังตอไปนี ้

กลุมตัวอยางกลุมที ่1 กลุมตัวอยางกลุมที่ 2

การจัดทาขึ้น- ลงเตียง

ดวยทาดานหนา

- สอน/ใหความรูเกี่ยว กับการผาตัด - ฝกปฏิบัติการขึ้น-ลงเตียง

- ดูแลจัดทาผูปวยขึ้น-ลงเตียง - ประเมินความปวด

* กอนลงจากเตียง * หลังลงจากเตียง * หลังขึ้นนอนบนเตียง

- ประเมินความพึงพอใจ

กอนผาตัด 1 วัน

- ประเมินความปวด

- ประเมินความพึงพอใจ

หลังผาตัดวันที่ 2

การจัดทาขึ้น- ลงเตียง

ดวยทาดานหลัง

- สอน/ใหความรูเกี่ยวกับ การผาตัด - ฝกปฏิบัติการขึ้น-ลงเตียง

- ดูแลจัดทาผูปวยขึ้น-ลงเตียง - ประเมินความปวด

* กอนลงจากเตียง * หลังลงจากเตียง * หลังขึ้นนอนบนเตียง

- ประเมินความพึงพอใจ

แผนภูมิท่ี 2 แสดงวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

Page 43: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

32

การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลดวยเครื่องคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ดังรายละเอียด ตอไปนี้

1. ขอมูลสวนบุคคลโดยการแจกแจงความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

2. วัดคะแนนเฉลี่ยและสวนเบนเบี่ยงมาตรฐานของความรูสึกปวดและความพึงพอใจในการจัดทาดวยทาดานหนาและทาดานหลังขึ้น-ลงเตียงในแตละขั้นตอนที่ทําการจัดทา

3. เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความรูสึกปวดและความพึงพอใจจากการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลังโดยใชสถิติที (t- test)

4. เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความรูสึกปวดและความพึงพอใจจากการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลังโดยใชสถิติที (t-test)

Page 44: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

33

บทที่ 4

ผลการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการจัดทาขึ้น-ลงเตียงตอ

ระดับความปวดและความพึงพอใจในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอว โดยเปรียบเทียบระหวางกลุมตัวอยาง 2 กลุมแบงเปนกลุมที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนากับกลุมที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง ผูวิจัยจะนําเสนอรายละเอียดผลการวิจัยดังตอไปนี ้

สวนท่ี 1 ขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง

ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของกลุมตวัอยาง จําแนก ตามขอมูลสวนบุคคล

สวนท่ี 2 ความรูสึกปวดในการจัดทาดวยทาดานหนาและทาดานหลังขึ้น-ลงเตียงของกลุมตัวอยาง

ตารางที่ 2 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของความรูสึกปวดกอนและหลังการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาและดวยทาดานหลัง

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความปวดในการจัดทาดานหนากับทาดานหลังลงเตียงในผูปวยผาตัดกระดูกสนัหลัง

ตารางที่ 4 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความปวดในการจัดทาดานหนากับทาดานหลังขึ้นนอนบนเตยีงในผูปวยผาตัดกระดกูสันหลัง

Page 45: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

34

สวนท่ี 3 ความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลและความพึงพอใจในการจัดทาขึ้น-ลงเตียงของกลุมตัวอยาง

ตารางที่ 5 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลตอกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้น- ลงเตียงดวยทาดานหนา

ตารางที่ 6 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลตอกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง

ตารางที่ 7 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลตอการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลัง

ตารางที่ 8 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนา

ตารางที่ 9 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหลัง

ตารางที่ 10 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนา

ตารางที่ 11 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลัง

ตารางที่ 12 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจตอการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลัง

ตารางที่ 13 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจตอการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลัง

Page 46: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

35

สวนท่ี 1 ขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง ตารางที่ 1 จํานวน รอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามขอมูลสวนบุคคล (n= 40)

กลุมท่ี 1 ( n=20) กลุมท่ี 2 ( n=20) ลักษณะทั่วไป

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

เพศ

ชาย 9 45 11 55 หญิง 11 55 9 45

อายุ 31-40 ป 4 20 3 15 41-50 ป 5 25 5 25 51-60 ป 7 35 7 35 61- 70 ป 4 20 5 2

(คาเฉลี่ยอายุเทากับ 35 ป สวนเบีย่งเบนมาตรฐานเทากบั 1.03 ป)

การศึกษา ประถมศึกษา 8 40 11 55 มัธยมศึกษา 7 35 4 20 อาชีวะศกึษา - - 1 5 ปริญญาตรีขึ้นไป 5 25 4 20

สถานภาพสมรส โสด - - 2 10 คู 18 90 17 85 หมาย / หยาราง 2 10 1 5

ประสบการณผาตัด เคยผาตัด 2 10 4 20 ไมเคยผาตัด 18 90 16 80

Page 47: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

36

ตารางที่ 1 (ตอ)

กลุมท่ี 1 ( n=20) กลุมท่ี 2 ( n=20) ลักษณะทั่วไป

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

อาชีพ งานบาน 7 35 4 20 เกษตรกรรม 1 5 4 20 คาขาย 2 10 4 20 รับราชการ 6 30 4 20 อ่ืนๆ 4 20 4 20

ประวัติการใชยาแกปวด ใชประจํา 18 90 15 75

ไมเคยใช 2 10 5 25

จากตารางที่ 1 พบวา กลุมตัวอยางในกลุม 1 ที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนา

เปนเพศหญิงมากวาเพศชาย สวนในกลุม 2 ที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลังเปนเพศชายมากกวาเพศหญิง มีจํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 55 กลุมตัวอยางทั้ง 2 กลุมมีคาเฉลี่ยของอายุเทากับ 35 และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.03 ซ่ึงอายุมากที่สุดระหวาง 51–60 ป จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 35 รองลงมาพบอายุระหวาง 41–60 จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 25 สวนใหญมีสถานภาพสมรสแลวจํานวนมากที่สุด โดยในกลุม1ที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนา จํานวน 18 คน คิดเปนรอยละ 90 กลุม 2 ที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 85 ประวัติการผาตัดกระดูกสันหลังพบวาไมเคยไดรับการผาตัดกระดูกสันหลังมากอนคือกลุม1ที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนา และ กลุม 2 ที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง จํานวน 18 ราย รอยละ 90 และ จํานวน 16 ราย รอยละ 80 ตามลําดับ ดานระดับการศึกษาพบวาสวนใหญกลุมตัวอยางจะไดรับการศึกษานอย (ประถมศึกษา) คือกลุมที่ 1 ที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาและกลุมที่ 2 ที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 40 และจํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 55 รองลงมาคือระดับชั้นมัธยมศึกษา จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 35 และจํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 20 ตามลําดับ ดานอาชีพผูปวยสวนใหญประกอบอาชีพงานบานมากที่สุด โดยในกลุม 1 ที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนา

Page 48: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

37

จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 35 กลุม 2 ที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 20 อยูในกลุมอาชีพงานแมบาน รับราชการคาขาย เกษตรกรรมและอื่นๆ ประวัติการใชยาแกปวดพบวา ในกลุม 1 ที่มีขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาใชยาเปนประจํา จํานวน 18 คน คิดเปนรอยละ 90 กลุมที่ 2 ที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลังจํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 75 แสดงวากลุมตัวอยางจะตองไดรับการรักษาโดยการใชยาแกปวดกอนแตเมื่ออาการไมทุเลา แพทยจึงพิจารณาทําการรักษาโดยการผาตัด ซ่ึงเปนขั้นตอนอันดับสุดทายของการรักษาในผูปวยที่มีปญหาเกี่ยวกับกระดูกสันหลัง สรุปไดวากลุมตัวอยางทั้งสองกลุมมีลักษณะที่คลายคลึงกนัในเรือ่งอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ประสบการณการผาตัดกระดูกสันหลัง ลักษณะอาชีพ การใชยาแกปวด สวนท่ี 2 ความรูสึกปวดในการจัดทาดวยทาดานหนาและทาดานหลังขึน้-ลงเตียงของกลุมตัวอยาง ตารางที่ 2 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของความรูสึกปวดกอนและหลังในการจดัทา

ขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาและดวยทาดานหลัง

กลุมตัวอยาง n Mean S.D. แปลผล

กลุมท่ี 1 กอนลงจากเตยีงดวยทาดานหนา 20 2.45 1.14 เล็กนอย หลังลงจากเตียงดวยทาดานหนา 20 4.10 1.55 ปานกลาง หลังขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนา 20 3.95 1.53 ปานกลาง

กลุมท่ี 2 กอนลงจากเตยีงดวยทาดานหลัง 20 2.25 1.51 เล็กนอย หลังลงจากเตียงดวยทาดานหลัง 20 3.40 1.60 ปานกลาง หลังขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลัง 20 3.95 1.53 ปานกลาง

จากตารางที่ 2 แสดงวาคะแนนเฉลี่ยความรูสึกปวดในกลุมตัวอยางที่ 1 กอนลงจาก

เตียงดวยทาดานหนาเทากับ 2.45 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.14 จัดอยูในระดับเล็กนอย หลังลงจากเตียงดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 4.10 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.55 จัดอยูในระดับปานกลาง และหลังขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 3.95 สวนเบี่ยงเบน มาตรฐานเทากับ 1.53 จัดอยูในระดับปานกลาง สวนคะแนนเฉลี่ยความรูสึกปวดในกลุมตัวอยาง ที่ 2 กอนลงจากเตียงดวยทาดานหลังเทากับ 2.25 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.51 จัดอยูใน

Page 49: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

38

ระดับปานกลาง หลังลงจากเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉล่ียเทากับ 3.40 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.60 จัดอยูในระดับปานกลาง และหลังขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.95 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.53 จัดอยูในระดับปานกลาง สรุปผลการวิเคราะหขอมูลจากตารางที่ 2 พบวาเมื่อกลุมตัวอยางไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาหรือดวยทาดานหลังจะทําใหกลุมตัวอยางมีความปวดเกิดขึ้นเสมอและเมื่อผูวิจัยนํามาจัดระดับความปวดอยูในเกณฑเล็กนอยถึงปานกลาง (ดังตารางที่ 2) ตารางที่ 3 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความรูสึกปวดในการจดัทาดานหนากับ

ทาดานหลังลงจากเตยีงในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง

กลุมตัวอยาง n Range Mean S.D. t p

การลงจากเตยีงดวยทาดานหนา 20 1-10 4.10 1.55 1.40 0.08

การลงจากเตยีงดวยทาดานหลัง 20 1-10 3.40 1.60

จากตารางที่ 3 แสดงวาคะแนนความปวดของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 4.10 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.55 และกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.40 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.60 และเปรยีบเทียบความความแตกตางของคาเฉลี่ยความปวดของกลุมตัวอยางทั้งสองกลุม พบวาไมแตกตางกัน (p-Value > 0.05) ดังนั้นจึงสรุปไดวากลุมตัวอยางที่ลงจากเตียงดวยทาดานหนามีความปวดมากกวาลงจากเตียงดวยทาดานหลังแตเมื่อเปรียบเทียบทั้งสองกลุมพบวาการลงจากเตียงดวยทาดานหนาและทาดานหลังมีความปวดที่ไมแตกตางกัน นั่นหมายความวากลุมตัวอยางจะลงจากเตียงดวยทาดานหนาหรือทาดานหลังจะทําใหเกิดความปวดที่เทากัน ซ่ึงถือวาไมสนับสนุนสมมติฐานการวิจัยที่กําหนดวาผูปวยที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนามีความปวดที่แตกตางจากผูปวยที่จัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง

Page 50: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

39

ตารางที่ 4 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความรูสึกปวดในการจัดทาดานหนากับ ทาดานหลังขึน้นอนบนเตียงในผูปวยผาตัดกระดกูสันหลัง

กลุมตัวอยาง n Range Mean S.D. t p

การขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนา 20 1-10 3.95 1.53 0.00 0.50

การขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลัง 20 1-10 3.95 1.53

จากตารางที่ 4 แสดงวาคะแนนความปวดของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอน

บนเตียงดวยทาดานหนาและทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.95 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.53 และเปรียบเทียบความความแตกตางของคาเฉลี่ยความปวดของกลุมตัวอยางทั้งสองกลุม พบวาไมแตกตางกัน (p - Value > 0.05) ดังนั้นสรุปไดวากลุมตัวอยางสามารถที่จะขึ้นนอนบนเตียงดวย ทาดานหนาหรือทาดานหลังจะทําใหกลุมตัวอยางมีความปวดที่เทากันและจัดอยูในเกณฑระดับ ปานกลาง นอกจากนี้พบวาไมสนับสนุนสมมติฐานที่กําหนดไว

Page 51: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

40

สวนท่ี 3 ความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลและความพึงพอใจในการจัดทาขึ้น-ลงเตียงของกลุมตัวอยาง ตารางที่ 5 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลตอ

กลุมตัวอยางทีไ่ดรับการจัดทาขึ้น- ลงเตียงดวยทาดานหนา (n= 20)

ความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาล Mean S.D. การแปลผล

1. พยาบาลสนใจที่จะกระตุนใหทานลุกจากเตียง 3.90 1.21 มาก

2. พยาบาลชวยแนะนําทานเกีย่วกับวิธีการลุก จากเตยีง

4.20 0.61 มาก

3. พยาบาลใหความชวยเหลือทานทุกครั้งที่ลุกขึ้นจากเตยีง

3.70 1.30 มาก

4. พยาบาลมีความอดทนในการดูแลใหทานลุก จากเตยีง

4.05 0.94 มาก

5. พยาบาลใหลุกขึ้นจากเตยีงโดยสนใจอาการปวดของทาน

4.15 1.13 มาก

6. ทานรูสึกมั่นใจที่จะลุกจากเตียงเมื่อมีพยาบาล อยูดวย

4.60 0.59 มาก

7. ทานคิดวาถาลุกจากเตยีงตามวิธีที่พยาบาลแนะนําจะปลอดภยั/ไมเกิดภาวะแทรกซอนได

4.60 0.59 มาก

8. ทานมีการเตรยีมพรอมสําหรับการลุกจากเตียงเชนคาดเข็มขดัหรือใสเสื้อพยุงหลัง

3.90 1.33 มาก

คะแนนรวม 4.13 0.58 มาก

จากตารางที่ 5 แสดงวา คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลของ

กลุมที่ใชทาขึ้นลงเตียงดวยทาดานหนา ขอที่มีคะแนนสูงสุด คือ ผูปวยจะรูสึกมั่นใจที่จะลุกจากเตียงเมื่อมีพยาบาลอยูดวย และคิดวาทาที่พยาบาลแนะนําเปนทาที่ปลอดภัยไมกอใหเกิดภาวะแทรกซอนมีคาคะแนนเฉลี่ยที่เทากันเทากับ 4.60 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.59 จัดอยูในระดับมาก รองลงมาคือพยาบาลชวยแนะนําเกี่ยวกับวิธีการลุกจากเตียงเทากับ 4.20 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.60 จัดอยูในระดับมาก สวนคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาล

Page 52: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

41

ของกลุมที่ใชทาขึ้นลงเตียงดวยทาดานหนาที่มีคะแนนต่ําสุด คือ พยาบาลใหความชวยเหลือทุกครั้งที่ลุกขึ้นจากเตียงเทากับ 3.70 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.30 จัดอยูในระดับมาก ดังนั้น จึงสรุปไดวาผูปวยมีความพึงพอใจมากที่ไดรับการชวยเหลือจากพยาบาลในการจัดทาขึ้น-ลงเตียง ซ่ึงเมื่อพิจารณารายขอพบวาผูปวยจะมีความตองการที่จะใหพยาบาลแนะนําวิธีลุกจากเตียงที่ถูกตองและพยาบาลควรดูแลใกลชิดในขณะที่ลุกจากเตียงทุกครั้งเพื่อสรางความมั่นใจใหกับตนเอง ตารางที่ 6 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาล

ตอกลุมตัวอยางที่ไดรับการจดัทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง (n= 20)

ความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาล Mean S.D. แปลผล

1. พยาบาลสนใจที่จะกระตุนใหทานลุกจากเตียง 3.55 1.23 ปานกลาง

2. พยาบาลชวยแนะนําทานเกีย่วกับวิธีการลุกจากเตียง

4.15 0.81 มาก

3. พยาบาลใหความชวยเหลือทานทุกครั้งที่ลุกขึ้น จากเตยีง

3.45 1.23 ปานกลาง

4. พยาบาลมีความอดทนในการดูแลใหทานลุก จากเตยีง

3.75 1.25 มาก

5. พยาบาลใหลุกขึ้นจากเตยีงโดยสนใจอาการปวดของทาน

3.60 1.35 ปานกลาง

6. ทานรูสึกมั่นใจที่จะลุกจากเตียงเมื่อมีพยาบาล อยูดวย

4.50 0.76 มาก

7. ทานคิดวาถาลุกจากเตยีงตามวิธีที่พยาบาลแนะนําจะปลอดภยั/ไมเกิดภาวะแทรกซอนได

4.70 0.47 มาก

8. ทานมีการเตรยีมพรอมสําหรับการลุกจากเตียง เชนคาดเข็มขัดหรอืใสเสื้อพยุงหลัง

4.45 0.88 มาก

คะแนนรวม 4.01 0.67 มาก

จากตารางที่ 6 แสดงวา คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลตอ

กลุมที่ใชทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาสวนใหญจัดอยูในเกณฑคอนขางดี โดยพบวาผูปวยจะรูสึก

Page 53: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

42

มั่นใจที่จะลุกจากเตียงเมื่อมีพยาบาลอยูดวยเทากับ 4.70 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.47 และรองลงมาคือ ผูปวยคิดวาทาที่พยาบาลแนะนําเปนทาที่ปลอดภัยไมกอใหเกิดภาวะแทรกซอนเทากับ 4.50 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.76 สวนคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลของกลุมที่ใชทาขึ้นลงเตียงดวยทาดานหนาที่มีคะแนนต่ําสุด คือ พยาบาลใหความชวยเหลือทุกครั้งที่ลุกขึ้นจากเตียงเทากับ 3.45 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.30 ซ่ึงจะตรงกับความพึงพอใจของผูปวยในการชวยเหลือของพยาบาลที่จัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนา เมื่อพิจารณาจะพบวาหลังผาตัด ถาผูปวยสามารถชวยเหลือตนเองไดพยาบาลจะดูแลใหผูปวยลุกจากเตียงในครั้งแรกเทานั้น หลังจากนั้นพยาบาลจะใหญาติชวยดูแลผูปวยลุกจากเตียงแทน เนื่องจากจํานวนพยาบาลในการดูแลผูปวยคอนขางนอย เมื่อคํานวณจากความตองการการดูแลของผูปวยในหนึ่งวันพบวาผูปวยตองการพยาบาลในการดูแลจํานวน 21 คนในผูปวยศัลยกรรมชายและหญิงสวนพิเศษศัลยกรรมและจักษุพิเศษจํานวน 6 คน ทําใหพยาบาลตองเลือกดูแลเฉพาะผูปวยที่มีอาการหนักหรือผูปวยที่ชวยเหลือตนเองไมได สวนผูปวยที่มีอาการดีขึ้นและสามารถชวยเหลือตนเองได พยาบาลจะใหญาติดูแลผูปวยแทน ซ่ึงเมื่อพิจารณาในขอท่ีมีคะแนนสูงคือผูปวยจะรูสึกมั่นใจที่จะลุกจากเตียงเมื่อมีพยาบาลอยูดวยเทากับ 4.70 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.47 แสดงวาผูปวยตองการใหพยาบาลดูแลตลอดเวลาในขณะลุกจากเตียง

ตารางที่ 7 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาล

ตอการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลัง (n= 20 )

กลุมตัวอยาง n Range Mean S.D. t p

ขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนา 20 1-5 4.13 0.58 0.593 0.557

ขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง 20 1-5 4.01 0.67

จากตารางที่ 7 แสดงวาคะแนนความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลของกลุม

ตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 4.13 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.58 และกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.01 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.67 อธิบายวาผูปวยจะพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลในกลุมที่มีการจัดทาดวยทาดานหนาสูงกวาในกลุมที่มีการจัดทาดวยทาดานหลังเพราะเมื่อนํ า ม า

Page 54: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

43

เปรียบเทียบกันในทั้งสองกลุมพบวาไมแตกตางกัน แสดงวากลุมตัวอยางจะไดรับการชวยเหลือของพยาบาลในการจัดทาดวยทาดานหนาหรือทาดานหลังยอมทําใหผูปวยเกิดความพึงพอใจเทากัน ตารางที่ 8 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอการจดัทาลงจากเตียงดวย

ทาดานหนา (n= 20)

ความพึงพอใจตอการลงจากเตียงดวยทาดานหนา Mean S.D. แปลผล

1. ทานชอบหรือพึงพอใจทีจ่ะลงจากเตียงดวยทาที่พยาบาลแนะนํา

3.15 1.49 ปานกลาง

2. เมื่อทานลงจากเตียงในทาทีพ่ยาบาลแนะนําจะทําใหเกิดความปวด

2.95 1.05 ปานกลาง

คะแนนรวม 3.05 0.91 ปานกลาง

จากตารางที่ 8 แสดงวาคะแนนความพึงพอใจตอการจัดทาลงจากเตียงของกลุมตัวอยางดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 3.15 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.49 จัดอยูในเกณฑปานกลาง สวนคะแนนความรูสึกปวดจากการที่พยาบาลจัดทาใหกลุมตัวอยางลงจากเตียงดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 2.95 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.05 จัดอยูในเกณฑปานกลาง และเมื่อนําคะแนนมารวมกันพบวาความพึงพอใจที่จะลงจากเตียงของกลุมตัวอยางดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 3.05 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.91 จัดอยูในเกณฑปานกลาง

ตารางที่ 9 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอการจดัทาลงจากเตียงดวย

ทาดานหลัง (n= 20)

ความพึงพอใจตอการลงจากเตียงดวยทาดานหลัง

Mean S.D. แปลผล

1. ทานชอบหรือพึงพอใจทีจ่ะลงจากเตียงดวยทาที่พยาบาลแนะนํา

3.95 1.19 มาก

2. เมื่อทานลงจากเตียงในทาทีพ่ยาบาลแนะนําจะทําใหเกดิความปวด

2.50 1.27 ปานกลาง

คะแนนรวม 3.22 0.86 ปานกลาง

Page 55: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

44

จากตารางที่ 9 แสดงวาคะแนนความพึงพอใจตอการจัดทาลงจากเตียงของกลุมตวัอยางดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.95 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.19 จัดอยูในเกณฑมาก สวนคะแนนความรูสึกปวดจากการที่พยาบาลจัดทาใหกลุมตัวอยางลงจากเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.50 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.27 จัดอยูในเกณฑปานกลาง และเมื่อนําคะแนนมารวมกันพบวาคะแนนความพึงพอใจตอการจัดทาลงจากเตียงของกลุมตัวอยางดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.22 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.86 จัดอยูในเกณฑปานกลาง

ตารางที่ 10 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอการจัดทาขึ้นนอนบน

เตียงดวยทาดานหนา (n= 20)

ความพึงพอใจตอการขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนา Mean S.D. แปลผล

1. ทานชอบหรือพึงพอใจทีจ่ะขึ้นนอนบนเตยีงดวยทาที่พยาบาลแนะนํา

3.25 1.48 ปานกลาง

2. เมื่อทานขึ้นนอนบนเตียงในทาที่พยาบาลแนะนําจะทําใหเกิดความปวด

2.90 1.25 ปานกลาง

คะแนนรวม 3.07 1.00 ปานกลาง

จากตารางที่ 10 แสดงวา คะแนนความพึงพอใจตอการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงของกลุม

ตัวอยางดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 3.25 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.48 จัดอยูในเกณฑปานกลาง สวนคะแนนความปวดจากการที่พยาบาลจัดทาใหกลุมตัวอยางขึ้นนอนบนเตียงดวย ทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 2.90 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.25 จัดอยูในเกณฑปานกลาง และเมื่อนําคะแนนมารวมกันพบวาคะแนนความพึงพอใจตอการขึ้นนอนบนเตียงของกลุมตัวอยางดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 3.07 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.00 จัดอยูในเกณฑ ปานกลาง

Page 56: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

45

ตารางที่ 11 คะแนนเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอการจดัทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลัง (n= 20)

ความพึงพอใจตอการขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลัง Mean S.D. แปลผล

1. ทานชอบหรือพึงพอใจทีจ่ะขึ้นนอนบนเตยีงดวย ทาที่พยาบาลแนะนํา

3.85 1.30 มาก

2. เมื่อทานขึ้นนอนบนเตียงในทาที่พยาบาลแนะนํา จะทําใหเกดิความปวด

2.60 1.23 ปานกลาง

คะแนนรวม 3.22 0.91 ปานกลาง

จากตารางที่ 11 แสดงวา คะแนนความพึงพอใจตอการขึ้นนอนบนเตียงของกลุม

ตัวอยางดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.85 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.30 จัดอยูในเกณฑมาก สวนคะแนนความปวดจากการที่พยาบาลจัดทาใหกลุมตัวอยางขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.60 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.23 จัดอยูในเกณฑปานกลาง และเมื่อนําคะแนนมารวมกันพบวาคะแนนความพึงพอใจตอการขึ้นนอนบนเตียงของกลุมตัวอยางดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.22 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.91 จัดอยูในเกณฑ ปานกลาง ตารางที่ 12 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจตอการจัดทาลงจากเตียงดวย

ทาดานหนากบัทาดานหลัง

กลุมตัวอยาง n Range Mean S.D. t p

การลงจากเตยีงดวยทาดานหนา 20 1-5 3.05 0.91 -0.621 0.538

การลงจากเตยีงดวยทาดานหลัง 20 1-5 3.22 0.86

จากตารางที่ 12 แสดงวาคะแนนความพึงพอใจตอการลงจากเตียงของกลุมตัวอยางดวย

ทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 3.05 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.91 และกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.22 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.86 อธิบายวาผูปวยมีความพึงพอใจตอการลงจากเตียงดวยทาดานหลังมากกวาดวยทาดานหนา แตเมื่อนํามาเปรียบเทียบกันในทั้งสองกลุมพบวาไมแตกตางกัน (p-Value > 0.05) แสดงวากลุมตัวอยาง

Page 57: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

46

ที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนาหรือทาดานหลัง ทําใหผูปวยเกิดความพึงพอใจไม แตกตางกัน ตารางที่ 13 เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจตอการจัดทาขึ้นนอนบน

เตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลัง

กลุมตัวอยาง n Range Mean S.D. t p

หลังขึ้นบนเตยีงดวยทาดานหนา 20 1-5 3.07 1.00 -0.495 0.623

หลังขึ้นบนเตยีงดวยทาดานหลัง 20 1-5 3.22 0.91

จากตารางที่ 13 แสดงวาคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้น

นอนบนเตียงดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 3.07 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.00 และกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.22 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.91 อธิบายวาผูปวยจะมีความพึงพอใจที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลังมากกวาทาดานหนา แตเมื่อนํามาเปรียบเทียบความความแตกตางของคาเฉลี่ยความพึงพอใจของกลุมตัวอยางทั้งสองกลุม พบวาไมแตกตางกัน (p - Value > 0.05) แสดงวากลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนาหรือดวยทาดานหลังนั้นทําใหผูปวยเกิดความพึงพอใจไมแตกตางกัน

Page 58: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

47

บทที่ 5

อภิปรายผลการวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความปวดและความพึงพอใจตอการ

จัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาและการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลังในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง โดยกลุมตัวอยางแบงเปน 2 กลุม กลุมแรกเปนกลุมที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนา จํานวน 20 คน เปนเพศชายรอยละ 45 เพศหญิงรอยละ 55 อายุเฉลี่ยอยูในวัยผูใหญและสูงอายุ กลุมที่สองเปนกลุมที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลัง จํานวน 20 คน เปนเพศชายรอยละ 55 เพศหญิงรอยละ 45 อายุเฉล่ียอยูในวัยผูใหญและสูงอายุ ผูวิจัยอภิปรายผลการวิจัยตามสมมติฐานของการวิจัย ดังนี้ สมมติฐานการวิจัย

ผูปวยที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนามีความปวดและความพึงพอใจตอการจัดทาแตกตางจากผูปวยที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตยีงดวยทาดานหลัง

ระดับความปวดในการจัดทาขึ้น–ลงเตียง

ผลการวิจัยพบวา คะแนนความปวดในกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวย ทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 4.10 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.55 และกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยความปวดเทากับ 3.95 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 1.53 สวนความปวดในกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.40 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.60 และกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยความปวดเทากับ 3.95 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.53 แสดงใหเหน็

Page 59: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

48

วากลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยของความปวดมากกวากลุม ตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหลังแตเมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยความปวดของกลุมตัวอยางทั้งสองกลุมพบวา ไมแตกตางกัน (ดังตารางที่ 2 และ3) และไมสนับสนุนตามสมมติฐาน ที่กําหนดไววาผูปวยที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนามีความปวดตอการจัดทาแตกตางจากผูปวยที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหลัง นอกจากนี้พบวาคาเฉลี่ยความปวดของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนาเทากับทาดานหลัง (ดังตารางที่ 4) ทําใหไมสนับสนุนตามสมมติฐานที่กําหนดไววาผูปวยที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนามีความปวดตอการจัดทาแตกตางจากผูปวยที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลัง อาจอธิบายไดวาปกติแลวในการผาตัดกระดูกสันหลังมีการกระทบกระเทือนและบาดเจ็บชอกช้ําของเนื้อเยื่อขณะผาตัด โดยแพทยจะตองมีการดึงแหวกรากประสาทที่ถูกกดดวยเครื่องมือ (Love root retractor) เพื่อที่จะตัดหมอนรองกระดูกสันหลังที่กดรากประสาทออกรวมทั้งการลงมีดบริเวณแผลผาตัดตามแนวตรง ทําใหเนื้อเยื่อของกลามเนื้อ กระดูก และขอตอไดรับบาดเจ็บและถูกทําลาย เกิดการปลอยสารฮีสตามีนและพรอสตาแกลนดิน ไปกระตุนปลายประสาทรับความรูสึกปวดรวมกับกระตุนปลายประสาทที่ถูกตัดขาด ทําใหเนื้อเยื่อของรางกายมีความไวตอความปวดไดเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้อาการปวดจะทุเลาลงหลังวันที่ 3 ของการผาตัด (สุพร พลยานันท, 2528: 55) จากสาเหตุที่กลาวมาขางตน เมื่อผูวิจัยใหผูปวยจัดทาขึ้น-ลงเตียงหรือลุกเดินในวันที่ 2 หลังผูปวยไดรับการผาตัดยอมจะเปนการกระตุนทําใหผูปวยเกิดความปวดได นอกจากนี้ในการผาตัดแพทยจะตองตัดปกกระดูกสันหลังออกทําใหสูญเสียความม่ันคงของกระดูกสันหลัง เมื่อผูปวยจะตองลุกยืนและเดิน ทําใหกระดูกสันหลังตองแบกรับน้ําหนักทําใหมีแรงดันกดลงบริเวณขอตอกระดูกสันหลัง และในชวง 1-3 วันเปนชวงที่แผลมีการอักเสบอยู ทําใหเนื้อเยื่อมีการบวมกอใหเกิดแรงดันการยืดขยาย การดึงร้ังของกลามเนื้อบริเวณหลัง เชน พาราสไปนัสหรือสไปนัลลิส (Paraspinal or Spinalis muscle) ไมใหมีการยืดหดตัวไดตามปกติขณะเคลื่อนไหวหลัง ซ่ึงในการวิจัยคร้ังนี้ กลุมตัวอยางที่ใชคือผูปวยที่ไดรับการผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอว ดังนั้นในสวนของการเคลื่อนไหวจําเปนตองใชกลามเนื้อพาราสไปนสัหรือสไปนัลลิส (Paraspinal or Spinalis muscle) ชวยเปนอยางมาก ทําใหผูปวยเกิดความปวดมากกวาผูปวยที่ทําผาตัดระดับอื่นๆ

นอกจากสาเหตุที่กลาวมาแลว พบวาทาที่ผูวิจัยจัดใหกลุมตัวอยางทั้งสองทาเปนทาที่ไดรับการประเมินวาปลอดภัยแลวเมื่อพิจารณาตามหลักกลศาสตรของการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังชวงบั้นเอว (Biomechanics of the lumbar spine ) (อํานวย อุณนะนันทน, 2542 : 15-20)โดยอธิบายไดวาทาดานหนาลงจากเตียงเปนการจัดทาใหผูปวยตะแคงหรือเอียงตัวไปดานขาง (Lateral flexion) ทานี้ในสวนของระดับบั้นเอว (Lumbar spine) เนื่องจากรูปรางผิวหนาของขอตอ (Facet

Page 60: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

49

joints) และตัวกระดูกสันหลัง (Vertebral body) จะหมุนตัวไปทางโคงออก (Convexity) พรอมกับการบิดหมุนตัวของกระดูกเชิงกรานที่เกิดรวมดวย จะทําใหเกิดความปวดขึ้นได และเมื่อผูปวย ดันตัวลุกนั่ง กระดูกเชิงกรานจะเอียงทางดานหลังทําให Lumbar lordosis ลดนอยลง หรือกระดูกสันหลังระดับบั้นเอวตรงขึ้น แนวแรงของน้ําหนักตัวจะตกลงมาทางดานหนาทําใหเกิดลักษณะ คานงัด (Lever arm) ขึ้น มีผลทําใหเกิดแรงกดลงบน disc ที่ระดับ Lumbar spine มากขึ้น ทําให ผูปวยเกิดความปวด (ดังตารางที่ 2) พบวาคาเฉลี่ยความปวดเทากับ 4.10 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.55 เมื่อผูวิจัยนํามาวเิคราะหแบงระดับความปวดพบวาอยูในเกณฑปานกลาง

ทาดานหลังลงจากเตียงคือ การจัดทาใหผูปวยนอนคว่ําหนาแนบกับเตียง หลังจากนั้น ผูปวยจะวางขาทั้งสองขางลงบนพื้นและใชมือยันที่นอนดันลําตัวลุกขึ้นจากเตียงในลักษณะเงยหลัง ซ่ึงลักษณะทาเงยหลังดังกลาวจะทําใหกลามเนื้อตรงแนวกระดูกสันหลัง (Erector spine) ยืดมากขึ้นมีผลทําใหผูปวยเกิดความปวดขึ้นได แตในการวิจัยคร้ังนี้กลุมตัวอยางที่ใชคือผูปวยที่ไดรับการผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอวทําใหการกมและเงยหลังสามารถกระทําไดมากกวาการจัดทาดานหนาลงจากเตียงที่ตองใชลักษณะตะแคงดานขางลําตัวเพราะขอตอ (Facet joints) และตัวกระดูกสันหลัง (Vertebral body) จะสามารถหมุนตัวไดสะดวก จึงทําใหคาเฉลี่ยความปวดนอยกวาทาดานหนาลงจากเตียง (ดังตารางที่ 2) คือ คาเฉลี่ยความปวดเทากับ 3.40 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.60 ทาดานหนาขึ้นนอนบนเตียง คือ การจัดทาใหผูปวยขึ้นนั่งบนเตียงทําใหเกิดแรงกดที่ระดับ Lumbar spine และขณะที่ผูปวยตะแคงตัวลงนอน ทําใหเกิดการบิดหมุนตัวของตัวกระดูกสันหลัง (Vertebral body) และกระดูกเชิงกราน ซ่ึงจากการเคลื่อนไหวและบิดหมุนดังกลาวทําใหผูปวยเกิดอาการปวดขึ้นได โดยคาเฉลี่ยความปวดของทาดานหนาขึ้นนอนบนเตียงเทากับ 3.95 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.53 ทั้งนี้เนื่องจากในชวงที่ตะแคงตัวลงนอนบนเตียงนั้นเปนไปตามแรงโนมถวงของโลกไมเกิดแรงตานใดๆ ในการตะแคงตัวลงนอน

ทาดานหลังขึ้นนอนบนเตียงคือการจัดทาใหผูปวยกมหลังลงนอนบนเตียง ซ่ึงระดับกระดูกสันหลังชวงเอวนี้สามารถหมุนได เนื่องจากลักษณะผิวหนาของขอตอ (Facet joints) อยูในแนวคอนไปทางเอียงลาดและสวนปุมที่ยื่นของกระดูกสันหลัง (Spinal process) ช้ีลงเกือบอยูในแนวตั้งตรง นอกจากนี้มีกลามเนื้อหนาทอง (Abdominal muscles) กลามเนื้อบริเวณบั้นเอว (Psoas muscle) และกลามเนื้อตรงแนวกระดูกสันหลัง (Erector spine) จะชวยบังคับหรือยึดกระดูกสันหลังไวระหวางที่กมหลังลง กลามเนื้อขอสะโพกทางดานหลังก็ชวยยึดกระดูกเชิงกรานไวระหวางที่หมุนเอียงไปขางหนาในขณะกมหลัง จากที่กลาวมาขางตนอาจทําใหผูปวยเกิดอาการปวดเนื่องจากกลามเนื้อมีการยืดขยายมากเกินไป (ดังตารางที่ 2) พบวาคาเฉลี่ยความปวดใน

Page 61: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

50

ทาดานหลังขึ้นนอนบนเตียงและทาดานหนาขึ้นนอนบนเตียงมีคาที่เทากัน คือ 3.95 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.53 ซ่ึงมีระดับความปวดอยูในเกณฑปานกลาง

จากเหตุผลดังกลาวสรุปไดวาเมื่อผูวิจัยจัดใหกลุมตัวอยางลุกจากเตียงดวยทาดานหนาหรือดวยทาดานหลังจะมีคาเฉลี่ยความปวดแตกตางกันแตเมื่อเปรียบเทียบความปวดทั้งสองกลุมแลวจะเห็นวาไมแตกตางกัน นั่นแสดงวาไมสนับสนุนสมมติฐานของการวิจัย กลาวคือกลุมตัวอยางสามารถจะเลือกจัดทาขึ้น-ลงเตียงไดทั้งสองทา เพราะการจัดทาขึ้น-ลงเตียงทั้งสองทานั้นมีระดับความปวดที่ไมแตกตางกันหรือเทากัน อยางไรก็ตามกอนที่กลุมตัวอยางจะถูกจัดทาขึ้น-ลงเตียงนั้น พยาบาลจะตองเตรียมความพรอมใหกับกลุมตัวอยางดวยคูมือหรือการสอนใหความรู แกกลุมตัวอยางในเรื่องการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการผาตดัและฝกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทาขึ้น- ลงเตียงอยางถูกวิธีจนชํานาญ นอกจากนี้พยาบาลควรประเมินความพรอมและความสมัครใจของกลุม ตัวอยางกอนที่มีจัดทาขึ้น-ลงเตียง ซ่ึงจะพิจารณาไดจากคะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในการ จัดทาขึ้น-ลงเตียงของกลุมตัวอยาง

ความพึงพอใจตอการจัดทาขึน้-ลงเตียงของกลุมตัวอยาง ความพึงพอใจตอการจัดทาลงจากเตียง

จากผลการวิจัยพบวาคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ย เทากับ 3.05 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.91 ซ่ึงจัดวาความพึงพอใจของกลุมตัวอยางตอการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนาอยูในระดับปานกลาง สวนกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.22 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.86 ซ่ึงจัดวาความพึงพอใจในการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหลังอยูในระดับปานกลาง นั่นแสดงวากลุมตัวอยางจะมีความพึงพอใจในการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหลังมากกวาดวยทาดานหนา เนื่องจากขณะที่กลุมตัวอยางลงจากเตียงดวยทาดานหนาจะมีความปวดมากกวาดวยทาดานหลัง (ดังตารางที่ 2) แตเมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการจัดทาลงจากเตียงของกลุมตัวอยางทั้งสองกลุมพบวาไมแตกตางกัน (ดังตารางที่ 10) ทั้งนี้อาจเปนเพราะทั้งสองกลุม คือ กลุมที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาและกลุมที่มีการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลังในชวงกอนผาตัดจะไดรับการสอนและฝกปฏิบัติวิธีขึ้น-ลงเตียงอยางถูกวิธี ไดแก การวางทวงทาในการลงจากเตียงและการขึ้นนอนบนเตียงจนเกิดความมั่นใจในการที่จะปฏิบัติตามคําแนะนํา ของพยาบาลไดอยางถูกตอง นอกจากนี้ผูปวยยังไดรับการสอนและฝกปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารกลามเนื้อและขอตางๆ ทําใหมีความแข็งแรงของกลามเนื้อเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นหลังผาตัดเมื่อกลุม

Page 62: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

51

ตัวอยางไดรับการจัดทาขึ้น–ลงเตียงดวยทาดานหนาหรือดวยทาดานหลัง ยอมทําใหผูปวย เกิดความรูสึกพึงพอใจที่ไมแตกตางกัน นอกจากนี้ในการศึกษาผูปวยสวนใหญไดรับการผาตัดกระดูกสันหลังในระดับเอวชิ้นที่ 4 และ 5 โดยขอตอฟาเซ็ทระหวางขอกระดูกสันหลังระดับเอวชิ้นที่ 4 และ 5 นี้จะมีวางตัวอยูในระนาบแบงครึ่งตัวหนาหลัง (Frontal plane) ทําใหกระดูก สันหลังมีการเคลื่อนไหวไดมากขึ้นและขณะจัดทาขึ้น-ลงเตียงตองอาศัยการทํางานของกลามเนื้อหนาทอง (Abdominal muscles), กลามเนื้อบริเวณบั้นเอว (Psoas muscle) และกลามเนื้อตรงแนวกระดูกสันหลัง (Erector spine) กลามเนื้อระหวางปุมกระดูกสันหลัง (Inter spinal) กลามเนื้อที่ชวยในการยกซี่โครงขึ้น (Levator costrarum) และกลามเนื้อท่ีชวยในการเอียงตัว ซ่ึงกลามเนื้อในสวนหลังนี้ไมถูกกระทบกระเทือนจากการผาตัด ดังนั้นเมื่อผูปวยตองเคลื่อนไหวจะทําใหไมเกิดความปวดหรือปวดเล็กนอย (กานดา ใจภักดี, 2531: 201)

ความพึงพอใจตอการจัดทาขึน้นอนบนเตียง

จากผลการวิจัยพบวาคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนา มีคะแนนเฉลี่ยนอยกวากลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลัง คือ คาเฉลี่ยเทากับ 3.07 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.00 แสดงวาความ พึงพอใจอยูในระดับปานกลาง สวนกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลังมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.22 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.91 แสดงวาความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง (ดังตารางที่ 11และ 12) เมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการจัดทาข้ึนนอนบนเตียงของกลุมตัวอยางทั้งสองกลุมพบวาไมแตกตางกัน (ดังตารางที่ 13) เนื่องจากการขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนานั้น กลุมตัวอยางใชปฏิบัติเปนกิจวัตรประจําวันตามปกติ แตมีขอจํากัดเนื่องจากระดับเตียงผูปวยที่ใชในโรงพยาบาลมีระดับสูง ทําใหผูปวยเกิดความรูสึกไมมั่นใจในการที่จะขึ้นนอนบนเตียง สวนทาดานหลังนั้นเหมาะสมสําหรับเตียงที่มีระดับสูงเพราะขณะขึ้นนอนบนเตียงไมตองกมหลังมาก แตอาจจะทําใหอึดอัดบางเล็กนอย เนื่องจากจะตองนอนคว่ําหนาแนบกับเตียง แตเพียงระยะเวลาสั้นๆ สวนในดานความเจ็บปวดไมแตกตางกันกับทาดานหนา จากการศึกษาคนควาเอกสารพบวาทั้งสองทาเปนทาที่เหมาะสมสําหรับใชในการจัดทาขึ้น-ลงเตียงในผูปวยที่ผาตัดกระดูกสันหลัง แตการพิจารณาเลือกทาไหนนั้นขึ้นกับปจจัยอ่ืนดวยเชน ระดับความสูงของเตียงผูปวย ระดับความสูงของรางกาย เปนตน เชน เตียงของโรงพยาบาลที่มีระดับความสูง และไมสามารถปรับระดับได ทาที่เหมาะสมสําหรับการขึ้นเตียง คือ ทาดานหลังเนื่องจากไมตองกมบริเวณหลังมาก แตเมื่อนํามาเปรียบเทียบความพึงพอใจในการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงของกลุมตัวอยางทั้งสองกลุมพบวาไมแตกตางกัน (ดังตารางที่ 13) เนื่องจากผูวิจัยไดอธิบายใหกลุมตัวอยาง

Page 63: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

52

ทราบวาทาที่ใชในการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงทั้งสองทาเปนทาที่ปลอดภัยจากภาวะแทรกซอน ทาํใหผูปวยเกิดความรูสึกมั่นใจตอการจัดทาขึ้นนอนบนเตียง โดยเฉพาะขณะจัดทาขึ้นนอนบนเตียงนั้น มีพยาบาลคอยแนะนําและดูแลอยูใกลๆ ทําใหกลุมตัวอยางเกิดความรูสึกวามั่นใจเพิ่มมากขึ้น ความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาล

ผลการวิจัยพบวา คะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางที่ไดรับการชวยเหลือของ

พยาบาลในการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนามีคาเฉลี่ยเทากับ 4.13 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.58 จัดวาอยูในระดับมาก สวนกลุมตัวอยางที่ไดรับการชวยเหลือของพยาบาลในการจัดทาขึ้น- ลงเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.01 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.67 จัดวาอยูในระดับมาก เมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของกลุมตัวอยางที่ไดรับการชวยเหลือของพยาบาลในการจัดทาขึ้น-ลงเตียงของทั้งสองกลุมพบวา ไมแตกตางกัน (ดังตารางที่ 7) เมื่อพิจารณารายขอพบวาขอที่มีคะแนนสูงสุดของทั้งสองกลุมคือ ความรูสึกมั่นใจวาทาที่ผูวิจัยแนะนําในการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาเปนทาที่ปลอดภัยไมกอให เกิดภาวะแทรกซอน หลังผาตัดมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.60 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.59 และทาดานหลังคาเฉลี่ยเทากับ 4.70 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.47 ซ่ึงจัดอยูในเกณฑระดับมากทั้งสองทา ทั้งนี้เปนเพราะในการใหการพยาบาลแกผูปวย พยาบาลกับผูปวยนั้นมีสัมพันธภาพที่ดีตอกัน และมีการตั้งเปาหมายรวมกัน โดยพยาบาลจะเปนผูคอยดูแลและแนะนําการปฏิบัติตนท่ีถูกตอง รวมทั้งฝกปฏิบัติวิธีการขึ้น-ลงเตียงใหแกผูปวย ตั้งแตกอนผาตัดทําใหผูปวยมีเจตคติที่ดีตอการไดรับบริการที่ดีเกิดความไววางใจและเชื่อมั่นในตัวพยาบาล ซ่ึงหมายถึงความพึงพอใจของผูปวยที่ไดรับการชวยเหลือจากพยาบาล และยังเปนการบงบอกถึงคุณภาพพยาบาลที่ดีมีมาตรฐานสอดคลองกับงานวิจัยของ พิกุล วิญญาเงือก (2532) โดยใชรูปแบบการพยาบาลที่ผูปวยมีรวมในการดูแลตนเอง ซ่ึงพยาบาลคอยดูแลสนับสนุนและใหความรูแกผูปวย นอกจากนี้งานวิจัยของ สมหมาย วนะนานต (2540, 84-85) พบวา การไดรับการดูแลอยางตอเนื่องจากพยาบาลเปนปจจัยสําคัญอยางหนึ่งสาํหรับผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง ซ่ึงในกลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุด คือ ดานความสนใจเอาใจใสของพยาบาล อันดับรองลงมาคือพยาบาลคอยสอดสองดูแลใหความชวยเหลือตามที่ทานตองการ และการไดพูดคุยกับพยาบาลทําใหทานรูสึกดีขึ้นตามลําดับ

Page 64: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

53

บทที่ 6

สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) เพื่อเปรียบเทียบผลของการจัดทาขึ้น-ลงเตียงตอระดับความปวดและความพึงพอใจในการพยาบาล ที่ไดรับจากการจัดทาในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ คือ ผูปวยทั้งชายและหญิงที่เขารับการรักษาโดยการผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอวในสถาบันประสาทวิทยา ตั้งแตเดือน มีนาคม-กรกฏาคม 2549 จํานวน 40 ราย โดยการแบงกลุมตัวอยางออกเปน 2 กลุม คือ กลุมที่จัดทาขึ้น-ลงดานหนา 20 คน และกลุมที่จัดทาขึ้น-ลงเตียงดานหลัง 20 คน โดยใหกลุมมีลักษณะคลายคลึงกันเปนคูๆ (Matching ) คือ มีเพศเดียวกัน อายุแตกตางกันไมเกิน 10 ป ระดับการผาตัดระดับเดียวกัน เครื่องมือที่ใชในการทดลองนี้เปนคูมือการเตรียมความพรอมในการลุกจากเตียงในผูปวยที่ผาตัดกระดูกสันหลัง แบบสอบถามความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลและความพึงพอใจในการจัดทาข้ึน–ลงเตียงของผูปวย แบบประเมินความปวดในการจัดทาขึ้น–ลงเตียง ผูวิจัยนําผลการวิจัยมาวิเคราะหโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป สรุปผลการวิจัยไดดังนี้

สรุปผลการวิจัย

1. คาเฉลี่ยคะแนนความปวดของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทา

ดานหนาเทากับ 4.10 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.55 และคาเฉลี่ยคะแนนความปวดของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหลังเทากับ 3.40 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.60 เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนความปวดของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลังพบวาไมมีความแตกตางกัน (p > 0.05)

2. คาเฉลี่ยคะแนนความปวดของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนาเทากับ 3.95 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.53 และคาเฉลี่ยคะแนนความปวดของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลังเทากับ 3.95 สวนเบี่ยงเบน

Page 65: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

54

มาตรฐานเทากับ 1.53 ซ่ึงทั้งสองกลุมมีคาเฉลี่ยคะแนนความปวดเทากัน ดังนั้นเมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนความปวดของกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลังจึงไมมีความแตกตางกัน (p > 0.05)

3. คาเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางตอการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนามีคาเทากับ 3.05 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.91 จัดอยูในเกณฑปานกลาง และคาเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางตอการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหลังมีคาเทากับ 3.22 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.86 จัดอยูในเกณฑปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางตอการจัดทาลงจากเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลังพบวาไมมีความแตกตางกัน (p > 0.05)

4. คาเฉล่ียคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางตอการขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนามีคาเทากับ 3.07 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.00 จัดอยูในเกณฑปานกลาง และคาเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางตอการขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหลังมีคาเทากับ 3.22 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.91 จัดอยูในเกณฑปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางตอการขึ้นนอนบนเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลังพบวาไมมีความแตกตางกัน (p > 0.05)

5. คาเฉลี่ยคะแนนของความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลในกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนาเทากับ 4.13 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.58 และกลุมตัวอยางที่ไดรับการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหลังมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.01 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.67 เมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลตอการจัดทาขึ้น-ลงเตียงดวยทาดานหนากับทาดานหลังไมมีความแตกตางกัน (p > 0.05)

ขอเสนอแนะ

จากผลการวิจัยที่พบวาการจัดทาขึ้น-ลงเตียงในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง ดวยทา

ดานหนาและทาดานหลังไมมีความแตกตางกันในเรื่องระดับความปวดและความพึงพอใจในการพยาบาลที่ไดรับจากการจัดทา ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ ดังนี้

ดานการพยาบาล 1. อธิบายใหผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังทราบวาสามารถลุกจากเตยีงไดดวยทา

ดานหนาและทาดานหลังเพราะทั้งสองทาเปนทาที่ปลอดภัยจากภาวะแทรกซอนและไมมีความแตกตางกันในเรื่องความปวด

Page 66: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

55

2. เตรียมผูปวยดวยการแนะนําและฝกปฏิบัตแิกผูปวยทุกรายกอนผาตัดและทบทวนเมื่อตองฝกลุกจากเตยีงในครัง้แรก

3. ในการดแูลผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลังในระยะ 48 ชั่วโมงแรก พยาบาลควรใหการดูแลผูปวยอยางใกลชิด โดยเฉพาะชวงเวลาที่ผูปวยลุกจากเตยีงควรมีพยาบาลใหการดูแลและใหการสนับสนุนตลอดเวลา

ดานการวิจัย 1. ควรมีการจัดอบรมบุคลากรทางการพยาบาลใหมีความรูในการแนะนําผูปวยใหลุก

จากเตยีงในทาที่ถูกตอง พรอมทั้งใหมีการปฏิบัติเปนแนวทางเดยีวกัน นอกจากนี้ควรมีการประเมินความรูและความพึงพอใจของพยาบาลตอการปฏิบัติการพยาบาลในการดแูลผูปวย

2. ควรทําการศึกษาในกลุมผูปวยเพียงกลุมเดยีวโดยเปรียบเทียบความแตกตางของความปวดและความพึงพอใจตอการจัดทาขึน้-ลงเตียงดวยทาดานหนาและทาดานหลัง

ดานการบริหาร 1. ผูบริหารควรพิจารณาจดัระบบการดูแลผูปวยหลังผาตัดกระดูกสันหลังเปนลักษณะ

ของพยาบาลเจาของไข

Page 67: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

56

บรรณานุกรม ภาษาไทย

กนกนุช ชื่นเลิศ. (2528). ความคิดเห็นในกิจกรรมการพยาบาลที่คาดหวังกับความเปนจริงของ ผูปวยและพยาบาลในโรงพยาบาลในโรงพยาบาลรามาธิบดี. วิทยานิพนธปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

กลุมภารกิจบริการวิชาการ สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. (2548). แนวทางการพยาบาลผูปวยผาตัดกระดูกสันหลังสําหรับพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ คุรุสภา.

กรองได อุณหสูต, เพ็ญศรี ระเบียบ, ศิริอร สินธุ และศิริพร จิรวัฒนกุล. (2539). “การสังเคราะหงานวิจัยเกี่ยวกับการพยาบาลในสตรีไทยที่ไดรับการรักษาดวยการผาตัดในระหวางปพ.ศ.2527 ถึง พ.ศ. 2536 โดยการวิเคราะหเมตา.” ในการ ประชุมวิชาการการพยาบาลศัลยศาสตรคร้ังท่ี 5 เร่ืองการพยาบาล ศัลยศาสตรเพื่อสตรีไทยในยุคขอมูลขาวสาร วันท่ี

27–29 มีนาคม 2539. ภาควิชาพยาบาลศัลยศาสตร คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัย มหิดล (หนา 177–191).

กานดา ใจภักดี. (2531). วิทยาศาสตรการเคล่ือนไหว. กรุงเทพฯ : โรงเรียนกายภาพบําบัด คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล.

กิ่งแกว ปาจรีย. (2543). ไขสันหลังบาดเจ็บ. กรุงเทพฯ: งานตําราและสิ่งพิมพ สถานเทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล.

คณาจารยภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย. (2538). “รายงานการวิจัยเร่ืองการศึกษาความกลัวของผูปวยศัลยกรรมกอนผาตัด.” วารสารโรงพยาบาลนครศรีธรรมราช. 19 (3) : 204–209.

เจียมจิต ภูประเสริฐ, วรรณวิมล แสงโชติ และราตรี ยุกตะ. (2538). “อาการคลื่นไสอาเจียนใน ผูปวยหลังจากไดรับยาสลบเพื่อผาตัด.” รามาธิบดีเวชสาร, 17(3) , 253–259.

ณรงค บุญยะรัตเวช. (2529). ตําราเสริมสรางประสบการณออรโธปดิกส: ปวดหลัง. กรุงเทพฯ: ไพศาลศิลปการพิมพ.

Page 68: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

57

ดํารง กิจกุศล. (2528). ปวดหลัง. กรุงเทพฯ: โครงการตํารา–ศิริราช.

ธนิต เธียรธนู และทวีศักดิ์ จันทรวิทยานุชิต. (2533). หมอนรองกระดูกและหลังประสาท ศัลยศาสตร. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัด กราฟฟค.

ธวัช ประสาทฤทธา. (2548) ปวดหลังและโรคหมอนรองกระดูกสันหลัง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเรือนปญญา.

นิตยา ศรีญาณลักษณ. (2545). การบริหารการพยาบาล. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพบริษัทประชุมชางจํากัด.

นิโลบล กนกสุนทรรัตน. (2535). การรับรูความเจ็บปวดและวิธีบรรเทาความเจ็บปวดในผูปวยหลังผาตัดชองทอง. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล.

บรรจง คําหอมกุล และวรรณี สัตยวิวัฒน. (2531). “การพยาบาลฟนฟูสภาพผูมีปญหาเกี่ยวกับกลามเนื้อ กระดูก ขอและประสาท.” ในเอกสารการสอนชุดวิชากรณีเลือกสรรการพยาบาลเพื่อการฟนฟูสภาพ หนวยท่ี 11- 15 เลม 3. (หนา 211-310). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.

บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2547). ระเบียบวิธีวิจัยทางการพยาบาลศาสตร. กรุงเทพฯ: บริษัท ยู แอนด ไออินเตอรมีเดีย จํากัด.

เบญจมาศ ปรีชาคุณ, เบญจวรรณ ธีระเทิดตระกูล บรรณาธิการ. (2546). การพยาบาลผูปวยหลังผาตัดในหองพักฟน. กรุงเทพ ฯ: บริษัท เอ. พี. ลิฟวิ่ง จํากัด.

ปยดา ชูรัตน. (2544). ผลของเทคนิคการผอนคลายกลามเนื้อแบบโปรเกรสซีพตอความเจ็บปวดหลังผาตัดของผูปวยท่ีไดรับการผาตัดกระดูกสันหลัง. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

พิกุล วิญญาเงือก. (2532). ผลของการประยุกตใชทฤษฎีความสําเร็จตามจุดมุงหมายของคิงตอการฟนฟูสภาพหลังผาตัดและความพึงพอใจของผูปวย. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

พงษภารดี เจาฑะเกษตรินและคณะ. (2547). Pain and Management. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 69: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

58

พงษภารด ี เจาฑะเกษตริน และสมพันธ หิญชีระนันทน. (2539). “Pain control and Mannament.” ในวิวัฒนาการวิชาชีพการพยาบาล การประชุมการงานฉลอง 100 ป. โรงเรียนพยาบาลผดุงครรภและอนามัยศิริราช ( คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล). วันที่ 9–11 มกราคม 2539 ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนสปารคกรุงเทพมหานคร.

ลิวรรณ อุนนาภิรักษ. (2546). พยาธิสรีรวิทยาทางการพยาบาล. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

วราภรณ ชัยวัฒน. (2536). ผลของการใชทฤษฏีการพยาบาลของนิวแมนในการพยาบาลผูปวยผาตดัปกกระดูกสันหลังตอระดับความวิตกกังวลและแบบแผนการฟนสภาพหลังผาตัด.วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

วัชรี กล่ินเฟอง. (2535). ผลของการสงเสรมิใหผูปวยมีสวนรวมในการดูแลตนเองตอความวิตกกังวลการมีสวนไดควบคุมตนเองและการฟนสภาพหลัง วิทยานิพนธปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยมหดิล.

วิเชียร เลาหเจริญสมบัติ. (2538). “Low Back Pain.” ใน Orthopaedic Review Course 1985. ภาควิชาออรโทปดิกสและเวชศาสตรฟนฟู และแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี.

----------. (2536). “Evaluation of Low Back Pain Patients.” ใน วิโรจน กวินวงศโกวทิ และววิัฒน วจนะวศิษิฐ (บรรณาธิการ), The Year Book of Orthopaedic Review 1993. (หนา 41-44). กรุงเทพฯ: ไพศาลศิลปการพิมพ.

----------. (2538). “Low Back Pain.” ในสมชัย ปรีชาสุข และคนอื่นๆ(บรรณาธิการ). ออรโธปดิกสฉบับปรงุใหม. (หนา 295-320). กรุงเทพฯ: โฆสิตการพิมพ.

วิวัฒน วจนะวิศิษฐ. (2543). The Year Book of Orthopaedic Review 2006. (หนา 67-71). กรุงเทพฯ: ไพศาลศิลปการพิมพ.

ศรัณยา มีชูทรัพย.(2539). ผลการใชโปรแกรมการบริหารกลามเนื้อตอความรูสึกปวดและความสามารถในการเคลื่อนไหวของขอในผูปวยภายหลังผาตัดหมอนรองกระดูกสันหลัง. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

Page 70: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

59

สมร ทินวงศ. (2533).เปรียบเทียบความเจ็บปวดหลังผาตัดในผูปวยท่ีใชและไมใชการกระตุนปลายประสาทดวยไฟฟาผานผิวหนัง. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลอายุรศาสตรและศัลยศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

สิระยา สัมมาวาจ. (2540). ความพอใจตอการบริการพยาบาลของผูปวยที่รับไวรักษาในหอผูปวยศัลยกรรมสามัญ โรงพยาบาลรามาธิบดี. รามาธิบดีเวชสาร 3. (3) : 286–297.

สุพร พลยานันท. (2528). การพยาบาลผูปวยท่ีไดรับความเจ็บปวด. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแม็คจํากัด.

สมคิด รักษาสัตย. (2531). การพยาบาลผูปวยท่ีถูกจํากัดการเคลื่อนไหว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย.

สมจิต หนุเจริญกุล. (2537). การดูแลตนเอง: ศาสตรและศิลปะทางการพยาบาล. (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัด วี. เจ. พร้ินติ้ง.

----------. (1994). “การขาดแคลนพยาบาลและแนวทางแกไข.” รามาธิบดีเวชสาร. 17 (2): 183-192.

สมจิตร ชัยยะสมุทร. (2536). ผลการเริ่มบริหารขอไหลในเวลาที่ตางกันตอปริมาณสิ่งขับหลั่งจากแผลผาตัดและความเจ็บแผลในผูปวยหลังผาตัดมะเร็งเตานม. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

สมหมาย วนะนานต. (2540). ผลของการสงเสริมใหผูปวยมีสวนรวมในการดูแลตนเองตอการฟนสภาพภายหลังผาตัดกระดูกสันหลังและความพึงพอใจในการพยาบาลที่ได รับ .วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผูใหญ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.

อํานวย อุณนะนันทน. (2542). เร่ืองของกระดูกสันหลัง. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัด วี. เจ. พร้ินติ้ง.

Page 71: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

60

ภาษาอังกฤษ

Bonica, J.J. (1990). Postoperative pain In The Mangement of Pain. Philadelphia: Lea & Febiger.

Brunner, L. S. & Suddarth, D.S. (1988). Textbook of medical surgical nursing. (6thed.) Philadelphia: Lipincott.

Eriksen, L. R. (1987). “Patient satisfact: An indicator of nursing quality.” Nursing Management. 18 (7): 31-37

Feingold, D., Peck, S. A., Reinsma, E. J., & Ruda, S. C. (1991). “Complication of lumber spine surgery.” Orthopaedic Nursing. 10 (4): 39-51.

Footner, A. (1992). Orthopaedic Nursing. (2 nd. ed.). London: Baialliere Lindall.

Fitzpatrick, R. (1991). Survey of patient satisfaction: I-Important general consideration. British Medical Journal. 302 (13): 887-889.

Hickey, V.J. (1997). Neurological and Neurosurgical Nursing. New york: Lippincott.

Hoddock , K. S. (1991). “Characteristics 0f effective discharge planning programs for the frail elderly.” Journal of Gerontological Nursing, 17 (7): 10-13.

Kim, S. H.,et al (1993). “Patient – nurse collaboration: A comparison of patients, and nurses, attitudes in Finland, Japan, Norway and the U.S.A.” International Journal of Nursing Studies. 30 (5): 385 – 400.

Kirkpatrick, J. S ., & Ghavan, C. (1996). “Injuries to the spine column” . In V.R. Masear (Ed.). Primary care orthopaedics. (pp. 50-62). Philadelphia: W. B. Saunders.

Kopp, M. (1997). “Caring for the adult patient undergoing anterior/posterior spinal fusion.” Orthopaedic Nursing. 16 ( 2 ): 55- 59.

Page 72: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

61

La Monica, E. L. Obert, M. T., Madea, A. R. & Wolf, R. M. (1986). “Development of a patient satisfaction scale.” Research in Nursing and Health. 9: 43 – 50.

Long, B.C. (1985). “Postoperative intervention.” In Long,B.C.& Phipps W. J. (Eds.). Essentials of Medical–Surgical Nursing: A Nursing Process Approacd. (pp. 326-348). St. Louis: C.V. Mosby.

Luckmann, J. (1997). Saunders Manual of Nursing Care. Philadelphia: W. B. Saunders Company.

McBride, M., Angela, B. (1967). “Nursing approach, pain, and relief: An exploratory Experiment.” Nursing Research. 16 (4): 337–340.

McCaffaery, L. (1999). Pain: clinical manual. (2nd ed.). St. Louis, U.S.A.: Mosby.

Melzack, & Wall, P. D., R. (Eds). (1994). Textbook of pain. (3d ed.). USA: Churchill Livingtone.

Milde, F, K. (1981). “Physiological immobilization.” In Hart, Ruse & Fearing (Eds), Common to Acute lllness. (pp. 68-101). St. Louis: C . V. Mosby.

Munro, B. H., Jacobsen, B. S. & Brooten, D. A. (1994). “Re – examination of the psychometric characteristics of the La Monica Oberst Patient Satisfaction Scale.” Research in Nursing and Health. 17: 119 – 125.

Naylor , M. D., Munro, B. H. & Brooten, D. A. (1991). “Measuring the effectiveness of nursing practice.” Clinical Nurse Specialist. 5: 210 – 4.

Neatherlin, J. S. & Brillhart, B. (1995). “Body image in preoperative and postoperative lumbar Laminectomy patients.” Journal of Neuroscience Nursing. 27 (1): 43 -46.

Potter, P. A. & Perry, A. G. (1995 ). Basic nursing theory and practice. St. Louis : Mosby.

Polit, D.F. & Hungler, B.P. (1983). Nursing Research:Principles and Methods. Philadelphia: J.B. Lippincott.

Page 73: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

62

Schmidek & Sweet . (2000). Operative Neurosurgical Techniques. Henry H. Schmidek.

Schoen, D. C. (2001). Adult Orthopaedic Nursing. New york : Lippincott.

Smeltzer, S. C., &Bare, B. G. (1996). Brunner and Suddarth’s textbook of medical surgical. (8 thed.) Philadelphia: Lippincott-Raven.

Zahr, L. R.., William, S. G. & EL – Herded, A. (1991). “Patient satisfaction with nursing care in Alexandria, Egypt.” Internation Journal of Nursing Studies. 28 (4): 337 – 341.

Page 74: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

ภาคผนวก

Page 75: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

ภาคผนวก ก รายนามผูทรงคุณวุฒิ

Page 76: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

65

รายนามผูทรงคุณวุฒิ

รายนามผูทรงคุณวุฒใินการตรวจสอบความเที่ยงตรงเนื้อหาของคูมือการเตรียมความพรอมในการจดัทาขึ้น-ลงเตียงและแบบวัดความพึงพอใจที่ผูวิจัยสรางขึน้

1. นายแพทยกลุพัฒน วีรสาร แพทยผูเชีย่วชาญสาขาศัลยกรรมประสาท สถาบันประสาทวิทยา 2. รองศาสตราจารย ดร.วรรณี สัตยวิวัฒน อาจารยประจําภาควิชาการพยาบาล ศัลยศาสตร คณะพยาบาลศาสตร

มหาวิทยาลัยมหิดล 3. รองศาสตราจารย ดร.ผองศรี ศรีมรกต ผูอํานวยการศูนยวจิัย คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 4. นางนลินี พสุคันธภัค รองหัวหนากลุมงานภารกิจบริการ วิชาการ สถาบันประสาทวทิยา 5. อาจารยนรศิรา ครสาคู อาจารยประจําคณะวิทยาสตรสุขภาพ และพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยคริสเตียน

Page 77: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

ภาคผนวก ข การพิทักษสิทธิ์ผูเขารวมวิจัย

Page 78: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

67

คําชี้แจงและการพิทักษสิทธิ์ผูเขารวมวิจัย สวัสดีคะดิฉันนางสาวเจริญศรี เอื้ออารีพันธุ เปนนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร มหา-บัณฑิต สาขาการพยาบาลผูใหญ มหาวิทยาลัยคริสเตียน กําลังทําวิทยานิพนธเร่ืองผลของการจัดทาขึ้น- ลงเตียงตอระดับความปวดและความพึงพอใจในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง ทานเปนบุคคลที่สําคัญยิ่งในการใหขอมูลคร้ังนี้ จึงใครขอความรวมมือจากทานในการเขารวมการวิจยั ดิฉันมีความประสงคจะพทิกัษสิทธิของทาน ในการเขารวมโครงการวิจัยดวยการเซน็ชื่อแสดงความยินยอมเปนลายลักษณอักษร หลังจากดฉิันชี้แจงวัตถุประสงค ขั้นตอนการเก็บขอมูลและระยะเวลาของการวจิัยพรอมทั้งแจงใหทราบถึงสิทธิของทานในการตอบรับ หรือปฎิเสธการเขารวมในการวิจัยคร้ังนี้ ในระหวางการวจิัยหากทานไมพอใจหรือไมตองการเขารวมในการวิจัย ทานสามารถถอนตัวจากการวิจัยไดตลอดเวลาโดยไมมีผลตอการดูแลรักษาที่ทานไดรับและในระหวางการดําเนนิการวจิัย หากทานมีความไมสุขสบายจากอาการปวด ดิฉันจะหยดุการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อใหการชวยเหลือทานทันทีตามมาตรฐานวิชาชีพและเมื่อทานมีอาการดีขึ้น พรอมทั้งยินดีในการใหขอมลูตอไป ดิฉันจะดําเนินการวิจยัตอไปจนจบ ขอมูลตางๆ ของทานที่ไดจากการวิจัยคร้ังนี้ถือเปนความลับและแสดงขอมูลอยูในภาพรวม นอกจากนี้ในระหวางเขารวมวิจยัหากทานมีขอสงสัยใดๆดิฉันยนิดีตอบขอสงสยัตลอดเวลา

ดิฉันหวังวาคงไดรับความอนุเคราะหจากทานเปนอยางดีและขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ดวย

นางสาวเจริญศรี เอื้ออารีพันธุ ผูวิจัย

การทําวิจยัคร้ังนี้อยูในความควบคุมของอาจารย ดร.ศากลุ ชางไม

สํานักบริหารบัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัคริสเตียน

โทรศัพท 0-34229480 ตอ 1402 ขาพเจายนิยอมใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการทําวิจัยในครั้งนี้

ลงชี่อ…………………นามสกุล…………………ผูเขารวมวิจยั

(…………………………………………..…)

ลงชี่อ……………………นามสกุล………………… พยาน

(…………………………………………..….)

วันที…่..เดือน……………………..พ.ศ…………..

Page 79: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

ภาคผนวก ค เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

Page 80: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

69

แบบสอบถามขอมูลสวนบุคคล ผูปวยรายที…่…กลุมท่ี…….H.N…………….. ท่ีอยู………………………………………………... หอผูปวย………………วันท่ีเขาโรงพยาบาล…………………การวินิจฉัยโรค……………………... การผาตดั…………………..……วันท่ีทําผาตัด……………………แพทยท่ีทําผาตดั.........................

1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ 20-30ป 31- 40 ป

41 –50 ป 51- 60ป 61- 70ป 3. การศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา ปริญญาตรีหรือสูงกวา 4.สถานภาพสมรส โสด คู หมาย/ หยาราง 5.อาชีพ งานบาน ผูใชแรงงาน เกษตรกรรม คาขาย รับราชการ อ่ืนๆ ระบ…ุ………. 6. ประสบการณผาตัดกระดกูสันหลัง เคยผาตัด ไมเคยผาตดั 7. ประวัติการใชยาแกปวด ใชประจาํ โปรดระบุ……………..… ไมเคยใช

Page 81: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

ภาคผนวก ง แบบประเมนิความปวด

Page 82: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

71

ภาคผนวก ง แบบประเมินความปวด

ผูปวยรายที…่…………กลุมที่…………..H.N……………….................................................. คําชี้แจง กําหนดใหเสนตรงยาว 10 เซนติเมตรแทนความรูสึกของคะแนนความรูสึกปวดจากการขึน้หรือลงเตียงหลังผาตัดกระดกูสันหลัง ผูวิจัยขอใหทานคิดถึงความรูสึกปวด แลวบอกใหตรงกบัตําแหนงบนเสนตรงนั้นของมาตรวัดความปวดแบบตัวเลข(Numerical rating scale : NRS) ซ่ึงมาตรวัดนี้มกีารแบงตัวเลขตัง้แต 0-10 โดย 0 หมายถึงไมปวดเลย และ 10 หมายถึงปวดมากที่สุด กอนลงจากเตียง

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ไมรูสึกปวดเลย รูสึกปวดปานกลาง รูสึกปวดมากที่สุด

หลังลงจากเตยีง

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ไมรูสึกปวดเลย รูสึกปวดปานกลาง รูสึกปวดมากที่สุด

หลังขึ้นจากเตยีง

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ไมรูสึกปวดเลย รูสึกปวดปานกลาง รูสึกปวดมากที่สุด

Page 83: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

ภาคผนวก จ แบบประเมนิความพึงพอใจตอการจัดทาขึ้น-ลงเตียงในกลุมตัวอยาง

Page 84: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

73

ภาคผนวก จ.

ผูปวยรายที่……………กลุมท่ี…………..H.N……………….................................................

แบบประเมินความพึงพอใจตอการจัดทาขึ้น-ลงเตียงในกลุมตัวอยางที่ผาตัดกระดูกสันหลัง คําชี้แจง : แบบประเมินนี้ตองการทราบความคิดเห็นและความพึงพอใจของผูปวยตอการพยาบาลที่ไดรับจากการจัดทาขึ้น-ลงเตียง ขณะพักรักษาตัวอยูในโรงพยาบาล เพื่อนํามาปรับปรุงคุณภาพในการพยาบาลตอไป ขอมูลที่ไดจากคําตอบของทานจะนํามารวมกับขอมูลของผูอ่ืนและถือเปนความลับขอมูลทั้งหมดจะไมถูกนํามาใชในการพิจารณาความดีความชอบของพยาบาลคนหนึ่งคนใดโดยเฉพาะ และไมเกี่ยวของกับการดูแลรักษาที่ทานจะไดรับจากโรงพยาบาลนี ้

การตอบแบบประเมินความพึงพอใจ แบบประเมินความพึงพอใจแบงเปน 2 ตอนคือแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดทาขึ้น-

ลงเตียงมีคําถามทั้งหมด 4 ขอและแบบประเมินความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลตอการ

จัดทาขึ้น-ลงเตียงมีคําถามทั้งหมด 8 ขอ โดยใหตอบตรงกับความรูสึกของทานมากที่สุดและตอบ

คําถามทุกขอ ๆละ1 คําตอบกลาวคือ กาเครื่องหมาย X ที่ชอง (1) เมื่อทานรูสึกเห็นดวยนอยที่สุด

กาเครื่องหมาย X ที่ชอง (2) เมื่อทานรูสึกเห็นดวยนอย กาเครื่องหมาย X ที่ชอง (3) เมื่อทานรูสึกเห็นดวยปานกลาง กาเครื่องหมาย X ที่ชอง (4) เมื่อทานรูสึกเห็นดวยมาก กาเครื่องหมาย X ที่ชอง (5) เมื่อทานรูสึกเห็นดวยมากที่สุด

ตัวอยาง

ขอความ น อ ยที่สุด 1

นอย

2

ป า นกลาง 3

มาก

4

ม า กที่สุด 5

( ) พยาบาลใหการดูแลทานทุกวัน X

แสดงวา ทานเห็นดวยกับขอความวาพยาบาลใหการดูแลทานทุกวัน

Page 85: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

74

แบบประเมินความพึงพอใจในการชวยเหลือของพยาบาลตอการจัดทาขึ้น-ลงเตียงในกลุมตัวอยางที่ผาตัดกระดูกสันหลังระดับเอว

ขอความ นอยท่ีสุด

1

นอย

2

ปานกลาง

3

มาก

4

มากท่ีสุด

5 1.พยาบาลสนใจที่จะกระตุนใหทานลุกจากเตียง 2.พยาบาลชวยแนะนําทานเกี่ยวกับวิธีการลุกจากเตยีง 3.พยาบาลใหความชวยเหลือทานทุกครั้งที่ลุกขึ้นจากเตยีง 4.พยาบาลมีความอดทนในการดูแลใหทานลุกจากเตียง 5.พยาบาลชวยทานใหลุกขึน้จากเตยีงโดยสนใจอาการปวดของทาน

6.ทานรูสึกมั่นใจที่จะลุกจากเตียงเมื่อมีพยาบาลอยูดวย 7.ทานคิดวาถาลุกจากเตยีงตามวิธีที่พยาบาลแนะนําจะปลอดภัย/ไมเกิดภาวะแทรกซอนได

8.พยาบาลมีการเตรียมความพรอมใหแกทานในการลุกจากเตียงเชนคาดเข็มขัดหรือใสเสื้อพยุงหลัง

การประเมินเกี่ยวกับความพงึพอใจของกลุมตัวอยางในการ

จัดทาขึ้น- ลงเตียง

9.ทานชอบหรอืพึงพอใจที่จะลุกลงจากเตยีงดวยทาที่พยาบาลแนะนํา

10.ทานชอบหรือพึงพอใจที่จะขึ้นนอนบนเตียงดวยทาที่พยาบาลแนะนํา

11. เมื่อทานลุกลงจากเตยีงในทาที่พยาบาลแนะนําจะทําใหเกิดความปวด

12. เมื่อทานขึ้นนอนบนเตียงในทาที่พยาบาลแนะนําจะทาํใหเกิดความปวด

Page 86: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

ภาคผนวก ฉ แผนพับเรื่องการเตรียมความพรอมการลุกขึ้นจากเตียงในผูปวยหลังผาตัด

Page 87: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

76

การเตรียมความพรอมการลุกจากเตียงในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง

จัดทําโดย

น.ส.เจริญศรี เอื้ออารพัีนธุ

นักศึกษาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผูใหญ

มหาวิทยาลยัคริสเตียน

Page 88: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

77

การเตรียมความพรอมการลุกจากเตียงในผูปวยผาตัดกระดูกสันหลัง

ความสําคัญของกระดูกสันหลัง เปนแกนกลางของรางกายเชือ่มตอดวยเอ็น

หมอนรองกระดูกภายในมไีขสันหลังและเสนประสาทจึงมีหนาที่ชวยทรงตัวสําหรับ นั่ง ยืน เดิน และปองกนั

การกระทบกระเทือน กระดูกสันหลังแบงเปน 5 สวนคือ 1. กระดูกสันหลังสวนคอมี 7 ช้ิน 2. กระดูกสันหลังสวนอกมี 12 ช้ิน 3. กระดูกสันหลังสวนเอวมี 5 ช้ิน 4. กระดูกสันหลังสวนกระเบนเหน็บมี 5 ช้ิน 5. กระดูกสันหลังสวนกนกบมี 1 ช้ิน

ผาตดัอยางไร แพทยจะตัดเฉพาะสวนดานหลังของปก

กระดูกสันหลังที่ยื่นไปกดในชองไขสันหลังออกเปนชิ้นเล็ก ๆ เพื่อลดการกดทับของเสนประสาทที่อยูภายในไขสันหลัง

การปฏิบตัิตัว

กอนผาตดั 1. เตรียมความพรอมทางดานรางกายเชน อาบน้ํา ตัดเล็บ ลางสีเล็บที่ทาไวออก

สระผม โกนหนวด แปรงฟน งดแตงหนา ถอดฟนปลอม ถอดเครื่องประดับ งดสูบบุหร่ีอยางนอย 2 สัปดาห งดอาหารและน้ํากอนผาตัดอยางนอย 6 – 8 ช่ัวโมง ฝกหายใจและไอขับเสมหะและการขึ้น-ลงเตียงอยางถูกวิธี

2. เตรียมทางดานจิตใจ พูดคุยและซักถามแพทยหรือพยาบาล เมื่อมีขอสงสัย 3. เซ็นใบยินยอมในการผาตัด

Page 89: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

78

หลังผาตัด 1. นอนพักบนเตียงตามคําแนะนําของแพทยและพยาบาล 2. หามดึงสายตาง ๆที่ติดตัวมาเชน สายสวนปสสาวะ สายน้ําเกลือ สายระบายเลือด 3. ระวังแผลไมใหเปยกน้ําหรือสกปรก 4. รับประทานอาหารครบ 5 หมูโดยเฉพาะอาหารจําพวกเนื้อสัตว 5. ถามีอาการผิดปกติแจงใหพยาบาลทราบเชน แขน – ขาออนแรง ปวดมากขึ้น 6. สวมใสอุปกรณพยุงหลังตามคําแนะนําของแพทยหรือพยาบาล 7. ขึ้น - ลงเตียงตามคําแนะนําของแพทยและพยาบาล 8. หลีกเลี่ยงการนั่ง ยกเวนเวลาขับถายนั่งบนโถสวมชักโครก 9. ออกกําลังกายตามความเหมาะสม 10. ควรหลีกเลี่ยงดังตอไปนี้

- การเอี้ยวหรือบิดเอว - การยก ลาก แบกของหนักไมเกิน 4 กิโลกรัมภายใน 3-4 สัปดาหแรก - การเอื้อมหยิบของบนที่สูงอยางนอย 4 สัปดาห - เลนกีฬาที่ปะทะ เชน ฟุตบอล บาสเก็ตบอล - ขับรถทางไกลอยางนอย 6- 8 สัปดาห

การฝกหายใจที่ถูกวิธี 1 . วางมือบนหนาอก 2 . คอย ๆ หายใจออกยาว ๆ ใหเต็มที่ 3 . หายใจเขายาว ๆ ลึก ๆ กล้ันหายใจไวหามเบงนับ 1 - 5 แลวคอย ๆปลอยลมหายใจ

ออกทั้งทางจมูก และปาก 4 . ทําซ้ําประมาณ 15 คร้ัง ในขณะฝกหายใจ 5 คร้ัง ติดตอกัน ควรฝกวันละ 2 รอบ

การฝกขับเสมะอยางถูกวิธี 1. ประสานมือทั้งสองขางและวางบริเวณหนาทอง 2. คอย ๆ หายใจออกยาว ๆ ใหเต็มที่ 3. หายใจเขายาวๆลึกๆกล้ันหายใจไวหามเบงนับ 1- 5แลวคอย ๆ ปลอยลมหายใจออก 4. อาปากหายใจเขาลึก ๆ

Page 90: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

79

การออกกําลังกาย - นอนราบ เหยียดขา กระดกขอเทา

ขึ้นใหมากที่สุด และคางไวนับ 1-5 ทําขางละ 5 คร้ัง - นอนราบหลังแนบกับพื้น งอเขา และ

สะโพกคางไวแลวเหยียดออก นับ 1- 5 แลววางลง ทําขางละ 5 คร้ัง

- เหยียดขา ยกทีละขางคางไวนับ 1-5แลววางลง ทําขางละ 5 คร้ัง

- นอนชันเขาทั้งสองขาง ยกศีรษะ และไหลขึ้นคางไว นับ 1- 5 แลววางลงทําซ้ํา 5 คร้ัง

ประโยชนของการลุกเดิน ปองกันภาวะแทรกซอนในระบบตาง ๆ ดังนี้

1. ระบบทางเดินหายใจเชน ปอดแฟบ ปอดอักเสบ ( Pneumonia )

2. ระบบหัวใจและหลอดเลือด เชน หลอดเลือดดําอักเสบ

3. ระบบทางเดินอาหารเชน คล่ืนไส อาเจียน ทองอืด ทองผูก 4. ระบบทางเดินปสสาวะ 5. ระบบกลามเนือ้และกระดูกเชน กลามเนื้อลีบออนแรง ขอติดแข็ง

ทานเตรียมตัวอยางไร 1. ใสเสื้อพยุงหลัง (ถามี) ทาในการลุกม ี2 ทาดังนี ้ทาดานหนาลงเตียงโดย นอนตะแคงหนาชิดขอบเตียงดานที่

จะลง ใชมือขางที่ติดกับที่นอนยันตัวลุกขึ้นนั่งพรอมทั้งหยอนเทาลงขางเตียงใหหลังตรง คอย ๆ หยอนเทาลงพื้นหลังจากนั้นลุกขึ้นยืนขางเตียงแยกเทาออกเล็กนอยลงน้ําหนักไปยังฝาเทาทั้งสองขาง

ทาดานหลังลงเตียงโดย นอนคว่ําชิดขอบเตียงดานที่จะลงและคอย ๆ หยอนเทาลงพื้น เมื่อเทาลงพื้นทั้งสองขางใชมือยันที่นอนดันตัวลุกขึ้นจากเตียงใหหลังตรง แยกเทาออกเล็กนอยลงน้ําหนักไปยังฝาเทาทั้งสองขาง

Page 91: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

80

การจัดทาขึน้ - ลงดวยทาดานหนา

(1)

Page 92: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

81

Page 93: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

82

การจัดทาขึ้น - ลงดวยทาดานหลัง

Page 94: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

83

(3)

Page 95: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

ภาคผนวก ช ผลการวิเคราะหขอมลูทางสถิติ

Page 96: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

88

RELIABILITY ANALYSIS – SCALE (ALPHA) Reliability Coefficients N of Case = 20 N of Item = 24 Alpha = .78

Page 97: วิทยานิพนธ นี้เป นส วนหนึ่งของการศ ึกษาตามหล ักสูตรพยาบาล ...library.christian.ac.th/thesis/document/T022073.pdf ·

ประวัติผูวิจัย ช่ือ-นามสกุล นางสาวเจริญศรี เอื้ออารีพันธุ วัน เดือน ป เกดิ 8 สิงหาคม พ.ศ.2507 สถานที่เกิด กรุงเทพมหานคร ประวัติการศึกษา มัธยมศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม ป พ.ศ.2526 ประกาศนยีบตัรพยาบาลและผดุงครรภ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี ป พ.ศ.2528 พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีจักรีรัช ป พ.ศ.2540 ประวัติการทํางาน ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 7 หอผูปวยพเิศษศัลยกรรม สถาบันประสาทวิทยา