การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา...

219
การสืบทอดพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) . เชียงใหม LELAY OF LANNA BUDDHIST ARTS : A CASE STUDY OF WAT SAEN MUANG MA LUANG (HUAKHUANG CHIANGMAI) นายไตรภพ สุทธเขต วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๕๒

Upload: others

Post on 31-Mar-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

การสืบทอดพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จ. เชียงใหม

LELAY OF LANNA BUDDHIST ARTS : A CASE STUDY OF WAT SAEN MUANG MA LUANG (HUAKHUANG CHIANGMAI)

นายไตรภพ สุทธเขต

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหน่ึงของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๕๒

Page 2: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

การสืบทอดพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หวัขวง) จ. เชยีงใหม

นายไตรภพ สุทธเขต

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหน่ึงของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๕๒

(ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลยัมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย)

Page 3: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

Lelay of Lanna Buddhist Arts : A Case Study of Wat Saen Muang Ma Luang (Huakhuang Chiangmai)

Mr. Tripobs Suttakat

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirement for the Degree of

Master of Arts (Buddhist Studies)

Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University

Thailand

Page 4: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ
Page 5: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

ชื่อวิทยานิพนธ : การสืบทอดพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จ. เชียงใหม ผูวิจัย : นายไตรภพ สุทธเขต ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑติ (พระพุทธศาสนา) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ : พระมหาบุญชวย สิรินธโร, ดร. ประธานกรรมการ : พระมหาสงา ธีรสํวโร กรรมการ : นายอํานวย กนัทะอินทร กรรมการ วันสําเร็จการศึกษา : ๑๗ เมษายน ๒๕๕๓

บทคัดยอ การศึกษาวิทยานิพนธเร่ือง การสืบทอดพุทธศิลปลานนา: กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมา

หลวง (หัวขวง) จ. เชียงใหม มีวัตถุประสงคเพื่อการศึกษาประวัติและพัฒนาการของพุทธศิลปในลานนา และศึกษาการสืบทอดงานชางพุทธศิลปะในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)

จากการศึกษาวิจัยพบวา ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปต้ังแตจากอินเดีย พุทธศิลปท่ีพบคือ การสรางพระธาตุเจดียท่ีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และสังเวชนียสถาน หลังพุทธกาลสมัยพระเจาเมนันเดอร ทรงสรางพระพุทธรูปแทนรูปเคารพของเทพเจา สมัยพระเจากนิษกะ การสรางพระพุทธรูปในเขตคันธาระและอาฟกานิสถาน เรียกพุทธรูปสมัยนี้วา “คันธาระ” ตอมาพุทธศิลปไดขยายการสรางมาถึงภูมิภาคเอเชียอาคเนย

ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในประเทศไทย สมัย “ทวารวดี” พุทธศิลปท่ีพบเปนหินแกะสลักเปนเสมาธรรมจักร ไดรับอิทธิพลจากอินเดียสมัยคุปตะ ตอมาพุทธศิลปไดแบงออกเปนสมัยตาง ๆ คือ ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อูทอง อยุธยา และรัตนโกสินทร ในสมัยรัตนโกสินทรพุทธศิลปมีความหลากหลายไมวาจะเปนศิลปะแบบจีน และเปดรับศิลปะจากตะวันตกเขามาผสมผสานกับพุทธศิลป

ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในลานนา เร่ิมจากการกอต้ังอาณาจักรลานนา พบพุทธศิลปเชียงแสนคือ พระสิงห ตอมาแควนหริภุญชัยพระนางจามเทวีไดกลุมชางฝมือจากเมืองลพบุรีเปนอิทธิผลการสรางงานชางพุทธศิลปแบบทวาราวดี เมืองเชียงใหมสมัยพญากือนา พุทธศิลปไดรับอิทธิผลจากเมืองสุโขทัย และไดสรางวัดวาอารามเปนจํานวนมาก พุทธศิลปคงมี

Page 6: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

การกอสรางเพ่ิมข้ึนอีกจํานวนมาก โดยไดรับการอุปถัมภจากพระมหากษัตริยและเจาขุนมูลนาย กอนอาณาจักรลานนาตกอยูใตอํานาจของพมา

การศึกษาการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง เปนการสืบทอดงานชางพุทธศิลป คือ งานชางไมท่ีเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา เรียกวา “งานชางพุทธศิลป” งานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง การสืบทอดงานชางพุทธศิลป ภายในวัดแสนเมืองมาหลวง ไดมีความมุงหมาย ในการเรียนรูและฝกหัดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ – สามเณร คือ

๑. เพื่อเปนพุทธบูชา โดยอาศัยงาน “พุทธศิลป” เปนส่ือกลางระหวางบุคคลในการเขาถึงแกนพุทธธรรม โดยมีศรัทธา เปนตัวเช่ือมของการสรางงานชางพุทธศิลป

๒. เพื่อการศึกษาพุทธศิลป งานชางพุทธศิลปท่ีสรางสรรคข้ึน มีหลายรูปแบบ หลายขนาด และสรางข้ึนตามประโยชนการใชสอย

๓. เพื่อเอาพุทธศิลปกลับเขามาสูวัด “ตองการเอางานชางพุทธศิลป” กลับเขามาสูการเรียนรูภายในวัด โดยมีพระภิกษุสงฆเปนครูส่ังสอน

Page 7: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

Thesis Title : Lelay of Lanna Buddhist Arts : Case of Study Wat Saen Muang Ma Luang (Hua Khuang) Chiangmai

Researcher : Mr. Tripobs Suttakat Degree : Master of Arts (Buddhist Studies) Thesis Supervisory Committee : Prakup Pipitsutathon : Phramaha Sa-nga Terasangwaro : Mr. Amnauy Kantain Date of Graduation : 17 April 2010

Abstract

The Study of the thesis relaying Lanna Buddhist Art: Wat Saen Muang Ma Luang (HuaKhuang) Chiangmai, is to have the aim in studying the history and developed of Buddhism Arts of Lanna and study the relay of Buddhist arts Work of Wat Saen Muang Ma Luang (HuaKhuang)

The study found that the history and development of Buddhist art has been influenced from India. The Buddhist art that we found are the building of pagoda that contain the relics of Lord Buddha and the place of Lord Buddha’s birth, enlightenment and first sermon. After BC. In the period of Lord Menander. He built the Buddha images in stead of the god images. In the period of Lord Kanissaka, the building of Buddha images in Kantara areas and Afghanistan called this image as “Kantara” and then it expanded the area to South East Asia.

The history and development of Buddhist Art in Thailand in Tawarawadee periods. The art that we found are stone carving of boundary marker in a temple which received the influence from India in Kupta periods. The Buddhist art was divided in each era. That was Sriwichai Lopburi Chiangsan Sukhothai Uthong Ayutthaya and Rattanakosin. In the Rattanakosin era, Buddhist art had the variation of appearance such as the Chinese art and the Western art combination with the Buddhist art.

The history and development of Lanna Buddhist Art was started when established Lanna region. We found “Pra-Sing” as the Chiangsan Buddhist Art. The next period in

Page 8: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

Haribhunchai region, Her Majesty Jammathewee gained the skilled craftsman from Lopburi which created the Tarawadee Buddhism Art. Chiangmai region in the period of Phayakuena, it was influenced by Sukhothai region and built the enormous of temples at that time by the kings and the masters before governed by Burma as a colony.

The study of the relaying of the skilled craftsmen about the Buddhist art at Wat Saen Muang Ma Luang (HuaKhuang) is the relay of the Buddhist art that was woodcraft related Buddhism art call “Buddhist arts craft”. Buddhist arts craft in Wat Saen Muang Ma Luang (HuaKhuang) was for learning motivation and to practice Buddhist arts craft for Buddhist monk and a Buddhist novice,

1. To be offering to Buddha, by using “Buddhist arts craft” to be the medium during person to reach the core of Buddhist moral code. That has faith to be a welder of Buddhist arts building.

2. To be learning Buddhist art, “Buddhist arts craft” that was built, there are many formats, many sizes and it was built usefully.

3. To bring Buddhist art back into the temple, back to the learning and it was educated by the teacher, Buddhist monk.

Page 9: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาวิทยานิพนธเร่ืองการสืบทอดพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จ. เชียงใหม มีวัตถุประสงคในการศึกษาคือเพื่อการศึกษาประวัติและพัฒนาการของพุทธศิลปในลานนาและศึกษาการสืบทอดงานชางพุทธศิลปะในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)

ในการศึกษางานวิทยานิพนธคร้ังนี้ ขาพเจาไดรับกําลังใจจากหลาย ๆ ทานคือคุณพอมา-คุณแมโมน สุทธเขต ผูใหกําเนิด

กราบขอบคุณพระครูสุจิณนันทกิจ (สมคิด จรณธมฺโม) เจาอาวาสวัดโปงคํา ตําบลดูพงษ อําเภอสันติสุข จังหวัดนาน ผูแนะนําใหขาพเจารูจักพระพุทธศาสนา

กราบขอบคุณหลวงพอครูบาแอ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร เจาอาวาสวัดแสนเมืองมาหลวงหัวขวงและครูพระชาง ท่ีประสิทธิประศาสตรงานชางพุทธศิลปใหกับขาพเจา

กราบขอบคุณพระครูพิพิธสุตาทร (พระมหาบุญชวย สิรินธโร)ท่ีเมตตา พระมหาสงา ธีรสังวโร เจาอาวาสวัดผาลาด(สกิทาคามี)พระอาจารยท่ีเอ้ืออาทรใหกําลังใจใหคําปรึกษาแดขาพเจา

กราบขอบคุณพระภิกษุ – สามเณร ในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ทุกรูปท่ีเมตตาและเปนกัลยาณมิตรใหกับขาพเจา

ขอขอบคุณ คุณยายจุก , คุณครูภัทร , คุณยายวิไลและคุณวราลักษณ (พี่กอย) เศรษฐเสถียร

ขอบคุณ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม ท่ีใหโอกาสขาพเจาในการศึกษาหาความรูและใหชีวิตแดขาพเจา งานวิทยานิพนธเลมนี้ขาพเจาขอมอบถวายเปนพุทธบูชาไวในพระพุทธศาสนา ท่ังนี้หากมีขอความใดขาดตกบกพรอง ขาพเจาก็ขอรับผิดชอบแตเพียงผูเดียว หวังเปนอยางยิ่งวาการศึกษางานวิทยานิพนธเลมนี้คงจะมีสวนในการสืบทอดพระพุทธศาสนาและสืบทอดงานชางพุทธศิลป

นายไตรภพ สุทธเขต ๑๔ เมษายน ๒๕๕๓

Page 10: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

สารบัญ เร่ือง หนา บทคัดยอภาษาไทย ก บทคัดยอภาษาอังกฤษ ค กิตติกรรมประกาศ จ สารบัญ ฉ สารบัญตาราง ฌ

บทท่ี ๑ ความเปนมาและความสําคญัของปญหา ๑

วัตถุประสงคของการวิจยั ๖ ปญหาท่ีตองการทราบ ๖ ขอบเขตการศึกษา ๖ นิยามศัพท ๗ ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเกีย่วของ ๗ วิธีการดําเนนิวจิัย ๘ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ๙

บทท่ี ๒ ประวัติและพฒันาการพุทธศิลป ๑๐

ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในอินเดยี ๑๑ - สมัยพุทธกาล ๑๑ - สมัยหลังพุทธกาล ๑๖ ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในเมืองไทย ๓๒ - สมัยสุวรรณภูมิ ๓๔ - สมัยทวารวด ี ๓๕ - สมัยศรีวิชัย ๓๗ - สมัยลพบุรี ๓๙ - สมัยเชียงแสน ๔๐ - สมัยสุโขทัย ๔๒ - สมัยอูทอง ๔๕

Page 11: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

- สมัยอยุธยา ๔๗ - สมัยรัตนโกสินทร ๕๐ บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป ๖๑ บทสรุปการสืบทอดพุทธศิลป ๖๒

บทท่ี ๓ พัฒนาการพุทธศิลปลานนา ๗๘

ประวัติศาสตรอาณาจักรลานนา ๗๘ ชุมชนดั้งเดิมของอาณาจักรลานนา ๗๙ ๑. แควนโยนก ๘๐ ๒. แควนหริภญุชัย ๘๒

พัฒนาการและการสืบทอดพุทธศิลปหริภญุชัย – เชียงแสน ๘๖ พัฒนาการและการสืบทอดพุทธศิลปสุโขทัย ๘๙ พัฒนาการและการสืบทอดพุทธศิลปพมา ๑๐๒ พัฒนาการและการสืบทอดพุทธศิลปกรุงรัตนโกสินทร ๑๐๖ บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป ๑๐๖ บทสรุปการสืบทอดพุทธศิลป ๑๐๙

บทท่ี ๔ การสืบทอดพุทธศิลป ณ วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ๑๑๙

ประวัติวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ๑๒๐ ประวัติพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ๑๒๑ ประวัติการสรางสรรคงานชางพุทธศิลป ๑๒๓ แนวคิดของพระสงฆกับการสรางงานพุทธศิลป ๑๒๔ จุดมุงหมายการสรางและการสืบทอดงานชางพุทธศิลป ๑๒๘ กระบวนการสืบทอดงานชางพุทธศิลป ๑๒๙ การวิเคราะหผลการศึกษา ๑๓๑ ประโยชนการสรางงานพุทธศิลป ๑๓๒

บทท่ี ๕ สรุปผล อภปิรายผลการศึกษา ๑๓๗

ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในอินเดยี ๑๓๘ ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในเมืองไทย ๑๔๖ บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป ๑๖๐

Page 12: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

บทสรุปการสืบทอดพุทธศิลป ๑๖๑ การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวดัแสนเมอืงมาหลวง (หวัขวง) ๑๖๒ อภิปรายผลการศึกษา ๑๗๑ ขอเสนอแนะทางการศึกษา ๑๗๔

บรรณานุกรม ๑๗๕

ภาคผนวก ๑๗๙

ประวัติผูเขียน ๒๐๖

Page 13: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา ตารางท่ี ๑ แสดงพุทธศิลปในอินเดียและพุทธศิลปในเมืองไทย ๖๔ ตารางท่ี ๒ แสดงพัฒนาการพุทธศิลปในเมืองไทย ๗๐ ตารางท่ี ๓ บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลปลานนา ๑๑๓

Page 14: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

บทที่ ๑ บทนํา

ความเปนมาและความสําคญัของปญหา พระพุทธศาสนา มีแนวทางประพฤติปฏิบัติ เพื่อการเขาถึงเปาหมายตามหลักพุทธศาสนา คือ พระนิพพาน พระพุทธองคทรงวางแนวทางไวใหแกพุทธบริษัท ภายหลังพุทธปรินิพพาน พุทธบริษัทตองการนอมระลึกถึงพระพุทธคุณของพระองค และปรารถนาท่ีจะแสดงความเคารพสักการะบูชา ดั่งทานพระอานนททูลถามพระพุทธองค๑ พระพุทธองคตรัสถึง สังเวชนียสถาน๒ คือ สถานท่ีประสูติ ตรัสรู แสดงปฐมเทศนา และปรินิพพาน เปนสถานท่ีระลึกถึงพระพุทธองคภายหลังมีพระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ๘ แหง๓ เรียกวา “ธาตุเจดีย” เปนสถานท่ีเคารพสักการะบูชาของพุทธบริษัท ส่ิงกอสรางท่ีเรียกวา “พุทธสถาน” คงไดรับการดูแลรักษา การทํานุบํารุง และการประดับประดาเพ่ือใหเกิดความเล่ือมใส ตามแนวคิดและจิตนาการของพุทธบริษัท ตอมาก็พัฒนาการมาเปนงานศิลปกรรมของพระพุทธศาสนา รวมเรียกวา “พุทธศิลป หรือ พุทธศิลปะ”๔

พุทธศิลปเปนการสรางสรรคข้ึนตามความเล่ือมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาขณะน้ันชมพูทวีปยังไมนิยมการสรางรูปเคารพ จึงปรากฏแตรูปอ่ืนเปนสัญลักษณของพระพุทธศาสนา เชน ธรรมจักร๕ ดอกบัว รูปฉัตร รูปโคม รูปบัลลังกวาง คร้ันถึงการสังคายนาคร้ังท่ี ๓ สมัย

๑ที.ม.(ไทย) ๑๐/ ๑๕๐/๒๐๒. ๒สมพร ไชยภูมิธรรม, ปางพระพุทธรูป, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพตนธรรม, ๒๕๔๓), หนา

๑๘. ๓ที.ม. (ไทย) ๒/๑๗๙/๒๓๘ กลาวไววา โทณพราหมณ แบงพระบรมสารีริกธาตุออกเปน ๘ สวน

ประดิษฐาน ณ แควนมคธ, กรุงเวสาลี, กรุงกบิลพัสดุ, กรุงอัลลกัปปะ, กรุงรามคาม, กรุงเวฏฐทีปกะ, กรุงปาวา, กรุงกุสินารา, เรียกวา ธาตุเจดีย ทั้งน้ีกษัตริยเมืองปบผลิวันไปชา ทรงไดพระอังคารและโทณพราหมณไดทะนาน ไปสรางสถูปบรรจุที่เมืองปบผลิวันและกรุงกุสินารา สถูปทั้งสอง เรียกวา บริโภคเจดีย.

๔เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา, (ฉบับมุขปาฐะ ภาค ๑) (กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๑๐๘.

๕พระมหาวิชาญ เล่ียวเส็ง, “พุทธศิลปกับการทองเท่ียว : ศึกษาบทบาทของวัดในการอนุรักษพุทธศิลป เพ่ือการทองเที่ยว”, วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล), ๒๕๔๔.), หนา ๑๗.

Page 15: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

พระเจาอโศกมหาราชพระองคทรงแสดงตนเปนพุทธมามกะ อุปภัมถพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองเปนอยางมากท่ีสําคัญไดรวมกับพระโมคคัลลีบุตร จัดสงพระสมณทูตไปเผยแผพระพุทธศาสนายังดินแดนตาง ๆ จํานวน ๙ สาย สายท่ี ๘ มีพระโสณะและพระอุตตระ ไดเดินทางมายังสุวรรณภูมิ๖ ทําใหพระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองและต้ังม่ันในดินแดนสุวรรณภูมิ แตดินแดนแหงนี้ยังมีปญหาวาศูนยกลางอยูท่ีไหน กลุมคนไทยเช่ือวา ไดแก นครปฐม ปรากฏหลักฐานท่ีสําคัญคือพบพระพุทธรูปศิลาขาว๗ ท้ังนี้ยังพบวัดโบราณอีก เชน วัดพระงาม วัดเมรุ วัดธรรมศาลา และเจดียท่ีสําคัญคือองคพระปฐมเจดีย เช่ือวาเปนอิทธิพลของพระพุทธศาสนา จากการเผยแผของพระสมณทูตคร้ังนั้น

เม่ือพระพุทธศาสนาตั้งม่ันในดินแดนสุวรรณภูมิ ความเจริญของพระพุทธศาสนายอมสงอิทธิพลตอกลุมชนตาง ๆ รวมท้ังอาณาจักรท่ีเกิดข้ึนชวงนั้นดวย เชน อาณาจักรทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี สุโขทัย และลานนา อาณาจักรลานนาศูนยกลางอยูท่ี “นวปุรีศรีนครพิงคเชียงใหม”๘ โดยมีพญามังราย (เม็งราย)เปนปฐมกษัตริย พระองคทรงเล่ือมใสพระพุทธศาสนา รวมถึงกษัตริย ราชวงคมังรายแทบทุกพระองค ทรงอุปถัมภพระพุทธศาสนา เชน พญามังรายทรงโปรดตําหนกัใหเปน “วัด” คือ วัดเชียงม่ัน พญากือนา ทรงนิมนตพระสุมนะจากสุโขทัยข้ึนมาเผยแผในลานนา คร้ันมาถึงลําพูนก็ไดดําเนินการบูรณะสถูปท่ีวัดพระยืน และสรางพระพุทธรูปเพิ่มอีก ๓ องค เปนพุทธศิลปสุโขทัยแบบลังกา พรอมท้ังอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐาน ณ วัดสวนดอกและวัดพระธาตุดอยสุเทพ พญาแสนเมืองมา ทรงสรางวัดเจดียหลวง และพญาติโลกราชทรงสรางวัดโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) และทรงอุปภัมภการสังคายนา คร้ังท่ี ๘ ในอาณาจักรลานนา๙ ประวัติศาสตรลานนาระบุวา พระพุทธศาสนาขณะนั้นมีอยู ๓ นิกาย คือ นิกายเดิม นิกายพระสุมนะจากสุโขทัย และนิกายใหมจากลังกา๑๐ หรืออาจจะมีมหายาน๑๑ ปะปนอยูดวย จึงทําใหเกิดความนิยมสรางงานพุทธศิลปลานนา หลากหลายรูปแบบดวยกัน ดังปรากฏหลักฐานอยูจนถึง

๖สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬา

ลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๓๔), หนา ๑๕. เสนอวา สุวรรณภูมิ คือเอเชียตะวันออกทั้งหมด คือ พมา มลายู ไทย และเขมร เพราะสุวรรณภูมิยังเปนเรื่องถกเถียงกันอยู.

๗เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๓. พระพุทธรูปศิลาขาว เช่ือวาเปนศิลปะสมัยทวารวดี พบที่นครปฐม ๓ องค และที่อยุธยาอีก ๑ องค.

๘อางแลว, หนา ๔๕. ๙สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬา

ลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๕๐. ๑๐เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๙. ๑๑อางแลว, หนา ๔๕ - ๔๖

Page 16: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

ปจจุบัน เชน สถูปท่ีเกาแกท่ีสุดคือ สันกู ซากวิหารบนดอยสุเทพ ระบุวาเปนศิลปะสกุลชางหริกุญไชย๑๒ หรืองานพุทธศิลปท่ีไดรับอิทธิพลจากรูปแบบเชียงแสนและหริภุญชัย มีหลายแหงท้ังท่ีเปนพระวิหารและเจดีย เชน วัดเจดียเหล่ียม วัดอีกาง และวัดธาตุนอย เปนตน ในสมัยพญากือนามีการนําเอาพระพุทธศาสนาและพุทธศิลป แบบสุโขทัยเขาสูลานนา มีการสรางวัดวาอารามชวงเวลานี้เปนจํานวนมาก ตอมาสถาปตยกรรมแบบสุโขทัยจึงมีอิทธิพลตอรูปแบบงานสถาปตยกรรมเชียงใหม เชน การวางผัง รูปแบบอาคาร วัด อุโบสถ และเจดีย ไดสงผลใหสกุลชางเชียงใหมสมัยนั้นสังเคราะหรูปแบบมาเปนสกุลชางศิลปะเชียงใหมข้ึน เม่ือพระมหากษัตริยทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาโดยการสรางวัดวาอารามหรือทรงออกผนวช ไดสงผลใหเจาขุนมูลนายระดับตาง ๆ เจริญรอยตาม จึงปรากฏหลักฐานวา มีการสรางวัดและมีการบวชนาคหลวงสมัยพญาเมืองแกวจํานวน ๑,๒๐๐ รูป๑๓ สําหรับการสรางวัดมีลักษณะคือ เม่ือมีการตั้งถ่ินฐานเปนชุมชน ๆ เหลานั้นก็นิยมสรางวัดใหเปนของตนเอง ดังนั้นลักษณะพุทธศิลปของวัดตาง ๆ จึงไดรับอิทธิพลจากหลายชุมชน ท้ังนี้ยังไดรับการสนับสนุนอุปภัมภจากเจาขุนมูลนาย จากรายนามชื่อวัดสามารถบงบอกถึงระดับของขุนนาง เชน ขุนนางระดับนายพัน ไดแก วัดพันอน วัดพันแหวน วัดพันเตา หรือขุนนางระดับนายหม่ืน ไดแก วัดหม่ืนสาร วัดหม่ืนกอง (วัดหม่ืนเงินกอง) วัดหม่ืนตูม นอกจากนี้ยังมีชุมชนท่ีเปนกลุมสกุลชางฝมือหรือขุนนางระดับตํ่า เรียกวา “พวก” กับ “ชาง” ๑๔ กลุมพวก เปนกลุมท่ีมีความสามารถและทําหนาท่ีพิเศษมีชุมชนและ วัดเปนของตนเอง เชน วัดพวกเก็ด วัดพวกแตม (แตม - วาดรูป เขียนรูป) วัดพวกชาง วัดพวกหงษ (ชางฝมือทําหงษตกแตงวัด) สวนกลุมสกุลชางฝมือ ก็เปนกลุมท่ีมีความสามารถและหนาท่ีพิเศษเชนกัน เชน วัดชางคํา (ชางทําทอง) วัดชางเค่ียน (เค่ียน – กลึง) วัดชางทอง (ชางทําเคร่ืองทองเหลือง) จากรายนามชื่อของวัดเหลานี้ สามารถบงบอกถึงความเปนงานชางฝมือแขนงตาง ๆ และการต้ังถ่ินฐานของกลุมชุมชนลานนาไดอยางชัดเจน

เม่ือชุมชนมี “วัด” เปนของตนเอง พระภิกษุ สามเณรก็คงเปนบุตรหลานในชุมชน กลุมสกุลชางฝมือ หรือ บุตรหลานของขุนนางท่ีอุปถัมภวัดนั้น ๆ วัดจึงเปนสถานท่ีพบปะและทํา

๑๒วิฑูรย เหล่ียวรุงเรื่อง, สถาปตยกรรมเชียงใหม, (คณะสถาปตยกรรมศาสตร :มหาวิทยาลัย

เชียงใหม, ๒๕๔๓), หนา ๑๑๘. ๑๓สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬา

ลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๕๐. ๑๔วิฑูรย เหล่ียวรุงเรื่อง, สถาปตยกรรมเชียงใหม,(คณะสถาปตยกรรมศาสตร. มหาวิทยาลัย

เชียงใหม, ๒๕๔๓), หนา ๑๒๐.

Page 17: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

กิจกรรมของชุมชน ดังศาสตราจารยโชติ กัลยาณมิตร๑๕ กลาววา “ในอดีตนั้นวัดเปนศูนยกลางของสมาคม (ชุมชน) เปนสถานท่ีใหการศึกษาทุกระดับ ต้ังแตเร่ิมตนหัดเขียนและอาน เปนแหลงควบคุมจริยธรรมของสวนรวม เปนท่ีสอนความรูทางพระพุทธศาสนา เปนศูนยทองถ่ิน เปนท่ีปูพื้นฐานทางดานศิลปะ เปนแหลงใหเกิดการสรางสรรคในทางศิลปะสําคัญ” ดังนั้นวัดจึงเปนแหลงเรียนรูของชุมชน โดยเฉพาะงานชางศิลปะ เพราะการสรางสรรควัดใหมีความสวยงามก็เปนเร่ืองสําคัญ นอกจากจะเปนสถานท่ีบําเพ็ญบุญแลว วัดยังเปนหนาตาของชุมชนอีกดวย การสรางวัดใหสวยงามตามความเช่ือและตามความนิยมของศิลปะในชุมชนจึงเปนเร่ืองสําคัญเชนกัน เม่ือวัดเปนแหลงเรียนรูและเปนศูนยรวมงานชางแขนงตาง ๆ แลวพระภิกษุ สามเณร ก็คงมีฝมือทางชางไมนอย ดังพัทยา สายหู๑๖ กลาววา “ครูสอนวิชาตาง ๆ นี้ไดนอกจากจะเปนชาวบาน บางคนอาจเปนพระท่ีวัดซ่ึงเคยเปนชางหรือหมอทางใดทางหนึ่งมากอนบวช หรือมาฝกฝนวิชาดวยการปฏิบัติระหวางบวชจนไดช่ือวาเปนผูชํานาญ” ความเปนชางฝมือนั้น เรียกวา พระชางหรือชีชาง ๑๗ ท่ีมีฝมือในแขนงงานชางตางๆ คงมีจํานวนมาก การจะเปนผูสรางงานพุทธศิลปยอมมีความรูทางพระพุทธศาสนา หรือผานการบวชเรียนมา ดังนั้นจึงไมนาแปลกใจท่ีนายชาง หรือสถาปนิก ท่ีชาวลานนามีศัพทเฉพาะวา สลา๑๘ ในอดีตจึงเปนพระภิกษุสงฆเสียสวนมาก แสดงวาพระภิกษุท่ีเปนชางฝมือมีอยูแลวในอดีต เม่ือวัดเปนท่ีพบปะสังสรรคของชุมชมและเปนแหลงใหการศึกษาของชุมชน รวมท้ังการศึกษาสืบทอดงานศิลปะหรือแขนงชางตาง ๆ ดวย ดังมีคําพูดวา “วัดเปนผูสรางศิลปะและเปนผูสืบตอศิลป” ๑๙ หรือ“ชุมชนใดไมมีวัดชุมชนนั้นไมมีพัฒนาการในดานศิลปะ” ๒๐

ตอมาในรัชกาลท่ี ๕ มีการเรงพัฒนาสยามประเทศ ใหเทาเทียมกับนานาประเทศในหลาย ๆ ดาน เชน คมนาคม การศึกษา ไปรษณีย การประปา เปนตน โดยเฉพาะในดาน

๑๕โชติ กัลยาณมิตร, สถาปตยกรรมแบบไทยเดิม,สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูประถัมภ,

(กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร, ๒๕๓๙), หนา ๑๒. ๑๖พัทยา สายหู, การศึกษาในวิถีชีวิตไทย, สารานุกรมวัฒนธรรมไทย (ภาคกลาง เลม ๑) (พิมพ

เน่ืองในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ, ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒), หนา. ๓๓๔. ๑๗วิบูลย ล่ีสุวรรณ, ศิลปสมัยใหมและศิลปรวมสมัยในเมืองไทย,(คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัย

ศิลปากร : กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๒), หนา ๔๔. ๑๘หนังสือวัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญาจังหวัดเชียงใหม.

(พิมพเน่ืองในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ,๕ ธันวาคม ๒๕๔๒), หนา ๑๓๐. ๑๙วุฒิชัย มูลศิลป, เม่ือเร่ิมการปฏิรูปการศึกษา สมัยรัชกาลท่ี ๕ – ๗,(ภาควิชาประวัติศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรจน ประสานมิตร : สํานักพิมพวัฒนาพานิช ,๒๕๒๙), หนา ๔๗. ๒๐โชติ กัลยาณมิตร, ชางไทยตอการสืบทอด,สารานุกรมวัฒนธรรมไทย (ภาคกลาง) เลม ๔.

(พิมพเน่ืองในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ,๕ ธันวาคม ๒๕๔๒), หนา ๑๘๔๖.

Page 18: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

การศึกษา มีการจัดต้ังวัดใหเปนโรงเรียนเพื่อใหประชาชนท่ัวไป ตลอดจนพระภิกษุ สามเณรและศิษยวัด ไดเรียนหนังสือไทย ลายมือ วิชาหนังสือ โดยโปรดแตงต้ังพระราชาคณะ พระครูฐานานุกรม ใหเปนครูวัดละ ๕ รูปเปนอยางนอย๒๑ รัชกาลที่ ๖ ไดมีการดึงโรงเรียนออกจากวัด ใหมีการศึกษาเปนระบบแบบแผนมากข้ึน เม่ือเปนเชนนี้ระบบการศึกษาในอดีตท่ีเคยเกิดข้ึนท่ีวัด โดยพระสงฆมีบทบาทใหการศึกษาก็หายไปจากสังคมไทย ดังเสฐียรโกเศศ๒๒ กลาววา“นอกเหนือไปจากเร่ืองศาสนาแลว พระภิกษุยังมีบทบาทตอชุมชนอีก เชน เปนชาง หมอยา หมอด ู หมอเวทมนต ตลอดจนเปนตุลาการตัดสินขอพิพาทบาดหมางกัน” ตอมาบทบาทเหลานี้ของพระสงฆ ถูกมองวามิใชกิจของสงฆ พระสงฆมิควรเกี่ยวของกับบทบาทเหลานี้ รวมท้ังเร่ืองการสืบทอดงานศิลปะและงานชางฝมือดวย ดังนั้นบทบาทดานการชางและงานชางฝมือของพระสงฆจึงมิไดถูกสงเสริมและสนับสนุน อนึ่งบทบาทเหลานี้ก็มีการจัดต้ังเปนโรงเรียนข้ึน คือ โรงเรียนเพาะชาง๒๓ ทําหนาท่ีแทน บทบาทของพระสงฆในการใหการศึกษาวิชาชีพแขนงชางฝมือและงานชางศิลปะ ไดขาดหายไปจากระบบการศึกษาไทย

ดังนั้น วัดและพระสงฆจึงไมมีบทบาทตอการจัดการศึกษาเชนในอดีต แตอยางไรก็ตามปรากฏวายังมีพระสงฆอีกจํานวนหน่ึงท่ีไดทําหนาท่ีใหการศึกษา และสืบทอดภูมิปญญาทางพุทธศิลปอยูเปนจํานวนไมนอย แมจะไมเปนการศึกษาที่อยูในระบบ แตก็มีผลงานปรากฏอยูจนถึงปจจุบัน เชน ครูบาศรีวิชัย ครูบาเถ้ิม (โสภา โสภโณ) พระอุบาลีคุณูปมาจารย (ฟู อัตตชีโว) ท่ีมีบทบาทในการสืบทอดงานพุทธศิลปโดยผานการบูรณะ การกอสรางวัด หรือเจดียตาง ๆ เชน วัดสวนดอก วัดพระสิงห เปนตน

วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ท่ีมีพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร พระภิกษุท่ีทําหนาท่ีฝกหัดงานชางฝมือทางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด เพื่อสงเสริมใหมีการศึกษาพื้นฟูและสืบทอดงานชางพุทธศิลปข้ึน โดยมีพระอาจารยทานเปน “ครูผูสอน” และเปนผูเช่ียวชาญวิชางานชางฝมือ (แขนงชางไม) ผลงานพุทธศิลปท่ีปรากฏ ไดแก ธรรมมาสนปาฏิโมกข ธรรมมาสนหลวงทรงปราสาท บุษบก สัตตภัณฑ อาสนะ ตูธรรม แวนตาพระเจา ตูเทียนชัย เปนตน การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) มีวิธีการสอน

๒๑สิริ วัฒน คําวันสา , ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาในประเทศไทย (กรุงเทพมหานคร:

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๑๐๗ ๒๒พระยาอนุมานราชธน (เสถียร โกเศศ). ชีวิตชาวไทยสมัยกอนและการศึกษาเรื่องประเพณีไทย,

(กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพคลังวิทยา), หนา ๔๔๐. ๒๓๘๐ ปแหงการอนุรักษมรดกไทย ประชาพรอมพรัก อนุรักษณมรดกไทย : กรมศิลปากร ( พิมพ

เน่ืองในวโรกาสคลายวันพระราชสมภพและวันอนุรักษมรดกไทย, กรุงเทพมหานคร,) ๒๕๓๒ หนา ๒๑.

Page 19: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

หรือการสืบทอดอยางไร ท่ีจะสามารถสรางความเปน “ชางพุทธศิลป” ใหกับพระภิกษุ สามเณร จนสามารถนําไปสรางงานชางทางพุทธศิลปอันเกี่ยวของกับเร่ืองราวทางพระพุทธศาสนา เพื่อเปนการสรางศรัทธาปาสาทะใหแกผูพบเห็น และสามารถถายทอดพุทธธรรมใหปรากฏในงานชางพุทธศิลป ดังนั้นผูวิจัยมีความสนใจศึกษา “การสืบทอดงานชางพุทธศิลป” ของพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ท่ีสืบทอดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) เพื่อเปนการสรางงานชางพุทธศิลป และเปนการฟนฟูงานชางพุทธศิลปทางพระพุทธศาสนา เรียกวา “งานชางพุทธศิลป” วัตถุประสงคของการวิจัย

๑. ศึกษาประวัติและพัฒนาการของพุทธศิลปในลานนา ๒. ศึกษาการสืบทอดงานชางพุทธศิลป ในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จ. เชียงใหม

ปญหาท่ีตองการทราบ

การศึกษางานวิจัยเร่ือง การสืบทอดงานพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จ. เชียงใหม ผูวิจัยไดต้ังปญหาท่ีตองการทราบในการศึกษาไว ดังนี้คือ

๑. การเรียนรูประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปท่ีปรากฏในประวัติศาสตรพุทธศาสนาและในลานนา

๒. การศึกษาและเรียนรูการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง ) จังหวัดเชียงใหม ขอบเขตการศึกษา

การศึกษางานวิจัยเร่ือง การสืบทอดงานพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จ. เชียงใหม ผูวิจัยไดวางขอบเขตในการศึกษาไว ดังนี้คือ

ขอบเขตดานเนื้อหา ศึกษาจากงานวิจัย เอกสารทางวิชาการ หนังสือ บทความ และการสัมภาษณ ท่ีเกี่ยว

ของกับเร่ืองพุทธศิลป พัฒนาพุทธศิลป การสืบทอดและการสรางงานชางพุทธศิลป

Page 20: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

ขอบเขตดานพื้นท่ี ศึกษาในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ถนนพระปกเกลา ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง

จังหวัดเชียงใหม โดยศึกษาจาก พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร และพระภิกษุ สามเณร ท่ีรวมสรางงานชางพุทธศิลป นิยามศัพท พุทธศิลป หมายถึง ศิลปะแขนงตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับหลักธรรมหลักคําสอนทาง พระพุทธศาสนา

พระชาง หมายถึง พระภิกษุ ท่ีสรรคสรางงานชางศิลปะแขนงตางๆ ท่ีปรากฏเปนสัญญาลักษณทางพระพุทธศาสนา

การถายทอด หมายถึง การถายทอดงานฝมือหรือประสบการณจากรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง โดยมีการเรียนรูและปฎิบัติการรวมกัน

การสืบทอด หมายถึง การรับเอางานฝมือหรือประสบการณจากรุนหนึ่งมาสูอีกรุนหนึ่ง โดยมีการพัฒนาส่ิงท่ีรับการสืบทอดมาปฏิบัติใหดียิ่งข้ึน

ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ จากพระราชดํารัส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ดังนี้ “งานชางศิลปไทยเปนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสําคัญของชาติ เพราะศิลปะเปนเคร่ืองแสดงใหเห็นสภาพทางสังคม เศนษฐกิจ และวิถีชีวิตของคนในชาติ ท่ีสืบทอดกันมายาวนาน จนเปนเอกลักษณประจําชาติ ในปจจุบันงานชางศิลปะไทยกําลังตกอยูในภาวะอันตราย เพราะสภาพสังคมไดเปล่ียนแปลงไปตามความเจริญทางดานอุตสาหกรรมของประเทศ ศิลปะหลายประเภทเร่ิมผลิตดวยเคร่ืองจักรกลแทนงานฝมือ ทําใหชางศิลปะไมไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหมีการฝกฝนและพัฒนาอยางตอเนื่องผลงานจึงไมละเอียดออนงดงามเชนกาลกอน” เสนาะ เฑียรทอง ไดศึกษาวิเคราะหหลักธรรมท่ีปรากฏอยูในพุทธศิลป ในกรณีศึกษาของพระครูอุภัยภาดาทร พบวาการสรางพุทธศิลปวัตถุเร่ิมตนจากการสรางศาลาการเปรียญ เพื่อประกอบศาสนาพิธีตาง ๆ การกอสรางพุทธศิลปวัตถุเพื่อเปนการส่ือใหอนุชนคนรุนหลังไดรูจักพระพุทธศาสนา โดยใชพุทธรูปเปนส่ือเผยแผพุทธธรรม และเพื่อเปนพุทธานุสติ เสฐียรโกเศศ ไดบรรยายบริบทของพระสงฆกับการศึกษาในอดีตวา เม่ืออายุครบ ๒๐ ปบริบูรณแลวก็อุปสมบทเปนพระภิกษุสงฆเพื่อสืบตอพระศาสนา ถาบวชอยูนานหนอยตอง

Page 21: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

ชวยงานของวัด เชน ซอมแซมเสนาสนะของวัดบาง การเสมียนบาง การหมอบาง ทําจนมีความชํานาญ เม่ือสึกออกมาก็กลายเปนอาชีพติดตัวไป เชษฐา เม้ียนมนัส ไดศึกษางานวิทยานิพนธเร่ือง ชางทําเคร่ืองเงินในเขตท่ีราบลุมน้ําปง จากการศึกษาพบวา ปจจัยท่ีทําใหเกิดการสืบทอดงานโดยจะแบงเปนชางท่ีสืบทอดงานจากบรรพบุรุษและชางท่ีไมไดสืบทอดงานจากบรรพบุรุษ กลาวคือชางท่ีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษเพราะตัวชางเห็นการทําเครื่องเงินจากคนในครอบครัวมาต้ังแตเด็ก จึงเปนการซึมซับและคลุกคลีบอย ๆ รูสึกผูกพัน รักในศิลปะแขนงน้ี ผนวกกับไดรับอบรมส่ังสอนสามารถมองเห็นเทคนิคการทําเครื่องเงิน สวนชางท่ีไมไดสืบทอดมาจากบรรพบุรุษจะเปนคนท่ีมีความสนใจงานดานนี้อยางจริงจัง รักตองขวนขวยหาความรู เสาะแสวงหาท่ีรํ่าเรียนดวยตัวเอง วิบูลย ล้ีสุวรรณ ไดกลาวถึงการสืบทอดการชางและชางศิลปวา การชางและชางศิลปของสมัยโบราณ แบงออกเปนชางพื้นบานและชางช้ันสูง การสืบทอดวิชาชางของท้ัง ๒ ประเภทเปนการสืบทอดกันในวงแคบๆ เปนการสอนกันจากปากตอปาก แบบมุขปาฐะ มิไดมีตํารับตําราท่ีแนนอน และแหลงท่ีใหความรูการชางและชางศิลปท่ีสําคัญไดก วัด สกุลชาง และวัง อุมาพร มาระดา ไดสัมภาษณศิลปนลานนาคือ ลุงดวงจันทร จันทรัตน ไวในจุดประกายลานนา ไดกลาวถึงการสืบทอดงานชางไววา เร่ิมงานดวยชางศิลปมาต้ังแตเด็กๆ เร่ิมตนดวยการเขาไปน่ังดู ลองจับทําดูแทนชาง จนสามารถแกะพระไมได และเปนชางเงินกอนเร่ิมหันการปนหลอกับคุณพออยางจริงจังเม่ืออายุ ๑๗-๑๘ ป เพราะคิดวาความรูไมใชส่ิงตองแบกหามใหหนัก รูไวก็ไมเสียหายอะไร ไมไดคิดวาจะมายึดอาชีพชางปนหลอ เนื่องจากเปนชางแกะสลักและชางเงินอยูกอนแลว แตตอมาเม่ือบิดาชราภาพลงและไมมีผูใดสนใจสืบทอดชางปนหลอ จึงเกิดความวิตกวางานชางชนิดนี้จะสูญหายไป ลุงดวงจันทรเลยตัดสินใจเปนชางปนหลอต้ังแตนั้นเปนตนมา วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษางานวิจัยเร่ือง การสืบทอดงานพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จ. เชียงใหม ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยดังนี้คือ

๑. คนควาจากงานวิจัย หนังสือ เอกสาร วารสาร ท่ีเกี่ยวของกับประวัติ พัฒนาการพุทธศิลป การสืบทอด การเรียนรูและกระบวนการเรียนรูงานชางพุทธศิลป

๒. การลงพ้ืนท่ีภาคสนาม รวมสืบทอดงานชางพุทธศิลปพรอมกับพระภิกษุ - สามเณรในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง )จ. เชียงใหม โดยมีพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร

Page 22: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

เปนครูผูสอน ซ่ึงเหตุผลท่ีเลือกวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) เพราะขาพเจาสนใจงานชางพุทธศิลป (งานชางไม)และตองการเรียนรูการสืบทอดงานชางพุทธศิลป

๓. การสัมภาษณพระเทพวรสิทธาจารย รองเจาคณะจังหวัดเชียงใหมและเจาอาวาสวัดพระธาตุดอยสุเทพและอาจารยยุพิน เข็มมุกต คณาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม ในหัวขอ “การสืบทอดงานชางพุทธศิลปของพระภิกษุ – สามเณร และความสําคัญของงานชางพุทธศิลป”

๔. การสรุปและการวิเคราะหผลจากการศึกษาในประเด็นประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปและการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

๑. ทําใหทราบถึงประวัติและพัฒนาการของการสรางงานพุทธศิลปในลานนา ๒. ทําใหทราบถึงวิธีการสืบทอดงานพุทธศิลป ในสํานักวดัแสนเมอืงมาหลวง (หัวขวง)

Page 23: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

บทที่ ๒ ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลป

การศึกษาเร่ืองประวัติและพัฒนาการพุทธศิลป เปนการศึกษาถึงประวัติความเปนมา

ของพุทธศิลป เร่ิมต้ังแตการกําเนิดและพัฒนาการของพุทธศิลป จากสมัยกอนพุทธกาลและสมัยหลังพุทธกาล การกําเนิดวัดในพระพุทธศาสนาไดกอกําเนิดศิลปะท่ีเรียกวา “พุทธศิลป” ข้ึนไดอยางไร และมีพัฒนาการมาถึงปจจุบันอยางไรบาง หลังจากนั้นเปนการศึกษาพัฒนาการพุทธศิลปท่ีถือกําเนิดข้ึนในประเทศไทย ต้ังแตอาณาจักรทวารวดี มาถึงอาณาจักรรัตนโกสินทร ผูศึกษาไดวางไวลําดับการศึกษาคือ

๑. ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในอินเดยี ๑.๑ สมัยพุทธกาล ๑.๒ สมัยหลังพุทธกาล

๒. ประวัติและพัฒนาการพทุธศิลปในเมืองไทย ๒.๑ สมัยสุวรรณภูมิ ๒.๒ สมัยทวารวดี ๒.๓ สมัยศรีวิชัย ๒.๔ สมัยลพบุรี ๒.๕ สมัยเชียงแสน ๒.๖ สมัยสุโขทัย ๒.๗ สมัยอูทอง ๒.๘ สมัยอยธุยา ๒.๙ สมัยรัตนโกสินทร

Page 24: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๑

๑. ประวัติและพัฒนาการพทุธศิลปในอินเดีย ๑.๑ สมัยพุทธกาล พระพุทธศาสนาไดปรากฏข้ึน นับปฐมโพธิกาลของพระสัมมาสัมพุทธเจา พระ

นามวา“พระโคดมพุทธเจา”๑ ภายหลังพระพุทธองคทรงตรัสรูอภิสัมโพธิญาณเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา ทรงพระพุทธคุณในการประกาศพระธรรมวินัย คร้ันถึงเดือน ๘ ข้ึน ๑๕ คํ่า ทรงแสดงปฐมเทศนา คือ “ธัมมจักรกัปวัตตนสูตร” ทรงไดพระอัญญาโกญฑัญญะเปนปฐมแหงพระสังฆณฑล วันนั้นแลพระพุทธศาสนา ทรงมีองคครบแหงพระรัตนตรัย ภายหลังพระพุทธศาสนาไดพุทธสาวกเพ่ิมมากข้ึน พระพุทธองคทรงสงพระพุทธสาวกเพ่ือประกาศพระธรรมวินัยตามพระพุทธดํารัสวา “ภิกษุท้ังหลาย พวกเธอจงจาริกไป จงแสดงธรรมท่ีงามในเบ้ืองตน งามในทามกลาง และงามในท่ีสุด เพื่อประโยชนเกื้อกูลและความสุขแกทวยเทพและมนุษยท้ังหลาย๒ สวนพระพุทธองคทรงเสด็จไปแสดงธรรม ณ แควนมคธ ไดพุทธสาวกท่ีเปนนักบวชชฏิลบูชาไฟ๓ จํานวน ๑๐๐๐ รูป วันหนึ่งพระพุทธองคทรงแสดงธรรมโปรดพระเจาพิมพิสารกษัตริยแหงมคธ จนถึงธรรมจักษุ๔ ขอถึงพระรัตนตรัย และแสดงตนเปนอุบาสกผูถึงพระพุทธองคเปนสรณะตลอดชีวิต ภายหลังไดถวายภัตตาหารสําหรับพระพุทธองคและพระสงฆหมูใหญ ทรงดําริอยางนี้วา

“พระผูมีพระภาคเจาควรประทับท่ีไหนหนอ ท่ีแหงใดอยูไมไกลและไมใกลจากหมูบานนัก คมนาคมสะดวก ผูประสงคพึงเขาเฝาได กลางวันไมพลุกพลาน กลางคืนสงัด เสียงไมอึกทึก เวนจากคนสัญจรไปมา เปนท่ีกระทํากรรมลับของหมูมนุษย ควรแกการหลีกเรน”

พระองคจึงมีพระราชดําริวา “อุทยานเวฬุวัน ของเรานี้อยูไมไกลและไมใกลจากหมูบานนัก คมนาคมสะดวก ผู

ประสงคพึงเขาเฝาได กลางวันไมพลุกพลาน กลางคืนสงัด เสียงไมอึกทึก เวนจากคนสัญจรไปมา

๑พุทธวงค, ประวัติพระพุทธเจา, กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๔๑. ๒ที.ม.(ไทย) ๔/๔๐/๓๒. ๓สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปฏก (ฉบับสําหรับประชาชน) : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓,

หนา, ๒๑๕. กลาวไววา ชฏิลบูชาไฟ คือ อุรุเวลากัสสป นทีกัสสป และคยากัสสป ๔พระธรรมปฏก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต

เชียงใหม, ๒๕๔๐, หนา ๑๐๗, ธรรมจักษุ หรือ ดวงตาเห็นธรรม คือ ปญญารูเห็นความจริงวา สิ่งใดก็ตาม มีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งน้ันทั้งปวง ลวนมีความดับ ไปเปนธรรมดา.

Page 25: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๒

เปนท่ีกระทํากรรมลับของหมูมนุษย ควรแกการหลีกเรน อยากระนั้นเลย เราพึงถวายอทุยานเวฬุวันแดพระผูมีพระภาคเจาเปนประมุข”

ทรงจับพระสุวรรณภิงคาร หล่ังน้ํานอมถวายแดพระผูมีพระภาคดวยพระราชดํารัสวา “หมอมฉันขอถวายอุทยานเวฬุวันนั้นแดภิกษุสงฆมีพระพุทธเจาเปนประมุข พระพุทธเจาขา” ๕ พระพุทธองคทรงรับอารามนั้น แลวทรงแสดงธรรมกถาใหพระเจาพิมพิสารสมาทานอาจหาญร่ืนเริงตอการปฏิบัติ ตอมาพระพุทธองคทรงรับส่ังกับภิกษุท้ังหลายวา “ดูกรภิกษุท้ังหลาย เราอนุญาตอาราม” คร้ังนั้นแล สวนอุทยานเวฬุวันของพระเจาพิมพิสารจึงเปน อารามหรือวัด แหงแรกของพระพุทธศาสนา

ดังนั้น “วัด” ในสมัยพุทธกาลจึงมีความหมายวา “สวนปาท่ีนาร่ืนรมยยินดีเปนท่ีอยูของพระสงฆ” เพราะสภาพของวัดในยุคแรกนั้น มีสภาพเปนสวนปาตามธรรมชาติ คงยังไมมีส่ิงกอสรางใด ๆ เปนสถานท่ีสงบสงัด อยูหางจากหมูบาน แตก็คงไมไกลจนเกินไป สามารถเดินทางไปมาไดสะดวก และเปนสถานท่ีพระภิกษุศึกษาปฏิบัติธรรม เพื่อเขาถึงเปาหมายของพุทธธรรม เบ้ืองแรกวัดเวฬุวัน คงยังไมมีส่ิงกอสรางใด ๆ คงเปนสวนหรือปา ท่ีครอบคลุมไปดวย ปา ตนไม ภูเขา ซอกเขา ถํ้าพระสงฆทั้งหลายใชเปนท่ีอาศัยอยู ดั่งปรากฏในพระไตรปฎกวา๖

“สมัยนั้น พระผูมีพระภาคเจาประทับอยู ณ พระเวฬุวันสถานท่ีใหเหยื่อกระแต เขตกรุงราชคฤห คร้ังนั้น พระผูมีพระภาคยังไมไดทรงบัญญัติ (ยังไมทรงอนุญาต) เสนาสนะแกภิกษุท้ังหลาย และภิกษุเหลานั้นอยูในท่ีนั้น ๆ คือ ปา โคนไม ภูเขา ซอกเขา ถํ้า ปาชา ปาชัฏท่ีแจง ลอมฟาง แตเชาตรู มีอาการเดินทางไปขางหนา ถอยหลัง แลเหลียว คูแขน เหยียดแขน นาเล่ือมใส มีจักขุทอดลง สมบูรณดวยอิริยาบถ”

สมัยนั้น ราชคฤหเศรษฐีไดไปสวนแตเชาตรู ไดแลเห็นภิกษุเหลานั้นเดินออกจากท่ีอยูนั้น คือ ปา โคนไม ภูเขา ซอกเขา ถํ้า ปาชา ปาชัฏท่ีแจง ลอมฟาง มีอาการเดินทางไปขางหนา ถอยหลัง แลเหลียว คูแขน เหยียดแขน นาเล่ือมใส มีจักขุทอดลง สมบูรณดวยอริยาบถ คร้ันแลวก็มีจิตเล่ือมใส จึงเขาไปหาภิกษุเหลานั้น เรียนถามวา “ทานเจาขา หากขาพเจาสรางวิหารถวายพระคุณเจาจะอยูในวิหารของขาพเจาหรือ”

ภิกษุเหลานั้นตอบวา “ดูกรคหบดี พระผูมีพระภาค ยังมิไดทรงอนุญาตวิหาร” เศรษฐีกลาววา “ทานเจาขา ถาเชนนั้น พระคุณเจา ทูลถามพระผูมีพระภาคเจา และ

แจงแกขาเจา”

๕ที.ม. (ไทย) ๔/๗๑/๕๙. ๖วิ.จู. ๗/๘๙/๒๙๔.

Page 26: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๓

ภิกษุเหลานั้นทูลถามพระพุทธองควา “พระพุทธเจาขา ราชคฤหเศรษฐีประสงคจะสรางวิหารถวาย ขาพระพุทธเจาจะพึงปฏิบัติอยางไร พระพุทธเจาขา”

ลําดับนั้น พระผูมีพระภาครับส่ังภิกษุเหลานั้นวา “ภิกษุท้ังหลายเราอนุญาตเสนาสนะ ๕ ชนิด คือ วิหาร เรือนมุงแถบเดียว เรือนช้ัน เรือนโลน และถํ้า” ๗

กาลตอมาไดมีผูสรางเสนาสนะถวายไวในพระพุทธศาสนาอีกหลายแหง ท้ังนี้เพื่อใชสอยตามความจําเปน และเก้ือกูลตอการปฏิบัติธรรมบําเพ็ญเพียรแดพระสงฆท้ังหลาย เชน ทานอนาถปณฑิกเศรษฐี สรางซุมประตู ศาลา หอฉัน โรงไฟ วัจจกุฏี กับปยกุฏี สระโบกขรณี และมณฑป นางวิสาขามหาอุบาสิกา สรางวัดปุพพาราม ท่ีเมืองสาวัตถี หมอชีวกโกมารภัจจ สรางวัดชีวกัมพวัน ท่ีเมืองราชคฤห หรือโฆสกเศรษฐี สรางวัดโฆสิตาราม เปนตน

การที่พระพุทธองค ทรงอนุญาตใหคฤหัสถสรางวัดถวายแดพระภิกษุสงฆและอนุญาตใหพระภิกษุสงฆอาศัยอยูเสนาสนะ ก็เพื่อความม่ันคงของพระพุทธศาสนาและเปนความเกื้อกูลแกพระภิกษุสงฆและคฤหัสถ นอกจากนั้นพระพุทธองคทรงแสดงอานิสงสในการถวายวิหาร และทรงแนะนําคฤหัสถไดถวายปจจัยทานท่ีจําเปนตอการดํารงชีพของพระภิกษุสงฆ วา “วิหารยอมปองกันหนาว รอนและเนื้อราย นอกจากนั้นยังปองกัน งู และยุง ฝนในสิสิรฤดู วิหารยังปองกันลมและแดดอันรอนกลาท่ีเกิดข้ึน การถวายวิหารแกสงฆเพื่อหลีกเรน เพื่อความสุข เพื่อเพงพิจารณา และเพื่อเห็นแจง พระพุทธองคทรงสรรเสริญวาเปนทานอันเลิศ เพราะเหตุนั้นแล คนผูฉลาด เม่ือเล็งเห็นประโยชนตน พึงสรางวิหารอันร่ืนรมณใหภิกษุท้ังหลาย ผูพหูสูตอยูในบริเวณนี้เถิด อนึ่งพึงมีใจเล่ือมใสถวายขาว น้ํา ผา และเสนาสนะอันเหมาะสมแกพวกเธอ เพราะพวกเธอยอมแสดงธรรมอันเปนเคร่ืองบรรเทาสรรพทุกขใหเขารูท่ัวถึงแลวจะเปนผูไมมีอาสวะ ปรินิพพานในโลกน้ี” ๘

ดังนั้นจะเห็นวา “วัด” ในพระพุทธศาสนามีพัฒนาการมาต้ังแตคร้ังพุทธกาล ในเบ้ืองตนยังเปนสวนหรือพื้นท่ีปา พระภิกษุสงฆก็พึ่งอาศัยสถานเหลานั้นเปนท่ีปฏิบัติธรรม ตอมามีพุทธศาสนิกชนพึ่งมีศรัทธาเล่ือมใสในวัตรของพระภิกษุสงฆ และประสงคท่ีจะกอสรางเสนาสนะใหเปนท่ีอาศัยและเกื้อกูลตอการปฏิบัติ ส่ิงกอสรางท่ีเรียกวา วิหาร หรืออาราม ก็ปรากฏข้ึน โดยมุงประโยชนใชสอยทางศาสนาปฏิบัติ ตอมาถูกพัฒนาจึงเกิดเปนศาสนวัตถุ ศาสนสถานท่ีวิจิตรสวยงาม เพราะการสรางสรรคดวยกุศลจิต และฝมือเชิงชางของพุทธศาสนิกชน เพื่อเปนพุทธบูชา วัดจึงพัฒนามาเปนศูนยรวมของศิลปวัฒนธรรมของชุมชน และของชาติ ภายใตวิถีทางของพระพุทธศาสนา

๗วิ.จู. (ไทย) ๗/๙๐/๒๙๔. ๘วิ.จู (ไทย) ๗/๙๑ – ๙๒/๒๙๕.

Page 27: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๔

จุดกําเนิดพุทธศิลป สมัยพุทธกาล คําวา “พุทธศิลป” คงยังไมเกิด เพราะพระพุทธองคและพระอริยสาวก

ลวนเปนพระอรหันต พระพุทธศาสนาจึงเปนศาสนาท่ีถือความเรียบงาย อยูกับธรรมชาติ แตการกอสรางสถานที่เคารพนั้นไดมีแลว เพราะอินเดียมีธรรมเนียมอยูวา เม่ือมีบุคคลท่ีเคารพนับถือมรณภาพลงก็จะกอเปนสถูปหรือพูนดิน๙ มีขนาดใหญหรือเล็กข้ึนอยูกับเกียรติยศของผูนั้น สวนพระพุทธศาสนา คือสถูปบรรจุอัฐิธาตุของพระขีณาสพ ปรากฏวามีพระสาวกท่ีนิพพานกอนพระพุทธองค เชน พระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ พระพาหิยะ พระพุทธองครับส่ังใหบรรจุพระธาตุไวในสถูปท่ีสรางข้ึนเพื่อเปนท่ีสักการะของมหาชน

จุดกําเนิดของพุทธศิลปนาจะเร่ิมตนต้ังแตการสรางเสนาสนะ ๕ ชนิดของเศรษฐีชาวราชคฤห๑๐ เพื่อถวายภิกษุสงฆ เชน การกอสรางวัดบุพพารามของนางวิสาขาอุบาสิกา โดยมีพระโมคคัลลานะเปนผูอํานวยการกอสราง แตการกําเนิดพุทธศิลปท่ีเดนชัด เร่ิมตนจากการสรางสถูปหรือธาตุเจดีย กลาวคือ เม่ือเหลามัลลกษัตริยถวายพระเพลิงพุทธสรีระแลว ขาวการเสด็จพระปรินิพพานของพระพุทธองคไปถึงเมืองอ่ืน ๆ ท่ีเจาเมืองทรงเล่ือมใสในพระพุทธองค ตางก็มาขอพระบรมธาตุ เพื่ออัญเชิญไปประดิษฐานไวใหมหาชนบูชา ณ เมืองของตน เดิมมัลลกษัตริยไมยอมให จนเกือบมีการรบกันข้ึน ท้ังนี้ไดโทณพราหมณวากลาวเกล่ียไกลจึงปรองดองกัน จึงไดมีการแจกพระบรมสารีริกธาตุไปในแควนตาง ๆ มีท้ังหมดถึง ๘ หัวเมือง เพื่อเปนท่ีสักการะของมหาชนผูเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา บรรดาแควนเหลานั้นก็สรางพระสถูปใหเปนท่ีประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ จึงเกิดมีพระธาตุเจดียข้ึน๑๑ เจดียในพระพุทธศาสนาจําแนกเปน ๔ ประเภท คือ

๑. ธาตุเจดีย คือ เจดียท่ีประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุท้ัง ๘ สวน ๒. บริโภคเจดีย คือ เจดีย ท่ีเปนท่ีระลึกถึงองคพระสัมมาสัมพุทธเจา รวมท้ัง

สังเวชนียสถาน และเจดียอีก ๒ แหงคือ กษัตริยเมืองปบผลิวันสรางสถูปบรรจุพระอังคาร และโทณพราหมณไดทะนานโลหะตวงพระธาตุ ไปสรางสถูป ณ เมืองกุสินารา๑๒

๙สม เด็ จพระ เจ าบรมวงศ เ ธอ กรมพระยา ดํ ารงราชานุภาพ , ตํ านานพระพุทธ เจดี ย ,

(กรุงเทพมหานคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๑๘), หนา ๗. ๑๐วิ.จู (ไทย)๗/๘๙/๒๙๔. เสนาสนะ ๕ ชนิดคือ วิหาร เรือนมุงแถบเดีย ปราสาท เรือนโลน และถ้ํา ๑๑สมเ ด็จพระ เจ าบรมวงศ เธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ , ตํ านานพระพุทธเจดีย ,

(กรุงเทพมหานคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๑๘), หนา ๖. ๑๒สมเ ด็จพระ เจ าบรมวงศ เธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ , ตํ านานพระพุทธเจดีย ,

(กรุงเทพมหานคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๑๘), หนา ๙.

Page 28: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๕

๓. ธรรมเจดีย คือ เจดียท่ีบรรจุพระธรรมคําส่ังสอนท่ีจารึกในใบลานหรือจารึกในแผนทอง แลวบรรจุไวภายในพระธาตุ เรียกวา ธรรมเจดีย

๔. อุทเทสิกเจดีย คือ เจดียท่ีสรางข้ึนเพื่อระลึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจา โดยมิไดกําหนดวาตองทําอยางไร คือถามิไดเปนพระธาตุเจดีย บริโภคเจดีย หรือธรรมเจดียแลว ก็เรียกวา อุทเทสิกเจดีย รวมท้ังตนพระศรีมหาโพธ์ิ รูปสลักเกี่ยวกับพุทธประวัติ พระพุทธรูป ก็นับเปนอุทเทสิกเจดียดวย๑๓

นอกจากนี้ ยังมีศาสนสถานท่ีเรียกวา สังเวชนียสถาน ท่ีพระพุทธองคทรงแสดงแดพระอานนทกอนเสด็จดับขันธปรินิพพานวา “สังเวชนิยสถาน ๔ คือสถานท่ีพระพุทธองคทรงประสูติ ตรัสรู แสดงปฐมเทศนา และปรินิพพาน เปนท่ี ๆ พุทธบริษัทผูมีศรัทธาไดมาถึงพรอมแลวนอมรําลึกถึงพระพุทธองค ก็จะเกิดเปนบุญกุศลเปนอันมาก เม่ือจาริกไปดวยจิตเล่ือมใสแม

ตายลงในท่ีนั้นก็จะเขาถึงสุคติสวรรค”๑๔ การสรางศาสนสถาน คือพระธาตุเจดีย บริโภคเจดีย ธรรมเจดีย อุทเทสิกเจดีย และ

สังเวชนียสถาน เปนศาสนาสถานแหงแรกที่เปนศิลปะของพระพุทธศาสนา เรียกวาพุทธศิลป พัฒนาของงานพุทธศิลป กลาวคือ เม่ือพุทธบริษัทรําลึกถึงพระพุทธองค ก็คงพากันมายังพระเจดียและสังเวชนียสถานตามพระบรมพุทธานุญาต สถานท่ีเหลานี้จึงเกิดเปนตําบลท่ีพุทธบริษัทไปประชุมกันไมขาด จึงเกิดผูมีศรัทธาทําบุญดวยการสรางท่ีอาศัยถวายพระภิกษุสงฆ ฝายพระภิกษุก็เห็นจะเกิดมีผูสมัครอยูประจําการ ทํานุบํารุงรักษาพระเจดียและสังเวชนียสถาน สันนิษฐานวาคงเปนจุดกําเนิด “วัด” ในปจจุบัน๑๕ ศาสนสถานท่ีเปนพระเจดียหรือสังเวชนียสถาน เม่ือสรางใหเปนสถานท่ีเคารพสักการะ คงมีการประดับประดาใหสวยงามวิจิตร ตามความคิดจินตนาการและศรัทธาของพุทธบริษัท เชน การแตงสถูปเจดียใหเปนรูปทรง ทําเข่ือนใหเปนฐานและช้ันทักษิณ ทํารูปบัลลังกต้ังบนหลังโลก แลวตอฉัตรใหเปนยอด เปนตน การกอสรางศาสนสถานเหลานี้ กาลตอมาไดพัฒนาการมาตามยุคสมัย รวมเรียกวา “ศิลปะ” ข้ึน เม่ือศิลปะเหลานี้ เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา ท้ั ง ท่ี เปนหลักคําสอนและแฝงดวยคติธรรม หรือหลักความเ ช่ือทางพระพุทธศาสนา จึงเรียกงานศิลปะเหลานี้วา พุทธศิลป

๑๓สมพร ไชยภูมิธรรม, ปางพระพุทธรูป, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพตนธรรม ,๒๕๔๓), หนา

๒๒ – ๒๓. ๑๔ที.ม.(ไทย) ๒/๑๕๐-๑๕๑/๒๐๒. ๑๕สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชนุภาพ, ตํานานพระพุทธเจดีย,(กรุงเทพมหานคร :

องคการคาคุรุสภา, ๒๕๑๘), หนา ๑๙ – ๒๐.

Page 29: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๖

การสืบทอดพทุธศิลปสมัยพทุธกาล พุทธศิลป ท่ีปรากฏก็คือ การสรางสถูปหรือเจดียท่ีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และการ

สรางสังเวชนียสถาน ซ่ึงเปนสถานท่ีเกี่ยวของกับพระพุทธองค ลักษณะการสืบทอดพุทธศิลปสมัยพุทธกาลโดยอาศัยพลังศรัทธา และความเล่ือมใสในพระพุทธองค โดยเฉพาะบรรดากษัตริยหัวเมืองตาง ๆ ท่ีทรงสรางธาตุเจดีย ๘ แหง รวมท้ังการสรางสถูปหรือเจดียท่ีปรากฏในหนังสือปฐมสมโพธิ๑๖ วา เม่ือถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระนั้น โมริยกษัตริย เจาเมืองปบผลิวัน ไปขอพระบรมธาตุชาไปจึงไดพระอังคารกลับไปสรางสถูปบรรจุไว ณ เมืองปบผลิวัน และโทณพราหมณผูแบงพระบรมธาตุ ไดทะนานโลหะท่ีตวงพระธาตุไป ก็ไปสรางพระสถูปไวในเขตเมืองกุสินาราอีกแหงหนึ่ง ดังนั้นลักษณะการสืบทอดพุทธศิลปในสมัยพุทธกาล จึงพึงอาศัยความเล่ือมใสของบรรดากษัตริยหัวเมืองตาง ๆ ท่ีทรงสรางศาสนสถานข้ึน เพื่อใหเปนหลักฐานทางพระพุทธศาสนา

๑.๒ สมัยหลังพุทธกาล หลังพุทธกาล “พุทธศิลป” ไมปรากฏหลักฐานท่ีแนชัด แตจะเห็นลักษณะการเผยแผ

พระพุทธศาสนาของพระพุทธสาวก เชน พระมหากัสสปเปนประธานสงฆในการทําสังคายนาคร้ังท่ี ๑ พระมหากัจจายนะ โปรดพระเจากรุงมถุรา หรือพระอุเทนะ แสดงธรรมโปรดพราหมณช่ือโฆฏมุข เมืองพาราณสี จนพรามณเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาและไดสรางศาลาโรงทานอุทิศถวายสงฆจาตุรทิศ ใหช่ือวา ศาลาโฆฏมุขี ประวัติศาสตรทางพระพุทธศาสนาระบุเหตุการณท่ีสําคัญท่ีควรศึกษา คือ การทําสังคายนาท้ัง ๓ คร้ัง

คร้ังท่ี ๑ ปรารภภิกษุช่ือสุภัททะ กลาวถอยคําจาบจวงพระศาสดา ภายหลังท่ีพุทธปรินิพพาน กระทําสังคายนาท่ีถํ้าสัตตบรรณคูหา ภูเขาเวภารบรรพต มีพระมหากัสสปเปนประธาน พระอานนทตอบปญหาธรรม พระอุบาลีตอบปญหาพระวินัย ไดรับการอุปถัมภจากพระเจาอาชาติศัตรู ใชเวลาอยู ๗ เดือน การสังคายนาคร้ังนี้เรียกวา “ปฐมสังคายนา” สาเหตุการกระทําสังคายนา เพื่อรวบรวมเรียบเรียงพระธรรมวินัยใหเปนหมวดหมู และการต้ังม่ันของพระพุทธศาสนา

สถานการณทางการเมืองขณะน้ันก็ยุงเหยิงพอสมควรคือ พระเจาอาชาตศัตรู ถูกโอรสอุทัยภัทรปลงพระชนม และกษัตริยตอมาก็ถูกโอรสปลงพระชนมท้ังส้ิน จนถึงพระเจานาคทาสกะ ก็เปนท่ีส้ินสุดราชวงคพระเจาพิมพิสาร จากนั้นสุศุนาคเสนาบดีข้ึนเปนกษัตริย พระองคทรงยาย

๑๖ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ , ตํานานพระพุทธเจดีย .

(กรุงเทพมหานคร, องคการคาคุรุสภา, ๒๕๑๘), หนา ๘.

Page 30: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๗

นครไปเมืองไพสาลี มีพระโอรสช่ือวา กาฬาโศก ข้ึนครองราชยแลวยายนครมาท่ีเมืองปาฏลีบุตร เหตุการณทางพระพุทธศาสนาท่ีเกิดข้ึน คือ

การสังคายนาคร้ังท่ี ๒ (พุทธศักราช ๑๐๐) ปรารภภิกษุชาววัชชี ประพฤติผิดวินัย ๑๐ ประการ เรียกวา วัตถุ ๑๐ ประการ โดยมีพระสัพพกามีเปนประธาน ทําท่ีวาลุการาม ณ เมืองเวสาลี พระเจากาฬาโศกเปนองคอุปถัมภ กระทําอยู ๘ เดือน ผลการสังคายนาคร้ังนี้ ทําใหพระภิกษุสงฆแตกแยกกัน คือฝายภิกษุชาววัชชีบุตรไปกระทําสังคายนาข้ึนตางหาก เรียกวา “มหาสังคีติ หรือมหาสังคายนา” ภายหลังเรียกตัวเองวา อาจะริยวาท หรือ มหาสังฆิกะ คือถือตามคําส่ังสอนของอาจารย สวนภิกษุท่ีกระทําสังคายนาเรียกวา “เถรวาท” เพราะถือตามพระอรหันตท่ีสืบทอดมาจากพระพุทธองค หลังจากนั้นท้ัง ๒ นิกายนี้ก็แยกคณะนิกายออกไปอีกเปน ๑๘ นิกาย๑๗

หลังพุทธศักราช ๑๐๐ อิทธิพลของชนชาติกรีกก็เขาสูอินเดีย กลาวคือ ราชวงคสุสูนาค ถูกโจรช่ือนันทะแยงสมบัติ ต้ังราชวงคนันทะข้ึน ราชวงคนั้นเล่ือมใสและไดบํารุงพระพุทธศาสนาดวยดีแตเหตุภายนอกก็เปนท่ีวุนวาย คือถูกกองทัพกรีก นําโดยพระเจาอเลกซานเดอรมหาราชไดแผเดชานุภาพเขาสูอินเดีย (พุทธศักราช ๒๑๗ – ๒๑๘) การเขามากองทัพกรีกคร้ังนั้น บุคคลสําคัญคนหนึ่งท่ีเขารวมกับพระเจาอเลกซานเดอร คือ จันทรคุปต ชาวเมืองปาฏลีบุตร คิดการใหญโดยการรบแยงกับราชวงคนันทะ แตไมประสบผลสําเร็จ จึงหลบหนีไปอาศัยลุมแมน้ําสินธุ เม่ือพระเจาอเลกซานเดอรเขาถึงอินเดีย จันทรคุปตก็อาสาเขารวมดวย โดยมีขอแมวาจะใหทัพกรีกชวยเหลือ แตพอดีกองทัพกรีกกลับไปกอน จันทรคุปตจึงสองสุมพรรคพวกดวยตนเอง เม่ือกษัตริยองคสุดทายของราชวงคนันทะออนแอ จึงยกกองทัพเขาตีเมืองปาฏลีบุตร แลวต้ังราชวงคโมริยะข้ึน ราวพุทธศักราช ๒๒๐

ส่ิงท่ีกองทัพกรีกไดท้ิงไวใหอินเดียภายหลังสงครามน้ัน มิใชความพายแพของอินเดีย แตเปนวัฒนธรรมของกรีก เพราะเมืองตาง ๆ ท่ีพระเจาอเลกซานเดอรเอาชนะน้ัน ทรงแตงตั้งแมทัพนายกองชาวกรีกใหเปนประมุขของเมืองเหลานั้น พรอมท้ังมอบทหารบางสวนไวเปนกําลังหนุนดวย ชาวกรีกไดเผยแผวัฒนธรรมดานตาง ๆ ใหกับอินเดีย ไมวาจะเปนความสามารถทางดานศิลปะ อักษรศาสตร และปรัชญา แนนอนวาชาวอินเดียคงรับเอาวัฒนธรรมกรีกมาผสมกับวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวอินเดีย

๑๗ วิ.จู.(ไทย) ๗/๕๒.

Page 31: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๘

ราชวงคโมริยะหรือ เมารียะ๑๘ มีกษัตริยองคหนึ่ง ช่ือวา พระเจาอโศกมหาราช ทรงเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาและแสดงตนเปนพุทธมามกะ และพระองคทรงอุปถัมภการสังคายนาคร้ังท่ี ๓ ปรารภการปลอมเขามาบวชในพระพุทธศาสนา รวมกันทําท่ีอโศการาม เมืองปาฏลีบุตร มีพระโมคคัลลีบุตรเปนประธาน ทําอยู ๙ เดือนจึงสําเร็จ ผลของการสังคายนาคือพระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองเปนอยางมาก เนื่องเพราะพระองคทรงนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกตเขากับหลักปกครองบานเมือง๑๙ เร่ืองตาง ๆ ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึก ท่ีเขียนดวยสองภาษา คือ อักษรพราหมีและอักษรขโรษฐิ เปนเสาศิลาขัดเงา และประมวลลงไดคือ

๑. ทรงนําหลักธรรมในมงคลสูตร ประกาศใหเปนวัฒนธรรมท่ีประชาชนตองปฏิบัติ ๒. สมัยพระองค ไมมีการทะเลาะกันระหวางพระภิกษุสงฆ ๓. ทรงเร่ิมขบวนการธรรมยาตรา ไปเพื่อการถวายสักการะพุทธปูชนียสถานและ

ทรงสรางสถูปเจดียตามสถานท่ีตาง ๆ โดยมีพระอุปคุปตเถระ ทําหนาท่ีเปนมังคุเทศนและบรรยายประวัติสถานท่ีเหลานั้นใหพระองคทราบ

๔. ทรงประกาศหามฆาสัตว ทรงสรางโรงพยาบาลท้ังคนและสัตว บอน้ํา สาธารณะ ๕. ทรงต้ังธรรมเสนา ท่ีตรวจสอบการปฏิบัติการทํางานของขาราชการ ๖. ทรงดําเนินธรรมทูต เพื่อเผยแผพระพุทธศาสนาไปท่ัวจตุรทิศ ปรากฏหลักฐานวา

ไดสงคณะธรรมทูตถึง ๙ สาย๒๐ สายท่ีมีความสําคัญและปรากฏเปนหลักฐานของพระพุทธศาสนาและพุทธศิลปคือ สายท่ี ๑ คณะพระมัชฌัตติกะ ไปแคชเมียรและแควนคันธาระ คือดินแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียติดตอกับปากีสถาน สายท่ี ๘ มีพระโสณะและพระอุตตระ เดินทางมาเผยแผในดินแดนสุวรรณภูมิ อันเปนตนกําเนิดพระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต รวมท้ังประเทศไทย และสายท่ี ๙ คณะพระมหินทะ ไปลังกา

สมัยพระเจาอโศกมีปรากฏหลักฐานทางพุทธศิลป กลาวคือจากกองทัพธรรมของพระองคท่ีเสด็จไปแสดงความเคารพสักการะ ทรงสรางสถูป (ตนแบบของเจดีย) ใหเปนสัญลักษณ เชน สถูปสาญจิ สถูปนี้ทําเปนรูปโองคว่ํา บนยอดสถูปทําเปนบัลลังก มีร้ัวลอมรอบ และปรากฏ

๑๘เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา (ฉบับมุขปาฐะ) ภาค ๑. (กรุงเทพมหานคร :มหามกุฏราชวิทยาลัย,๒๕๓๙), หนา ๘๐.

๑๙พระธรรมปฏก (ประยุทธ ปยุตฺโต), จารึกอโศก,(กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา. ๒๕๔๐), หนา ๖๔ – ๖๕.

๒๐สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย,(กรุงเทพมหานคร, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หนา ๑๔ – ๑๕.

Page 32: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๙

พุทธศิลปท่ีตามศิลปะอินเดีย คือ การขุดถํ้าเขาในภูเขา๒๑ มีอยู ๒ ชนิด คือ ถํ้าเจดียและถํ้าวิหาร ถํ้าเจดียเปนถํ้าท่ีขุดลึกเขาไปในภูเขา หลังคาโคงคลายประทุนเกียน กลางถํ้ามีเสาเรียงภายใน ถํ้าเจดียท่ีมีช่ือเสียง คือถํ้า ภาซา (Bhaja) สวนถํ้าวิหาร จะขุดเขาไปในภูเขาโดยมีระเบียงอยูหนาหองใหญ มีลักษณะเปนหองโถง ๔ เหล่ียม ภายในเจาะเปนชองเล็ก ๆ สําหรับพระสงฆอาศัยอยู ท้ังสองถํ้านี้ก็จะมีการแกะสลักเร่ืองราวเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนาอยูดวย ท้ังนี้พระเจาอโศกทรงสรางพระเจดียสถานถึง ๘๔,๐๐๐ แหง และสรางอารามท่ีใหญที่สุด ช่ือวา อโศการาม ๒๒ แควนมคธ และหลักฐานท่ีเดนชัดอีกอยางหนึ่ง คือ เสาของพระเจาอโศก หรือเรียกวา เสาอโศก ทําเปนรูปสิงโตหันหลังชนกันส่ีตัว เทิงดวยพระธรรมจักร เสาอโศกนี้พระเจาอโศกไดสรางไวตามสถานท่ีสําคัญในพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ก็มีภาพจําหลักตามประตูร้ัวสถูปท่ีสาญจิ เนื่องเพราะอินเดียโบราณมีธรรมเนียมท่ีถือวา การสรางรูปเคารพในคุรุฐานิยบุคคลเปนการไมควร จะมีแตสัญลักษณท่ีเปนรูปภาพปรากฏเทานั้น เชน ภาพแสดงการออกบวชก็เปนรูปมาแวดลอมดวยเทวดากําลังเหาะ รูปบัลลังกวาง หรือตอนประสูติก็มีแตรูปพุทธมารดาประทับยืนเหน่ียวกิ่งไม และมีรูปดอกบัว ๗ ดอกอยูขาง ๆ แตก็หมายถึงพระพุทธเจา อันนี้เปนรองรอยพุทธศิลปะท่ีเกิดข้ึนในยุคหลังพุทธกาล

หลังส้ินพระเจาอโศกมหาราช แควนคันธาระหรือคันธารราฐ ไดตกไปอยูการครอบครองของพวกกรีก ท่ียาตราทัพมาจากบากเตรีย มีกษัต ริยก รีกองคหนึ่ ง ท่ีนับถือพระพุทธศาสนา ช่ือวา พระเจาเมนันเดอร ตามคัมภีรศาสนาพุทธเรียกวา พระเจามิลินท๒๓ (พุทธศักราช ๓๙๒ – ๔๑๓) ถือไดวาเปนกษัตริยกรีกองคสุดทายในเอเชีย ต้ังเมืองสาคละเปนเมืองหลวง เม่ือพระองคทรงแสดงตนเปนพุทธมามกะ ก็ทรงสรางโบสถวิหารตลอดจนการกอสรางสถาปตยกรรม โดยนําเอาศิลปะกรีกและโรมันเขามาประกอบในงานสถาปตยกรรม โดยเฉพาะพระพุทธรูป ท่ีนาเช่ือวาสรางข้ึนตามรูปเคารพเทพเจาของชนชาติกรีก เชน อะปอลโล วีนัส๒๔

๒๑เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๗),หนา ๑๒ – ๑๓.

๒๒เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา (ฉบับมุขปาฐะ) ภาค ๑. (กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย,๒๕๓๙), หนา ๘๖.

๒๓เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๕. ๒๔เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา (ฉบับมุขปาฐะ) ภาค ๑.(กรุงเทพมหานคร :

มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๑๐๙.

Page 33: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๐

เม่ือชาวกรีกไดเล่ือมใสพระพุทธศาสนา จึงไดแรงบัลดาลใจสรางพระพุทธรูปใหเปนรูปเคารพแทน จะเห็นจากพระพุทธรูปสมัยคันธาระ พระพักตรจะคลายกับฝร่ังชนชาติกรีก

ตอมาราวพุทธศักราช ๕๐๐ มีชนเผาเรรอนพวกหน่ึงเรียกวา “อินโดไซเธียน” อพยพมาจากภาคตะวันออกของทะเลทรายโกบี มาสูลุมแมน้ําอมูดาเรียในเตอรกีสถาน ทําลายอาณาจักรบากเตรีย อันเปนอาณาจักรพวกกรีกในเอเชียลงได และแผอิทธิผลเขาสูอาฟกานิสถาน ตอนนี้พวกอินโดไซเธียนรับเอาอารยธรรมของอินเดียเขาไว มีกษัตริยพระองคหนึ่งช่ือ “พระเจากนิษกะมหาราช” แผอานุภาพเขาสูแควนคันธาระ ตีไดลุมแมน้ําสินธุ ตลอดถึงลุมแมน้ําคงคาท้ังหมด ต้ังราชธานีอยูท่ีเมืองปุรุษปุระ แตเดิมพระองคนับถือศาสนาของพวกกรีก เม่ือทรงตีอินเดียตอนเหนือไดมีโอกาสศึกษาพระพุทธศาสนา กลับพระทัยมาเปนพุทธมามกะ ทําใหพระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองข้ึนมา

ส่ิงท่ีพระเจากนิษกะมหาราช ทรงสรางเปนอนุสรณ คือการผลิตพุทธศิลป คือ พระพุทธรูป จําเนียรเดิมชาวอินเดียมีธรรมเนียมไมนิยมการสรางรูปเคารพ เม่ือกาลเวลาผานมา ๕๐๐ พรรษา อิทธิพลของอินเดียและกรีกเขาผสมกัน ชนชาติกรีกเขามานับถือพระพุทธศาสนา การแกะสลักพุทธรูปก็เกิดข้ึนคร้ังแรกในโลก ณ เขตคันธาระและอาฟกานิสถาน เรียกพระพุทธรูปสมัยนี้วา “ศิลปะสมัยคันธาระ” แมระยะกาลจะหางจากพุทธกาลถึง ๕๐๐ พรรษาก็จริง แตพระพุทธรูปเหลานี้ ก็เปนผลแหงจิตนาการท่ีซาบซ้ึงในพุทธคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจา

สมบูรณดวยพระปญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระกรุณาธิคุณ ท่ีปรากฏในพระพุทธรูป มีลักษณะคือ ดวงพระพักตรกลม พระนาสิกโดงอยางฝร่ัง พระเกศามุนเกลาเปนเมาลี ไดสรางใหเห็นองคาพยพ เสนเอ็นอยางชัดเจนภายใตจีวรบาง ๆ พระพุทธรูปแบบนี้ขุดพบท่ีอินเดียตอนบนและอาฟกานิสถาน นอกจากนั้นก็มีการสรางรูปพระโพธิสัตว มีลักษณะเหมือนรูปมนุษย โดยเฉพาะการแตงตัวของมนุษยในสมัยนั้น ตอมาไดพัฒนาเกิดเปนพุทธศิลปะแบบอินเดียแทข้ึน มีศูนยกลางผลิตอยูท่ีเมืองมถุราและเมืองอมราวดี จําเดิมนั้นมาพุทธศิลปก็เจริญรุงเรืองและแผหลายตอมาจนถึงปจจุบัน

ดังนั้นจะเห็นไดวาพุทธศิลป เร่ิมตนจากการถวายเสนาสนะของเศรษฐีชาวราชคฤห ท่ีทรงถวายไวในพระพุทธศาสนา จําเดิมตอมาก็เร่ิมต้ังจากเร่ืองสังเวชนียสถานกับธาตุเจดียบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ตอมากอสรางศาสนสถานเหลานี้ไดพัฒนาการมาในรูปงานชางพุทธศิลปรูปแบบตาง ๆ ตามวัฒนธรรมชุมชนในแตละพื้นท่ี ท่ีสรรคสรางพุทธศิลปข้ึนเพื่อเปนพุทธบูชา และเปนสถานท่ีเคารพสักการะ ระลึกนึกถึงพระพุทธคุณขององคพระสัมมาสัมพุทธเจา

Page 34: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๑

การสืบทอดพทุธศิลป การสืบทอดงานพุทธศิลปสมัยหลัง สามารถสรุปไดอยู ๓ ยุค ยุคแรกคือภายหลัง

พระพุทธศาสนามาถึงประมาณพุทธศักราช ๓๐๐ งานพุทธศิลปไดเจริญรุงเรืองข้ึนเปนอยางมาก ดวยความอุปถัมภของพระเจาอโศกมหาราช ภายหลังเม่ือพระองคทรงเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาแลว ทรงเปนองคอุปถัมภการทําสังคายนาคร้ังท่ี ๓ และทรงรวบรวมพระบรมธาตุจาก ๘ เมืองท่ีบรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธองค มาแบงออกเพ่ือสรางสถูปหรือเจดียข้ึนอีก ถึง ๘๔,๐๐๐ แหง รวมทั้งอารามท่ีใหญท่ีสุดช่ือวา อโศการาม นอกจากนี้ยังมีส่ิงกอสรางท่ีเปนหลักฐานจนถึงปจจุบัน เชน เสาอโศก ท่ีบรรจุหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา หรือจะเปนสถูปสาญจิ

ยุค ท่ีสอง คือภายหลัง ส้ินราชวงค โม ริยะแลว กษัต ริย ศุ งคะมิได อุป ถัมภพระพุทธศาสนาดั่งสมัยพระเจาอโศก แตพระพุทธศาสนาก็ยังเจริญแพรหลายอยู สวนพุทธศิลปนั้นไดเจริญข้ึนกลาวคือ ยุคนี้เปนการบูรณปฏิสังขรณศาสนสถาน การสรางพุทธเจดียก็ผิดกับคร้ังพระเจาอโศก คือไมมีการแจกพระบรมธาตุ ดังนั้นจะเปนการบูรณะเจดียข้ึนใหม ไปตามลักษณะความเล่ือมใส ดั่งเชนความคิดในการแกไขรูปทรงพระสถูปหรือเจดีย เชน การตอยอดใหสูง หรือการทําฐานทักษิณรององค (ระฆัง) สถูปเปนหลายช้ันข้ึน นอกจากนี้แลวความเจริญของพุทธศิลปไดแตกความเจริญข้ึนอีกดานหน่ึง นั้นคือ ภาพจําหลัก ท่ีเลาเร่ืองชาดกหรือเร่ืองพุทธประวัติ ความเจริญเหลานี้ นาเช่ือวาไดรับจากวัฒนธรรมกรีก

ยุคท่ีสาม เปนยุคแหงความเจริญสูงสุดของพุทธศิลป กลาวคือ ราวพุทธศักราช ๕๐๐ กษัตริยองคหนึ่ง ช่ือ พระเจากนิษกะมหาราช ไดทรงศึกษาและทรงเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาและประกาศเปนพุทธมามกะ ส่ิงท่ีพระองคทรงสรางเปนอนุสรณ คือ การผลิตพระพุทธรูป จําเดิมวัฒนธรรมอินเดียไมนิยมสรางรูปเคารพ จึงปรากฏรูปอ่ืน ๆ เปนสัญญลักษณ เชน เสาเสมาธรรมจักร บัลลังกวาง แตมายุคท่ีสามนี้เปนความเจริญของพุทธศิลปคือพระพุทธรูป ท่ีเกาะสลักข้ึนดวยหินทรายออน ณ เขตคันธาระและอาฟกานิสถานเรียกวา “พุทธศิลปสมัยคันธาระ”

เพื่อเปนการสรางความเขาใจงานชางพุทธศิลป ผูศึกษาพึ่งบรรยายประวัติศาสตรพุทธศิลปตามยุคสมัย เพราะการศึกษาพุทธศิลป พึงอาศัยหลักฐานทางศาสนาสถานท่ีปรากฏ คือ ศาสนสถานและศาสนาวัตถุ ท่ีสามารถบงบอกเร่ืองราวทางประวัติศาสตรของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะเร่ืองราวของ “พระพุทธรูปและพระเจดีย” เพื่อเปนพื้นฐานการศึกษาพัฒนาการพุทธศิลปในเมืองไทย เร่ิมจากลักษณะพุทธศิลปสมัยคันธาระ ท่ีรุงเรืองในพุทธศตวรรษท่ี ๖ – ๙ จนมาถึงพุทธศิลปสมัยรัตนโกสินทร เพื่อใหเปนพื้นฐานการศึกษาพัฒนาการของพุทธศิลปในเมืองไทย ท่ีสามารถเช่ือมโยงไปถึงการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง

Page 35: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๒

๑. พุทธศิลปสมัยคันธาระ เกิดข้ึนสมัยพระเจากนิษกะกษัตริยราชวงคศุงคะหรือกุศาน๒๕ ทรงปกครองแควน

คันธาระตลอดลุมแมน้ําสินธุและคงคา ศุงคะวงคเปนชนเผาตาด สาขาตุรกีกับมงโกลผสมกันจึงกลาท่ีจะสรางพระพุทธรูปเปนรูปมนุษย คือ ดวงพระพักตรกลม พระนาสิกโดงอยางฝร่ัง พระเกศามุนเกลาเปนเมาลี ไดสรางใหเห็นองคาพยพ เสนเอ็นอยางชัดเจนภายใตจีวรบาง ๆ พระพุทธรูปแบบนี้ขุดพบท่ีอินเดียตอนบนและอาฟกานิสถาน นอกจากนั้นก็มีการสรางรูปพระโพธิสัตว มีลักษณะเหมือนรูปมนุษย การทรงเคร่ืองโดยเฉพาะการแตงตัวเปนแบบมนุษยในสมัยนั้น

พระเจดีย มีลักษณะคลายสมัยพระเจาอโศก แตปกฉัตรซอนกัน ๕ ช้ัน และมีซุมจรนําอยูดานหนา ซุมจรนําทําแบบซุมประตูทางเขาถํ้าเจดียสถาน

สถาปตยกรรม ยังเปนสถาปตยกรรมอินเดียโบราณ แตไมนิยมขุดถํ้าในภูเขา การสรางอาคารนิยมสรางอาคารแบบกรีกและโรมัน คือมีผังส่ีเหล่ียม ทางดานหนามีเสาประดับ แตมีภาพพระพุทธรูปประดับอยูบนหัวเสา

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยคันธาระ ถือไดวา เปนสมัยเ ร่ิมตนของพุทธศิลป โดยเฉพาะ

พระพุทธรูป เดิม ศุงคะวงคคงมีความเชี่ยวชาญในการเกาะสลักเปนอยางมาก เม่ือหันมานับถือพระพุทธศาสนา จึงมีคติเกี่ยวกับการสรางรูปเคารพ คือพระพุทธรูป ท่ีเอาแบบอยางมนุษยมากข้ึน แตก็มีสวนตางของมนุษยท่ีบงบอกถึงพระบรมศาสดา ในระยะหลังการสรางรูปเคารพเปนท่ีนิยมมากข้ึนท้ังนี้คงเกิดจากการเคล่ือนท่ีทางศาสนาและวัฒนธรรมไปพื้นท่ีตาง ๆ ดังนั้นลักษณะการสืบทอดจึงเปนแบบเอาอยาง คือถือคติตามความนิยม เห็นไดจากการสรางพระพุทธรูปในสมัยตอ ๆ มา

๒. พุทธศิลปสมัยมถุรา รุงเรืองระหวางพุทธศตวรรษท่ี ๖- ๙ เปนพุทธศิลปท่ีเจริญข้ึนทางทิศเหนือท่ีสืบตอมา

จากศิลปะอินเดียโบราณ ศูนยกลางของพุทธศิลปอยูท่ีเมืองมถุราแถบลุมแมน้ํายมนา การสรางพระพุทธรูป สลักดวยหินสีแดงแบบหินทรายแดง พระพักตรทําเปนรูปกลม พระเกศาเรือบไมทําเปนเสน องคพระพุทธรูปอวนใหญนั่งขัดสมาธิเพชร หมจีวรแบบหมดอง มีผามัดอก จีวรท่ีหม

๒๕เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร,

๒๕๓๘),หนา ๑๕.

Page 36: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๓

เฉียงบนบาซายเปดไหลขวา หากเปนพระพุทธรูปแบบยืน จะยืนแหวกผาท่ีหมคลุมพาดท่ีพระหัตถ ไมนิยมทําบัวรองรับท่ีฐานพระพุทธรูป สวนมากจะทําเปนรูปสิงหหนุนท่ีฐาน

สถาปตยกรรมท่ัว ๆ ไปของศิลปะสมัยมถุรานั้น ไมเหลือพอที่จะยกเปนตัวอยางได นอกจากเจดียแบบตาง ๆ สวนมากก็เปนเจดีย สรางอยูบนฐาน ๓ ช้ัน ช้ันท่ี ๓ ท่ีเปนยอดทําเปนรูปคร่ึงวงกลม ท่ียอดรูปวงกลมทําเปน ๘ เหล่ียมสอบปลายเขาหากัน สวนปลายยอดสุดทําแหลมมนข้ึนไป

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยมถุรา เช่ือวานาจะไดรับอิทธิพลคติความเช่ือสืบตอจากสมัยคันธาระ

จากการเคล่ือนท่ีทางศาสนาและวัฒนธรรม แตลักษณะการสรางกลับไมถือแบบคันธาระ กลับปรากฏเปนลักษณะแบบอินเดียโดยตรง ตามสรีระรางกายของคนอินเดีย นาเช่ือวาชางเกาะสลักคงเปนชาวพื้นเมืองมากข้ึน ท่ีตองการเสนอถึงลักษณะความเปนชาวอินเดีย ดังนั้นลักษณะการสืบทอดงานพุทธศิลปสมัยมถุรานี้ ชางคงไดรับอิทธิพลจากสมัยคันธาระ แตการสรางกลับถือแบบอยางของอินเดีย นาเช่ือวาเขตมถุราคงเปนชนพื้นเมืองดังเดิมอยูมาก

๓. พุทธศิลปสมัยอมราวดี รุงเรืองระหวางพุทธศตวรรษท่ี ๗ – ๙ เปนพุทธศิลปท่ีเจริญข้ึนทางทิศตะวันออกเฉียง

ใต คืออาณาจักรอันธระ (ปจจุบันคือ ไฮเดราบัด) ลักษณะของพุทธศิลปอมราวดี ข้ันตนมีลักษณะทาทางเคล่ือนไหว แตตอมาก็เปนแบบสงบน่ิง พระพุทธรูปเปนแบบหมเฉียงบาขางซาย จีวรเปนร้ิว ๆ ยกพระหัตถซายและขวาทาพระทานพร พระเกศาทําแบบขมวดกนหอย พระพักตรกลม ลักษณะพระพุทธรูปแบบนี้ไดเผยแผมายังภาคตะวันออก โดยเฉพาะลังกา จัมปา และไทย

สถาปตยกรรม ท่ีเหลืออยูก็คือภาพจําหลักท่ีเกี่ยวกับเจดีย เปนเจดียลักษณะเดียวกับอินเดียโบราณ คือต้ังอยูบนฐานมีร่ัวลอมรอบท้ัง ๔ ดาน แตละดานมีเสาปกอยูดานละ ๕ เสา สวนยอดของเจดียมีบัลลังกและปกฉัตร ท่ีองคเจดียมีลวดลายแบบพวงมาลัยคลองอยูโดยรอบ มาลัยนี้จะเปนหวงวงกลม และมีกรอบ ๔ เหล่ียมค่ันอยูโดยตลอด

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยอมราวดี คงไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปคันธาระจากการเคล่ือนท่ีทาง

วัฒนธรรมเชนกัน ถึงแมพระพุทธรูปท่ีปรากฏจะเปนแบบลักษณะของอินเดียทางใตโดยตรง แตลักษณะบางอยางก็มีเคาโครงจากพุทธศิลปคันธาระเขามาปะปนอยูดวย๒๖และพระพุทธรูปอมราวดี

๒๖คงเดช ประพัฒนทอง, โบราณคดีประวัติศาสตร, กรมศิลปากร. ๒๔๒๙,หนา. ๑๙.

Page 37: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๔

มีอิทธิพลตอการสรางพุทธศิลปในลังกา จัมปา และไทย จากการขุดคนทางโบราณคดีมีมติรวมกันวา “ไมมีพระพุทธรูปคันธาระและมถุราบนผืนแผนดินไทย”๒๗ แตปรากฏเปนแบบพุทธศิลปอมราวดีเปนจํานวนมาก เอกลักษณของพระพุทธรูปอมราวดี คือ พระพุทธรูปปางนาคปรก ดังนั้น การสืบทอดพุทธศิลปก็ยังไดรับการเคล่ือนท่ีทางวัฒนธรรมจากพุทธศิลปคันธาระ(ทางเหนือ) ท่ียังปรากฏเคาโครงอยูในพุทธศิลปอมราวดีอยู (ทางใต)

๔. พุทธศิลปสมัยคุปตะ รุงเรืองราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ – ๑๕ พระพุทธรูปจะสรางตามอุดมคติแบบอินเดีย

อยางแทจริง คือ การทําจีวรหมคลุม และชอบสรางชนิดมี ประภามณฑล (แผนหลังประกอบพระพุทธรูปเปนแบบวงกลมรัศมี) ตอมาสรางแบบจีวรคลุมบางแนบเนื้อ นิยมสรางรูปยืนเอียงสะโพกแบบตริภังค ยกพระหัตถขวาในทาประทานอภัย ถาเปนรูปนั่งมักยกพระหัตถประสานกันเปนทาประทานปฐมเทศนา สวนภาพพระโพธิสัตวหรือเทวดา จะสรางชนิดมีเคร่ืองทรงสูงประดับไปดวยพุตรภรณอยางมากมาย ลักษณะทาทางเปนรูปประติมากรรมท่ีดูนุมนวลคลายกับมีเนื้อหนังประกอบ เห็นจริงจัง พุทธศิลปเหลานี้ตอมาไดเปนตนแบบของพุทธศิลปทางภาคตะวันออกไกล เชน ประเทศไทย

สถาปตยกรรม มีการสรางท่ีเลียนแบบสถาปตยกรรมอินเดีย คือการสรางถํ้า คือ ถํ้าเจดียสถานและถํ้าวิหาร แผนผังของถํ้าเจดียเปนรูป ๔ เหล่ียมผืนผาท่ีปลายสุดของถํ้า มนเปนรูปโคงมีเจดียต้ังอยู แตเจดียภายในถํ้าไดแกไขเปนเจดียทรงสูง มีเสาประดับท่ีประกอบเปนซุม ภายในซุมเปนประดิษฐานพระพุทธปฏิมา เสาวิหารที่เรียงอยูในถํ้านั้นก็จะมีการสลักอยางวิจิตรเต็มไปดวยการประดับบัวหัวเสา ก็มีท้ังบัวและท่ีรองรับโครงสรางเพดาน สวนถํ้าวิหาร ก็มีลักษณะเชนเดียวกับถํ้าวิหารสมัยโบราณ

จิตรกรรม เปนการเขียนภาพสีภายในถํ้าเจดีย ชนิด สีปูนเปยก คือการเขียนภาพลงไปบนปูนท่ียังไมแหง เชน ภาพพระพุทธรูปหรือภาพพระโพธิสัตว ถาเปนภาพท่ีสําคัญก็จะมีการปดทองดวย เพื่อเปนการเพิ่มความเดนไปในตัว

นอกจากนี้พุทธศิลปสมัยคุปตะยังมี สถาปตยกรรมกลางแจง คือ การสรางเจดียและวิหาร เจดียกลางแจงของคุปตะแตกตางกับเจดียในถํ้า โดยเจดียในถํ้ามีฐานสูงหนุนดวยเสาท่ีรองรับซุมตาง ๆ เรียกวา ซุมทิศ หรือซุมจรน้ํา ภายในซุมมีพระพุทธรูปมาประดับอยู สรางฐานกลม ประกอบไปดวยฐานบัว องคระฆัง บัลลังก จะสรางเปนชนิดยอมุมและตอยอดข้ึนไป เจดีย

๒๗เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๙.

Page 38: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๕

เหลานี้ตอมาไดมีอิทธิพลแกพุทธศิลปในประเทศไทย๒๘ คือยุคสมัยทวารวดี พุทธศิลปคุปตะเปนศิลปะท่ีไดรับการยกยองวาเลอเลิศอลังการ เปนศิลปะท่ีกาวหนารุงโรจน มีคาสูงสุดของศิลปกรรมโบราณของอินเดีย๒๙

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปคุปตะถือไดวาเปนสมัยท่ีเจริญสูงสุดของอินเดีย และเปนตนแบบของพุทธ

ศิลปทางตะวันออก การสรางพระพุทธรูปจะสรางตามอุดมคติแบบอินเดียแทจริง แสดงวาพุทธศิลปคุปตะมีความลงตัวมากท่ีสุด และยังเปนแหลงผลิตพุทธศิลปท้ังพระพุทธรูป สถาปตยกรรม และจิตรกรรม ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปจากท่ีไดรับการอุปถัมภจากราชวงคคุปตะแลว สกุลชางคุปตะคงมีจํานวนมากเชนกัน ท่ีสามารถสรรคสรางงานพุทธศิลปเปนจํานวนมากเชนกัน อนึ่งสมัยคุปตะท่ีสรางสถาปตกรรมพิเศษคือ เจดียเหล่ียมแบบมียอด ๕ ยอด โดยรอบเจดียประดับไปดวยซุมจรนําตาง ๆ ภายในซุมประดิษฐานพระพุทธรูปปางตาง ๆ พรอมท้ังรูปพระอาทิตยพุทธเจาและพระธยานิพุทธะปางตาง ๆ

๕. พุทธศิลปสมัยหลังคุปตะ พุทธศิลปแบบน้ีจัดอยูในแบบเดียวกับพุทธศิลปแบบคุปตะ มีอายุระหวางตนพุทธ

ศตวรรษท่ี ๑๓ - ๑๕ เปนแบบศิลปะท่ีผสมกันระหวางศาสนาพราหมณและพุทธศาสนา การสรางพระพุทธรูปถึงแมจะกําเนิดตามพุทธศิลปคุปตะแท แตพุทธลักษณะก็ดูไมนุนนวลนัก๓๐ พระพุทธรูปนิยมสรางใหมีลักษณะพระวรกายอวบอวน พระเศียรใหญ พระศออวบ สีพระพักตรดุกวาแบบคุปตะ จีวรบางแนบสนิทพระองคไมมีร้ิว มีท้ังหมคลุมและหมเฉียง

สถาปตยกรรมสรางดวยหินและอิฐข้ึนกลางแจง มีการขุดลงไปในหินกอนใหญ ๆ ท่ีสําคัญมีอยู ๒ แหง คือ ถํ้าเอเลฟนตะ (Elephanta) อยูบนเกาะหนาเมืองบอมเบย และท่ีถํ้าเอลรูลา (Ellura) ทางทิศตะวันตกของบอมเบย เปนการวางหินใหซอนกันเปนช้ัน ๆ ใหแหลมข้ึนไป แลวจําหลักรูปอาคารเล็ก ๆ ประดับอยูตามชั้นของหลังคาโดยตลอดถึงยอด ท่ีมุมของอาคารเหลานี้ก็จะทํายอมุมลดหล่ังลงไป ใหดูคลายกับวาอาคารนั้นดูเพียวและไมหนัก สถาปตยกรรมนี้เปนตนฉบับของสถาปตยกรรมเคร่ืองยอดของตะวันออกไกล ไดแก ไทย พมา เขมร และลาว

๒๘เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

๒๕๓๗),หนา ๒๐. ๒๙ฉลอง ปรีดาบุญ, ใตรมพุทธศิลปะ,(กรุงเทพมหานคร), หนา ๒๗. ๓๐เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๓.

Page 39: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๖

การสืบทอดพทุธศิลป เนื่องดวยสมัยหลังคุปตะ ศาสนาพราหมณไดรับความนิยมมากข้ึน ทําใหการสราง

พุทธศิลปลดจํานวนลง สถาปตยกรรมท่ีเปนตนแบบใหกับสถาปตยกรรมเคร่ืองยอดทางตะวันออก ไดแก ไทย พมา เขมร และลาว ไดแกรูปอาคารและหลังคาท่ีเปนสถาปตยกรรมกลางแจงของอินเดีย และสถาปตยกรรมท่ีมีหลังคาโคง ท่ีเรียกวา ศิขร เชน เทวสถาน ณ ศิรปุระ อาคารแบบนี้ตอมาไดเปนตนแบบของการสรางปรางคแบบขอม ในดินแดนประเทศไทยและเขมร ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปก็พึงอาศัยการเคล่ือนท่ีทางศาสนาและวัฒนธรรม ท่ีผานมาจากนักบวช หรือพอคาวาณิช ท่ีตอมาเปนตนแบบใหกับพุทธศิลปในตะวันออกรวมท้ังประเทศไทย

๖. พุทธศิลปสมัยปาละ – เสนะ เปนพุทธศิลปท่ีมีอิทธิพลอยูทางภาคตะวันออกไกลเปนอยางมาก เพราะเปนตนแบบ

ใหเกิดเปนสกุลชางศิลปะหลาย ๆ แบบ ท้ังศิลปะแบบชวา ศิลปะจีน ศิลปะเชียงแสนในประเทศไทย พุทธศิลปปาละ – เสนะ เปนศิลปะทางพระพุทธศาสนาอยูภายใตความอุปถัมภของราชวงคปาละ – เสนะ ครอบคลุมอยูแถบแควนเบงกอลและพิหาร ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ต้ังแตพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ – ๑๘ พุทธศิลปสมัยปาละ – เสนะ เปนศิลปะท่ีสืบตอจากพุทธศิลปแบบคุปตะและหลังคุปตะท้ังงานสถาปตยกรรมและประติมากรรม

สถาปตยกรรมท่ียิ่งใหญของปาละ – เสนะ คือ มหาวิทยาลัยนาลันทา มีช่ือเสียงในพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ เกิดข้ึนเพราะมีวัดรวมกัน ๕ วัด คือ นาลัยทา วลภี วิกรมศิลา โสมปุรี และชคัททละ มหาวิทยาลัยแหงนี้ถือวาเปนมหาวิทยาลัยท่ีเกาแกท่ีสุด ต้ังอยูในแควนมคธ ไมไกลจากกรุงราชคฤห ณ มหาลัยนาลันทานี้เองท่ีเปนแหลงพุทธศิลปในสกุลตาง ๆ รวมท้ังประเทศไทยดวย เพราะมหาวิทยาลัยนาลันทาเปนแหงการศึกษาพระพุทธศาสนาท่ีนักศึกษามาจากประเทศตาง ๆ มีคณาจารยบรรยาย ๑,๕๐๐ รูป มีหลักสูตรท่ีเปนแหลงพุทธศิลปเรียกวาปญจวิทยาสถาน๓๑ มีวิชาศิลปวิทยา ศึกษาท้ังสถาปตยกรรม ชางหลอ ชางปน ชางเขียน เปนตน

ประติมากรรมสมัยปาละ – เสนะ มีท้ังประติมากรรมท่ีทําเปนภาพสลักหินและหลอดวยสําริด ภาพสลักหินจะสลักแบบยืนอิงแผนหินทางเบ้ืองหลัง ยืนเอียงสะโพก พุทธศิลปแบบปาละ – เสนะน้ี มีอิทธิพลตอการสรางงานพุทธศิลปในลังกา พมา ไทย ธิเบต เกาะชวาภาคกลางและสุมาตรา

๓๑เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา (ฉบับมุขปาฐะ ภาค ๑) ,(กรุงเทพมหานคร :

มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๑๔๔ – ๑๔๕.

Page 40: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๗

การสืบทอดพทุธศิลป ยุคนี้พระพุทธศาสนาไดรับการอุปถัมภจากราชวงคปาละ–เสนะ ท่ีมีอํานาจแควน เบ

งกอลและพิหาร แตเปนพุทธศาสนาถือลัทธิแบบ ตันตระ มีการใชเวทมนตร มีการนับถือพระโพธิสัตว ดังนั้นจึงมีพระพุทธรูปแบบทรงเคร่ืองหรือพระโพธิสัตวหลายเศียรหลายกรเปนจํานวนมาก พุทธศิลปปาละ – เสนะ ถือไดวาเปนยุคสุดทายของอินเดียกอนท่ีจะถูกกองทัพอิสลามรุกราน ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปก็พึงอาศัยการเคล่ือนท่ีทางวัฒนธรรมเชนกัน และพุทธศิลปปาละ – เสนะนี้ไดเปนตนแบบพุทธศิลปและสกุลชางศิลปะ๓๒ ตาง ๆ ทางตะวันออก ไมวาจะเปน ศิลปะชวา ศิลปะจีน และศิลปะเชียงแสนในประเทศไทย

นอกจากนี้แลว สกุลชางพุทธศิลปท่ีควรศึกษาเพื่อเปนแนวทางการศึกษาคร้ังนี้ เพื่อเปนการสรางความเขาเกี่ยวกับเร่ืองพุทธศิลปท่ีควรศึกษาอีกคือ พุทธศิลปลังกา พุทธศิลปจาม พุทธศิลปชวา พุทธศิลปขอม ท่ีสงอิทธิพลตอสกุลพุทธศิลปในประเทศไทยไมนอย

๗. พุทธศิลปะลังกา ไดรับอิทธิพลทางพระพุทธศาสนา ต้ังแตพุทธศตวรรษท่ี ๓ คร้ังสมัยพระเจาอโศก

จัดธรรมทูตในการเผยแผพระพุทธศาสนา สายท่ี ๙ มีพระมหินทรเปนผูนํา ไดนําเอาพระพุทธศาสนาไปประดิษฐานในลังกา ในสมัยพระเจาเทวานัมปยติสสะ และนาเช่ือวาพระพุทธศาสนาเปนแบบเถรวาท๓๓ ดังนั้นพุทธศิลปลังกาจะมีรูปแบบใกลเคียงกับพุทธศิลปเมืองไทย พุทธศิลปลังกาแบงออกไดเปน ๒ สมัย คือ ลังกาสมัยแรกและลังกาสมัยหลัง

สมัยแรก เ ร่ิมตนพุทธศตวรรษท่ี ๓ – ๑๔ มีศูนยกลางอยู ท่ี เ มืองอนุราฐปุระ (Anuradhapura) โดยมีกษัตริยช่ือวา พระเจาเทวานัมปยาติสสะ ทรงเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา แตสถาปตยกรรมของลังกาสมัยนี้ ไมเหลือหลักฐานอะไรท่ีพอเปนเคร่ืองยืนยันไดวาเกาถึงสมัยพระเจาอโศก เพราะถูกดัดแปลงแกไขไปตามยุคสมัย ถึงพุทธศตวรรษท่ี ๕ มีกษัตริยองคหนึ่ง ช่ือวา พระเจาทุฏฐคามนี เปนกษัตริยท่ีเผยแผพระพุทธศาสนาไปท่ัวลังกา

สถาปตยกรรมท่ีปรากฏ คือ เจดียและวิหาร สรางเปนคูกัน ลักษณะเจดียประกอบดวยฐาน องคระฆังและยอดเจดีย เจดียท่ีมีช่ือเสียงช่ือวา ถูปาราม (Thuparama) สรางในพุทธศตวรรษท่ี ๓ และเจดียรุวันเวลิ (Ruwanweli) มีวิหารลอมรอบโดยตลอด วิหารมีลักษณะผัง

๓๒เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

๒๕๓๗), หนา ๒๓. ๓๓สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๒๑.

Page 41: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๘

เปนรูป ๔ เหล่ียมผืนผา ผนังกออิฐ ภายในมีเสาเรียง ๒ แถว เสาเปนรูป ๘ และ ๔ เหล่ืยม สวนปลายเสาทําเปนรูปสิงโตคาบพวงอุบะ มีประตูเขาทางเดียว

สถาปตยกรรมลังกาท่ีมีช่ือเสียงอีก เรียกวา โลหะปราสาท สรางโดยพระเจาทุฏฐคามนี ประกอบดวยเสา ๑,๖๐๐ ตน หนังสือพงศาวดารกลาววา ปราสาทแหงนี้เปนอาคาร ๙ ช้ัน มีพระสงฆอาศัยอยูในช้ันตาง ๆ ตามภูมิความรู หลังคาปราสาทสรางดวยทองแดง ภายหลังถูกไฟไหม จึงมีการกอสรางข้ึนเพียง ๕ ช้ัน

สมัยหลัง มีศูนยกลางอยู ท่ี เมืองโปลนนารุวะ สมัยพระเจาปรากรมพาหุท่ี ๑ (พุทธศักราช ๑๗๐๗ – ๑๗๔๐) พุทธศิลปคือภาพจําหลักในวิหารคัล (Gal) เปนภาพจําหลักพระพุทธรูปปางปรินิพพาน ยาว ๑๗ เมตร หมร้ิวแบบพุทธศิลปอมราวดี มีรูปพระอานนทยืนพิงหนาผางอเขาขางหนึ่ง

สถาปตยกรรมท่ีมีช่ือเสียง คือ สัตตมหาปราสาท เปนการสรางท่ีแสดงถึงเขาพระสุเมรุ มีลักษณะคลายเจดียสุวรรณจังโกฏิ ท่ีวัดจามเทวี จังหวัดลําพูน และมีอีกแบบหน่ึงเรียกวา นิสสันกะลดามณฑป มีแปลนเปนรูป ๔ เหล่ียม มีร้ัวลอมรอบ อาคารนี้มีเสาเรียงรอบหลังคาอยู ๘ ตน เสานี้ทําเปนรูปกานบัวโคงไปโคงมา บัวหัวเสาเปนรูปดอกบัวกําลังบาน

จิตกรรมของลังกาอีก คือ ภาพเขียนท่ีเขา สีคิริยะ (Sigiriya) เปนภาพนางฟากําลังโปรยดอกไม เขียนข้ึนในพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ ไดรับอิทธิพลจากอินเดีย

การสืบทอดพุทธศิลป เนื่ องด วย ลังกาและไทย มีความสัมพันธกัน เปนอย างดี โดย เฉพาะด าน

พระพุทธศาสนา สมัยพระเจาสามฝงแกน พระสงฆลานนา ๒๕ รูป เดินทางไปศึกษาที่ลังกา๓๔ หรือสมัยกรุงศรีอยุธยา ไดสงคณะสงฆไทยไปฟนฟูพระพุทธศาสนาในลังกาดวย ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปจึงมีการเอาแบบอยางมาเปนตนแบบของงานพุทธศิลป เชน พระพุทธรูปแบบลังกาสมัยแรก มีอิทธิพลตอการสรางพระพุทธรูปในสุโขทัย หรือแบบสถาปตยกรรมท่ีเรียกวา สัตตมหาปราสาท มีลักษณะคลายเจดียสุวรรณจังโกฏิ ท่ีวัดจามเทวี จังหวัดลําพูน แสดงวาพุทธศิลปแบบลังกาก็สงอิทธิพลตอพุทธศิลปในประเทศไทยเชนกัน

๘. พุทธศิลปจาม หรือจัมปา พุทธศิลปจามสวนใหญเปนงานสถาปตยกรรม มีลักษณะคลายกับปรางคของไทยและ

ศิลปะขอม คือ อาคารเปนผัง ๔ เหล่ียม ต้ังอยูบนฐานเต้ีย ๆ อาคารจะซอนกันอยู ๓ ช้ัน ช้ันของ

๓๔สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒ ๕๓๔), หนา ๔๙.

Page 42: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๙

อาคารเหลานี้จะยอมุมตาง ๆ มุมของอาคารแตละช้ันจะมีรูปจําลองของอาคารใหญหรือรูปท่ีมีลักษณะคลายหัวเม็ดประดับ ยอดสุดจะเปนกลุมดอกบัวประดับ สถาปตยกรรมจามสามารถจําแนกออกเปน ๖ สมัย คือ

สมัยกอนฮัวลาย (พุทธศตวรรษท่ี ๑๓) มีซุมประตูโคงแบบอินเดียชนิดโคงกวาง มีภาพประดับในซุม สวนนอกของอาคารท่ีซอนกันนั้นมีเสาประดับติดกับผนัง เสาประดับผนังประกอบดวยลายกานขด

สมัยฮัวลาย พุทธศตวรรษท่ี ๑๔ มีซุมประตูเปนซุมซอนกัน ๒ ช้ัน ปรายซุมมวนเขาภายใน แตสวนนอกของลายทํามวนออกเปนลักษณะพิเศษลวดลายประดับเสาทําเปนลายกาน ตอดอก

สมัยดงเดือกหรืออินทรปุระ พุทธศตวรรษท่ี ๑๕ ลักษณะซุมมีลวดลายท่ีปลายมวนออก ยอดซุมเปนลายพุม สวนลวดลายที่เสาก็กลายเปนลายเครือเถาแบบกระจังฟนปลา หรือลายแทงหยวกของไทย

สมัยเมซอน พุทธศตวรรษท่ี ๑๕ – ๑๖ ซุมสมัยนี้มีลักษณะเรียบ ๆ คือประกอบดวยวงโคงและมีพุมประดับอยูท่ีสวนยอด วงโคงท่ีซุมมีท้ังหมด ๘ วง ตอมาสงอิทธิพลแกซุมประตูและหนาบันในศิลปะขอม

สมัยบิญดิญ พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ – ๑๙ เปนวิวัฒนการข้ันสุดทายของของศิลปะจาม คือมีลัษณะคลายกับหนาบันหรือซุมบัณแถลงของไทยท่ีซอนกันอยู ๒ ช้ัน ลวดลายท่ีซุมเปนลายใบไมแบบละเอียดเรียงกันอยูเปนแถว

สมัยหลัง จากพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ลงมา เปนยุคเส่ือมสุดของศิลปะจาม ไมมีการกอสรางทางสถาปตยกรรมท่ีเปนตนแบบ เวนแตรูปประติมากรรมท่ียังคงมีการสืบ ๆ กันมา

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปจาม กับพุทธศิลปไทย เขาใจวามีความใกลชิดกัน เพราะอยูในภูมิศาสตร

เดียวกันและมีความสัมพันธกันทางการเมือง โดยเฉพาะสมัยอยุธยา ท่ีจามไดอพยพเขามาพ่ึงบารมีเพื่อหนีความกดข่ีจากญวน และไดสมัครเปนทหารอาสาจามชวยกองทัพไทยดวย ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปคงเปนการเอาอยางจากท่ีเห็นจากการเขามาสัมพันธไมตรีดวยกัน ดังจะเห็นวาสถาปตยกรรมของจามมีลักษณะคลายกับปรางคของไทยและของขอม

Page 43: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๓๐

๙. พุทธศิลปชวา เร่ิมตนราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ – ๒๐ โดยไดรับอิทธิพลจากอินเดีย คือพุทธศิลปสมัย

อมราวดี คุปตะ และปาละ – เสนะ เชนเดียวกับศิลปะสถาปตยกรรมสมัยศรีวิชัยในประเทศไทย พุทธศิลปชวาแบงออกได ๒ สมัย คือ

ชวาภาคกลาง ศูนยกลางอยูภาคกลางของเกาะชวา ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ – ๑๖ สถาปตยกรรมมีท้ังอาคารเล็กและอาคารใหญ สรางดวยหิน เปนรูปอาคาร ๔ เหล่ียม บนช้ันหลังคาของอาคารประดับดวยเจดียเล็ก ๆ ช้ันหลังคาซอนกันอยู ๓ ช้ัน แตละช้ันมีเจดียเล็กประดับอยูโดยรอบ ท่ียอดสุดมีเจดียใหญเปนประธาน เชน จันทิเมนดุด จันทิปะวน จันทิกะลาสัน จันทิเซวู พุทธศิลปสถานท่ีมีช่ือเสียง คือ บุโรพุทโธ (Borobudur) ฐานทําเปนช้ัน ๆ ชอนกัน ๗ ช้ัน แตละช้ันก็มีซุมประดับ ซุมเหลานั้นสรางเปนซุมเรือนธาตุฐานตอยอด ซุมเรือนแกวเปนซุมโคง ยอดซุมท่ีจะขาดมิไดคือรูปเกียรติมุขคาบมกร ปลายงวงมกรเก่ียวพวงอุบะ ท่ีเปนลักษณะพิเศษของพุทธศิลปชวา ท่ีซุมเรือนธาตุยอดเจดียแตละซุมตอเซ่ือมดวยกําแพงจําหลักเปนภาพชาดกในพระพุทธศาสนา (ภาพชาดกน้ีถาหากนํามาตอกันเขาจะไดความยาวถึง ๖ กิโลเมตร) บนช้ันยอดสุดของบุโรพุทโธเปนลานกวาง ประกอบดวยเจดียเล็ก ๆ ลอมเจดียใหญถึง ๗๒ องค เจดียเหลานี้หมายถึง จักรวาลตาง ๆ สวนพระพุทธรูปมีลักษณะอวนเหมือนสรีระเด็ก ๆ ไมวาจะเปนพระพุทธรูปหรือรูปพระโพธิสัตว ไดรับอิทธิพลคุปตะและหลังคุปตะ ภาพจําหลักและจําหลักรอบตัวเหลานี้มีลักษณะสงบนิ่ง ออนหวานไมแข็งกระดาง ปลายพุทธศิลปชวาภาคกลางไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปปาละ – เสนะ จะเห็นไดจากการตกแตงเกี่ยวกับเคร่ืองประดับมากมาย

ชวาภาคตะวันออก ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ – ๒๐ เปนพุทธศิลปท่ีเปนของตัวเองปนพื้นเมืองมากท่ีสุด สถาปตยกรรมไดรับอิทธิพลจากภาคกลาง แตรูปรางของอาคารไดเปล่ียนไป คือมีรูปทรงแคบเขา หลังคาสูงข้ึนมาก ซอนกันเปนช้ัน ๆ ดูแลวมีลักษณะหนักกดทับสวนลาง ลวดลายเคร่ืองประดับทางเขาประตูโดยเฉพาะหนากาลทําชนิดมีริมฝปากลางหนาตาดุรายข้ึน สวนประติมากรรมลอยตัวจําหลักยืนอิงแผนหินท่ีเรียกวา ประภามณฑล ท่ีปลายประภามณฑลทํารูปโคงแหลม การประดับอาภรณตาง ๆ มีมากข้ึนทําใหดูหนัก การจําหลักภาพนูนสูงจะทําเปนภาพเอียงขางเปนสวนมากและไมยอมใหมีท่ีวางเหลืออยูทางดานหลังของภาพ จึงประดับดวยตนไมดอกไมลักษณะเชนนี้ตอมาไดใหแกการจําหลัก วาหยัง (Wayang) คือ หนังตะลุงของชวา

การสืบทอดพทุธศิลป พุทธศิลปชวาหรือประเทศอินโดนีเชียปจจุบัน เปนพุทธศิลปพุทธศาสนาแบบ

มหายานและมีความใกลชิดกับภาคใตของไทย คือ อาณาจักรศรีวิชัย (พุทธศตวรรษท่ี ๑๓ – ๑๘) ท่ี

Page 44: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๓๑

นับถือพระพุทธศาสนาแบบมหายานเชนกัน นาเช่ือวาพุทธศาสนาและพุทธศิลปมีการเคล่ือนท่ีทางวัฒนธรรมจากชวาข้ึนมาในประเทศไทย ไมวาจะเปนลักษณะของสถาปตยกรรม หรือจิตรกรรม แตนาเช่ือวาคงมีอิทธิพลตอพุทธศิลปไทยไมนอย

๑๐. พุทธศิลปขอม ขอมเปนชนพ้ืนเมืองท่ีอาศัยอยูในดินแดนลุมแมน้ําเจาพระยา ภาคตะวันออกและ

ตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และมีความสัมพันธกับชนชาติอินเดีย สวนมากเปนพอคาและนักบวช ศาสนสถานขอมสวนใหญเกี่ยวกับศาสนาพราหมณ มีการกอสรางอาคารชนิดผังอาคารเปนรูป ๔ เหล่ียมยอมุมมีหลังคาโคงสูง ตัวอาคารจะซอนกันเปนช้ัน ๆ แตละช้ันประดับดวยซุมโคงตาง ๆ สวนยอดของอาคารประดับดวยกลุมดอกบัว ปราสาทหรือศาสนาวัตถุเหลานี้อยูบนฐานเต้ีย ฐานสูง องคเดียวโดด ๆ หรือเปนกลุม ๓ องค หรือกลุม ๕ องค มีระเบียงคดลอมช้ันเดียวหรือ ๒ ช้ัน มีทางเดินเช่ือมถึงกันโดยตลอด มีกําแพงลอมรอบและขุดคูลอมกําแพงอีกช้ันหนึ่ง มีสะพานเล็ก สะพานใหญแลวแตความสําคัญของผูสรางศาสนสถานนั้น ๆ สถาปตยกรรมเหลานี้สรางดวยอิฐ ศิลาแดง หรือหิน มีการสลักลวดลายตาง ๆ ลงบนหินท่ีเสา ท่ีหนาบัน ท่ีซุมประตู ท่ีทับหลัง และเสาประดับกรอบประตู จากซุมประตูมีการสรางทับหลังรับหนาบันซุม และเสาประดับกรอบประตูท่ีรับทับหลัง มีลวดลายแตกตางกันไปตามอายุการสราง และเปนเคร่ืองกําหนดอายุยุคสมัยของสถาปตยกรรมและศาสนสถานน้ัน ๆ

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปขอม ถือไดวามีความใกลชิดกับพุทธศิลปไทยเปนอยางมาก โดยพุทธศิลป

ขอบเปนศิลปะทางศาสนาพราหมณผสมกับพุทธศาสนา ดังปรากฏการสรางปรางคตาง ๆ หรือปราสาทพนมรุง อนึ่งอาณาจักรขอมมีอิทธิผลธรรมเนียมและวิถีชีวิตของคนไทย โดยเฉพาะสมัยลพบุรีและตนสุโขทัย รวมถึงงานพุทธศิลปยังมีกล่ินอายของศิลปะขอมอยู ดังนักวิชาการที่หมายรวมเอาศิลปะลพบุรี หรือศิลปะขอมมาพิจารณารวมกัน๓๕ ดังนั้นการเคล่ือนท่ีของพุทธศิลปจึงใกลชิดกันและรับอิทธิพลของศิลปะขอมมาเปนตนแบบในพุทธศิลปไทยในยุคตอ ๆ มาเชนกัน

จากการศึกษาการ “ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในอินเดีย” ท่ีปรากฏอยูในศาสนสถานและศาสนวัตถุ เรียกวา พุทธศิลป จากประวัติพุทธศิลปสมัยคันธาระ มถุรา อมราวดี คุปตะ ปาละ – เสนะ จนถึงพุทธศิลปลังกา จาม ชวา และขอม เปนการศึกษาพัฒนาการของพุทธศิลป เพื่อใหเปนพื้นฐานการศึกษาพุทธศิลปไทยและพุทธศิลปลานนา ท่ีจะเปนประโยชนและสรางความ

๓๕สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๙), หนา ๑๗.

Page 45: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๓๒

เขาใจในพุทธศิลปใหชัดเจนยิ่งข้ึน หลังจากนี้ผูศึกษาจะไดศึกษาพุทธศิลปในเมืองไทย เพื่อเปนการสรางความเขาใจพุทธศิลปและพัฒนาการพุทธศิลป และเปนพื้นฐานในการศึกษางานวิทยานิพนธคร้ังนี้ ๒. ประวัติและพัฒนาการพทุธศิลปในเมืองไทย

ชนชาติไทยต้ังอยูในดินแดนท่ีราบลุมแมน้ําเจาพระยา มีการรวมตัวกันหลายกลุมชน ตางก็จัดต้ังเปนอาณาจักรตาง ๆ มีการปกครองตนเอง แตมีส่ิงหนึ่งท่ีเปนศูนยรวมทางความเช่ือ ทางสังคมและวัฒนธรรม คือ พระพุทธศาสนา เม่ือพระพุทธศาสนาเปนวัฒนธรรมหลักของชนชาติไทย จึงเปนแบบแผนหรือเปนวิถีชีวิตของคนไทยดวย จนสามารถสรางสรรคศาสนาสถานและศาสนวัตถุท่ีเปนหลักฐานของพระพุทธศาสนา ดวยฝมือชางของไทย จึงปรากฏเปนงานพุทธศิลป อันทรงคุณคาของชนชาติไทย กอนท่ีจะศึกษาพัฒนาการพุทธศิลปในเมืองไทยนั้น พึงศึกษาการเผยแผพระพุทธศาสนาจากอินเดีย เขามาสูชนชาติไทย

พระพุทธศาสนาเขาสูไทย พระพุทธศาสนาเขาสูเมืองไทยเม่ือไร และเขามาอยางไร ยังเปนปญหาขอถกเถียงกัน

อยู การศึกษาก็พึงอาศัยหลักฐานและส่ิงแวดลอมหลาย ๆ สวนเขาประกอบกัน ปรากฏการณสังคมมีธรรมชาติอยูอยางหนึ่ง นั้นก็คือการอพยพเคล่ือนยายทางสังคมหรือทางกลุมชาติพันธตาง ๆ รวมท้ังกลุมชนชาวอินเดียดวย สังคมอินเดียโบราณก็มีการอพยพเคลื่อนยายไปยังถ่ินฐานตาง ๆ เปนจํานวนมากเชนกัน สาเหตุของการอพยพของอินเดียนั้น สรุปไดเปน ๔ ประการ๓๖ คือ

๑. ถูกบีบค้ันทางศาสนา ๒. ไปเพื่อการประกาศศาสนา ๓. ไปเพื่อคาขาย ๔. ไปเส่ียงโชคทางการเมือง หรือการประกอบอาชีพ อนึ่งปรากฏหลักฐานวา สมัยพระเจาอโศกยกกองทัพไปตีเมืองกาลิงคะ ราว

พุทธศักราช ๒๘๒ นั้น ประชาชนเมืองกาลิงคะตายไปเปนจํานวนมากกวาแสนคน ถูกจับเปนอีกจํานวนแสนหาหม่ืนคน และลงเรือหลบหนีอีกเปนจํานวนมากเชนกัน เขาใจวาการอพยพครั้งนั้น

๓๖สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๑๗.

Page 46: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๓๓

ชาวอินเดียกระจัดกระจายกันออกไป และปรากฏเสนทางโบราณทางตะวันออกของอินเดีย มีเสนทางการอพยพเคล่ือนยายและการคมนาคมติดตอกันอยู ๓ ทาง คือ

๑. ทางบก เดินผานมาทางแควนเบงกอล (ประเทศบังคลาเทศ) แควนอัสสัม ขามเทือกเขาปาดไก เขาสูตอนเหนือของพมาแลวตอมาถึงประเทศไทยตอนบน

๒. ทางเรือ คือลงเรือท่ีอาวเบงกอล มาข้ึนท่ีเมืองเมาะตะมะหรือเมืองทามะริด ตะนาวศรี แลวเดินทางบกสูลุมแมน้ําเจาพระยาตอนลาง คือ แถบเมืองอางทอง สุพรรณบุรี นครปฐม

๓. ทางเรืออีกทางหนึ่ง คือลงเรือจากอินเดียใตผานมหาสมุทรอินเดีย เขาสูชองแคบมะละกา ข้ึนบกท่ีแหลมมลายู หรือตอไปฟูนาน จําปา และจีน

การอพยพของชนชาติอินเดียโบราณ ท่ีเขามาสูประเทศไทยและประเทศเอเชียอาคเนย มีชนชาติอินเดียและจีน๓๗ และจะเปนชนชาติอินเดียมากท่ีสุดโดยเฉพาะมาจากกลุมพอคานับไดกวา ๒,๐๐๐ ปมาแลว พอคาเหลานี้เดินทางมาโดยทางเรือเปนสวนใหญ แตก็มีบางกลุมท่ีเดินทางบก โดยผานดินแดนทางตอนเหนือของพมา ขณะเดียวกันพวกพอคาอินเดียและชาวจีนท่ีเดินทางมานั้น ชนพื้นเมืองในแถบนี้ก็เดินทางไปอินเดียและจีนเชนกัน ความสัมพันธทางการคานี้เองท่ีสงผลตอความเจริญในดานตาง ๆ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใตรวมถึงประเทศไทยดวย เชน ภาษา วรรณกรรม ปรัชญา ศาสนา วัฒนธรรม และศิลปะ จนสามารถสรรคสรางศาสนาสถาน ศาสนวัตถุใหออกมาเปนรูปธรรม ปรากฏออกมาเปนมรดกของชาติไทยในปจจุบัน

การอพยพของชาวอินเดีย ส่ิงหนึ่งท่ีชาวอินเดียนําเขามาก็คือ ศาสนา ท่ีกลุมพอคาชาวอินเดียนําเขามาพรอมกับการคาขาย มีพระพุทธศาสนาและศาสนาฮินดูหรือพราหมณ วัฒนธรรมทางศาสนาเหลานี้เปนท่ีนิยมและแพรหลายออกไป ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตรของพระพุทธศาสนา ท่ีการเผยแผพระพุทธศาสนาเขามายังดินแดนเอเชียอาคเนย คือสมัยพระเจาอโศกมหาราช (พุทธศักราช ๒๗๐) ภายหลังเม่ือพระองคทางเล่ือมใสพระพุทธศาสนา ทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเร่ืองเปนอยางมาก ทรงเปนองคอุปถัมภการทําสังคายนาคร้ังท่ี ๓ มีพระโมคคัลลีบุตรเปนประธานพรอมพระอรหันตสาวกจํานวน ๑,๐๐๐ รูป ณ เมืองปาฏลีบุตร นอกจากนี้ส่ิงท่ีพระองคทรงจารึกเปนประวัติศาสตรทางพระพุทธศาสนา คือ การสงพระสมณฑูตออกเผยแผพระพุทธศาสนา ๙ สาย สายท่ี ๘ มีพระโสณะและพระอุตตระเดินทางมาเผยแผพระพุทธศาสนายังดินแดน “สุวรรณภูมิ”

๓๗เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

๒๕๓๗),หนา ๓๗.

Page 47: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๓๔

๒.๑ สมัยสุวรรณภูมิ คําวา สุวรรณภูมิ ปรากฏหลักฐานจากประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา สมัยพระเจา

อโศกทรงรวมกับสังฆมณฑล จัดสงพระธรรมทูตไปเผยแผพระพุทธศาสนาในดินแดนตาง ๆ และในพระธรรมทูตสายท่ี ๘ กลาวถึงพระโสณะและพระอุตตระเดินทางมาเผยแผพระพุทธศาสนาท่ี สุวรรณภูมิ ปรากฏในคัมถีรสมันตปาสาทิกาวา๓๘

สุวณฺณภูมิ คจฺฉนฺตฺวาน โสณุตฺตรา มหิทฺธิกา ปสาเจ นิทฺธมิตฺวาน พฺรหฺมชาลํ อเทสิสุ แปลวา พระโสณะและพระอุตระผูมีฤทธ์ิมาก ไปสูสุวรรณภูมิ ปราบปรามพวกปศาจ

แลว ไดแสดงพรหมชาลสูตร คณะพระโสณะและพระอุตตระ ทรงเปนพระภิกษุนิกายเถรวาท ปรากฏหลักฐานคือ

การใชภาษา คือนิกายเถรวาทใชภาษาบาลี มหายานใชภาษาสันสกฤต ในการจดบันทึกและจารึกพระไตรปฎก คําวา สุวรรณภูมิ แปลวาดินแดนทอง หรือแผนดินทองคํา นักประวัติศาสตรศาสนายังหาขอสรุปไมไดวาศูนยกลางของสุวรรณภูมิอยูท่ีไหน นักโบราณคดีก็มีทัศนะตาง ๆ เชน กลุมอินเดียสวนใหญเช่ือวาสุวรรณภูมิ คือแหลมมลายู กลุมอินเดียสวนนอยเช่ือวา คือรัฐโอริสสา กลุมพมาเช่ือวาบริเวณตอนกลางและตอนใต คือเมืองสะเทิม และกลุมคนไทยเช่ือวา สุวรรณภูมิคือบริเวณนครปฐม ดั่งสิริวัฒน คําวันสา ไดใหทัศนะวา “สุวรรณภูมินาเช่ือวาอาเชียตะวันออกเฉียงใต คือ พมา มลายู ไทย และเขมร เพราะในยานแหลมทองนี้มีช่ือวา สุวรรณภูมิท้ังหมด”๓๙ สุวรรณภูมิคงจะเปนท่ีรูจักแพรหลายของผูคนในขณะน้ัน เพราะเปนแหลงท่ีแสวงหาทองของพอคาอินเดียมานานแลว ดังนั้นคนอินเดีย และวัฒนธรรมสังคมอินเดีย ก็คงมีอยูกอนท่ีพระเจาอโศกมหาราชทรงจัดสงพระธรรมทูต ไปเผยแผพระพุทธศาสนาในบริเวณท่ีเรียกวาสุวรรณภูมิแหงนี้

พัฒนาการพุทธศิลปและการสืบทอด การเขามาของพระพุทธศาสนา คงเปนชวงเร่ิมตนของการหยั่งรากของพระพุทธศาสนา

เพราะยังไมสามารถหาหลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีระบุเร่ืองราวเก่ียวกับพุทธศิลป นอกจากพบเสาเสมาธรรมจักร ท่ีจารึกไววา “เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา..... เอวํ วาที มหาสมโณ” ทําดวยศิลาแผน

๓๘สิริวัฒน คําวันสา,ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๒๑.

๓๙เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๕.

Page 48: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๓๕

ใหญท่ีนครปฐม๔๐ แตนาเช่ือวาเปนคติธรรมและเปนรากฐานในการดํารงชีวิตของกลุมชนสมัยสุวรรณภูมิขณะน้ันแลว และการสืบทอดพุทธศิลปคงยังไมชัดเจนนัก เพราะเปนชวงตนของพระพุทธศาสนา การสรรคสรางงานพุทธศิลปคงไมเปนท่ีนิยม

๒.๒ สมัยทวารวด ีรุงเรืองราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ – ๑๘ หมายถึงดินแดนภาคกลางของประเทศไทย คํา

วา “ทวารวดี” คงจะตรงกับคําวา โตโลโปติ (Tolopoti) ของทานสมณะเฮียนจัง หรือเหี้ยนจัง (พุทธศตวรรษท่ี ๑๒) ทานอางวาอยูทางตะวันตกของฟูนาน (อยูระหวางขอมและพุกาม)๔๑ และมีปรากฏอยูในบาลีหลายคัมภีร เชน ฆตปณฑิตชาดก และคัมภีรอุปทาน เปนตน อาณาจักรทวารวดีมีขอบเขตทางเหนือสุดจรดจังหวัดพิจิตร ทางใตสุดจรดจังหวัดเพชรบุรี๔๒ ชนชาติท่ีครอบครองอาณาจักรทวารวดีคงจะเปนพวกมอญ เพราะปรากฏจารึกภาษามอญท่ีลพบุรี จารึกดวยอักษรท่ีเกาประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๓- ๑๔ และนายยอรซ เซเดส ไดอานจารึกท่ีพบวัดโพธ์ินครปฐม เม่ือพุทธศักราช ๒๔๙๕ ก็สนับสนุนทวารวดีเปนอาณาจักรของมอญ ท้ังนี้ปรากฏหลักฐานจากพระนางจามเทวี ยายจากลพบุรีไปครองเมืองหริภุญชัย (พุทธศตวรรษท่ี ๑๓) ทรงเปนเจาหญิงมอญ ดังนั้นนาเช่ือวาชนชาติท่ีปกครองทวารวดี คือ ชนชาติมอญ

พัฒนาการพุทธศิลป พัฒนาการพุทธศิลปทวาราวดี ไดรับอิทธิพลจากอินเดียโดยตรงพรอมพระพุทธศาสนา

ในจังหวัดนครปฐมไดพบพระพุทธรูปศิลาขาว เช่ือวาเปนพุทธศิลปทวารวดี มีอยู ๔ องค คือท่ีนครปฐม ๓ องคและท่ีอยุธยา ๑ องค มีลักษณะคือนั่งหอยพระบาทท้ังสองลงท่ีฐานรอง ฐานน้ีทําเปนกลีบบัวบานรองรับ พระหัตถซายวางหงายเหนือพระเพลา พระหัตถขวายกข้ึนเสมอพระอุระ หันฝาพระหัตถออกดานหนา พระอังคุฐกับพระดรรชนี ทําเปนวงกลม เปนปาง ปฐมเทศนา นอกจากนี้ยังพบวัดโบราณหลายวัด เชน วัดพระงาม วัดพระเมรุ วัดพระประโทน วัดธรรมศาลา

๔๐สิริวัฒน คําวันสา,ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลง

กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔). หนา ๒๑. ๔๑เสนอ นิลเดช,ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

๒๕๓๗),หนา ๔๑. ๔๒เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๑.

Page 49: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๓๖

และท่ีสําคัญคือองคพระปฐมเจดีย พุทธศิลปทวารวดีไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปสมัยคุปตะและหลังคุปตะ๔๓ แบงไดเปน ๓ รุน คือ

๑. รุนแรกระหวางพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ – ๑๓ สวนมากสรางดวยหินมีลักษณะเปนพุทธศิลปสมัยคุปตะ รวมท้ังพุทธศิลปอมราวดี นิยมใชหินปูนในการสลักพระพุทธรูป

๒. รุนกลางระหวางพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ – ๑๖ ประติมากรรมสรางดวยหิน ดินเผา ปูนปน สําริด ลักษณะคล่ีคลายจากสมัยคุปตะ คอย ๆ เปล่ียนลักษณะเปนพื้นบาน

๓. รุนปลายระหวางพุทธศตวรรษท่ี ๑๖ – ๑๘ ลักษณะพุทธศิลปเปนแบบผสม คือผสมพุทธศิลปศรีวิชัยและพุทธศิลปอูทอง เชน ประติมากรรมแบบทวารวดีทางภาคเหนือ คือพุทธศิลปท่ีเมืองลําพูน

สถาปตยกรรมที่เหลือในปจจุบัน จะคงแตแนวกําแพงคันคูดิน คูเมือง ฐานรากเจดียของอาคารบางหลัง การกอสรางมีท้ังใชศิลาแลงและอิฐ โดยอาศัยยางเหนียว (ยางจากตนไม) เปนน้ํายาประสาน การประดับตกแตงใชปูนประดับและรูปปนดินเผาไฟ รวมท้ังการปนลวดลาย ลักษณะสถาปตยกรรมสมัยทวาราวดีเปนเชนไร อาจสันนิษฐานไดจากรูปทรงบนพระพิมพและอาคาร ลักษณะเปนเจดียทรงกลม ยอดแหลม มีฐานสูง โดยรอบฐานมีเจดียเล็ก ๔ องคอยูตรงมุม และมีภาพปูนปนประดับอยูโดยรอบ นอกจากนี้ยังมีเจดียอีกแบบหนึ่งท่ีประดับตกแตงมาก เปนเจดียเหล่ียมแบบ ๔ เหล่ียมซอนเปนช้ัน ๆ จํานวน ๕ ช้ัน แตละดานมีพระพุทธรูปประดับ นับรวมไดท้ังหมดถึง ๖๐ องค เจดียแบบนี้พบท่ีวัดกูกุด จังหวัดลําพูน

สถาปตยกรรมท่ีถูกสรางจะมีรูปรางขนาดใหญคือสถูป ณ วัดพระเมรุ จังหวัดนครปฐม เปนซุมคูหา ๔ หอง ภายในคูหาประดิษฐานพระพุทธรูปปางประทานพรอยู ๔ องค ๆ ละซุม สถูปนี้มีระเบียงคดลอมรอบลักษณะเปนแบบเดียวกับอานันทเจดียท่ีเมืองพุกาม ประเทศพมา

พุทธศิลปวัตถุอีกอยางหนึ่งของสมัยทวาวดีคือธรรมจักรศิลา พบมากท่ีจังหวัดนครปฐม เมืองอูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี นอกจากนี้ยังมีคําจารึกบนเหรียญเงินวา “ศรีทวารวดี ศวรบุณยะ แปลวา บุญของพระราชาแหงศรีทวารวดี”๔๔ แสดงวาอาณาจักรทวารวดีมีการปกครองเปนปกแผน สวนการส้ินสุดของอาณาจักร มีการสันนิษฐานกันหลายทาง เชน พระเจาอนุรุธมหา

๔๓สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

๒๕๓๙), หนา ๕.

๔๔เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๗),หนา ๔๓.

Page 50: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๓๗

ราชแหงพุกาม ยกทัพมาตีนครปฐมราชธานีของทวารวดี อีกทางหน่ึง เช่ือวาขอมมีอํานาจมากข้ึนทางตะวันออกเฉียงเหนือ และแลวอํานาจของทวาวดีก็ส้ินสุดลงในพุทธศตวรรษท่ี ๑๖

การสืบทอดพทุธศิลป พุทธศิลปสมัยทวารวาดี มีอิทธิพลตองานพุทธศิลปในอาณาจักรตาง ๆ ท่ีอยูใกลแถบ

นั้น ท้ังนี้สมัยทวารวาดีอยูบริเวณราบลุมแมน้ําเจาพระยา และคงเปนศูนยกลางติดตอสินคาทางน้ําและทางบก ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปจึงเปนแบบเอาอยาง ตามความสัมพันธทางการคาขาย เชน พบเจดียลักษณะเดียวกันท่ีวัดกูกุด ลําพูน หรือ อานันทเจดียท่ีเมืองพุกาม ประเทศพมา

๒.๓ สมัยศรีวิชัย อาณาจักรศรีวิชัย เจริญข้ึนทางปลายแหลมมลายู ศูนยกลางการปกครองอยูท่ีราบสูง

เดียง ศรีวิชัยเดิมปกครองโดยชาวพ้ืนเมืองราชวงคสัญชัย๔๕ ตอมาราชวงคไศเลนทรจากฟูนานแพสงครามพวกเจนละจึงอพยพเขาชวา เม่ือมีโอกาสจึงยึดอํานาจราชวงคสัญชัย แลวจึงต้ังตนเปนใหญในยานทะเลใต ช่ือไศเลนทรแปลวา เจาแหงภูเขา ตามความหมายเดิมของฟูนาน ราชวงคสัญชัยเดิมนับถือศาสนาพราหมณ สวนราชวงคไศเลนทรนับถือพระพุทธศาสนามหายาน พบหลักฐานจารึกภาษาสันสกฤตท่ีวัดเสมาเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ความวา “..พระเจากรุงศรีวิชัย ผูเปนใหญแหงราชาท้ังหลายในโลกท้ังปวง ไดทรงปราสาทอิฐท้ัง ๓ นี้ เปนท่ีบูชาพระโพธิสัตวเจาผูถือดอกบัว (ปทมปาณี คือ พระอวโลกิเตศวร) และพระโพธิสัตวเจาผูถือวัชระ (วัชระปาณี คือ พระอินทร) ...”๔๖ ตอมาศรีวิชัยไดแผอํานาจคลุมชวาและแหลมมาลายูดวย

พัฒนาการพุทธศิลป พระพุทธรูปท่ีพบเปนพุทธศิลปศรีวิชัย มีลักษณะพระองคอวบอวน ประทับปาง

ขัดสมาธิ บัวรองฐานเปนกลีบใหญ กลีบบัวเปนสันท่ีริม พระพักตรกลม พระเมาฬีเปนตอมกลม เม็ดพระศกใหญ พระหนุหยิก ชอบสรางมีประภามณฑล จีวรคลุมพระองคบางแนบเน้ือ ชายสังฆาฏิส้ัน พุทธศิลปศรีวิชัยไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปกอนสมัยคุปตะ หลังคุปตะและปาละโดยลําดับ๔๗

๔๕สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๒๕. ๔๖เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๖. ๔๗สันติ เล็กสุขุม, ประวัติศาสตรศิลปะไทย การเร่ิมตนและการสืบเน่ืองงานชางในศาสนา,

(กรุงเทพมหานคร : ดานสุทธาการพิมพ, ๒๕๓๘), หนา ๕๕.

Page 51: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๓๘

สถาปตยกรรมท่ีพบคือ พระบรมธาตุไชยา มีลักษณะเปนอาคาร ๔ เหล่ียมซอนกัน ๓ ช้ัน ต้ังอยูบนฐานยกเก็จแบบมีเสาอิงประดับ อาคารช้ันลางสุดมีมุขยื่นท้ัง ๔ ดาน ประดับดวยซุมแบบจรนํา ท่ีมุม ๔ มุมมีเจดียเล็กประดับ เจดียนี้ระฆังจะคอดกลางตอดวยยอดแบบปลองไฉน ลักษณะเชนนี้ไดขยายอิทธิพลไปถึงสถาปตยกรรมสุโขทัย เชนท่ีวัดพระพายหลวง หรือเจดียชนิด ๕ ยอด ณ วัดเจดียเจ็ดแถวเมืองศรีสัชนาลัย ท้ังนี้พระบรมธาตุไชยาก็ไดซอมแซมตลอดเวลา ดังนั้นโบราณสถานศรีวิชัย สวนใหญอาจเปนเพียงวัดอนุสาวรีย กลาวคือท่ีจําพรรษาของพระภิกษุสงฆคงอาศัยตามถํ้า จะเห็นวาศิลปะทางพระพุทธศาสนา เชน พระพุทธรูป รูปพระโพธิสัตว พระพิมพดินดิบท่ีพบตามถํ้าตาง ๆ เชน ถํ้าเขาวิหาร จังหวัดตรัง ถํ้าคูหาสวรรค จังหวัดพัทลุง ถํ้าเขาตระเภา จังหวัดยะลา ราวพุทธศักราช ๑๒๑๕ ทานสมณะอ้ีจิงเดินทางจากจีน มาเรียนหนังสืออยูท่ีศรีวิชัย ๖ เดือน จึงไดเดินทางตอไปอินเดีย ขากลับก็แวะท่ีนี่อีก ทานยังแนะนําเพื่อนภิกษุชาวจีนวา “กอนจะไปชมพูทวีป ควรจะไปศึกษาพระพุทธศาสนาเบ้ืองตนท่ีศรีวิชัยกอน” เพราะศรีวิชัย เปนแหลงศึกษาพระพุทธศาสนามหายาน๔๘

ประติมากรรมของศรีวิชัยนิยมตามคติศาสนามหายาน คือรูปเคารพพระโพธิสัตว เชน รูปพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรสําริด ๒ องค พบท่ีวัดมหาธาตุไชยา เปนลักษณะเกลาผมแบบปลอยชาย และประบาทางดานพระปฤษฏางค ความงามของประติมากรรมสําริดบงบอกถึงความชํานาญในทางเชิงชาง และแทรกอารมณของผูสรางเปนอยางดี

ลักษณะเจดียศรีวิชัย คือ เจดียทรงกลม ระฆังเอวคอดต้ังอยูบริเวณภายในระเบียงคตของพระบรมธาตุไชยาทางดานหลังพระอุโบสถ มีลักษณะฐานแบบบัวลูกแกวค่ันรับองคเจดีย ระฆังเปนแบบระฆังเอวคอดตอดวยยอดแบบปลองไฉน เจดียทรงกลมกอดวยศิลาแลง องคระฆังเอวคอดต้ังอยูบนฐานสูง นอกจากนี้ยังมีเจดียชนิดมีเรือนธาตุประดับดวยจรนํา เปนเจดียชนิด ๕ ยอด ณ วัดเจดียเจ็ดแถว เมืองศรีสัชนาลัย ก็ไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปะสมัยศรีวิชัย

พระพุทธศาสนาสมัยศรีวิชัย นาเช่ือวาจะเปนพระพุทธศาสนามหายาน และเจริญรุงเรืองอยางมาก เพราะศรีวิชัยเปนแหลงการศึกษามหายานท่ีสําคัญเชนกัน พุทธศิลปศรีวิชัยไดรับอิทธิพลจากกอนคุปตะ หลังคุปตะและปาละ ท้ังความนึกคิด รูปแบบ และพ้ืนฐานทางความเช่ือทางวัฒนธรรม เปนลักษณะของอินเดีย

๔๘สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๒๖.

Page 52: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๓๙

การสืบทอดพทุธศิลป พุทธศิลปศรีวิชัยไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปะสมัยกอนคุปตะ หลังคุปตะและแบบปา

ละในอินเดีย และไดเปนตนแบบใหกับพุทธศิลปในอาณาจักรตาง ๆ เชน สุโขทัย และขอม การสืบทอดพุทธศิลปก็ยังเปนความเกี่ยวของกับความสัมพันธทางการคา และการแผอํานาจทางการเมือง แตพุทธศิลปศรีวิชัยเปนแบบมหายาน เห็นไดจากรูปเคารพพระโพธิสัตว เชน พระศรีเมตไตรยโพธิสัตว พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร และพบพระพิมพดินดิบตามถํ้าตาง ๆ

๒.๔ สมัยลพบุรี อาณาจักรลพบุรี เปนการปกครองชวงส้ัน ๆ ขณะน้ันราชวงคสุริยวรมัน แหงกัมพูชา

กําลังรุงเรือง ทางภาคกลาง ตะวันออก และตะวันออกเฉียงใตของประเทศไทย ศิลปะกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรมคลายกับศิลปะของขอม ศูนยกลางท่ีสําคัญคือเมืองลพบุรีหรือเมืองละโว มีหลักฐานจารึกวา ประมาณพุทธศักราช ๑๕๕๐ กษัตริยเช้ือสายศรีวิชัยองคหนึ่งจากนครศรีธรรมราชมาครองเมืองลพบุรี และโอรสของพระองคไดไปครองกัมพูชา ดังนั้น ศิลปะวัฒนธรรมและศาสนาแบบขอมจึงเขามามีอิทธิผลตอศิลปะของไทย ท้ังนี้ขอมนับถือพระพุทธศาสนามหายาน เชนเดียวกับศรีวิชัย และนับถือพราหมณดวย ปรากฏในจารึกหลักท่ี ๑๙ วา“..เมืองลพบุรีมีพระสองนิกาย คือ สถวีระ และมหายาน”๔๙

พัฒนาการพุทธศิลปสมัยลพบุรี พุทธศิลปสมัยลพบุรีหรืออาจเรียกวา ศิลปะขอมในประเทศไทย๕๐ โดยมากเปนภาพ

จําหลักดวยศิลาและสําริด เฉพาะการปนหลอสําริดมีความเจริญมาก ทวงทาทํานองในการปนหุนมีความชํานาญยิ่ง ทําใหกิริยาทาทางเปนแบบแข็งกวาวแบบศิลปะขอม ถาหากสรางพระพุทธรูปจะเปนลักษณะแบบทรงเคร่ือง จะสรางมงกุฏแบบฝาชี เรียกวา ทรงจีโบ

สถาปตยกรรมสมัยลพบุรีสรางดวยอิฐและหิน เปนท้ังศาสนาพราหมณและศาสนาพุทธ มีลักษณะเปนอาคารรูป ๔ เหล่ียม มียอดเปนช้ัน ๆ ซอนกันข้ึนไปจนแหลมมนที่มุมของอาคารนี้จะยอมุม ทําเปนมุมแบบยอเหล่ียม ลักษณะเชนนี้เรียกวา ปรางค การตกแตงสมัยลพบุรีนั้น ไมนิยมใหมีพื้นท่ีวาง จะมีการตกแตงลวดลายดอกไม ใบไม และลายประดิษฐ หรือบางแหง

๔๙สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๒๗.

๕๐สันติ เล็กสุขุม, ประวัติศาสตรศิลปะไทย การเร่ิมตนและการสืบเน่ืองงานชางในศาสนา, (กรุงเทพมหานคร : ดานสุทธาการพิมพ, ๒๕๓๘), หนา ๖๓.

Page 53: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๔๐

ก็ประดับดวยภาพ ลักษณะการวางผังอาคารก็เปนแบบงาย ๆ คือแบบกากบาท มักมีการสรางระเบียงคดลอมรอบ สถาปตยกรรมเหลานี้ใชเปนท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปและพระโพธิสัตว พระพุทธรูปนิยมสรางเปน ๓ องค อันหมายถึงธรรมกาย ไดแกพระธรรม สัมโภคกาย คือกายตรัสรู และนิรมานกาย ไดแกกายมนุษย อันมีการเกิด แก เจ็บ และตาย

พุทธศิลปของลพบุรีมาปรากฏอยูท่ีเมืองหริกุญชัย เม่ือพระนางจามเทวีข้ึนมาปกครองเมืองหริกุญชัย ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ พระนางไดพาสกุลชางและนักปราชญราชบัณฑิตข้ึนมาดวย ตํานานมูลศาสนา กลาววาทรงพาพระภิกษุประมาณ ๕๐๐ องค หมูปะขาวท่ีต้ังอยูในเบญจศีล ๕๐๐ คน บัณฑิต ๕๐๐ คน หมูชางสลัก ชางแกวแหวน ชางเงิน ชางทอง ชางเหล็ก ชางเขียน และหมูชางท้ังหลาย อยางละ ๕๐๐ คน ดังนั้นลักษณะพุทธศิลปตาง ๆ ของลพบุรีก็นาจะปรากฏ ณ เมืองหริกุญชัย พรอมท้ังความเจริญดานสกุลชางแขนงตาง ๆ ดวย

อาณาจักรลพบุรีมิไดส้ินสุดลงไปโดยทันทีทันใด เม่ืออาณาจักรสุโขทัยต้ังข้ึนในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ลพบุรีก็ตกอยูภายใตอิทธิพลของอาณาจักรสุโขทัย เพราะเปนระยะแรกของการมีอิทธิพลของไทยในแถบภาคกลางและลุมแมน้ําเจาพระยา ศิลปะตาง ๆ ก็พยายามแสดงถึงเอกลักษณความเปนไทยท่ีชัดเจนข้ึน อนึ่งประกอบเวลานั้นอิทธิพลเถรวาทแบบพุกามทางตะวันตกก็แพรเขามาปะทะอิทธิพลขอมทางตะวันออกไวอีกแรงหน่ึง กลาวคือพระเจาอนุรุทธมหาราช ทรงสนับสนุนนิกายเถรวาท (ลังกาวงคยุคท่ี ๑) และมีการเผยแผอยางจริงจัง

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยลพบุรี เปนลักษณะนิยมคติความเช่ือทางมหายาน และมีลักษณะคลาย

กับพุทธศิลปะขอม เห็นไดจากลักษณะพระพุทธรูปมีความรูสึกเหมือนเทพเจาหรือกษัตริย นาเช่ือวาพุทธศิลปลพบุรีสืบตอจากศรีวิชัย แตพุทธศิลปลพบุรีก็เปนตนแบบใหกับพุทธศิลปแถบภาคกลางหรือท่ีลุมแมน้ําเจาพระยา เชน อาณาจักรสุโขทัย อยุธยา ในเวลาตอมา ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปก็ยังเปนไปตามความสัมพันธกับการคาขาย การแผอํานาจทางการเมือง และการอพยพตามกษัตริย ดังพระนางจามเทวีข้ึนมาปกครองเมืองหริภุญชัย

๒.๕ สมัยเชียงแสน อาณาจักรเชียงแสนนั้นศักราชยังไมแนชัดนัก แตพุทธศิลปเชียงแสนน้ัน เปนศิลปะ

แบบตัวเอง คือเปนแบบของชาวพ้ืนเมืองเชียงแสน ถึงแมบางคร้ังเชียงแสนจะเคยตกไปอยูภายใตอํานาจของพมาบาง ตามพงศาวดารเหนือ กลาวถึงพระยาลาวจักราช มีเช้ือสายสืบราชยสมบัติตอมาถึงพญามังราย กอนยายราชธานีจากเวียงหิรัญนครเงินยางมาต้ังท่ีเมืองเชียงราย พุทธศิลปเชียงแสนมีมากอนพญามังรายสรางเมืองเชียงแสน การกําหนดศิลปะคงมาจากการต้ังเมืองเชียงแสนเปน

Page 54: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๔๑

ตัวกําหนด อาณาจักรเชียงแสนนาเช่ือวาเปนอาณาจักรท่ีรุงเรือง เปนศูนยกลางแหงความรุงเรืองดานศิลปะและวัฒนธรรมในเขตภาคเหนือของไทย๕๑ ดังปรากฏวาพบวัดโบราณถึง ๑๔๑ วัด๕๒

พัฒนาการพุทธศิลป พุทธศิลปเชียงแสนเปนศิลปะแบบเถรวาท ท่ีรูจักกัน คือพระพุทธรูปกําหนดกันวา

“พระสิงห” มีลักษณะคลายแบบคุปตะของอินเดีย๕๓ และยอมรับกันวาเปนพุทธศิลปของไทยแท ๆ เปนแบบแรก มีลักษณะเปนของตัวเอง ถึงแมจะไดรับอิทธิพลศิลปะคุปตะ โดยเฉพาะพระสิงหหนึ่ง มีลักษณะพระอุระงามดั่งราชสิงห พระวรกายอวบอวน พระนาภีเปนลอน พระเศียรกลม พระเนตรต่ําไมเบิกโพลง พระนาสิกงุม พระหนุเปนรอยแบบหยิก ท่ีเรียกกันวา คางหยิก เม็ดพระศกทําเปนกนหอยใหญ ยอดรัศมีเปนดอกบัวตูม ชายสังฆาฏิท่ีพาดลงนั้นอยูเหนือพระถัน เรียกวา “พระสิงหหนึ่ง” ถาเปนพระสิงหสองจะอยูระหวางพระถันและพระนาภี ถาอยูจรดพระนาภีก็เรียกวา พระสิงหสาม เฉพาะพระสิงหสามเปนแบบพุทธศิลปเชียงใหม ท่ีไดรับอิทธิพลจากสุโขทัย๕๔ มีลักษณะพระรัศมีเปนรูปดอกบัวตูมท่ีสูงข้ึน หรือเปนรูปเปลวไฟ นั่งขัดสมาธิราบแลเห็นพระบาทขางเดียว

สถาปตยกรรมแบบเชียงแสน กอนหนานั้นข้ึนไปไมพบหลักฐาน พบแตสมัยพญามังรายลงมา เปนสถาปตยกรรมท่ีเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา คือการกอสรางโบสถ วิหาร และเจดีย โบสถและวิหารสรางดวยไม เสาใชเสาไมเปนสวนมากผนังกั้นเปนฝาไม บริเวณชวงท่ีประดิษฐานพระพุทธรูป ฝาทําเปนแบบฝามุงหลังคามุงดวยกระเบ้ืองดินเผาหรือกระเบ้ืองไม (ภาษาลานนาเรียกวา ไมแปนเก็ด) ไมนิยมตีฝาเพดาน มีทางข้ึนทางดานหนาและลงทางดานขาง

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยเชียงแสน นักโบราณคดีตางก็เช่ือวาเปนพุทธศิลปของไทยแท คือสราง

ข้ึนจากชางชาวเชียงแสน ถึงแมวารูปแบบจะไดรับอิทธิผลจากพุทธศิลปคุปตะจากอินเดีย

๕๑สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย. (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๙), หนา ๒๒.

๕๒ฉลอง ปรีดาบุญ, ใตรมพุทธศิลป, หนา ๘๕. ๕๓เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

๒๕๓๗), หนา ๕๘. ๕๔สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

๒๕๓๙), หนา ๒๒.

Page 55: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๔๒

นอกจากนั้นแลวพุทธศิลปยังเปนตนแบบใหกับการสรางพระพุทธรูป ในอาณาจักรลานนาจนถึงปจจุบัน ดังนั้นลักษณะการสืบทอดพุทธศิลปเปนแบบการเอาอยางตามความสัมพันธทางการคาขายและคติความนิยม โดยเฉพาะ “พระสิงห” จะเปนลักษณะท่ีโดดเดนของเชียงแสนและอาณาจักรลานนา พุทธศิลปเชียงแสน เปนศิลปะท่ีเปนความเปนตัวเองมากท่ีสุด และนับวันจะมีความนิยมเพิ่มมากข้ึน จะเห็นการหลอพระพุทธรูปแบบเชียงแสน – เชียงใหม เรียกวา “พระสิงห” และมีการสรางเลียนแบบสถาปตยกรรมแบบเชียงแสน (โบสถและวิหาร)รุนดั้งเดิมเพิ่มข้ึนเชนกัน

๒.๖ สมัยสุโขทัย อาณาจักรสุโขทัย เร่ิมตนสมัยพอขุนศรีอินทราทิตยประกาศต้ังกรุงสุโขทัยเปนราช

ธานีเม่ือพุทธศักราช ๑๘๐๐ พุทธศิลปสมัยสุโขทัยจัดไดวาเปนศิลปะท่ีงดงามที่สุด และมีความเปนตัวเองมากท่ีสุดเชนกัน เร่ิมตนกรุงสุโขทัยคงมีหลายศาสนาดวยกันไมวาจะเปนพราหมณ มหายาน เถรวาทจากมอญทวารวดีและลพบุรี๕๕ ตอมาสุโขทัยนับถือศาสนาพุทธแบบเถรวาทนิกายลังกาวงค ดวยเหตุนี้เองอิทธิพลของพุทธศิลปลังกา จึงมีอยูในงานพุทธศิลปของสุโขทัยไมนอยโดยเฉพาะงานสถาปตยกรรม สวนประติมากรรมและจิตรกรรม โดยเฉพาะการปนพระพุทธรูป สถาปตยกรรมสุโขทัยมิไดรับอิทธิพลจากลังกาเพียงแหงเดียว แตไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปใกลเคียงดวยไมวาจะเปนศรีวิชัย ลานนา และพุกาม

พัฒนาการพุทธศิลป สมัยสุโขทัยไดมีความนิยมคณะสงฆจากลังกาวงศ และพุทธศิลปตาง ๆ ของลังกาเขา

สูสุโขทัยเปนจํานวนมากเชนกัน ไมวาจะเปนดานสถาปตยกรรม ประติมากรรมและจิตรกรรม สถาปตยกรรมสุโขทัยมี อาคารท่ีเปนโบสถ วิหาร อาคารทรงมณฑป และอาคารทรง

เจดีย สถาปตยกรรมสุโขทัยมิไดรับอิทธิพลจากลังกาเพียงแหงเดียว แตไดรับอิทธิพลจากศิลปะใกลเคียงดวย คือศิลปะสมัยศรีวิชัย ลานนา และพุกาม โดยเฉพาะการสรางเจดีย๕๖ พุทธศิลปสุโขทัยเปนศิลปะท่ีลงตัวและมีความเปนตัวเองมากท่ีสุด ไมวาจะเปนโบสถ วิหาร มณฑป เจดีย และโดยเฉพาะพระพุทธรูปท่ียอมรับมีความสวยงามเชนกัน โบสถและวิหารนิยมสรางเปนอาคารโถง วิหารมีลักษณะใหญกวาโบสถ เพราะใชเปนท่ีประชุมธรรม เสากลมหลังคาซอนกันหลายช้ัน

๕๕สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติศาสนาพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๒๙.

๕๖เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๗),หนา. ๖๓.

Page 56: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๔๓

ใชกระเบ้ืองเคลือบแบบสังคโลก ชอฟาเปนแบบชนิดปานลม (สุโขทัยไมมีชอฟาและใบระกา) มณฑปมีลักษณะเปนอาคาร ๔ เหล่ียม มีหลังคาเปนเคร่ืองไม มุงกระเบื้องซอนเปนช้ัน ๆ ประมาณ ๓ ช้ัน มณฑปที่มีช่ือคือมณฑปพระอจนะวัดศรีชุม เมืองสุโขทัย สวนเจดียแบงออกได ๓ แบบ คือ

๑. เจดียแบบสุโขทัยแท เรียกวา เจดียทรงพุมบิณฑ หรือทรงดอกบัว มีฐาน ๔ เหล่ียม ๓ ช้ัน องคเจดียยอเหล่ียมไมยี่สิบ ยอดทําเปนดอกบัวตูม เจดียชนิดนี้สรางเปนประธานของวัดท่ีสําคัญ เชน วัดมหาธาตุเมืองสุโขทัยและเมืองศรีสัชนาลัย

๒. เจดียแบบทรงลังกา โดยการนําแบบมาจากลังกา แตสมัยสุโขทัยไดเปล่ียนใหสูงข้ึน องคระฆังไมต้ังตรงอยางลังกา กลับทําเสนรอบนอกองคระฆังใหชะลูดข้ึน เจดียแบบนี้ใชสรางเปนหลักประธานของวัดเชน วัดชางลอมเมืองสุโขทัยและเมืองศรีสัชนาลัย

๓. เจดียแบบศรีวิชัยผสมลังกา เปนเจดียแบบฐานสูง เปนฐาน ๔ เหล่ียมมีซุมจรนํา ท่ียอดเปนเจดียทรงกลมแบบลังกา และท่ีมุมมีเจดียเล็ก ๆ หรือบางแบบมีเจดียคร่ึงวงกลมซอนกันเปนช้ัน ๆ เชน เจดียรายวัด เจดียเจ็ดแถว เมืองศรีสัชนาลัย

ประติมากรรมสําริดคือ พระพุทธรูป เปนพุทธศิลปท่ีโดดเดนและเปนลักษณะของสุโขทัยแท การสรางพระพุทธปฏิมาคร้ังกอน ๆ ไมมีเปลวรัศมีสูง (พระเกตมาลาท่ีเปลวเพลิง) ตอมาพอขุนรามคําแหงไดพระพุทธสิหิงคจากลังกา แนวทางการสรางพระพุทธรูปก็เปล่ียนไปเปนแบบลังกา แตรูปทรงของพระพุทธปฏิมาของสุโขทัยนั้นเปนทรงท่ีสวยงาม และมีลักษณะออนไหว เหมือนมีชีวิตชีวาจริง ๆ จนได รับยกยองว า สุโขทัย เปนยุคทองแหง ศิลปะพระพุทธศาสนา ดังศาสตราจารยศิลป พีระศรี ไดกลาววา๕๗ “..บัดนี้ขอใหดูพระพุทธรูปซ่ึงเปนศิลปะสุโขทัยดวยกันสังเกตดูวา รูปปฏิมากรรมนี้แสดงวาเปนศิลปะช้ินเยี่ยม ฝมือสมัยคลาสสิก อยางท่ีจะตําหนิมิได รูปและอาการสําแดงในทางจิตใจก็งามสมบูรณ ดูรูปประหนึ่งวาประทับสงบนิ่งอยูอยางสงาเส่ียนี่กระไร ไมมีพระพุทธรูปท่ีชนชาติใดผลิตข้ึน หรือพระพุทธรูปท่ีผลิตข้ึนในยุคสมัยตาง ๆ จะเทาเทียมอาการสําแดงแหงพระธรรมของพระพุทธศาสนา ยิ่งไปกวาพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยนี้เลย” จากบทความจะเห็นวา พุทธศิลปสมัยสุโขทัยรุงเรืองและเปนยุคทองอยางแทจริง อนึ่งความอุดมสมบูรณและความรุงเรืองดานพุทธศิลปสมัยพระธรรมราชลิไท ไดทรงสรางพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห พระเจดีย ตนโพธ์ิและรอยพระพุทธบาท การสรางพระพุทธชินสีหคงสรางเม่ือ พุทธศักราช ๑๙๐๒ ณ เมืองพิษณุโลก คณะชางผูออกแบบพระพุทธรูปท้ัง ๒

๕๗สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๓๔.

Page 57: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๔๔

องคนี้เปน คณะชางฝมือชาวเชียงแสนกับคณะชางสุโขทัย ลักษณะพระพุทธปฏิมามีจีวรบางแนบเนื้อ มีเสนออนหวาน พระพุทธรูปแบงออกเปนหมวดใหญ ๆ ได ๔ หมวด คือ

๑. หมวดใหญ สรางท่ัว ๆ ไปต้ังแตยุคตนสุโขทัย พระพักตรกลมเปนแบบผลมะตูม นิ้วพระหัตถไมเสมอกัน บางองคชางปนสันพระบาทและปลายพระบาทใหกระดกข้ึน

๒. หมวดกําแพงเพชร วงพระพักตรตอนบนกวางกวาตอนลางมาก พระหนุแหลมเส้ียม ศูนยกลางศิลปะแบบนี้อยูท่ีเมืองกําแพงเพชร

๓. หมวดพระพุทธชินราช พระพักตรกลมแบบรูปไขแบน ๆ นิ้วพระหัตถเสมอกัน ศิลปะยุคนี้ศูนยกลางอยูท่ีเมืองพิษณุโลก และมีทีทาแข็งกระดางกวาหมวดใหญ

๔. หมวดเบ็ดเตล็ดหรือหมวดวัดตะกวน หมวดนี้เปนหมวดท่ีมีศิลปะตางสมัยเขามาปะปนกัน เชน เชียงแสน พระพุทธปฏิมาบางองคพระนลาฏแคบ สังฆาฏิส้ัน การที่เรียกวา แบบวัดตะกวน นั้น เพราะเร่ิมแรกขุดพบพระพุทธปฏิมาแบบแปลก ๆ เหลานี้ไดท่ีวัดตะกวนในเมืองสุโขทัย

การสรางพระพุทธรูปของสุโขทัยจะมีอริยาบถท้ัง ๔ คือ นอน นั่ง ยืน เดิน นอกจากนี้แลว ยังมีพุทธศิลปวัตถุท่ีเกิดข้ึนในสมัยสุโขทัย คือ รอยพระพุทธบาท ปรากฏตามจารึกวาสรางในพุทธศักราช ๑๙๑๒ มีอยู ๔ รอย แลวนําไปประดิษฐานไวตามเขา ในเมืองตาง คือ ท่ีเขาสุมนกุฏ กรุงสุโขทัย (ปจจุบันอยูท่ีวัดตระพังทอง) ท่ียอดเขาเมืองศรีสัชนาลัย ท่ียอดเขานางทอง เมืองบางบาน (เขตเมืองเกากําแพงเพชร) และยอดเขาปากพระบาง นครสวรรค

งานปนสุโขทัยนิยมปนลวดลายประดับอาคาร โดยเฉพาะการปนปูนมีฝมืองามมาก การปนเปนชนิดรูปนูนสูง มีลีลาในการวางภาพที่ไดจังหวะ เชน ภาพปูนปนท่ีวัดตะพังทองหลาง เปนภาพปางเสด็จจากดาวดึงส หรือภาพตอนทรมานชางนาฬาคีรี หรือภาพพระอานนทกระถดถอยนิด ๆ ภาพเหลานี้แสดงถึงอารมณของชาง ท่ีประดิษฐผลงานออกมาภาพปูนปนสวนมากเปนภาพปนท่ีนุงผายาว ๆ ผาดานหนาผูกเปนเง่ือนแบบเข้ียวตะขาบ เปนลักษณะคลายกับภาพปูนปนสมัยเชียงแสน

อาณาจักรสุโขทัยเร่ิมเส่ือมอํานาจลง เม่ืออาณาจักรทางตอนใต คือ ราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาเร่ิมกอตัวเปนปกแผนข้ึน ท่ีสุดแลวอาณาจักรสุโขทัยก็ตกอยูภายใตอํานาจของอาณาจักรใหม ท่ีช่ือวา อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในเวลาตอมา

การสืบทอดพทุธศิลป พุทธศิลปสุโขทัย ถือไดวาเปนศิลปะท่ีมีความเปนตัวเองเชนกัน ถึงแมจะไดรับอิทธิ

ผลจากลังกาหรือเชียงแสนบาง และความโดดเดนก็คือ พระเมาฬี กลาวคือการสรางพระพุทธรูปท่ีผาน ๆ มาไมมีพระเมาฬีเปนยอดแหลม แตพุทธศิลปสุโขทัยกลับใชยอดพระเมาฬีแหลม ยังความ

Page 58: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๔๕

โดดเดนของพุทธศิลป ท้ังนี้อาจเปนเพราะสกุลชางสุโขทัย ไดครูชาวอินเดียท่ีมีฝมือสูงมาทําการสอน๕๘ พุทธศิลปสุโขทัยตางก็ไดรับอิทธิผลจากลังกาและเชียงแสน ทําใหชางสุโขทัยไดพัฒนาสรางมาเปนรูปแบบของพุทธศิลปสุโขทัยโดยตรง และพุทธศิลปสุโขทัยเองก็เปนตนแบบใหกับอาณาจักรอ่ืน ๆ อีก เชน อยุธยา ลานนา (เชียงใหม) ดังนั้นลักษณะการสืบทอดพุทธศิลปเปนแบบคติความนิยม

๒.๗ สมัยอูทอง พุทธศิลปสมัยอูทอง เกิดข้ึนทางภาคกลางของประเทศไทย ในระยะเวลาไลเล่ียกับ

ศิลปะสมัยเชียงแสน สุโขทัย ท่ีเรียกวา อูทอง เพราะแตเดิมถือวาศูนยกลางอาณาจักรอูทองอยูท่ีอําเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ท่ีรูจักและขนานนามกันมากท่ีสุดก็คือ พระพุทธรูป โดยกําหนดเอาพระพุทธรูปแบบหนึ่ง ไดรับอิทธิพลของศิลปะสมัยทวารวดี ลพบุรี และสุโขทัย แตชางท่ีทําคงเปนชางคนไทย๕๙ รวมกันเรียกวา พุทธศิลปแบบอูทอง

อาณาจักรอูทองยังเปนอาณาจักรท่ีลางเลือน และมีขอบเขตแคไหน ขณะน้ีก็ยังไมเปนท่ียุติ แตเทาท่ีพบสถาปตยกรรมและศิลปกรรมแบบท่ีกําหนดเรียกอูทองน้ี มีอยูในบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม อูทอง ชัยนาท ลพบุรี อยุธยา ถือกันวาศูนยกลางอาณาจักรอูทองอยูตรงขามกับฝงเกาะเมืองอยุธยา เรียกวา “เมืองอโยธยา” ๖๐ พุทธศิลปอูทองหรืออโยธยานี้มีอิทธิพลพุทธศิลปแบบทวารวดีมากท่ีสุด ท้ังพระพุทธปฏิมาและภาพปูนปนประดับท่ีเห็นไดเดนชัดก็คือภาพประดับตามฐานเจดียขุดพบบริเวณวัดพระประโทน จังหวัดปฐม

พัฒนาการพุทธศิลป สถาปตยกรรมอูทอง เปนพุทธศิลปท่ีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท ดังนั้นการ

กอสรางถึงเกี่ยวกับคติทางพระพุทธศาสนาโดยตรง และสืบเนื่องกับสมัยทวารวาดี มีการสรางโบสถ วิหาร และเจดียตาง ๆ ลักษณะโบสถและวิหาร จะไมเจาะหนาตาง แตสรางเปนทรงยาว หลังคาเต้ีย ลักษณะเจดียท่ีพบ ณ วัดพระบรมธาตุ จังหวัดชัยนาท เปนเจดียแบบอูทองที่ไดรับ

๕๘สงวน รอดสุข, พุทธศิลปสุโขทัย, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, ๒๕๓๓), หนา ๒๓.

๕๙สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๙), หนา ๓๐.

๖๐เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๗), หนา ๖๙.

Page 59: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๔๖

อิทธิพลศิลปะศรีวิชัย และมีเจดียลักษณะฐาน ๔ เหล่ียม เรือนธาตุ ๘ เหล่ียม มีซุมจรนํารับฐานบัวลูกแกวและองคระฆัง เจดียลักษณะนี้เปนแบบเฉพาะของพุทธศิลปอูทอง พบตามวัดตาง ๆ เชนเมืองสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท หรือบางวัด ในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี

ประติมากรรมหลอสําริดสมัยอูทอง จัดวาหลอไดอยางประณีตและมีความบางชนิดท่ีเรียกวา “บางอยางเปลือกไข” ๖๑ ถือวาเปนศิลปะแบบยอดเยี่ยม พบท่ีเมืองสรรคบุรี ลักษณะของพุทธศิลปสืบตอจากสมัยทวารวดี ระยะตอมาไดพัฒนามาเปนพุทธศิลปผสมของสุโขทัย ลักษณะองคพระพุทธรูปบางเบาข้ึน วงพระพักตรและรัศมีเปนแบบรัศมีเปลว และคล่ีคลายเปนพุทธศิลปอยุธยายุคตน ลักษณะประจําของพระพุทธรูปแบบอูทอง คือ มีไรพระศก ชายจีวรหรือสังฆาฏิยาวปลายตัดเปนเสนตรง ประทับนั่งขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย พระพุทธรูปอูทองอาจแบงได ๓ แบบคือ

แบบท่ี ๑ เปนอิทธิผลพุทธศิลปทวารวดีและขอมผสมกัน พระรัศมีมักเปนรูปบัวตูม เคร่ืองแตงพระพักตรและจีวรคลายทวารวดี แตพระพักตรเปนส่ีเหล่ียมตามแบบขอม

แบบท่ี ๒ เปนอิทธิผลพุทธศิลปขอมหรือลพบุรี พระรัศมีบนพระเกตุมาลาหรือเมาลีเปนรูปเปลว

แบบท่ี ๓ เปนอิทธิผลพุทธศิลปสุโขทัย แตยังเปนลักษณะของอูทอง คือ มีไรพระศก และฐานเปนหนากระดานแอนเปนรองเขาขางใน ภายหลังจัดเปนพุทธศิลปอยุธยาตอนตน๖๒

อาณาจักรอูทองหรืออโยธยาส้ินสุดดวยการสลายตัวไปโดยการเจริญข้ึนของอาณาจักรอยุธยา ในเวลาตอมา

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปอูทอง เปนพุทธศิลปสืบตอจากพุทธศิลปทวารวดี แตก็ไดรับอิทธิพลจาก

ทวารวดีและขอมผสมกัน และขอมผสมกับลพบุรี ระยะตอมาก็ผสมเขากับสุโขทัย และสุดทายก็คล่ีคลายเปนพุทธศิลปอยุธยาตอนตน พุทธศิลปอูทองไมเปนท่ีรูจักมากนัก เพราะเปนชวงส้ัน ๆ เทานั้น ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปจึงเปนแบบเอาอยาง จากสมัยทวารวดี ศรีวิชัย กอนท่ีจะมาเปนพุทธศิลปอยุธยาตอนตน

๖๑เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๗), หนา ๗๑.

๖๒สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,๒๕๓๙), หนา ๓๑.

Page 60: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๔๗

๒.๘ สมัยอยุธยา สมัยอยุธยา เร่ิมต้ังแตพระเจาอูทองสรางกรุงศรีอยุธยา พุทธศักราช ๑๘๙๓ จนถึงเสีย

กรุงคร้ังท่ี ๒ พุทธศักราช ๒๓๑๐ พุทธศิลปกรุงศรีอยุธยา โดยเฉพาะพระพุทธรูปแบงออกไดเปน ๒ ระยะ คือ

ยุคแรก ทําตามอยางฝมือชางอูทองแบบท่ี ๒ เพราะพุทธศิลปอูทองเจริญข้ึนกอนการต้ังกรุงศรีอยุธยา เห็นไดจากพระพุทธรูปองคใหญ ณ วัดพนัญเชิง๖๓

ยุคท่ีสอง ชวงแรกนิยมสุโขทัย ชวงหลังจึงเกิดมีประติมากรรมแบบอยุธยาแทจริง สมัยพระเจาปราสาท นิยมใชศิลาสลักพระพุทธรูป มักมีพระเนตรและพระโอษฐ ๒ ช้ัน ในตอนปลายกรุงศรีอยุธยานิยมพระพุทธรูปทรงเคร่ือง มี ๒ แบบคือ แบบทรงเคร่ืองใหญ และแบบทรงนอย

สถาปตยกรรม กรุงศรีอยุธยา สามารถแบงออกได ๔ ระยะ ระยะท่ี ๑ นับต้ังแตพระเจาอูทองสรางกรุงศรีอยุธยา ระหวางพุทธศักราช ๑๘๙๓ –

๑๙๙๑ รวมระยะเวลาประมาณ ๙๘ ป เม่ือทรงจัดบานเมืองใหเขารูปรอยไดแลว พระองคทรงเอาใจใสพระพุทธศาสนาทันที และทางสรางวัดข้ึน ๒ วัด คือ วัดพุทไธศวรรย พุทธศักราช ๑๘๙๖ สราง ณ บริเวณตําบลเวียงเหล็ก เคยเปนท่ีต้ังพลับพลากอนสรางกรุง เพื่อเปนอนุสรณในการยายมาสรางนครศรีอยุธยา ส่ิงท่ีปรากฏคือ พระปรางคองคใหญ พระวิหาร พระพุทธรูป วัดพุทไธศวรรยนี้ถือวาเปนวัดแรกของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา และวัดใหญชัยมงคล พุทธศักราช ๑๙๐๐ สรางนอกเมืองทิศตะวันออกเฉียงใต

พัฒนาการพุทธศิลปอยุธยายุคท่ี ๑ พุทธศิลปยุคนี้นิยมศิลปะแบบลพบุรี จะเห็นไดจากสถาปตยกรรมโดยเฉพาะการสราง

วัด นิยมการสรางปรางคเปนหลักประธานของวัด มีวิหารอยูหนาปรางค มีระเบียงคดลอมรอบปรางค ไดจากการถายทอดสถาปตยกรรมลพบุรีมาใชในสถาปตยกรรมอยุธยา สถาปตยกรรมยุคนี้จึงไมมีหนาตาง จะมีแตชองลมแบบซ่ีลูกกรง เรียกวา “แบบเสามะหวด” หรือบางแหงทําเปนแบบสันเหล่ียมมีอกเลา วัสดุท่ีใชในการกอสรางสวนใหญเปนอิฐ

๖๓สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๙),

หนา ๓๒.

Page 61: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๔๘

สถาปตยกรรมนั้นตกแตงดวยลายปูนปน เปนลายแบบเครือเถาตามธรรมชาติและลายประดิษฐ การตกแตงภาพใชการเขียนภาพประดับ ภาพประดับพุทธศิลปอยุธยานิยมเขียนเปนรูปพระพุทธเจาประทับนั่งเรียงเปนแถว มีเรือนแกวและตนโพธ์ิ สวนการหลอสําริดปรากฏ ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ทรงหลอพระโพธ์ิสัตว ๕๐๐ ชาติ การเกาะไมจําหลัก มีลักษณะเรียบ ๆ แบบสุโขทัย ลายหูชาง ลายดาว เพดานตาง ๆ ลักษณะลีลาในการจําหลักยังไมสะบัดพร้ิวเทากับอยุธยาตอนปลาย

รูปประติมากรรมมีท้ังพระพุทธรูปและรูปเทพเจา ลักษณะสวนใหญเขมแข็ง บึกบึน มีลักษณะผสมท้ังลพบุรี อูทองและสุโขทัย ถือกันวาศิลปะอยุธยายุคตนนี้สืบตอจากอูทองตอนปลาย โดยเฉพาะพระพุทธรูป ท่ีมีพระวรกายท้ังหนาและบาง ทาทางขึงขัง บัวรองฐานทําเปนฐานแอนโคง

ระยะท่ี ๒ สมัยพระบรมไตรโลกนาถ พุทธศักราช ๑๙๙๑ ถึงสมัยพระเจาทรงธรรม พุทธศักราช ๒๑๗๑ ยุคนี้นิยมพุทธศิลปแบบสุโขทัย สมัยพระบรมไตรโลกนาถ พระองคทรงถวายวังใหเปนวัด เดิมเรียกวา พุทธาวาส เพราะไมมีพระสงฆ ตอมาเรียกวา วัดพระศรีสรรเพ็ชญ สมัยพระรามาธิบดีท่ี ๒ ไดทางสรางวิหารใหญแลวหลอพระพุทธรูปยืนสูงใหญ คือ พระศรีสรรเพ็ชญ สูง ๘ วา หลอดวยทองหนัก ๕๓,๐๐๐ ช่ัง หุมดวยทองคํา หนัก ๒๘๖ ช่ัง (๒๒,๘๘๐ บาท) ทรงสรางวัดจุฬามณี ท่ีเมืองพิษณุโลก พรอมท้ังบูรณะวัดตาง ๆ ดวย เชน วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เมืองสุพรรณบุรี วัดพระสรีรัตนมหาธาตุ เมืองพิษณุโลก จากนั้นทรงหลอรูปพระโพธิสัตว ๕๐๐ ชาติ คาดวาคงใชเวลานานถึง ๓ ปจึงสําเร็จ หลังจากพระองคทรงสรางวัด “จุฬามณี” พุทธศักราช ๒๐๐๘ พระองคทรงออกผนวชในวัดจุฬามณีเปนเวลา ๘ เดือน ๑๕ วัน คร้ังนั้นมีพระบรมวงศานุวงค ขาราชการออกบวชดวย จํานวน ๒,๓๘๘ รูป

พัฒนาการพุทธศิลปอยุธยายุคท่ี ๒ นิยมสรางสถาปตยกรรมแบบสุโขทัย โดยเฉพาะการสรางเจดียทรงกลม ถือวาเปน

การพัฒนาพุทธศิลปตามแบบขอมมาเปนแบบสุโขทัย เรียกกันวา “ทรงลังกา” การสรางอาคารโดยเฉพาะโบสถ วิหาร มีลักษณะแนน บึกบึน กวางใหญ ลักษณะอาคารโบสถหรือวิหารก็ดีจะมีลักษณะยกฐานสูง นิยมมีพะไลดานขาง เชน วัดหนาพระเมรุ วัดมเหยงค

ประติมากรรมเปนลักษณะท่ีตอเนื่องกับศิลปะอยุธยาตอนตน โดยเฉพาะพระพุทธรูป มีลักษณะออนโยนไมแข็งกราวเหมือนยุคแรก ๆ นิยมเรียกวา “แบบหนานาง”

ประณีตศิลป มีการแกะสลักไมและเคร่ืองทองท่ีแสดงถึงความอลังการ สมัยอยุธยายุคท่ีสอง มีความสัมพันธกับจีนเปนอยางมาก คือเคร่ืองถวยสังคโลก แตเดิมทํากันท่ีเมืองสุโขทัย

Page 62: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๔๙

และศรีสัชนาลัย ตอมาเปล่ียนจากการสั่งจากจีนเขามา โดยเฉพาะเคร่ืองถวยชามท่ีเรียกวา “ถวยชามสมัยราชวงคเหม็ง” ๖๔ (พุทธศักราช ๑๙๑๑ - ๒๑๘๗) ไดกลายเปนสินคานําเขาท่ีสําคัญ

ระยะท่ี ๓ นับแตพระเจาปราสาททอง พุทธศักราช ๒๑๗๓ ถึงรัชกาลสมเด็จพระเจาทายสระ พุทธศักราช ๒๒๕๑ สมัยนี้พระเจาปราสาททองทรงแผพระบรมเดชานุภาพไปตีประเทศกัมพูชาได พระองคทรงโปรดศิลปกรรมแบบเขมร โปรดใหจําลองพระนครวัดมาสรางไว ณ ตําบลวัดเทพจันทร ริมแมน้ําปาสัก เรียกวา ตําหนักพระนครหลวง เพื่อใชเปนท่ีประทับพักรอนขณะเสด็จไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี แตการกอสรางทําไดไมใหญโต จึงแปลงเปนวัดไป ท้ังยังใหสถาปนาท่ีดินพระนิวาสสถานเดิมข้ึนเปนวัดพระราชทานนามวา วัดไชยวัฒนาราม

พัฒนาการพุทธศิลปอยุธยายุคท่ี ๓ ศิลปกรรมอยุธยายุคนี้การกอสรางเร่ิมมีหนาตางเปดปดได ดังจะเห็นไดจากการ

กอสรางอาคารบางหลังในลพบุรี ท่ีสรางสมัยพระนารายณ อิทธิพลทางสถาปตยกรรมแบบยุโรปไดเร่ิมแผเขามามีอิทธิพลอยูในสถาปตยกรรมไทยต้ังแตนั้นมา การกอสรางซุมประตูหนาตางโคงแหลม ก็เร่ิมมีอิทธิพลในยุคนี้เชนกัน เชน ซุมประตูทางเขาพระบรมมหาราชวังท่ีลพบุรี และ วัดกุฏีดาว

สถาปตยกรรมโดยเฉพาะอาคารตาง ๆ เร่ิมนิยมทําเปนเสนโคงท่ีฐานและหลังคา ลักษณะเสนโคงในสถาปตยกรรมอยุธยานี้ เปนลักษณะสืบเนื่องมาคร้ังพุทธศิลปสมัยสุโขทัย โดยเฉพาะชายคาชั้นปกนกนั้น พุทธศิลปอยุธยาไมนิยมสรางยื่นออกมามาก การมุงหลังคานิยมใชกระเบ้ืองชนิดหางตัดและกระเบ้ืองชนิดกาบ มีกระเบ้ืองเชิงชายประกอบ กระเบ้ืองท่ีใชมุงท่ีเปนกระเบ้ืองเคลือบนั้นมีใชเปนคร้ังแรกในแผนดินพระเพทราชา โดยใชมุงท่ีวัดบรมพุทธารามตรงพระนิวาสสถานเดิมกอนเสวยราชย ชาวอยุธยาเรียกติดปากเปนสามัญวา “วัดกระเบ้ืองเคลือบ” พุทธศิลปอยุธยายุคท่ีสามนี้ยังมีลักษณะเจดียท่ีเปนแบบฉบับอีกลักษณะหน่ึงคือ เจดียยอเหล่ียมไมสิบสอง สรางในสมัยพระเจาปราสาททอง เชน วัดชุมพลนิกายาราม จังหวัดอยุธยา

ระยะท่ี ๔ นับต้ังแตสมัยพระเจาบรมโกศ พุทธศักราช ๒๒๗๕ ถึงการเสียกรุงคร้ังท่ี ๒ พุทธศักราช ๒๓๑๐ พุทธศิลปอยุธยาสมัยนี้เปนสมัยท่ีมีการซอมแซมมากกวาสรางใหมพุทธศักราช ๒๒๙๔ สมเด็จพระเจาบรมโกศ ไดอาราธนาพระเถระผูทรงความรูจากอยุธยา คือ

๖๔เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๗), หนา ๗๖.

Page 63: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๕๐

พระอุบาลีเถระ กับพระอริยมุนีเถระ พรอมดวยพระคณะอีก ๑๖ รูป ออกไปฟนฟูพระพุทธศาสนาในลังกา ส่ิงแรกที่คณะสงฆฟนฟูคือ การอุปสมบทใหชาวลังกา คร้ังนั้นมีพระภิกษุอุปสมบทถึง ๗๐๐ รูป บรรพชาสามเณรอีก ๓ ,๐๐๐ รูป ดังนั้นพระพุทธศาสนาในลังกา เ รียกวา พระพุทธศาสนาลัทธิสยามวงค หรือ อุบาลีวงค แตนาเสียดายท่ีพระอุบาลีเถระ ตองถึงแกมรณภาพท่ีลังกา ไมมีโอกาสกลับกรุงศรีอยุธยา คร้ังนั้นพระเจากิตติศิริราชสิงห ไดถวายพระพุทธรูปแกว ๑ องค และพระทัตธาตุจําลอง ๑ องค ใหกับสมเด็จพระเจาบรมโกศดวย

พัฒนาการพุทธศิลปอยุธยายุคท่ี ๔ พุทธศิลปท่ีเกิดข้ึน สวนใหญเปนการบูรณะปฏิสังขรณมากกวาการสรางข้ึนมาใหม

พุทธศิลปท่ีสรางข้ึนมาใหมก็คือ บานประตูมุก ธรรมมาสนเทศน ในวิหารพระพุทธชินราชท่ีพิษณุโลก สถาปตยกรรมยุคนี้ นิยมเสนฐานและเสนหลังคาออนโคงเปนแนวขนาน ประณีตศิลปท่ีเกิดข้ึนคือ เคร่ืองเบญจรงค โดยชางไทยเปนผูใหแบบอยางส่ังทําจากเมืองจีน จิตรกรรมของศิลปะอยุธยาน้ี โดยเปล่ียนคติจากภาพเขียนท่ีนิยมแบบซุมเรือนแกว เปล่ียนเปนภาพเลาเร่ือง ท่ีเกี่ยวกับพุทธประวัติหรือชาดกเปนสวนใหญ สีก็ เพิ่มใหเขมข้ึนและภาพท่ีประกอบข้ึนมีความสัมพันธกับสัดสวนเปนจริงมากข้ึน

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยอยุธยา ถือไดวามีความหลากหลาย ตามคติความนิยม เชน ยุคท่ีหนึ่ง

นิยมพุทธศิลปลพบุรี พระพุทธรูปผสมกันท้ังลพบุรี อูทองและสุโขทัย ยุคท่ีสองนิยมแบบสุโขทัย ยุคท่ีสามนิยมแบบขอม อนึ่งสถาปตยกรรมนิยมแบบยุโรป ท้ังนี้อยุธยามีความสัมพันธกับชาวตางชาติ เชน วัดกุฏิดาว และยุคท่ีส่ีเปนยุคแหงการปฏิสังขรณ ดังนั้นการสืบทอดจึงเปนแบบเอาอยางและตามความนิยมจากพุทธศิลปสมัยตาง ๆ

๒.๙ สมัยรัตนโกสินทร สมัยรัตนโกสินทร เร่ิมต้ังแตสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกสถาปนา

กรุงเทพมหานคร พุทธศักราช ๒๓๒๕ จนถึงสมัยปจจุบัน การศึกษาพุทธศิลปสมัยรัตนโกสินทร เนื่องดวยสมัยรัตนโกสินทรมีพระมหากษัตริยหลายพระองค และทรงเปนพุทธมามกะ ท่ีเล่ือมใสและสนับสนุนพระพุทธศาสนาทุกพระองค ดังนั้นการศึกษาจําเปนตองศึกษาทุกพระองค

พุทธศิลปสมัยราชกาลท่ี ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก พระองคทรงสถาปนากรุงเทพมหานครข้ึน

โดยใชรูปแบบผังเมืองของกรุงศรีอยุธยา ท้ังพระราชวังและวัด เชน วัดพระธาตุ วัดระฆัง วัดราช

Page 64: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๕๑

บูรณะ โดยเฉพาะการบูรณะวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ใหมีโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ หอระฆัง พระวิหารคต ๔ ทิศ ศาลาราย กุฏิสงฆ และโปรดใหเขียนภาพจิตรกรรมเก่ียวกับพระพุทธประวัติ ไตรภูมิและชาดก เปนตน พระองคทรงเรงฟนฟูพระพุทธศาสนา ดังนั้นพุทธศิลปตาง ๆ ก็เอารูปแบบมาจากกรุงศรีอยุธยา บรรดาชางกอสราง ชางเขียน ชางปนลวนมีฝมือและความสามารถจากสกุลชางอยุธยาตอนปลาย๖๕ ไดฟนตัวและรวบรวมกันเปนหมวดหมูในสมัยกรุงธนบุรี ยอมเปนเหตุใหรูปแบบคติการสรางศิลปกรรมในสมัยนี้สวนใหญเปนตามแบบพุทธศิลปสมัยอยุธยาตอนปลาย และเปนการบูรณะปฏิสังขรณมากกวาการสรางข้ึนมาใหม วัดวาอารามในสมัยนี้มีแบบอยางสืบทอดมาจากสถาปตยกรรมสมัยอยุธยาตอนปลาย และมีการประดิษฐคิดแบบอยางในแนวใหมบาง จัดเปนงานพุทธศิลปในระยะหัวเล้ียวหัวตอและมีความคล่ีคลายขยายตัวดานการจัดแผนผัง ดานรูปทรงและลักษณะลวดลายในการตกแตงประดับประดา ลักษณะรูปทรงของโบสถวิหาร สวนใหญยังมีลักษณะ “ทรงโรง” ฐานโบสถวิหาร เสนออนโคงทองชาง ทรวดทรงพระเจดียยังนิยมรูปแบบพระเจดียยอไมสิบสอง และยอไมยี่สิบอยู ลวดลายกระหนกยังใชลายกานขดดอกบัว ภาพเทวดา หรือภาพสัตวอยางชัดเจน

จิตรกรรม มีลักษณะพิเศษ คือ จิตรกรรมท่ีหอพระไตรปฎก วัดระฆังโฆสิตาราม พระอุโบสถวัดราชสิทธาราม ผลงานดังกลาวไดความบันดาลใจจากคติความเช่ือในเร่ือง ชาดก ในพระพุทธศาสนาเปนสําคัญ จิตรกรรมท่ีไดรับการยกยองคือ พระอาจารยนาก ผูทรงสมณเพศอยูวัดทองเพลง ในคลองบางกองนอย๖๖

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยรัชกาลท่ี ๑ เปนชวงของการบูรณะปฏิสังขรณ ไมวาจะเปนวัดวาอาราม

ตาง ๆ หรือพระบรมมหาราชวัง เชน วัดพระเชตุพน และทรงสรางวัดข้ึนอีก คือ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดสระเกษ และวัดสุทัศน โดยไดรับการถายแบบจากพุทธศิลปสมัยอยุธยาตอนปลาย แตจิตรกรรมนิยมการใชสีเขมมากข้ึน และนิยมการปดทองดวย อนึ่งพระองคทรงเก็บรวบรวมพระพุทธรูปจากหัวเมืองตาง ๆ ลงมาพระนคร จํานวน ๑,๒๔๘ องค โปรดใหประดิษสังขรณแลวนําไปประดิษฐานตามวัดตาง โดยเฉพาะวัดพระเชตุพน มีจํานวนถึง ๒๐๐ องค

๖๕ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี ๑ -๘ , (กรุงเทพมหานคร : พิมพเปนที่ระลึกเน่ืองในงานมหามงคล

สมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป ๒๕๓๙), หนา ๑๒๙. ๖๖ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี ๙ , (กรุงเทพมหานคร : พิมพเปนที่ระลึกเน่ืองในงานมหามงคล

สมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป ๒๕๓๙), หนา ๑๓.

Page 65: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๕๒

พุทธศิลปสมัยรัชกาลท่ี ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย พระองคทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาสืบ

ตอรัชกาลท่ี ๑ เปนชวงการฟนฟูพระพุทธศาสนาอยู และการบูรณะปฏิสังขรณมากกวาการสรางใหม ทรงดําเนินตามรูปแบบพุทธศิลปและสถาปตยกรรมเชนเดียวกับสมัยรัชกาลท่ี ๑ เม่ือเหตุการณบานเมืองสงบเรียบรอย ส่ิงท่ีปรากฏก็มีแตงานปฏิสังขรณพระบรมมหาราชวัง และวัดวาอารามเกาจํานวนมากท่ีชํารุดทรุดโทรม หลักฐานส่ิงปลูกสรางสมัยนี้ไมคอยปรากฏ ท้ังนี้พระองคทรงเปนนักศิลปกรรมองคหนึ่ง กลาวกันวา พระพักตรของประธานในพระอุโบสถวัดอรุณราชวรารามเปนฝพระหัตถของพระองค๖๗

แตจะมีท่ีพิเศษก็คือ วัดราชโอรสาราม เดิมช่ือ วัดจอมทอง เปนวัดเกามาแตสมัยกรุงศรีอยุธยา เร่ิมกอสรางมาต้ังแตรัชกาลที่ ๒ ใชเวลาสรางนานถึง ๑๖ ป เปนสถาปตยกรรมจีนผสมไทยท่ีสวยงาม นับเปนพระอารามตนแบบพุทธศิลปแนวใหม เรียกวา แบบพระราชนิยม หนาบันโบกปูนเต็มตามแบบท่ีเรียกวา “กระเทเซร” ๖๘ ไมมีชอฟา ใบระกา หางหงส ฝาไขรา หนาบันช้ันพระ สาหรายรวงผ้ึง บัวหัวเสา คันทวย ตอมาถือเปนวัดประจํารัชกาลท่ี ๓ สถาปตยกรรมแบบใหมนี้เรียกอีกวา “วัดนอกแบบ” และเรียกวัดท่ีสรางตามแบบไทย ๆ วา “วัดในอยาง”๖๙

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยรัชกาลท่ี ๒ ก็ยังเปนแบบอยางรัชกาลท่ี ๑ คือรับการถายแบบมาจาก

พุทธศิลปสมัยอยุธยาตอนปลาย ลักษณะพุทธรูปท่ีสรางข้ึนเปนการปนพระพุทธรูปแบบพิเศษอยูอยางหนึ่ง คือ การวางพระหัตถขวา ต้ังเปนฉาก จะเห็นไดจากพระประธานในโบสถวัดอรุณ และพระพุทธรูปตามพระระเบียงคต เปนฝมือของชางหลวง ดังนั้นพุทธศิลปสมัยรัชกาลท่ี ๒ ยังเปนการบูรณะปฏิสังขรณตามแบบอยางอยุธยาตอนปลายอยู

อนึ่งสถาปตยกรรมสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนท่ีนับวาเปนช้ินเยี่ยม ก็คือ พระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง มณฑป โบสถ หอมณเฑียรธรรม ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

๖๗ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี ๙ , (กรุงเทพมหานคร : พิมพเปนที่ระลึกเน่ืองในงานมหามงคล

สมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป ๒๕๓๙), หนา ๑๔. ๖๘ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี ๑ – ๘, (กรุงเทพมหานคร : พิมพเปนที่ระลึกเน่ืองในงานมหามงคล

สมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป ๒๕๓๙), หนา ๑๒๐. ๖๙เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๓๑.

Page 66: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๕๓

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๓ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ยุคนี้จึงมีการกอสราง บูรณะปฏิสังขรณ

และฟนฟูสกุลชางไปดวยกันคือ การสรางพระพุทธรูปเปนจํานวนมาก หลอหุมทองคําเปนพระทรงเคร่ืองตน หนักองคละ ๑๐ ตําลึง มีถึง ๖๔ องค ทรงโปรดหลอพระประธาน เพื่อพระราชทานตามวัดตาง ๆ คือ วัดราชโอรส วัดสุทัศน (เปนพระพุทธรูปท่ีใหญท่ีสุดในยุครัตนโกสินทร หนาตัก ๑๐ ศอก) วัดราชนัดดา วัดเฉลิมพระเกียรติ นอกจากน้ีทรงสรางพระพุทธรูปใหญพิเศษ คือ พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพอโต) ประดิษฐานในพระวิหารหลวงวัดกัลยาณมิตร (ธนบุรี) และพระพุทธไสยาสน ประดิษฐานอยูท่ีวัดพระเชตุพน เปนพระปางไสยาสนท่ีใหญท่ีสุดในประเทศไทย และอีกองคหนึ่งประดิษฐานพระวิหารวัดราชโอรส นอกจากนี้ยังมีการสรางพระพุทธรูปในพระอิริยบถตาง ๆ ถึง ๔๐ ปาง แลวประดิษฐานไวในหอราชกรมมานุสรณและหอราชพงศานุสรณในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

ลักษณะศิลปกรรมนี้ไดเปล่ียนรูปแบบประเพณีเดิมมาเปนแบบผสม มีท้ังแบบยุโรปและแบบจีน ขณะน้ันจีนอพยพมาตั้งถ่ินฐานและประกอบอาชีพเปนจํานวนมาก คนจีนนําศิลปะ และรูปแบบการกอสรางเขามาเผยแผดวย๗๐ บรรดาชางจีนเหลานั้นก็ไดถายทอดงานชางใหกับชางไทยจนมีความชํานาญ และสามารถปฏิบัติงานแทนชางจีนได สถาปตยกรรมสวนใหญจะเปนศิลปะผสมระหวางไทยและจีน เชน การสรางอาคารที่เปนกระเบ้ืองเคลือบสีตามหนาบันช้ันหลังคา ไมนิยมมีชอฟาใบระกาหางหงส ซุมประตูหนาตางจะเปล่ียนจากแบบเดิมท่ีนิยมซุมบัณแถลง ทรงมณฑปเปล่ียนเปนซุมทรงดอกไม แตขบวนการผูกลายยังคงรักษาใหเปนซุมแบบหนาบันอยู เชน ซุมประตูหนาตางพระวิหารพระพุทธไสยาสน วัดพระเชตุพน และอุโบสถวัดบวรนิเวศ อาคารที่กออิฐถือปูนจะเกิดข้ึนในสมัยเปนอยางมาก เชน หมูตําหนักนอยใหญในพระบรมมหาราชวัง และหมูกุฏิตึกท่ีวัดมหาธาตุ วัดสระเกศ การประดับตกแตงสถาปตยกรรมนิยมส่ังรูปประติมากรรมแบบจีนเขามาประดับ รวมท้ังใหตัวอยางประติมากรรมแบบไทยแลวใหชางจีนจําหลัก เปนภาพเกี่ยวกับสัตวในปาหิมพานต เชน วัดอรุณ วัดเชตุพน สถาปตยกรรมท่ีทําใหเกิดการกอสรางแบบใหมท่ีเปนคตินิยมอีกแบบหนึ่ง คือ โลหะปราสาท วัดราชนัดดา รูปเรือสําเภาจีน วัดยานนาวา และปรางควัดอรุณราชวราราม โดยเฉพาะปรางคเปนแบบพิเศษของรัตนโกสินทรท่ีมีทรวดทรงแปลกและสมบูรณ โดยการกอขยายฐานใหกวางออกเพ่ือรับองคปรางค จึงเปนแบบพิเศษไป การตกแตงภายในโดยเฉพาะจิตรกรรมฝาผนังจัดวาเปนจิตรกรรมท่ีสมบูรณ

๗๐ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี ๑ – ๘, (กรุงเทพมหานคร : พิมพเปนที่ระลึกเน่ืองในงานมหามงคลสมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป ๒๕๓๙), หนา ๑๓๒.

Page 67: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๕๔

ท้ังดาน การจัดภาพ สี ความวิจิตรบรรจง ความสัมพันธระหวางบุคคลภายในภาพและสภาปตยกรรมท่ีไมเกิดความขัดหรือเคอะเขิน เชน วัดสุทัศนเทพาราม วัดราชสิทธาราม วัดสุวรรณาราม เปนตน

คติการกอสรางสถูปเจดียคือ นิยมพระเจดียยอมุมไมสิบสอง ยอมุมไมสิบหก และยอมุมไมยี่สิบ เชน กลุมพระมหาเจดีย วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระเจดียประธานท่ีวัดนางนอน พระเจดียกลางน้ําท่ีสมุทรปราการ พระเจดีย ๔ องค วัดอรุณราชวราราม นอกจากน้ียังนิยมสรางพุทธปรางคอยู เชน พุทธปรางควัดราชบูรณะ พุทธปรางควัดหนัง เปนตน สวนงานสถาปตยกรรมท่ีเปนสัญญาลักษณโดยเฉพาะเชน ซุมประตูจตุรมุขพระระเบียง วัดอรุณราชวราราม ยอดพระมณฑป วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ยอดเศวตกุฏคารวิหารยอด วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เปนตน

งานสถาปตยกรรมท่ีเปนสัญลักษณโดยเฉพาะรัชกาลท่ี ๓ ไดแก รูปแบบเคร่ืองยอด “ทรงมงกุฏ” ๗๑ เชน ซุมประตูจตุรมุขพระระเบียง วัดอรุณราชวราราม ยอดพระมณฑปวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ยอดเศวตกุฏคารวิหารยอด วัดพระศรีรัตนศาสนดาราม ซุมประตูวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เปนตน

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัย รัชกาลท่ี ๓ เปนแบบนิยมผสม คือแบบยุโรปและจีน แต

สถาปตยกรรมสวนใหญจะเปนศิลปะจีนผสมระหวางไทยและจีน โดยเฉพาะกระเบ้ืองเคลือบ นอกจากนี้ยังนิยมการสรางดวยอิฐถือปูนจากการเปล่ียนการสรางดวยไม เชน วัดสระเกศ วัดสุทัศน วัดอรุณ สวนพระเจดียก็นิยมแบบยอมุมไมสิบสอง ยอมุมไมสิบหก และยอมุมไมยี่สิบ เชน กลุมพระมหาเจดีย ท่ีวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระเจดีย ๔ องค วัดอรุณ ท้ังนี้ก็ยังนิยมสรางพุทธปรางคอยู เชน พุทธปรางควัดราชบูรณะ พุทธปรางควัดหนัง เปนตน ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปรัชกาลท่ี ๓ เปนแบบการสรางข้ึนใหมและเปนการนําศิลปะแบบยุโรป แบบจีน มาผสมเขากับพุทธศิลปของไทย

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๔ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงโปรดกอสรางวัด

ข้ึนมาใหม ๕ วัด คือ วัดบรมนิวาส วัดโสมนัสวิหาร วัดปทุมวนาราม วัดราชประดิษฐสถิตยมหาสีมาราม วัดมกุฏกษัตริยาราม และยังทรงเปล่ียนช่ือวัดตาง ๆ ถึง ๓๐ วัด เชน วัดบางไสไก

๗๑ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี ๑ – ๘, (กรุงเทพมหานคร : พิมพเปนที่ระลึกเน่ืองในงานมหามงคล

สมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป ๒๕๓๙), หนา ๑๓๔.

Page 68: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๕๕

เปนวัดหิรัญรูจี วัดใหมเปนวัดอนงคาราม แตภายหลังก็กลับมาใชช่ือเดิมอีก เชน วัดระฆังโสสิตาราม วัดสระเกศ นอกจากนี้ยังมีการบูรณะปฏิสังขรณวัดและพระเจดียอีก เชน วัดสระเกศ วัดอรุณ พระสมุทรเจดีย พระปฐมเจดีย ท้ังนี้ทรงพิจารณาเห็นวาวันมาฆบูชา๗๒ เปนวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา และโปรดใหจัดบําเพ็ญกุศลเน่ืองในวันมาฆบูชาข้ึน ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พุทธศักราช ๒๓๙๔ เปนคร้ังแรก และโปรดใหถือเปนกําหนดตลอดมา ท้ังนี้พระองคทรงบํารุงพระพุทธศาสนามหายานข้ึนอีก คงเนื่องมาจากพวกมอญนับถือพระพุทธศาสนามหายาน ในสมัยท่ีพระองคทรงผนวช พระองคก็ทรงคุนเคยกับพระญวนอยู ภายหลังสรางวัดข้ึน พระราชทานนามวา “วัดสมณานัมบริหาร” คือวัดญวนสะพานขาวทุกวันนี้

ศิลปกรรมนิยมพุทธศิลปแบบสมัยอยุธยาตอนตน เชน การสรางวัด นิยมมีวิหารอยูทางดานหนา พุทธเจดียอยูตรงกลาง มีพระอุโบสถอยูดานหลัง๗๓ (พระวิหารมีขนาดใหญกวาพระอุโบสถ) มีระเบียงคตตอจากวิหารลอมรอบเจดีย โบสถต้ังขวางอยูทางดานหลัง หนาบันประดับดวยกระเบ้ือง ชอฟาใบระกาเปนปูนปน เชน วัดมกุฏกษัตริยาราม วัดโสมนัสวิหาร เปนตน การสรางเจดียในยุคนี้นิยมสรางเจดียทรงกลมมากกวาเจดียเหล่ียม ซุมประตูหนาตางมักทําเปนรูปพระปรมาภิไธย เชน ซุม ณ ปราสาทพระเทพบิดร หรือวัดราชประดิษฐ อันเปนวัดประจํารัชกาล โดยทําเปนทรงมงกุฏ

สถาปตยกรรมท่ียอดเยี่ยมท่ีสุดในยุคนี้ก็คือ ปราสาทพระเทพบิดร และ พระท่ีนั่งอาภรณภิโมกข ปราสาทพระเทพบิดรอยูในวัดพระแกว เปนปราสาทยอดปรางคท่ีงามท้ังทรวดทรง สัดสวน ความสัมพันธระหวางสีของตัวปราสาทและสีของยอดอาคาร ช้ันท่ีรับยอดปรางคแทนท่ีจะทําเปนช้ัน ๆ รับหลังคาเชนยอดปราสาทท่ัวไป กลับทําเปนช้ันอัสดงรับยอดแทน สวนพระท่ีนั่งอาภรณภิโมกขเปนพลับพลายอดหลังเล็ก เปนพลับพลาโถงใชเปนท่ีเสด็จข้ึนประทับพระราชยานในงานพระราชพิธี สําหรับซุมประตูหนาตางท่ีเปนพื้น ๆ ใชท่ัวไป ก็คือ ซุมบัณแถลงประดับดวยดอกไม

สถาปตยกรรมแบบยุโรปไดเร่ิมแพรหลายเขามาในสมัยนี้ ทําใหความนิยมไปสูรูปแบบฝายตะวันตกแทนรูปแบบศิลปะจีน กระบวนการชางศิลปะอยางยุโรปไดเร่ิมตนแพรหลายออกไปสูวัดวาอารามและวัง เชน การสรางอาคารท่ีเปนตึก และมีการสรางตามยุโรป เชน พระท่ีนั่งตาง ๆ

๗๒สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๙๙. ๗๓ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี ๑ -๘ , (กรุงเทพมหานคร : พิมพเปนที่ระลึกเน่ืองในงานมหามงคล

สมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป, ๒๕๓๙), หนา ๑๓๕.

Page 69: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๕๖

ในพระบรมมหาราชวังและตามหัวเมือง ท่ีพระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี พระนารายณราชนิเวศน จังหวัดลพบุรี

จิตรกรรม ไดเปล่ียนแปลงรสนิยมแบบเดิมโดยนําเอาวิธีการแบบตะวันตกเขามาใช เชน โครงรางของภาพกระเดียดไปทางตะวันตก แมแตวรรณะของสีก็เปนแบบฝน ๆ นิยมระยะใกลในภาพ ผูท่ีนําเอาวิธีการเชนนี้เขามาใชในภาพแบบไทย ๆ ก็คือ ขรัวอินโขง๗๔ เปนภิกษุชาวเพชรบุรี จําพรรษาอยูวัดเลียบ (วัดราชบูรณะ) ผลงานยังมีเหลืออยู เชนท่ีวัดบวรนิเวศ วัดบรมนิวาส สวนการเขียนภาพแบบไทยแท ๆ ก็ยังคงมีอยูแตความประณีตบรรจงลดนอยไป สีท่ีใชเปนสีแบบกระดางมากกวานุมนวล

ประติมากรรม ก็นิยมการปนรูปตามแบบยุโรป เชน พระบรมรูปฉลองพระองคเต็มยศ ทรงพระมาลาแบบสกอต ปนโดยชางชาวไทย พระพุทธรูปท่ีนิยมคือ พระพุทธรูปไมมีเมาฬีเปนจอม๗๕ จะมีแตพระเศียรกลมและรัศมี จีวรท่ีทรงเปนจีวรร้ิวถือเปนงานพุทธรูปท่ีกาวหนาออกไปอีกข้ันหนึ่งในพุทธศิลปไทย

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยรัชกาลที่ ๔ กลับนิยมพุทธศิลปอยุธยา แตก็มีการประดับประดาตาม

ศิลปะยุโรป ท้ังนี้เพราะชาวตะวันตกไดเขามาในสมัยนี้ พระเจดียก็นิยมแบบเจดียกลมมากกวาเจดยีเหล่ียม พระพุทธรูปก็นิยมพระพุทธรูปไมมีพระเมาฬีเปนจอม จะมีแตพระเศียรกลมและมีรัศมี และสมัยนี้ก็นิยมการปนตามแบบยุโรป เชน พระบรมรูปฉลองพระองคเต็มยศ ท้ังนี้ไดเกิดพระภิกษสงฆท่ีเปน “ชาง” จิตรกรรม ท่ีประดับฝมือการเขียนรูปภาพ คือ ขรัวอินโขง ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปเปนแบบคติความนิยม คือลักษณะตัวแบบเปนพุทธศิลปอยุธยา ผสมคตินิยมศิลปะตะวันตก ท่ีแพรหลายเขามาในขณะน้ัน

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๕ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ครองราชยพุทธศักราช ๒๔๑๑ มี

พระชนมมายุ ๑๕ พรรษา ถึงพุทธศักราช ๒๔๑๖ ขณะมีพระชนมมายุ ๒๐ พรรษา ทรงลาผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสนดาราม โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาปวเรศวริยาลง

๗๔เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

๒๕๓๗), หนา ๙๐. ๗๕เรื่องเดียวกัน, หนา ๙๒.

Page 70: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๕๗

กรณเปนพระอุปชฌาย๗๖ ภายหลังครองราชยแลว ส่ิงท่ีพระองคทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาคือ การสรางวัดและการบูรณะวัด ตามคติของพระมหากษัตริยคือการมีวัดประจํารัชกาล พระองคทรงใหร้ือวัดเบญจมบพิตรหลังเกาแลวสถาปนาวัดข้ึนมาใหม พระนามวา “วัดเบญจมบพิตรดุสิต วราม”๗๗ เปนวัดท่ีสวยงามกวาทุกวัด ตัวพระอุโบสถและระเบียงสรางดวยหินออนอิตาลี ทางหัวเมืองพระองคทรงสรางเชน ท่ีเกาะสีซัง โปรดใหสรางวัดอัษฏางคนิมิตร และวัดจุฑาทิศราชธรรมสภา ท่ีบางปะอินโปรดใหสรางวัดนิเวศธรรมประวัติ นอกจากนั้นก็ยังทรงบูรณะพระอารามตาง ๆ ในกรุงและนอกกรุงรวมท้ังองคพระปฐมเจดียดวย

ศิลปกรรมชวงนี้ ถือเปนชวงท่ีประเทศชาติไดเปล่ียนโฉมหนาในการพัฒนาบานเมืองเพื่อใหเจริญรุดหนาและเปนการสกัดกั้นการลาเมืองข้ึนของชาติมหาอํานาจ ประเทศไทยไดเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมดั่งเดิมต้ังแต การแตงกาย จนถึงระบบการเมืองการปกครอง

สถาปตยกรรม ไดเปล่ียนเปนแบบยุโรปเรือนฝากระดานแบบฝาปะกนคอย ๆ หมดไป อาคารแบบยุโรปและอเมริกาเขามาแทน สถานท่ีราชการไดเปล่ียนเปนแบบยุโรป ตลอดจนวังเจานายชนิดท่ีเปนทองพระโรงมีชอฟาใบระกาไดเปล่ียนเปนตึกฝร่ัง สถาปตยกรรมท่ีมีช่ือเสียงก็คือ พระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาท๗๘ แตเปนแบบผสมกับยุโรป และวัดเบญจมบพิตร อันเปนวัดแบบไทย วัดนี้บุดวยกระเบ้ืองเบญจรงคท้ังวัด บานประตูโบสถ วิหาร ประดับมุก วัดเบญจมบพิตรเปนการออกแบบท่ีเอาศิลปะดั้งเดิมมาดัดแหลง มีระเบียงคตอยูรอบนอก ดานหลังพระอุโบสถปลอยพื้นท่ีเปนลานกวางอยูภายใน เปนการกาวหนาอีกอยางหนึ่งของพุทธศิลปสถาปตยกรรมไทย

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปรัชกาลที่ ๕ เปนพุทธศิลปท่ีเปดรับศิลปะจากชาติตะวันตก ท่ีหล่ังไหลและ

ไดรับความนิยมขณะน้ัน เปนลักษณะการผสมผสาน กลาวคือ ลักษณะรูปแบบก็ยังเปนแบบไทย แตการประดับประดาไดอาศัยศิลปะตางชาติ อนึ่งดานสถาปตยกรรมนิยมการสรางอาคารแบบยุโรป โดยมีการวาจางชางศิลปะตางชาติเขามาออกแบบและกอสราง สถาปตยกรรมท่ีมีช่ือเสียงคือ พระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาท สวนวัดคือ วัดเบญจมบพิตร ท่ีทรงออกแบบดั่งเดิมมาดัดแปลงใหม คือบุดวยกระเบ้ืองเบญจรงคท้ังหลัง บานประตูโบสถ วิหาร ประดับมุก เปนตน ดังนั้น การสืบทอดพุทธศิลปสมัยนี้ เปนการเปดศิลปะจากชาวตะวันตกเขามาผสมผสานกับพุทธศิลปไทย

๗๖สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔),หนา ๑๐๕

๗๗เรื่องเดียวกัน.หนา ๑๐๖. ๗๘เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

๒๕๓๗), หนา ๙๒.

Page 71: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๕๘

กลาวคือรูปแบบ รูปทรงเปนพุทธศิลปของไทย แตการประดับประดา การตกแตงเปนศิลปะตะวันตก

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๖ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว เปนสมัยท่ีพระพุทธศาสนา

เจริญรุงเรืองประกอบกับเวลาน้ันสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเปนประมุขสงฆ และทรงเปนปราชญทางพระพุทธศาสนา ดังนั้นจึงเปนการปรับปรุงระบบการศึกษาเปนสวนใหญ จึงไมมีการสรางวัดเพิ่ม ทรงหันไปสนับสนุนการสรางโรงเรียน คือ โรงเรียนมหาดเล็ก ภายหลังเปนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย โรงเรียนนี้สรางเหมือนวัด โดยมีพระราชประสงควา “ใหเปนวัดไดถาตองการ” ท้ังนี้พระองคก็ทรงบูรณะวัดตาง ๆ เชน วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระเขตุพน วัดบวรนิเวศ วัดมหาธาตุ เปนตน และไดรับการบูรณะปฏิสังขรณพระปฐมเจดียดวย

ศิลปกรรมทรงใหความสําคัญในการฟนฟูงานศิลปกรรมไทย ดําริใหมีการจัดต้ังกรมศิลปากร๗๙ พุทธศักราช ๒๔๕๕ เพื่อทํานุบํารุง พัฒนางานชางและการสรางงานศิลปกรรมใหกาวหนาข้ึน พุทธศักราช ๒๔๕๖ ทรงเปดอาคารใหมของโรงเรียนหัตถกรรมราชบูรณะและพระราชทานนามวา โรงเรียนเพราะชาง นับวาเปนโรงเรียน ท่ีทําการเรียนการสอนเกี่ยวกับงานชางศิลปแหงแรกของไทย ใหการศึกษาศิลปะวิทยาการหลายสาขาท้ังดานศิลปหัตถกรรม เปนงานชางไทยแขนงตาง ๆ

นอกจากนี้ทรงฟนฟูงานช าง ศิลปไทย ข้ึน ท้ังงานจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม และงานหัตถกรรม โดยมีจุดประสงคท่ีจะดํารงรักษาลักษณะความเปนไทยในงานศิลปะใหมีความกาวหนาสืบไป จิตรกรรมท่ีไดรับความนิยมคือ พระวรรณาวาดวิจิตร (ทอง) จารุวิจิตร๘๐ ผูเขียนภาพฝาผนังในพระอุโบสถวัดระฆังโฆสิตาราม

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยรัชกาลท่ี ๖ ไมมีการสรางข้ึนใหม จะมีแตการบูรณะปฏิสังขรณ เชน

วัดมหาธาตุ วัดบวรนิเวศ วัดพระเชตุพน และการบูรณะองคพระปฐมเจดีย ท้ังนี้พระองคทรงใหความสนับสนุนการฟนฟูชางศิลปะไทย โดยการจัดต้ังกรมศิลปากร เพื่อทําหนาท่ีทํานุบํารุงชาง

๗๙ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี ๙, (กรุงเทพมหานคร : พิมพเปนที่ระลึกเน่ืองในงานมหามงคล

สมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป, ๒๕๓๙), หนา ๒๒. ๘๐ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี ๙, (กรุงเทพมหานคร : พิมพเปนที่ระลึกเน่ืองในงานมหามงคล

สมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป, ๒๕๓๙), หนา ๒๒.

Page 72: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๕๙

ศิลปะไทย และต้ังโรงเรียนเพาะชาง เพื่อใหเปนแหลงการเรียนการสอนชางศิลปะไทย ดังนั้น การสืบทอดพุทธศิลปไดเปล่ียนแปลง คือเปนการเรียนการสอนศิลปะของไทยท้ังหมด มิไดเปนพุทธศิลปเหมือนดังเดิม

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๗ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เปนสมัยแหงการเปล่ียนแปลงท้ัง

ทางดานการเมือง เศรษฐกิจและการศาสนา กรมศิลปากรทําหนาท่ีดูแลศิลปะของชาติ ในสมัยรัชกาลนี้มีการเฉลิมฉลองกรุงรัตนโกสินทรครบ ๑๕๐ ป รัฐบาลไดจัดใหมีการบูรณะปฏิสังขรณวัดพระศรีรัตนศาสดารามคร้ังใหญ จิตรกรท่ีเปนแมกองควบคุมงานคือ พระเทวาภินิมมิต (ฉาย เทียมศิลปไชย) และศิลปนรวมงานอีกประมาณ ๗๐ คน ภาพเขียนในวัดพระศรีรัตนศาสดารามมีลักษณะการประสานกลมกลืน จิตกรที่สรางผลงานจิตรกรรมแนวใหม คือ พระอนุศาสตรจิตรกร (จันทร จิตรกร) เขียนประวัติศาสตรไทยตอน ประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ วัดสุวรรณดาราราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

การศึกษาศิลปะนั้น มีการจัดต้ังโรงเรียนประณีตศิลปกรรม พุทธศักราช ๒๔๗๖ โดยศาสตราจารยศิลป พีระศรี๘๑ เปนผูอํานวยการตอมาเปล่ียนช่ือเปน โรงเรียนศิลปากร แผนกงานชาง ใหการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพทางจิตกรรมและประติมากรรม ตามรูปแบบศิลปไทยและแบบสากล เปนผลใหบานเมืองมีชางศิลปไทยท่ีมีความสามารถหลายคนและบุคคลเหลานี้ไดมาเปนกําลังสําคัญของชาติในการสรางผลงานศิลปกรรม

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปในรัชกาลท่ี ๗ เปนชวงแหงการเปล่ียนแปลงประวัติศาสตรประเทศ ดังนั้น

พุทธศิลปและศิลปะไทยก็ไดชะงักลง แตก็ทรงใหการสนับสนุนการเรียนการสอนชางศิลปะไทยดวยการจัดต้ังโรงเรียนศิลปากร อนึ่งไดมีการเฉลิมฉลองกรุงรัตนโกสินทร ๑๕๐ ป ทรงโปรดใหชางบูรณะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยเฉพาะงานดานจิตรกรรม ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปกลับไปสูการเรียนการสอนงานชางศิลปะไทย แตไมมีการสรางข้ึนใหมแตอยางใด

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๘ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล เนื่องดวยระยะการปกครองท่ีส้ัน

ดังนั้นกิจการของพระองคคณะรัฐบาลรับสนองดําเนินการ

๘๑ เรื่องเดียวกัน,หนา ๒๔.

Page 73: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๖๐

พุทธศักราช ๒๔๘๖ โรงเรียนศิลปากรแผนกชาง ไดยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยศิลปกร ต้ังคณะจิตรกรรมและประติมากรรมเปนคณะวิชาแรก โดยเปดสอนศิลปะ ๒ สาขา คือสาขาจิตรกรรมและสาขาประติมากรรม มีศาสตราจารยศิลป พีระศรี เปนคณบดี นับเปนสถาบันศิลปะช้ันอุดมศึกษาแหงแรกของไทย ผลิตบัณฑิตท่ีมีความสามารถทางงานชางศิลปะไทยประเพณี และศิลปะสมัยใหม สรางผลงานศิลปะเพื่อรับใชชาติบานเมือง

การสืบทอดพุทธศิลป เนื่องดวยในรัชกาลที่ ๘ เปนชวงการปกครองท่ีส้ัน การกอสรางท่ีเปนงานงานพุทธ

ศิลป คือการกอสรางวัดพระศรีมหาธาตุ๘๒ ท่ีบางเขน สรางข้ึนเพื่อใหพระสงฆ ๒ นิกายอยูรวมกัน ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปก็คงอยูในหนวยการเรียนการสอนของกรมศิลปากร

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๙ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ครองราชสมบัติ พุทธศักราช ๒๔๘๙

เปนระยะท่ีประเทศมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย พระราชกิจท่ีพระองคทรงกระทํา คือ การผนวชตามพระราชประเพณี วันท่ี ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ ณ พระอุโบสถวัด พระศรีรัตนศาสนดาราม โดยมีสมเด็จพระสังฆราชวชิรญาณวงศ เปนพระอุปชฌายะ ทรงไดรับพระนามฉายา “ภูมิพโล” และไดลาผนวช ในวันท่ี ๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๙

กาลคร้ังนี้ พระพุทธศาสนาไดเจริญกาวหนา พระองคทรงเอาใจสนับสนุนการศึกษาพระพุทธศาสนา ท้ังมหาวิทยาลัยสงฆ ๒ แหง คือ มหามกุฏราชวิทยาลัย และมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีการเปดโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย เพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนนักศึกษาเลาเรียนวิชาพระพุทธศาสนา อนึ่งการเผยแผพระพุทธศาสนาไดเจริญกาวหนาไปถึงตางประเทศ กลาวคือ คร้ังนั้นพระพิมลธรรม (อาจ อาสภเถระ) อธิบดีสงฆวัดมหาธาตุ๘๓ ไดเปดการอบรมวิปสสนากรรมฐานข้ึน โดยมีพระมหาโชดก ผูไปอบรมจากพมามาเปนครูผูสอน ท้ังนี้มีการรับชาวตางชาติเขามาอบรมดวย พุทธศักราช ๒๔๙๙ พระชาวแคนาดา ช่ือ พระอานันทโพธิ มาฝกอบรมได ๒ ป แลวกลับไปตั้งสํานักในประเทศอังกฤษ ปรากฏวาชาวอังกฤษสนใจเปนอยางมาก ทานอานันทโพธิจึงอาราธนาพระราชสิทธิมุนี (โชดก) ไปชวยสอนพุทธศักราช ๒๕๐๗ พระราชสิทธิมุนีจึงเดินทางไปอังกฤษ ไดรับหนาท่ีจากคณะสงฆเผยแผพระพุทธศาสนาอยู ๓ ประการ คือ เผยแผ

๘๒สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๑๔๓. ๘๓สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๑๕๙.

Page 74: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๖๑

พระพุทธศาสนาในภาคพื้นยุโรป สงเคราะหคนไทยท่ีอยูในอังกฤษ และดําเนินการสรางวัด คือวันท่ี ๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๐๐๙ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพล โปรดพระราชทานนามวา วัดพุทธประทีป ต้ังแตนั้นมาพระสงฆไทยเร่ิมเขาไปเผยแผพระพุทธศาสนาในตางประเทศเพิ่มมากข้ึน

การสืบทอดพทุธศิลป พุทธศิลปะรัชกาลท่ี ๙ ทรงใหการสนับสนุนในดานการเรียนการสอนพระพุทธศาสนา

ไมวาจะเปนระดับมหาวิทยาลัย โรงเรียนพระปริยัติธรรม หรือโรงเรียนศาสนาวันอาทิตย การสืบทอดพุทธศิลป ใหเปนหนาท่ีของรัฐบาล โดยกรมศิลปากรเปนหนวยงานปฏิบัติงานดานโบราณสถาน – โบราณวัตถุ ท้ังการดูแล การซอมแซม หรือการสรางข้ึนใหม บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป

การศึกษาเร่ือง ประวัติและพัฒนาพุทธศิลปในอินเดีย และ ประวัติและพัฒนาพุทธศิลปในเมืองไทย เปนการศึกษาเพื่อใหเขาใจเกี่ยวกับประวัติศาสตรพุทธศิลป เร่ิมต้ังแตการเกิดสรางวัดคร้ังแรก ประวัติการสรางสถูปหรือพระเจดีย เพื่อบรรจุพระบรมธาตุขององคพระสัมมาสัมพุทธเจา จนพัฒนาการมาเปนพุทธศิลป ลักษณะการพัฒนาพุทธศิลป สามารถสรุปไดอยู ๓ ระยะ คือ

ระยะท่ี ๑ คือพุทธศิลปอินเดีย เร่ิมสมัยคันธาระ มถุรา อมราวดี คุปตะ ปาละเสนะ เปนพุทธศิลปเกี่ยวกับพุทธศาสนา กลาวคือดังเดิมชาวอินเดียยังไมมีการสรางรูปเคารพ พุทธศิลปท่ีปรากฏจงึเปนรูปอ่ืนแทน เชน ปางมหาภิเนษกรณ ก็ทําเปนรูปมาผูกเคร่ืองไมมีคนข่ี ปางประทานปฐมเทศนา ก็ทําเปนรูปธรรมจักรมีกวางหมอบ ตอมาราวพุทธศตวรรษ ๓๐๐ แควนคันธาระในอินเดียไดรับอารยธรรมจากชาวกรีก – โรมัน หรือเรียกวา พวกโยนก๘๔ ตอมาพุทธศตวรรษ ๕๐๐ แควนคันธาระถูกชนเผาเรรอน เรียกวา “อินโดไซเธียน” จากเตอรกีสถานมีอํานาจเหนือแควนคันธาระ โดยพระเจากนิษกะมหาราช เม่ือพระองคทรงเล่ือมใสและอุปถัมภพุทธศาสนา ก็ทรงสรางรูปเคารพของพุทธศาสนา เรียกวา พระพุทธรูป โดยฝมือพวกชางชาวโยนก ท้ังนี้ชาวโยนกเปนชนชาติฝร่ัง พระพุทธรูปสมัยคันธาระทรงมีลักษณะเหมือนฝร่ัง จนมาเปนพระพุทธศิลปคันธาระ ตอมาธรรมเนียมการสรางรูปเคารพหรือพระพุทธรูป ไดรับความนิยมเปนอยางมาก ทําใหเกิดพุทธศิลปตามสมัยตาง ๆ ไมวาจะเปนมถุรา อมราวดี คุปตะ ปาละเสนะ แตลักษณะการสรางก็จะ

๘๔ สมพร ไชยภูมิธรรม, ปางพระพุทธรูป, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพตนธรรม ,๒๕๔๓),หนา ๒๖.

Page 75: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๖๒

แตกตางกันออกไป ท้ังนี้คงเปนไปตามรูปรางของกลุมชนสมัยนั้น ๆ และตามความนิยมของกลุมชาง ดังนั้นพุทธศิลปในระยะท่ี ๑ คือ พระพุทธรูป ท้ังนี้พระพุทธรูปเปนแบบตามคตินิยมของพระพุทธศาสนา ท้ังแบบเถรวาทหรือแบบมหายาน

ระยะท่ี ๒ พุทธศิลปในเอเชียอาคเนย ไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปจากอินเดีย โดยผานการคาขายและการเผยแผศาสนาของนักบวช มีท้ังพุทธศาสนาและศาสนาอินดูหรือพราหมณ พุทธศิลประยะนี้กําหนดตามรายช่ือประเทศ ไดแก พุทธศิลปลังกา จาม ชวา ขอม พุทธศิลปกลุมนี้ตางก็ไดรับอิทธิพลจากพุทธศาสนา ท้ังเถรวาทและมหายาน มีการสรางพระพุทธรูปและพระเจดีย พุทธศิลปก็มีท้ังจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรม พุทธศิลประยะนี้จะใกลเคียงและมีความสัมพันธกับพุทธศิลปในประเทศไทยอยางใกลชิด

ระยะท่ี ๓ พุทธศิลปในประเทศไทย กลุมชนดังเดิมของประเทศไทย มีการปกครองกันเปนแวนแควนและไมข้ึนตรงตอกัน แตจะมีบางเปนบางคร้ังเมืองแวนแควนนั้นมีแสนยานุภาพดานทหารสามารถมีอิทธิผลเหนือแควนอ่ืน ๆ พุทธศิลปมีตามช่ือยุคสมัย คือสมัยสุวรรณภูมิ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อูทอง อยุธยา และรัตนโกสินทร เปนพุทธศิลปท่ีไดรับอิทธิพลท้ังจากอินเดียและเอเชียอาคเนยดวยความสัมพันธทางการคาขาย และการเลาเรียนหนังสือ โดยชนชาติท่ีเขามาปฏิสัมพันธมากก็คืออินเดียและจีน พุทธศิลปในระยะนี้ตางก็มีอิทธิพลตอกัน เพราะแวนแควนหรืออาณาจักรตาง ๆ เหลานี้มีความสัมพันธและใกลชิดกัน บางคร้ังก็มีการปกครองแบบเครือญาต ดังนั้นการเคล่ือนไหวทางพุทธศิลปจึงไปท่ัวถึงกัน จนมาถึงสมัยรัตนโกสินทร เร่ิมมีการสงเสริมการศึกษามากข้ึน และชวงนี้ศิลปะทางตะวันตกกับนิยมเพิ่มข้ึนเชนกัน พุทธศิลปท้ังท่ีเปนโบราณสถาน – โบราณวัตถุ ก็ไดรับการเอาใจใส ปฏิสังขรณซอมแซม ใหเปนมรดกอันทรงคุณคาของชาติ

จากการศึกษาประวัติความเปนมาของพุทธศิลป ต้ังแตการเร่ิมสรางการสรางสถูปหรือพระธาตุเจดีย ภายหลังพุทธกาล ก็มีการสรางพระพุทธรูป เพื่อใหเปนรูปเคารพของพุทธศาสนา และสืบทอดพัฒนาการมาเปนพุทธศิลปไปดินแดนตาง ๆ ไมวาจะเปนในแถบเอเชียอาคเนย หรือในประเทศไทย พุทธศิลปก็ไดรับการสืบเนื่องและมีความสัมพันธกันตลอดมา

บทสรุปการสืบทอดพุทธศิลป

การศึกษาเร่ือง ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในอินเดีย และ ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในเมืองไทย เปนการศึกษาเพื่อใหเขาใจเกี่ยวกับประวัติศาสตรพุทธศิลป ต้ังแตจากอินเดีย มาถึงกลุมเอเชียอาคเนย และมาถึงประเทศไทย สามารถสรุปการสืบทอดพุทธศิลปเหลานั้นได คือ

Page 76: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๖๓

ระยะท่ี ๑ พุทธศิลปในอินเดีย ถือไดวาเปนจุดเร่ิมตนของพุทธศิลป โดยเฉพาะแควนคันธาระ อยูตอนเหนือของอินเดียและเปนศูนยรวมพระพุทธศาสนาในเวลานั้น พุทธศิลปท่ีปรากฏอันเปนความสามารถเชิงชางฝมือชาวโยนก ภายหลังเม่ือชาวโยนกเคารพเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา ท้ังนี้คติความเช่ือของชาวโยนกอยางหนึ่ง คือการสรางรูปเคารพ จึงปรากฏเปนพระพุทธรูป เปนรูปเคารพ และคติความนิยมนี้ก็เผยแผออกไปแควนตาง ๆ ในเวลาตอมา ไดแก มถุรา อมราวดี คุปตะ ปาละเสนะ พุทธศิลปอีกสวนหนึ่งคือ สถูปหรือเจดีย วิหาร ก็ยังมีท่ัวไปในแวนแควนท่ีเล่ือมใสพุทธศาสนา ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปในระยะแรก จึงเปนการสืบทอดจากการอุปถัมภของกษัตริยในแควนตาง ๆ ท่ีทรงเล่ือมใสและศรัทธาในพุทธศาสนา พุทธศิลปจะเกิดการสรางข้ึนใหมหรือการบูรณะของเกาข้ึน ท้ังนี้การสรางข้ึนใหมหรือการบูรณะก็ข้ึนอยูกับความนิยมในยุคนั้น ๆ อนึ่งพุทธศิลปในระยะนี้ถือไดวาเปนตนแบบใหกับพุทธศิลปในยุคตอ ๆ มา

ระยะท่ี ๒ พุทธศิลปในกลุมเอเชียอาคเนย เปนพุทธศิลปท่ีสืบเนื่องมาจากพุทธศิลปในอินเดีย มาเปนพุทธศิลปในกลุมเอเชียอาคเนย ไดแก ลังกา จาม ชวา ขอม เปนการสืบทอดจากความสัมพันธทางการคาและการเผยแผศาสนา ท้ังพุทธศาสนาและอินดูหรือพราหมณ พุทธศิลปเหลานี้เกิดจากการเอาแบบอยางหรือการสรางใหมตามคติความนิยม และลักษณะของพุทธศิลปก็จะแตกตางกันบาง เชน พุทธศิลปลังกา คติความนิยมเปนไปตามแบบเถรวาท พุทธศิลปชวา คติความนิยมเปนไปตามมหายาน พุทธศิลปเหลานี้ตอมามีอิทธิพลตอการสรางพุทธศิลปในเมืองไทยเชนกัน

ระยะท่ี ๓ พุทธศิลปในประเทศไทย เปนพุทธศิลปท่ีเกิดข้ึนในอาณาจักรของไทย ไดแก สมัยสุวรรณภูมิ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อูทอง อยุธยา และรัตนโกสินทร ตางก็ไดรับการสืบทอดจากความสัมพันธทางการคาและการเผยแผศาสนาเชนกัน โดยประวัติศาสตรระบุวา พระโสณะและพระอุตตระ นําพุทธศาสนาเขามาในสมัยสุวรรณภูมิเปนพุทธศาสนาเถรวาท ดังนั้นพุทธศิลปโดยมากเปนคติความนิยมเถรวาท นอกจากนี้พุทธศิลปของไทยจะไดรับการอุปถัมภจากพระมหากษัตริยอยางใกลชิด ทําใหพุทธศิลปในประเทศไทยเจริญรุงเรืองมาเปนลําดับ แตลักษณะพุทธศิลปจะมีความแตกตางกันบางตามคติความนิยม เชน แควนเชียงแสนนิยมพระพุทธรูปท่ีมีพระเมาฬีเปนดอกบัวตูม แควนสุโขทัย นิยมพระพุทธรูปท่ีมีพระเมาฬีเปนยอดแหลม ท้ังนี้พุทธศิลปท่ีเปนพระเจดีย พระวิหาร โบสถ ก็จะถือตามคติความนิยมเชนกัน เชน สุโขทัยนิยมพระเจดียแบบทรงกลม อยุธยาตอนปลายและกรุงรัตนโกสินทรตอนตนนิยมพระเจดียแบบเหล่ียม เปนตน ในประเทศไทยถือไดวามีความหลากหลายท้ังคติความนิยม รูปแบบ ขนาด ตามลักษณะพุทธศิลปสมัยตาง ๆ

การศึกษาประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในอินเดีย และในประเทศไทย สามารถกลาวสรุปเปนตารางไดดังนี้ คือ

Page 77: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๖๔

ตารางท่ี ๑. แสดงพุทธศิลปในอินเดียและพุทธศิลปในเมืองไทยสมัยตาง ๆ

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลปในอินเดีย

ลักษณะศิลปะ

พัฒนาการ การสืบทอด ๑.พุทธศิลปในอินเดีย

๑.๑ สมัยพุทธกาล - พุทธศิลปคงยังไมปรากฏ คงเน่ืองวิถีชีวิตของคณะสงฆอยูดวยความเรียบงาย

- แตปรากฏสิ่งกอสราง กลาวคือการถวายวัดเวฬุวันของพระเจาพิมพิสารหรือวัดปุพพารามของนางวิสาขา

- ปรากฏสถูปหรือพูนดินบรรจุอัฐิธาตุของพระสาวกที่นิพพานกอนพระพุทธองค อาทิ พระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ

- สิ่งกอสรางที่ปรากฏภายหลังมีการกอสรางถวายเพิ่มมากขึ้น ของผูเล่ือมใสในพุทธศาสนา อาทิ วัด วิหาร ซุมประตู ศาลา หอฉัน โรงไฟ มณฑป วัจจกุฏี กับปยกุฏีเปนตน

๑.๒ สมัยหลัง พุทธกาล

- กําเนิดพุทธศิลป คือ พระธาตุเจดีย ๘ หัวเมือง (รวมเจดียพระอังคาร, ทะนานตวง) และสังเวชนียสถาน

- กําเนิดพระพุทธรูป

- ภายหลังถวายพระเพลิงพุทธสรีระ โทณพราหมณแบงพระบรมสารีริกธาตุ ๘ สวน ใหกับกษัตริยและมหาชนไดสักการะ จึงเปน “พระธาตุเจดีย”

- ภายหลังมีเจดียเพ่ิมขึ้นอีก คือ บริโภคเจดีย, ธรรมเจดีย, อุทเทสิกเจดีย รวมถึงสังเวชนียสถานอีก ๔ แหง

- เทพเจาของชนชาติกรีก

- สมัยพระเจาอโศก ไดรวบรวมพระธาตุแลวแบงบรรจุเปนเจดียสถานถึง ๘๔,๐๐๐ แหง สรางอโศการาม เสาอโศกเทิงดวยธรรมจักร สถูปสาญจิ ถํ้าวิหาร ปรากฏจิตรกรรม คือ ภาพจําหลัก อาทิ รูปมาแวดลอมดวยเทวดา(หมายถึงการเสด็จออกบวช)

- สมัยพระเจามิลินท ไดสรางพระพุทธรูป ณ เขตคันธาระ ถือตามรูปแบบเทพเจาของกรีก

- สมัยพระเจากนิษกะ ไดสราง

Page 78: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๖๕

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลปในอินเดีย

พระพุทธรูป ลักษณะอินเดียผสมกรีก และเปนรูปมนุษยมากขึ้น รวมทั้งรูปเคารพพระโพธิสัตว ณ เขตคันธาระและอาฟกานิสถาน ภายหลังเรียกวา “พุทธศิลปคันธาระ” มีลักษณะดวงพระพักตรกลม พระนาสิกโดง พระเกศามุนเกลาเปนเมาลี

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลปในสมัยตางๆ

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด ๑.พุทธศิลปใน

อินเดีย พุทธศิลปสมัยคันธาระ

- พระพุทธรูป มีลักษณะดวงพระพักตรกลม พระนาสิกโดง พระเกศามุนเกลาเปนเมาลี สรางใหเห็นองคาพยพ เห็นเสนเอ็นอยางชัดเจนภายใตจีวร

- พระเจดีย สรางคลายสมัยพระเจาอโศก แตปกฉัตรซอนกัน ๕ ช้ัน มีซุมจรดานหนา

- สถาปตยกรรม คืออาคาร มีผังสี่เหล่ียม ดานหนามีเสาประดับ และมีภาพพระพุทธรูปประดับบนหัวเสา

-สรางแบบอยางรูปเคารพของเทพเจากรีก

- เปนรูปแบบสมัยพระเจา อโศก

- โดยสกุลชางศุงกะวงคที่ ชํานาญในการแกะสลัก

พุทธศิลปสมัย มถุรา

- พระพุทธรูป สลักดวยหินแดงอวนใหญน่ังขัดสมาธิเพชร พระพักตรกลม พระเกศาเรียบ หมดองมัดอก ถาแบบยืนจะแหวกผาที่หม

- แบบกรีกและโรมัน

- ชางสกุลอินเดียพ้ืนเมือง

Page 79: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๖๖

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลปในสมัยตางๆ

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด คลุมพาดพระหัตถ

-พระเจดีย สรางอยูบนฐานสามช้ัน ช้ันสามที่เปนยอดทําเปนรูปครึ่งวงกลม ที่ยอดครึ่งวงกลมทําเปนรูปแปดเหล่ียม ปลายยอดทําแหลมมนขึ้น

- สืบตอสมัยคันธาระ

พุทธศิลปสมัยอมราวดี

- พระพุทธรูป พระพักตรกลม พระเกศาขมวดกนหอย หมเฉียงบาขางซาย ยกพระหัตถซายขวาทาประทานพร

- พระเจดีย ต้ังบนฐานมีรั้วรอบสี่ดาน แตละดานมีเสาดานละหาตน ยอดเจดียมีบัลลังกและปกฉัตรองคเจดียมีลวดลาย

พวงมาลัยเปนวงกลม

- สืบตอสมัยคันธาระเปนตนแบบตอการสรางพุทธศิลปในเมืองไทย

- ชางสกุลอินเดียพ้ืนเมือง

พุทธศิลปคุปตะ - พระพุทธรูป รูปน่ังสรางทาประทานปฐมเทศนา รูปยืนเอียงสะโพกแบบตริภักค ทาประทานอภัย หมจีวรแบบคลุม มีประภามณฑล (รัศมี)

- สถาปตยกรรมคือ ถํ้าเจดียสถานถํ้าวิหาร เปนรูปสี่เหล่ียม ปลายสุดมนเปนรูปโคงมีเจดียทรงสูงมีเสาประดับเปนซุม ภายในซุมมี

พระพุทธรูป

- สืบตอสมัยคันธาระ แตดูนุมนวลคลายกับมีเน้ือหนังสมจริง เปนตนแบบตอการสรางพุทธศิลปในเมืองไทย

- ชางสกุลคุปตะ โดยไดรับอุปภัมถจากราชวงคคุปตะ

Page 80: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๖๗

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลปในสมัยตางๆ

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด - สถาปตยกรรมกลางแจง คือเจดียและวิหาร เจดียเหล่ียมแบบมีหายอด โดยรอบประดับซุม ภายในซุมมีพระพุทธรูปประดับ

- จิตรกรรม คือภาพเขียนถํ้าเจดียชนิดสีปูนเปยก เปนภาพพระพุทธรูปและพระโพธิสัตว ถาเปนรูปสําคัญก็มีการปดทองดวย

พุทธศิลป หลังคุปตะ

- พระพุทธรูป พระวรกายอวบอวน พระเศียรใหญ พระศออวบ สีพระพักตรดุกวาคุปตะ จีวรบางแนบสนิท มีหมคลุมและเฉียง

-สถาปตยกรรม สรางดวยหินและอิฐกลางแจง แบบวางหินใหซอนกันเปนช้ัน ๆ ใหแหลมขึ้น มุมอาคารทํายอมุม

-สถาปตยกรรมคือมหาวิทยาลัยนาลันทา อันเปนแหลงศึกษาศิลปวิทยาทางชาง

- สืบตอพุทธศิลปสมัยคุปตะ เปนตนแบบในการสรางพุทธศิลปในไทย,พมา,เขมร,ลาว

- ชางสกุลคุปตะ

พุทธศิลป สมัยปาละ -เสนะ

- ประติมากรรม คือภาพสลักหินและหลอสําริด ภาพสลักหินจะสลักแบบยืนอิงแผนหินทางเบื้องหลัง ยืนเอียง

- สืบตอพุทธศิลปคุปตะและหลังคุปตะ ทั่งน้ียังเปนตนแบบสกุลชางศิลปชวา,จีน,เชียงแสน และเปนตนแบบในการสรางพุทธศิลปไทย,พมา,

- สกุลชางปาละ-เสนะและไดรับการอุปภัมถราชวงค ปาละ-เสนะ

Page 81: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๖๘

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลปในสมัยตางๆ

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด สะโพก ลังกา,ธิเบต,เกาะชวา,เกาะสุ

มาตรา พุทธศิลปลังกา - สถาปตยกรรม คือ เจดีย

และวิหารสรางคูกัน เจดียประกอบดวยฐาน องคระฆัง และยอดเจดีย เจดียที่มีช่ือเสียงคือ ถูปาราม, รุวันเวลิ มีวิหารลอมรอบ วิหารมีลักษณะรูปสี่เหล่ียม ผืนผา ผนังกออิฐ ภายในมีเสาสองแถว เสาเปนรูปสี่-แปดเหล่ียม ปลายเสาทําเปนรูปสิงโตคาบพวงอุบะ มีประตูทางเดียว

- โลหะปราสาท มีเสา ๑,๖๐๐ ตน เปนอาคารสูงเกาช้ัน

- ภาพจําหลัก เปนรูปพระพุทธปรินิพพาน ยาว ๑๗ เมตร มีรูปพระอานนทยืนพิงพางอเขาขางหน่ึง

- จิตรกรรม ภาพเขียนที่เขาสีคิริยะ เปนรูปนางฟาโปรยดอกไม

- รับพุทธศาสนาจากพระธรรมทูต โดยพระมหินทรา และมีความใกลชิดกับไทยมีพระสงฆไปศึกษาพุทธศาสนาดวย พุทธศิลปยังเปนตนแบบในการสรางพุทธศิลปในไทย อาทิ เจดียสุวรรณจังโกฏิ ณ วัดจามเทวี มีสวนคลายสัตตมหาปราสาทในลังกา

- สกุลชางลังกา โดยการอุปถัมภจากกษัตริย อาทิพระเจาเทวานัมปยาติสสะและพระเจาปรากรมพาหุ ที่ ๑

พุทธศิลปจาม -จัมปา

-สถาปตยกรรม คือ อาคารคลายปรางค เปนผังสี่เหล่ียม ฐานเต้ีย อาคารซอนกันสามช้ัน ยอมุม ยอดสุดเปนกลุมดอกบัวประดับ จุดแตงตางก็คือการประดับซุม อาทิ

- เปนแบบเอาอยางทั้งน้ีไทยและจามมีความสัมพันธกันอยู

- ชางสกุลจาม เมื่อกลุมจามเขามาไทยสมัยอยุธยาก็ไดรับการอุปถัมภจากกษัตริยอยุธยา

Page 82: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๖๙

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลปในสมัยตางๆ

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด ลายกานขด ลายกานตอดอก ลายเครือเถาแบบกระจังฟนปลา

พุทธศิลปชวา - พระพุทธรูป ลักษณะอวนเหมือนสรีระเด็ก

- สถาปตยกรรม คือ อาคาร สรางดวยหิน รูปสี่เหล่ียม บนช้ันหลังคาประดับดวยเจดีย ช้ันหลังคาซอนกันสามช้ัน อาทิ “บุโรพุทโธ” ฐานซอนกันเจ็ดช้ัน แตละช้ันมีซุมประดับ ซุมเปนซุมเรือนธาตุตอยอด ช้ันบนเปนลานกวาง มีเจดียประดับอยู ๗๒ องค

-ภาพจําหลัก เปนรูปพุทธชาดก

- รับอิทธิพลจากพุทธศิลป สมัยอมารวดี คุปตะ และปาละ-เสนะ

- สกุลชางชวา เช่ือวาไดรับการอุปถัมภจากกษัตริย

พุทธศิลปขอม - สถาปตยกรรม คือ อาคารทรงสี่เหล่ียมหลังคาโคงสูง ตัวอาคารซอนกันเปนช้ัน ๆ แตละช้ันประดับดวยซุม สวนยอดประดับดวยกลุมดอกบัว การสรางเปนองคเดียว หรือเปนกลุมสาม- กลุมหา มีระเบียงคตลอมรอบ

- นาเช่ือวาไดรับอิทธิพลจากศรีวิชัย

- สกุลชางขอม และไดรบัอุปถัมภจากกษัตริยอยางใกลชิด

Page 83: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๗๐

ตารางท่ี ๒ แสดงพัฒนาพุทธศิลปเมืองไทย

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด ๒.พุทธศิลปใน

เมืองไทย ๒.๑ สมัย

สุวรรณภูมิ

- เสาเสมาธรรมจักร

- พระธรรมทูตนําโดยพระโสณะ,พระอุตตระเผยแผพุทธศาสนาเขาสูสุวรรณภูมิ

ไมปรากฏหลักฐานเดนชัดนัก นาเช่ือวาเปนชวงเริ่มตนของพุทธศาสนา

๒.๒ สมัย ทวารวดี

- พบพระพุทธรูปศิลาขาว น่ังหอยพระบาททั้งสอง พระหัตถซายวางหงายเหนือพระเพลา พระหัตถขวายกขึ้นเสมอพระอุระ หันพระหัตถออก เปนปางปฐมเทศนา

- พระเจดีย คือ องคปฐมเจดีย - เสาเสมาธรรมจักร ณ นครปฐม อูทอง สุพรรณบุรี

- รุนแรก สรางดวยหิน นิยมใชหินปูนในการสลักพระพุทธรูป เปนพุทธศิลปคุปตะ- อมราวดี

- รุนกลาง สรางดวยหิน ดินเผา ปูนปน สําริด คล่ีคลายจากคุปตะมาเปนพ้ืนบาน

- รุนปลาย เปนแบบผสมระหวางศรีวิชัยและอูทอง

- เปนพุทธศิลปแบบเอาอยาง

๒.๓ สมัยศรีวิชัย

- พระพุทธรูป พระองคอวบอวน ปางขัดสมาธิ พระพักตรกลม พระเมฬีเปนตอมกลม พระศกใหญ พระหนุหยิก มีประภามณฑล จีวรหลุมบางแนบเน้ือ ชายสังฆาฏิสั้น

- เจดีย เปนเจดียทรงกลม ฐานแบบบัวลูกแกวคั่นรับองคเจดีย ระฆังเอวคอตตอดวยยอดแบบปลองไฉน กอดวยศิลาแลง อาทิ พระบรมธาตุไชยา

-รับอิทธิพลทางพุทธศิลปคุปตะ,หลังคุปตะ, ปาละ-เสนะ

- ขยายอิทธิพลถึงสุโขทัย อาทิเจดียวัดพระพายหลวงวัดเจดียเจ็ดแถว เมือง ศรีสัชนาลัย

- เปนแบบเอาอยาง ทั้งมีความสัมพันธทางการคาและการแผอํานาจทางการเมือง

๒.๔ สมัยลพบุรี -พระพุทธรูป เปนแบบทรงเคร่ือง ทํากิริยาทาทางแข็งกราว

- สถาปตยกรรม คือ ปรางค เปน

นาเช่ือวาสืบตอจากพุทธศิลปศรีวิชัย และมีความใกลชิดกับศิลป

- คงเปนชางสกุลพลบุรีและขอมผสมกัน ทั่งน้ีลพบุรีเปนตนแบบใหกับสุโขทัย

Page 84: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๗๑

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด อาคารสี่เหล่ียม มียอดเปนช้ันๆ ซอนกันจนแหลมมน มีการยอมุมแบบยอเหล่ียม มีการตกแตงลวดลายดอกไมหรือประดับดวยภาพ

ขอม

อยุธยาและลําพูน

๒.๕ สมัยเชียงแสน

- พระพุทธรูป คือ พระสิงห มีพระอุระงามด่ังราชสิงห พระวรกายอวบอวน พระนาภีเปนลอน พระเศียรกลม พระเนตรตํ่าไมเบิกโพลน พระนาสิกงุม รัศมีเปนดอกบัว

- สถาปตยกรรม คือ โบสถ วิหารที่สรางดวยไม เสาและผนังก้ันเปนไม หลังคามุงดวยกระเบื้องดินเผาหรือกระเบ้ืองไม (แปนเก็ด) ไมนิยมตีฝาเพดาน มีทางขึ้นดานหนาและทางลงดานขาง

- สืบตอพุทธศิลปคุปตะ

- ถึงแมจะไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปคุปตะ แตสุดทายไดพัฒนามาเปนแบบพ้ืนเมืองเชียงแสน โดยสกุลชางเชียงแสน และไดรับความนิยมจากชาวลานนา

๒.๖ สมัยสุโขทัย

-พระพุทธรูป สรางทั้งสี่อริยาบถ คือ นอน เดิน ยืน น่ัง ลักษณะเดนคือ รัศมีสูง แบงได ๔ หมวด คือ ๑. พระพักตรกลม แบบผล

มะตูม พระหัตถไมเสมอกัน ๒. วงพระพักตรบนกวางกวาตอนลาง พระหนุแหลม

๓. พระพักตรกลมแบรูปไขแบนๆ พระหัตถเสมอกัน ทาทางแข็งกราว ๔. เปนแบบผสม เรียกวา แบบวัดตะกวด

- พระเจดีย แบงได ๓ แบบ คือ

- พัฒนาสืบจากเชียงแสน ลังกา ศรีวิชัย พุกาม และเปนตนแบบทางพุทธศิลปใหกับอยุธยา ลานนา

- สกุลชางสุโขทัยไดรับการฝกหัดจากชางอินเดียกอนพัฒนามาเปนสกุลชางสุโขทัย

Page 85: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๗๒

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด ๑. ทรงพุมบิณฑ ฐานสี่เหล่ียม

มุมยอเหล่ียมยี่สิบ ยอดทําเปนดอกบัวตูม

๒. ทรงลังกา คลายทรงพุมบิณฑแตองคระฆังสูง

๓. ทรงศรีวิชัยผสมลังกา เปนฐานสี่เหล่ียมสูง มีซุมจรนํา ยอดเปนทรงลังกา ที่มุมมีเจดียเล็กๆ ประดับ

- สถาปตยกรรมคือ โบสถ วิหาร สรางเปนอาคารโถง วิหารใหญกวาโบสถ เสากลมหลังคาซอนกันหลายช้ัน ใชกระเบื้องเคลือบ ชอฟาเปนแบบปานลม

- งานปน นิยมปนประดับอาคาร เปนชนิดนูนสูง อาทิ ภาพทรมานชางอาฬาคีรี

- ปรากฏรอยพุทธบาท

Page 86: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๗๓

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด ๒.๗ สมัยอูทอง - พระพุทธรูป ลักษณะเบาบาง

เรียกวา “บางอยางเปลือกไข” มีไรพระศก ชายจีวรและสังฆาฏิตัดเปนเสนตรง ประทับน่ังขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย แบงได ๓ แบบ คือ ๑. อิทธิพลทวารวดีผสมขอม

รัศมีเปนดอกบัวตูม เครื่องแตงพระพักตรและจีวรคลายทวารวดี พระพักตรเปนเหล่ียมแบบขอม

๒. อิทธิพลลพบุรี พระรัศมีเปนรูปเปลว

๓. อิทธิพลสุโขทัย มีไรพระศก ฐานเปนหนากระดานแอนเปนรองเขาขางใน

- เจดีย ฐานสี่เหล่ียม เรือนฐานแปดเหล่ียม มีซุมจรนํารับฐานบัวลูกแกวและองคระฆัง

- สถาปตยกรรม คือ โบสถ วิหาร สรางเปนทรงยาว หลังคาเต้ีย ไมเจาะหนาตาง

- พัฒนาสืบตอจากพุทธศิลปทวารวดี ลพบุรี ศรีวิชัย และสุโขทัย

- ชางสกุลอูทอง แตสุดทายคล่ีคลายเปนสกุลชางอยุธยา

๒.๘ สมัยอยุธยา - พระพุทธรูป แบงได ๒ แบบ คือ ๑. สรางแบบอูทอง ๒. แบงได ๓ ชวง คือ ชางแรก

เปนสุโขทัย ชวงกลางเปนอยุธยา ชวงปลายนิยมทรงเครื่อง

- สถาปตยกรรม แบงได ๔ ยุค ๑. นิยมสรางปรางค มีวิหารอยูดานหนา ยุคน้ีไมมีหนาตาง แตมีชองลงแบบซี่ลูกกรง สรางดวย

- พระพุทธรูปพัฒนาสืบตอจากอูทองและสุโขทัย

- พัฒนาสืบตอจากลพบุรี

- อยุธยาถือวามีความหลากหลายทางคตินิยม และคงมีชางหลากหลายสกุลทั่งชางพ้ืนบานและชางหลวงดวยกัน ทั่งน้ียังไดรับความอุปถัมภจากกษัตริยอยางใกลชิด

Page 87: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๗๔

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด อิฐ ตกแตงดวยลายปูนปน เปนลายเครือเถาและลายประดิษฐ ภาพประดับนิยมรูปพระพุทธรูปน่ังเรียงเปนแถว

ยุค ๒. เจดียทรงกลม สวนโบสถวิหาร เปนอาคารแนน บึกบึน กวางใหญ ฐานยกสูง นิยมพะไลดานขาง

- ประณีตศิลป มีการแกะสลักไมและเครื่องทอง

ยุค ๓. เจดีย แบบยอเหล่ียมไมสิบสอง - สถาปตยกรรม เริ่มมีหนาตางเปด-ปดได อาคารนิยมโคงที่ฐานและหลังคา หลังคามุงดวยกระเบื้องตัดและชนิดกาบ

ยุค๔.สวนใหญเปนการบูรณะ ปฏิสังขรณ สิ่งที่สรางขึ้นใหม อาทิ บานประตูมุก ธรรมมาสน

- ประณีตศิลป คือ เครื่อง เบญจรงค

- จิตรกรรม คือ เปล่ียนคติเดิมเปนภาพเลาเรื่องชาดก

๒.๙ สมัยรัตนโกสินทร

-รัชกาลที่ ๑

- เปนชวงบูรณะปฏิสังขรณพระราชวังและวัด และสรางวัดใหมขึ้น อาทิ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

- รวบรวมพระพุทธรูปจากหัวเมือง มาไวพระนครมากถึง ๑,๒๔๘ องค

- จิตรกรรมนิยมสีเขมมากขึ้นและนิยมปดทอง จิตรกรรมที่ไดรับ

-นิยมพุทธศิลปสุโขทัยและนิยมพุทธศิลปขอมดวย

- รับการถายแบบจากอยุธยาตอนปลาย

- บรรดาชางสกุลไดรับการฟนตัวและรวบรวมกันเปนหมวดหมู และไดรับการอุปถัมภจากกษัตริยอยางใกลชิด

Page 88: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๗๕

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด การยกยองคือ พระอาจารยนาก ณ วัดทองเพลง

-รัชกาลที่ ๒ - พระพุทธรูป สรางพิเศษคือ พระหัตถขวาต้ังฉาก

- สถาปตยกรรม คือวัดราชโอรสาราม เปนสถาปตยกรรมจีนผสมไทย เรียกวา “ราชนิยม” หนาบันโบกปูนเต็ม ไมมีชอฟา ใบระกา หางหงส แบใหมเรียกวา “วัดแบบนอก” คูกับแบบไทย เรียกวา “วัดในอยาง”

- สถาปตยกรรมช้ินเยี่ยมคือ พระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาท

- รับถายแบบมาจากอยุธยาตอนปลาย และรับศิลปะจีนเขามาผสมกับศิลปะไทย

- สกุลชางหลวง ทั่งน้ีรัชกาลที่ ๒ ทรงเปนนักศิลปกรรมดวย กลาวกันวา พระพักตรพระประธาน ณ โบสถ

วัดอรุญราชวรราม เปนฝพระหัตถของพระองค

-รัชกาลที่ ๓ - มีการสรางพระพุทธรูปจํานวนมาก หลอหุมทอง ๑๐ ตําลึง ถึง ๖๒ องค สรางพระพุทธ คือ พระพุทธไตรรัตนนายก สรางพระพุทธรูปอิริยาบถตาง ๆ ถึง ๔๐ ปาง

- เจดีย นิยมยอมุมไมสิบสอง ยอมุมไมสิบหก ยอมุมไมยี่สิบ

- สถาปตยกรรม เปนผสมจีนและไทย ซุมเปล่ียนจากบัณแถลงเปนซุมดอกไม

- ถือคติความนิยม มีการผสมศิลปะจีนและไทย ทั่งน้ีศิลปะยุโรปเริ่มเขามาดวย

- ไดรับการอุปถัมภจากกษัตริย และนิยมสรางเปนรูปแบบใหม ทั่งน้ีคงเกิดจากการผสมระหวางไทย จีน และยุโรป

Page 89: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๗๖

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด -รัชกาลที่ ๔ - พระพุทธรูป นิยมแบบไมมี

เมาฬี เปนจอม มีพระเศียรกลม จีวรทรงเปนริ้ว

- เจดีย นิยมทรงกลม - สถาปตยกรรม คือ วัด นิยมมีวิหารอยูดานหนา เจดียตรงกลาง อุโบสถอยูดายหลัง มีระเบียงคตตอจากวิหารลอมเจดีย หนาบันประดับดวยกระเบื้อง ชอฟาใบระกาเปนรูปปูนปน

- จิตกรรม นิยมนําเอาแบบตะวันตกมาใช จิตรกรรมคือ ขรัวอินโขง ภิกษุชาวเพชรบุรี

- ประติมากรรม นิยมการปนแบบตะวันตก

- พุทธศิลปนิยมแบบอยุธยาตอนตน และสถาปตยกรรมยุโรปเขามาแทนศิลปะจีน

- ไดรับการอุปถัมภจากกษัตริย ทั่งน้ีสกุลชางไทยไดรับการฝกหัดฝมือจากชางชาวจีนและชางชาวยุโรป

-รัชกาลที่ ๕ - วัดเบญจมบพิตร บุดวยกระเบื้องเบญจรงคทั้งวัด ปูดวยหินออนอิตาลี เปนการเอาพุทธศิลปแบบเดิมมาดัดแปลงหรือตกแตงใหม

- เปดรับศิลปะจากตะวันตก

- วาจางชางศิลปะเขามาออกแบบและกอสราง

-รัชกาลที่ ๖ - มีการบูรณะปฏิสังขรณวัดที่ทรุดโทรม

- สรางโรงเรียน อาทิ โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย มีการสรางเหมือนวัด ทรงมีดําริวา “ใหเปนวัดไดถาตองการ”

- จัดต้ังโรงเรียนประณีตศิลปกรรม เพ่ือศึกษาเก่ียววิชาชีพทางจิตกรรมและประติมากรรม

-รัชกาลที่ ๗ - โปรดใหบูรณะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

- ยกฐานะโรงเรียนศิลปากรเปนมหาวิทยาลัยศิลปากร เพ่ือผลิตบัณฑิตทางชางศิลปะไทย

-รัชกาลที่ ๘ - กิจกรรมการบูรณะ การรักษา การกอสรางพุทธ

Page 90: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๗๗

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป

ลักษณะศิลปะ พัฒนาการ การสืบทอด ศิลปะเปนหนาที่ของกรมศิลปากร

-รัชกาลที่ ๙ - สนับสนุนการเรียนการสอนพุทธศาสนา รวมท้ังสนับการเผยแผพุทธศาสนาไปยุโรป

จากการศึกษา ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในอินเดีย และ ประวัติและพัฒนาการ

พุทธศิลปในเมืองไทย” เปนการทําความเขาใจเร่ืองพุทธศิลปต้ังแตการกําเนิดพุทธศิลป ลักษณะพุทธศิลป และการสืบทอดพุทธศิลป ตามสมัยตาง ๆ ท้ังในอินเดีย กลุมเอเชียอาคเนย และในประเทศไทย เพื่อใหทราบเร่ืองราวเกี่ยวกับ “ศิลปะ” ของพระพุทธศาสนา รวมเรียกวา “พุทธศิลป” การทราบประวัติศาสตรพุทธศิลปจะทําใหทราบถึงโครงสรางใหญของพุทธศิลป และสะดวกตอการศึกษาการสืบทอดงานพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ในลําดับตอไป

Page 91: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

บทที่ ๓ พัฒนาการพุทธศิลปลานนา

การศึกษาพัฒนาการพุทธศิลปะลานนา เพื่อใหทราบถึงประวัติและพัฒนาการของงาน

พุทธศิลป ต้ังแตการกอต้ังอาณาจักรลานนามาถึงสมัยปจจุบัน รวมเรียกวา “งานพุทธศิลปลานนา” พรอมท้ังการสืบทอดงานพุทธศิลป เปนลักษณะอยางไร งานพุทธศิลป ท่ีปรากฏ ไดแก พระพุทธรูป วัดวาอาราม และพระเจดีย ถึงแมพุทธศิลปเหลานี้จะมีการบูรณะปฏิสังขรณหรือมีการกอสรางซอมแซมไปตามยุคสมัย แตก็สามารถบงบอกถึงลักษณะของพุทธศิลปลานนาได ผูวิจัยพึงเสนอการศึกษาพัฒนาพุทธศิลปลานนา ตามลําดับดังนี้ คือ

๑. ประวัติศาสตรอาณาจักรลานนา ๒. พัฒนาการและการสืบทอดพุทธศิลปหริภุญชัย – เชียงแสน ๓. พัฒนาการและการสืบทอดพุทธศิลปสุโขทัย ๔. พัฒนาการการสืบทอดพุทธศิลปพมา ๕. พัฒนาการการสืบทอดพุทธศิลปกรุงรัตนโกสินทร

๑. ประวัติศาสตรอาณาจักรลานนา กอต้ังข้ึนราวพุทธศักราช ๑๘๓๙ ถือเอาตามการกอต้ังเมือง “นวปรีศรีนครพิงค

เชียงใหม”๑ หรือ “นพบุรีศรีนครพิงคเชียงใหม” ๒ โดยมีพระยามังราย หรือ เม็งราย เปนปฐมกษัตริย ท่ีรวบรวมหัวเมืองท่ีต้ังอยูบริเวณแมน้ํากกและแมน้ําปง หมายรวมเอา ๘ จังหวัดภาคเหนือ มีเชียงใหมเปนศูนยกลาง รวมถึงจังหวัดลําพูน ลําปาง เชียงราย พะเยา แพร นาน

๑สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๔๕.

๒สุรพล ดําริหกุล, ลานนา สิ่งแวดลอม สังคม และวัฒนธรรม,(บริษัท รุงอรุณ พับลิช่ิง จํากัด, ๒๕๔๒), หนา ๒๗.

Page 92: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๗๙

และแมฮองสอน๓ ลานนามีอาณาเขตทิศเหนือจรดพมา ทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกจรดลาว ทิศใตจรดเขตจังหวัดตาก สุโขทัย และอุตรดิตถ อดีตเคยเปนสวนหนึ่งของแควนสุโขทัย๔

ชุมชนดั้งเดิมของอาณาจักรลานนา เดิมอาณาบริเวณของอาณาจักรลานนาไดมีชุมชนต้ังถ่ินฐานอยูกอนแลว ท้ังนี้การตั้ง

ถ่ินฐานของมนุษยชาติยอมอยูไกลแหลงน้ําหรือตามท่ีราบลุมแมน้ําสายตาง ๆ ภาคเหนือตอนบนมีแมน้ําสายตาง ๆ เชน แมน้ําปง แมน้ําวัง แมน้ํายม แมน้ํานาน แมน้ําลาว และแมน้ําอิง การตั้งถ่ินฐานเปนชุมชนนี้มีหลักฐานสมัยประวัติศาสตรท่ีปรากฏตามท่ีราบลุมแมน้ําสายสําคัญ คือ

๑. ชุมชนเขตท่ีราบลุมแมน้ําปงตอนตน คือท่ีราบลุมแมน้ําปงตอนตนมีรองรอยของเมืองโบราณปรากฏอยูหลายเมือง เชน เมืองเชียงดาว อําเภอเชียงดาว เวียงเจ็ดริน บริเวณเชิงดอยสุเทพ เวียงเถาะ เวียงทากาน เขตอําเภอสันปาตอง และเมืองหริกุญชัย

๒. ชุมชนเขตท่ีราบลุมแมน้ําวัง ท่ีราบลุมแมน้ําวังพบวามีรอยรอยของคูเมืองกําแพงเมืองท่ีเปนลักษณะของเมืองโบราณอยูหลายแหง เชน เมืองเขลางคนครและเมืองนครลําปาง และพบชุมชนโบราณท่ีมีรองรอยคูน้ําคันดินอีกจํานวน ๒๐ แหงในเขตท่ีราบลุมแมน้ําวัง

๓. ชุมชนเขตท่ีราบลุมแมน้ํายมตอนตน ท่ีราบลุมแมน้ํายมตอนเหนือมีเขตดินแดนลานนาคือเมืองแพร เมืองลอง เปนชุมชนโบราณต้ังอยู นอกจากนี้ในเขตหุบเขาของลุมแมน้ํางาวอันเปนสาขาของแมน้ํายมก็มีเมืองโบราณคือ เมืองงาว เมืองสรอง

๔. ชุมชนเขตท่ีราบลุมแมน้ํานานตอนตน คือท่ีราบลุมแมน้ํานานตอนตนไดปรากฏวามีชุมชนโบราณอยูหลายแหง คือ เมืองปว หรือ วรนคร (เมืองนานเกา) เวียงแซแหง เวียงสา

๕. ชุมชนเขตท่ีราบลุมแมน้ํากก พบรองรอยของคูน้ําคันดินท่ีเปนชุมชนโบราณเปนจํานวนมาก เชน เมืองเชียงแสน เวียงสีทวงหรือ เวียงแกว เช่ือวาอยูในอําเภอแมสาย นอกจากนีย้งัมีเมืองสําคัญตาง ๆ ในหุบเขาของสายแมน้ําสาขาของแมน้ํากก เชน เมืองฝาง เวียงกาหลง เวียงปาเปา ในท่ีราบลุมหุบเขาแมน้ําลาว

๖. ชุมชนเขตท่ีราบลุมแมน้ําอิง พบเมืองโบราณโดยเฉพาะบริเวณท่ีราบลุมรอบกวานพะเยา จังหวัดพะเยา พบรองรอยของคูน้ําคันดินท่ีเปนชุมชนโบราณเปนจํานวนถึง ๑๐ แหง และในตอนเหนือแมน้ําอิงพบเมืองโบราณ เชน เวียงลอ เวียงเทิง เวียงเชียงของ จังหวัดเชียงราย

๓สรัสวดี อองสกุล, ประวัติศาสตรลานนา, (โครงการขอสนเทศลานนาคดีศึกษา : โครงการศูนย

สงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๒๙), หนา ๑. ๔สุรพล ดําริหกุล, ลานนา สิ่งแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม,(บริษัท รุงอรุณ พับลิช่ิง จํากัด,

๒๕๔๒), หนา ๑๐.

Page 93: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๘๐

ชุมชนกอนอาณาจักรลานนา ไดเกิดชุมชนตาง ๆ ตามที่ราบลุมแมน้ําเขตภาคเหนือตอนบน เม่ือชุมชนเหลานี้เจริญเติบโตก็ไดพัฒนามาเปนบานเมือง เรียกวา “แควนหรือรัฐ” ขนาดเล็ก ท่ีมีเมืองใหญเปนศูนยกลาง แควนสําคัญท่ีปรากฏอยูกอนการตั้งของอาณาจักรลานนา ไดแก

แควนหริกุญชัย ประกอบดวยไปดวยกลุมบานเมืองท่ีอยูแถบที่ราบลุมแมน้ําปงและแมน้ําวัง โดยมีเมืองหริกุญชัยเปนศูนยกลางของแควน

แควนนาน ท่ีอยูบริเวณท่ีราบลุมแมน้ํานานตอนบนมีเมืองปว หรือ พล่ัว หรือ เมือง วรนครเปนศูนยกลางของแควน

แควนพะเยา ต้ังอยูบริเวณโดยรอบกวานพะเยาและท่ีราบลุมแมน้ําอิง มีเมืองพะเยาเปนศูนยกลางของแควน

แควนโยนก๕ มีอาณาบริเวณครอบคลุมพื้นท่ีราบลุมของแมน้ําหลายสายในเขตจังหวัดเชียงราย เชน ท่ีราบลุมแมน้ํากก แมน้ําลาว แมน้ําสาย แมน้ําอิง แมน้ําจัน มีเมืองหลาย ๆ เมืองผลัดเปล่ียนกันเปนศูนยกลาง กอนการกอต้ังอาณาจักรลานนามีเมืองเชียงรายเปนศูนยกลาง

การกอตั้งอาณาจักรลานนา แควนท่ีตองกลาวถึงและมีความสําคัญก็คือ แควนโยนกหรือโยน๖และแควนหริภุญชัยเพราะแควนท้ังสองเปนรากฐานใหเกิดอาณาจักรลานนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาและงานพุทธศิลป

๑. แควนโยนก หรือ โยน ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๖ – ๑๗ ชุมชนท่ีราบลุมแมน้ํากก ไดมีชุมชนเกิดข้ึน ๒ สมัย คือ

๑.๑ สมัยชุมชนในตํานาน ปรากฏตามตํานานเมืองสุวรรณโคมคํา กลาวถึงความเปนมาของชุมชนท่ีราบลุมแมน้ํากก วาเดิมเปนท่ีอยูของ มิลักขุ๗ หัวหนาพวกละวาหรือลัวะและกรอมหรือขอมดํา๘ ตอมากลุมคนไทยไดอพยพเขามาต้ังถ่ินฐาน ในตํานานเชียงแสน (ตํานานสิงหนติ) ก็กลาวถึงการอพยพของกลุมคนไทยจากเมืองแหงหนึ่งในยูนนาน เขามาสรางเวียงโยนก

๕สรัสวดี อองสกุล, ประวัติศาสตรลานนา, (โครงการขอสนเทศลานนาคดีศึกษา : โครงการศูนยสงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๒๙), หนา ๔.

๖เรื่องเดียวกัน. หนา ๔. ๗พระยาอนุมานราชธน, งานนิพนธชุดสมบูรณ เร่ือง เร่ืองของคนไทย, (กรุงเทพมหานคร :

องคการคาของคุรุสภาและมูลนิธิเสฐียร โกเศศ –นาคะประทีป พิมพเผยแผในวาระครบ ๑๐๐ ป พระยาอนุมานราชธน), หนา. ๘๒.

๘อรุณรัตน วิเชียรเขียว, การวิเคราะหสังคมเชียงใหมสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (ตามตนฉบับใบลานในภาคเหนือ),(เชียงใหม : สํานักพิมพตรัสวิน(ซิลคเวอรมบุคส), ๒๕๔๓), หนา ๖๑.

Page 94: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๘๑

บริเวณที่ราบลุมแมน้ํากก กลุมคนไทยเวียงโยนกไดรับความทุกขจากการรุกรานของกรอม ตอมาพระยาพรหมกุมารเปนผูขับไลออกไป ท่ีสุดตํานานเชียงแสนก็อธิบายถึงการส้ินสุดของเวียงโยนกเชียงแสนวา เวียงนี้ลมเปนหนองน้ํา เขาใจวาอยูบริเวณเวียงหนอง อําเภอเชียงแสน

๑.๒ สมัยชุมชนเงินยาง (เชียงแสน) มีการพัฒนามาจากรัฐเล็ก ๆ มาเปนเวียง ชุมชนเงินยางมีหลักฐานท่ีชัดเจนและสืบตอมาถึงสมัยพญามังราย ตํานานพื้นเมืองเชียงใหมกลาวถึง กษัตริยของเมืองตาง ๆ มาชุมนุมกัน แตชุมชนเมืองเชียงลาวใกลแมน้ําสาย ไมมีกษัตริยปกครองพระอินทรจึงสงลาวจงเทวบุตรลงมากําเนิด ชาวเมืองจึงยก ลาวจงข้ึนเปนกษัตริยองคแรก และเปนจุดเร่ิมตนของราชวงคลาว หรือลวจังกราช ในตํานานกลาวถึงลาวจงวามีถ่ินฐานเดิมอยูท่ีดอยตุง ศูนยกลางนาจะอยูท่ีเมืองเชียงลาว ราชวงคลาวมีความสัมพันธแบบเครือญาติ คือกษัตริยลาวจงไดสงราชโอรสไป “สรางบานแปงเมือง” จึงเกิดเปนเมืองหรือชุมชนเกิดใหมเปนจํานวนมาก เชน ลาวชางไปครองเมืองยอง ลาวเกาไปครองเมืองเชียงลาว ผลของการสรางบานแปงเมืองของราชวงคลาวแผไปท่ัวถึงท่ีราบลุมแมน้ํากก และอาจเลยไปถึงสิบสองปนนา๙

ราชวงศลาวไดยายจากเมืองเชียงลาวลงมาเมืองเงินยาง ณ ท่ีราบลุมเชียงแสน สมัยกษัตริยลาวเคียง เมืองเงินยางเขาใจวาอยูใกลเมืองเชียงแสน หรืออยูในบริเวณเดียวกัน เมืองเชียงแสนสรางสมัยพญาแสนภู เขาใจวาพญาแสนภูสรางเมืองเชียงแสนข้ึนในบริเวณท่ีเปนเมืองเงินยางมากอน ความสืบเนื่องของเมืองเงินยางและเมืองแสน ทําใหคนรุนหลังเรียกรวมกันเปนเมืองเงินยางเชียงแสน หรือหิรัญนครเงินยาง และเมืองยางคปุระ๑๐

เมืองเงินยางเชียงแสน ชวงปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๗ มีฐานะเปนศูนยกลางท่ีสําคัญและมีอํานาจทางการเมืองสูง เพราะเมืองเงินยางยังใชวิธีสรางอํานาจทางการเมืองดวยความสัมพันธทางเครือญาติกับผูนําของเมือง เชน พญาลวงเมงแหงเมืองเงินยางอภิเษกสมรสกับนางอัวม่ิงจอมเมือง (นางเทพคําขายหรือคําขยาย) ธิดาของทาวรุงแกนชาย เมืองเชียงรุง การอภิเษกสมรสคร้ังนี้ไดใหเกิดราชโอรสองคหนึ่งช่ือ “พญามังราย หรือ เม็งราย” องคปฐมกษัตริยแหงอาณาจักรลานนา

๙อรุณรัตน วิเชียรเขียว, การวิเคราะหสังคมเชียงใหมสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (ตามตนฉบับใบลานในภาคเหนือ), (เชียงใหม : สํานักพิมพตรัสวิน(ซิลคเวอรมบุคส), ๒๕๔๓), หนา ๘.

๑๐สรัสวดี อองสกุล, ประวัติศาสตรลานนา, (โครงการขอสนเทศลานนาคดีศึกษา : โครงการศูนยสงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๒๙), หนา. ๙.

Page 95: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๘๒

พัฒนาการพุทธศิลป ปรากฏหลักฐานข้ึนท่ีราบลุมแมน้ํากก หรือแควนโยนก เรียกวา พุทธศิลปแบบเชียง

แสน๑๑ โดยเอาชื่อเมืองเชียงแสนมากําหนดรูปแบบของศิลปะ พุทธศิลปเชียงแสนเปนศิลปในพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท ท่ีรูจักกันเปนอยางดีคือ พระพุทธรูปเชียงแสน หรือเรียกสามัญวา “พระสิงห” เปนพระพุทธรูปสกุล พระพุทธสิหิงค มีลักษณะพระอุระงามดั่งราชสิงห พระวรกายอวบอวน พระนาภีเปนลอน พระเศียรกลม พระเนตรมองตํ่าไมเบิกโพลง พระนาสิกงุม พระหนุเปนรอยแบบหยิก เม็ดพระศกทําเปนกนหอยใหญ ยอดรัศมีทําเปนดอกบัวตูม ชายผาสังฆาฏิท่ีพาดบนพระพาหาดานซายทําเปนแบบเข้ียวตะขาบ นาเช่ือวาไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปแบบคุปตะของอินเดีย (พุทธศตวรรษท่ี ๑๑) โดยผานทางพุกาม

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปเชียงแสน ถือไดวาเปนพุทธศิลปท่ีมีความลงตัวและเปนพุทธศิลปโดดเดน

ของเชียงแสน ก็คือพระสิงห ถึงแมจะไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปคุปตะ นอกจากนี้พระสิงหไดรับความนิยมในลานนา ๘ จังหวัดตอนบน ถึงแมพระสิงหสามจะเปนพุทธศิลปเชียงใหมท่ีไดรับอิทธิพลจากสุโขทัย๑๒ ก็ตาม ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปเชียงแสน โดยผานกลุมชางฝมือเมืองเชียงแสน ท้ังนี้เชียงแสนเปนเมืองเกาแก มีความเจริญกาวหนาทางดานสังคมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะงานชางศิลปะทางศาสนา ถึงแมจะไดรับอิทธิผลจากพุทธศิลปจากคุปตะ แตสุดทายสกุลชางเชียงแสนก็พัฒนามาเปนพุทธศิลปของตนเองข้ึน

๒. แควนหริภุญชัย หรือหริภุญไชย ต้ังข้ึนบริเวณที่ราบลุมแมน้ําปง ปจจุบันเปนท่ีต้ังของจังหวัดลําพูน เดิมบริเวณท่ีราบลุมแมน้ําปงมีกลุมชนพ้ืนเมืองอาศัยอยู โดยเฉพาะกลุมชน “ลัวะ หรือ ละวา” ๑๓

๑๑เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรมศาสตร, ๒๕๓๗), หนา ๕๗.

๑๒เรื่องเดียวกัน, หนา ๕๙. ๑๓สุรพล ดําริหกุล, ลานนา สิ่งแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม,(บริษัท รุงอรุณ พับลิช่ิง จํากัด,

๒๕๔๒), หนา ๘๕.

Page 96: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๘๓

ท่ีราบลุมแมน้ําปงตอนบน แตเดิมเปนถ่ินท่ีอยูอาศัยของชาวพ้ืนเมือง เรียกวาลัวะ และคงมีชุมชนพวกไต และพวกกะเหี่ยง๑๔ รวมอยูดวย ชุมชนลัวะเขาใจวามีศูนยกลางอยูท่ีเชิงดอยสุเทพ พบอยูในตํานาน เชน ชินกาลบาลีปกรณ ตํานานมูลศาสนาและตํานานจามเทวี กลาวถึงขุนหลวงวิลังคะ ไดนํากองทัพลัวะโจมตีเมืองหริภุญชัย๑๕ กลุมชาวลัวะคงเร่ิมตนจากชุมชนเล็ก ๆ ผนวกเขาดวยกันตามระบบเครือญาติ ตอมาขยายตัวใหญข้ึนจึงสรางเวียง ณ บริเวณเชิงเขาดอยสุเทพ เชน เวียงเชษฐบุรี๑๖ (เวียงเจ็ดลิน) ตอมามีการกอต้ังเวียงบริวาร เชน เวียงสวนดอก เวียงนพบุรี เวียงนพบุรีตํานานกลาววา สรางโดยเศรษฐีลัวะ ๙ ตระกูล ในตํานานเชียงใหมปางเดิม๑๗ไดกลาววา “คันวาพระยาลานนานพปุรี อันเปนพระยาแกไทยทังหลาย ภายหนลัวะดอยมีพระยาวีวอเปนใหญแกลัวะทังหลาย” แสดงวากลุมลัวะก็มีหลายกลุมเชนกัน อาจหมายถึงกลุมพื้นราบและกลุมท่ีอยูเชิงดอยและบนดอย อนึ่งเมืองเชียงใหมสรางข้ึนช่ือวา นพบุรีศรีนครพิงคเชียงใหม๑๘ เขาใจวา “นพบุรี” อาจหมายถึงเวียงนพบุรีอันเปนเวียงเกาของชุมชนลัวะ

แควนหริกุญชัย ต้ังข้ึนราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ - ๑๔๑๙ ในตํานานมูลศาสนา ไดกลาวถึง ฤาษีวาสุเทพสรางข้ึน (พุทธศักราช ๑๓๑๐ – ๑๓๑๑) เม่ือสรางเมืองเสร็จ ไดเชิญพระนางจามเทวีธิดาของพระยาจักกวัตติ กษัตริยละโว (ลพบุรี) ข้ึนมาครองราช๒๐ เม่ือมาถึงเมืองหริภุญชัย ทานวาสุเทพฤษีและทานสุกกทันตฤษีไดกระทําพิธีอภิเษกพระนางจามเทวี เปนใหญในเมืองลําพูนวันนั้นแล๒๑ ภายหลังพระนางจามเทวีจัดบานเมืองใหเปนปรกติแลว ทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา

๑๔เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรมศาสตร

,๒๕๓๗), หนา ๓๙. ๑๕สมหมาย เปรมจิตต, มรดกศาสนาในเมืองเชียงใหม,(เชียงใหม : คณะอนุกรรมการดานศาสนา

งานสมโภชเชียงใหม ๗๐๐ ป, ๒๕๓๙), หนา ๘. ๑๖สุรพล ดําริหกุล, ลานนา สิ่งแวดลอม สังคม และวัฒนธรรม,(บริษัท รุงอรุณ พับลิช่ิง จํากัด,

๒๕๔๒), หนา ๙๕. กลาววา เมืองเชษฐะบุรีหรือเวียงเชษฐบุรี เปนเมืองที่อยูรวมกันของชนเผาไตและกลุมชนลัวะ โดยมีพระยาสระเกษเปนหัวหนากลุมชนไตและ พระยาวีวอ เปนหัวหนากลุมชนลัวะ.

๑๗ตํานานเชียงใหมปางเดิม, สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๐, หนา ๑๖. ๑๘สุรพล ดําริหกุล, ลานนา สิ่งแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม,(บริษัท รุงอรุณ พับลิช่ิง จํากัด,

๒๕๔๒), หนา.๒๗. ๑๙เรื่องเดียวกัน. กลาววา ในความแนนอนของศตวรรษน้ีจะไมตรงนัก ระหวางศตวรรษที่ ๑๓

หรือ ๑๔ แตการเกิดขึ้นเมืองหริกุญชัยก็คงอยูระหวางน้ี. หนา ๑๕๕. ๒๐ตํานานมูลศาสนา, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม, หนา ๑๒๕. ๒๑เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๔๐.

Page 97: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๘๔

สรางวัดวาอารามตาง ๆ และทรงชักชวนชาวบานชาวเมืองรักษาศีลและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ดังตํานานกลาววา “คนท้ังหลายในหมูบานนั้น ๆ ประกอบดวยศรัทธาในพระพุทธศาสนา ซักชวนกันสรางวัดวาอารามท้ังหลายถึง ๒,๐๐๐ หลัง วัดใหญอันเปนท่ีอยูแหงชาวเจาท้ังหลาย” หลังจากเมืองหริกุญชัยมีความเจริญม่ันคงแลวจึงขยายอาณาเขตออกไป ไดสรางเมืองเขลางคนครข้ึนบริเวณท่ีราบลุมแมน้ําวัง เมืองเขลางคคงมีฐานะเปนเมืองสําคัญรองจากหริกุญชัย เพราะเปนเมืองท่ีพระนางจามเทวีสรางใหเจาอินทวร (หรืออนันตยศ) โอรสองคเล็กไปครอง สวนมหายศโอรสองคใหญครองเมืองหริกุญชัย๒๒

พัฒนาการพุทธศิลป เมืองหริภุญชัย นับวาเปนศูนยกลางของพระพุทธศาสนา ดวยเหตุนี้จึงปรากฏ

หลักฐานทางพุทธศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรมจนมาถึงปจจุบัน เรียกวา พุทธศิลปหริภุญชัย๒๓

ท้ังนี้พัฒนาการพุทธศิลปหริภุญชัย คงไดรับอิทธิพลและรูปแบบจากเมืองลพบุรีหรือเมืองละโว จากท่ีพระนางจามเทวีทรงนําเอากลุมชางฝมือแขนงตาง ๆ ข้ึนมาดวย กลุมชางฝมือเหลานั้นคงเปนกําลังท่ีสําคัญในการสรางสรรคงานชางพุทธศิลป ในการสรางวัดวาอารามและพระเจดียเปนจํานวนมาก นอกจากนี้แลวพุทธศิลปหริภุญชัยยังเปนรากฐานใหกับพุทธศิลปในลานนา พุทธศิลปหริภุญชัยสามารถสรุปไดคือ

สถาปตยกรรม ท่ียังคงรูปแบบทางพุทธศิลปหริภุญชัยมีจํานวน ๕ แหง แบงไปตามลักษณะรูปทรงออกได ๔ แบบ คือ

๑. เจดียทรงปราสาทหรือเจดียเหล่ียม ไดแกสุวรรณจังโกฏิเจดียหรือเจดียกูกุดและสุวรรณเจดียหรือปทุมวดีเจดีย

๒. เจดียแปดเหล่ียม ไดแกรัตนเจดีย ท่ีวัดจามเทวี เปนเจดียแปดเหล่ียมกอดวยอิฐ ๓. เจดียทรงกลมหายอด ไดแกเจดียเชียงยืน วัดพระธาตุหริภุญชัย เปนเจดียทรงกลม

หายอดท่ีมีเรือนธาตุเปนรูปส่ีเหล่ียมยอมุม แตละดานมีซุมจรนําประดิษฐานพระพุทธรูปยืน ๔. เจดียทรงกรวยหรือทรงลอมฟาง ไดแก เจดียกูชาง เปนลักษณะของเจดียพมาใน

พุกาม เจดียทรงลอมฟางกออิฐเปนวงกลมสูงราว ๘ เมตร

๒๒สรัสวดี อองสกุล, ประวัติศาสตรลานนา,(โครงการขอสนเทศลานนาคดีศึกษา : โครงการศูนยสงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๒๙),หนา ๑๔.

๒๓สุรพล ดําริหกุล, ลานนา สิ่งแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม,(บริษัท รุงอรุณ พับลิช่ิง จํากัด, ๒๕๔๒), หนา ๑๘๖.

Page 98: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๘๕

ประติมากรรม พุทธศิลปหริภุญชัยสามารถแบงออกไดเปน ๓ กลุม คือ ๑. กลุมแรกเปนพระพุทธรูปแบบพื้นเมือง มีลักษณะพระพักตรคอนขางยาว

พระนลาฏกวางมีโหนก พระขนงเปนรูปปกกาตอเช่ือมกัน พระเนตรโปน พระโอษฐกวาง ริมพระโอษฐหนา มีไรพระมัสสุ เม็ดพระศกแหลม มีขอบไรพระเกศา ไดรับอิทธิพลจากศิลปมอญหรือทวารวดี๒๔

๒. กลุมท่ีสอง มีลักษณะพระพักตรคอนขางเหล่ียม มีขอบพระเกศา เม็ดพระศกเปนขมวดแหลม รูปพระเศียรแบนและบานออก พระนลาฏกวาง พระขนงเปนรูปปกกาตอกัน พระเนตรเหลือบลงตํ่า พระนาสิกแบนใหญ พระโอษฐหนา พระมัสสุเปนเสนอยูเหนือขอบพระโอษฐบน นาเช่ือวาไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปเขมร

๓. กลุมท่ีสาม มีลักษณะพระพักตรส้ัน พระศกเปนเม็ดเล็ก ๆ พระขนงเปนรูปปกกาติดกัน พระเนตรเหลือบตํ่า พระนาสิกเล็ก พระโอษฐบาง ไมมีไรพระมัสสุ นาเช่ือวาไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปเขมร

นอกจากนี้พบพระพิมพดินเผา เปนแบบเฉพาะพุทธศิลปหริภุญชัยท่ีผสมผสานกับคติทองถ่ินมี ๓ กลุม กลุมแรกคือแบบพระพิมพปกโพธ์ิคือ พระรอด พระลือ พระคง พระบัง พระเปม กลุมท่ีสอง เปนพระพิมพขนาดใหญ คือ พระกลวย กับพระกวาง กลุมท่ีสาม เปนพระพิมพรูปสามเหล่ียม คือ พระแปดหรือพระสิบมอง พระสิบ พระสิบแปด และพระกําแพงหารอย

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปหริภุญชัยไดรับการสืบทอดจากกลุมสกุลชางฝมือตาง ๆ ท่ีพระนางจามเทวี

ทรงนําข้ึนมาเมืองลพบุรีหรือเมืองละโว ปรากฏกลุมชางฝมือเหลานั้นเชน ชางแกว ชางเงิน ชางเหล็ก ชางเขียน ในกลุมชางฝมือเหลานั้นคงมีกลุมชางพุทธศิลปดวย กลาวคือ เม่ือคราวพระนางเดินทางข้ึนมาและทรงพักตามสถานท่ีตาง ๆ พระนางก็ทรงสรางศาสนาสถานข้ึนมาตามรายทาง เชน สถานท่ีหนึ่งเรียกวา สระเงา พระนางใหสรางพระพุทธรูป เหตุนั้นสถานท่ีแหงนั้นเรียกวา พุทธสรณาคมน หรือทรงตองการสรางพระพุทธรูปเทาตัวพระนาง จึงตรัสถามนายชางวา “.. ดูรานายชาง ทานจัดการสรางพระพุทธรูปองคหนึ่ง มีขนาดและสวนสูงเทาตัวเรานี้ เราจะเอายังพระสารีริกธาตุท่ีเรานํามาแตพระนครละโวโพน ฐาปนาไวในองคพระพุทธรูปเจาองคนั้น”๒๕ กลุมชางฝมือเหลานี้เปนผูสืบทอดงานพุทธศิลป และทรงไดรับการอุปภัมถจากกษัตริยผูทรงเปนพุทธ

๒๕ตํานานมูลศาสนา, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม. ๒๕๔๔, หนา ๑๓๗.

Page 99: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๘๖

มากะอยางไกลชิด อนึ่งชางฝมือเหลานี้คงไดรับการสนับสนุนการเผยแผและฝกหัดใหกับประชาชน จนสามารถผลิตงานพุทธศิลปใหเปนของตนเอง เรียกวา พุทธศิลปหริภุญชัย

๒. พัฒนาการและการสืบทอดพุทธศิลปหริภุญชัย - เชียงแสน

พุทธศิลปของลานนาตอนตน ไดรับพัฒนาการสืบตอมาจากเมืองหริกุญชัย และเมืองเชียงแสน โดยเร่ิมจาก พญามังรายหรือเม็งราย๒๖ โอรสของพญาลาวเมงแหงเมืองหรัิญนครเงิน ยางกับพระนางอัวม่ิงจอมเมือง(นางเทพคําขายหรือคําขยาย)๒๗ธิดาทาวรุงแกนชายแหงเมืองเชียงรุง ตอมาทรงสรางเมืองเชียงราย (พุทธศักราช ๑๘๐๖) แลวมาสรางเมืองฝาง (พุทธศักราช ๑๘๑๗) ภายหลังทรงทราบถึงความอุดมสมบูรณของเมืองหริกุญชัยจากพอคา ท่ีเดินทางคาขายถึงเมืองฝาง เม่ือทรงทราบถึงความอุดมสมบูรณจึงคิดเอาเมืองหริกุญชัย ตํานานเมืองเชียงใหมกลาววา “พระยามังรายไดยินวาเมืองหริกุญชัยสมฤทธีนัก ลวดบังเกิดโลภจิตมักใครไดมาเปนเมืองของตน จึงจํากัดดวยเสนาทังหลายวา เราไดขาวเมืองหริกุญชัยสมฤทธีดีนักกวาเมืองเราวาอ้ันนา ฉันใดจักไดมาเปนเมืองของเรา” ตํานานมูลศาสนากลาววา “...คร้ังนั้นพระยามังรายผูกินเมืองเชียงรายโพน ไดยินขาวสาสนเมืองหริกุญไชยวาสุขเกษมยิ่งนัก จึงเจรจากับดวยอํามาตยท้ังหลายฉะนี้ ดูกรอํามาตยท้ังหลาย ดังเราไดยินมาวาเมืองหริภุญไชยสุขเกษม ดั่งฤาเราจักปองเอาใหไดนั้นแล”๒๘

พุทธศักราช ๑๘๒๔ พญามังรายทรงยกกองทัพเขายึดครองหริภุญชัยไดสําเร็จ และทรงประทับอยูเมืองหริภุญชัยเพียง ๒ ป จึงใหอายเจาฟาผูมีสวนสําคัญในการรบชนะพญายีบาครองแทน สวนพญามังรายทรงสรางเวียงกุมกามเปนท่ีประทับ พุทธศักราช ๑๘๒๙ โปรดใหสรางวัดกานโถมใหเปนศูนยกลางของเวียงกุมกาม๒๙ พุทธศักราช ๑๘๓๑ โปรดใหกอสรางเจดียกูคํา๓๐ทรงส่ีเหล่ียม มีซุมจรนําบรรจุพระพุทธรูปท้ัง ๔ ดาน ๆ ละ ๑๕ องค ปจจุบันคือวัดเจดียเหล่ียม พุทธศิลปชวงนี้นาจะเปนการผสมระหวางพมาและหริภุญชัย เพราะคร้ังนั้น...พญามังราย

๒๖สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๔๕.

๒๗สรัสวดี อองสกุล, ประวัติศาสตรลานนา, (โครงการขอสนเทศลานนาคดีศึกษา : โครงการศูนยสงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๒๙), หนา ๑๐.

๒๘ตํานานมูลศาสนา, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม. ๒๕๔๔, หนา ๑๘๔. ๒๙ยุพิน เข็มมุกต, พุทธศาสนาในลานนาไทย สมัยราชวงศมังราย,(สภาวิจัยแหงชาติ, ๒๕๒๗),

หนา ๔๖. ๓๐ศิลปสภาปตยกรรม, (ศิลปะยุคทองของลานนา),มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๖. หนา ๖. กลาววา

เจดียกูคํา คือเจดียสี่เหล่ียม ตําบลหนองหอย อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม ถูกซอมแซมโดยคหบดีชาวพมาเมื่อ พุทธศักราช ๒๔๕๑ รูปทรงคลายกับเจดียกูกุด ณ วัดจามเทวี จังหวัดลําพูน

Page 100: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๘๗

กับนางปายโค (ธิดาเมืองอังวะ) ก็หื้อคนท้ัง ๕๕ บาน มี ๕๐๐ ครัว... เอาแตเมืองหงสาวดีมา.. การลงมาคร้ังนั้นนาเช่ือวานาจะมีพระภิกษุชาวพมาและชางฝมือแขนตาง ๆ ลงมาดวย

พุทธศักราช ๑๘๓๘ พญามังรายไดสรางเมืองแหงใหมข้ึนบริเวณท่ีราบเชิงดอยสุเทพ และไดเชิญพระสหายของพระองค คือ พอขุนรามคําแหงแหงสุโขทัย พอขุนงําเมืองแหงพะเยา มาชวยวางแผนสรางเมือง ตํานานพื้นเมืองเชียงใหมกลาววา๓๑ “..สหายคําประยางําเมือง พระยารวงท้ังสองนั้น กูจักเรียกรองเสงปองโฟจาแลว จึ่งควรต้ังชะแล... พระยามังรายก็ใช อํามาตยผูรูผูหลวงไปเมืองพรูยาว (พะเยา) ท่ีอยูพระยางําเมือง และเมืองสุกโขทัย (สุโขทัย) ท่ีพระยารวง ก็เรียกรองเอาพระยาทั้งสองอันเปนมิตรรักกับพระยามังราย ก็ชักเชิญวาจักต้ังบานใหญเมืองหลวง ...พระยามังราย พระยางําเมือง พระยารวง ๓ คน ท้ังเสนาอมาตยไพรบานไทเมืองสมณพราหมณ ชางไม ชางตอง ชางแตม ท้ังหลายพรอมเพรียงเสงปองกัน จีกเบิกบาย ช่ือโสรกยังเวียงวา นพบุรีสรีนครเชียงใหม (นพบุรีศรีนครพิงคเชียงใหม) ก็โสรกมีสันนี้” โดยแตงเอาเวียงวัดทางยาวน้ัน ๑,๐๐๐ วา ทางกวาง ๙๐๐ วา แลวจึงต้ังเรือนหลวง ๒๐ หอง จึงใหช่ือวา “นพบุรีศรีนครพิงคเชียงใหม”๓๒

กอนจะสรางเมือง ณ บริเวณนี้คงมีแหลงชุมชนหรือเวียงอยูกอนแลว ในตํานานเชียงใหมปางเดิมกลาววา๓๓ “...ก็วาเราจักกระทําดั่งฤาดีชา บานเมืองอันนี้ปฐมเมืองกอนแรกตั้งหัวที ก็หากพระยาลัวะลุกแตดอยอุสุปพพตาลงมาสรางแล เราควรแตงบรรณาการหื้อศรีกอนไชยเสนาใชมันไปถามขาวแกพระยาลัวะแลว ถามดูยังจารีตฮีตฮอยแตตน” เม่ือพญามังรายสรางเมืองเสร็จพระองคทรงถามศรีขุนจุก (ชาวลัวะ) วาจะเขาประตูไหนดี ศรีขุนจุกตอบวา “…พญาเจาจักเขาเวียงหนเหนือนั้นดีนัก จักอยูวุฒิสวัสดีเปนสุขมีศรีทีฆาอายุหม่ันยืนยาวมากนักแล” จากนั้นพญามังรายก็หื้อสรางวัดหลัง ๑ ก็หือสรางยังพระพุทธรูปเจายืนองค ๑ ใหญหนอยและสูงตํ่า หือเอาเทาตนพญามังรายเจา ไวยังวัดหั้นแลว ก็ใสช่ือวัดอันนั้นวา วัดกาลพระเทียมตน๓๔ ท้ังนี้พญามังรายทรงนับถือพระพุทธศาสนา แตก็มิไดละเลยประเพณีเดิมของชาวลัวะอันเปนชาวพื้นเมือง ตํานาน

๓๑อรุณรัตน วิเชียรเขียว, ลานนาไทยศึกษา, (ภาควิชาประวัติศาสตร วิทยาลัยครูเชียงใหม, ๒๕๒๕), หนา ๗ – ๘.

๓๒สุรพล ดําริหกุล, ลานนา สิ่งแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม, (บริษัท รุงอรุณ พับลิช่ิง จํากัด, ๒๕๔๒), หนา ๒๗.

๓๓ตํานานเชียงใหมปางเดิม, (สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๐), หนา ๓๐. ๓๔เรื่องเดียวกัน. กลาววา ไมปรากฏหลักฐานวาอยูที่ไหน.หนา ๓๐.

Page 101: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๘๘

มูลศาสนาวา “พญามังรายเสวยราชยมิใหผิดทศพิธราชธรรม ๑๐ ประการ ก็ปาวชาวเมืองใหสรางสวนหมากแปลงเหมืองฝาย ปาวคนท้ังหลายใหกระทําบุญรักษาศีล อันเหตุท่ีพระยาและชาวเมืองรู กระทําบุญนั้น เมืองหริภุญชัยและเมืองเชียงใหมจึงสุขเกษมมากนักจงึปรากฏท่ัวไปวา ลือ ลัวะ ลาว ชาวไตย มาน เม็ง ทุกแหงนัน้แล”๓๕

พัฒนาการพุทธศิลป พญามังรายสถาปนาอาณาจักรลานนาข้ึน โดยการยึดครองแควนหริภุญชัยและสราง

เมืองเชียงใหม ข้ึนเปนราชธานี ณ ท่ีราบลุมแมน้ําปง พระองคทรงยอมรับและสืบทอดพระพุทธศาสนาพรอมท้ังพุทธศิลปจากเมืองหริภุญชัยและเมืองเชียงแสน พิจารณาจากท่ีพระองคทรงโปรดใหมีการบูรณะซอมแซมเปล่ียนรูปทรงพระธาตุหริภุญชัยจากเดิมใหเปนเจดียทรงกลม ดวยเหตุนี้พุทธศิลปของลานนา ไดพัฒนาการสืบทอดมาจากพุทธศิลปแบบหริภุญชัยเปนสวนมาก ดังปรากฏหลักฐานใหเห็นวาโบราณสถานของลานนา เชน ท่ีกูคําหรือเจดียเหล่ียมท่ีโปรดใหสรางข้ึนในเวียงกุมกาม และเจดียแปดเหล่ียม กับเจดียส่ีเหล่ียมผสมทรงกลมหรือทรงปราสาท คือองคท่ีถูกสรางครอบทับท่ีวัดสะดือเมือง กลางเวียงเชียงใหม ลวนแสดงถึงรูปแบบของพุทธศิลปหริภุญชัย

ระยะตอมา ศูนยกลางพระพุทธศาสนาอยูท่ีเมืองเชียงแสน เนื่องจากกษัตริยลานนายุคตนไดเสด็จมาประทับอยูเมืองเชียงแสน จึงมีหลักฐานท่ีแสดงถึงความเจริญรุงเรืองของพุทธศิลปลานนายุคตน จะปรากฏอยูท่ีเมืองเชียงแสนเปนสวนใหญ โดยเฉพาะโบราณสถานสําคัญ ๆ ท่ีสรางข้ึน เชน เจดียวัดปาสัก และเจดียทรงปราสาท เขตเมืองโบราณเวียงปรึกษา ก็ยังเปนรูปแบบตามสถาปตยกรรมแบบหริภุญชัยท่ีพัฒนาการมาจากเจดียเชียงยืนท่ีวัดพระธาตุหริภุญชัย๓๖

พัฒนาการพุทธศิลปลานนา คงมีพุทธศิลปแบบพุกามเกี่ยวของอยูไมนอย เนื่องจากราวพุทธศักราช ๑๘๓๓ พญามังรายมีชัยเหนือเมืองพุกาม ทรงนําเอาชางแขนงตาง ๆ จากพุกามลงมาดวย ดังปรากฏขอความวา “..ดั่งเจาอังวะพุกามน้ันก็เสงปองโฟจากันแล.. คันเสงปองกันแลว ยังชางหลอ ชางตี ชางฆอง ผูทรงสราด (ฉลาด) ท้ังหลายมาก็เลือกเอาผูอันชางหลอ ชางตีทังหลาย ชางฆอง ๒ หัว ทังลูกสิด (ศิษย) ลูกนองทังมวล ๕๐๐ ทังเครื่องพรอมแลว จักยื่นถวายทาวลานนา”๓๗ พญามังรายทรงโปรดใหเอาชางทองไวเมืองเชียงตุง ชางฆองไวเมืองรอย เอาชางเหล็ก ชางหลอ และชางตาง ๆ ไวท่ีเมืองกุมกาม ดังนั้นจึงปรากฎวาพุทธศิลปอินเดียแบบปาละที่ผานมา

๓๕ตํานานมูลศาสนา, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม. ๒๕๔๔, หนา ๑๘๘. ๓๖สุรพล ดําริหกุล, ลานนา สิ่งแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม,(บริษัท รุงอรุณ พับลิช่ิง จํากัด,

๒๕๔๒), หนา ๑๙๒. ๓๗อรุณรัตน วิเชียรเขียว, ลานนาไทยศึกษา,(เชียงใหม : คณะอนุกรรมการดานศาสนางานสมโภช

เชียงใหม ๗๐๐ ป, ๒๕๓๙) หนา ๘.

Page 102: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๘๙

ทางพุกาม ไดมีอิทธิพลตองานประติมากรรมของลานนา พระพุทธรูปกลุมหนึ่งท่ีเกิดข้ึนจะมีลักษณะพระพักตรคอนขางยาว พระขนงโกงเปนสัน พระนาสิกเปนสันใหญ พระเนตรกลีบบัวเหลือบลงตํ่า พระโอษฐแยมมีความกวางเสมอกับพระนาสิก พระหนุอุมและมีปุมกลม ขมวดพระเกศาใหญ พระเกตุมาลาทางกรวยเต้ีย พระองคอวบใหญ ประทับนั่งวัชรสานหรือปารกาสนพระหัตถในภูมิสปรศมุทรา ทรงผาอุตราสงค (จีวร) หมเฉียง มีชายสังฆาฏิส้ันหยักเปนร้ิว มีลักษณะใกลเคียงกับพระพุทธรูปปูนปนในซุมเจดียส่ีเหล่ียมท่ีวัดพระพายหลวง เมืองสุโขทัย พระพุทธรูปลานนาชวงเวลานี้เปนอิทธิพลพุทธศิลปพุกาม และมีสวนหนึ่งท่ีมีพัฒนาการสืบทอดมาจากพุทธศิลปหริภุญชัย จัดไดวาเปนชวงท่ีลานนาแสวงหาเอกลักษณของตัวเอง กําหนดอายุไดคราว ๆ ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ คือ ระหวางรัชสมัยพญามังราย (๑๘๐๔ – ๑๘๕๔) จนถึงพญาผายู (๑๘๗๔ – ๑๘๙๘)๓๘

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปลานนา ไดรับการสืบทอดมาจากกลุมชางฝมือ คือ กลุมชางฝมือจากเมือง

เชียงแสน ท่ีติดตามมากลับพญามังราย กลุมชางฝมือจากเมืองหริภุญชัย ท่ีภายหลังไดผนวกเขากับเมืองเชียงใหม นอกจากนี้ยังคงไดรับความสัมพันธทางฝมือชางจากพุกามและเมืองสุโขทัยดวย ท้ังนี้เพราะพญามังรายและพอขุนรามคําแหงตางก็เปนพระสหายกัน ดังนั้นการไปมาหาสูหรือความสัมพันธทางการเมือง สังคม ศาสนาและวัฒนธรรมคงมีอิทธิพลตอกัน แตก็คงยังไมมีอิทธิพลมากนัก ท้ังนี้ลานนายุคนี้นิยมพุทธศิลปเชียงแสนและยังไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปพุกามบาง อนึ่งกลุมชางฝมือลานนามีความเจริญรุงเรือง ท่ีสืบตอมาจากชางหริภุญชัยและชางเชียงแสน ท้ังนี้พญามังรายไดนํากลุมชางฝมือจากพุกามเม่ือพระองคมีชัยชนะเหนือพุกาม เขามาฝกหัดชางลานนาอีกดวย ดังนั้นกลุมชางฝมือเหลานี้เปนผูสืบทอดพุทธศิลป โดยไดรับการอุปภัมถจากกษัตริยและเจาขุนมูลนายระดับตาง ๆ อยางใกลชิด

๓. พัฒนาการและการสืบทอดพุทธศิลปสุโขทัย เร่ิมตนสมัยพญากือนา (พุทธศักราช ๑๘๙๘ – ๑๙๒๘) กษัตริยลานนาลําดับท่ี ๖๓๙

ทรงปกครองดวยทศพิธราชธรรม เ ล่ือมใสในพระพุทธศาสนา เหตุการณสําคัญคือการรับ

๓๘สรัสวดี อองสกุล, ประวัติศาสตรลานนา, (โครงการขอสนเทศลานนาคดีศึกษา : โครงการศูนย

สงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๒๙),หนา ๒๕. ๓๙สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา. ๔๘. ระบุวา พญากือนาเปนกษัตริยลําดับที่ ๙.

Page 103: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๙๐

พระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศจากสุโขทัย โดยกอนหนานั้นพระพุทธศาสนาลานนา สืบทอดมาจากหริภุญชัย และยังไดรับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาพุกามบาง

พญากือนาทรงรับพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศจากสุโขทัย ทรงสงคณะทูตไปสุโขทัยถึง ๒ คร้ัง เพื่ออาราธนาพระสุมนข้ึนมาเผยแผพระพุทธศาสนาในลานนา พุทธศักราช ๑๙๑๒ พระสุมนเดินทางมาถึงเมืองหริภุญชัยพรอมไดอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุข้ึนมาดวย พระสุมนจําพรรษาแรกท่ีวัดพระยืน เมืองหริภุญชัย ทรงบูรณะพระสถูปและสรางพระพุทธรูปข้ึนอีก ๓ องค๔๐ รวมกับองคเดิมเปน ๔ องค พญากือนาทรงเลื่อมใสศรัทธาพระสุมนมาก เพราะเช่ือวาพระภิกษุอรัญญวาสีเปนพระภิกษุท่ีมีความรูในพระพุทธศาสนา และถือวาพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศเปนพระพุทธศาสนาท่ีบริสุทธ์ิ ทําการสังฆกรรมถูกตองมาแตโบราณ ดังนั้นพญากือนาทรงอาราธนาพระนิกายเดิม ท่ีสืบมาจากเมืองหริภุญชัยใหบวชใหมในพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศถึง ๘,๔๐๐ รูป การนําพระพุทธศาสนาเขามาในคร้ังนี้นับเปนการแลกเปล่ียนวัฒนธรรมคร้ังสําคัญ ระหวางลานนาและสุโขทัย โดยเฉพาะบทบาทดานการศึกษา โดยประชาชนถือวาพระเปนครูและวัดเปรียบเสมือนโรงเรียนของประชาชน๔๑

พุทธศักราช ๑๙๑๔ พญากือนาทรงสรางวัดบุปผาราม (วัดสวนดอก) เขตอุทยานปาไมพยอม เพื่อเปนท่ีจําพรรษา และทรงอุสสาภิเษกพระสุมนะเถระวา มหาสุมนสุวรรณรัตนสามี๔๒ พุทธศักราช ๑๙๑๖ โปรดใหสรางเจดียบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ไวท่ีวัดพระธาตุดอยสุเทพและวัดบุปผาราม ลักษณะพระเจดียเปนพุทธศิลปแบบสุโขทัย พระสุมนจําพรรษาท่ีวัดบุปผารามตลอดจนถึงแกมรณะภาพในพุทธศักราช ๑๙๓๒ นับไดวาพระสุมนมีบทบาทสําคัญตอการรางรากฐานพระพุทธศาสนาลังกาวงคในเชียงใหม

ภายหลังพญากือนาส้ินพระชนม พญาแสนเมืองมาโอรสข้ึนครองราชย (ลําดับท่ี ๗) พุทธศักราช ๑๙๒๘ – ๑๙๔๔ ชวงตนการครองราชยทรงทําสงครามกับทาวมหาพรหม (เจาอา) ยกทัพจากเชียงรายเพื่อแยงเมืองเชียงใหมแตไมสําเร็จ หรือสงครามกับสุโขทัยและอยุธยา พุทธศักราช ๑๙๓๐ พระองคไมทรงออกสงครามอีกเลย แตหันมาทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาแทน คือทรงอัญเชิญพระพุทธสิหิงคจากวิหารหลวงเมืองเชียงรายมาประดิษฐานท่ีวัดลีเชียงพระ (วัดพระสิงห)

๔๐สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา. ๔๘. ๔๑อรุณรัตน วิเชียรเขียว, การวิเคราะหสังคมเชียงใหมสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ตามตนฉบับ

ใบลานในภาคเหนือ,(บัณฑิตวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๒๐), หนา ๖๖. ๔๒ยุพิน เข็มมุกต, พุทธศาสนาในลานนาไทย สมัยราชวงศมังราย,(สภาวิจัยแหงชาติ,๒๕๒๗),

หนา ๕๘.

Page 104: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๙๑

โปรดใหสรางพระพุทธรูปอีกองคหนึ่ง ไวท่ีวัดกานโถม หรือวัดชางคํ้า โปรดทรงสรางเจดียหลวง(ไมเสร็จในรัชสมัยพระองค) ทรงหุมพระธาตุเจดียในวัดพระธาตุหริภุญชัย ดวยแผนทองคําหนักสองแสนหนึ่งหม่ืน (เทากับ ๒๕๒ กิโลกรัม) พระองคทรงเล่ือมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนามากทรงปฏิบัติพระราชกิจทางศาสนา เชนเดียวกับท่ีบูรพกษัตริยแหงลานนา เชน ทรงอุปถัมภพุทธศาสนา การอุปสมบทนาคหลวง พงศาวดารโยนกกลาววา “พระเจาแสนมาหลวงไดรํ่าเรียนรูทางพุทธวัจนะ แคลวคลองในพระธรรม ตรวจตราบํารุง พวกเรียนรูพระปริยัติธรรมมีบัญชีช่ือไวท้ังส้ิน พระราชทานนิตยภัตปจจัย ปวยไขก็เอาอาการพระราชทานแพทยหมอและยามาปฏิบัติพยาบาล หากษัตริยองคใดมาเสมอพระเจาเชียงใหมนี้โดยยาก”๔๓

พญาสามฝงแกน ครองราชยพุทธศักราช ๑๙๔๕ – ๑๙๘๔ (ลําดับท่ี ๘) โอรสของพญาแสนเมืองมา การปกครองชวงตนมีปญหา กลาวคือ ทาวยี่กุมกาม เจาเมืองเชียงราย (พระเชษฐา) มิไดข้ึนครองราชยจึงไปขอกองทัพจากสุโขทัยมาชวยรบชิงเมืองเชียงใหม แตก็พายแพกลับไป และสงครามกับชาวฮอ แตก็พายแพกลับไปเชนกัน การพายแพคร้ังนั้นทําใหอาณาจักรลานนาขยายอาณาเขตไปถึงดินแดนสิบสองปนนา๔๔ ดานพระพุทธศาสนา ขณะนั้นมีอยู ๓ นิกาย คือนิกายพื้นเมือง (วัดพระสิงห) นิกายรามัญ (สวนดอก) และนิกายสีหล (วัดปาแดงหลวง) พระองคทรงสนับสนุนพระพุทธศาสนานิกายรามัญ เม่ือความขัดแยงระหวางนิกายรามัญและนิกายสีหลมีความรุนแรงข้ึน จึงขับไลนิกายสีหลออกจากเมืองเชียงใหม๔๕ ทําใหกลุมราชวงศท่ีเล่ือมใสนิกายสีหลไมพอใจ กอใหเกิดการเปล่ียนแปลงการปกครองในพุทธศักราช ๑๙๘๕ โดยบรรดาขุนนางยึดอํานาจแลวปลดพญาสามฝงแกน แลวสนับสนุนใหทาวลกราชหรือพญาติโลกราชข้ึนครองราชยแทน

พญาติโลกราช หรือพระมหาสุธรรมติโลกราช หรือพิลกราช (ลําดับท่ี ๙) พุทธศักราช ๑๙๘๔ - ๒๐๓๐๔๖ ทรงเปนบุตรลําดับท่ี ๖ ของพญาสามฝงแกน โปรดใหทาวลกไปกินเมืองพราว

๔๓ยุพิน เข็มมุกต, พุทธศาสนาในลานนาไทย สมัยราชวงศมังราย,(สภาวิจัยแหงชาติ,๒๕๒๗),

หนา ๖๒. ๔๔สรัสวดี อองสกุล, ประวัติศาสตรลานนา, (โครงการขอสนเทศลานนาคดีศึกษา : โครงการศูนย

สงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๒๙), หนา ๓๓. ๔๕สุรพล ดําริหกุล, ลานนา สิ่งแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม, (บริษัท รุงอรุณ พับลิช่ิง จํากัด,

๒๕๔๒), หนา ๑๖๒. ๔๖สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย,ระบุพุทธศักราช ๑๙๘๕ – ๒๐๒๐.

(กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๔๙.

Page 105: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๙๒

ตอมามีความผิดจึงถูกสงไปอยูเมืองยวมใต (แมฮองสอนปจจุบัน)๔๗ ข้ึนครองราชยดวยการชวงชิงราชบัลลังคจากพระราชบิดา ไดรับสนับสนุนจากเจาแสนขานหรือเจาสามเด็กยอย ทําใหพระองคทรงขยายอาณาเขตออกไป และมีความเขมแข็งเปนอยางมากท้ังอาณาจักรและศาสนจักร พระองคทรงสนับสนุนคณะสงฆนิกายสีหล ไดอาราธนาพระมหาเมธังกร พระภิกษุนิกายสีหลจากเมืองลําพูนมาจําพรรษาท่ีวัดมณเฑียร และสถาปนาใหเปนพระมหาสวามี พุทธศักราช ๑๙๙๐ พระองคทรงออกผนวช ณ วัดปาแดงมหาวิหาร๔๘ ทําใหพระพุทธศาสนาสีหลเจริญรุงเรืองอยางมาก และมีพระภิกษุผูบวชใหมเพิ่มมากข้ึน เพราะนิกายสีหลเนนการศึกษาภาษาบาลีและการปฏิบัติตามหลักธรรมวินัยท่ีถูกตอง ปรากฏพระภิกษุท่ีมีความสามารถเช่ียวชาญพระไตรปฏกและสามารถรจนาวรรณกรรมบาลี เชนพระธรรมทิน พระญาณกิตติเถระ พระสิริมังคลาจารย ในรัชสมัยตอมา

จากท่ีพระภิกษุลานนามีความเช่ียวชาญภาษาบาลี และพระไตรปฏก จึงเกิดการสังคายนาพระไตรปฏกข้ึนในพุทธศักราช ๒๐๒๐ ณ วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) มีพระธรรมทินเถระ วัดปาตาลเปนประธาน พญาติโลกราชทรงเปนผูอุปถัมภ ใชเวลา ๑ ปจึงสําเร็จ นับไดวาเปนการทําสังคายนาครั้งท่ี ๘ ของโลก ผลของการทําสังคายนา ทําใหพระพุทธศาสนาในลานนารุงเรืองมากข้ึน พญาติโลกราชทรงสรางวัดหลายวัดเชน วัดมหาโพธาราม๔๙ (เจ็ดยอด) วัดราชมณเฑียร วัดปาตาล วัดปาแดงมหาวิหาร และทรงสรางตอเติมเจดียหลวง และทรงอัญเชิญพระแกวมรกตจากวัดพระธาตุลําปางหลวงมาประดิษฐานไวท่ีเจดียหลวง จากนั้นพระองคพรอมกับพระมหาเมธังกรเถระไดรวมกันบูรณะพระธาตุหริภุญชัยใหสูงข้ึนอีกเปน ๓๒ วา ฐานกวาง ๑๒ วา ๒ ศอก ปลองไฉน ๒๒ ช้ัน ฉัตร ๗ ช้ัน ทรงหุมพระเจดียดวยทองคําดวย๕๐ พญาติโลกราช ทรงสนับสนุนการเผยแผพระพุทธศาสนา เชน พุทธศักราช ๑๙๙๒ โปรดใหพระโสมจิตรไปเผยแผพระพุทธศาสนายังเมืองเชียงตุง พุทธศักราช ๑๙๙๘ โปรดใหพระมหาญาณมงคลไปเผยแผ

๔๗ยุพิน เข็มมุกต, พุทธศาสนาในลานนาไทย สมัยราชวงศมังราย, (สภาวิจัยแหงชาติ,๒๕๒๗),

หนา ๗๒. ๔๘สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๕๐. ๔๙เรื่องเดียวกัน กลาววาโปรดใหอํามาตยช่ือ “หมื่นดามพราคต” ไปดูเจดียสถานในอินเดียและ

ลังกา แลวจําลองแบบวิหารพุทธคยา โลหะปราสาท รัตนมาลี เจดีย มาสรางไว ณ วัดมหาโพธารามแหงน้ีดวย. หนา ๕๐.

๕๐สมหมาย เปรมจิตต, มรดกศาสนาในเชียงใหม, (เชียงใหม : คณะอนุกรรมการดานศาสนางานสมโภชเชียงใหม ๗๐๐ ป, ๒๕๓๙), หนา ๓๔.

Page 106: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๙๓

พระพุทธศาสนาท่ีเมืองเชียงแสน นอกจากนี้ยังมีการสรางและปฏิสังขรณโบราณวัตถุสถานมากมาย ถือวาเปนยุคทองพระพุทธศาสนา ศิลปกรรม และวรรณกรรม

ในตํานานเชียงใหมปางเดิม๕๑ กลาวถึงพระสหายของพญาติโลกราชผูหนึ่ง ช่ือวา อายดามพราคต๕๒ พระองคสงใหไปอินเดียและลังกาพรอมกับพระภิกษุสงฆดังความวา “อายดามพราคตก็ไปเมืองลังกาและตักสิลา ตวยมหาเถรเจาไปเรียนธรรม มันก็ไปเรียนศาสตรศิลปจบบัวรมวลไดเส้ียงแลว” แสดงวาอายดามพราคตนี้เองท่ีเปนชางพุทธศิลป ท่ีไปเรียนอินเดียและลังกา จะเห็นวาการกอสรางในสมัยพญาติโลกราช พระองคจะใหอายดามพราคตเปนผูควบคุมการกอสราง ดังปรากฏการกอสรางเจดียหลวงวา “บัดนี้เราก็มีเจตนาสัทธาใครสรางมหาเจติยะหลัง ๑ หื้อใหญและสูงเสียกวาเจติยะทังหลาย หื้อปรากฏแกเมืองเชียงใหมท่ีนี้แล ใผจักอาสา จักหื้อแลวคําเจตนแหงเรานั้นชา วาอ้ัน.... ท่ีนั้นหม่ืนดามพราคตจ่ิงรับวา ขาพระบาทก็ยังไดเรียนเอายังศาสตรศิลป แตสํานักทิศาปาโมกขอาจารยยังลังกาและตักศิลาพุนมาแล หม่ืนดามพราคตก็ไหวสาบอกกลาวแกพระยาเจา หื้อไดรูชุประการฉันนั้นแลว เจาพระยาติโลกราช ก็มีคําโสมนัสชมช่ืนยินดีมากน้ันแลว ก็ลวดหื้อหม่ืนดามพราคตเปนนาย นําหมูไปผอท่ีจักสรางยังมหาเจติยหลวงนั้น ก็ไปหันยังท่ีแหง ๑ เปนอารามเกาช่ือวา โชติการาม...... แลวก็กอชางแวดยังมหาเจติยหลวงนั้น ไควชุดานแลว พระยาก็หื้อสรางหลอยังไมมหาโพธิพิมพาตน ๑ มีรากและตน กิ่ง กิ่งหนอย ใบ ยอด หนวย แลวดวยคําทังแทง สูงเพียงตนพระยาเจานั้นแล พระยาก็หื้อสรางพระพุทธรูปพระพิมพาเจา ๒ องค ยืนเพียงตนพระยาเจานั้นทังสองพระองค องค ๑ นั้นแลวดวยคําทังแทง และองค ๑ นั้นแลวดวยเงินทังแทงแล” และกลาววา “มหาเจติยหลวงนี้ประดับไปดวยโขงประตูหับไขทัง ๔ ดาน และพระพุทธรูปพระเจา ๔ พระองคใหญ อันแลวดวยสะตายน่ังอยูในโขงประตูท้ัง ๔ ดานนั้นแล.... มหาเจติยหลวงเจาหลังนี้ปรากฏแกคนทังหลาย อันอยูในท่ีไกลและใกลประหมาน ๖,๐๐๐ วา ก็เล็งหันอยูหั้นแล ก็ต้ังอยูกลางเมืองนพบุรีมหานครราชธานีลานนาเชียงใหมท่ีนั้น ดูงามอาจยิ่งนักแลนา.... พระเจาก็หื้อหลอพระพุทธรูปเจายืนองค ๑ สูงได ๑๘ ศอก ไวยังพระวิหารหลวงวัดโชติการามห้ัน ปรากฏช่ือวาพระเจาอัฏฐารสแล....หม่ืนดามพราคตกอมหาเจติ

๕๑ตํานานเชียงใหมปางเดิม,(สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม,๒๕๔๐), หนา ๓๑. ๕๒ไขมุก อุทยาวลี , ประวัติศาสตรลานนาในรัชกาลพระยาสามฝงแกน ราชวงคมังราย .

สารานุกรมวัฒธรรมไทย, ภาคเหนือ เลม ๕ หนา ๒๒๒๘. กลาววา หมื่นดามพราคต หรือ ดํ้าพราโคต เกิดจุลศักราช ๘๐๐ สมัยพญาสามฝงแกน ในสมัยพญาติโลกราช ไดรับมอบหมายใหบูรณะซอมแซมพระเจดียหลวง (ที่สรางขึ้นสมัยพญาแสนเมืองมา) จุลศักราช ๘๓๗ ในตํานานพ้ืนเมืองเชียงใหม กลาวถึงหมื่นดามพราคตผูน้ีสรางมหาเจดียกลางเวียงเชียงใหม จุลศักราช ๘๔๒ เปนปฉลองสมโภชองคพระเจดียหลวง และหมื่นดามพราคตเสียชีวิตในปถัดมา.

Page 107: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๙๔

หลวงเจาหลังนี้นานได ๑๘ ป จิ่งบัวรมวลแลวแล” ดังนั้นชางฝมือในงานชางพุทธศิลปท่ีสรรคสรางศาสนาสถานทางพระพุทธศาสนา คือ หม่ืนดามพราคต นอกจากนี้ยังปรากฏพุทธศิลปจําลอง คือ วิหารพุทธคยา โลหะปราสาทและรัตนมาลีเจดีย สราง ณ วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) สมัยพญาติโลกราชถือไดวาพระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองเปนอยางยิ่ง ความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนา ไดสืบตอมาถึงสมัยพญาแกวหรือพระเมืองแกว

พญายอดเชียงแกว หรือพระยอดเชียงราย พุทธศักราช ๒๐๓๐ – ๒๐๓๘ (ลําดับท่ี ๑๐) ทรงเปนโอรสของทาวบุญเรือง (โอรสพญาติโลกราช) ทรงปกครองบานเมือง ๘ ป ไมมีช่ือเสียงเปนท่ีรูจัก ในชินกาลมาลีปกรณกลาวถึงพระองค ระบุวาทรงถวายพระเพลิงพระศพพญาติโลกราช ณ วัดมหาโพธาราม แลวสรางสถูปใหญบรรจุพระอัฐิ พุทธศักราช ๒๐๓๕ ทรงสรางวัดตะโปทาราม มีผูอํานวยกอสรางและชางศิลปคือเจาเมืองยี่ เจาเมืองเชียงราย เจาเมืองตีนเชียงและเจาหม่ืนดามพราคต๕๓ พงศาวดารโยนกไดกลาววา “มีราชบุตรพระยาใตช่ือวาสุริยวงษ บวชเปนพระภิกษุพํานักอยูวัดกูเตาหัวเวียงเชียงใหม เปนท่ีรักใครชอบพอกับทาวเอ้ือยหอขวาง นัยวาเปนราชบุตรองคหนึ่งของพระเจาติโลกราชท่ีประสูติกับนางกํานัล พระภิกษุสุริยวงษอยากไดพระแกวขาว เปนพระพุทธรูปสําคัญของลานนาและประดิษฐานอยูท่ีหอพระแกว (บนพระยอดเจดียหลวง) ทาวเอ้ือยจึงใหอายกอนทาสรับใชนําไปถวายแกภิกษุสุริยวงษ แลวก็พาหนีไปเมืองใต พระยอดเชียงรายจึงยกทัพหลวงไปกรุงศรีอยุธยา ต้ังทัพอยูเดือนหนึ่งอยุธยาจึงยอมคืนพระแกวขาวให” แสดงวาพระพุทธรูปแกวขาวน้ี เปนพระพุทธรูปองคสําคัญอีกองคหนึ่งในลานนา แลวทรงมอบราชสมบัติใหพระโอรสปกครองแทน๕๔

พญาแกวหรือพระเมืองแกว พุทธศักราช ๒๐๓๘ – ๒๐๖๘ (ลําดับท่ี ๑๑) ทรงเปนโอรสของพญายอดเชียงรายและนางโปงนอย ตํานานพ้ืนเมืองเชียงใหมระบุนามวา “รัตนราชบุตร” เม่ือครองราชยเรียกพระนามวา “ภูตาธิปติราชพญาแกว”๕๕ ทรงกอกําแพงเมืองหริภุญชัยดวยอิฐ พุทธศักราช ๒๐๕๙ เม่ือเสร็จก็มากอกําแพงเมืองเชียงใหม

๕๓สมหมาย เปรมจิตต, มรดกศาสนาในเชียงใหม, (เชียงใหม : คณะอนุกรรมการดานศาสนางาน

สมโภชเชียงใหม ๗๐๐ ป, ๒๕๓๙), หนา ๔๐. ๕๔ยุพิน เข็มมุกต, พุทธศาสนาในลานนาไทย สมัยราชวงศมังราย, (สภาวิจัยแหงชาติ,๒๕๒๗),

หนา ๙๒. กลาวสรุปสาเหตุวา เพราะ ๑.ความไมพอใจของขุนนางท่ีพระยอดเชียงรายเอาใจพวกฮอที่เปนศัตรูกับลานนา ๒. พระราชบุตรเมืองแกวเกรงพระยอดเชียงรายจะยกราชสมบัติใหบุตรบุญธรรม คือ ลูกฮอ

๕๕อรุณรัตน วิชียรเขียว, ตํานานพ้ืนเมืองเชียงใหม, (เชียงใหม : สํานักพิมพตรัสวิน (ซิลคเวอรมบุคส), ๒๕๔๓), หนา ๑๐๗.

Page 108: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๙๕

พระเมืองแกวทรงอุปถัมภพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองมากข้ึน (เปนผลมาจากความเจริญทางพระพุทธศาสนาท่ีสืบมาจากพญาติโลกราช) พุทธศักราช ๒๐๔๓ โปรดใหนําเคร่ืองสักการะไปบูชาพระธาตุหริภุญชัย ทรงสรางหอมณเฑียรธรรมและเขียนคัมภีรพระไตรปฏก ๔๒๐ คัมภีรมาประดิษฐานท่ีหอมณเฑียรธรรมแหงนี้ และทรงสรางวัดปุพพาราม (วัดเม็ง) (พุทธศักราช ๒๐๓๙) สรางวัดศรีสุพรรณ (พุทธศักราช ๒๐๔๓) ทรงหลอพระพุทธรูปขนาดใหญ พระนามวา “พระเจาเกาต้ือ” (พุทธศักราช ๒๐๕๙) ปจจุบันประดิษฐาน ณ วัดสวนดอก ทรงสรางพระอุโบสถ มณฑปและหอไตรท่ีวัดมหาโพธาราม และทรงโปรดพระเถระท่ีแตกฉานพระไตรปฏกมาประชุมท่ีวัดมหาโพธารามเพื่อทําสังฆกรรมผูกพัทธสีมาพระอุโบสถ โดยมีพระอภัยสารทมหาสวามี วัดปาแดงมหาวิหาร มีพระเถระท่ีมารวมจํานวน ๒๒ รูป จากเมืองลําพูน เมืองเชียงราย เมืองเชียงแสน เมืองพะเยา เมืองลําปาง เมืองนานและเมืองสวางคบุรี๕๖

พุทธศักราช ๒๐๖๑ ทรงโปรดใหกอวิหารหลวง และเจดียวัดมหาโพธาราม จากนั้นทรงบรรจุพระบรมธาตุ ณ สถูปเจดียวัดฑีฆาชีวะวัสสารามและวัดเวฬุวนาราม (วัดอุโมงค)

พุทธศักราช ๒๐๖๒ ทรงโปรดสรางมหาวิหารวัดสวนดอก และทรงฟนฟูวัดปาแดงมหาวิหารใหเจริญรุงเรืองมากข้ึน โดยโปรดใหพระสถิลมหาเถระสังฆราชวัดโพธารามควบคุมการบูรณะซอมแซมมณฑป และทรงสนันสนุนนิกายสีหล โดยแตงต้ังพระนิกายสีหลเปนพระสังฆราช และทรงอุปสมบทนาคหลวงในนิกายสีหลเปนจํานวน ๑,๒๐๐ รูป๕๗

พุทธศักราช ๒๐๖๕ ทรงปฏิสังขรณศาลาวินิจฉัยคร้ังพญาติโลกราช ยกดานตะวันตกขวงหลวงทําใหเปนเรือนยอดทาดวยสี แลวนิมนตพระเถระ มีพระมหาเถระราชครูเปนประธานสวดพระปริตรในเรือนยอด พระองคทรงสละรายไดแผนดินเปนคากัปปยภัณฑแกมหาเถรราชครู และยังโปรดใหช้ือทองคําเปลวมาปดพระบรมธาตุหริภุญชัย

พุทธศักราช ๒๐๖๖ พระเจากรุงศรีสัตนาคหุต (ลานชาง) ไดเชิญราชสาสนมายังเมืองเชียงใหม เพื่อขอคณะสงฆและพระไตรปฏก พระเมืองแกวทรงสงพระเทพมงคลเถระ พรอมดวยคัมภีรพระไตรปฏก จํานวน ๖๐ คัมภีร ไปเผยแผพระพุทธศาสนา ณ กรุงศรีสัตนาคนหุต

รัชสมัยพระเมืองแกว ทรงสงเสริมสนับสนุนใหพระภิกษุเลาเรียนศึกษาภาษาบาลี และพระไตรปฏกเชนเดียวกับสมัยพญาติโลกราช สงผลใหพระภิกษุมีความรูแตกฉานท้ังภาษาบาลีและ

๕๖ยุพิน เข็มมุกต, พุทธศาสนาในลานนาไทย สมัยราชวงศมังราย, (สภาวิจัยแหงชาติ,๒๕๒๗),

หนา ๙๗. ๕๗สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๕๐.

Page 109: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๙๖

พระไตรปฏก จนสามารถรจนาคัมภีรและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเปนจํานวนมากและมีช่ือเสียงจนถึงปจจุบัน เชน

พระโพธิรังษี พระภิกษุชาวเชียงใหม แตงจามเทวียวงศ (พุทธศักราช ๑๙๕๐) และแตงสิหิงคนิทาน (ประวัติพระพุทธสิหิงค) (พุทธศักราช ๑๙๘๕ – ๒๐๖๘)

พระรัตนปญญาเถระ แตงชินกาลมาลีปกรณ (ประวัติพระพุทธศาสนา) และเปนงานเขียนท่ีมีคุณคาตอการศึกษาประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาลานนาเปนอยางยิ่ง

พระสิริมังคลาจารย แตงวรรณกรรมเร่ืองมังคลัตถทีปนี (หนังสืออธิบายความในมงคลสูตร) เวสสันตรทีปนี (หนังสืออธิบายคัมภีรเวสสันดรชาดก) จักรวาลทีปนี (หนังสือวาดวยเร่ืองจักรวาลและส่ิงตาง ๆ ท่ีอยูในจักวาล) สังขยาปกาสกฏีกา(หนังสือคูมืออธิบายสังขยาปากาสก)

ปลายรัชสมัยพญาแกว ลานนาไดออนกําลังลง เนื่องสงครามเมืองเชียงตุง พุทธศักราช ๒๐๖๖ สงกองทัพจํานวน ๒๐,๐๐๐ คนไปรบเมืองเชียงตุง แตพายแพกลับมาและเสียขุนนางผูครองเมืองถึง ๕ คน เชน เจานครขุนหลวง หม่ืนคําพากินเชียงราย ความเสียหายครั้งนี้ พระองคทรงพิโรธส่ังประหารแสนยี่พิงไชยกับหม่ืนสาทแกวแมทัพใหญเสีย๕๘ อนึ่งพระองคไมมีพระราชโอรส มีแตพระราชธิดา (ส้ินพระชนม) ทําใหเกิดปญหาการครองราชยในเมืองเชียงใหมเกิดความขัดแยง อันนําไปสูการชิงราชบัลลังกของบรรดาขุนนาง ในพุทธศักราช ๒๐๖๗ เกิดอุทกภัยท่ีเชียงใหมมีคนตายเปนจํานวนมาก การสูญเสียดังกลาว กระทบตอความม่ันคงของบานเมือง ปญหาเหลานี้ยังไมไดรับการแกไขพญาแกวก็ส้ินพระชนม

พัฒนาการพุทธศิลป พุทธศิลปลานนามีพัฒนาการอยางชัดเจนสมัยพญากือนา พระพุทธศาสนาลัทธิลังกา

วงศ นิกายรามัญจากเมืองสุโขทัยไดเขาสูลานนา การเขามาของพระพุทธศาสนาลังกาวงศคร้ังนั้น ไดมีผลทําใหมีการแลกเปล่ียนทางวัฒนธรรมระหวางลานนากับสุโขทัยมากข้ึน ดังปรากฏวามีเจดียทรงดอกบัวตูมหรือพุมขาวบิณฑ เปนเจดียแบบสุโขทัยแท ถูกสรางข้ึนท่ีวัดสวนดอก แตพุทธศิลปจากสุโขทัยยังไมไดรับความนิยม แตกลับปรากฏวาเปนพุทธศิลปแบบพุกาม ท่ีเช่ือวาพระสุมนะท่ีเคยไปศึกษาท่ีเมืองมอญอาจเอาแบบอยางมาผสมผสานกัน๕๙ ไดมีอิทธิพลตองานสถาปตยกรรมลานนาท่ีสรางข้ึนในชวงเวลานี้คอนขางชัดเจน เชน เจดียทรงมณฑปท่ีวัดพระยืน

๕๘อรุณรัตน วิชียรเขียว, ตํานานาพ้ืนเมืองเชียงใหม,( เชียงใหม : สํานักพิมพตรัสวิน(ซิลคเวอรม

บุคส),๒๕๔๓), หนา ๑๑๑. ๕๙สันติ เล็กสุขุม, ศิลปะภาคเหนือ หริภุญชัย – ลานนา,(กรุงเทพมหานคร : ดานสุทธาการพิมพ

,๒๕๓๘) หนา ๑๐๖.

Page 110: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๙๗

จังหวัดลําพูน และพบเจดียทรงกลมแบบสุโขทัย เชน เจดียทรงกลมองคประธานท่ีวัดสวนดอก และเจดียทรงกลมวัดอุโมงคเถรจันทร เปนตน

งานประติมากรรมในชวงเวลานี้ รูปแบบพุทธศิลปสุโขทัยนาจะมีอิทธิพลตอรูปแบบของพระพุทธรูปท่ีสรางข้ึน คือพระพุทธรูปลานนา มีลักษณะพระรัศมีเปนรูปดอกบัวตูมท่ีสูงข้ึนหรือสวนใหญเปนรูปเปลวไฟ ขมวดพระเกศาเล็ก พระพักตรมักเปนรูปไข แตบางคร้ังยังกลมอยู แมพระองคบางคร้ังจะอวบอวนและพระอุระนูนตามแบบเดิม แตชายจีวรก็ยาวลงมาถึงพระนาภี ชอบทําประทับนั่งสมาธิราบและเห็นฝาพระบาทแตเพียงขางเดียว เรียกกันวา “พระพุทธรูปเชียงแสนรุนสอง” จะเปนลักษณะของพระพุทธรูปลานนาท่ีมีอิทธิพลของสุโขทัยเขามาปนแลว ดังเชน “พระอัฏฐารส” พระพุทธรูปยืนขนาดใหญ พระพักตรบาวรี พระรัศมีเปนรูปเปลว ปางประทานพร ครองจีวรเฉียง ชายสังฆาฏิท่ีพาดบนพระอังสาซายยาวลงจรดพระนาภี ในวิหารหลวง วัดเจดียหลวง เมืองเชียงใหม พระราชมารดาพระเจาสามฝงแกนสรางข้ึน เม่ือพุทธศักราช ๑๙๕๔ ไดแสดงลักษณะการผสมผสานกันระหวางแบบสุโขทัยกับเชียงแสน

ปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ ไดมีคณะสงฆกลุมใหมไปบวชเรียนพระศาสนาในลังกาและไดกลับมาเผยแผอยูในลานนา คณะสงฆกลุมนี้เรียกวา นิกายสีหล ตอมาไดรับการอุปถัมภบํารุงจากพระเจาติโลกราชเปนอยางมาก การเขามาของนิกายสีหลไดทําใหพระพุทธศาสนามีความเจริญรุงเรืองสูงสุดในเวลาน้ี สงผลใหเกิดการสรางวัดวาอารามและถาวรวัตถุข้ึนมากมายเชนกัน ไดปรากฏเปนพุทธศิลปแบบของสุโขทัยและลังกา ท่ีผานมาทางสุโขทัย เขามามีอิทธิพล ทําใหมีการเปล่ียนแปลงพุทธศิลปลานนาคอนขางมาก นับต้ังแตรัชกาลของพระเจาติโลกราชเปนตนมา โดยเฉพาะทางดานสถาปตยกรรม ไดปรากฏวารูปแบบของสถูปแบบลังกาหรือสุโขทัยเขามามีอิทธิพลทําใหเกิดพัฒนาการของรูปทรงเจดียในหลาย ๆ แบบ เจดียทรงกลม แตเดิมท่ีเช่ือวาเจดียแบบทรงกลมนั้นเปนรูปแบบท่ีมีมากอนกอต้ังอาณาจักรลานนา และเม่ือพญามังรายยึดครองเมืองหริภุญชัยไดในตอนตนพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ นั้น ไดมีการซอมแซมเปล่ียนแปลงรูปทรงของพระธาตุหริภุญชัยใหเปนทรงกลม ดวยเหตุนี้จึงไดเรียกเจดียในรูปทรงแบบนี้วา เจดียกลมแบบพื้นเมืองเชียงแสน หรือ เจดียทรงกลมแบบพ้ืนเมืองลานนา แตเม่ือไดรับการตรวจสอบขอความในตํานานวัดปาแดง ตํานานมูลศาสนา กับชินกาลมาลีปกรณไดพบวา พระมหาสามีเมธังกรไดรับการอุปถัมภจากพระเจาติโลกราช ไดสรางครอบสถูปพระมหาธาตุหริภุญชัยองคเกาข้ึนใหม ใหมีระเบียงกระพุมยอดเปนอันเดียวกัน องคพระมหาธาตุหริภุญชัยท่ีสรางข้ึนใหมนี้ ประกอบดวยฐานเขียงสามช้ัน ฐานปทมลูกแกวยอเก็จรองรับฐานเขียงกลมสามช้ัน บัวถลาส่ีช้ัน ที่มีลูกแกวค่ันองคระฆังประกอบดวยลายประจํายามท่ีทิศท้ังแปด ค่ันดวยรูปพระพุทธรูปบุทองจังโก ท่ียายมาจากเรือนธาตุของมหาธาตุองคเดิม บัลลังกเปนรูปฐานปทมลูกแกวยอเก็จ ยอดเปนปลองไฉน และปลี

Page 111: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๙๘

รูปแบบของพระมหาธาตุหริภุญชัยนี้ นาจะเปนตนแบบของพระธาตุเจดียในอาณาจักรลานนาในเวลาตอมา อยางไรก็ตามแนวคิดท่ียังเช่ือวาเจดียทรงกลมรูปทรงนี้เปนรูปแบบของพื้นเมืองหรือลานนาแท ๆ ท่ีอาจจะมีการพัฒนามาจากรูปแบบของเจดียทรงระฆังหรือทรงกลมแบบหนึ่งในพุทธศิลปพุกาม นับไดวาเจดียทรงระฆังในระยะแรก ๆ ของพุทธศิลปลานนาท่ีนิยมสรางในชวงพุทธศตวรรษท่ี ๑๙

เจดียทรงกลมแบบลังกาหรือสุโขทัย ไดมีอิทธิพลตอพัฒนาการของเจดียทรงกลมอีกรูปแบบหนึ่งในลานนาและเกิดข้ึนในชวงเวลานี้ เจดียทรงกลมแบบนี้มีลักษณะคลายคลึงกับเจดียแบบพ้ืนเมือง แตจะตางกันตรงท่ีมาลัยเถาใตองคระฆังเปนแบบบัวคว่ําสามช้ันตามแบบสุโขทัย เปนอิทธิพลของสุโขทัยท่ีมีตอลานนาคอนขางชัดเจน คงเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนานิกายสีหล โดยผานมาทางเมืองตาก ลําปาง และเขาสูเชียงใหม เจดียทรงกลมแบบนี้ในกลุมแรก ๆ ท่ีสรางข้ึน ไดแก เจดียวัดพระธาตุเสด็จ กับวัดพระธาตุลําปางหลวง ลักษณะของเจดียแบบนี้ในระยะแรกจะมีฐานคอนขางเต้ีย องคระฆังผายใหญและมาลัยเถาเปนบัวคว่ําสามช้ันตามแบบสุโขทัย แลวคอยมีพัฒนาการของสวนฐานสูงข้ึน องคระฆังเร่ิมเล็กลงไปตามลําดับจนกระทั่งมีรูปทรงแบบแผนเปนของตนเองในชวงพุทธศตวรรษที่ ๒๑ เปนตนมาไดรับความนิยมสรางเปนอันมากโดยเฉพาะในเมืองเชียงใหม จึงถูกกําหนดเรียกวา เจดียทรงกลมแบบเชียงใหม เชน เจดียวัดหนองหลม (ราง) เจดียวัดหัวขวง (วัดแสนเมืองมาหลวง) เจดียวัดแสนตาหอย (ราง) และเจดียประธานวัดอุโมง เมืองเชียงใหม เปนตน ตอมาเจดียแบบนี้ไดมีพัฒนาการโดยเพิ่มจํานวนลวดบัวใตองคระฆังใหมากข้ึน องคระฆังเล็กและส้ันลงมีลักษณะเปนแบบแผนของทองถ่ินมากข้ึนและนิยมสรางข้ึนในชวงพุทธศตวรรษท่ี ๒๒ ลงมา เจดียแบบนี้ท่ีรูจักกันเปนอยางดี ไดแก พระธาตุดอยสุเทพและเจดียวัดเชษฐา(ราง) ในโรงเรียนพุทธิโศภน กลางเมืองเชียงใหม เปนตน

สถูปเจดียแบบชางลอมนั้น เปนรูปแบบของลังกา ท่ีนิยมสรางข้ึนในชวงเวลานี้ องคแรกคือ เจดียวัดปาแดงหลวง ท่ีพระเจาติโลกราชโปรดใหสรางข้ึนในพุทธศักราช ๑๙๙๑ เพื่อบรรจุพระอัฐิพระราชบิดา คือพระเจาสามฝงแกน ลักษณะเปนฐานท่ีอยูในผังรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส มีชางลอม เหนือข้ึนไปเปนช้ันแถวจรนํา ชุดฐานรองรับฐานกระดานแปดเหล่ียม เหนือข้ึนไปเปนชุดหนากระดานสามช้ันกลม รองรับมาลัยเถาเปนแบบบัวครํ่าสามช้ันซอนกัน องคระฆังกลมผาย บัวปากระฆัง บัลลังกรูปส่ีเหล่ียม รองรับปลองไฉนและปลียอด รูปแบบของเจดียมีสวนคลายกับเจดียวัดชางลอมเมืองศรีสัชนาลัย ซ่ึงเปนอิทธิพลพุทธศิลปแบบสุโขทัย ท่ีเขามาเกี่ยวของกับพุทธศิลปลานนา แตเจดียชางลอมวัดปาแดงก็มีการพัฒนาการของทรวดทรงใหเปนแบบของลานนา ตอมาเจดียแบบชางลอมไดพัฒนาการข้ึนมา โดยมีการผสมผสานระหวางสถูปทรงปราสาทแบบของเดิม และแบบของลังกาท่ีผานมาทางสุโขทัย ไดแก พระเจดียวัดหลวงหรือราชกูฏ เมือง

Page 112: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๙๙

เชียงใหม และพระเจดียวัดเชียงม่ัน นอกจากนี้ในดินแดนลานนายังพบเจดียแบบชางลอมอีก เชน วัดหัวหนอง (ราง) กับวัดชางคํ้า เวียงกุมกาม วัดปาแดงบุญนาค เมืองพะเยา วัดชางคํ้า เมืองนาน และวัดพระหลวง เมืองแพร เปนตน ท้ังนี้พระเจดียสวนใหญจะถูกซอมแซมปฏิสังขรณเปนสวนมาก แตก็ยังคงรูปแบบเปนเจดียแบบชางลอม

สมัยพระเจาติโลกราช โปรดใหสรางวดัมหาโพธารามหรือวัดเจ็ดยอด ไดเกดิพทุธศิลปจําลองข้ึนคือพระวิหารหรือเจดยีเจด็ยอด เปนรูปแบบวหิารมหาโพธิท่ีพุทธคยา รวมท้ังไดสรางสัตตมหาสถาน เชนเดยีวกับท่ีพุทธคยาอีกดวย มีลักษณะเปนอาคารส่ีเหล่ียมกอดวยศิลาแลงท่ีดานหนาทําเปนคูหาลึก ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป ผนังดานขางท้ังสองดานมีปูนปนประดับเปนประติมากรรมนูนสูงรูปเทวดาชุมนุมและลวดลายประดับตกแตงตาง ๆ สวนดานบนของศาสนาสถานแหงนี้ทําเปนเรืองยอดทรงกรายเหล่ียมแบบยอดศีขร มียอดใหญเปนประธานอยูตรงกลางและมียอดบริวารอยูท่ีมุมท้ังส่ี รวมท้ังท่ีมุมดานหนาอีกสองขางเปนเจดียทรงกลมอีกขางละองค รวมท้ังส้ินมียอดเจดีย ๗ ยอด ดวยเหตุนี้ศาสนสถานแหงนี้ จึงเรียกวาวัดเจ็ดยอด

พระเจดียอีกรูปแบบหนึ่ง คือ เจดียทรงปราสาทหรือเจดียส่ีเหล่ีมผสมทรงกลม รูปแบบของเจดียเชียงใหมอีกรูปแบบหนึ่งท่ีนิยมสรางกันมาก นับต้ังแตพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ เจดียแบบนี้มีสวนคลายกับเจดียแบบชางลอม แตแตกตางกันท่ีไมมีชางประดับรอบฐาน กลาวคือ เปนเจดียท่ีมีเรือนธาตุส่ีเหล่ียมยอเก็จและสวนบนเปนองคระฆังกลม ท่ีมีมาลัยเถาใตองคระฆังเปนแบบสุโขทัย คือบัวคว่ําซอนกันสามช้ัน กลาวกันวาเปนการพัฒนาการท่ีสืบทอดมาจากเจดียเชียงยืนท่ีวัดพระธาตุหริภุญชัย ท่ีเปนเจดียทรงปราสาทหายอด พัฒนาการของเจดียทรงปราสาทสายหน่ึงท่ีนิยมอยูแพรหลายในลานนายุคตน เชน เจดียวัดปาสัก และวัดพระธาตุสองพ่ีนอง เวียงปรึกษา รวมท้ังเจดียองคในท่ีถูกสรางครอบท่ีวัดสะดือเมือง กลางเมืองเชียงใหม สวนความแตกแตงระหวางเจดียทรงปราสาทลานนาตอนตน กับเจดียทรงปราสาทในพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ อยูท่ีลวดลายบัวเหนือเรือยธาตุข้ึนไป คือในลานนายุคต้ันนั้น มาลัยเถาจะมีลักษณะเปนฐานบัวลูกแกวซอนกันข้ึนไปสามช้ัน แตสําหรับเจดียทรงปราสาทแบบเชียงใหมนี้ จะมีมาลัยเถาแบบสุโขทัย ซ่ึงเปนวิวัฒนาการอีกสายหนึ่งท่ีไดรับอิทธิพลพุทธศิลปสุโขทัย ในชวงปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ เปนตนมา เจดียปราสาทแบบเชียงใหมนี้ ไดแก เจดียประธานวัดเจ็ดยอด และเจดียวัดโลกโมฬี เปนตน

ยังพบพระเจดียแปดเหล่ียมอีกรูปแบบหนึ่ง คือ อนิมิสเจดีย ในวัดเจ็ดยอด นับเปนเจดียท่ีมีพัฒนาการสืบทอดมาจากเจดียแปดเหล่ียมในสมัยลานนายุคตน ท่ีวัดสะดือเมือง กลางเมืองเชียงใหม ท่ีมีลักษณะเปนเรือนธาตุกลมมีซุมจะนําประดิษฐานพระพุทธรูปอยูโดยรอบ ซอนกันเปนช้ัน ๆ คลายของจีน เชน เจดียวัดพวกหงส เจดียวัดเจดียปลอง (ราง) เจดียวัดรํ่าเปง (วัดตะโป

Page 113: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๐๐

ทาราม) วัดกูเตา เมืองเชียงใหม และวัดกูเตา เมืองเชียงแสน เปนตน เจดียแบบนี้นาจะเปนการพัฒนาการอีกสายหน่ึงท่ีคล่ีคลายมาจากเจดียส่ีเหล่ียมกูกุด วัดจามเทวี เมืองลําพูน จะแตกตางกันก็ตรงท่ีมีผังเปนวงกลม

งานประติมากรรม ไดปรากฏวาไดมีพระพุทธรูปสําคัญปรากฏข้ึนโดยมีตํานานผูกพันเกี่ยวของกับลังกานับต้ังแตพุทธศตวรรษที่ ๒๐ เปนตนมา คือ พระพุทธสิหิงค และพระแกวมรกต ท่ีสะทอนใหเห็นถึงอุดมคติและการใหความสําคัญตอพระพุทธศาสนาท่ีมาจากลังกา รวมท้ังกษัตริยลานนาไดสรางพระพุทธรูปสําคัญ ๆ ข้ึนหลายองค สมัยพระเจาติโลกราชทรงสรางพระเจาทองทิพย ไวท่ีเมืองนาน (พุทธศักราช ๑๙๙๗) ขณะเดียวกันก็หลอพระพุทธรูปสําริดนามวา พระเจาทองทิพย ไววัดพระสิงหพุทธศักราช ๒๐๒๐ เชนกัน สมัยพระยอดเชียงรายทรงสรางพระประธานวัดตะโปทาราม นามวา พระเจาตะโปทาราม (พุทธศักราช ๒๐๓๕) และสมัยพระเจาเมืองแกว ทรงสรางพระพุทธรูปองคสําคัญท่ีวัดสวนดอก คือ พระเจาเกาต้ือ (พุทธศักราช ๒๐๔๗) นอกจากนี้แลว ยังมีเจาเมือง ขุนนาง และประชาชนตางก็สรางพระพุทธรูปไวในพระพุทธศาสนา อันแสดงถึงความเจริญรุงเรืองอยางสูงสุดของพระพุทธศาสนาในลานนา พุทธศิลปท่ีสรางข้ึนในชวงเวลานี้ ก็ปรากฏมีหลากหลายรูปแบบเชนกัน

โดยเฉพาะสมัยพระเจาติโลกราช มีพระพุทธรูปท่ีนิยมสรางข้ึนหลายรูปแบบ รูปแบบแรก นิยมสรางเลียนแบบพระพุทธรูปเชียงแสนรุนแรก และมีจารึกขอความท่ีสวนฐานพบเปนจํานวนมากในเมืองเชียงใหม นาเช่ือวาคติการจารึกนั้น อาจเปนความนิยมท่ีแพรหลายข้ึนมาจากสุโขทัย ดูเหมือนวาพระพุทธสิหิงคท่ีประดิษฐานอยูท่ีวัดพระสิงห มีลักษณะเปนแบบเชียงแสนรุนแรกนั้นจะเปนอุดมคติและสัญลักษณของพระพุทธศาสนาในแบบลังกาวงศ จึงปรากฏช่ือพระพุทธรูปองคนี้อีกช่ือหนึ่งวา สีหลปฏิมา ดวยเหตุนี้ในการสรางพระพุทธรูปแบบเชียงแสนรุนแรก อาจมีความเกี่ยวของกับนิกายสีหล ท่ีไดรับความนิยมแพรหลายเปนอยางมากในชวงเวลานี้

สวนพระพุทธรูปอีกรูปแบบหนึ่ง ท่ีไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปสุโขทัยสืบทอดมาต้ังแตตอนตน มีลักษณะพระพักตรรูปไข พระรัศมีเปนรูปเปลว ชายจีวรยาวลงมาเกือบจรดพระนาภี ปลายจีวรหยักคลายเข้ียวตะขาย ประทับขัดสมาธิราบ มักเรียกกันโดยท่ัวไปวาเปนพระพุทธรูปเชียงแสนรุนหลัง เชน พระพุทธรูปท่ีวัดมณเฑียร และพระเจาเกาต้ือ ท่ีวัดสวนดอก เปนตน นอกเหนือจากอิทธิพลของพุทธศิลปสุโขทัย พุทธศิลปแบบอยุธยา ก็ไดเขามาผสมอยูในพระพุทธรูปลานนาชวงนี้ และทําใหเกิดพระพุทธรูปหลากหลายรูปแบบข้ึน เชน พุทธศักราช ๒๐๓๗ พระเจาติโลกราช โปรดใหหลอพระพุทธรูปใหมีลักษณะของพระพุทธรูปแบบลวปุระ เรียกช่ือวา พระเจาแขงคม วัดศรีเกิด เมืองเชียงใหม มีลักษณะพระองคประทับขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย พระชงฆเปนสัน มีไรพระศก เม็ดพระศกเล็กเปนตุมแหลม พระรัศมีรูปเปลว ครองจีวร

Page 114: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๐๑

เปนแผนพาดผานจากพระอังสะซายลงจรดพระนาภี แสดงถึงอิทธพลของพระพุทธรูปแบบอูทองรุนท่ีสามของกรุงศรีอยุธยา

ปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ ปรากฏพระพุทธรูปแบบลาวหรือลานชางไดถูกสรางข้ึนในลานนาอีกดวย เนื่องดวยลานนาไดมีความสัมพันธใกลชิดกับลานชาง คร้ังหนึ่งไดเชิญพระไชยเชษฐาโอรสกษัตริยลานชางมาปกครองลานนา (พุทธศักราช ๒๐๘๙ – ๒๐๙๐) ลักษณะของพระพุทธรูปลานชาง มักประทับบนฐานสูง พระวรกายผอมบาง พระพักตรเส้ียม พระศอยาว นอกจากนี้ ยังมีงานประติมากรรมสลักหินสกุลชางพะเยา เปนประติมากรรมทองถ่ินท่ีสรางท้ังพระพุทธรูป รูปเทวดาและอ่ืน ๆ อันเนื่องในพระพุทธศาสนา พัฒนาการของพระพุทธรูปสลักหินเมืองพะเยานั้น มีความงามท่ีอาจเทียบเคียงกับพระพุทธรูปแบบเชียงแสนรุนแรกได ท้ังนี้คงไดรับอิทธิพลพุทธศิลปสุโขทัยและพุทธศิลปอยุธยา ท่ีแฝงอยูกับศิลปะสกุลชางเมืองกําแพงเพชร ท่ีแพรหลายเขามาคราวพระยายุธิษฐิระ เจาเมืองกําแพงเพชรไดมาครองเมืองพะเยาในพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ การรับอิทธิพลอาจอยูในชวงเวลาส้ัน ๆ กอนท่ีจะพัฒนามาเปนลักษณะแข็งกระดาง จนมาเปนลักษณะแบบพื้นเมืองไปในท่ีสุด

การสืบทอดพทุธศิลป พุทธศิลปของลานนาระยะนี้ สืบทอดมาจากกลุมชางฝมือสกุลตาง ๆ ของลานนา

ตอนตน ตอมาสกุลชางลานนาไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปจากสุโขทัย ดวยความอุปถัมภจากพระเจากือนา ท่ีทรงอาราธนาพระสุมนะจากสุโขทัย พรอมนําพุทธศิลปสุโขทัยข้ึนมาดวย ท่ังนี้ไดนําพระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐานไวบนดอยสุเทพและวัดสวนดอก ปรากฏวาพระเจดียวัดสวนดอกมีลักษณะทรงดอกบัวตูมหรือพุมขาวบิณฑ เปนเจดียแบบสุโขทัยแท๖๐ พระพุทธรูปก็เปนแบบผสมระหวางสุโขทัยและเชียงแสนรุนสอง เชน พระอัฏฐารส พระพุทธรูปยืน ณ วัดเจดียหลวง สมัยพญาติโลกราช มีชางพุทธศิลปคือ หม่ืนดามพราคต๖๑ ท่ีไดไปศึกษาพุทธศิลปในอินเดียและลังกา แลวไดจําลองแบบวิหารพุทธคยา โลหะปราสาทและรัตนมาลีเจดีย มาสรางไวท่ีวัดเจ็ดยอด (มหาโพธาราม) หรือจะเปนพระเจดียหลวง (วัดเจดียหลวง) การสืบทอดพุทธศิลปยุครุงเรืองไดสืบเนื่องจากสกุลชางฝมือลานนาตอนตน ตอมาไดพัฒนาการงานชางตามพุทธศิลป

๖๐สุรพล ดําริหกุล, ลานนา สิ่งแวดลอมสังคมและวัฒนธรรม,(บริษัท รุงอรุณ พับลิชช่ิง จํากัด,

๒๕๔๒), หนา ๑๙๔. ๖๑สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๕๐.

Page 115: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๐๒

สุโขทัย และงานชางพุทธศิลปท่ีเลียนแบบจากอินเดียของชางหลวงและชางพื้นบานก็นิยมเปนแบบอยาง การสืบทอดยังไดรับการสนับสนุนอุปถัมภจากกษัตริยอยางใกลชิดอีกดวย

๔. พัฒนาการและการสืบทอดพุทธศิลปพมา

เร่ิมสมัยพญาเกศเชษฐา พุทธศักราช ๒๐๖๘ – ๒๐๘๑ (ลําดับท่ี ๑๒) เนื่องพญาเมืองแกวไมมีราชบุตร ขุนนางจึงไปเชิญพญาเกศอนุชาข้ึนครองราชย โปรดสรางบานหัวเวียงใหเปนอาราม ช่ือวา วัดโลกโมฬี และ วัดบุญเกียร พุทธศักราช ๒๐๗๑ โปรดใหสรางมหาเจดียและวิหาร วัดโลกโมฬี๖๒ เม่ือมาครองเมืองเชียงใหมพระองคจึงไมมีฐานอํานาจ การบริหารจึงถูกตอตานจากกลุมขุนนาง พุทธศักราช ๒๐๘๑ ขุนนางปลดพระองคโดยสงไปครองเมืองนอย แลวไปเชิญทาวชายโอรสพญาเกศข้ึนครองราชย (พุทธศักราช ๒๐๘๑ – ๒๐๘๖) ครองไดเพียง ๕ ป ก็ถูกปลงพระชนมขุนนางก็เชิญพญาเกศมาครองอีกเปนคร้ังท่ี ๒ (พุทธศักราช ๒๐๘๖ – ๒๐๘๘) ครองราชยไดเพียง ๒ ป ก็ถูกปลงพระชนม

หลังพญาเกศส้ินพระชนม ขุนนางเมืองเชียงใหม และขุนนางหัวเมืองตาง ๆ แตกแยกแยงชิงความเปนใหญ ตางสนับสนุนเจานายฝายตนใหข้ึนครองราชย ขุนนางอีกกลุมหนึ่งเปนเจาเมืองเชน เมืองลําปาง เมืองเชียงราย ตองการเชิญพระไชยเชษฐาจากลานชางมาเปนกษัตริย ระหวางนี้ไดเกิดสงครามกลางเมือง ขุนนางจึงเชิญพระนางจิรประภาครองเมืองช่ัวคราว พุทธศักราช ๒๐๘๘ – ๒๐๘๙ (ลําดับท่ี ๑๕) ขณะน้ันพระเจาไชยราชา แหงกรุงศรีอยุธยา ยกทัพมาลอมเมืองเชียงใหม พระนางจิรประภายอมสงเครื่องราชบรรณาการแกอยุธยา กองทัพอยุธยาจึงยกกองทัพกลับไป

เม่ือพระไชยเชษฐา๖๓ ครองเชียงใหม (ลําดับท่ี ๑๖) แตครองราชยเพียง ๒ ปเทานั้น (พุทธศักราช ๒๐๘๙ – ๒๐๙๐) เพราะพระองคไมสามารถขจัดปญหาความแตกแยกของกลุมขุนนางได ท่ีสุดพระไชยเชษฐาก็เสด็จกลับลานชาง การกลับลงไปคราวน้ันไดนํามรดกลํ้าคาไปดวย คือ พระมหามณีรัตนแกวมรกต๖๔ พระจันทรรัตนแกวขาวเมืองละโว พระพุทธสิหิงค พระแทรกคํา

๖๒สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๑๑๓. ๖๓อรุณรัตน วิชียรเขียว, ตํานานาพ้ืนเมืองเชียงใหม,( เชียงใหม : สํานักพิมพตรัสวิน(ซิลคเวอรม

บุคส),๒๕๔๓), หนา ๑๑๗. กลาววา ในตํานานพ้ืนเมืองเชียงใหมใชช่ือวา “พญาอุปโยราช” ๖๔พระยาอนุมานราชธน, งานนิพนธชุดสมบูรณ เร่ือง เร่ืองของชาติไทย,(กรุงเทพมหานคร :

องคการคาของคุรุสภาและมูลนิธิเสฐียร โกฌศศ –นาคะประทีป พิมพเผยแผในวาระครบ ๑๐๐ ป พระยาอนุมานราชธ) ,หนา. ๑๕๐.

Page 116: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๐๓

และพระอ่ืน ๆ อีกเปนจํานวนมาก ระหวางนี้ลานนาจึงวางกษัตริย (พุทธศักราช ๒๐๙๑ – ๒๐๙๔ ) บานเมืองแตกแยกและออนแอลง

ทาวแมกุหรือพระเจาเมกุฏิสุทธิวงศ พุทธศักราช ๒๐๙๔ – ๒๑๐๗ แหงเมืองนาย (ลําดับท่ี ๑๗) เปนกษัตริยองคสุดทายกอนจะตกเปนเมืองข้ึนของพมา พุทธศักราช ๒๐๙๙ ทาวแมกุแตงทูตไปเฝาพระเจาไชยเชษฐาทูลขอพระพุทธรูปสําคัญ แตพระเจาไชยเชษฐาคืนใหแตพระพทุธสิหิงคองคเดียวเทานัน้ สมัยทาวแมกุ สภาพบานเมืองลานนาออนแอท่ีสุด เม่ือพระเจาบุเรงนอง๖๕ ยกกองทัพมารบเชียงใหม ใชเวลาเพียง ๓ วันก็สามารถยึดเชียงใหมไดโดยงาย ในพุทธศักราช ๒๑๐๑

พัฒนาการพุทธศิลป ลานนานับต้ังแตพุทธศักราช ๒๑๐๑ เปนตนมานั้น คงมีแตความวุนวายและความไม

เรียบรอยอยูในบานเมืองมาโดยคลอด เนื่องมาจากการตอสูรบชิงอํานาจกันอยูตลอดเวลาท้ังชาวลานนาดวยกันเอง กับพมาและกรุงศรีอยุธยา พุทธศิลปท่ีเคยเจริญรุงเรือง เนื่องจากไดรับการทํานุบํารุงและสงเสริมจากราชสํานักตองเส่ือมถอยลงมา การสรางสรรครูปแบบใหมในงานพุทธศิลปจึงไมเดนชัด สมัยพญาเกศเชษฐา ท่ีทรงโปรดสรางบานหัวเวียงใหเปนวัด คือวัดโลกโมฬี (พุทธศักราช ๒๐๗๐ ทรงสรางมหาเจดียและพระวิหาร) และ วัดบุญเกียร เทานั้น งานพุทธศิลปยุคนี้นาเช่ือวาหยุดชะงักไปช่ัวระยะหนึ่ง ท้ังนี้เพราะบานเมืองไมสุขสงบ

การสืบทอดพุทธศิลป เนื่องดวยสถานการณบานเมือง ท่ีมีความวุนวาย ตลอดถึงหัวเมืองตาง ๆ ทําใหการสืบ

ทอดงานพุทธศิลปหยุดชะงักลงช่ัวคราว พบแตการกอสรางมหาเจดียและพระวิหาร ณ วัดโลกโมฬี สมัยพระเกศเชษฐา นาเช่ือวาเปนกลุมฝมือชางท่ีสืบตอจากยุครุงเรืองของลานนา แตในระยะตอมาท่ีความขัดแยงเพิ่มมากข้ึนสงผลใหการสืบทอดพุทธศิลปหยุดชะงัดลงไป

๖๕พระยาอนุมานราชธน, งานนิพนธชุดสมบูรณ เร่ือง เร่ืองของชาติไทย,(กรุงเทพมหานคร :

องคการคาของคุรุสภาและมูลนิธิเสฐียร โกฌศศ –นาคะประทีป พิมพเผยแผในวาระครบ ๑๐๐ ป พระยาอนุมานราชธ) , หนา ๑๕๑ กลาววา บุเรงนองยกทัพมาตีเมืองนาย เพราะเจาเมืองนายฆาเจาเมืองชุมแสงซึ่งพระเจาบุเรงนองสงมากินเมือง เจาฟาเมืองนายขอกําลังจากเมืองเชียงใหมไปชวย พระเจาบุเรงนองทราบความจึงสงสาสนมาถึงเมืองเชียงใหมไมใหไปชวย แตเมื่องเชียงใหมไมเช่ือฟง เพราะไมไดเปนเมืองขึ้นพมา แตการไปชวยเมืองนายไมสําเร็จ กองทัพพมาจึงเขาตีเมืองเชียงใหมดวย.

Page 117: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๐๔

ตอมาอาณาจักรลานนาไดถูกปกครองโดยพมาปกครองนานถึง ๒๐๐ ป เร่ิมต้ังแตบุเรงนอง หรือ เจาฟาหงสา๖๖ พุทธศักราช ๒๐๙๔ – ๒๑๒๔ ครองเมืองเชียงใหมระยะแรกพมามิไดปกครองโดยตรง แตมอบหมายใหทาวแมกุปกครองบานเมืองตามเดิมในฐานะเมืองประเทศราช เชียงใหมจะตองสงเคร่ืองบรรณาการ และจะตองจัดหากําลังคน เสบียงอาหารในยามเกิดสงคราม ชวงเวลานี้ ท้ังนี้พมาไดนํากลุมชางฝมือชาวลานนาข้ึนไปพมา พรอมเชิญคัมภีรพระไตรปฏก ไปกรุงหงสาวดี๖๗ ตอมาพมาปลดทาวแมกุออกจากตําแหนง เพราะมีความพยายามต้ังตนเปนอิสระ โดยรวมมือกับเจาเมืองเชียงแสน เจาเมืองเขลางคนคร เจาเมืองนาน เจาเมืองเชียงราย ไมยอมเขารบรวมกับกองทัพพมาในสงครามกับอยุธยา ทําใหพระเจาบุเรงนองตองยกทัพมาปราบอีก พมาจึงไดแตงต้ังพระนางราชเทวีหรือพระนางวิสุทธิเทวี ปกครองเมืองเชียงใหม (ลําดับท่ี ๑๘) เม่ือพระนางราชเทวีส้ินพระชนม พุทธศักราช ๒๑๒๑ พมาจึงไดแตงต้ังเจานายและขาราชการมาปกครองเมืองเชียงใหมโดยตรง

มังนรธาชอ หรือ สาวถีนรตามังซอศรี (พุทธศักราช ๒๑๒๒ – ๒๑๕๐) โอรสใหเปนเจาเมืองเชียงใหม เขาใจวาเพื่อความสะดวกตอการปราบพระไชยเชษฐาแหงกรุงลานชาง เพราะพระไชยเชษฐาตอตานการขยายอํานาจของบุเรงนองตลอดมา ลักษณะการปกครองของพมาคือสงเสริมใหเกิดความแตกตางระหวางหัวเมือง ไมสามารถจะรวมกันเปนอันหนึ่งอันเดียวกันไดภายหลังมังนรธาชอส้ินพระชนม พระเจาอนอคเพลุนเขามายึดลานนาอีกคร้ัง (พุทธศักราช ๒๑๕๗)๖๘ ต้ังแตนั้นมาพมาก็ลดความสําคัญของเมืองเชียงใหมลงมา โดยผูปกครองเปนเพียงขุนนางเทานั้น

พุทธศักราช ๒๒๔๔ พมามีนโยบายท่ีแยกการปกครองลานนาออกเปนสองสวน คือแยกเมืองเชียงแสนออกจากอํานาจเมืองเชียงใหม โดยถือวาเมืองเชียงแสนเปนประเทศราชมณฑลหนึ่ง พุทธศักราช ๒๓๐๖ พมาใชลานนาเปนฐานกําลังสําคัญในการยกกองทัพไปตีกรุงศรีอยุธยา ท้ังนั้นชาวเชียงใหมถูกกวาดตอนไปอังวะเปนจํานวนมากเชนกัน๖๙ ชวงทายของอาณาจักรลานนา

๖๖อรุณรัตน วิชียรเขียว, ตํานานาพื้นเมืองเชียงใหม, ( เชียงใหม : สํานักพิมพตรัสวิน(ซิลคเวอรม

บุคส),๒๕๔๓), หนา ๑๒๑. ๖๗สรัสวดี อองสกุล, ประวัติศาสตรลานนา, (โครงการขอสนเทศลานนาคดีศึกษา : โครงการศูนย

สงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๒๙), หนา ๔๒. ๖๘ลัดดาวัลย แซเซี่ยว, ๒๐๐ ปพมาในลานนา,(กรุงเทพมหานคร : สํานักงานสนับสนุนการวิจัย

(สกว), ๒๕๔๕) , หนา ๘๖. ๖๙จิตนา มัธยมบุรุษ, ประวัติศาสตรเมืองเชียงใหม,(ภาควิชาประวัติศาสตร คณะวิชามนุษยศาสตร

และสังคมศาสตร สหวิทยาลัยลานนา วิทยาลัยครูเชียงใหม, ๒๕๓๒), หนา ๖๐.

Page 118: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๐๕

พมาใชเมืองเชียงแสนเปนศูนยกลางการปกครอง เม่ือพุทธศักราช ๒๓๑๗ พระยากาวิละสามารถขับไลอํานาจพมาออกจากเมืองขอบเขตลานนาเปนผลสําเร็จ แตอํานาจของพมาก็อยูจนถึงพุทธศักราช ๒๓๔๗ เม่ือลานนาไดผนวกเปนสวนหนึ่งของสยามประเทศ

พัฒนาการพุทธศิลป ชวงระยะเวลาท่ีพมาปกครองลานนา มีหลักฐานท่ีกลาวถึงพระพุทธศาสนานอยมาก

เขาใจวาพระพุทธศาสนาคงคงตัวอยู คือไมเจริญและเส่ือมลง๗๐ เนื่องดวยกษัตริยพมามีความศรัทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา จะเห็นไดจากการโปรดใหมีการอุปสมบทกุลบุตร อาราธนาพระภิกษุสงฆท้ังหนปาแดงและหนสวนดอกไมไปแสดงธรรมเทศนาถวาย๗๑และปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกวัดเชียงม่ัน วา “พุทธศักราช๒๑๐๘ไดโปรดใหพญาแสนหลวงสรางและบูรณะวัดเชียงม่ัน”พมาไดนําเอาขนบธรรมเนียมประเพณี และความนิยมตาง ๆ มาเผยแผในลานนา เชน ศิลปกรรม โดยเฉพาะพุทธศิลปท่ีลานนาคงไดรับอิทธิพลบางอยางมาจากพมา คือ เจดียในเมืองเชียงใหมหลายวัดสรางตามเจดียของพมา เชน วัดแสนฝาง หรือประเพณีการสรางรูปสิงหตามประตูวัด (สัญญลักษณของพมา) รูปหงษ (สัญญลักษณของมอญหงสาวดี) แมแตการกอสรางอาคารบานเรือน ปราสาทราชมณเทียร พระราชวัง หรือท่ีพักอาศัยมีลักษณะอาคารกอสรางดวยไม มีหลังคาซอนกันเปนช้ัน ๆ ต้ังแต ๓ - ๗ ช้ัน เนื่องจากพอคาชาวพมาท่ีเดินทางเขามาคาขายในเมืองเชียงใหมมาบูรณะปฏิสังขรณ หรือสรางวัดวาอารามใหเปนพุทธศิลปแบบพมาโดยชางฝมือชาวพมา อันทําใหรูปแบบสถาปตยกรรมมีลักษณะแบบพมา เชน การติดกระจก เรียกวา แกวอังวะ ท่ีไดรับความนิยมจนถึงปจจุบัน

นอกจากนี้พมาไดนําเอาพระพุทธศาสนาเรียกวานิกายพมา๗๒ เขาสูลานนา สันนิษฐานวาอาจจะเปนพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบท่ีพมานับถืออยูเรียกวา “นิกายมาน” โดยพมาไดนําพระสงฆและนิกายมานนี้มาเผยแผ พบรายช่ือวัดพมาใน “บัญชีรายช่ือวัดโบราณในเมืองเชียงใหม” วามีวัดพมาเชน วัดมานแจงคะทํ้านอกเวียง วัดมานแจงคะทํ้าในเวียง วัดมานทง(ทุง)ชางคลาน วัดมานริมพนังดิน (กําแพงดิน)ทาแพ เปนตน พมาครองเมืองเชียงใหมนานถึง ๒๐๐ ป แตนิกายมานคงไมไดรับความนิยมเทาท่ีควร ดานขนบธรรมเนียมประเพณีบางอยางของพมาไดรับความนิยมจาก

๗๐สมหมาย เปรมจิตต, มรดกศาสนาในเชียงใหม,(เชียงใหม : คณะอนุกรรมการดานศาสนางาน

สมโภชเชียงใหม ๗๐๐ ป, ๒๕๓๙) หนา ๕๘. ๗๑เรื่องเดียวกัน. หนา ๑๐๘. ๗๒อรุณรัตน วิเชียรเขียว, การวิเคราะหสังคมเชียงใหมสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ตามตนฉบับ

ใบลานในภาคเหนือ, (บัณฑิตวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๒๐), หนา ๗๕.

Page 119: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๐๖

ชาวลานนา แตพมาก็รับเอาวัฒนธรรมของลานนาไปใชเชนเดียวกัน เชน วิธีขุดพื้นลงรักในรูปภาพ และลวดลายการลงรักแบบตาง ๆ เปนตน

การสืบทอดพทุธศิลป พุทธศิลปในชวงพมาปกครองเชียงใหม ขณะน้ันบานเมืองกําลังวุนวาย แตการสืบ

ทอดพุทธศิลปคงยังมีอยู ปรากฏวาเปนพุทธศิลปแบบทองถ่ินเขามาแทนคือพระพุทธรูปไม๗๓ เปนสวนใหญ ในชวงกลางพมาไดแตงต้ังขาราชการเขามาปกครองโดยตรง ปรากฏขาราชการเหลานั้นก็ไดมีสวนสรางพุทธศิลป อาทิพุทธศักราช ๒๑๐๘ แมทัพพมาไดสรางพระพุทธรูปนามวา “พระพุทธรูปเมืองราย” ประดิษฐาน ณ วัดชัยพระเกียรติ (เมืองเชียงใหม) เปนพระพุทธรูปลานนาหมวดเชียงแสนรุนแรก๗๔ท่ังนี้อิทธิพลพุทธศิลปพมาคงเขามาเกี่ยวของกับพุทธศิลปลานนา คือ พบพระเจดีย พระพุทธรูป และรูปสัญลักษณตาง ๆ เชน รูปหงส รูปสิงห ปรากฏในลานนาเปนจํานวนไมนอย พุทธศักราช ๒๑๓๔ พระเจาสุทโธธรรมราชา ยกกองทัพมาตีเชียงใหม ในระหวางการรบนั้นวัดวาอารามหลายแหงถูกกระสุนปนปรักหักเสียหาย เชน วัดดับภัย วัดสุทธาวาส วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) เม่ือพระองคกลับไปทรงคํานึงวา เม่ือพระองคตีเมืองเชียงใหมวัดวาอารามไดถูกทําลาย จึงใหหัวหนาชาง ๒๐ นาย มาทําการบูรณปฏิสังขรณข้ึน นาเช่ือวาคงเปนพุทธศิลปพมา ชวงหลังพอคาชาวพมาท่ีเขาทําสัมปทานปาไมในภาคเหนือ กลุมพอคาเหลานั้นมีความเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาและไดสรางศาสนสถานข้ึน ดวยกลุมชางฝมือชาวพมาโดยตรง เชน วัดศรีสองเมือง จังหวัดลําปาง หรือการบูรณะซอมแซมศาสนาสถานข้ึนมาใหม เชน วัดเจดียเหล่ียมในเวียงกุมกาม ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปในยุคพมาปกครองนี้ ลานนาไดนาจะไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปพมา

๕. พัฒนาการและการสืบทอดพุทธศิลปกรุงรัตนโกสินทร

พุทธศักราช ๒๓๑๔ พระยาจาบานบุญมาขุนนางเมืองเชียงใหมกับพระยากาวิละ ลูกเจาฟาเมืองนครลําปางเช้ือสายตระกูลเจาเจ็ดตน ไดรวมมือกันกอบกูเอกราชคืนจากพมา โดยรวมมือกับสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี และขอความชวยเหลือใหสงกองทัพไปตีพมาในดินแดนลานนา คร้ังนั้นพระเจากรุงธนบุรีพรอมดวยพระยาจักรีและพระยาสุรสีห ยกกองทัพหลวงขึ้นมาทางเมืองนครลําปาง และเขาตีเมืองเชียงใหมไดในพุทธศักราช ๒๓๑๗ พระเจากรุงธนบุรีได

๗๓สุรพล ดําริหกุล, ลานนา สิ่งแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม,(บริษัท รุงอรุณ พับลิช่ิง จํากัด,

๒๕๔๒), หนา ๒๑๓. ๗๔เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๑๔.

Page 120: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๐๗

แตงต้ังพระยาจาบานบุญมาเปนพระยาวิเชียรปราการเจาเมืองเชียงใหม และใหพระยากาวิละเปนเจาเมืองนครลําปาง

กองทัพพมาท่ีแตกหนีไปไดหนึ่งเดือน กลับยกพลมาลอมเมืองเชียงใหมในพุทธศักราช ๒๓๑๘ กองทัพไทยมาชวยตีพมาแตกพายไป จากเมืองเชียงใหมท่ีเคยรุงเรืองก็ถึงกาลเส่ือมโทรมสุดขีด บานเมืองแตกฉาน พระยาวิเชียรปราการไดท้ิงเมืองเชียงใหมไปอยูเมืองนครลําปางระยะหนึ่ง จึงกลับมาต้ังอยูท่ีตําบลวังพราว เขตเมืองลําพูน เมืองเชียงใหมจึงรางไปถึง ๒๑ ป

พัฒนาการพุทธศิลป พุทธศิลประยะนี้ ไมปรากฏการสรางงานพุทธศิลปใหม ๆ คงเนื่องจากมีความจําเปน

ในการบูรณะบานเมือง ไมวาจะเปนประตู คูเมือง กําแพง และหอรบ หลังจากนั้นก็ตองมีการบูรณะวัดวาอาราม พระเจดียตาง ๆ ขณะเดียวกันพุทธศิลปพมาก็เขามาสูลานนาอีกคร้ัง เนื่องจากกลุมพอค าพมา เข ามาสัมปทานป าไมร วมกับชาวอังกฤษ ประกอบกับได มีศ รัทธาในพระพุทธศาสนา จึงไดทําการบูรณะวัดวาอารามท่ีทรุดโทรม หรือสรางข้ึนมาใหมในแหงชุมชนท่ีอาศัยอยูดวยฝมือชางพมาโดยตรง ดวยเหตุนี้พบวาพระเจดียหลายแหงถูกบูรณะซอมเสริมดวยชางฝมือชาวพมา และบางคร้ังก็ทําใหทรวดทรงเปล่ียนไป เชน วัดเจดียเหล่ียม หรือพระเจดียบางคร้ังในเขตเมืองเชียงใหม ดังนั้นพัฒนาการพุทธศิลปยุคนี้ จึงเปนการบูรณะซอมแซมมากกวาการสรางข้ึนมาใหม ดวยสกุลชางตาง ๆ ตามหัวเมืองและกลุมชุมชนดั่งเดิม ชุมชนท่ียายเขามาใหมสกุลชางเหลานั้นตางก็สรรคสรางพุทธศิลปของตนเองข้ึน ท้ังนี้ตางก็ไดรับอิทธิพลท้ังจากพุทธศิลปท่ีสืบทอดกันมา และตามความนิยมชมชอบของสกุลชาง ท้ังนี้ไดรับอิทธิพลจากกรุงรัตนโกสินทรภายหลังอาณาจักรลานนาผนวกเขากับกรุงรัตนโกสินทร แตก็มิใชเปนพุทธศิลปบริสุทธ์ิแตเปนลักษณะการผสมผสานกันทางพุทธศิลป

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป

พัฒนาการพุทธศิลปในอาณาจากลานนา สามารถสรุปไดอยู ๔ ระยะ คือ ๑. ระยะตอนตน ลานนาไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปเชียงแสนและพุทธศิลปหริกุญชัย

กลาวคือ พญามังรายไดกอต้ัง “เมืองนพบุรีศรีนครพิงคเชียงใหม” พระองคทรงยอมรับวัฒนธรรมจากหริภุญชัย รวมถึงพระพุทธศาสนาและพุทธศิลป ดั่งคํากลาววา “พระองคทรงชนะทางการเมือง แตพายแพทางวัฒนธรรม” พุทธศิลประยะนี้พญามังรายคงสรางแบบผสมกันท่ังจากเชียงแสนและหริภุญชัย เชน ทรงโปรดใหตอพระมหาธาตุหริภุญชัยใหเปนเจดียทรงกลมจากเจดียทรงเหล่ียม ใหสูง ๑๖ วา สรางพระเจดียกูคํา สรางวัดเชียงม่ัน วัดกานโถม เปนตน ท้ังนี้พญามังรายทรง

Page 121: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๐๘

นําเอาสกุลชางพมา เขามาลานนา เพื่อฝกหัดชางเชียงใหม เชน ชางทอง ชางเหล็ก ชางหลอ ดังนั้นพัฒนาการพุทธศิลปท่ีสืบตอจากสกุลชางเชียงแสน สกุลชางหริภุญชัยเปนสวนใหญแลว สกุลชางพมา (แบบพุกาม) นาจะเร่ิมเขามาบางแลว

๒. พัฒนาการจากอิทธิพลพุทธศิลปกรุงสุโขทัย สมัยพญากือนาทรงรับเอาพระพุทธศาสนาแบบนิกายลังกาวงศเขาสูลานนาพรอมท้ังพุทธศิลป เชน การสรางพระพุทธรูปและบูรณะวัดพระยืน สรางวัดสวนดอก และการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ณ วัดสวนดอก วัดพระธาตุดอยสุเทพ ท่ีเปนเจดียแบบดอกบัวตูมหรือพุมขาวบิณฑ ซ่ึงเปนเจดียแบบสูโขทัย ท้ังนี้พุทธศิลปสุโขทัยไดมีอทธิพลตอการสรางพระพุทธรูปเปนอยางมาก คือ พระรัศมีเปนรูปดอกบัวสูงข้ึนหรือรูปเปลวไฟ ตอมาพระพุทธศาสนาแบบสีหลไดเขามาสูลานนาและไดรับการอุปภัมถจากพญาติโลกราช สงผลใหพระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองเปนอยางมาก ชางนี้เองไดมีขุนนางผูหนึ่งช่ือวา “หม่ืนดานพราคต” ไดเดินทางไปศึกษาพุทธศิลปท่ีอินเดียและลังกา จึงเกิดการพุทธศิลปจําลองข้ึน คือ วิหารพุทธคยา โลหะปราสาท รัตนมาลีเจดีย ณ วัดเจ็ดยอด จากน้ันพญาติโลกราชทรงโปรดสรางวัดราชมณเฑียร วัดปาตาล วัดปาแดงมหาวิหาร หรือทรงกอสรางเจดียหลวง ดังนั้นพุทธศิลปลานนาระยะนี้ไดพัฒนาการดวยการผสมผสานเขากับพุทธศิลปะสุโขทัย เชน พระรัศมีลักษณะเปนดอกบัวทรงสูงหรือเปลวไฟ หรือเจดียท่ีพัฒนาการมาเปนแบบพื้นเมืองเชียงใหม เรียกวา เจดียทรงกลมแบบเชียงใหม และระยะนี้ไดเกิดพุทธศิลปจําลอง เชน วิหารพุทธคยา เปนรูปแบบวิหารมหาโพธิท่ีอินเดีย ขณะเดียวกันพุทธศิลปลานนาแบบเดิมก็ยังไดรับความนิยม เชน พระเจดีย ณ วัดสะดือเมือง ท่ีไดรับพัฒนาการจากพุทธศิลปลานนาตอนตน

๓. พัฒนาการจากอิทธิพลพมา เร่ิมต้ังแตทาวแมกุ ลานนาอยูภายใตการปกครองของพมา พมาไดเผยแผพระพุทธศาสนา เรียกวา นิกายมาน แตคงมิไดเปนท่ียอมรับในลานนา พุทธศิลปแบบพมาท่ีเขามาผสมผสานกับพุทธศิลปลานนา ท้ังนี้คงเกิดจากพมานับถือพระพุทธศาสนา และมีศรัทธาในการกอสรางหรือบูรณะวัดวาอารามหรือพระเจดีย ท่ีเกิดความเสียหายจากสงคราม เชน วัดแสนฝาง หรือรูปสัญญลักษณ คือ รูปปนสิงห (พมา) รูปหงษ (มอญ) พุทธศิลปท่ีไดรับความนิยมจากลานจนถึงปจจุบัน คือ การติดกระจก เรียกวา แกวอังวะ ภายหลังไดมีพอคาชาวพมาไดสัมปทานการทําปาไมในลานนา พอคาเหลานั้นไดมีการสรางและบูรณะปฏิสังขรณวัดวาอาราม พระเจดีย เปนจํานวนมากเชนกัน เชน วัดเจดียเหล่ียม ณ เมืองกุมกาม วัดศรีสองเมือง ณ เมืองลําปาง แตลานนาเองก็ไดเกิดพุทธศิลปทองถ่ิน คือ พระพุทธรูปไมเปนสวนมาก ดังนั้นระยะนี้พุทธศิลปพมาไดเขามาผสมผสานเขากับพุทธศิลปลานนา ท้ังนี้พมาก็รับเอาวิธีขุดพื้นลงรักรูปภาพ หรือลวดลายการลงรักจากลานนาเชนกัน

Page 122: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๐๙

๔. พัฒนาการจากกรุงรัตนโกสินทร เร่ิมจากสมัยพระยาจาบาน พระยากาวิละ ไดเขารวมกับพระเจากรุงธนบุรี ไดขับไลพมาออกจากลานนา ภายหลังพระยากาวิละปกครองเมืองเชียงใหม ไดขับไลพมา ในเมืองเชียงแสน คราน้ันกองทัพไดกวาดตอนครอบครัวหัวเมืองจากเมืองของ เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย มาไวตามหัวเมืองตาง ๆ เชน เมืองเชียงใหม ลําปาง แพร นาน และกรุงเทพ ในพุทธศักราช ๒๔๔๒ ลานนาไดผนวกเขาเปนสวนหนึ่งของประเทศไทย ระยะนี้ลานนาไดมีความสัมพันธกับชุมชนภาคกลางมากข้ึน การล่ืนไหลทางศิลปะวัฒนธรรมก็เพิ่มมากข้ึนเชนกัน แตในลานนาเองก็มีการฟนฟูพุทธศิลป โดยผานการบูรณะปฏิสังขรณ ดั่งสมัยพระเจากาวิละ บูรณะวัดพระธาตุดอยสุเทพ วัดพระธาตุหริภุญชัย วัดสวนดอก วัดพระธาตุลําปางหลวง สมัยพระเจากาวิโลรสสุริยวงศ สรางวิหารวัดศรีสุพรรณ สรางพระพุทธรูปทองคํา แกะสลักพระพุทธรูปไว ณ วัดพระธาตุศรีจอมทอง อนึ่งระยะนี้เปนยุค“เก็บผักใสซา เก็บขาใสเมือง”ในลานนาไดปรากฏการต้ังชุมชนของหัวเมือง เชน ชาวเมืองวะ เมืองเลน เมืองขอน ต้ังถ่ินฐาน ณ อําเภอสันทราย ชาวเมืองเชียงตุง ต้ังถ่ินฐาน ณ ประตูเชียงใหมดานนอกเปนตน ชุมชนเหลานี้โดยมาเปนกลุมชางฝมือและนิยมสรางวัดเปนของตนเอง ทําใหลานนามาความหลากหลายทางพุทธศิลป พรอมท้ังกลุมพระสงฆท่ีเขามาพรอมกับชุมชน ปรากฏวา ลานนามี ๑๕ นิกาย เชน นิกายเชียงใหม (กลุมชาวยวนเชียงใหม) นิกายเง้ียว (ชาวไทยใหญ) นิกายมอญ (ชาวคนมอญ) เปนตน ลักษณะการสรางสรรคพุทธศิลปคงเปนไปตามลักษณะกลุมพระสงฆและชุมชน ท่ังนี้คงไดผสมเขากับพุทธศิลปแบบพื้นเมืองและพุทธศิลปจากกรุงรัตนโกสินทร ซ่ึงสังเกตุจากรูปทรงของพระวิหาร อุโบสถท่ีเปนสูง ดังนั้นพัฒนาการพุทธศิลประยะนี้จนถึงปจจุบันเปนลักษณะการผสมผสานและถือคติตามความนิยม บทสรุปการสืบทอดพุทธศิลป

การสืบทอดพุทธศิลปในอาณาจักรลานนา เร่ิมต้ังแตท่ีพัฒนามาจากพุทธศิลปเชียงแสน ท่ีถือไดวาพุทธศิลปท่ีมีความลงตัวและโดดเดน ก็คือ “พระสิงห” เปนอิทธิพลจากพุทธศิลปคุปตะโดยผานพมาสมัยพระเจาอุณรุทมหาราช๗๕ กษัตริยเมืองพุกาม พระสิงหไดรับความนิยมในลานนา ถึงแมพระสิงหสามจะเปนพุทธศิลปเชียงใหมท่ีไดรับอิทธิพลจากสุโขทัย๗๖ ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปเชียงแสน โดยผานกลุมฝมือชางเชียงแสนและเชียงใหม จนมาถึงปจจุบันความนิยมสรางพระสิงหก็มีจํานวนไมนอย พุทธศตวรรษท่ี ๑๔ ไดเกิดแควนหริภุญชัย พุทธศิลป

๗๕เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรมศาสตร,

๒๕๓๗), หนา ๕๘. ๗๖เรื่องเดียวกัน, หนา ๕๙.

Page 123: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๑๐

ท่ีพระนางจามเทวีไดวางรากฐานไวเปนพุทธศิลปแบบเถรวาท แตก็คงมีกล่ิมไอของพุทธศิลปแบบมหายานท้ังนี้เมืองลพบุรี หรือเมืองละโวมีสกุลชางศิลปะศาสนาพราหมณและพุทธศาสนาแบบมหายาน๗๗ สกุลชางท่ีพระนางทูลขอจากพระบิดา เชน ชางแกว ชางเงิน ชางเหล็ก ชางเขียน ข้ึนมาคร้ังนี้ดวย กลุมชางฝมือเหลานั้นคงมีสกุลชางพุทธศิลปดวย กลาวคือ เม่ือพระนางเดินทางทรงสรางศาสนาสถานตามรายทางข้ึนมา เชน สถานที่หนึ่งเรียกวา สระเงา พระนางใหสรางพระพุทธรูป เหตุนั้นสถานท่ีแหงนั้นเรียกวา พุทธสรณาคมน หรือทรงตองการสรางพระพุทธรูปเทาตัวพระนาง จึงตรัสถามนายชางวา “.. ดูรานายชาง ทานจัดการสรางพระพุทธรูปองคหนึ่งมีขนาดและสวนสูงเทาตัวเรานี้ เราจะเอายังพระสารีริกธาตุท่ีเรานํามาแตพระนครละโวโพน ฐาปนาไวในองคพระพุทธรูปเจาองคนั้น”๗๘ กลุมชางฝมือเหลานี้เปนผูสืบทอดงานพุทธศิลป และทรงไดรับการอุปภัมถจากกษัตริยผูทรงเปนพุทธมากะอยางไกลชิด ท่ังนี้กลุมชางฝมือเหลาก็สืบเนื่องมาถึงเมืองเชียงใหม ต้ังแตสมัยพญามังราย

พุทธศิลปลานนาตอนตน ไดรับการสืบทอดมาจากกลุมชางฝมือตาง ๆ คือ กลุมชางฝมือจากเมืองเชียงแสนโยนกท่ีมากับพญามังราย กลุมชางฝมือจากเมืองหริภุญชัย ท่ีภายหลังไดผนวกเขากับเมืองเชียงใหม นอกจากน้ียังคงไดรับความสัมพันธทางฝมือชางจากพุกาม สุโขทัยหรือเมืองพะเยาดวย ท้ังนี้พญามังราย พอขุนรามคําแหงและพญางําเมืองตางก็เปนพระสหายกัน ดังปรากฏในตํานานพื้นเมืองเชียงใหมวา๗๙ “...สหายคําประยางําเมือง พระยารวงท้ังสองนั้น กูจักเรียกรองเสงปองโฟจาแลว จึ่งควรต้ังชะแล... พระยามังรายก็ใช อํามาตยผูรูผูหลวงไปเมืองพรูยาว (พะเยา) ท่ีอยูพระยางําเมือง และเมืองสุกโขทัย (สุโขทัย) ท่ีพระยารวง ก็เรียกรองเอาพระยาท้ังสองอันเปนมิตรรักกับพระยามังราย ก็ชักเชิญวาจักต้ังบานใหญเมืองหลวง ...พระยามังราย พระยางําเมือง พระยารวง ๓ คน ท้ังเสนาอมาตยไพรบานไทเมืองสมณพราหมณ ชางไม ชางตอง ชางแตม ท้ังหลายพรอมเพรียงเสงปองกัน จีกเบิกบาย ช่ือโสรกยังเวียงวา ขนนพบุรีสรีนครเชียงใหม (นพบุรีศรีนครพิงคเชียงใหม) ก็โสรกมีสันนี้” ความสัมพันธตามสกุลชางนาจะมีอิทธิพลตอกัน แตก็คงยังไมมากนัก เพราะลานนายุคตนนิยมพุทธศิลปเชียงแสนและพุทธศิลปพุกาม อนึ่งพญามัง

๗๗เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย,(กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรมศาสตร,

๒๕๓๗), หนา ๕๓. ๗๘ตํานานมูลศาสนา, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม.๒๕๔๔, หนา ๑๓๗. ๗๙อรุณรัตน วิเชียรเขียว. ลานนาไทยศึกษา.(เชียงใหม : คณะอนุกรรมการดานศาสนางานสมโภช

เชียงใหม ๗๐๐ ป, ๒๕๓๙), หนา ๗ – ๘.

Page 124: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๑๑

รายไดนํากลุมสกุลชางฝมือจากพุกามเม่ือพระองคมีชัยชนะเหนือพุกาม๘๐ เขามาฝกหัดชางลานนา ดังนั้นกลุมสกุลชางฝมือในเชียงใหมจึงมีความหลากหลายและมีความเจริญอยางยิ่ง สกุลชางเหลานี้ก็เปนผูสืบทอดงานพุทธศิลป โดยไดรับการอุปภัมถจากกษัตริยและเจาขุนมูลนายระดับตาง ๆ อยางใกลชิด สกุลชางเหลานี้ยังไดสืบตอมาถึงยุคตอมา

พุทธศิลปยุคอิทธิพลสุโขทัย ท่ีสืบทอดมาจากกลุมสกุลชางฝมือลานนาตอนตน สมัยพระเจากือนา พุทธศิลปไดรับอิทธิพลจากศิลปะจากสุโขทัย กลาวคือพระองคทรงอาราธนาพระสุมนะจากสุโขทัย มาเผยแผพระพุทธศาสนาและไดนําพุทธศิลปแบบสุโขทัยข้ึนมาลานนา และไดนําพระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐานไวบนดอยสุเทพและวัดสวนดอก พระพุทธรูปก็เปนแบบผสมระหวางสุโขทัยและเชียงแสนรุนสอง เชน พระอัฏฐารส พระพุทธรูปยืน ณ วัดเจดียหลวง นอกจากนี้ลานนายังปรากฏพุทธศิลปอินเดียและลังกาเขามา กลาวคือสมัยพญาติโลกราช มีชางพุทธศิลปช่ือวา หม่ืนดามพราคต๘๑ ไดเดินไปศึกษาพุทธศิลปอินเดียและลังกา ไดจําลองแบบวิหารพุทธคยา โลหะปราสาทและรัตนมาลีเจดีย มาสรางไวท่ีวัดเจ็ดยอด (มหาโพธาราม) ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปยุครุงเรืองไดสืบเนื่องมาจากชางฝมือลานนาตอนตน ท้ังชางหลวงหรือชางพื้นบาน แตก็ไดรับอิทธิพลจากเชียงแสน และสุโขทัย

การสืบทอดพุทธศิลปชวงปลายลานนา เปนอิทธิพลพมา เม่ืออาณาจักรลานนาออนแอลง สุดทายตกอยูภายใตอํานาจพมาสมัยพระเจาบุเรงนอง สถานการณบานเมืองระสํ่าระสาย เกิดความวุนวายไปท้ัวหัวเมือง การสืบทอดงานพุทธศิลปลานนาก็คงหยุดชะงักลง แตปรากฏวา พุทธศิลปพมาเขามาสูลานนา จะพบพุทธศิลปแบบพมาตามวัดตาง ๆ เชน วัดปาเปา (เชียงใหม) วัดพระแกวดอนเตา (ลําปาง) เปนตน ตอมาสกุลชางฝมือลานนาไดรับการสนับสนุนและฟนฟูอีกคร้ัง เพื่อการบูรณะบานเมืองท่ีทรุดโทรม ไมวาจะเปนประตู คูเมือง กําแพง หอรบ และวัดวาอาราม พระบรมธาตุเจดียตาง ๆ ในลานนา ขณะเดียวกันสกุลชางพมาก็เขามาสูลานนาอีกคร้ัง เนื่องจากกลุมพอคาพมาเขามาสัมปทานปาไมรวมกับชาวอังกฤษ ประกอบกับมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา จึงไดทําการบูรณะวัดวาอารามท่ีทรุดโทรม หรือสรางข้ึนมาใหมในแหงชุมชนท่ีอาศัยอยูดวยฝมือสกุลชางพมาโดยตรง เหตุนี้พบวาพระเจดียหลายแหงถูกบูรณะซอมเสริมดวยชางฝมือชาวพมา และบางคร้ังก็ทําใหทรวดทรงเปล่ียนไป เชน วัดเจดียเหล่ียม หรือพระเจดียบางแหงในเขตเมืองเชียงใหม ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปยุคนี้ ไดมีการสนับสนุนและฟนฟูสกุลชาง

๘๐สมหมาย เปรมจิตต. มรดกศาสนาในเชียงใหม.(เชียงใหม : คณะอนุกรรมการดานศาสนางาน

สมโภชเชียงใหม ๗๐๐ ป, ๒๕๓๙) , หนา ๑๔๓. ๘๑สิริวัฒน คําวันสา, ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๕๐.

Page 125: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๑๒

ลานนาและสกุลชางพุทธศิลปตามหัวเมือง เพื่อการบูรณะซอมแซมศาสนาสถานคือ วัดวาอาราม พระธาตุเจดียมากกวาการสรางข้ึนมาใหม

สุดทายการสืบทอดงานพุทธศิลปลานนา ไดรับการสืบทอดดวยความหลากหลาย กลาวคือ การสรางสรรคงานชางพุทธศิลปตางก็สรางสรรคข้ึนตามศรัทธาและความซ่ืนชอบ ดั่งปรากฏถึงความหลากหลายทางศิลปะ เปดรับพุทธศิลปหลาย ๆ แบบ ไมวาจะเปนแบบลานนา สุโขทัย พมา รัตนโกสินทร หรือมีการผสมผสานกันท้ังหมด ดังนั้นสามารถกลาวไดวา การสืบทอดพุทธศิลปลานนาไดรับการสืบทอดจากกลุมชางฝมือสกุลตาง ๆ และสรางสรรคตามความช่ืนชอบของแตละบุคคล ท้ังนี้กลุมชางฝมือก็มีฝมือสวยงาม ประณีตมากข้ึน ซ่ึงสามารถสรุปไดตามตาราง คือ

Page 126: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๑๓

ตารางท่ี ๓. บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลปลานนา

ตารางสรุปพัฒนาการพุทธศิลปลานนา

ลักษณะพุทธศิลป พัฒนาการพุทธศิลป การสืบทอดพุทธศิลป ๑. กอนลานนา ๑.๑ แควนโยนก

- พระพุทธรูป คือพระสิงหมีพระอุระด่ังราชสิงห พระวรกายอวบอวน พระนาภีเปนลอน พระเศียรกลม พระเนตรมองตํ่าไมเบิกโพลง พระนาสิกงุม รัศมีเปนดอกบัวตูม ชายสังฆาฏิเปนแบบเขี้ยวตะขาบ

- พระเจดีย คือ พระธาตุเจดียดอยตุง

- พัฒนาสืบตอพุทธศิลป คุปตะที่ผานมาทางพุกาม

- สกุลชางเชียงแสน

๑.๒แควน หริภุญชัย

- พระพุทธรูป แบงได ๓ กลุมคือ ๑. แบบพ้ืนเมือง

พระพักตรคอนขางยาว พระนลาฏกวางมีโหนก พระขนงเปนรูปปกกาเช่ือมกัน พระเนตรโปน

๒.พระพักตรคอนขางเหล่ียม เม็กพระศกขมวดแหลม พระเศียรแบนและบานออก พระเนตรเหลือบมองตํ่า พระนาสิกแบนใหญ

๓. พระพักตรสั้น พระศกเปนเม็ดเล็กๆ พระเนตรเหลือบตํ่า พระนาสิกเล็ก พระโอษฐ

- พุทธศิลปพุกาม - พัฒนาสืบจากพุทธศิลปทวารวดีหรือมอญ

- พัฒนาสืบตอจากพุทธศิลปลพบุรีหรือขอม

- พระนางจามเทวีทรงนําสกุลชางตางๆ ขึ้นมาดวย อาทิ ชางสลัก ชางเงิน ชางเหล็ก ชางทอง ชางเขียน เปนตน ภายหลังไดสนับสนุนการฝกหัดงานชางใหกับชาวพ้ืนเมือง สุดทายมาเปนสกุลชางหริภุญชัย

Page 127: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๑๔

ตารางสรุปพัฒนาการพุทธศิลปลานนา

ลักษณะพุทธศิลป พัฒนาการพุทธศิลป การสืบทอดพุทธศิลป

บาง ไมมีไรพระมัสส ุ- นอกน้ีพบพระพิมพดินเผา อาทิ พระรอด พระลือ พระคง พระกลวย พระสิบ พระสิบแปด พระกําแพงหารอย

- เจดีย แบงได ๔ แบบ คือ ๑.เจดียเหล่ียม อาทิ สุวรรณ จังโกฏิ เจดียกูกุด

๒.เจดียแปดเหล่ียม อาทิ รัตนเจดีย ณ วัดจามเทวี

๓.เจดียทรงกลมหายอด อาทิพระธาตุหริภุญชัย

๔.เจดียทรงลอมฟาง อาทิ เจดียกูชาง

- พัฒนาสืบตอจากพุทธศิลปลพบุรีหรือขอมผสมพ้ืนเมือง - พัฒนาสืบตอจากลพบุรีหรือขอมและพมา(พุกาม)

๒.อิทธิพลเชียงแสน-หริภุญชัย

- พระพุทธรูป พระพักตรคอนขางยาว พระขนงเปนสัน พระนาสิกเปนสันใหญ พระเศียรใหญ พระเกตุมาลาทรงกรวยเต้ีย ชายสังฆาฏิสันหยักเปนริ้ว

- เปล่ียนทรงพระธาตุหริภุญชัยใหเปนทรงกลมและใหสูงขึ้นเปน ๑๖ วา

- เจดียกูคํา เปนทรงเหล่ียม ซุมจรบรรจุพระพุทธรูปทั้ง ๔ ดานๆ ละ ๑๕ องค

- สรางวัดกาลเทียม และพระพุทธรูปยืนองคใหญ

- พัฒนาจากพุทธศิลปพุกามที่ผานมาทางเชียงแสน

- พญามังรายทรงรับพุทธศาสนาและพุทธศิลปจากหริภุญชัยและเชียงแสน ทั่งน้ีพระองคทรงรับเอากลุมชางฝมือจากพุกาม อังวะ เขามาฝกหัดงานชางลานนา นอกจากน้ีแลวลานนายังไดมีความสัมพันธทางการเมืองและทางสกุลชางจากสุโขทัยและเมืองภูยาว (พะเยา)

Page 128: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๑๕

ตารางสรุปพัฒนาการพุทธศิลปลานนา

ลักษณะพุทธศิลป พัฒนาการพุทธศิลป การสืบทอดพุทธศิลป -สรางวัดเชียงมั่น ประดิษฐานพระเสตังคมณี

๓.อิทธิพล สุโขทัย

- พระพุทธรูป พระรัศมีเปนดอกบัวตูมสูงขึ้น ขมวดพระเกศาเล็ก พระพักตรเปนรูปไข ชายจีวรยาวถึงพระนาภี เปนพระสิงหสอง

- พระอัฏฐารส เปนพระพุทธรูปยืน พระพักตรยาวรี พระรัศมีเปนรูปเปลว ปางประทานพร ครองจีวรเฉียง

- พัฒนาตอจากพุทธศิลปเชียงแสน

- พัฒนาตอจากเชียงแสนผสมสุโขทัย

- พญากือนาทรงรับพุทธศาสนาและพุทธศิลปจากสุโขทัย ทําใหพุทธศิลปสุโขทัยไดรับความนิยมเปนอยางมากในลานตอมาไดผสมเขากับลานนาตอนตนหรือพ้ืนเมือง จนเปนแบบแผนของเชียงใหม

- พญาติโลกราช สนับสนุนคณะสงฆนิกายสีหล (วัดปาแดงหลวง) เน่ืองดวยคณะสงฆสีหลเชียงชาญพระไตรปฏกคณะสงฆนิยมเดินทางไปศึกษาพุทธศาสนาอินเดียและลังกา ทําใหเกิดพุทธศลิปจําลองขึ้น

- พระเจาแขงคม ปางมารวิชัย พระชงคเปนสัน มีไรพระศก พระศกเปนตุมเล็ก พระรัศมีเปลว

- พระพุทธรูปลานชาง ประทับบนฐานสูง พระวรกายผอมบาง พระพักตรเสี่ยม พระศอยาว

- เจดียทรงลังกาหรือสุโขทัย ไดรับความนิยมเปนจํานวนมาก ตอมาเรียกวา เจดียทรงกลมแบบเชียงใหม

- คตินิยมจากอยุธยาตอนตนหรืออูทอง

- คตินิยมจากพุทธศิลปลานชาง

- พัฒนาสืบจากเชียงแสนแตมีลักษณะคลายสุโขทัย(ลังกา) ณ พระธาตุเสด็จและพระธาตุลําปางหลวง ตอมาพัฒนาฐานใหสูงขึ้น องคระฆังเล็กลง พระเจดียวัดหัวขวง เจดียวัดแสนตา

Page 129: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๑๖

ตารางสรุปพัฒนาการพุทธศิลปลานนา

ลักษณะพุทธศิลป พัฒนาการพุทธศิลป การสืบทอดพุทธศิลป - เจดียแบบชางลอม ณ เจดียวัดปาแดงหลวง ฐานสี่เหล่ียมจัตุรัส มีชางลอม มีช้ันแถวจรนํา ฐานกระดานแปดเหล่ียม องคระฆังผาย บัวปากระฆัง บัลลังกรูปสี่เหล่ียมรองรับปลองไฉนและปลียอด

- เจดียทรงปราสาท คลายเจดียชางลอมแตไมมีชางลอม แตเรือนธาตุยอเก็จ องคระฆังทรงกลม

- เจดียแปดเหล่ียมเรือนธาตุมีซุมจรนําประดับพระพุทธรูป

หอย ตอมาเพ่ิมลายบัวใตฐานองคระฆัง องคระฆังเล็กและสั้น ทั่งน้ีพัฒนาใหเปนแบบแผนทองถ่ินมากขึ้น อาทิ เจดีย ณ โรงเรียนพุทธิโศภน

- เปนรูปแบบลังกา ตอมาพัฒนาทรวดทรงและผสมเขากับทรงปราสาท อาทิ เจดียเชียงมั่น เจดียชางค้ํา (นาน)

- พัฒนาสืบตอพระเจดียเชียงยืน ที่เปนเจดียหายอด อาทิ เจดียวัดปาสัก

- พัฒนาสืบตอจากเจดียแปดเหล่ียมในลานนาตอนตน

- สรางพระธาตุเจดีย ณ วัดสวนดอกและวัดพระธาตุดอยสุเทพ เปนเจดียทรงพุมขาวบิณฑ (สุโขทัยแท)

- สถาปตยกรรมจําลอง คือ จําลองวิหารมหาโพธิ สัตตมหาสถาน ณ วัดเจ็ดยอด

- พัฒนาการจากสุโขทัย - โดยนายชางพุทธศิลป คือ หมื่นดามคต ที่เดินทางไปพรอมกับคณะสงฆไปศึกษาพุทธศาสนาใน

Page 130: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๑๗

ตารางสรุปพัฒนาการพุทธศิลปลานนา

ลักษณะพุทธศิลป พัฒนาการพุทธศิลป การสืบทอดพุทธศิลป - อัญเชิญพระสิหิงคจากเชียงรายมาประดิษฐาน ณ วัดพระสิงห พรอมทั้งสรางพระพุทธรูปขึ้นอีก ๑ องค

สรางเจดียหลวง (ไมเสร็จในสมัยพระองค)

อินเดียและลังกา

๔.อิทธิพลพมา

- พระพุทธรูป เปนแบบทองถ่ินเขามาแทน คือ พระพุทธรูปไม

- พระพุทธรูปเมืองราย สรางโดยแมทัพพมา ณ วัดชัยพระเกียรติ

- เจดีย ถือรูปแบบพมา อาทิ เจดียวัดแสนฝาง

- คติการสรางรูปสิงหตามประตูวัด (สัญญลักษณพมา)และรูปหงษ(สัญญลักษณมอญ)

- สถาปตยกรรม คือ การสรางวัดนิกายมาน อาทิ วัดมานแจงคําท้ํานอกเวียง

- สถาปตยกรรมอาคารบานเรือน ราชมณเฑียร ที่กอสรางดวยไม มีหลังคาเปนช้ันๆ ต้ังแต ๓ – ๗ ช้ัน

- การติดกระจก เรียกวา “แกวอังวะ”

- เปนพระสิงหหน่ึง

- ลานอยูในภาวะสงคราม ทําใหพุทธศิลปหยุดชะงักลง แตการบูรณะปฏิสังขรณก็มีขึ้น ทั้งน้ีกลุมพอคาชาวพมาไดทําการบูรณะปฏิสังขรณพระพุทธรูป เจดียดวยชางฝมือชาวพมา ดังน้ันจะเปนพุทธศิลปพมาปรากฏในลานนา อาทิ วัดศรีสองเมือง (ลําปาง) พระเจดียเหล่ียมในเวียงกุมกาม เปนตน

Page 131: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๑๘

ตารางสรุปพัฒนาการพุทธศิลปลานนา

ลักษณะพุทธศิลป พัฒนาการพุทธศิลป การสืบทอดพุทธศิลป ๕.อิทธิพล รัตนโกสินทร

- ระยะแรกเปนการบูรณะปฏิสังขรณโดยมาก เชน บูรณะ พระธาตุดอยสุเทพ พระธาตุศรีจอมทอง

- ระยะตอมาไดมีความสัมพันธกับกรุงรัตนโกสินทร จึงเกิดพุทธศิลปผสมกับลานนา อาทิ รูปทรงของวิหาร อุโบสถทรงสูง

- เปนพุทธศิลปลักษณะผสมผสานกันมากขึ้น และถือคติความนิยมในการสรางสรรคพุทธศิลปลานนา

- ลานนาอยูในยุค “เก็บผักใสซา เก็บขาใสเมือง” มีการอพยพผูคนจากหัวเมืองลงมาไว ณ สถานที่ตาง ๆ อาทิ เมืองเชียงใหม กรุงเทพ เมืองนาน ทั้งน้ีรวมถึงกลุมชางฝมือดวย อาทิ กลุมชางเครื่องเงิน ต้ังอยูประตูเชียงใหม เปนตน

- กลุมพอคาชาวพมาที่ทําสัมปทานปาไมกับชาวอังกฤษ ไดบูรณะปฏิสังขรณวัดวาอาราม เจดียตาง ๆ ดวยชางชาวพมา ดังน้ันปรากฏพุทธศิลปพมาผสมอยูในลานนาไมนอย

ปจจุบันชางพุทธศิลปดั่งเดิมไดลดจํานวนลง ท้ังนี้คงเกิดจากศาสนาสถานมิไดถูกสราง

ข้ึนมาใหม แตก็ยังคงมีอยูเพื่อการบูรณะซอมแซมวัดวาอาราม ประกอบดวยสถานการณปจจุบันท่ีการดําเนินชีวิต ท่ีตองพึงกระแสสังคมทําใหชางพุทธศิลปตองมีอาชีพในการดํารงชีวิต ชางพุทธศิลปจึงมีจํานวนลดลง ดังนั้นการศึกษาพัฒนาการพุทธศิลปในลานนา เปนการศึกษาใหทราบและทําความเขาใจเกี่ยวกับพัฒนาการพุทธศิลปลานนา เพื่อใหทราบถึงการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง ซ่ึงเปนการสืบทอดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายในวัดและเปนการสืบทอดงานชางพุทธศิลปอีกแบบหนึ่งในระบบการศึกษาของลานนา

Page 132: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

บทที่ ๔

การสืบทอดพุทธศิลป วัดแสนเมืองมาหลวง ( หัวขวง )

การศึกษางานวิทยานิพนธเร่ือง การสืบทอดพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จังหวัดเชียงใหม เปนการศึกษาการสืบทอดงานชางพุทธศิลปลานนา ภายในวัดแสนเมืองมาหลวง วามีกระบวนการเรียนรู การสรางงาน จนมาถึงการไดรับการสืบทอดงานชางพุทธศิลปของพระภิกษุ สามเณร มีวิธีการหรือกระบวนการฝกหัดงานชางพุทธศิลปอยางไร งานชางพุทธศิลปท่ีสรางสรรคข้ึนก็คือ งานชางไม เปนงานชางไมท่ีเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา เรียกวา “งานชางพุทธศิลป” ไดแก ธรรมมาสนปาฏิโมกข ธรรมมาสนหลวงทรงปราสาท บุษบก สัตตภัณฑ อาสนาสงฆ แวนตาพระเจา ตูเทียนชัย หรือ ตูธรรม โดยมีหลวงพอ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร เจาอาวาสและเปนผูเช่ียวชาญงานชางพุทธศิลปลานนา เปนครูผูสอน นับวาทานเปนพระภิกษุสงฆรูปหนึ่งของลานนาท่ีเปน “พระชาง” หรือชาวลานนาเรียกวา “สลา” ไดสรางสรรคงานชางฝมือดานศิลปะทางพระพุทธศาสนารวมเรียกวา งานชางพุทธศิลป และไดมีการถายทอดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด เพื่อเปนอนุรักษงานชางพุทธศิลปไวใหเปนมรดกทางพระพุทธศาสนา และเปนแหลงเรียนรูของอนุชนรุนหลัง ผูวิจัยไดวางประเด็นการศึกษาดังนี้ คือ

๑. ประวัติวัดแสนเมืองมาหลวง (หวัขวง) ๒. ประวติัพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร

๓. แนวคิดของพระสงฆกับการสรางงานชางพุทธศิลป ๔. จุดมุงหมายการสรางงานและการสืบทอดงานชางพุทธศิลป ๕. กระบวนการสืบทอดงานชางพุทธศิลป ๖. การวิเคราะหผลการศึกษาในการสืบทอดงานชางพทุธศิลป ๗. ประโยชนของการสรางงานพุทธศิลปะ

Page 133: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๒๐

๑. ประวัติวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) วัดแสนเมืองมาหลวง หรือ “วัดหัวขวง” ต้ังอยูท่ี ๑๗๕ ถนน พระปกเกลา ตําบลศรี

ภูมิ อําเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม ตามท่ีบันทึกของพระมหาหม่ืน วุฑฺฒิญาโณ๑ บันทึกไวทายของตํานานพระธาตุจอมทองวา “...วัดหัวขวงเดิมเม่ือแรกสรางช่ือ วัดลักขปุราคมาราม (วัดท่ีพระเจาแสนเมืองทรงสราง)

“...ในจุลศักราช ๘๘๒ (พ.ศ. ๒๐๖๓) ตัวปมะโรง ไทยวา ปกดสี เดือน ๖ ๑๐ คํ่า พระเมืองแกวใหขุดฐานรากเจดียวัดลักขปุราคมาราม คือ วัดหัวขวง ตราบถึงเดือน ๗ ออก ๑๐ คํ่า วันอาทิตย จึงไดลงมือกอพระเจดีย ฐานกวาง ๘ วา ๒ ศอก ถึง จุลศักราช ๘๘๓ ตัว ปมะเส็ง ไทยวาปลวงใส เดือน ๑๑ ออก ๑๓ คํ่า วันพุธ ปุพสาธฤกษดาวสัปดับชาง พระเมืองแกวกับพระราชมารดา พรอมพระสงฆ ๓ คณะ มีพระราชครูเปนประธาน บรรจุพระบรมธาตุในมหาเจดียวัดลักขปุราคมาราม คือ วัดหัวขวง บัดนี้ เม่ือสรางพระเจดียเสร็จแลวทรงโปรดใหสรางคัมภีรพระไตรปฏก ไวในหอมณเฑียรธรรม ทรงโปรดใหมีการเฉลิมฉลองเปนการใหญ” ตอมาในจุลศักราช ๙๙๓ (พ.ศ. ๒๑๓๔) ปมะแมตรีศก พระเจาสุทโธธรรมราชา

(พระเจาแปร) ยกทัพมาตีเมืองเชียงใหม คร้ังนั้นมีการตอสูอยางดุเดือน วัดวาอารามหลายแหงถูกกระสุนปนใหญทําลายความเสียหายบางวัดก็ถูกทหารทําลาย เชน วัดอาภัย (ดับภัย) วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) วัดสุทธาวาส (ปจจุบันคือท่ีต้ังวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม) เม่ือพระเจาสุทโธธรรมราชาตีเชียงใหมไดแลว และกลับไปครองเมืองอังวะ ทรงคํานึงวา “ในการตีเมืองเชียงใหมนั้นทําใหวัดหลายแหงถูกทําลายเน่ืองจากการรบ สมควรไดรับการบูรณะใหกลับเปนดังเดิม” จึงทรงประทานเงินหม่ืนพันคํา ใหหัวหนาชาง ๒๐ นาย คุมคนมายังเมืองเชียงใหม และทําการบูรณะปฏิสังขรณ วัดท้ัง ๓ แหง ในชวงป พุทธศักราช ๒๑๗๗ และโปรดใหงดเก็บอากรของคลังเปนเวลา ๓ ป โดยเก็บเงินจํานวนนั้นบํารุงวัดวาอารามท่ีสําคัญ ๆ

สมัยพระเจากาวิโรรสสุริยวงค (เจาชีวิตอาว) เจาเมืองนครเชียงใหม จุลศักราช ๑๒๒๒ (พ.ศ. ๒๔๐๓) ไดนิมนตพระสฺวาธุเจาสิทธิ มาครองวัดแสนเมืองมาหลวง ไดทําพิธีแหพระสฺวาธุเจาสิทธิ ในวันพฤหัสบดี เดือนยี่ แรม ๑๓ คํ่า และไดสรางพระงาชางกับหีบพระธรรมไว เม่ือวันแรม ๔ คํ่า เดือน ๔ ในปจุลศักราช ๑๒๒๓ (พ.ศ. ๒๔๐๔) ประกาตรีศก วันพุธ เพ็ญเดือน ๕ โปรดใหมีงานฉลองพระไตรปฏก ณ วัดหัวขวง ไดมีเคร่ืองไทยทานเปนจํานวนมากท่ีนําไปถวาย เชน ชางพระท่ีนั่งใสดาวเงินกูบคํา มาพระท่ีนั่งใสเคร่ืองประดับดาวเงิน ดาบฝง

๑ตํานานจอมทองน้ี ทานพระมหาหม่ืนวุฑฒิญาโณ ปราชญโบราณลานนาไทย ไดแปลจาก

อักษรไทยยวน ไวเมื่อทานยังมีชีวิตอยูประมาณ พุทธศักราช ๒๔๖๘.

Page 134: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๒๑

ทอง ๑ เลม ดาบหลุบเงิน ๑ เลม พระพุทธรูปทองคํา ๑ องค พระพุทธรูปนาค ๑ องค พระพุทธรูปเงิน ๑ องค

สมัยพระเจานวรัฐ พระองคไดทรงสรางธรรมหาเวสสันดรชาดก และชาดกตาง ๆ ถวายไวท่ีวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) พรอมท้ังไดนิมนตพระสงฆไปเทศนาธรรมท่ีคุมทุกวันพระ

วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดรับการบูรณะคร้ังใหญใน พ.ศ. ๒๕๓๖ ไดสรางพระวิหาร บูรณะพระเจดียและจัดบริเวณตาง ๆ ของวัดใหสวยงาม สมกับเปนวัดท่ีมีความสําคัญของเมืองเชียงใหม และเพื่อรวมฉลองในวาระท่ีเมืองเชียงใหมมีอายุครบ ๗๐๐ ป ในปพ.ศ. ๒๕๓๙

วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ในอดีตจึงเปนวัดท่ีมีความสําคัญ และไดใชวัดหัวขวงประกอบพิธีการทางศาสนาของชาวเมือง เม่ือมีพิธีหลวงก็จะมาใชวัดหัวขวงประกอบพิธีกรรม หรือเม่ือมีการประชุมทหาร ชุมชุนฝกหัดทหาร รวมท้ังเปนตลาดนัดดวย

๒. ประวัติพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร

พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ฉายา ปฺญาวชิโร (เตชะปญญา) เกิดวันท่ี ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๑ ภูมิลําเนาเดิม บานเลขท่ี ๙๙ ถนนเชียงใหม – ลําพูน บานทาสะตอย ตําบลวัดเกต อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม บิดาช่ือนายเฉลิม เตชะปญญา มารดาช่ือนางสมศรี เตชะปญญา เปนบุตรลําดับท่ี ๓ ในจํานวนพี่นองท้ังหมด ๖ คน ไดแก นายทรงเดช เตชะปญญา พระจีระศักดิ์ อรุโน พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญาวชิโร นายรัฐ เตชะปญญา (ถึงแกกรรม) นางสาวยุวนุช เตชะปญญา และพระธิวากร คมฺภีรธมฺโม

บรรพชาวันท่ี ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๑ ณ วัดทุงมานใต ตําบลบานเปา อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง พระอุปชฌาย พระครูโถมนียคุณ พระกรรมวาจา พระอธิการบุญธรรม ญาณรํสี พระอนุสาวจารย พระอธิการสมบัติ ถาวรธมฺโม

ปจจุบันดํารงตําแหนงเจาอาวาส วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ถนนพระปกเกลา ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ประวัติการศึกษา - สําเร็จการศึกษาระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ โรงเรียนสิริมังคลานุสรณ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม - จบประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) วิชาชางจากโรงเรียนการชางชาย ปจจุบันคือวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม

Page 135: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๒๒

- จบการศึกษานักธรรมช้ันเอก สํานักเรียนวัดบุพพาราม ตําบลชางคลาน อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม - สภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ถวายปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาออกแบบผลิตภัณฑ ประวัติการทํางาน

พุทธศักราช ๒๕๓๐ เปนผูชวยเจาอาวาสวัดทาสะตอย พุทธศักราช ๒๕๓๐ เปนพระธรรมวิทยากรรุนท่ี ๑ ของคณะสงฆจังหวัดเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เปนประธานกอสรางเจดียวัดสันมะฮกฟา อําเภอสันกําแพง

จังหวัดเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เปนประธานกอสรางพระอุโบสถวัดปาแคโยง อําเภอสารภี

จังหวัดเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๒ เปนประธานกอสรางวิหารครูบาบุญมี วิหารโพธิสัตวกวนอิม

ศาลาบําเพ็ญบุญเจดีย ๙ ยอด วัดทาสะตอย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๔ เปนประธานกอสรางวิหารวัดบงตัน อําเภอดอยเตา จังหวัด

เชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๖ รับตําแหนงเจาอาวาส วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) อําเภอ

เมือง จังหวัดเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๖ เปนประธานกอสรางกุฏิเช่ียวสงวน กุฏิเอ่ียมแจงพันธ กําแพง

ถนนรอบวัด วางระบบไฟฟา กอสรางหองน้ํา พุทธศักราช ๒๕๓๗ เปนประธานกอสรางอุโบสถ บูรณะเจดีย พุทธศักราช ๒๕๓๘ เปนประธานกอสรางอาคารปริยัติธรรม ๒ ช้ัน พุทธศักราช ๒๕๓๙ เปนประธานกอสรางหอพระไตรปฏก พุทธศักราช ๒๕๔๑ เปนประธานกฏิุสงฆ ปญญวชิร พุทธศักราช ๒๕๔๒ เปนประธานกอสรางอาคารเรียน ๓ ช้ัน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เปนประธานสรางพระพุทธปฏิมาและพระวหิาร พุทธศักราช ๒๕๔๗ เปนประธานกอสรางกุฏิสงฆ ธีรสํวโร

Page 136: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๒๓

งานพิเศษ พ.ศ. ๒๕๓๖ – ปจจุบัน มีความต้ังใจ “จะฟนฟูองคความรูทางดานศิลปะวัฒนธรรมของลานนา ใหกลับมามีชีวิตอีกคร้ังหนึ่ง โดยเฉพาะภูมิปญญาท่ีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาซ่ึงเคยเลาเรียนศึกษากันภายในวัด โดยมีพระสงฆเปนสําคัญในการเรียนรูและถายทอดใหคงอยูสืบไป โดยเปนผูลงมือปฏิบัติเอง และสอนใหพระภิกษุสามเณรภายในวัดสนใจในการสืบทอด ประวัติการสรางสรรคงานชางพุทธศิลปของพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญาวชิโร

ชีวิตในวัยเด็กของทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญาวชิโร ผูกผันกับวัดและดําเนินชีวิตอยูกับวัดเหมือนกับเด็ก ๆ ท่ัวไป ในสมัยกอนของลานนานั่นคือ การเขาไปเปน “ลูกศิษยวัด” หรือ “ขโยม” ท่ีตองคอยปรนนิบัติครูบาอาจารยเรียนหนังสือและอักษรพื้นเมืองจนชํานาญ ซ่ึงวัดนั้นถือไดวาเปนแหลงรวมสรรพวิชา ทุกคนตางตองแสวงหาเพ่ือประโยชนกับตัวเองไมวาจะเปน การเรียน การฝมือ งานชางประเภทตาง ๆ ซ่ึงในวัยเด็กของทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญวชิโร ก็มีชีวิตเชนเดียวกัน เม่ือทานมีอายุไดประมาณ ๑๐ ขวบ ทานไดเขาเปนลูกศิษยวัดทาสะตอย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ในสมัยนั้นทานพระครูวิมลวรเวทย (ครูบาบุญมี) ดํารงตําแหนงเจาอาวาส ทานไดเรียนรูการทํางานชางไม ซ่ึงในแตละวัด พระ พอหนาน พอนอยจะเปนท่ีคอยซอมแซม และสรางเคร่ืองไมตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับศาสนา เชน ธรรมมาสนหลวง อาสนะ จองสูตร หีบธรรม เปนตน ทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญวชิโร ก็ไดฝกหัดการเปนชางไมมาต้ังแตเด็ก ๆ จนมีฝมือดีและงานท่ีทําออกมามีความโดดเดนสวยงามมาก

งานชางเปนส่ิงท่ีไดรับการฝกฝนมาจากระบบการศึกษาภายในวัดเม่ือคร้ังอดีต หลวงพอพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ไดเล็งเห็นวา ปจจุบันกระบวนการเรียนรูดังกลาวกําลังจะหายไปจากวัด จึงไดพยายามรักษาหลักการดังกลาว ดวยการนําพระภิกษุ สามเณรในวัดใหเขาไปมีสวนรวมในการกอสรางทุกอยาง ท้ังกุฏิสงฆ หอพระไตรปฏก ศาลาบําเพ็ญบุญ วิหาร เพื่อมุงใหเกิดกระบวนการเรียนรูท่ีเปนประสบการณตรงจากการปฏิบัติจริงเปนเวลากวา ๑๐ ป นับต้ังแตดํารงตําแหนงเจาอาวาสจนถึงปจจุบัน ดวยมุงหวังใหไดพระภิกษุ สามเณร ท่ีเปนดอกผลแหงการเรียนรู ท่ียังไดเห็นคุณคา

ปจจุบันวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดมีการสงเสริมการเรียนรูตาง ๆ อาทิ ชางไม ชางกอสราง และชางออกแบบลายไทยและลานนา ชางเขียนแบบลายไทยและลานนา

Page 137: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๒๔

๓. แนวคิดของพระสงฆกับการสรางงานชางพุทธศิลป พระสงฆในพระพุทธศาสนา หมายถึง หมูพระสาวกผูประพฤติปฏิบัติตามหลักคํา

สอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา พระอัญญาโกณฑัญญะทรงเปนปฐมสังฆมณฑล ภายหลังไดมีพระสาวกเพิ่มข้ึนเปนจํานวนมาก และพระสาวกเหลานั้น ไดมีบทบาทตอการเผยแผพระพุทธศาสนา ดังพระพุทธดํารัสวา “ภิกษุท้ังหลาย พวกเธอจงจารึกไป จงแสดงธรรมท่ีงามในเบ้ืองตน งานในทามกลาง และงามในท่ีสุด เพื่อประโยชนเกื้อกูลและความสุขแกทวยเทพและมนุษยท้ังหลาย”๒ โดยเฉพาะพระอัครสาวก คือ พระสารีบุตรเถระภิกษุผูเปนเลิศในทางมีปญญามาก และพระมหาโมคคัลลานะเถระภิกษุผูเปนเลิศในทางมีฤทธ์ิมาก อัครสาวกผูมีบทบาทและเปนกําลังหลักของสังฆมลฑลในการประกาศพระพุทธศาสนา

อีกบทบาทหนึ่งของพระมหาโมคคัลลานะเถระ คือการสรรคสรางงานชางพุทธศิลป เรียกวา “นวกัมมาธิฏฐายี” แปลวา ผูอํานวยการกอสราง ดั่งพระมหาเถระไดรับหมอบหมายจากพระพุทธองคใหเปนผูอํานวยการกอสรางวัดบุพพาราม ท่ีนางวิสาขามหาอุบาสิกาสรางถวายใหกับคณะสงฆ โดยมีพระพุทธองคเปนประธานสงฆ ณ กรุงสาวัตถี ตอมาไดมีพระภิกษุสงฆท่ีสามารถสรางสรรคงานชางแขนงตาง ๆ หรืองานกอสรางเสนาสนะ รวมเรียกวา “นวกรรม” แปลวา การกอสราง

“พระนวกรรม” ในอดีตท่ีมีสามารถกอสรางเสนาสนะตาง ๆ ตางก็ทํางานเฉพาะของตน ไมมีการสืบทอดฝมือใหกับลูกศิษย ตอมามีชางชุนผาเข็ญใจกลาวตําหนิพระนวกรรมวาไมมีใครอบรมส่ังสอนในงานกอสราง ดั่งปรากฏในพระไตรปฏกวา๓

คร้ังนั้น พระผูมีพระภาคประดับอยู ณ กรุงราชคฤหตตามพระอัธยาศัยแลวเสด็จจาริกไปทางกรุงเวสาลี เสด็จจาริกไปโดยลําดับ จนถึงกรุงเวสาลี ทราบวาพระผูมีพระภาคประทับอยู ณ กูฏาคารศาลาปามหาวัน ในกรุงเวสาลีนั้น

สมัยนั้น คนท้ังหลายทํานวกรรมอยางกระตือรือรน อุปฏฐากภิกษุท้ังหลายผูดําเนินงานกอสรางดวยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปจจัยเภสัชบริขารโดยเคารพ คร้ังนั้น ชางชุนผาเข็ญใจคนหนึ่งไดมีความคิดดั่งนี้วา “การทํานวกรรมน้ีไมใชของตํ่าตอย เพราะคนท้ังหลายชวยกันทํานวกรรม ทางท่ีดีเราพึงชวยทํานวกรรมบาง” ลําดับนั้น ชางชุนผาเข็ญใจจึงขยําโคลนกออิฐต้ังฝาผนังข้ึน แตฝาผนังท่ีกอดวยความไมชํานาญคต จึงพังทลายลงมา

แมคร้ังท่ี ๒ ชางชุนผาเข็ญใจจึงขยําโคลนกออิฐต้ังฝาผนังข้ึน แตฝาผนังท่ีกอดวยความไมชํานาญคต จึงพังทลายลงมา

๒วิ.ม. (ไทย) ๔/๔๐/๓๒.. ๓ วิ.จู.(ไทย) ๗/๑๑๙/๓๐๘.

Page 138: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๒๕

แมคร้ังท่ี ๓ ชางชุนผาเข็ญใจจึงขยําโคลนกออิฐต้ังฝาผนังข้ึน แตฝาผนังท่ีกอดวยความไมชํานาญคต จึงพังทลายลงมา

คร้ังนั้น ชางชุนผาเข็ญใจนั้นตําหนิ ประณาม โพนทะนาวา “พวกพระสมณะเช้ือสายศากยบุตรอบรมส่ังสอนแตพวกท่ีถวายจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปจจัยเภสัชบริขาร อํานวยการทํานวกรรมแกคนพวกนั้น สวนเราเปนคนเข็ญใจไมมีใครอบรมส่ังสอน ไมมีคนอํานวยการทํานวกรรมให”

ภิกษุท้ังหลายไดยินชางชุนผาเข็ญใจนั้นตําหนิ ประณาม โพนทะนา จึงนําเร่ืองนี้ไปกราบทูลพระผูมีพระภาคใหทรงทราบ

ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคทรงแสดงธรรมีกถาเพราะเร่ืองนี้เปนตนเหตุ รับส่ังกับภิกษุท้ังหลายวา “ภิกษุท้ังหลาย เราอนุญาตใหภิกษุ ใหนวกรรมได ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุนักทํานวกรรมตองขวนขวายวา “ทําอยางไรหนอวิหารจึงจะสําเร็จไดเร็ว” “ตองปฏิสังขรณเสนาสนะท่ีทรุดโทรม”

จากพุทธดํารัสดังกลาว เปนแนวคิดเร่ิมแรกของพระภิกษุในการกอสรางหรืองาน นวกรรม รวมถึงการอนุญาตใหมีการสั่งสอนหรือสืบทอดงานกอสรางหรืองานนวกรรมนั้น การกอสรางหรืองานนวกรรมของพระภิกษุสงฆคงมีการสอนวิธีการทํานวกรรม ใหกับพุทธบริษัทท่ีสนใจงานนวกรรม ท้ังนี้งานนวกรรมตาง ๆ คงมีอยูเปนจํานวนมาก เพราะจํานวนพระภิกษุในพระพุทธศาสนามีจํานวนมาก พระภิกษุท่ีเขามาบวชก็มีหลากหลายวรรณะ ไมวาจะเปนกษัตริย พราหมณ แพศย ศูทร จัณฑาล นักบวชนอกศาสนา หรือกลุมสกุลชางตาง ๆ พระภิกษุกลุมสกุลชางเหลานี้ก็คงมีสอนนวกรรมเหลานั้นดวย เพื่อการซอมแซมทํานุบํารุงเสนาสนะ

การให นวกรรมหรือการกอสรางของพระภิกษุสงฆ ก็คงไดรับการสืบทอดงานชางมาจึงปจจุบัน นอกจากนี้ยังเปนอีกบทบาทหนึ่งของพระภิกษุสงฆท่ีเผยแผและสืบตอพระพุทธศาสนา๔ อดีตจะพบบทบาทของพระภิกษุสงฆในการสงเคราะห เกื้อกูลตอสังคมและชุมชน ดังเสฐียรโกเศศ

กลาววา “นอกเหนือไปจากเร่ืองศาสนาแลว พระสงฆยังเปนชาง เปนหมอยา หมอดู หมอเวทมนต ตลอดจนเปนตุลาการตัดสินขอพิพาทบาดหมางกัน” ความเปนชางของพระสงฆก็คือการใหนวกรรมภายหลังการกอสรางไดรับความเอาใจใส จินตนาการและความประณีตในการสรางสรรค เรียกวาเปนงานศิลปะ

การเรียนการสอนศิลปะแขนงตาง ๆ ในอดีตลวนเกิดข้ึนภายในวัด โดยมีพระภิกษุสงฆเปนผูสอน ดังศาสตราจารยโชติ กัลยาณมิตร ไดกลาววา “ในอดีตนั้นวัดเปนศูนยกลางของสมาคม (ชุมชน) ...เปนท่ีปูพื้นฐานทางศิลปะ เปนแหลงใหเกิดการสรางสรรคในทางศิลปะสําคัญ”

๔บทสัมภาษณ หลวงพอพระเทพวรสิทธิจารย. รองเจาคณะจังหวัดเชียงใหม และเจาอาวาสวัดพระ

ธาตุดอยสุเทพ วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๙.

Page 139: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๒๖

และมีคํากลาววา “วัดเปนผูสรางศิลปะและเปนผูสืบตอศิลปะ” หมายถึง วัดเปนสถานท่ีสรางศิลปะ โดยมีพระภิกษุสงฆเปนผูสรางสรรคและไดถายทอดงานศิลปะใหกับลูกศิษยหรือคนในชุมชน ดั่งมีคํากลาววา “ชุมชนใดไมมีวัดชุมชนนั้นไมมีพัฒนาการในดานศิลปะ” ดังนั้นวัดนอกจะเปนสถานศึกษาเลาเรียน ไดแก การเลาเรียนพระธรรมวินัย การทองบทสวดมนต ตลอดถึงการฝกหัดการเทศน สวนเวลาท่ีเหลือจากการศึกษาฝกฝนเบ้ืองตนพระสงฆก็ใชไปในการสราง นวกรรมหรือ การฝกหัดงานชาง ไมวาจะเปนชางหลอ ชางไม ชางเขียน ชางเกะสลัก เปนตน วิชาท่ีไดศึกษาในระหวางการบวชเชนนี้ ยอมจะเปนประโยชนในการประกอบอาชีพ เม่ือไดสิกขาลาเพศไป หรือมีโอกาสในการสรางสรรคงานชางศิลปะภายในวัด ท้ังท่ีเปนการซอมแซมศาสนสถาน ศาสนวัตถุ หรือจะเปนสรางงานศิลปะข้ึนมาใหม เพื่อเปนการใชสอยกิจกรรมภายในวัด เชน กุฏิ วิหาร ศาลาการเปรียญ ธรรมมาสนปาฏิโมกข อาสนาสงฆ ตูธรรม เปนตน รวมเรียกงานศิลปะเหลานี้วา “งานพุทธศิลป” คืองานพุทธศิลปะทางพุทธศาสนา๕ พระภิกษุผูสรางนวกรรมหรือผูมีฝมือทางชาง เรียกวา “พระชาง” ความเปนพระชาง อดีตจึงเปนพระภิกษุสงฆเสียสวนมาก ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิ ปราโมช ไดแบงหมวดหมูของชางฝมือ ออกเปน ๓ ประเภท คือ

๑. ชางหลวง หรือชางราชการ ๒. ชางเชลยศักดิ์ คือชางท่ีใชชีวิตอิสระ สรางสรรฝมือดวยตนเอง แตถามี

ฝไมลายมือก็มักจะถูกเกณฑใหเปนชางหลวง ๓. ชางศาสนา ไดแก ชางท่ีอยูในภิกษุภาวะ การสรางสรรศิลปกรรมข้ึนไวเปนพุทธ

บูชา ปรากฏชางท่ีเปนพระภิกษุ เชน พระอาจารยนาก วัดทองเพลง จิตรกรผูสรางสรรควัดระฆังโฆสิตาราม อุโบสถวัดราชสิทธาราม หรือ “ขรัวอินโขง” เปนพระภิกษุชาวเพชรบุรี วัดเลียบ (วัดราชบูรณะ) ผลงานยังมีเหลืออยู เชนท่ีวัดบวรนิเวศ วัดบรมนวิาส

การสรางงานพุทธศิลป ของพระภิกษุสงฆในระยะตอมาไดถือเปน ระบบการศึกษา ของชุมชน โดยอาศัยวัดเปนสถานศึกษา และพระภิกษุสงฆเปนครูผูสอน มีท้ังการสอนการอาน การเขียน การทอง และสอนความรูทางพระพุทธศาสนา ดานศีลธรรม จริยธรรม นอกจากนี้แลวยังมีการสอนวิชาชีพ เฉพาะดานงานชางฝมือ เปนการศึกษาโดยใชเวลาวางจากการเรียนปรกติมาศึกษางานวิชาชีพ ดังเสฐียรโกเศศ กลาววา “คราวนี้ใหเรามองอีกแงหนึ่งคือ แงศิลป เชน สถาปตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ดุริยางคศิลป วรรณคดี และนาฏศิลป ในสมัยโบราณส่ิงเหลานี้อาจจะหาดูไดก็แตในวัดเปนสวนใหญ และบอเกิดแหงศิลปท่ีวานี้ก็คือ มาจากวัดท้ังโดยตรงและโดยปริยาย ท่ีวาโดยตรงก็เพราะพระทานมีเวลาวางอยูบาง ไมตองกังวลเร่ืองทํามาหากิน ทาน

๕บทสัมภาษณ อาจารยยุพิน เข็มมุกต. คณาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม. วันที่ ๒๔ ตุลาคม

๒๕๔๙.

Page 140: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๒๗

ก็ฝกฝนเร่ืองชางเร่ืองศิลปไปในตัว” เม่ือพระทานมีความชํานาญดานชางฝมือแลว ก็คงมีการสอน การถายทอดงานชางฝมือใหกับลูกศิษยภายในวัด ท้ังท่ีเปนพระภิกษุสามเณร และเด็กวัด การสอนวิชาชีพของพระภิกษุสงฆเหลานี้ ดั่งอรุณรัตน วิเชียรเขียว ไดแบงการศึกษาวิชาชีพของพระสงฆไวดังนี้ คือ

๑. วิชาชีพเบ้ืองตน ไดแก การเย็บซอมเส้ือผาจีวร เคร่ืองนุงหม การทําไมกวาดเพื่อใชในวัด การทําขลุย การทํารมใชกับพระในฤดูฝน การทําบองไฟ วิธีการผสมบองไฟ เพื่อใชในพิธีกรรมหรืองานเทศกาล การเผาอิฐในการกอสราง การทํากลอง การทําตูพระไตรปฏก การวาดภาพผนังอุโบสถ หรือการจักสานเคร่ืองใชในชีวิตประจําวัน

๒. วิชาชีพช้ันสูง เปนวิชาท่ีตองใชเวลาฝกหัดนานกวาถึงจะชํานาญ หรือมีความเช่ียวชาญ แตเม่ือเรียนจบหลักสูตรแลว สามารถนําไปประกอบอาชีพได อันไดแก วิชาการแพทยโบราณ วิชาการกอสราง เชน สรางปราสาทหรืองานสรางกุฏิวิหาร บานเรือน วิชาโหราศาสตร วิชาทําฉาบปูนปน หรือการแกะสลักพระพุทธรูป

การศึกษาวิชาชีพเหลานี้ มีวิธีการสืบทอดคือ พระภิกษุ สามเณรก็จะเปนลูกมือพระอาจารยชางเหลานั้น ทําการฝกหัดจนชํานาญ เม่ือใชงานไดก็สามารถเปนอาชีพติดตัวไปเปนอาชีพได เชน ฝกหัดงานชาง ไดแก ชางหลอ ชางไม ชางเขียน ชางเกะสลัก นอกจากนี้ก็อาจศึกษาตําราพิชัยสงครามสําหรับกุลบุตรเจานาย๖ การฝกหัดงานอาชีพภายในวัดของพระภิกษุ สามเณร สามารถนําไปเปนเปนอาชีพได ดังเสฐียรโกเศศ กลาววา “ถาบวชอยูนานหนอยตองชวยงานของวัด เชน ซอมแซมเสนาสนะของวัดบาง การเสมียนบาง การหมอบาง ทําจนมีความชํานาญ เม่ือสึกออกมาก็กลายเปนอาชีพติดตัวไปดวยก็มี....แตท้ังนี้เปนไปตามใจสมัคร หรือถาไมสมัคร เพราะตองการเรียนวิชาชีพเปนเฉพาะ เชน โหราศาสตร คณิตศาสตร แพทย ชางวาดเขียนหรือชาง อ่ืน ๆ ดวย ตามความสนใจ” ดังนั้นจะเห็นไดวาการศึกษาภายในวัดแตละวัดสามารถเปนโรงเรียนสารพัดชาง๗ หรือเปนมหาวิทยาลัยคณะตาง ๆ ได เชน

เรียนอักขระ การเขียน เปนคณะอักษรศาสตร เรียนตํารายา เปนคณะเภสัช หรือแพทยศาสตร เรียนชางไม ชางปูน ชางปน เปนคณะวศิวกรรม หรือสถาปตยกรรม เรียนโหราศาสตรคณิตศาสตร เปนการเรียนทางดาราศาสตร เพื่อรูการโคจรของ

๖วัดไทยภูมิแผนดินไทย ๓. บริษัทไทยประกันชีวิต จํากัด, หนา ๕๕. ๗พระครูอดุลสีลกิตต์ิ. การศึกษาของสามเณรและพระภิกษุหลังการบวช. ในหนังสือประวัติศาสตร

พุทธศาสนาในลานนา ฉบับ ๗๓๕ ป พระบรมธาตุดอยสุเทพ. พิมพครั้งที่ ๑ . เชียงใหม โรงพิมพแสงศิลป. ๒๕๔๙, หนา ๒๓๔ – ๒๓๕.

Page 141: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๒๘

ดวงดาวตามราศี หรือตําราดูดาวตาง ๆ ปจจุบันไดมี “งานพุทธศิลป” อยูแขนงหน่ึงคือ งานชางไม เปนงานชางท่ีเกี่ยวของ

และใชในกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ไดแก ธรรมมาสนปาฏิโมกข ธรรมมาสนหลวงทรงปราสาท บุษบก สัตตภัณฑ อาสนาสงฆ ตูเทียนชัย หรือ แวนตาพระเจา ณ วัดแสนเมืองมาหลวง เปนงานพุทธศิลปท่ีสรางสรรคข้ึนดวยพระสงฆ คือ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร พระภิกษุผูเช่ียวชาญงานชางไม นอกจากนั้นแลวยังมีการฝกหัดงานชางฝมือเหลานี้ใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายในวัดใหเปนผูสืบทอดงานชางพุทธศิลป เพื่อมิใหงานพุทธศิลปสูญหายไปกับกาลเวลา และเปนการสรางชางพุทธศิลปรุนใหมใหมาทดแทนชางรุนเกา ท่ีนับวันจะหายาก โดยเฉพาะ “พระชาง” ผูท่ีมีความรูทางงานชางและสามารถสรางสรรคงานชางพุทธศิลป

๔. จุดมุงหมายการสรางและการสืบทอดงานชางพุทธศิลป

การสืบทอดงานชางพุทธศิลป ภายในวัดแสนเมืองมาหลวง ไดมีจุดมุงหมาย ในการเรียนรูและฝกหัดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ – สามเณร มีอยู ๓ ประเด็น คือ

๑. เพื่อเปนพุทธบูชา กลาวคือ งานชางพุทธศิลปมีหลากหลายสาขา กลุมชางพุทธศิลปไดสรางสรรคข้ึน เพื่อการสืบทอดพระพุทธศาสนา โดยอาศัยงาน “พุทธศิลป” เปนส่ือกลางระหวางบุคคลในการเขาถึงแกนพุทธธรรม ดังนั้นการสรางสรรคของชางพุทธศิลป จึงถายทอดอารมณของชางพุทธศิลปไดมากท่ีสุด สามารถบงบอกถึงความนุมนวล ออนชอย ความคงตัว ท่ีหมายถึง ความสงบ ความสวาง ตามหลักคําส่ังสอน โดยมีศรัทธา เปนตัวเช่ือมของการสรางงานชางพุทธศิลป

๒. เพื่อการศึกษาพุทธศิลป งานชางพุทธศิลปท่ีสรางสรรคข้ึน มีหลายรูปแบบ หลายขนาด และสรางข้ึนตามประโยชนการใชสอย การศึกษาพุทธศิลปจึงเปนการเรียนรูถึงประวัติความเปนมาของงานพุทธศิลปท่ีสรางข้ึนวา สรางข้ึนเพื่ออะไร มีประโยชนอยางไร มีรูปแบบอยางไร หรือสามารถสรางรูปแบบข้ึนใหมไดหรือไม การเรียนรูลักษณะนี้ เปนการสรางความรูพื้นฐานใหกับพระภิกษุ สามเณร ท่ีรวมฝกหัดงานชางพุทธศิลป การศึกษาพุทธศิลปนี้สามารถสอบถามจากหลวงพอ จากครูอาจารยหรือศึกษาเรียนรูจากหนังสือ

๓. เพื่อเอาพุทธศิลปกลับเขามาสูวัด พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ไดปรารภกับพระภิกษุ สามเณร ท่ีรวมฝกหัดงานชางพุทธศิลปเสมอวา “ตองการเอางานชางพุทธศิลป” กลับเขามาสูการเรียนรูภายในวัด โดยมีพระภิกษสุงฆเปนครูส่ังสอน ทังนี้ในอดีตงานชางพุทธศิลปแผนกตาง ๆ จะไดรับการเรียนรูเฉพาะภายในวัดเทานั้น ตอนทานเปนเด็กวัดและสามเณร หลวงพอก็ไดรับการฝกหัดงานชางพุทธศิลปมาจากวัดเชนกัน แตปจจุบันงานชางพุทธศิลปไดมาเปน

Page 142: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๒๙

สินคาท่ีตีความสามารถ ความสวยงาม ความศรัทธาออกเปน “ราคา” ท่ีหาซ้ือขายกันไดตามทองตลาด ดังนั้นความพยายามใหองคความรูทางชางพุทธศิลปข้ึนในวัด และมีการฝกหัดใหกับพระภิกษุ สามเณร จึงเปนการสืบทอดงานชางใหคงอยูกับวัด ถึงแมการสรางงานชางพุทธศิลปจะเปนกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนในวัด

๕. กระบวนการสืบทอดงานชางพุทธศิลป การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) เปนการสืบทอดงานแขนงวิชางานชางไม โดยมีทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร เปนครูผูสอน และมีพระภิกษุ – สามเณร – ศิษยวัด เปนผูรับการถายทอด จากการศึกษาพบวาการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดมีกระบวนการสืบทอดคือ

๑. ไมมีหองเรียนเรียน กลาวคือ เปนการเรียนรูแบบไมมีการวางแผน ไมมีการจัดต้ังเปนหองเรียน เปนการเรียนรูไปพรอมกับการสรางงาน พึงอาศัยความเคยชินกับการทํางานและการสังเกตุจากการทํางานรวมกับพระอาจารย

๒. เปนไปตามธรรมชาติ เปนการเรียนรูตามความสนใจของผูเรียน กลาวคือ จํานวนพระภิกษุ สามเณร ในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) มีถึง ๒๐ รูป แตพระภิกษุ สามเณร ท่ีสนใจและเขารวมฝกหัดงานชางไมแตละรุนประมาณ ๕ – ๖ รูป และจะมีพระภิกษุ สามเณร ท่ีรวมฝกหัดงานชางอ่ืน ๆ อีกสวนหนึ่ง เชน ชางตอง ท้ังตองกระดาษและแผนสังกะสี หรือการปดทอง ท้ังนี้เวลาในการฝกหัดก็ใชเวลาหลังเลิกเรียนหรือเปนวันเสาร – อาทิตย

๓. ศรัทธาและแรงจูงใจ การสรางงานชางพุทธศิลปของพระอาจารยท่ีแสดงออกมาดวยความสวยงาม ความปราณีต และบงบอกถึงสัญญาลักษณและความหมาย เปนแรงจูงใจใหกับพระภิกษุ – สามเณรใครเรียนรูและอยากมีความสามารถสรางสรรคงานชางพุทธศิลป ดังนั้นความศรัทธาในตัวพระอาจารย และงานฝมือของพระอาจารยจึงเปนแรงจูงใจใหพระภิกษุ – สามเณรในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) สนใจและต้ังใจสืบทอดงานชางพุทธศิลป

๔. บรรยากาศการเรียนรู ในการสรางงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) เปนการสรางงานท่ีเรียกวาเรียนไปดวยและสนุกไปดวย เพราะระหวางสรางงานนอกจากจะเปนเวลาแหงการเรียนรูแลว ยังเปนเวลาแหงการพูดคุย สรางความคุนเคย เรียนรูนิสัยใจคอรวมกัน ไขปญหารวมกันไมวาจะเปนระหวางพระภิกษุ – สามเณรดวยกันเอง หรือระหวางพระอาจารยและลูกศิษยดวย

นอกจากนั้นจากการศึกษาพบวายังมีปจจัยท่ีสงผลตอการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) คือ

Page 143: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๓๐

๑. ปจจัยภายใน พบวาปจจัยท่ีสงผลตอการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ท่ีสงผลตอความสําเร็จของพระภิกษุ – สามเณร คือ

๑.๑ ความสนใจของพระภิกษุ – สามเณร ท่ีมีตองานชางพุทธศิลปและใครเรียนรูรวมกับพระอาจารย

๑.๒ งานฝมือของพระอาจารย ดังท่ีทราบพระอาจารยเปนผูเช่ียวชาญงานชางพุทธศิลป ผลงานท่ีแสดงออกมามีความสวยงาม มีความปราณีต ในผลงานดานฝมือของพระอาจารยทําใหพระภิกษุ-สามเณร สนใจท่ีท่ีจะเขารวมฝกหัดและสืบทอดงานชางพุทธศิลป

๑.๓ บุคลิกของพระอาจารยโดยลักษณะของทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ถาไมไดสัมผัสตัวตนของพระอาจารยแลว จะไมรูบุคลิกอีกดานหนึ่งของทาน พระอาจารยเปนคนพุดหนักแตใจดี เมตตากับลูกศิษยเสมอ นอกจากนั้นแลวพระอาจารยยังเปนนักเลาช้ันเยี่ยมและมีอารมณขันในเวลาฝกหัดงานชางพุทธศิลปดวย

๑.๔ การสรรเสริญของอาจารย เม่ือการสรางงานสําเร็จแลว พระอาจารยจะเปนพูดกับผูพบเห็นเสมอวาเปนผลงานของลูกศิษยคนโนน คนนี้เสมอ มิไดบอกวาเปนผลงานของพระอาจารย จากลักษณะดังกลาวทําใหลูกศิษยรักและเคารพในตัวพระอาจารย และสรางความม่ันใจในการสรางงานและพัฒนาฝมืออยูเสนอ

จากปจจัยดังกลาว ทําใหพบวาการฝกหัดงานชางพุทธศิลปอันเปนลักษณะการสืบทอดงานงานชางรวมกับพระอาจารย ไดสรางกระบวนการเรียนรูใหกับลูกศิษย เปนอยางมาก นอกจากนั้นพบวายังมีปจจัยภายนอกท่ีสงผลตอการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)คือ

๒. ปจจัยภายนอก พบวาปจจัยท่ีสงผลตอกการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ท่ีสงผลตอความสําเร็จของพระภิกษุ – สามเณรคือ

๒.๑ อุปกรณ – เคร่ืองมือชาง การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ท่ีประสบผลสําเร็จพบวามีความพรอมทุกดาน รวมท้ังอุปกรณเคร่ืองไมเคร่ืองมือดวย รวมถึงการใชเคร่ืองมือท้ังเกาและแบบสมัยใหมผสมผสานกันอยางลงตัว ทําใหการเรียนรูไมขาดตอน และคิดงาน สรางงานไดตลอดเวลา

๒.๒ อุดมการณในการสรางงาน ผลงานในการสรางงานชางพุทธศิลปของวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) มิไดกําหนดเปนมูลคาในผลงานช้ินนั้น ๆ แตผลงานตาง ๆ พระอาจารยจะถวายไวกับวัดตาง ๆ ท่ีสนใจ และมองเห็นคุณคาในผลงานของวัดแสนเมืองมาหลวงหัวขวง เชนถวายกับวัดโลกโมลี วัดเวฬุวัน หรือแมกระท่ังถวายไวในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

Page 144: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๓๑

ดังนั้นกระบวนการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) เปนกระบวนการเรียนรูมาต้ังแตอดีต หรือท่ีเรียกวาการเรียนตามอัธยาศัย ท่ีตองการศรัทธา ความใครรูและประสบการณ ฝมือของอาจารยท่ีถายทอดใหกับลูกศิษย นอกจากนั้นแลวเจตคติในการสรางงานชางพุทธศิลปและมองคุณคาของงานชางพุทธศิลปท่ีแสดงออกจากศิลปะท่ีรับการถายทอดและสืบทอดในวดัแสนเมืองมาหลวง (หวัขวง)

๖. การวิเคราะหผลการศึกษาในการสืบทอดงานชางพุทธศิลป การศึกษางานวิจัย การสืบทอดพุทธศิลปลานนา กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จังหวัดเชียงใหม ซ่ึงในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดดําเนินกิจกรรมการฝกหัดงานชางพุทธศิลป แขนงงานชางไม โดยมีพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร เจาอาวาส เปนครูผูสอนใหกับพระภิกษุ สามเณร ในวัด โดยกิจกรรมการฝกหัดงานชางพุทธศิลปในวัดเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชน อนึ่งทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ทานเปน “พระชาง” ท่ีเช่ียวชาญงานชางไม โดยเฉพาะงานชางไมท่ีเกี่ยวของกับพุทธศิลป และไดส่ังสอนฝกหัดใหพระภิกษุ สามเณร ไดรับการสืบทอดงานชางแขนงนี้ใหอยูคูกับบวรพุทธศาสนา จากการศึกษาไดพบประเด็นการถายทอดของทานพระอาจารยและการสืบทอดของพระภิกษุ สามเณร ในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) คือ ๑. ความเช่ียวชาญหรือฝมืองานชางของพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ท่ีทานไดรับการฝกหัดมาตั้งแตวัยเด็ก และไดรับการศึกษาจากโรงเรียนการชางชายหรือวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม ทานพระอาจารยไดพัฒนาฝมืองานชางไม แขนงงานชางพุทธศิลปในขณะดํารงสมณเพศ ภายหลังไดรับตําแหนงเจาอาวาสวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดนําพระภิกษุ สามเณร บูรณะซอมแซม ศาสนาโบราณศาสนาวัตถุในวัดไมวาจะเปน พระวิหาร อุโบสถ หอฉัน ศาลาการเปรียญ โดยความท่ีพระอาจารยมีความรูทางการชางอยูแลวจึงเปนผูออกแบบ กําหนดรูปแบบพุทธศิลป บางเวลาก็นําพระภิกษุลงมือกอสรางดวยตนเอง รวมถึงการถายทอดงานชางไมทางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณรท่ีสนใจ ไดรับการสืบทอดจากพระอาจารยอีกแขนงหนึ่ง ๒. ความสนใจของพระภิกษุ สามเณร ในวัดแสนเมืองมาหลวงรับอุปถัมภพระภิกษุ สามเณร ประมาณ ๒๐ รูป เขาจําพรรษาเพื่อเลาเรียนศึกษาพระปริยัติธรรมและมหาวิทยาลัยสงฆนอกจากนั้นแลวการศึกษาภายในวัดก็มี เชนการสอนนักธรรมบาลี และการเปดสอนงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ท่ีสนใจงานชางพุทธศิลป จากการลงพื้นท่ีพบวามีพระภิกษุ สามเณร ท่ีสนใจจํานวน ๘ รูป ท่ีฝกหัดงานชางพุทธศิลปรวมกับพระอาจารย

Page 145: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๓๒

๓. กระบวนการศึกษา การฝกหัดงานชางพุทธศิลปไดเปนกระบวนการศึกษาของไทยในอดีต ท่ีวัดเปนโรงเรียนของชุมชน เด็กๆ ท่ีอายุครบก็บวชเปนพระภิกษุ สามเณร เพื่อรับการศึกษา เจาอาวาสเช่ียวชาญเร่ืองใดเปนพิเศษก็จะสอนเร่ืองนั้น ๆ ใหลูกศิษย ดังวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) พระอาจารยเช่ียวชาญเร่ืองงานชางไมก็สอนงานชางไมใหกับลูกศิษยเชนกัน อนึ่งการฝกหัดงานชางพุทธศิลปยังเปนกระบวนการศึกษาท่ีเรียกวา เรียนตามอัธยาศัย เพราะไมไดบังคับแตอยางใด ๔. อุดมการณสืบทอดและอุดมการณสรางงาน พระอาจารยไดกลาวกับผูศึกษาวาตองการเอางานชางพุทธศิลปกลับเขามาสูวัดและกับเขามาสูการศึกษาภายในวัดอีกคร้ัง ซ่ึงในการศึกษาในปจจุบันไดแยกการศึกษาออกจากวัด และทําใหวัดมีบทบาทเพียงเปนสถานท่ีทําบุญและเปนท่ีอาศัยของพระภิกษุ สามเณร เทานั้น ดังนั้นการฝกหัดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จึงเปนการเปดหองเรียนธรรมชาติอีกคร้ังหนึ่ง อนึ่งในการสรางงานชางพุทธศิลปพระอาจารยมิไดมองมูลคาของงานน้ัน ๆ แตมองเห็นคุณคาของช้ินและความหมายที่แสดงออกมาเปนงานชางพุทธศิลป ดังนั้น ผลความสําเร็จการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)เร่ิมตนจากครูชาง คือทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ท่ีมีความเช่ียวชาญในถายทอดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ท่ีสนใจโดยผานการบวนการเรียนรูตามธรรมชาติและบรรยากาศการฝกหัดงานชางพุทธศิลป ท่ีคร้ังหนึ่งผูศึกษาไดเขารวมฝกหัดรวมกับพระอาจารยและพระภิกษุ สามเณร ในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ๗. ประโยชนของการสรางงานพุทธศิลปะ

การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง เปนการสืบทอดงานชางฝมือ แผนกงานชางไม โดยหลวงพอ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ผูเช่ียวชาญงานชางไมและเปน “พระชาง” (ชาวลานนา เรียกวา สลา) ทานไดสรางงานศิลปทางพระพุทธศาสนา รวมเรียกวา งานชางพุทธศิลป ท่ีในปจจุบันหาไดยาก ยิ่งแลวเปนงานชางท่ีสรางสรรคข้ึนโดยพระภิกษุสงฆก็หายากยิ่ง งานพุทธศิลปท่ีสรางข้ึนก็คือ ธรรมมาสนปาฏิโมกข ธรรมมาสนหลวง บุษบก สัตตภัณฑ อาสนาสงฆ แวนตาพระเจา ตูเทียนชัย หรือ ตูธรรม งานพุทธศิลปเหลานี้สรางสรรคข้ึนเพื่อเปนพุทธบูชาและเปนศาสนวัตถุท่ีใชสอยในกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา

การสรางงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง ไดมีการสืบทอดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ดวยการเขารวมฝกหัดงานชางไมใหมีความรู มีทักษะในการสรางงานชางพุทธศิลป การฝกหัดงานชางไมภายในวัด เปนการใชเวลาหลังจากเลาเรียนศึกษาทาง

Page 146: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๓๓

พระพุทธศาสนาหรือการใชเวลาวางของพระภิกษุ สามเณร เพื่อเปนการอนุรักษและฟนฟูงานชางพุทธศิลปใหเปนมรดกทางพระพุทธศาสนา และใหเปนแหลงเรียนรู เ ร่ืองราวตาง ๆ ทางพระพุทธศาสนาของอนุชนรุนหลัง โดยผานงานชางพุทธศิลป

ในการสืบทอดงานพุทธศิลปคร้ังนี้ไดกอประโยชนใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายในวัดท่ีไดฝกหัดงานชางพุทธศิลปรวมกับ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร สามารถกลาวไดดั่งนี้ คือ

๑. การสรางงานพุทธศิลป เปนการสรางเวลาวางใหเปนประโยชน กลาวคือ การฝกหัดงานชางพุทธศิลป เปนการใชเวลาท่ีนอกเหนือไปจากการเลาเรียนปรกติ จะใชเวลาหลังเลิกเรียนหรือเปนวันเสาร – อาทิตย ท้ังนี้พระภิกษุ สามเณร วัดแสนเมืองมาหลวง ทุกรูปจะตองเรียนหนังสือ แตเม่ือหลังเลิกเรียนหรือวันเสาร อาทิตย พระภิกษุ สามเณรก็จะมาชวยงานหลวงพอและฝกหัดงานชางพุทธศิลปไปดวย ดังนั้นจึงเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชน ท่ังนี้เม่ือไดรับการฝกหัดงานชางพุทธศิลปแลวยังสามารถฝกหัดงานชางไมท่ัว ๆ ไปพรอม ๆ กัน เพื่อเปนการสรางการเรียนรู ทักษะความสามารถ เพื่อสืบทอดงานชางพุทธศิลปภายในวัดใหดํารงอยูได

๒. การสรางงานพุทธศิลป เพื่อเปนการสรางงานฝมือทางการชางพุทธศิลปทองถ่ิน ใหกับพระภิกษุ สามเณร กลาวคือ พระภิกษุ สามเณรท่ีจําพรรษาอยูในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ลวนมาจากตางจังหวัดเปนสวนใหญ นอกจะไดมีโอกาสเลาเรียนศึกษาพระปริยัติธรรมหรือดานสามัญศึกษาแลว ยังไดมีโอกาสศึกษาวิชางานชางพุทธศิลปอีกทางหนึ่ง เม่ือพระภิกษุ สามเณร ไดรับการฝกหัดงานชางฝมือ ก็สามารถสรางงานพุทธศิลปข้ึนในทองถ่ินตนเอง ท้ังนี้งานชางพุทธศิลปเหลานี้ ไดหางหายไปจากลานนาบางแลว ท่ังนี้คงเกิดจากความชํารุดทรุดโทรมของช้ินงาน หรือเกิดจากขาดการสืบทอดงานชางพุทธศิลป ดังนั้นเม่ือพระภิกษุ สามเณรไดฝกหัดงานชางพุทธศิลป ก็สามารถท่ีจะสรางสรรคงานพุทธศิลปะข้ึน หรือสามารถซอมแซมงานพุทธศิลปะท่ีมีอยูใหมีสภาพท่ีดีข้ึน หรือมีการสรางข้ึนมาใหม ก็สามารถที่จะใชประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาได ท้ังนี้งานชางพุทธศิลปเหลานี้เปนภูมิปญญาจากบรรพบุรุษท่ีสรรคสรางข้ึน เพื่อบอกผานคติธรรมหรือเร่ืองราวตาง ๆ ทางพระพุทธศาสนา ออกมาเปนงานศิลปะ รวมเรียกวา งานชางพุทธศิลป

๓. การสรางงานพุทธศิลป เปนการสรางงานอาชีพใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายหลังไดสิกขาลาเพศออกไปเปนคฤหัสถ๘ ภายหลังจากไดรับการศึกษาทางดานพระปริยัติธรรมแลว พระภิกษุ สามเณรยังไดรับการฝกหัดงานชางพุทธศิลปอีกทางหน่ึง นอกจากจะไดรับการฝกหัดงานชางพุทธศิลปแลว ยังกอความรู ทักษะทางดานงานชางไม และสามารถนําไปประกอบ

๘บทสัมภาณษอาจารยยุพิน เข็มมุกต. คณาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม. วันที่ ๒๔ ตุลาคม

๒๕๔๙.

Page 147: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๓๔

อาชีพทางงานชางตาง ๆ ไดอีกดวย ไมวาจะเปนชางไมท่ัวไปหรือชางประกอบโตะ ตู เตียง เคร่ืองเฟอรนิเจอร ในระหวางการฝกหัดงานชางพุทธศิลป หลวงพอจะบอกกับพระภิกษุ สามเณรท่ีรวมฝกหัดงานชางเสมอวา “วิชางานชางเหลานี้สามารถนําไปประกอบวิชาชีพได”

๔. ในการสรางงานชางพุทธศิลป ไดสรางความรูหรือขอสงสัยใหกับพระภิกษุ สามเณร ท้ังนี้ชวงระหวางการฝกหัดงานชางไมกับหลวงพอ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ทานจะเมตตาเปดโอกาสใหพระภิกษุ สามเณร ซักถามปญหาหรือขอสงสัยในประเด็นตาง ๆ ไมวาจะเปนเร่ืองประวัติศาสตร พระพุทธศาสนา การเมืองการปกครอง หรือเร่ืองเลาท่ัว ๆ ไป ใหกับพระภิกษุ สามเณรไดรับทราบ โดยปรกติพระภิกษุ สามเณรมักจะเขินอาย หรือไมกลาท่ีจะถามถึงปญหาตาง ๆ แตในชวงเวลาการฝกหัดงานชางพุทธศิลปหลวงพอจะสรางความเปนกันเองกับพระภิกษุ สามเณรและเปดโอกาสใหถามปญหาตางๆได หรือบางคร้ังหลวงพอจะบอกเลาถึงประสบการณท่ีประสบพบเห็นมา ไมวาจะเปนประสบการณการปฏิบัติธรรม การเดินธุดงค การไปศึกษาดูงานทางพระพุทธศาสนาจากเมืองพมา เมืองเชียงตุง เมืองเชียงแสน เปนตน แลวจะนําเร่ืองราวเหลานี้มาบอกเลาใหพระภิกษุ สามเณรไดรับฟง จากประสบการณของหลวงพอเหลานี้จะเปนความรูใหกับพระภิกษุ สามเณรไดรับทราบ เพื่อไปใชในชีวิตประจําวันหรือนําไปแกปญหาได

๕. การสรางงานพุทธศิลป ไดสรางวิธีการวางแผนในการทํางานใหกับพระภิกษุ สามเณร ท้ังนี้ในการสรางงานพุทธศิลป จะมีการวางแผนดําเนินงาน โดยเร่ิมต้ังแต การเตรียมวัสดุอุปกรณ วิธีคํานวญช้ินงานคือ จํานวนของไมตองครบตามจํานวนตองานพุทธศิลปหนึ่งช้ิน ข้ันท่ีสอง คือแบงงานใหพระภิกษุ สามเณรทํา ซ่ึงแตละรูปก็จะมีงานทําแตละช้ิน เม่ือแลวเสร็จก็จะเอาชิ้นงานท่ีแบงกันทํามาประกอบกันเปนช้ินงาน บางคร้ังงานท่ีไดรับหมอบหมายใหพระภิกษุ สามเณรแบงงานกันทํา จะเดาไมออกเลยวาจะเขามาประกอบสวนไหนของงานพุทธศิลปช้ินนั้น จนกระท้ังถึงการประกอบเปนรูปงานข้ึน จึงจะเขาใจวางานท่ีเราทํานั้นเปนสวนไหนของงาน เชน การสรางธรรมมาสนหลวง ลักษณะการสรางธรรมมาสนหลวงสามารถสรางเปนแบบตัวตอ ๓ ช้ัน ( คือสวนฐาน สวนตัว และสวนยอด) ท้ังนี้ในสวนยอดยังสามารถสรางเปนตัวตอข้ึนไปอีกตามรูปแบบวาจะสรางกี่ช้ัน การสรางก็จะสรางท่ีละสวน เม่ืองานสรางเสร็จก็เอาสวนงานมาตอกัน ก็จะไดงานท่ีลงตัวพอดี ในการวางแผนงานของหลวงพอเหลานี้ จะเปนแนวความคิดในการสรางงานของพระภิกษุ สามเณรตอไป หรืออาจจะเปนแนวคิดในการวางแผนเกี่ยวกับชีวิตของพระภิกษุ สามเณร วาควรมีการวางแผนชีวิตอยางไรบาง ไมวาจะเปนการเรียน หรือการดํารงชีวิต

๖. การสรางงานพุทธศิลป ยังเปนการสรางพุทธธรรมใหกับพระภิกษุ สามเณรอีกทางหนึ่ง ท้ังนี้ในการสรางงานพุทธศิลปรวมกับหลวงพอจะตองมี “ขันติ” คือความอดทน อดกล้ันตอการทํางาน เพราะการสรางงานพุทธศิลปตองใชเวลาท่ียาวนานพอสมควร ยิ่งเวลาประกอบ

Page 148: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๓๕

จะตองมีความประณีตและละเอียนออนตอช้ินงาน ไมวาจะเปนการเขามุม การฉะลุลวดลาย การขัดงาน การทาสี เปนตน โดยเฉพาะจะตองอดทนตอคําส่ังสอนของหลวงพอ ท่ีคอยแนะนําส่ังสอนพระภิกษุ สามเณร ท่ีรวมฝกหัดงานชางพุทธศิลป การทํางานของพระภิกษุ สามเณร จะตองมีความอดทนและมีสติอยูกับการทํางานตลอดเวลา บางคร้ังพระภิกษุ สามเณร ท่ีเขามาฝกหัดงานชางพุทธศิลปไมสามารถท่ีจะอดทนได ก็ถึงกับเลิกลาไปก็มี ฉะนั้นการฝกหัดงานชางพุทธศิลป นอกจะฝกหัดความเปนชางแลว ยังตองสรางพุทธรรมใหเกิดข้ึนภายในใจของพระภิกษุ สามเณร ดั่งบทสัมภาณษพระเทพวรสิทธาจารยกลาววา “การสรางงานพุทธศิลป ไมใชไดเฉพาะภานนอก ไดถึงกรรมฐานดวย ไดสมาธิดวย ไดการศึกษา ไดความรูดวย ไมใชไดแตส่ิงของ แตวาไดคุณคาทางจิตใจดวย”๙

๗. การสรางงานพุทธศิลปรวมกับหลวงพอและเพื่อนพระภิกษุ สามเณร เปนการสรางความสามัคคี ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ระหวางการสรางงานรวมกัน พระภิกษุ สามเณรก็จะต้ังใจในการทํางาน ดวยความรวมมือรวมใจกัน งานพุทธศิลปช้ินนั้น ๆ ก็เสร็จเร็วข้ึน หรือการแบงงานกันทําระหวางพระภิกษุ สามเณร เปนการสรางความสามัคคี ความพรอมเพียงและความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในการฝกหัดงานชางพุทธศิลป การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง ไดสรางประโยชนใหกับพระภิกษุ สามเณร เชน สรางความรู ทักษะทางงานฝมือทางการชาง เพื่อเปนการสรางงานอาชีพใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายหลังไดสิกขาลาเพศออกไปเปนคฤหัสถ และเปนโอกาสใหกับพระภิกษุ สามเณร ไดซักถามขอสงสัยหรือเร่ืองเลาประสบการณของหลวงพอในชวงระหวางการฝกหัดงานชาง ไดสรางวิธีการสรางงาน การวางแผนในการทํางาน และยังเปนการสรางพุทธธรรมใหกับพระภิกษุ สามเณรอีกทางหน่ึง การสืบทอดงานพุทธศิลปภายในวัดแสนเมืองมาหลวงถือไดวาเปนการศึกษาภายในวัด ท่ีมีการศึกษาดวยการถายทอดโดยตรงจากอาจารยผูสอนหรือพระสงฆ๑๐ คือหลวงพอพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร กับผูเรียน หรือพระลูกศิษย คือ พระภิกษุ สามเณรท่ีเขารวมฝกหัดงานชางพุทธศิลป

การสืบทอดงานชางพุทธศิลป จากพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร เปนการฝกหัดงานชางพุทธศิลป ใหกับพระภิกษุ สามเณร เพื่อสราง “ชางพุทธศิลปรุนใหมหรือพระชาง” ข้ึนภายในวัดแสนเมืองมาหลวง และยังสามารถนําไปประกอบอาชีพภายหลังสิกขาลาเพศออกไป การสรางสรรคงานชางพุทธศิลป ไมวาจะเปนการซอมแซมงานพุทธศิลปท่ีมีอยูใหดีข้ึนจนสามารถใช

๙บทสัมภาณษพระเทพวรสิทธาจารย. เจาอาวาสวัดพระธาตุดอยสุเทพ รองเจาคณะจังหวัด

เชียงใหม. วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๙. ๑๐วัดไทย ภูมิแผนดินไทย ๓. บริษัทไทยประกันชีวิต จํากัด, หนา ๕๖.

Page 149: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๓๖

งานได หรือสรางสรรคงานพุทธศิลปข้ึนมาใหม เพื่อใหเปนสืบทอด การอนุรักษและฟนฟูงานชางพุทธศิลปท่ีนับวันจะเร่ิมหางหายไปจากสังคมไทย การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในลักษณะนี้จึงเปนการสรางชางพุทธศิลปข้ึน โดยอาศัยระบบการศึกษาแบบโบราณ คือศึกษาแบบเรียนรูไปพรอมกับการปฏิบัติงานจริง และเปนระบบการศึกษาภายในวัด ท่ีมีพระภิกษุผูมีความชํานาญในสาขาวิชาหน่ึง ๆ ไดฝกหัดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ใหรูจักวิธีการสรางงาน จนไดรับการสืบทอดงานชางนั้น ๆ ดวยหวังวาการฝกหัดงานชางพุทธศิลปจะกอประโยชนใหกับพระภิกษุ สามเณร ในการสรางสรรคงานชางพุทธศิลป เพื่อเปนการสืบทอดและเผยแผพระพุทธศาสนาอีกทางหนึ่ง

Page 150: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

บทที่ ๕

สรุปผล อภิปรายผลการศึกษา

การศึกษางานวิทยานิพนธเร่ือง การสืบทอดพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จังหวัดเชียงใหม มีวัตถุประสงคในการศึกษาคือ ศึกษาประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในลานนา และศึกษาการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง จากการศึกษาสามารถสรุปไดคือ

ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในลานนา เปนศิลปะท่ีเนื่องดวยพระพุทธศาสนา เรียกวา “พุทธศิลป” ท่ีแสดงออกจากพุทธรรมเปนรูปธรรม และสามารถส่ือใหถึงความหมายหรือคติความเช่ือทางพระพุทธศาสนา ปจจุบันเปนศาสนสถาน ศาสนวัตถุ อันเปนมรดกทางพระพุทธศาสนา สามารถสรุปตามลําดับคือ

๑. ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในอินเดยี ๒. ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในเมืองไทย ๓. การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวดัแสนเมอืงมาหลวง (หวัขวง) ๓.๑ ประวัติวดัแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ๓.๒ ประวติัพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ๓.๓ แนวคิดของพระสงฆกับการสรางงานชางพุทธศิลป ๓.๔ จุดมุงหมายการสรางงานและการสืบทอดงานชางพทุธศิลป ๓.๕ กระบวนการสืบทอดงานชางพุทธศิลป ๓.๖ การวิเคราะหผลการศึกษาในการสืบทอดงานชางพทุธศิลป ๓.๗ ประโยชนของการสรางงานพุทธศิลปะ ๔. อภิปรายผลการศึกษา ๕. ขอเสนอแนะทางการศึกษา

Page 151: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๓๘

๑. ประวัติและพัฒนาการพทุธศิลปในอินเดีย ๑.๑ สมัยพุทธกาล นับปฐมโพธิกาลของพระสัมมาสัมพุทธเจา ภายหลังพระพุทธองคทรงตรัสรู ทรง

ประกาศพระพุทธศาสนาดวยพระองคเองและทรงสงพระพุทธสาวก เพื่อประกาศพระธรรมวินัย วันหนึ่งพระพุทธองคทรงแสดงธรรมโปรดพระเจาพิมพิสารกษัตริยแหงมคธ จนถึงธรรมจักษุ ขอถึงพระรัตนตรัย และแสดงตนเปนอุบาสก ภายหลังไดถวายอุทยานเวฬุวันใหเปนอารามหรือวัดในพระพุทธศาสนา คร้ังนั้นแล สวนอุทยานเวฬุวันของพระเจาพิมพิสารจึงเปน อารามหรือวัด แหงแรกของพระพุทธศาสนา

ตอมาไดมีราชคฤหเศรษฐีแลเห็นกิจวัตรและท่ีพักของพระภิกษุ ก็มีจิตเล่ือมใสจึงไดสรางวิหารถวายลําดับนั้น พระผูมีพระภาครับส่ังภิกษุเหลานั้นวา “ภิกษุท้ังหลายเราอนุญาตเสนาสนะ ๕ ชนิด คือ วิหาร เรือนมุงแถบเดียว เรือนช้ัน เรือนโลน และถํ้า”

กาลตอมาไดมีผูสรางเสนาสนะถวายไวในพระพุทธศาสนาอีกหลายแหง ท้ังนี้เพื่อใชสอยตามความจําเปน และเก้ือกูลตอการปฏิบัติธรรมบําเพ็ญเพียรแดพระสงฆท้ังหลาย การที่พระพุทธองค ทรงอนุญาตใหคฤหัสถสรางวัดถวายแดพระภิกษุสงฆและอนุญาตใหพระภิกษุสงฆอาศัยอยูเสนาสนะ ก็เพื่อความม่ันคงของพระพุทธศาสนาและเปนความเกื้อกูลแกพระภิกษุสงฆและคฤหัสถ

ดังนั้นจะเห็นวา “วัด” มีพัฒนาการมาต้ังแตคร้ังพุทธกาล ในเบ้ืองตนยังเปนสวนหรือพื้นท่ีปา ตอมามีพุทธศาสนิกชนพ่ึงมีศรัทธาเล่ือมใสในวัตรของพระภิกษุสงฆ และประสงคท่ีจะกอสรางเสนาสนะใหเปนท่ีอาศัยและเกื้อกูลตอการปฏิบัติธรรม ส่ิงกอสรางท่ีเรียกวา วิหาร หรืออาราม ก็ปรากฏข้ึน โดยมุงประโยชนใชสอยทางศาสนาปฏิบัติ ตอมาถูกพัฒนาจึงเกิดเปนศาสนวัตถุ ศาสนสถานท่ีวิจิตรสวยงาม

จุดกําเนิดพุทธศิลป สมัยพุทธกาล คําวา “พุทธศิลป” คงยังไมเกิด เพราะพระพุทธศาสนาเปนศาสนาท่ีถือ

ความเรียบงายอยูกับธรรมชาติ แตการกอสรางสถานท่ีเคารพนั้นไดมีแลว เพราะอินเดียมีธรรมเนียมอยูวา เม่ือมีบุคคลท่ีเคารพนับถือมรณภาพลงก็จะกอเปนสถูปหรือพูนดิน จุดกําเนิดของพุทธศิลปนาจะเร่ิมตนต้ังแตการสรางเสนาสนะ ๕ ชนิดของเศรษฐีชาวราชคฤห แตการกําเนิดพุทธศิลปท่ีเดนชัด เร่ิมตนจากการสรางสถูปหรือธาตุเจดีย ท่ีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุหลังถวายพระเพลิงพุทธสรีระ นอกจากน้ียังมี สังเวชนียสถาน ท่ีพระพุทธองคทรงแสดงแดพระอานนทกอนเสด็จดับขันธปรินิพพานวา “สังเวชนิยสถาน ๔ คือสถานท่ีพระพุทธองคทรงประสูติ ตรัสรู แสดงปฐม

Page 152: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๓๙

เทศนา และปรินิพพาน เปนท่ี ๆ พุทธบริษัทผูมีศรัทธาไดมาถึงพรอมแลวนอมรําลึกถึงพระพุทธองค ก็จะเกิดเปนบุญกุศลเปนอันมาก เม่ือจาริกไปดวยจิตเล่ือมใสแมตายลงในท่ีนั้นก็จะเขาถึงสุคติ

สวรรค” การสรางศาสนสถาน คือพระธาตุเจดีย บริโภคเจดีย ธรรมเจดีย อุทเทสิกเจดีย และ

สังเวชนียสถาน เปนศาสนาสถานแหงแรกท่ีเปนศิลปะของพระพุทธศาสนา ศาสนสถานท่ีเปนพระเจดียหรือสังเวชนียสถาน เม่ือสรางใหเปนสถานท่ีเคารพสักการะ คงมีการประดับประดาใหสวยงามวิจิตร เชน การแตงสถูปเจดียใหเปนรูปทรง ทําเข่ือนใหเปนฐานและช้ันทักษิณ ทํารูปบัลลังกต้ังบนหลังโลก การกอสรางศาสนสถานเหลานี้ กาลตอมาไดพัฒนาการมาตามยุคสมัย รวมเรียกวา “ศิลปะ” เม่ือศิลปะเหลานี้ เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา ท้ังท่ีเปนหลักคําสอนและแฝงดวยคติธรรม หรือหลักความเช่ือทางพระพุทธศาสนา จึงเรียกงานศิลปะเหลานี้วา พุทธศิลป

๑.๒ สมัยหลังพุทธกาล ภายหลังกองทัพกรีกรบชนะอินเดีย ชาวกรีกไดเผยแผวัฒนธรรมดานตาง ๆ ใหกับ

อินเดีย ไมวาจะเปนความสามารถทางดานศิลปะ อักษรศาสตร และปรัชญา ชาวอินเดียคงรับเอาวัฒนธรรมกรีกมาผสมกับวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวอินเดีย

ราชวงคโมริยะ มีกษัตริยองคหนึ่ง ช่ือวา พระเจาอโศกมหาราช ทรงเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาและแสดงตนเปนพุทธมามกะ พบหลักฐานสําคัญของพระองคก็คือทรงดําเนินธรรมทูตเพื่อเผยแผพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังปรากฏหลักฐานทางพุทธศิลป ทรงสรางสถูป (ตนแบบของเจดีย) ใหเปนสัญลักษณ และปรากฏพุทธศิลปท่ีตามศิลปะอินเดีย คือ การขุดถํ้าเขาในภูเขา และเสาอโศก

สมัยพระเจาเมนันเดอร ตามคัมภีรศาสนาพุทธเรียกวา พระเจามิลินท ทรงแสดงตนเปนพุทธมามกะ ทรงสรางโบสถวิหารตลอดจนการกอสรางสถาปตยกรรม โดยนําเอาศิลปะกรีกและโรมันเขามาประกอบในงานสถาปตยกรรม โดยเฉพาะพระพุทธรูป เม่ือชาวกรีกไดเล่ือมใสพระพุทธศาสนา จึงไดแรงบัลดาลใจสรางพระพุทธรูปใหเปนรูปเคารพ จะเห็นจากพระพุทธรูปสมัยคันธาระ พระพักตรจะคลายกับฝร่ังชนชาติกรีก

สมัยพระเจากนิษกะมหาราช แผอานุภาพเขาสูแควนคันธาระ ไดมีโอกาสศึกษาพระพุทธศาสนาและแสดงตนเปนพุทธมามกะ ส่ิงท่ีพระองคทรงสรางเปนอนุสรณ คือการผลิตพุทธศิลป คือ พระพุทธรูป จําเนียรเดิมชาวอินเดียมีธรรมเนียมไมนิยมการสรางรูปเคารพ เม่ือกาลเวลาผานมา ชนชาติกรีกเขามานับถือพระพุทธศาสนา การแกะสลักพุทธรูปก็เกิดข้ึนคร้ังแรกในโลก เรียกพระพุทธรูปสมัยนี้วา “ศิลปะสมัยคันธาระ”

Page 153: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๔๐

การสืบทอดพุทธศิลป การสืบทอดงานพุทธศิลปสมัยหลัง สามารถสรุปไดอยู ๓ ยุค ยุคแรกคือหลังพุทธศักราช ๓๐๐ งานพุทธศิลปไดเจริญรุงเรืองข้ึนเปนอยางมาก ดวย

ความอุปภัมถของพระเจาอโศกมหาราช ทรงรวบรวมพระบรมธาตุจาก ๘ เมืองท่ีบรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธองค มาแบงออกเพ่ือสรางสถูปหรือเจดียข้ึนอีก

ยุคท่ีสอง ยุคนี้เปนการบูรณปฏิสังขรณศาสนสถาน การสรางพุทธเจดียก็ผิดกับคร้ังพระเจาอโศก คือไมมีการแจกพระบรมธาตุ ดังนั้นจะเปนการบูรณะเจดียข้ึนใหม ไปตามลักษณะความเล่ือมใส คือการแกไขรูปทรงพระสถูปหรือเจดีย นอกจากนี้ความเจริญของพุทธศิลปไดแตกความเจริญข้ึนอีกดานหนึ่ง นั้นคือ ภาพจําหลัก ท่ีเลาเร่ืองชาดกหรือเร่ืองพุทธประวัติ นาเช่ือวาไดรับจากวัฒนธรรมกรีก

ยุคท่ีสาม เปนยุคแหงความเจริญสูงสุดของพุทธศิลป พระเจากนิษกะมหาราช ส่ิงท่ีพระองคทรงสรางเปนอนุสรณ คือ การผลิตพระพุทธรูป ท่ีเกาะสลักข้ึนดวยหินทรายออน ณ เขตคันธาระและอาฟกานิสถานเรียกวา “พุทธศิลปสมัยคันธาระ”

เพื่อเปนการสรางความเขาใจงานชางพุทธศิลป ผูศึกษาพึ่งบรรยายประวัติศาสตรพุทธศิลปตามยุคสมัยคือ

๑. พุทธศิลปสมัยคันธาระ สมัยพระเจากนิษกะกษัตริยราชวงคศุงคะ ศุงคะวงคเปนชนเผาตาด สาขาตุรกี

กับมงโกลผสมกันจึงกลาท่ีจะสรางพระพุทธรูปเปนรูปมนุษย คือ ดวงพระพักตรกลม พระนาสิกโดงอยางฝรั่ง พระเกศามุนเกลาเปนเมาลี สรางใหเห็นองคาพยพ เห็นเสนเอ็นอยางชัดเจนภายใตจีวรบาง ๆ มีลักษณะเหมือนรูปมนุษย

พระเจดีย มีลักษณะคลายสมัยพระเจาอโศก แตปกฉัตรซอนกัน ๕ ช้ัน และมีซุมจรนําอยูดานหนา ซุมจรนําทําแบบซุมประตูทางเขาถํ้าเจดียสถาน

สถาปตยกรรม ยังเปนสถาปตยกรรมอินเดียโบราณ แตไมนิยมขุดถํ้าในภูเขา การสรางอาคารนิยมสรางอาคารแบบกรีกและโรมัน คือมีผังส่ีเหล่ียม ทางดานหนามีเสาประดับ แตมีภาพพระพุทธรูปประดับอยูบนหัวเสา

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยคันธาระ ถือไดวา เปนสมัยเ ร่ิมตนของพุทธศิลป โดยเฉพาะ

พระพุทธรูป ชางสมัยศุงคะวงคคงมีความเช่ียวชาญในการเกาะสลักเปนอยางมาก เม่ือมานับถือพระพุทธศาสนา จึงมีคติเกี่ยวกับการสรางรูปเคารพ คือพระพุทธรูป ท่ีเอาแบบอยางมนุษยมากข้ึน แตก็มีสวนตางของมนุษยท่ีบงบอกถึงพระบรมศาสดา การสืบทอดจึงเปนแบบเอาอยาง

Page 154: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๔๑

๒. พุทธศิลปสมัยมถุรา ศูนยกลางของพุทธศิลปอยูท่ีเมืองมถุราแถบลุมแมน้ํายมนา การสรางพระพุทธรูป

สลักดวยหินสีแดงแบบหินทรายแดง พระพักตรทําเปนรูปกลม พระเกศาเรือบไมทําเปนเสน องคพระพุทธรูปอวนใหญนั่งขัดสมาธิเพชร หมจีวรแบบหมดอง มีผามัดอก จีวรท่ีหมเฉียงบนบาซายเปดไหลขวา หากเปนพระพุทธรูปแบบยืน จะยืนแหวกผาท่ีหมคลุมพาดท่ีพระหัตถ ไมนิยมทําบัวรองรับท่ีฐานพระพุทธรูป สวนมากจะทําเปนรูปสิงหหนุนท่ีฐาน

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยมถุรา เช่ือวานาจะไดรับอิทธิพลคติความเช่ือสืบตอจากสมัยคันธาระ

จากการเคล่ือนท่ีทางศาสนาและวัฒนธรรม แตลักษณะการสรางกลับไมถือแบบคันธาระ กลับปรากฏเปนลักษณะแบบอินเดียโดยตรง ตามสรีระรางกายของคนอินเดีย นาเช่ือวาชางเกาะสลักคงเปนชาวพื้นเมืองมากข้ึน การสืบทอดงานพุทธศิลปสมัยมถุรานี้ ชางคงไดรับอิทธิพลจากสมัยคันธาระ

๓. พุทธศิลปสมัยอมราวดี พุทธศิลปอมราวดี ข้ันตนมีลักษณะทาทางเคล่ือนไหว แตตอมาก็เปนแบบสงบน่ิง

พระพุทธรูปเปนแบบหมเฉียงบาขางซาย จีวรเปนร้ิว ๆ ยกพระหัตถซายและขวาทาพระทานพร พระเกศาทําแบบขมวดกนหอย พระพักตรกลม

สถาปตยกรรม ท่ีเหลืออยูก็คือภาพจําหลักท่ีเกี่ยวกับเจดีย เปนเจดียลักษณะเดียวกับอินเดียโบราณ คือต้ังอยูบนฐานมีร่ัวลอมรอบท้ัง ๔ ดาน แตละดานมีเสาปกอยูดานละ ๕ เสา สวนยอดของเจดียมีบัลลังกและปกฉัตร ท่ีองคเจดียมีลวดลายแบบพวงมาลัยคลองอยู

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยอมราวดี คงไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปคันธาระจากการเคล่ือนท่ีทาง

วัฒนธรรมเชนกัน ถึงแมพระพุทธรูปเปนแบบลักษณะของอินเดียทางใตโดยตรง แตลักษณะบางอยางก็มีเคาโครงจากพุทธศิลปคันธาระเขามาปะปนอยูดวย เอกลักษณของพระพุทธรูปอมราวด ี คือ พระพุทธรูปปางนาคปรก ดังนั้น การสืบทอดพุทธศิลปก็ยังไดรับการเคล่ือนท่ีทางวัฒนธรรมจากพุทธศิลปคันธาระ

Page 155: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๔๒

๔. พุทธศิลปสมัยคุปตะ พระพุทธรูปจะสรางตามอุดมคติแบบอินเดียอยางแทจริง คือ การทําจีวรหมคลุม และ

ชอบสรางชนิดมี ประภามณฑล (แผนหลังแบบวงกลมรัศมี) ตอมาสรางแบบจีวรคลุมบางแนบเนื้อ นิยมสรางรูปยืนเอียงสะโพกแบบตริภังค ยกพระหัตถขวาในทาประทานอภัย ถาเปนรูปนั่งมักยกพระหัตถประสานกันเปนทาประทานปฐมเทศนา

สถาปตยกรรม มีการสรางท่ีเลียนแบบสถาปตยกรรมอินเดีย คือการสรางถํ้า คือ ถํ้าเจดียสถานและถํ้าวิหาร แผนผังของถํ้าเจดียเปนรูปเหล่ียมผืนผาท่ีปลายสุดของถํ้า มนเปนรูปโคงมีเจดียต้ังอยู มีเสาประดับท่ีประกอบเปนซุม ภายในซุมเปนประดิษฐานพระพุทธปฏิมา

จิตรกรรม เปนการเขียนภาพสีภายในถํ้าเจดีย ชนิด สีปูนเปยก คือการเขียนภาพลงไปบนปูนท่ียังไมแหง เชน ภาพพระพุทธรูปหรือภาพพระโพธิสัตว ถาเปนภาพท่ีสําคัญก็จะมีการปดทองดวย เพื่อเปนการเพิ่มความเดนไปในตัว

นอกจากนี้ยังมี สถาปตยกรรมกลางแจง คือ การสรางเจดียและวิหาร โดยเจดียในถํ้ามีฐานสูงหนุนดวยเสาที่รองรับซุมตาง ๆ เรียกวา ซุมทิศ ภายในซุมมีพระพุทธรูปมาประดับอยู พุทธศิลปคุปตะเปนศิลปะท่ีไดรับการยกยองวาเลอเลิศอลังการ เปนศิลปะท่ีกาวหนารุงโรจน มีคาสูงสุดของศิลปกรรมโบราณของอินเดีย

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปคุปตะถือไดวาเปนสมัยท่ีเจริญสูงสุดของอินเดีย และเปนตนแบบของพุทธ

ศิลปทางตะวันออกไกล การสรางพระพุทธรูปจะสรางตามอุดมคติแบบอินเดียแทจริง แสดงวาพุทธศิลปคุปตะมีความลงตัวมากท่ีสุด และยังเปนแหลงผลิตพุทธศิลป

๕. พุทธศิลปสมัยหลังคุปตะ พุทธศิลปแบบนี้จัดอยูในแบบเดียวกับพุทธศิลปแบบคุปตะ การสรางพระพุทธรูป

ถึงแมจะกําเนิดตามพุทธศิลปคุปตะแท แตพุทธลักษณะก็ดูไมนุนนวลนัก พระพุทธรูปนิยมสรางใหมีลักษณะพระวรกายอวบอวน พระเศียรใหญ พระศออวบ สีพระพักตรดุกวาแบบคุปตะ จีวรบางแนบสนิทพระองคไมมีร้ิว มีท้ังหมคลุมและหมเฉียง

สถาปตยกรรมสรางดวยหินและอิฐข้ึนกลางแจง มีการขุดลงไปในหินกอนใหญ ๆ เปนการวางหินใหซอนกันเปนช้ัน ๆ ใหแหลมข้ึนไป แลวจําหลักรูปอาคารเล็ก ๆ ประดับอยูตามช้ันของหลังคาโดยตลอดถึงยอด ท่ีมุมของอาคารเหลานี้ก็จะทํายอมุมลดหล่ังลงไป ใหดูคลายกับวาอาคารนั้นดูเพียวและไมหนัก

Page 156: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๔๓

การสืบทอดพุทธศิลป เนื่องดวยสมัยหลังคุปตะ ศาสนาพราหมณไดรับความนิยมมากข้ึน ทําใหการสราง

พุทธศิลปลดจํานวนลง การสืบทอดพุทธศิลปก็พึงอาศัยการเคล่ือนท่ีทางศาสนาและวัฒนธรรม ท่ีผานมาจากนักบวชและพอคาวาณิช

๖. พุทธศิลปสมัยปาละ – เสนะ สถาปตยกรรมท่ียิ่งใหญของปาละ – เสนะ คือ มหาวิทยาลัยนาลันทา มหาวิทยาลัย

แหงนี้ถือวาเปนมหาวิทยาลัยท่ีเกาแกท่ีสุด เปนแหงการศึกษาพระพุทธศาสนาท่ีนักศึกษามาจากประเทศตาง ๆ มีคณาจารยบรรยาย ๑,๕๐๐ รูป มีหลักสูตรท่ีเปนแหลงพุทธศิลปเรียกวาปญจวิทยาสถาน มีวิชาศิลปวิทยา ศึกษาท้ังสถาปตยกรรม ชางหลอ ชางปน ชางเขียน เปนตน

ประติมากรรมสมัยปาละ – เสนะ มีท้ังประติมากรรมท่ีทําเปนภาพสลักหินและหลอดวยสําริด ภาพสลักหินจะสลักแบบยืนอิงแผนหินทางเบ้ืองหลัง ยืนเอียงสะโพก

การสืบทอดพุทธศิลป ยุคนี้พระพุทธศาสนาไดรับการอุปภัมถจากราชวงคปาละ–เสนะ แตเปนพุทธศาสนาถือ

ลัทธิแบบ ตันตระ มีการใชเวทมนตร มีการนับถือพระโพธิสัตว ดังนั้นจึงมีพระพุทธรูปแบบทรงเคร่ืองหรือพระโพธิสัตวหลายเศียรหลายกรเปนจํานวนมาก พุทธศิลปปาละ – เสนะ ถือไดวาเปนยุคสุดทายของอินเดียกอนท่ีจะถูกกองทัพอิสลามรุกราน

๗. พุทธศิลปะลังกา สมัยพระเจาเทวานัมปยติสสะ นาเช่ือวาพระพุทธศาสนาเปนแบบเถรวาท ดังนั้น

พุทธศิลปลังกาจะมีรูปแบบใกลเคียงกับพุทธศิลปเมืองไทย พุทธศิลปลังกาแบงออกไดเปน ๒ สมัย คือ ลังกาสมัยแรกและลังกาสมัยหลัง

สมัยแรก มีศูนยกลางอยูท่ีเมืองอนุราฐปุระ สถาปตยกรรมท่ีปรากฏ คือ เจดียและวิหาร สรางเปนคูกัน ลักษณะเจดียประกอบดวยฐาน องคระฆังและยอดเจดีย วิหารมีลักษณะผังเปนรูปส่ีเหล่ียมผืนผา ผนังกออิฐ ภายในมีเสาเรียง ๒ แถว เสาเปนรูป ๘ และ ๔ เหล่ืยม สวนปลายเสาทําเปนรูปสิงโตคาบพวงอุบะ มีประตูเขาทางเดียว สถาปตยกรรมท่ีมีช่ือเสียงคือ โลหะปราสาท

สมัยหลัง มีศูนยกลางอยูท่ีเมืองโปลนนารุวะ พุทธศิลปคือภาพจําหลักในวิหารคัล เปนภาพจําหลักพระพุทธรูปปางปรินิพพาน ยาว ๑๗ เมตร หมร้ิวแบบพุทธศิลปอมราวดี มีรูปพระอานนทยืนพิงหนาผางอเขาขางหนึ่ง สถาปตยกรรมท่ีมีช่ือเสียง คือ สัตตมหาปราสาท

Page 157: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๔๔

จิตรกรรมของลังกาอีก คือ ภาพเขียนท่ีเขาสีคิริยะเปนภาพนางฟากําลังโปรยดอกไม เขียนข้ึนในพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ ไดรับอิทธิพลจากอินเดีย

การสืบทอดพุทธศิลป เนื่องดวยลังกาและไทย มีความสัมพันธกันเปนอยางดี การสืบทอดพุทธศิลปจึงมีการ

เอาแบบอยางมาเปนตนแบบของงานพุทธศิลป เชน พระพุทธรูปแบบลังกาสมัยแรก มีอิทธิพลตอการสรางพระพุทธรูปในสุโขทัย

๘. พุทธศิลปจาม หรือจัมปา พุทธศิลปจามสวนใหญเปนงานสถาปตยกรรม สถาปตยกรรมจามสามารถจําแนก

ออกเปน ๖ สมัย คือ สมัยกอนฮัวลาย มีซุมประตูโคงแบบอินเดียชนิดโคงกวาง มีภาพประดับในซุม สวน

นอกของอาคารที่ซอนกันนั้นมีเสาประดับติดกับผนัง เสาประดับผนังประกอบดวยลายกานขด สมัยฮัวลาย มีซุมประตูเปนซุมซอนกัน ๒ ช้ัน ปรายซุมมวนเขาภายใน แตสวนนอก

ของลายทํามวนออกเปนลักษณะพิเศษลวดลายประดับเสาทําเปนลายกานตอดอก สมัยดงเดือกหรืออินทรปุระ ลักษณะซุมมีลวดลายท่ีปลายมวนออก ยอดซุมเปนลาย

พุม สวนลวดลายท่ีเสาก็กลายเปนลายเครือเถาแบบกระจังฟนปลา หรือลายแทงหยวกของไทย สมัยเมซอน ซุมสมัยนี้มีลักษณะเรียบ ๆ คือประกอบดวยวงโคงและมีพุมประดับอยูท่ี

สวนยอด วงโคงท่ีซุมมีท้ังหมด ๘ วง ตอมาสงอิทธิพลแกซุมประตูและหนาบันในศิลปะขอม สมัยบิญดิญ เปนวิวัฒนการขั้นสุดทายของของศิลปะจาม คือมีลัษณะคลายกับหนา

บันหรือซุมบัณแถลงของไทยท่ีซอนกันอยู ๒ ช้ัน ลวดลายท่ีซุมเปนลายใบไมแบบละเอียดเรียงกันอยูเปนแถว

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปจาม กับพุทธศิลปไทย เขาใจวามีความใกลชิดกัน เพราะอยูในภูมิศาสตร

เดียวกันและมีความสัมพันธกันทางการเมือง การสืบทอดพุทธศิลปคงเปนการเอาอยางจากท่ีเห็นจากการเขามาสัมพันธไมตรีดวยกัน ดังจะเห็นวาสถาปตยกรรมของจามมีลักษณะคลายกับปรางคของไทยและของขอม

๙. พุทธศิลปชวา ไดรับอิทธิพลจากอินเดีย คือพุทธศิลปสมัยอมราวดี คุปตะ และปาละ – เสนะ พุทธ

ศิลปชวาแบงได ๒ สมัย คือ

Page 158: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๔๕

ชวาภาคกลาง ศูนยกลางอยูภาคกลางของเกาะชวา สถาปตยกรรมสรางดวยหิน เปนรูปอาคาร ๔ เหล่ียม บนช้ันหลังคาของอาคารประดับดวยเจดียเล็ก ๆ ช้ันหลังคาซอนกันอยู ๓ ช้ัน แตละช้ันมีเจดียเล็กประดับอยูโดยรอบ พุทธศิลปสถานท่ีมีช่ือเสียง คือ บุโรพุทโธ สวนพระพุทธรูปมีลักษณะอวนเหมือนสรีระเด็ก ๆ ไมวาจะเปนพระพุทธรูปหรือรูปพระโพธิสัตว

ชวาภาคตะวันออก เปนพุทธ ศิลป ท่ี เปนของ ตัว เองปนพื้ น เ มืองมาก ท่ี สุด สถาปตยกรรมไดรับอิทธิพลจากภาคกลาง แตรูปรางของอาคารไดเปล่ียนไป คือมีรูปทรงแคบเขา หลังคาสูงข้ึนมาก ซอนกันเปนช้ัน ๆ สวนประติมากรรมลอยตัวจําหลักยืนอิงแผนหินท่ีเรียกวา ประภามณฑล

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปชวา เปนพุทธศิลปพุทธศาสนาแบบมหายานและมีความใกลชิดกับภาคใต

ของไทย คือ อาณาจักรศรีวิชัย นาเช่ือวาพุทธศาสนาและพุทธศิลปมีการเคล่ือนท่ีทางวัฒนธรรมจากชวาข้ึนมาในประเทศไทย ไมวาจะเปนลักษณะของสถาปตยกรรม หรือจิตรกรรม

๑๐. พุทธศิลปขอม ศาสนสถานขอมสวนใหญเกี่ยวกับศาสนาพราหมณ มีการกอสรางอาคารชนิดผัง

อาคารเปนรูป ๔ เหล่ียมยอมุมมีหลังคาโคงสูง ตัวอาคารจะซอนกันเปนช้ัน ๆ แตละช้ันประดับดวยซุมโคงตาง ๆ สวนยอดของอาคารประดับดวยกลุมดอกบัว ปราสาทหรือศาสนาวัตถุเหลานี้อยูบนฐานเต้ีย ฐานสูง องคเดียวโดด ๆ หรือเปนกลุม ๓ องค หรือกลุม ๕ องค มีทางเดินเช่ือมถึงกันโดยตลอด มีกําแพงลอมรอบและขุดคูลอมกําแพงอีกช้ันหนึ่ง มีสะพานเล็ก สะพานใหญแลวแตความสําคัญของผูสรางศาสนสถานน้ัน ๆ สถาปตยกรรมเหลานี้สรางดวยอิฐ ศิลาแดง หรือหิน มีการสลักลวดลายตาง ๆ ลงบนหินท่ีเสา ท่ีหนาบัน ท่ีซุมประตู ท่ีทับหลัง และเสาประดับกรอบประตู

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปขอม ถือไดวามีความใกลชิดกับพุทธศิลปไทย โดยพุทธศิลปขอมเปนศิลปะ

ทางศาสนาพราหมณผสมกับพุทธศาสนา ดังปรากฏการสรางปรางคตาง ๆ หรือปราสาทพนมรุง ดังนั้นการเคล่ือนท่ีของพุทธศิลปจึงใกลชิดกันและรับอิทธิพลของศิลปะขอมมาเปนตนแบบในพุทธศิลปไทยในยุคตอ ๆ มาเชนกัน

Page 159: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๔๖

๒. ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในเมืองไทย ชนชาติไทยต้ังอยูในดินแดนท่ีราบลุมแมน้ําเจาพระยา มีการรวมตัวกันหลายกลุมชน

ตางก็จัดต้ังเปนอาณาจักรตาง ๆ มีการปกครองตนเอง แตมีส่ิงหนึ่งท่ีเปนศูนยรวมทางความเช่ือ ทางสังคมและวัฒนธรรม คือ พระพุทธศาสนา เม่ือพระพุทธศาสนาเปนวัฒนธรรมหลักของชนชาติไทย จึงเปนแบบแผนหรือเปนวิถีชีวิตของคนไทยดวย จนสามารถสรางสรรคศาสนาสถานและศาสนวัตถุท่ีเปนหลักฐานของพระพุทธศาสนา ดวยฝมือชางของไทย จึงปรากฏเปนงานพุทธศิลปอันทรงคุณคาของชนชาติไทย

พระพุทธศาสนาเขาสูไทย พระพุทธศาสนาเขาสูเมืองไทยเม่ือไร และเขามาอยางไร ยังเปนปญหาขอถกเถียงกัน

อยู การศึกษาก็พึงอาศัยหลักฐานและส่ิงแวดลอมหลาย ๆ สวนเขาประกอบกัน ปรากฏการณทางสังคมมีธรรมชาติอยูอยางหนึ่ง นั้นก็คือการอพยพเคล่ือนยายทางสังคม หรือทางกลุมชาติพันธรวมท้ังกลุมชนชาวอินเดียดวย สังคมอินเดียโบราณก็มีการอพยพเคลื่อนยายไปยังถ่ินฐานตาง ๆ เปนจํานวนมากเชนกัน สาเหตุของการอพยพของอินเดียนั้นมี ๔ ประการคือ ๑. ถูกบีบค้ันทางศาสนา ๒. ไปเพ่ือการประกาศศาสนา ๓. ไปเพ่ือคาขาย ๔. ไปเส่ียงโชคทางการเมือง หรือการประกอบอาชีพ

การอพยพของชาวอินเดีย ส่ิงหนึ่งท่ีนําเขามาก็คือ ศาสนา ท่ีกลุมพอคาชาวอินเดียนําเขามาพรอมกับการคาขาย มีพระพุทธศาสนาและศาสนาฮินดูหรือพราหมณ วัฒนธรรมทางศาสนาเหลานี้เปนท่ีนิยมและแพรหลายออกไป ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตรการเผยแผพระพุทธศาสนาเขามายังดินแดนเอเชียอาคเนย คือสมัยพระเจาอโศกมหาราช คือ การสงพระสมณฑูตออกเผยแผพระพุทธศาสนา สายท่ี ๘ มีพระโสณะและพระอุตตระเดินทางมาเผยแผพระพุทธศาสนายังดินแดน “สุวรรณภูมิ”

๒.๑ สมัยสุวรรณภูมิ คําวา สุวรรณภูมิ ปรากฏหลักฐานจากประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา สมัยพระเจา

อโศกทรงรวมกับสังฆมณฑล จัดสงพระธรรมทูตไปเผยแผพระพุทธศาสนาในดินแดนตาง ๆ ในสายท่ี ๘ กลาวถึงพระโสณะและพระอุตตระเดินทางมาเผยแผพระพุทธศาสนา คําวา สุวรรณภูมิ แปลวาดินแดนทอง สุวรรณภูมิคงจะเปนท่ีรูจักแพรหลายของผูคนในขณะน้ัน เพราะเปนแหลงท่ีแสวงหาทองของพอคาอินเดียมานานแลว ดังนั้นคนอินเดีย และวัฒนธรรมสังคมอินเดีย ก็คงมีอยูกอนท่ีพระเจาอโศกมหาราชทรงจัดสงพระธรรมทูต ไปเผยแผพระพุทธศาสนาในบริเวณท่ีเรียกวาสุวรรณภูมิแหงนี้

Page 160: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๔๗

พัฒนาการพุทธศิลปและการสืบทอด การเขามาของพระพุทธศาสนา คงเปนชวงเร่ิมตนของการหยั่งรากของพระพุทธศาสนา

เพราะยังไมสามารถหาหลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีระบุเร่ืองราวเกี่ยวกับพุทธศิลป การสืบทอดพุทธศิลปคงยังไมชัดเจนนัก เพราะเปนชวงตนของพระพุทธศาสนา การสรรคสรางงานพุทธศิลปคงไมเปนท่ีนิยม

๒.๒ สมัยทวารวดี หมายถึงดินแดนภาคกลางของประเทศไทย คําวา “ทวารวดี” คงจะตรงกับคําวา

โตโลโปติ ของทานสมณะเฮียนจัง ทานอางวาอยูทางตะวันตกของฟูนาน (อยูระหวางขอมและพุกาม) อาณาจักรทวารวดีมีขอบเขตทางเหนือสุดจรดจังหวัดพิจิตร ทางใตสุดจรดจังหวัดเพชรบุรี ชนชาติท่ีครอบครองอาณาจักรทวารวดีคงจะเปนพวกมอญ เพราะปรากฏจารึกภาษามอญท่ีลพบุรี ดังนั้นนาเช่ือวาชนชาติท่ีปกครองทวารวดี คือ ชนชาติมอญ

พัฒนาการพุทธศิลป พุทธศิลปทวาราวดี ไดรับอิทธิพลจากอินเดียโดยตรงพรอมพระพุทธศาสนา จังหวัด

นครปฐมไดพบพระพุทธรูปศิลาขาว เช่ือวาเปนพุทธศิลปทวารวดี มีลักษณะคือนั่งหอยพระบาทท้ังสองลงท่ีฐานรอง ฐานน้ีทําเปนกลีบบัวบานรองรับ พระหัตถซายวางหงายเหนือพระเพลา พระหัตถขวายกข้ึนเสมอพระอุระ หันฝาพระหัตถออกดานหนา พระอังคุฐกับพระดรรชนี ทําเปนวงกลม เปนปางปฐมเทศนา และท่ีสําคัญคือองคพระปฐมเจดีย พุทธศิลปทวารวดีไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปสมัยคุปตะและหลังคุปตะ

สถาปตยกรรมที่เหลือในปจจุบัน จะคงแตแนวกําแพงคันคูดิน คูเมือง ฐานรากเจดียของอาคารบางหลัง การกอสรางมีท้ังใชศิลาแลงและอิฐ โดยอาศัยยางเหนียว (ยางจากตนไม) เปนน้ํายาประสาน การประดับตกแตงใชปูนประดับและรูปปนดินเผาไฟ รวมท้ังการปนลวดลาย

พุทธศิลปวัตถุอีกอยางหนึ่งของสมัยทวาวดีคือธรรมจักรศิลา พบมากที่จังหวัดนครปฐม เมืองอูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยทวารวาดี มีอิทธิพลตองานพุทธศิลปในอาณาจักรตาง ๆ ท่ีอยูใกลแถบ

นั้น ท้ังนี้สมัยทวารวาดีอยูบริเวณราบลุมแมน้ําเจาพระยา และคงเปนศูนยกลางติดตอสินคาทางน้ําและทางบก ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปจึงเปนแบบเอาอยาง ตามความสัมพันธทางการคาขาย

Page 161: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๔๘

๒.๓ สมัยศรีวิชัย อาณาจักรศรีวิชัย เจริญข้ึนทางปลายแหลมมลายู ศูนยกลางการปกครองอยูท่ีราบสูง

เดียง โดยราชวงคไศเลนทรนับถือพระพุทธศาสนามหายาน พบหลักฐานจารึกภาษาสันสกฤตท่ีวัดเสมาเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตอมาศรีวิชัยไดแผอํานาจคลุมชวาและแหลมมาลายูดวย

พัฒนาการพุทธศิลป พระพุทธรูปท่ีพบสมัยพุทธศิลปศรีวิชัย มีลักษณะพระองคอวบอวน ประทับปาง

ขัดสมาธิ บัวรองฐานเปนกลีบใหญ กลีบบัวเปนสันท่ีริม พระพักตรกลม พระเมาฬีเปนตอมกลม เม็ดพระศกใหญ พระหนุหยิก ชอบสรางมีประภามณฑล จีวรคลุมพระองคบางแนบเน้ือ ชายสังฆาฏิส้ัน พุทธศิลปศรีวิชัยไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปกอนสมัยคุปตะ หลังคุปตะและปาละสถาปตยกรรมท่ีพบคือ พระบรมธาตุไชยา

ประติมากรรมของศรีวิชัยนิยมตามคติศาสนามหายาน คือรูปเคารพพระโพธิสัตว เปนลักษณะเกลาผมแบบปลอยชาย และประบาทางดานพระปฤษฏางค ความงามของประติมากรรมสําริดบงบอกถึงความชํานาญในทางเชิงชาง และแทรกอารมณของผูสรางเปนอยางดี

ลักษณะเจดียศรีวิชัย คือ เจดียทรงกลม ระฆังเอวคอดต้ังอยูบริเวณภายในระเบียงคตของพระบรมธาตุไชยาทางดานหลังพระอุโบสถ มีลักษณะฐานแบบบัวลูกแกวค่ันรับองคเจดีย ระฆังเปนแบบระฆังเอวคอดตอดวยยอดแบบปลองไฉน เจดียทรงกลมกอดวยศิลาแลง

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปศรีวิชัยไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปะสมัยกอนคุปตะ หลังคุปตะและแบบปา

ละในอินเดีย และไดเปนตนแบบใหกับพุทธศิลปในอาณาจักรตาง ๆ เชน สุโขทัย และขอม การสืบทอดพุทธศิลปก็ยังเปนความเกี่ยวของกับความสัมพันธทางการคา และการแผอํานาจทางการเมือง

๒.๔ สมัยลพบุรี อาณาจักรลพบุรี เปนการปกครองชวงส้ัน ๆ ขณะน้ันราชวงคสุริยวรมัน แหงกัมพูชา

ศิลปะกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรมคลายกับศิลปะของขอม ศูนยกลางท่ีสําคัญคือเมืองลพบุรีหรือเมืองละโว ดังนั้น ศิลปะวัฒนธรรมและศาสนาแบบขอมจึงเขามามีอิทธิผลตอศิลปะของไทย ท้ังนี้ขอมนับถือพระพุทธศาสนามหายาน

Page 162: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๔๙

พัฒนาการพุทธศิลปสมัยลพบุรี พุทธศิลปสมัยลพบุรี โดยมากเปนภาพจําหลักดวยศิลาและสําริด เฉพาะการปนหลอ

สําริดมีความเจริญมาก ทวงทาทํานองในการปนหุนมีความชํานาญยิ่ง ทําใหกิริยาทาทางเปนแบบแข็งกวาวแบบศิลปะขอม ถาหากสรางพระพุทธรูปจะเปนลักษณะแบบทรงเคร่ือง

สถาปตยกรรมสมัยลพบุรีสรางดวยอิฐและหิน เปนท้ังศาสนาพราหมณและศาสนาพุทธ มีลักษณะเปนอาคารรูปส่ีเหล่ียม มียอดเปนช้ัน ๆ ซอนกันข้ึนไปจนแหลมมนท่ีมุมของอาคารนี้จะยอมุม ทําเปนมุมแบบยอเหล่ียม ลักษณะเชนนี้เรียกวา ปรางค

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยลพบุรี เปนลักษณะนิยมคติความเช่ือทางมหายาน และมีลักษณะคลาย

กับพุทธศิลปะขอม เห็นไดจากลักษณะพระพุทธรูปมีความรูสึกเหมือนเทพเจาหรือกษัตริย นาเช่ือวาพุทธศิลปลพบุรีสืบตอจากศรีวิชัย แตพุทธศิลปลพบุรีก็เปนตนแบบใหกับพุทธศิลปแถบภาคกลางหรือท่ีลุมแมน้ําเจาพระยา ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปก็ยังเปนไปตามความสัมพันธกับการคาขาย การแผอํานาจทางการเมือง

๒.๕ สมัยเชียงแสน พุทธศิลปเชียงแสนเปนศิลปะแบบตัวเอง คือเปนแบบของชาวพ้ืนเมืองเชียงแสน

ถึงแมบางคร้ังเชียงแสนจะเคยตกไปอยูภายใตอํานาจของพมาบาง พุทธศิลปเชียงแสนมีมากอนพญามังรายสรางเมืองเชียงแสน การกําหนดศิลปะคงมาจากการต้ังเมืองเชียงแสนเปนตัวกําหนด อาณาจักรเชียงแสนนาเช่ือวาเปนอาณาจักรท่ีรุงเรือง เปนศูนยกลางแหงความรุงเรืองดานศิลปะและวัฒนธรรมในเขตภาคเหนือของไทย

พัฒนาการพุทธศิลป พุทธศิลปเชียงแสนเปนศิลปแบบเถรวาท ท่ีรูจักกัน คือ “พระสิงห” มีลักษณะคลาย

แบบคุปตะของอินเดีย และยอมรับกันวาเปนพุทธศิลปของไทยแท ๆ เปนแบบแรก มีลักษณะเปนของตัวเอง โดยเฉพาะพระสิงหหนึ่ง มีลักษณะพระอุระงามดั่งราชสิงห พระวรกายอวบอวน พระนาภีเปนลอน พระเศียรกลม พระเนตรตํ่าไมเบิกโพลง พระนาสิกงุม พระหนุเปนรอยแบบหยิก ท่ีเรียกกันวา คางหยิก เม็ดพระศกทําเปนกนหอยใหญ ยอดรัศมีเปนดอกบัวตูม ชายสังฆาฏิท่ีพาดลงน้ันอยูเหนือพระถัน เรียกวา “พระสิงหหนึ่ง” ถาเปนพระสิงหสองจะอยูระหวางพระถันและพระนาภี ถาอยูจรดพระนาภีก็เรียกวา พระสิงหสาม เฉพาะพระสิงหสามเปนแบบพุทธศิลปเชียงใหม ที่ไดรับอิทธิพลจากสุโขทัย

Page 163: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๕๐

สถาปตยกรรมแบบเชียงแสนที่เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา คือการกอสรางโบสถ วิหาร และเจดีย โบสถและวิหารสรางดวยไม เสาใชเสาไมเปนสวนมากผนังกั้นเปนฝาไม บริเวณชวงท่ีประดิษฐานพระพุทธรูป ฝาทําเปนแบบฝามุงหลังคามุงดวยกระเบ้ืองดินเผาหรือกระเบ้ืองไม ไมนิยมตีฝาเพดาน มีทางข้ึนทางดานหนาและลงทางดานขาง

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยเชียงแสน นักโบราณคดีตางก็เช่ือวาเปนพุทธศิลปของไทยแท คือสราง

ข้ึนจากชางชาวเชียงแสน ถึงแมวารูปแบบจะไดรับอิทธิผลจากพุทธศิลปคุปตะจากอินเดีย นอกจากนั้นแลวพุทธศิลปยังเปนตนแบบใหกับการสรางพระพุทธรูป การสืบทอดพุทธศิลปเปนแบบการเอาอยางตามความสัมพันธทางการคาขายและคติความนิยม โดยเฉพาะ “พระสิงห” จะเปนลักษณะท่ีโดดเดนของเชียงแสนและอาณาจักรลานนา และเปนศิลปะท่ีเปนความเปนตัวเองมากท่ีสุด

๒.๖ สมัยสุโขทัย อาณาจักรสุโขทัย เร่ิมตนสมัยพอขุนศรีอินทราทิตยประกาศต้ังกรุงสุโขทัยเปนราช

ธานี พุทธศิลปสมัยสุโขทัยจัดไดวาเปนศิลปะท่ีงดงามท่ีสุด และมีความเปนตัวเองมากท่ีสุดเร่ิมตนกรุงสุโขทัยคงมีหลายศาสนาดวยกันไมวาจะเปนพราหมณ มหายาน เถรวาทจากมอญทวารวดีและลพบุรี ตอมาสุโขทัยนับถือศาสนาพุทธแบบเถรวาทนิกายลังกาวงค

พัฒนาการพุทธศิลป พุทธศิลปสุโขทัยเปนศิลปะท่ีลงตัวและมีความเปนตัวเองมากท่ีสุด ไมวาจะเปนโบสถ

วิหาร มณฑป เจดีย และโดยเฉพาะพระพุทธรูปท่ียอมรับมีความสวยงามเชนกัน โบสถและวิหารนิยมสรางเปนอาคารโถง วิหารมีลักษณะใหญกวาโบสถ เสากลมหลังคาซอนกันหลายช้ัน ใชกระเบ้ืองเคลือบแบบสังคโลก ชอฟาเปนแบบชนิดปานลม มณฑปมีลักษณะเปนอาคาร ๔ เหล่ียม มีหลังคาเปนเคร่ืองไม มุงกระเบ้ืองซอนเปนช้ัน ๆ ประมาณ ๓ ช้ัน มณฑปท่ีมีช่ือคือมณฑปพระอจนะวัดศรีชุม เมืองสุโขทัย สวนเจดียแบงออกได ๓ แบบ คือ

๑. เจดียแบบสุโขทัยแท เรียกวา เจดียทรงพุมบิณฑ หรือทรงดอกบัว ๒. เจดียแบบทรงลังกา โดยการนําแบบมาจากลังกา ๓. เจดียแบบศรีวิชัยผสมลังกา เปนเจดียแบบฐานสูง เปนฐาน ๔ เหล่ียมมีซุมจรนํา

ท่ียอดเปนเจดียทรงกลมแบบลังกา และท่ีมุมมีเจดียเล็ก ๆ หรือมีเจดียคร่ึงวงกลมซอนกัน ประติมากรรมสําริดคือ พระพุทธรูป เปนพุทธศิลปท่ีโดดเดนและเปนลักษณะของ

สุโขทัยแท การสรางพระพุทธปฏิมาคร้ังกอน ๆ ไมมีเปลวรัศมีสูง ตอมาพอขุนรามคําแหงไดพระ

Page 164: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๕๑

พุทธสิหิงคจากลังกา แนวทางการสรางพระพุทธรูปก็เปล่ียนไปเปนแบบลังกา แตรูปทรงของพระพุทธปฏิมาของสุโขทัยนั้นเปนทรงท่ีสวยงาม และมีลักษณะออนไหว เหมือนมีชีวิตชีวาจริง ๆ จนไดรับยกยองวาสุโขทัยเปนยุคทองแหงศิลปะพระพุทธศาสนา สมัยพระธรรมราชลิไท ไดทรงสรางพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห คณะชางผูออกแบบพระพุทธรูปท้ัง ๒ องคนี้เปน คณะชางฝมือชาวเชียงแสนกับคณะชางสุโขทัย ลักษณะพระพุทธปฏิมามีจีวรบางแนบเน้ือ มีเสนออนหวาน

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสุโขทัย ถือไดวาเปนศิลปะท่ีมีความเปนตัวเองเชนกัน ถึงแมจะไดรับ

อิทธิพลจากลังกาหรือเชียงแสน และความโดดเดนก็คือ พระเมาฬี กลาวคือการสรางพระพุทธรูปท่ีผาน ๆ มาไมมีพระเมาฬีเปนยอดแหลม แตพุทธศิลปสุโขทัยกลับใชยอดพระเมาฬีแหลม ยังความโดดเดนของพุทธศิลป ท้ังนี้อาจเปนเพราะสกุลชางสุโขทัย ไดครูชาวอินเดียท่ีมีฝมือสูงมาทําการสอน พุทธศิลปสุโขทัยตางก็ไดรับอิทธิผลจากลังกาและเชียงแสน ทําใหชางสุโขทัยไดพัฒนาสรางมาเปนรูปแบบของพุทธศิลปสุโขทัยโดยตรง

๒.๗ สมัยอูทอง พุทธศิลปสมัยอูทอง แตเดิมถือวาศูนยกลางอาณาจักรอูทองอยูท่ีอําเภออูทอง จังหวัด

สุพรรณบุรี ท่ีรูจักและขนานนามกันมากท่ีสุดก็คือ พระพุทธรูป โดยกําหนดเอาพระพุทธรูปแบบหนึ่ง ไดรับอิทธิพลของศิลปะสมัยทวารวดี ลพบุรี และสุโขทัย

พัฒนาการพุทธศิลป สถาปตยกรรมอูทอง พุทธศิลปพบการสรางโบสถ วิหาร และเจดียตาง ๆ ลักษณะ

โบสถและวิหาร จะไมเจาะหนาตาง แตสรางเปนทรงยาว หลังคาเต้ีย เจดียแบบอูทองท่ีไดรับอิทธิพลศิลปะศรีวิชัย และมีเจดียลักษณะฐาน ๔ เหล่ียม เรือนธาตุ ๘ เหล่ียม มีซุมจรนํารับฐานบัวลูกแกวและองคระฆัง เจดียลักษณะนี้เปนแบบเฉพาะของพุทธศิลปอูทอง

ประติมากรรมหลอสําริดสมัยอูทอง จัดวาหลอไดอยางประณีตและมีความบางชนิดท่ีเรียกวา “บางอยางเปลือกไข” ถือวาเปนศิลปะแบบยอดเยี่ยมโดยสืบตอจากสมัยทวารวดี ระยะตอมาไดพัฒนามาเปนพุทธศิลปผสมของสุโขทัย ลักษณะประจําของพระพุทธรูปแบบอูทอง คือ มีไรพระศก ชายจีวรหรือสังฆาฏิยาวปลายตัดเปนเสนตรง ประทับนั่งขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย

การสืบทอดพุทธศิลป เปนพุทธศิลปสืบตอจากพุทธศิลปทวารวดี แตก็ไดรับอิทธิพลจากทวารวดีและขอม

ผสมกัน และขอมผสมกับลพบุรี ระยะตอมาก็ผสมเขากับสุโขทัย และสุดทายก็คล่ีคลายเปนพุทธ

Page 165: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๕๒

ศิลปอยุธยาตอนตน พุทธศิลปอูทองไมเปนท่ีรูจักมากนัก เพราะเปนชวงส้ัน ๆ เทานั้น ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปจึงเปนแบบเอาอยาง กอนท่ีจะมาเปนพุทธศิลปอยุธยาตอนตน

๒.๘ สมัยอยุธยา สมัยอยุธยา เร่ิมต้ังแตพระเจาอูทองสรางกรุงศรีอยุธยา จนถึงเสียกรุงคร้ังท่ี ๒ พุทธ

ศิลปกรุงศรีอยุธยา โดยเฉพาะพระพุทธรูปแบงออกไดเปน ๒ ระยะ คือ ยุคแรก ทําตามอยางฝมือชางอูทอง เพราะพุทธศิลปอูทองเจริญข้ึนกอนการต้ังกรุงศรี

อยุธยา เห็นไดจากพระพุทธรูปองคใหญ ณ วัดพนัญเชิง ยุคท่ีสอง ชวงแรกนิยมสุโขทัย ชวงหลังจึงเกิดมีประติมากรรมแบบอยุธยาแทจริง

สมัยพระเจาปราสาท นิยมใชศิลาสลักพระพุทธรูป มักมีพระเนตรและพระโอษฐ ๒ ช้ัน ในตอนปลายกรุงศรีอยุธยานิยมพระพุทธรูปทรงเคร่ือง มี ๒ แบบคือ แบบทรงเคร่ืองใหญ และแบบทรงนอย

สถาปตยกรรม กรุงศรีอยุธยา สามารถแบงออกได ๔ ระยะ ระยะท่ี ๑ นับต้ังแตพระเจาอูทองสรางกรุงศรีอยุธยา ทางสรางวัดข้ึน ๒ วัด คือ วัด

พุทไธศวรรย พุทธศักราช ๑๘๙๖ สราง ณ บริเวณตําบลเวียงเหล็ก เคยเปนท่ีต้ังพลับพลากอนสรางกรุง เพื่อเปนอนุสรณในการยายมาสรางนครศรีอยุธยา ส่ิงท่ีปรากฏคือ พระปรางคองคใหญ พระวิหาร พระพุทธรูป วัดพุทไธศวรรยนี้ถือวาเปนวัดแรกของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา

พัฒนาการพุทธศิลประยะท่ี ๑ พุทธศิลปยุคนี้นิยมศิลปะแบบลพบุรี จะเห็นไดจากสถาปตยกรรมโดยเฉพาะการสราง

วัด นิยมการสรางปรางคเปนหลักประธานของวัด มีวิหารอยูหนาปรางค มีระเบียงคดลอมรอบปรางค ไดจากการถายทอดสถาปตยกรรมลพบุรีมาใชในสถาปตยกรรมอยุธยา สถาปตยกรรมยุคนี้จึงไมมีหนาตาง จะมีแตชองลมแบบซ่ีลูกกรง เรียกวา “แบบเสามะหวด” หรือบางแหงทําเปนแบบสันเหล่ียมมีอกเลา วัสดุท่ีใชในการกอสรางสวนใหญเปนอิฐ

สถาปตยกรรมนั้นตกแตงดวยลายปูนปน เปนลายแบบเครือเถาตามธรรมชาติและลายประดิษฐ การตกแตงภาพใชการเขียนภาพประดับ ภาพประดับพุทธศิลปอยุธยานิยมเขียนเปนรูปพระพุทธเจาประทับนั่งเรียงเปนแถว

รูปประติมากรรมมีทั้งพระพุทธรูปและรูปเทพเจา ลักษณะสวนใหญเขมแข็ง บึกบึน มีลักษณะผสมท้ังลพบุรี อูทองและสุโขทัย ถือกันวาศิลปะอยุธยายุคตนนี้สืบตอจากอูทองตอนปลาย โดยเฉพาะพระพุทธรูป ท่ีมีพระวรกายท้ังหนาและบาง ทาทางขึงขัง บัวรองฐานทําเปนฐานแอนโคง

Page 166: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๕๓

ระยะท่ี ๒ สมัยพระบรมไตรโลกนาถ ยุคนี้นิยมพุทธศิลปแบบสุโขทัย พระองคทรงถวายวังใหเปนวัด เดิมเรียกวา พุทธาวาส เพราะไมมีพระสงฆ ตอมาเรียกวา วัดพระศรีสรรเพ็ชญ สมัยพระรามาธิบดีท่ี ๒ ไดทางสรางวิหารใหญแลวหลอพระพุทธรูปยืนสูงใหญ คือ พระศรีสรรเพ็ชญ ท่ีเมืองพิษณุโลก

พัฒนาการพุทธศิลประยะท่ี ๒ นิยมสรางสถาปตยกรรมแบบสุโขทัย โดยเฉพาะการสรางเจดียทรงกลม ถือวาเปน

การพัฒนาพุทธศิลปตามแบบขอมมาเปนแบบสุโขทัย เรียกกันวา “ทรงลังกา” การสรางอาคารโดยเฉพาะโบสถ วิหาร มีลักษณะแนน บึกบึน กวางใหญ ลักษณะอาคารโบสถหรือวิหารก็ดีจะมีลักษณะยกฐานสูง นิยมมีพะไลดานขาง

ประติมากรรมเปนลักษณะท่ีตอเนื่องกับศิลปะอยุธยาตอนตน โดยเฉพาะพระพุทธรูป มีลักษณะออนโยนไมแข็งกราวเหมือนยุคแรก ๆ นิยมเรียกวา “แบบหนานาง”

ประณีตศิลป มีการแกะสลักไมและเคร่ืองทองท่ีแสดงถึงความอลังการ สมัยอยุธยาระยะท่ีสอง มีความสัมพันธกับจีนเปนอยางมาก คือเคร่ืองถวยสังคโลก แตเดิมทํากันท่ีเมืองสุโขทัยและศรีสัชนาลัย ตอมาเปล่ียนจากการสั่งจากจีนเขามา โดยเฉพาะเคร่ืองถวยชามท่ีเรียกวา “ถวยชามสมัยราชวงคเหม็ง”

ระยะท่ี ๓ นับแตพระเจาปราสาททอง พระองคทรงโปรดศิลปกรรมแบบเขมร โปรดใหจําลองพระนครวัดมาสรางไว ณ ตําบลวัดเทพจันทร ริมแมน้ําปาสัก เรียกวา ตําหนักพระนครหลวง เพื่อใชเปนท่ีประทับพักรอนขณะเสด็จไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี แตการกอสรางทําไดไมใหญโต จึงแปลงเปนวัดไป

พัฒนาการพุทธศิลประยะท่ี ๓ ศิลปกรรมอยุธยายุคนี้การกอสรางเร่ิมมีหนาตางเปดปดได ดังจะเห็นไดจากการ

กอสรางอาคารบางหลังในลพบุรี ท่ีสรางสมัยพระนารายณ อิทธิพลทางสถาปตยกรรมแบบยุโรปไดเร่ิมแผเขามามีอิทธิพลอยูในสถาปตยกรรมไทยต้ังแตนั้นมา การกอสรางซุมประตูหนาตางโคงแหลม ก็เร่ิมมีอิทธิพลในยุคนี้เชนกัน เชน ซุมประตูทางเขาพระบรมมหาราชวังท่ีลพบุรี และวัดกุฏีดาว

สถาปตยกรรมโดยเฉพาะอาคารตาง ๆ เร่ิมนิยมทําเปนเสนโคงท่ีฐานและหลังคา เปนลักษณะสืบเนื่องมาคร้ังพุทธศิลปสมัยสุโขทัย โดยเฉพาะชายคาช้ันปกนกนั้น พุทธศิลปอยุธยาไมนิยมสรางยื่นออกมามาก การมุงหลังคานิยมใชกระเบ้ืองชนิดหางตัดและกระเบ้ืองชนิดกาบ

Page 167: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๕๔

กระเบ้ืองท่ีใชมุงท่ีเปนกระเบ้ืองเคลือบนั้นมีใชเปนคร้ังแรกในแผนดินพระเพทราชา โดยใชมุงท่ีวัดบรมพุทธาราม ชาวอยุธยาเรียกติดปากเปนสามัญวา “วัดกระเบ้ืองเคลือบ”

ระยะท่ี ๔ นับต้ังแตสมัยพระเจาบรมโกศ พุทธศิลปอยุธยาสมัยนี้เปนสมัยท่ีมีการซอมแซมมากกวาสรางใหมพุทธศักราช ๒๒๙๔ สมเด็จพระเจาบรมโกศ ไดอาราธนาพระเถระผูทรงความรูจากอยุธยา คือ พระอุบาลีเถระ กับพระอริยมุนีเถระ พรอมดวยพระคณะ ออกไปฟนฟูพระพุทธศาสนาในลังกา ดังนั้นพระพุทธศาสนาในลังกา เรียกวา พระพุทธศาสนาลัทธิสยามวงค หรือ อุบาลีวงค

พัฒนาการพุทธศิลประยะท่ี ๔ พุทธศิลปท่ีเกิดข้ึน สวนใหญเปนการบูรณะปฏิสังขรมากกวาการสรางข้ึนมาใหม

พุทธศิลปท่ีสรางข้ึนมาใหมก็คือ บานประตูมุก ธรรมมาสนเทศน ในวิหารพระพุทธชินราชท่ีพิษณุโลก สถาปตยกรรมยุคนี้ นิยมเสนฐานและเสนหลังคาออนโคงเปนแนวขนาน ประณีตศิลปท่ีเกิดข้ึนคือ เคร่ืองเบญจรงค โดยชางไทยเปนผูใหแบบและส่ังทําจากเมืองจีน

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยอยุธยา ถือไดวามีความหลากหลาย ตามคติความนิยม เชน ยุคท่ีหนึ่ง

นิยมพุทธศิลปลพบุรี พระพุทธรูปผสมกันท้ังลพบุรี อูทองและสุโขทัย ยุคท่ีสองนิยมแบบสุโขทัย ยุคท่ีสามนิยมแบบขอม และยุคท่ีส่ีเปนยุคแหงการปฏิสังขรณ ดังนั้นการสืบทอดจึงเปนแบบเอาอยางและตามความนิยม

๒.๙ สมัยรัตนโกสินทร พุทธศิลปสมัยราชกาลท่ี ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก พระองคทรงสถาปนากรุงเทพมหานครข้ึน

โดยใชรูปแบบผังเมืองของกรุงศรีอยุธยา พุทธศิลปตาง ๆ ก็เอารูปแบบมาจากกรุงศรีอยุธยา บรรดาชางกอสราง ชางเขียน ชางปนลวนมีฝมือและความสามารถจากสกุลชางอยุธยาตอนปลาย ไดฟนตัวและรวบรวมกันเปนหมวดหมูในสมัยกรุงธนบุรี ยอมเปนเหตุใหรูปแบบคติการสรางศิลปกรรมในสมัยนี้สวนใหญเปนตามแบบพุทธศิลปสมัยอยุธยาตอนปลาย สวนใหญยังมีลักษณะ “ทรงโรง” ฐานโบสถวิหาร เสนออนโคงทองชาง ทรวดทรงพระเจดียยังนิยมรูปแบบพระเจดียยอไมสิบสอง และยอไมยี่สิบ

Page 168: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๕๕

จิตรกรรม มีลักษณะพิเศษ คือ จิตรกรรมท่ีหอพระไตรปฏก วัดระฆังโฆสิตาราม พระอุโบสถวัดราชสิทธาราม จิตรกรรมท่ีไดรับการยกยองคือ พระอาจารยนาก ผูทรงสมณเพศอยูวัดทองเพลง ในคลองบางกองนอย

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยรัชกาลท่ี ๑ เปนชวงของการบูรณะปฏิสังขรณ ไมวาจะเปนวัดวาอาราม

ตาง ๆ หรือพระบรมมหาราชวัง เชน วัดพระเชตุพน และทรงสรางวัดข้ึนอีก คือ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดสระเกษ และวัดสุทัศน โดยไดรับการถายแบบจากพุทธศิลปสมัยอยุธยาตอนปลาย แตจิตรกรรมนิยมการใชสีเขมมากข้ึน และนิยมการปดทองดวย

พุทธศิลปสมัยรัชกาลท่ี ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ลักษณะพุทธศิลปและสถาปตยกรรม

เชนเดียวกับสมัยรัชกาลท่ี ๑ ส่ิงท่ีปรากฏก็มีแตงานปฏิสังขรณพระบรมมหาราชวัง และวัดวาอารามเกาจํานวนมากท่ีชํารุดทรุดโทรม ท้ังนี้พระองคทรงเปนนักศิลปกรรมองคหนึ่ง กลาวกันวา พระพักตรของประธานในพระอุโบสถวัดอรุณราชวรารามเปนฝพระหัตถของพระองค ท่ีพิเศษก็คือ วัดราชโอรสาราม เปนสถาปตยกรรมจีนผสมไทยท่ีสวยงาม นับเปนพระอารามตนแบบพุทธศิลปแนวใหม เรียกวา แบบพระราชนิยม ไมมีชอฟา ใบระกา หางหงส ฝาไขรา หนาบันช้ันพระ สาหรายรวงผ้ึง บัวหัวเสา คันทวย สถาปตยกรรมแบบใหมนี้เรียกอีกวา “วัดนอกแบบ” และเรียกวัดท่ีสรางตามแบบไทย ๆ วา “วัดในอยาง”

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยรัชกาลท่ี ๒ ก็ยังเปนแบบอยางรัชกาลท่ี ๑ คือรับการถายแบบมาจาก

พุทธศิลปสมัยอยุธยาตอนปลาย ลักษณะพุทธรูปท่ีสรางข้ึนเปนการปนพระพุทธรูปแบบพิเศษอยูอยางหนึ่ง คือ การวางพระหัตถขวา ต้ังเปนฉาก จะเห็นไดจากพระประธานในโบสถวัดอรุณ และพระพุทธรูปตามพระระเบียงคต เปนฝมือของชางหลวง สถาปตยกรรมสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนท่ีนับวาเปนช้ินเยี่ยม ก็คือ พระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๓ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว มีการกอสราง บูรณะปฏิสังขรณและ

ฟนฟูสกุลชางไปดวยกันคือ การสรางพระพุทธรูปเปนจํานวนมาก ทรงโปรดหลอพระประธาน เพื่อพระราชทานตามวัดตาง ๆ นอกจากนี้ทรงสรางพระพุทธรูปใหญพิเศษ คือ พระพุทธไตรรัตนนายก และพระพุทธไสยาสน เปนพระปางไสยาสนท่ีใหญท่ีสุดในประเทศไทย

Page 169: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๕๖

ลักษณะศิลปกรรมนี้ไดเปล่ียนรูปแบบประเพณีเดิมมาเปนแบบผสม มีท้ังแบบยุโรปและแบบจีน คนจีนนําศิลปะ และรูปแบบการกอสรางเขามาเผยแผดวย สถาปตยกรรมท่ีทําใหเกิดการกอสรางแบบใหมท่ีเปนคตินิยมอีกแบบหนึ่ง คือ โลหะปราสาท วัดราชนัดดา รูปเรือสําเภาจีน วัดยานนาวา การกอสรางสถูปเจดียคือ นิยมพระเจดียยอมุมไมสิบสอง ยอมุมไมสิบหก และยอมุมไมยี่สิบ

งานสถาปตยกรรมท่ีเปนสัญลักษณโดยเฉพาะรัชกาลท่ี ๓ ไดแก รูปแบบเคร่ืองยอด “ทรงมงกุฏ” เชน ซุมประตูจตุรมุขพระระเบียง วัดอรุณราชวราราม ยอดพระมณฑปวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ยอดเศวตกุฏคารวิหารยอด วัดพระศรีรัตนศาสนดาราม

การสืบทอดพุทธศิลป เปนแบบนิยมผสม คือแบบยุโรปและจีน แตสถาปตยกรรมสวนใหญจะเปนศิลปะจีน

ผสมระหวางไทยและจีน โดยเฉพาะกระเบ้ืองเคลือบ นอกจากนี้ยังนิยมการสรางดวยอิฐถือปูนจากการเปล่ียนการสรางดวยไม สวนพระเจดียก็นิยมแบบยอมุมไมสิบสอง ยอมุมไมสิบหก และยอมุมไมยี่สิบ ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปรัชกาลที่ ๓ เปนแบบการสรางข้ึนใหมและเปนการนําศิลปะแบบยุโรป แบบจีน มาผสมเขากับพุทธศิลปของไทย

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๔ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงโปรดกอสรางวัด

ข้ึนมาใหม ๕ วัด คือ วัดบรมนิวาส วัดโสมนัสวิหาร วัดปทุมวนาราม วัดราชประดิษฐสถิตยมหาสีมาราม วัดมกุฏกษัตริยาราม

ศิลปกรรมนิยมพุทธศิลปแบบสมัยอยุธยาตอนตน เชน การสรางวัด นิยมมีวิหารอยูทางดานหนา พุทธเจดียอยูตรงกลาง มีพระอุโบสถอยูดานหลัง โบสถต้ังขวางอยูทางดานหลัง หนาบันประดับดวยกระเบ้ือง ชอฟาใบระกาเปนปูนปน การสรางเจดียในยุคนี้นิยมสรางเจดียทรงกลมมากกวาเจดียเหล่ียม ซุมประตูหนาตางมักทําเปนรูปพระปรมาภิไธย

สถาปตยกรรมท่ียอดเยี่ยมท่ีสุดในยุคนี้ก็คือ ปราสาทพระเทพบิดร และ พระท่ีนั่งอาภรณภิโมกข ปราสาทพระเทพบิดรอยูในวัดพระแกว เปนปราสาทยอดปรางคท่ีงามท้ังทรวดทรง สัดสวน ช้ันท่ีรับยอดปรางคแทนท่ีจะทําเปนชั้น ๆ รับหลังคาเชนยอดปราสาทท่ัวไป กลับทําเปนช้ันอัสดงรับยอดแทน

สถาปตยกรรมแบบยุโรปไดเร่ิมแพรหลายเขามาในสมัยนี้ ทําใหความนิยมไปสูรูปแบบฝายตะวันตกแทนรูปแบบศิลปะจีน กระบวนการชางศิลปะอยางยุโรปไดเร่ิมตนแพรหลายออกไปสูวัดวาอารามและวัง

Page 170: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๕๗

จิตรกรรม ไดเปล่ียนแปลงรสนิยมแบบเดิมโดยนําเอาวิธีการแบบตะวันตกเขามาใช เชน โครงรางของภาพกระเดียดไปทางตะวันตก ผูท่ีนําเอาวิธีการเชนนี้เขามาใชก็คือ ขรัวอินโขง เปนภิกษุชาวเพชรบุรี จําพรรษาอยูวัดเลียบ (วัดราชบูรณะ) ผลงานยังมีเหลืออยู เชนท่ีวัดบวรนิเวศ วัดบรมนิวาส

ประติมากรรม ก็นิยมการปนรูปตามแบบยุโรป เชน พระบรมรูปฉลองพระองคเต็มยศ ทรงพระมาลาแบบสกอต ปนโดยชางชาวไทย พระพุทธรูปท่ีนิยมคือ พระพุทธรูปไมมีเมาฬีเปนจอม จะมีแตพระเศียรกลมและรัศมี จีวรท่ีทรงเปนจีวรร้ิวถือเปนงานพุทธรูปท่ีกาวหนาออกไปอีกข้ันหนึ่งในพุทธศิลปไทย

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปสมัยรัชกาลที่ ๔ กลับนิยมพุทธศิลปอยุธยา แตก็มีการประดับประดาตาม

ศิลปะยุโรป พระเจดียก็นิยมแบบเจดียกลมมากกวาเจดียเหล่ียม พระพุทธรูปก็นิยมพระพุทธรูปไมมีพระเมาฬีเปนจอม จะมีแตพระเศียรกลมและมีรัศมี และสมัยนี้ก็นิยมการปนตามแบบยุโรป เชน พระบรมรูปฉลองพระองคเต็มยศ ท้ังนี้ไดเกิดพระภิกษสงฆท่ีเปน “ชาง” จิตรกรรม ท่ีประดับฝมือการเขียนรูปภาพ คือ ขรัวอินโขง ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปเปนแบบคติความนิยม คือลักษณะตัวแบบเปนพุทธศิลปอยุธยา

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๕ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงใหร้ือวัดเบญจมบพิตร

หลังเกาแลวสถาปนาวัดข้ึนมาใหม พระนามวา “วัดเบญจมบพิตรดุสิตวราม” เปนวัดท่ีสวยงามกวาทุกวัด ตัวพระอุโบสถและระเบียงสรางดวยหินออนอิตาลี ทางหัวเมืองพระองคทรงสรางเชน ท่ีเกาะสีซัง โปรดใหสรางวัดอัษฏางคนิมิตร

สถาปตยกรรม ไดเปล่ียนเปนแบบยุโรปเรือนฝากระดานแบบฝาปะกนคอย ๆ หมดไป อาคารแบบยุโรปและอเมริกาเขามาแทน สถานท่ีราชการไดเปล่ียนเปนแบบยุโรป สถาปตยกรรมท่ีมีช่ือเสียงก็คือ พระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาท แตเปนแบบผสมกับยุโรป

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปรัชกาลที่ ๕ เปนพุทธศิลปท่ีเปดรับศิลปะจากชาติตะวันตก ท่ีหล่ังไหลและ

ไดรับความนิยมขณะน้ัน อนึ่งดานสถาปตยกรรมนิยมการสรางอาคารแบบยุโรป โดยมีการวาจางชางศิลปะตางชาติเขามาออกแบบและกอสราง สถาปตยกรรมท่ีมีช่ือเสียงคือ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท สวนวัดคือ วัดเบญจมบพิตร การสืบทอดพุทธศิลปสมัยนี้ เปนการเปดศิลปะจากชาวตะวันตกเขามาผสมผสานกับพุทธศิลปไทย

Page 171: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๕๘

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๖ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว เปนสมัยท่ีพระพุทธศาสนา

เจริญรุงเรืองจึงเปนการปรับปรุงระบบการศึกษาเปนสวนใหญ จึงไมมีการสรางวัดเพิ่ม ทรงหันไปสนับสนุนการสรางโรงเรียน คือ โรงเรียนมหาดเล็ก ภายหลังเปนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย โรงเรียนนี้สรางเหมือนวัด โดยมีพระราชประสงควา “ใหเปนวัดไดถาตองการ”

ศิลปกรรมทรงใหความสําคัญในการฟนฟูงานศิลปกรรมไทย ดําริใหมีการจัดต้ังกรมศิลปากร เพื่อทํานุบํารุงพัฒนางานชางและการสรางงานศิลปกรรมใหกาวหนาข้ึน ทรงเปดอาคารใหมของโรงเรียนหัตถกรรมราชบูรณะและพระราชทานนามวา โรงเรียนเพราะชาง นับวาเปนโรงเรียน ท่ีทําการเรียนการสอนเกี่ยวกับงานชางศิลปแหงแรกของไทย

ทรงฟนฟูงานชางศิลปไทยข้ึนโดยมีจุดประสงคท่ีจะดํารงรักษาลักษณะความเปนไทยในงานศิลปะใหมีความกาวหนาสืบไป จิตรกรรมท่ีไดรับความนิยมคือ พระวรรณาวาดวิจิตร (ทอง) จารุวิจิตร ผูเขียนภาพฝาผนังในพระอุโบสถวัดระฆังโฆสิตาราม

การสืบทอดพุทธศิลป พระองคทรงใหความสนับสนุนการฟนฟูชางศิลปะไทย โดยการจัดต้ังกรมศิลปากร

เพื่อทําหนาท่ีทํานุบํารุงชางศิลปะไทย และต้ังโรงเรียนเพาะชาง เพื่อใหเปนแหลงการเรียนการสอนชางศิลปะไทย ดังนั้น การสืบทอดพุทธศิลปไดเปล่ียนแปลง คือเปนการเรียนการสอนศิลปะของไทยท้ังหมด มิไดเปนพุทธศิลปเหมือนดังเดิม

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๗ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เปนสมัยแหงการเปล่ียนแปลงท้ัง

ทางดานการเมือง เศรษฐกิจและการศาสนา รัฐบาลไดจัดใหมีการบูรณะปฏิสังขรณวัดพระศรีรัตนศาสดารามคร้ังใหญ จิตรกรท่ีเปนแมกองควบคุมงานคือ พระเทวาภินิมมิต (ฉาย เทียมศิลปไชย) จิตกรที่สรางผลงานจิตรกรรมแนวใหม คือ พระอนุศาสตรจิตรกร (จันทร จิตรกร) เขียนประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

การศึกษาศิลปะนั้น มีการจัดต้ังโรงเรียนประณีตศิลปกรรม พุทธศักราช ๒๔๗๖ โดยศาสตราจารยศิลป พีระศรี เปนผูอํานวยการตอมาเปลี่ยนช่ือเปน โรงเรียนศิลปากร แผนกงานชาง ใหการศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพทางจิตกรรมและประติมากรรม ตามรูปแบบศิลปไทยและแบบสากล

Page 172: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๕๙

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปในรัชกาลท่ี ๗ เปนชวงแหงการเปล่ียนแปลงประวัติศาสตรประเทศ ดังนั้น

พุทธศิลปและศิลปะไทยก็ไดชะงักลง แตก็ทรงใหการสนับสนุนการเรียนการสอนชางศิลปะไทยดวยการจัดต้ังโรงเรียนศิลปากร ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปกลับไปสูการเรียนการสอนงานชางศิลปะไทย แตไมมีการสรางข้ึนใหมแตอยางใด

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๘ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล เนื่องดวยระยะการปกครองท่ีส้ัน

ดังนั้นกิจการของพระองคคณะรัฐบาลรับสนองดําเนินการ โรงเรียนศิลปากรแผนกชาง ไดยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยศิลปกร ต้ังคณะจิตรกรรม

และประติมากรรมเปนคณะวิชาแรก นับเปนสถาบันศิลปะช้ันอุดมศึกษาแหงแรกของไทย ผลิตบัณฑิตท่ีมีความสามารถทางงานชางศิลปะไทยประเพณี และศิลปะสมัยใหม

การสืบทอดพุทธศิลป เนื่องดวยในรัชกาลที่ ๘ เปนชวงการปกครองท่ีส้ัน การกอสรางท่ีเปนงานงานพุทธ

ศิลป คือการกอสรางวัดพระศรีมหาธาตุ ท่ีบางเขน สรางข้ึนเพื่อใหพระสงฆ ๒ นิกายอยูรวมกัน ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปก็คงอยูในหนวยการเรียนการสอนของกรมศิลปากร

พุทธศิลปรัชกาลท่ี ๙ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช พระพุทธศาสนาไดเจริญกาวหนา

พระองคทรงเอาใจสนับสนุนการศึกษาพระพุทธศาสนา ท้ังมหาวิทยาลัยสงฆ ๒ แหง คือ มหามกุฏราชวิทยาลัย และมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนึ่งการเผยแผพระพุทธศาสนาไดเจริญกาวหนาไปถึงตางประเทศ พระราชสิทธิมุนีจึงเดินทางไปอังกฤษ และดําเนินการสรางวัด พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โปรดพระราชทานนามวา วัดพุทธประทีป ต้ังแตนั้นมาพระสงฆไทยเร่ิมเขาไปเผยแผพระพุทธศาสนาในตางประเทศเพ่ิมมากข้ึน

การสืบทอดพุทธศิลป พุทธศิลปะรัชกาลท่ี ๙ ทรงใหการสนับสนุนในดานการเรียนการสอนพระพุทธศาสนา

ไมวาจะเปนระดับมหาวิทยาลัย การสืบทอดพุทธศิลป ใหเปนหนาท่ีของรัฐบาล โดยกรมศิลปากรเปนหนวยงานปฏิบัติงานดานโบราณสถาน – โบราณวัตถุ

Page 173: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๖๐

บทสรุปพัฒนาการพุทธศิลป การศึกษาเร่ือง ประวัติและพัฒนาพุทธศิลปในอินเดีย และ ประวัติและพัฒนาพุทธศิลป

ในเมืองไทย เปนการศึกษาเพื่อใหเขาใจเกี่ยวกับประวัติศาสตรพุทธศิลป เร่ิมต้ังแตการเกิดสรางวัดคร้ังแรก ประวัติการสรางสถูปหรือพระเจดีย เพื่อบรรจุพระบรมธาตุขององคพระสัมมาสัมพุทธเจา จนพัฒนาการมาเปนพุทธศิลป สามารถสรุปไดอยู ๓ ระยะ คือ

ระยะท่ี ๑ คือพุทธศิลปอินเดีย เร่ิมสมัยคันธาระ มถุรา อมราวดี คุปตะ ปาละเสนะ เปนพุทธศิลปเกี่ยวกับพุทธศาสนา กลาวคือดังเดิมชาวอินเดียยังไมมีการสรางรูปเคารพ พุทธศิลปท่ีปรากฏจึงเปนรูปอ่ืนแทน เชน ปางมหาภิเนษกรณ ก็ทําเปนรูปมาผูกเคร่ืองไมมีคนข่ี ปางประทานปฐมเทศนา ก็ทําเปนรูปธรรมจักรมีกวางหมอบ ตอมาราวพุทธศตวรรษ ๓๐๐ แควนคันธาระในอินเดียไดรับอารยธรรมจากชาวกรีก – โรมัน หรือเรียกวา พวกโยนก ตอมาพุทธศตวรรษ ๕๐๐ แควนคันธาระถูกชนเผาเรรอน จากเตอรกีสถานมีอํานาจเหนือแควนคันธาระ โดยพระเจากนิษกะมหาราช เม่ือพระองคทรงเล่ือมใสและอุปถัมภพุทธศาสนา ก็ทรงสรางรูปเคารพของพุทธศาสนา เรียกวา พระพุทธรูป โดยฝมือพวกชางชาวโยนก ท้ังนี้ชาวโยนกเปนชนชาติฝร่ัง พระพุทธรูปสมัยคันธาระทรงมีลักษณะเหมือนฝร่ัง จนมาเปนพระพุทธศิลปคันธาระ ตอมาธรรมเนียมการสรางรูปเคารพหรือพระพุทธรูป ไดรับความนิยมเปนอยางมาก ทําใหเกิดพุทธศิลปตามสมัยตาง ๆ ไมวาจะเปนมถุรา อมราวดี คุปตะ ปาละเสนะ แตลักษณะการสรางก็จะแตกตางกันออกไป คงเปนไปตามรูปรางของกลุมชนสมัยนั้น ๆ และตามความนิยมของกลุมชาง ดังนั้นพุทธศิลปในระยะท่ี ๑ คือ พระพุทธรูป เปนแบบตามคตินิยมของพระพุทธศาสนา ท้ังแบบเถรวาทหรือแบบมหายาน

ระยะท่ี ๒ พุทธศิลปในเอเชียอาคเนย ไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปจากอินเดีย โดยผานการคาขายและการเผยแผศาสนาของนักบวช มีท้ังพุทธศาสนาและศาสนาอินดูหรือพราหมณ พุทธศิลประยะนี้กําหนดตามรายช่ือประเทศ ไดแก พุทธศิลปลังกา จาม ชวา ขอม มีการสรางพระพุทธรูปและพระเจดีย พุทธศิลปก็มีท้ังจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรม พุทธศิลประยะนี้จะใกลเคียงและมีความสัมพันธกับพุทธศิลปในประเทศไทยอยางใกลชิด

ระยะท่ี ๓ พุทธศิลปในประเทศไทย กลุมชนดังเดิมของประเทศไทย มีการปกครองกันเปนแวนแควนและไมข้ึนตรงตอกัน แตจะมีบางเปนบางคร้ังเมืองแวนแควนนั้นมีแสนยานุภาพดานทหารสามารถมีอิทธิผลเหนือแควนอ่ืน ๆ พุทธศิลปมีตามช่ือยุคสมัย คือสมัยสุวรรณภูมิ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อูทอง อยุธยา และรัตนโกสินทร เปนพุทธศิลปท่ีไดรับอิทธิพลท้ังจากอินเดียและเอเชียอาคเนยดวยความสัมพันธทางการคาขาย และการเลาเรียนศึกษา โดยชนชาติท่ีเขามาปฏิสัมพันธมากก็คืออินเดียและจีน ดังนั้นการเคล่ือนไหวทางพุทธศิลปจึงไปท่ัวถึงกัน จนมาถึงสมัยรัตนโกสินทร เร่ิมมีการสงเสริมการศึกษามากข้ึน และชวงนี้ศิลปะทาง

Page 174: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๖๑

ตะวันตกกับนิยมเพิ่มข้ึนเชนกัน พุทธศิลปท้ังท่ีเปนโบราณสถาน – โบราณวัตถุ ก็ไดรับการเอาใจใส ปฏิสังขรณซอมแซม ใหเปนมรดกอันทรงคุณคาของชาติ

จากการศึกษาประวัติความเปนมาของพุทธศิลป ต้ังแตการเร่ิมสรางการสรางสถูปหรือพระธาตุเจดีย ภายหลังพุทธกาล ก็มีการสรางพระพุทธรูป เพื่อใหเปนรูปเคารพของพุทธศาสนา และสืบทอดพัฒนาการมาเปนพุทธศิลปไปดินแดนตาง ๆ ไมวาจะเปนในแถบเอเชียอาคเนย หรือในประเทศไทย พุทธศิลปก็ไดรับการสืบเนื่องและมีความสัมพันธกันตลอดมา

บทสรุปการสืบทอดพุทธศิลป

การศึกษาเร่ือง ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในอินเดีย และ ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในเมืองไทย เปนการศึกษาเพื่อใหเขาใจเกี่ยวกับประวัติศาสตรพุทธศิลป ต้ังแตจากอินเดีย มาถึงกลุมเอเชียอาคเนย และมาถึงประเทศไทย สามารถสรุปการสืบทอดพุทธศิลปได คือ

ระยะท่ี ๑ พุทธศิลปในอินเดีย ถือไดวาเปนจุดเร่ิมตนของพุทธศิลป โดยเฉพาะแควนคันธาระ อยูตอนเหนือของอินเดียและเปนศูนยรวมพระพุทธศาสนาในเวลาน้ัน พุทธศิลปท่ีปรากฏอันเปนความสามารถเชิงชางฝมือชาวโยนก ภายหลังเม่ือชาวโยนกเคารพเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา ท้ังนี้คติความเช่ือของชาวโยนกอยางหนึ่ง คือการสรางรูปเคารพ จึงปรากฏเปนพระพุทธรูป เปนรูปเคารพ และคติความนิยมนี้ก็เผยแผออกไปแควนตาง ๆ ในเวลาตอมา ไดแก มถุรา อมราวดี คุปตะ ปาละเสนะ พุทธศิลปอีกสวนหนึ่งคือ สถูปหรือเจดีย วิหาร ก็ยังมีท่ัวไปในแวนแควนท่ีเล่ือมใสพุทธศาสนา ดังนั้นการสืบทอดพุทธศิลปในระยะแรก จึงเปนการสืบทอดจากการอุปภัมถของกษัตริยในแควนตาง ๆ ท่ีทรงเล่ือมใสและศรัทธาในพุทธศาสนา พุทธศิลปจะเกิดการสรางข้ึนใหมหรือการบูรณะของเกาข้ึน ท้ังนี้การสรางข้ึนใหมหรือการบูรณะก็ข้ึนอยูกับความนิยมในยุคนั้น ๆ อนึ่งพุทธศิลปในระยะน้ีถือไดวาเปนตนแบบใหกับพุทธศิลปในยุคตอ ๆ มา

ระยะท่ี ๒ พุทธศิลปในกลุมเอเชียอาคเนย เปนพุทธศิลปท่ีสืบเนื่องมาจากพุทธศิลปในอินเดีย มาเปนพุทธศิลปในกลุมเอเชียอาคเนย ไดแก ลังกา จาม ชวา ขอม เปนการสืบทอดจากความสัมพันธทางการคาและการเผยแผศาสนา ท้ังพุทธศาสนาและอินดูหรือพราหมณ พุทธศิลปเหลานี้เกิดจากการเอาแบบอยางหรือการสรางใหมตามคติความนิยม และลักษณะของพุทธศิลปก็จะแตกตางกันบาง เชน พุทธศิลปลังกา คติความนิยมเปนไปตามแบบเถรวาท พุทธศิลปชวา คติความนิยมเปนไปตามมหายาน พุทธศิลปเหลานี้ตอมามีอิทธิพลตอการสรางพุทธศิลปในเมืองไทยเชนกัน

ระยะท่ี ๓ พุทธศิลปในประเทศไทย เปนพุทธศิลปท่ีเกิดข้ึนในอาณาจักรของไทย ไดแก สมัยสุวรรณภูมิ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อูทอง อยุธยา และ

Page 175: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๖๒

รัตนโกสินทร ตางก็ไดรับการสืบทอดจากความสัมพันธทางการคาและการเผยแผศาสนาเชนกัน โดยประวัติศาสตรระบุวา พระโสณะและพระอุตตระ นําพุทธศาสนาเขามาในสมัยสุวรรณภูมิเปนพุทธศาสนาเถรวาท ดังนั้นพุทธศิลปโดยมากเปนคติความนิยมเถรวาท นอกจากนี้พุทธศิลปของไทยจะไดรับการอุปภัมถจากพระมหากษัตริยอยางใกลชิด ทําใหพุทธศิลปในประเทศไทยเจริญรุงเรืองมาเปนลําดับ แตลักษณะพุทธศิลปจะมีความแตกตางกันบางตามคติความนิยม เชน แควนเชียงแสนนิยมพระพุทธรูปท่ีมีพระเมาฬีเปนดอกบัวตูม แควนสุโขทัย นิยมพระพุทธรูปท่ีมีพระเมาฬีเปนยอดแหลม ท้ังนี้พุทธศิลปท่ีเปนพระเจดีย พระวิหาร โบสถ ก็จะถือตามคติความนิยมเชนกัน เชน สุโขทัยนิยมพระเจดียแบบทรงกลม อยุธยาตอนปลายและกรุงรัตนโกสินทรตอนตนนิยมพระเจดียแบบเหล่ียม ถือไดวามีความหลากหลายทั้งคติความนิยม รูปแบบ ขนาด ตามลักษณะพุทธศิลปสมัยตาง ๆ

๓. การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)

การศึกษางานวิทยานิพนธเร่ือง การสืบทอดพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จังหวัดเชียงใหม เปนการศึกษาการสืบทอดงานชางพุทธศิลปลานนา ภายในวัดแสนเมืองมาหลวง วามีกระบวนการเรียนรู การสรางงาน จนมาถึงการไดรับการสืบทอดงานชางพุทธศิลปของพระภิกษุ สามเณร โดยมีหลวงพอ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร เจาอาวาสและเปนผูเช่ียวชาญงานชางพุทธศิลปลานนา เปนครูผูสอน นับวาทานเปนพระภิกษุสงฆรูปหนึ่งของลานนาท่ีเปน “พระชาง” ไดสรางสรรคงานชางฝมือดานศิลปะทางพระพุทธศาสนาเรียกวา งานชางพุทธศิลป และไดมีการถายทอดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด เพื่อเปนอนุรักษงานชางพุทธศิลปไวใหเปนมรดกทางพระพุทธศาสนา และเปนแหลงเรียนรูของอนุชนรุนหลัง ผูวิจัยไดวางประเด็นการศึกษาดังนี้ คือ

๑. ประวัติวัดแสนเมืองมาหลวง (หวัขวง) ๒. ประวติัพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร

๓. แนวคิดของพระสงฆกับการสรางงานชางพุทธศิลป ๔. จุดมุงหมายการสรางงานและการสืบทอดงานชางพุทธศิลป ๕. กระบวนการสืบทอดงานชางพุทธศิลป ๖. การวิเคราะหผลการศึกษาในการสืบทอดงานชางพทุธศิลป ๗. ประโยชนของการสรางงานพุทธศิลปะ

Page 176: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๖๓

๑. ประวัติวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) วัดแสนเมืองมาหลวง หรือ “วัดหัวขวง” ต้ังอยูท่ี ๑๗๕ ถนน พระปกเกลา ตําบลศรี

ภูมิ อําเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม ตามท่ีบันทึกของพระมหาหม่ืน วุฑฺฒิญาโณ บันทึกไวทายของตํานานพระธาตุจอมทองวา “...วัดหัวขวงเดิมเม่ือแรกสรางช่ือ วัดลักขปุราคมาราม (วัดท่ีพระเจาแสนเมืองทรงสราง

วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดรับการบูรณะคร้ังใหญใน พ.ศ. ๒๕๓๖ ไดสรางพระวิหาร บูรณะพระเจดียและจัดบริเวณตาง ๆ ของวัดใหสวยงาม สมกับเปนวัดท่ีมีความสําคัญของเมืองเชียงใหม และเพื่อรวมฉลองในวาระท่ีเมืองเชียงใหมมีอายุครบ ๗๐๐ ป ในปพ.ศ. ๒๕๓๙

๒. ประวัติพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ฉายา ปฺญาวชิโร (เตชะปญญา) เกิดวันท่ี ๗ พฤศจิกายน

พ.ศ. ๒๕๐๑ ภูมิลําเนาเดิม บานเลขท่ี ๙๙ ถนนเชียงใหม – ลําพูน บานทาสะตอย ตําบลวัดเกต อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม บิดาช่ือนายเฉลิม เตชะปญญา มารดาช่ือนางสมศรี เตชะปญญา เปนบุตรลําดับท่ี ๓ ในจํานวนพี่นองท้ังหมด ๖ คน ไดแก นายทรงเดช เตชะปญญา พระจีระศักดิ์ อรุโน พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญาวชิโร นายรัฐ เตชะปญญา (ถึงแกกรรม) นางสาวยุวนุช เตชะปญญา และพระธิวากร คมฺภีรธมฺโม

บรรพชาวันท่ี ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๑ ณ วัดทุงมานใต ตําบลบานเปา อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง พระอุปชฌาย พระครูโถมนียคุณ พระกรรมวาจา พระอธิการบุญธรรม ญาณรํสี พระอนุสาวจารย พระอธิการสมบัติ ถววรธมฺโม

ปจจุบันดํารงตําแหนงเจาอาวาส วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ถนนพระปกเกลา ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

ประวัติการสรางสรรคงานชางพุทธศิลปของพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญาวชิโร ชีวิตในวัยเด็กของทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญาวชิโร ผูกผันกับวัดและดําเนิน

ชีวิตอยูกับวัดเหมือนกับเด็ก ๆ ท่ัวไป ในสมัยกอนของลานนานั่นคือ การเขาไปเปน “ลูกศิษยวัด” หรือ “ขโยม” ท่ีตองคอยปรนนิบัติครูบาอาจารยเรียนหนังสือและอักษรพื้นเมืองจนชํานาญ ซ่ึงวัดนั้นถือไดวาเปนแหลงรวมสรรพวิชา ทุกคนตางตองแสวงหาเพ่ือประโยชนกับตัวเองไมวาจะเปน การเรียน การฝมือ งานชางประเภทตาง ๆ ซ่ึงในวัยเด็กของทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญวชิโร ก็มีชีวิตเชนเดียวกัน เม่ือทานมีอายุไดประมาณ ๑๐ ขวบ ทานไดเขาเปนลูกศิษยวัดทาสะตอย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ในสมัยนั้นทานพระครูวิมลวรเวทย (ครูบาบุญมี) ดํารงตําแหนงเจา

Page 177: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๖๔

อาวาส ทานไดเรียนรูการทํางานชางไม ซ่ึงในแตละวัด พระ พอหนาน พอนอยจะเปนท่ีคอยซอมแซม และสรางเคร่ืองไมตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับศาสนา เชน ธรรมมาสนหลวง อาสนะ จองสูตร หีบธรรม เปนตน ทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญวชิโร ก็ไดฝกหัดการเปนชางไมมาต้ังแตเด็ก ๆ จนมีฝมือดีและงานท่ีทําออกมามีความโดดเดนสวยงามมาก

งานชางเปนส่ิงท่ีไดรับการฝกฝนมาจากระบบการศึกษาภายในวัดเม่ือคร้ังอดีต หลวงพอพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ไดเล็งเห็นวา ปจจุบันกระบวนการเรียนรูดังกลาวกําลังจะหายไปจากวัด จึงไดพยายามรักษาหลักการดังกลาว ดวยการนําพระภิกษุ สามเณรในวัดใหเขาไปมีสวนรวมในการกอสรางทุกอยาง ท้ังกุฏิสงฆ หอพระไตรปฏก ศาลาบําเพ็ญบุญ วิหาร เพื่อมุงใหเกิดกระบวนการเรียนรูท่ีเปนประสบการณตรงจากการปฏิบัติจริงเปนเวลากวา ๑๐ ป นับต้ังแตดํารงตําแหนงเจาอาวาสจนถึงปจจุบัน ดวยมุงหวังใหไดพระภิกษุ สามเณร ท่ีเปนดอกผลแหงการเรียนรู ท่ียังไดเห็นคุณคา

ปจจุบันวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดมีการสงเสริมการเรียนรูตาง ๆ อาทิ ชางไม ชางกอสราง และชางออกแบบลายไทยและลานนา ชางเขียนแบบลายไทยและลานนา

๓. แนวคิดของพระสงฆกับการสรางงานชางพุทธศิลป การสรรคสรางงานชางพุทธศิลป เรียกวา “นวกัมมาธิฏฐายี” แปลวา ผูอํานวยการ

กอสราง ดั่งพระโมคลานะเถระไดรับหมอบหมายจากพระพุทธองคใหเปนผูอํานวยการกอสรางวัดบุพพาราม ตอมาไดมีพระภิกษุสงฆท่ีสามารถสรางสรรคงานชางแขนงตาง ๆ หรืองานกอสรางเสนาสนะ รวมเรียกวา “นวกรรม” แปลวา การกอสราง

“พระนวกรรม” ในอดีตท่ีมีสามารถกอสรางเสนาสนะตาง ๆ ตางก็ทํางานเฉพาะของตน ไมมีการสืบทอดฝมือใหกับลูกศิษย ตอมามีชางชุนผาเข็ญใจกลาวตําหนิพระนวกรรมวาไมมีใครอบรมส่ังสอนในงานกอสราง ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคทรงแสดงธรรมีกถาเพราะเร่ืองนี้เปนตนเหตุ รับส่ังกับภิกษุท้ังหลายวา “ภิกษุท้ังหลาย เราอนุญาตใหภิกษุ ใหนวกรรมได ภิกษท้ัุงหลาย ภิกษุนักทํานวกรรมตองขวนขวายวา “ทําอยางไรหนอวิหารจึงจะสําเร็จไดเร็ว”

การใหนวกรรมหรือการกอสรางของพระภิกษุสงฆ ยังเปนอีกบทบาทหน่ึงของพระภิกษุสงฆท่ีเผยแผและสืบตอพระพุทธศาสนา เพื่อการสงเคราะห เกื้อกูลตอสังคมและชุมชน ดังเสฐียรโกเศศ กลาววา “นอกเหนือไปจากเร่ืองศาสนาแลว พระสงฆยังเปนชาง เปนหมอยา ตลอดจนเปนตุลาการตัดสินขอพิพาทบาดหมางกัน” ความเปนชางของพระสงฆก็คือการใหนวกรรมภายหลังการกอสรางไดรับความเอาใจใสตามจิตนาการและความประณีต เรียกวาเปนงานศิลปะ

Page 178: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๖๕

การเรียนการสอนศิลปะแขนงตาง ๆ ในอดีตลวนเกิดข้ึนภายในวัด โดยมีพระภิกษุสงฆเปนผูสอน ดังศาสตราจารยโชติ กัลยาณมิตร ไดกลาววา “ในอดีตนั้นวัดเปนศูนยกลางของสมาคม (ชุมชน) ...เปนท่ีปูพื้นฐานทางศิลปะ เปนแหลงใหเกิดการสรางสรรคในทางศิลปะสําคัญ” และมีคํากลาววา “วัดเปนผูสรางศิลปะและเปนผูสืบตอศิลปะ” หมายถึง วัดเปนสถานท่ีสรางศิลปะ โดยมีพระภิกษุสงฆเปนผูสรางสรรคและไดถายทอดงานศิลปะใหกับลูกศิษยหรือคนในชุมชน ดั่งมีคํากลาววา “ชุมชนใดไมมีวัดชุมชนนั้นไมมีพัฒนาการในดานศิลปะ” ดังนั้นวัดนอกจะเปนสถานศึกษาเลาเรียน ไดแก การเลาเรียนพระธรรมวินัย การทองบทสวดมนต ตลอดถึงการฝกหัดการเทศน สวนเวลาท่ีเหลือจากการศึกษาฝกฝนเบ้ืองตนพระสงฆก็ใชไปในการสราง นวกรรมหรือ การฝกหัดงานชาง ไมวาจะเปนชางหลอ ชางไม ชางเขียน ชางเกะสลัก เปนตน วิชาท่ีไดศึกษาในระหวางการบวชเชนนี้ ยอมจะเปนประโยชนในการประกอบอาชีพ เม่ือไดสิกขาลาเพศไป หรือมีโอกาสในการสรางสรรคงานชางศิลปะภายในวัด ท้ังท่ีเปนการซอมแซมศาสนสถาน ศาสนวัตถุ หรือจะเปนสรางงานศิลปะข้ึนมาใหม เพื่อเปนการใชสอยกิจกรรมภายในวัด เชน กุฏิ วิหาร ศาลาการเปรียญ ธรรมมาสนปาฏิโมกข อาสนาสงฆ ตูธรรม เปนตน รวมเรียกงานศิลปะเหลานี้วา “งานพุทธศิลป” คืองานพุทธศิลปะทางพุทธศาสนา พระภิกษุผูสรางนวกรรมหรือผูมีฝมือทางชาง เรียกวา “พระชาง” ความเปนพระชาง อดีตจึงเปนพระภิกษุสงฆเสียสวนมาก

การสรางงานพุทธศิลป ของพระภิกษุสงฆในระยะตอมาไดถือเปน ระบบการศึกษา ของชุมชน โดยอาศัยวัดเปนสถานศึกษา และพระภิกษุสงฆเปนครูผูสอน นอกจากนี้แลวยังมีการสอนวิชาชีพ เฉพาะดานงานชางฝมือ เปนการศึกษาโดยใชเวลาวางจากการเรียนปรกติมาศึกษางานวิชาชีพ ดังเสฐียรโกเศศ กลาววา “คราวนี้ใหเรามองอีกแงหนึ่งคือ แงศิลป เชน สถาปตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ดุริยางคศิลป วรรณคดี และนาฏศิลป ในสมัยโบราณส่ิงเหลานี้อาจจะหาดูไดก็แตในวัดเปนสวนใหญ และบอเกิดแหงศิลปท่ีวานี้ก็คือ มาจากวัดท้ังโดยตรงและโดยปริยาย ท่ีวาโดยตรงก็เพราะพระทานมีเวลาวางอยูบาง ไมตองกังวลเร่ืองทํามาหากิน ทานก็ฝกฝนเร่ืองชางเร่ืองศิลปไปในตัว” เม่ือพระทานมีความชํานาญดานชางฝมือแลว ก็คงมีการสอน การถายทอดงานชางฝมือใหกับลูกศิษยภายในวัด ท้ังท่ีเปนพระภิกษุสามเณร และเด็กวัด

การศึกษาวิชาชีพเหลานี้ มีวิธีการสืบทอดคือ พระภิกษุ สามเณรก็จะเปนลูกมือพระอาจารยชางเหลานั้น ทําการฝกหัดจนชํานาญ เม่ือใชงานไดก็สามารถเปนอาชีพติดตัวไปเปนอาชีพได เชน ฝกหัดงานชาง ไดแก ชางหลอ ชางไม ชางเขียน ชางเกะสลัก นอกจากนี้ก็อาจศึกษาตําราพิชัยสงครามสําหรับกุลบุตรเจานาย การฝกหัดงานอาชีพภายในวัดของพระภิกษุ สามเณร สามารถนําไปเปนเปนอาชีพได ดังเสฐียรโกเศศ กลาววา “ถาบวชอยูนานหนอยตองชวยงานของวัด เชน ซอมแซมเสนาสนะของวัดบาง การเสมียนบาง การหมอบาง ทําจนมีความชํานาญ เม่ือสึก

Page 179: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๖๖

ออกมาก็กลายเปนอาชีพติดตัวไปดวยก็มี....แตท้ังนี้เปนไปตามใจสมัคร หรือถาไมสมัคร เพราะตองการเรียนวิชาชีพเปนเฉพาะ เชน โหราศาสตร คณิตศาสตร แพทย ชางวาดเขียน หรือชางอ่ืน ๆ ดวย ตามความสนใจ”

ปจจุบันไดมี “งานพุทธศิลป” อยูแขนงหน่ึงคือ งานชางไม เปนงานชางท่ีเกี่ยวของและใชในกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา เปนงานพุทธศิลปท่ีสรางสรรคข้ึนดวยพระสงฆ คือ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร พระภิกษุผูเช่ียวชาญงานชางไม นอกจากนั้นแลวยังมีการฝกหัดงานชางฝมือเหลานี้ใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายในวัดใหเปนผูสืบทอดงานชางพุทธศิลป เพื่อมิใหงานพุทธศิลปสูญหายไปกับกาลเวลา และเปนการสรางชางพุทธศิลปรุนใหมใหมาทดแทนชางรุนเกา โดยเฉพาะ “พระชาง” ผูท่ีมีความรูทางงานชางและสามารถสรางสรรคงานชางพุทธศิลป

๔. จุดมุงหมายการสรางและการสืบทอดงานชางพุทธศิลป การสืบทอดงานชางพุทธศิลป ภายในวัดแสนเมืองมาหลวง ไดมีความมุงหมาย ใน

การเรียนรูและฝกหัดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ – สามเณร มีอยู ๓ ประเด็น คือ ๑. เพื่อเปนพุทธบูชา โดยอาศัยงาน “พุทธศิลป” เปนส่ือกลางระหวางบุคคลในการ

เขาถึงแกนพุทธธรรม และสามารถบงบอกถึงความนุมนวล ออนชอย ความคงตัว ท่ีหมายถึง ความสงบ ความสวาง ตามหลักคําส่ังสอน โดยมีศรัทธา เปนตัวเช่ือมของการสรางงานชางพุทธศิลป

๒. เพื่อการศึกษาพุทธศิลป งานชางพุทธศิลปท่ีสรางสรรคข้ึน มีหลายรูปแบบ หลายขนาด และสรางข้ึนตามประโยชนการใชสอย การศึกษาพุทธศิลปจึงเปนการเรียนรูถึงประวัติความเปนมาของงานพุทธศิลปท่ีสรางข้ึนวา สรางข้ึนเพื่ออะไร มีประโยชนอยางไร มีรูปแบบอยางไร หรือสามารถสรางรูปแบบข้ึนใหมไดหรือไม การเรียนรูลักษณะนี้ เปนการสรางความรูพื้นฐานใหกับพระภิกษุ สามเณร ท่ีรวมฝกหัดงานชางพุทธศิลป

๓. เพื่อเอาพุทธศิลปกลับเขามาสูวัด พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ไดปรารภกับพระภิกษุ สามเณร ท่ีรวมฝกหัดงานชางพุทธศิลปเสมอวา “ตองการเอางานชางพุทธศิลป” กลับเขามาสูการเรียนรูภายในวัด โดยมีพระภิกษุสงฆเปนครูส่ังสอน ท่ังนี้ในอดีตงานชางพุทธศิลปแผนกตาง ๆ จะไดรับการเรียนรูเฉพาะภายในวัดเทานั้น

๕. กระบวนการสืบทอดงานชางพุทธศิลป การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) เปนการสืบทอดงาน

แขนงวิชางานชางไม โดยมีทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร เปนครูผูสอน และมีพระภิกษุ – สามเณร – ศิษยวัด เปนผูรับการถายทอด จากการศึกษาพบวาการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดมีกระบวนการสืบทอดคือ

Page 180: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๖๗

๑. ไมมีหองเรียนเรียน กลาวคือ เปนการเรียนรูแบบไมมีการวางแผน ไมมีการจัดต้ังเปนหองเรียน เปนการเรียนรูไปพรอมกับการสรางงาน

๒. เปนไปตามธรรมชาติ เปนการเรียนรูตามความสนใจของผูเรียน เชนมีถึง ๒๐ รูป แตพระภิกษุ สามเณร ท่ีสนใจและเขารวมฝกหัดงานชางไมแตละรุนประมาณ ๕ – ๖ รูป อีกสวนหนึ่ง เชน ชางตอง ท้ังตองกระดาษและแผนสังกะสี หรือการปดทอง

๓. ศรัทธาและแรงจูงใจ การสรางงานชางพุทธศิลปของพระอาจารยท่ีแสดงออกมาและบงบอกถึงสัญญาลักษณและความหมาย เปนแรงจูงใจใหกับพระภิกษุ – สามเณรใครเรียนรูและอยากมีความสามารถสรางสรรคงานชางพุทธศิลป

๔. บรรยากาศการเรียนรู ในการสรางงานชางพุทธศิลปเปนการสรางงานท่ีเรียกวาเรียนไปดวยและสนุกไปดวย เพราะระหวางสรางงานนอกจากจะเปนเวลาแหงการเรียนรูแลว ยังเปนเวลาแหงการพูดคุย สรางความคุนเคย เรียนรูนิสัยใจคอรวมกัน

นอกจากนั้นจากการศึกษาพบวายังมีปจจัยท่ีสงผลตอการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) คือ

๑. ปจจัยภายใน พบวาปจจัยท่ีสงผลตอการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ท่ีสงผลตอความสําเร็จของพระภิกษุ – สามเณร คือ

๑.๑ ความสนใจของพระภิกษุ – สามเณร ท่ีมีตองานชางพุทธศิลปและใครเรียนรูรวมกับพระอาจารย

๑.๒ งานฝมือของพระอาจารย ดังท่ีทราบพระอาจารยเปนผูเช่ียวชาญงานชางพุทธศิลป ผลงานท่ีแสดงออกมามีความสวยงาม มีความปราณีต ในผลงานดานฝมือของพระอาจารยทําใหพระภิกษุ-สามเณร สนใจท่ีท่ีจะเขารวมฝกหัดและสืบทอดงานชางพุทธศิลป

๑.๓ บุคลิกของพระอาจารยโดยลักษณะของทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ถาไมไดสัมผัสตัวตนของพระอาจารยแลว จะไมรูบุคลิกอีกดานหนึ่งของทาน พระอาจารยเปนคนพุดหนักแตใจดี เมตตากับลูกศิษยเสมอ

๑.๔ การสรรเสริญของอาจารย เม่ือการสรางงานสําเร็จแลว พระอาจารยจะเปนพูดกับผูพบเห็นเสมอวาเปนผลงานของลูกศิษยคนโนน คนนี้เสมอ มิไดบอกวาเปนผลงานของพระอาจารย จากลักษณะดังกลาวทําใหลูกศิษยรักและเคารพในตัวพระอาจารย

จากปจจัยดังกลาว ทําใหพบวาการฝกหัดงานชางพุทธศิลปอันเปนลักษณะการสืบทอดงานงานชางรวมกับพระอาจารย ไดสรางกระบวนการเรียนรูใหกับลูกศิษย เปนอยางมาก นอกจากนั้นพบวายังมีปจจัยภายนอกท่ีสงผลตอการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)คือ

Page 181: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๖๘

๒. ปจจัยภายนอก พบวาปจจัยท่ีสงผลตอการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ท่ีสงผลตอความสําเร็จของพระภิกษุ – สามเณรคือ

๒.๑ อุปกรณ – เคร่ืองมือชาง การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ท่ีประสบผลสําเร็จพบวามีความพรอมทุกดาน รวมท้ังอุปกรณเคร่ืองไมเคร่ืองมือดวย รวมถึงการใชเคร่ืองมือท้ังเกาและแบบสมัยใหมผสมผสานกันอยางลงตัว

๒.๒ อุดมการณในการสรางงาน ผลงานในการสรางงานชางพุทธศิลปของวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) มิไดกําหนดเปนมูลคาในผลงานช้ินนั้น ๆ แตผลงานตาง ๆ พระอาจารยจะถวายไวกับวัดตาง ๆ ท่ีสนใจ และมองเห็นคุณคาในผลงานของวัดแสนเมืองมาหลวงหัวขวง

ดังนั้น กระบวนการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) เปนกระบวนการเรียนรูมาต้ังแตอดีต หรือท่ีเรียกวาการเรียนตามอัธยาศัย ท่ีตองการศรัทธา ความใครรูและประสบการณ ฝมือของอาจารยท่ีถายทอดใหกับลูกศิษย นอกจากน้ันแลวเจตคติในการสรางงานชางพุทธศิลปและมองคุณคาของงานชางพุทธศิลปท่ีแสดงออกจากศิลปะท่ีรับการถายทอดและสืบทอดในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)

๖. การวิเคราะหผลการศึกษาในการสืบทอดงานชางพุทธศิลป การศึกษางานวิจัย การสืบทอดพุทธศิลปลานนา กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จังหวัดเชียงใหม ซ่ึงในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดดําเนินกิจกรรมการฝกหัดงานชางพุทธศิลป แขนงงานชางไม โดยกิจกรรมการฝกหัดงานชางพุทธศิลปในวัดเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชน อนึ่งทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ทานเปน “พระชาง” ท่ีเช่ียวชาญงานชางไม โดยเฉพาะงานชางไมท่ีเกี่ยวของกับพุทธศิลป และไดส่ังสอนฝกหัดใหพระภิกษุ สามเณร ไดรับการสืบทอดงานชางแขนงนี้ใหอยูคูกับบวรพุทธศาสนา จากการศึกษาไดพบประเด็น การถายทอดของทานพระอาจารยและการสืบทอดของพระภิกษุ สามเณร ในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) คือ ๑. ความเช่ียวชาญหรือฝมืองานชางของพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ท่ีทานไดรับการฝกหัดมาตั้งแตวัยเด็ก และไดรับการศึกษาจากโรงเรียนการชางชายหรือวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม ทานพระอาจารยไดพัฒนาฝมืองานชางไม แขนงงานชางพุทธศิลปในขณะดํารงสมณเพศ รวมถึงการถายทอดงานชางไมทางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณรท่ีสนใจ ไดรับการสืบทอดจากพระอาจารยอีกแขนงหนึ่ง ๒. ความสนใจของพระภิกษุ สามเณร ในวัดแสนเมืองมาหลวงรับอุปถัมภพระภิกษุ สามเณร ประมาณ ๒๐ รูป เขาจําพรรษาเพื่อเลาเรียนศึกษาพระปริยัติธรรมและมหาวิทยาลัยสงฆ

Page 182: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๖๙

นอกจากนั้นแลวการศึกษาภายในวัดก็มี เชนการสอนนักธรรมบาลี และการเปดสอนงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ท่ีสนใจงานชางพุทธศิลป จากการลงพื้นท่ีพบวามีพระภิกษุ สามเณร ท่ีสนใจจํานวน ๘ รูป ท่ีฝกหัดงานชางพุทธศิลปรวมกับพระอาจารย ๓. การบวนการศึกษา การฝกหัดงานชางพุทธศิลปไดเปนกระบวนการศึกษาของไทยในอดีต ท่ีวัดเปนโรงเรียนของชุมชน เด็กๆ ท่ีอายุครบก็บวชเปนพระภิกษุ สามเณร เพื่อรับการศึกษา เจาอาวาสเช่ียวชาญเร่ืองใดเปนพิเศษก็จะสอนเร่ืองนั้น ๆ ใหลูกศิษย ดั่งวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) พระอาจารยเช่ียวชาญเร่ืองงานชางไมก็สอนงานชางไมใหกับลูกศิษยเชนกัน อนึ่งการฝกหัดงานชางพุทธศิลปยังเปนกระบวนการศึกษาท่ีเรียกวา เรียนตามอัธยาศัย เพราะไมไดบังคับแตอยางใด ๔. อุดมการณสืบทอดและอุดมการณสรางงาน พระอาจารยไดกลาวกับผูศึกษาวาตองการเอางานชางพุทธศิลปกลับเขามาสูวัดและกับเขามาสูการศึกษาภายในวัดอีกคร้ัง ซ่ึงในการศึกษาในปจจุบันไดแยกการศึกษาออกจากวัด และทําใหวัดมีบทบาทเพียงเปนสถานท่ีทําบุญและเปนท่ีอาศัยของพระภิกษุ สามเณร เทานั้น ดังนั้นการฝกหัดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จึงเปนการเปดหองเรียนธรรมชาติอีกคร้ังหนึ่ง อนึ่งในการสรางงานชางพุทธศิลปพระอาจารยมิไดมองมูลคาของงานน้ัน ๆ แตมองเห็นคุณคาของช้ินและความหมายที่แสดงออกมาเปนงานชางพุทธศิลป ดังนั้นผลความสําเร็จการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)เร่ิมตนจากครูชาง คือทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ท่ีมีความเช่ียวชาญในถายทอดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ท่ีสนใจโดยผานการบวนการเรียนรูตามธรรมชาติและบรรยากาศการฝกหัดงานชางพุทธศิลป ท่ีคร้ังหนึ่งผูศึกษาไดเขารวมฝกหัดรวมกับพระอาจารยและพระภิกษุ สามเณร ในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)

๗. ประโยชนของการสรางงานชางพุทธศิลป การสรางงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง ไดมีการสืบทอดงานชางพุทธศิลป

ใหกับพระภิกษุ สามเณร ดวยการเขารวมฝกหัดงานชางไมใหมีความรู มีทักษะในการสรางงานชางพุทธศิลป การฝกหัดงานชางไมภายในวัด เพื่อเปนการอนุรักษและฟนฟูงานชางพุทธศิลปใหเปนมรดกทางพระพุทธศาสนา และใหเปนแหลงเรียนรูเร่ืองราวตาง ๆ ทางพระพุทธศาสนาของอนุชนรุนหลัง โดยผานงานชางพุทธศิลป

ในการสืบทอดงานพุทธศิลปคร้ังนี้ไดกอประโยชนใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายในวัดท่ีไดฝกหัดงานชางพุทธศิลปรวมกับ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร สามารถกลาวไดดั่งนี้ คือ

Page 183: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๗๐

๑. การสรางงานพุทธศิลป เปนการสรางเวลาวางใหเปนประโยชน กลาวคือ การฝกหัดงานชางพุทธศิลป เปนการใชเวลาท่ีนอกเหนือไปจากการเลาเรียนปรกติ เพื่อเปนการสรางการเรียนรู ทักษะความสามารถ เพื่อสืบทอดงานชางพุทธศิลปภายในวัดใหดํารงอยูได

๒. การสรางงานพุทธศิลป เพื่อเปนการสรางงานฝมือทางการชางพุทธศิลปทองถ่ิน ใหกับพระภิกษุ สามเณร กลาวคือ นอกจะไดมีโอกาสเลาเรียนศึกษาพระปริยัติธรรมหรือดานสามัญศึกษาแลว ยังไดมีโอกาสศึกษาวิชางานชางพุทธศิลปอีกทางหนึ่ง เม่ือพระภิกษุ สามเณร ไดรับการฝกหัดงานชางฝมือ ก็สามารถสรางงานพุทธศิลปข้ึนในทองถ่ินตนเอง

๓. การสรางงานพุทธศิลป เปนการสรางงานอาชีพใหพระภิกษุ สามเณร การฝกหัดงานชางพุทธศิลป หลวงพอจะบอกกับพระภิกษุ สามเณรท่ีรวมฝกหัดงานชางเสมอวา “วิชางานชางเหลานี้สามารถนําไปประกอบวิชาชีพได”

๔. ในการสรางงานชางพุทธศิลป ไดสรางความรูหรือขอสงสัยใหกับพระภิกษุ สามเณร ท้ังนี้ชวงระหวางการฝกหัดงานชางไมกับหลวงพอ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ทานจะเมตตาเปดโอกาสใหพระภิกษุ สามเณร ซักถามปญหาหรือขอสงสัยในประเด็นตาง ๆ จากประสบการณของหลวงพอเหลานี้จะเปนความรูใหกับพระภิกษุ สามเณรไดรับทราบ เพื่อไปใชในชีวิตประจําวันหรือนําไปแกปญหาได

๕. การสรางงานพุทธศิลป ไดสรางวิธีการวางแผนในการทํางานใหกับพระภิกษุ สามเณร ท้ังนี้ในการสรางงานพุทธศิลป จะมีการวางแผนดําเนินงาน โดยเร่ิมต้ังแต การเตรียมวัสดุอุปกรณ จะเปนแนวคิดในการวางแผนเก่ียวกับชีวิตของพระภิกษุ สามเณร วาควรมีการวางแผนชีวิตอยางไรบาง ไมวาจะเปนการเรียน หรือการดํารงชีวิต

๖. การสรางงานพุทธศิลป ยังเปนการสรางพุทธธรรมใหกับพระภิกษุ สามเณรอีกทางหนึ่ง ท้ังนี้ในการสรางงานพุทธศิลปรวมกับหลวงพอจะตองมี “ขันติ” คือความอดทน อดกล้ันตอการทํางาน เพราะการสรางงานพุทธศิลปตองใชเวลาท่ียาวนานพอสมควร ยิ่งเวลาประกอบจะตองมีความประณีตและละเอียนออนตอช้ินงาน ดั่งบทสัมภาณษพระเทพวรสิทธาจารยกลาววา “การสรางงานพุทธศิลป ไมใชไดเฉพาะภานนอก ไดถึงกรรมฐานดวย ไดสมาธิดวย ไดการศึกษา ไดความรูดวย ไมใชไดแตส่ิงของ แตวาไดคุณคาทางจิตใจดวย”

๗. การสรางงานพุทธศิลปรวมกับหลวงพอและเพื่อนพระภิกษุ สามเณร เปนการสรางความสามัคคี ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ระหวางการสรางงานรวมกัน พระภิกษุ สามเณรก็จะต้ังใจในการทํางาน เปนการสรางความสามัคคี ความพรอมเพียงและความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในการฝกหัดงานชางพุทธศิลป

Page 184: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๗๑

ดังนั้น การสืบทอดงานชางพุทธศิลป จากพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร จึงเปนการฝกหัดงานชาง ท้ังงานชางพุทธศิลปและงานชางอ่ืน ๆ ใหกับพระภิกษุ สามเณร ในวัดแสนเมืองมาหลวง เพื่อกอประโยชนใหกับพระภิกษุ สามเณร สามารถนําไปประกอบอาชีพภายหลังศึกษาลาเพศออกไป และยังเปนการสรางสรรคงานพุทธศิลป ไมวาจะเปนการซอมแซมงานพุทธสถาน วัดหรืออาราม ท่ีมีอยูใหดีข้ึนจนสามารถใชงานได หรือสามารถสรางสรรคงานพุทธศิลปข้ึนมาใหม เพื่อเปนการอนุรักษและฟนฟูงานพุทธศิลปท่ีนับวันจะเร่ิมหางหายไปจากสังคมไทย การสืบทอดงานชางพุทธศิลปในลักษณะนี้จึงเปนการสราง “ชางพุทธศิลป” รุนใหมข้ึน โดยอาศัยระบบการศึกษาแบบโบราณ คือการศึกษาแบบเรียนรูไปพรอมกับการปฏิบัติงานจริงไปดวย และเปนระบบการศึกษาภายในวัดท่ีมีอยูในปจจุบันแตก็หาไดยาก ใหไดรับรู เรียนรูการสืบทอดงานชางพุทธศิลป ดวยหวังวาการฝกหัดและการสืบทอดงานชางพุทธศิลปจะกอประโยชนใหกับพระภิกษุ สามเณร ในการนําไปประกอบการดําเนินชีวิตและการสรางสรรงานชางพุทธศิลป เพื่อเปนการสืบทอดพระพุทธศาสนาอีกทางหนึ่ง อภิปรายผลการศึกษา

การศึกษางานวิทยานิพนธเร่ือง “การสืบทอดพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) จังหวัดเชียงใหม” มีวัตถุประสงคในการศึกษาคือ ศึกษาประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในลานนา และศึกษาการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง จากการศึกษาสามารถอภิปรายผลการศึกษาไดคือ

ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปต้ังแตจากอินเดีย ในประเทศไทย และลานนา การศึกษาประวัติและพัฒนาการจากอินเดีย พบวาสมัยพุทธกาลงานพุทธศิลปคงยังไมเกิด ท่ังนี้เพราะพระสงฆลวนเปนพระอรหันต ถือชีวิตท่ีเรียบงาย แตสถานกอสรางไดเกิดข้ึนแลว ปรารภถึงการนิพพานของพระอริยสาวก เชน พระสารีบุตรเถระ พระพาหิยะ ท่ีพระพุทธองคทรงใหบรรจุอัฐิธาตุ ใหเปนสถานท่ีเคารพของพุทธบริษัท พุทธศิลปท่ีเดนชัดก็คือ การสรางพระธาตุเจดีย ๘ แหง ท่ีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธองคภายหลังทรงปรินิพพาน ภายหลังไดแบงเจดียออกได ๔ ประเภท คือ ธาตุเจดีย บริโภคเจดีย ธรรมเจดีย และอุทเทสิกเจดีย รวมถึงการสรางสถานท่ีระลึกถึงพระพุทธองคอีก เรียกวา สังเวชนียสถาน คือสถานประสูติ ตรัสรู แสดงธรรมจักรและปรินิพพาน

สมัยหลังพุทธกาล มีพุทธศิลปท่ีสรางข้ึนสมัยพระเจาอโศกมหาราช เปนจํานวนมาก โดยพระองคทรงใหร้ือพระธาตุเจดียองคเดิม แลวมาแบงพระบรมสารีริกธาตุออก แลวสรางบรรจุพระธาตุและสถานท่ีตาง ๆ ถึง ๘๔,๐๐๐ แหง ตอมามหาชนไดเดินทางไปสักการะบูชาตาม

Page 185: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๗๒

สถานท่ีตาง ๆ ภายหลังสถานท่ีเหลานั้นไดถูกสรางใหเปน วัดโดยมีพระสงฆอาศัยอยู ท่ังนี้พระเจาอโศกไดรวมกับสังฆมลฑลจัดสงพระธรรมทูต ๙ สาย รวมท้ังประเทศไทยดวย ถึงพุทธศักราช ๓๙๒ – ๔๑๓ มีกษัตริยกรีก นามวาพระเจ า เมนันเดอรหรือพระเจ ามิ ลินท ไดนับถือพระพุทธศาสนาและเกิดการสรางรูปเคารพ ตามรูปเคารพของเทพเจา คือพระพุทธรูป โดยกลุมชางฝมือชาวกรีก ภายหลังเรียกวา พระพุทธรูปคันธาระ ถึงพุทธศักราช ๕๐๐ มีกษัติยนามวา พระเจากนิษกะมหาราช ชนเผาเรรอนอินโดไซเธียน ไดแผอานุภาพถึงแควนคันธาระ ภายหลังพระองคทรงนับถือพระพุทธศาสนา และผลงานท่ีพระองคทรงสรางเปนอนุสรณ คือ การสรางพระพุทธรูป เปนจํานวนมาก ขุดพบ ณ เขตคันธาระและอาฟกานิสถาน ตอมาไดรับการพัฒนาใหเปนพุทธศิลปอินเดีย สามารถแบงออกเปนสมัยตาง ๆ คือ มถุรา อมราวดี คุปตะ ปาละ – เสนะ ตอมาพุทธศิลปไดขยายการสรางมาถึงภูมิภาคเอเชียอาคเนย คือ ลังกา จามหรือจัมปา ชวา และขอม

ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในประเทศไทย ท้ังนี้กลุมชนท่ีราบลุมแมน้ําเจาพระยา ไดมีความสัมพันธกับชาวอินเดียมาเปนเวลานานไมวาจะเปนกลุมพอคา กลุมชางฝมือ หรือกลุมนักบวช ชาวอินเดียรูจักกลุมชนบริเวณนี้วา “สุวรรณภูมิ” ในประวัติศาสตรศาสนาระบุวา พระพุทธศาสนาเขามาสุวรรณภูมิ คือการเผยแผของพระธรรมทูตสายท่ี ๙ คือพระโสณะและพระอุตตระ นักโบราณคดีเรียกสมัยนั้นวา “ทวารวดี” พุทธศิลปท่ีพบเปนหินแกะสลักเปนเสมาธรรมจักร และพระพุทธรูปศิลาขาว ณ นครปฐม ไดรับอิทธิพลจากอินเดียสมัยคุปตะ ตอมา พุทธศิลปไดแบงออกเปนสมัยตาง ๆ คือ ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อูทอง อยุธยา และรัตนโกสินทร งานพุทธศิลปท่ีสรางสรรคข้ึนดวยความศรัทธา เปนแบบพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน ในสมัยรัตนโกสินทรเปนสมัยท่ีพุทธศิลปมีความหลากหลายไมวาจะเปนศิลปะแบบจีน และเปดรับศิลปะจากตะวันตกเขามาผสมผสานกับพุทธศิลป

ประวัติและพัฒนาการพุทธศิลปในลานนา เร่ิมจากการกอต้ังอาณาจักรลานนา ไดมีแควนท่ีสําคัญคือแควนโยนกและแควนหริภุญชัย โดยแควนโยนกหรือท่ีรูจักในปจจุบันคือ เมืองเชียงแสน พุทธศิลปเชียงแสนท่ีโดดเดน คือ พระสิงห ถึงแมจะไดรับอิทธิพลจากพุทธศิลปแบบคุปตะ ท่ีผานมาทางพุกาม สุดทายสกุลชางเชียงแสนพัฒนามาเปนพุทธศิลปของเชียงแสน ระยะหลังสกุลพระสิงหก็ไดรับอิทธิผลจากพุทธศิลปสุโขทัย ซ่ึงเปนกลุมชางฝมือเชียงใหม คือพระสิงหสาม ตอมาแควนหริภุญชัย เร่ิมจากพระนางจามเทวีมาครองเมืองหริภุญชัย การข้ึนมาของพระนางไดนําพระพุทธศาสนาและกลุมชางฝมือข้ึนมาดวย เปนกลุมชางฝมือจากเมืองลพบุรี พุทธศิลปขณะน้ันเปนอิทธิผลการสรางงานชางพุทธศิลปแบบทวาราวดี สุดทายไดพัฒนามาเปนสกุลชางหริภุญชัย ท้ังนี้พุทธศิลปเชียงแสนและหริภุญชัย ไดเปนพื้นฐานใหกับกลุมชางฝมือเชียงใหมในการ

Page 186: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๗๓

สรางงานพุทธศิลป ต้ังแตพญามังรายสถาปนา “นพบุรีนครพิงคเชียงใหม” ตอมาสมัยพญากือนา พุทธศิลปไดรับอิทธิผลจากเมืองสุโขทัยพรอมท้ังพระพุทธศาสนา คือ นิกายลังกาวงค พุทธศิลปขณะน้ันนิยมแบบสุโขทัย เชน พระเจดียวัดสวนดอกและวัดพระธาตุดอยสุเทพ ตอมาสมัยพญาติโลกราช พระองคทรงนับถือพระพุทธศาสนานิกายสีหล ท่ีภิกษุชาวเชียงใหม ลพบุรี มอญ ไปเลาเรียนจากลังกาแลวนําเขามาเชียงใหม พุทธศิลปขณะน้ันไดเกิดการ “จําลอง” พุทธศิลปจากอินเดีย คือนายชางพุทธศิลปช่ืออายดามพราคต ท่ีเดินทางไปอินเดียและลังกา พรอมกับพระภิกษุสงฆ ไดจําลองวิหารพุทธคยา โลหะปราสาท รัตนบาลีเจดีย มาสรางไว ณ วัดเจ็ดยอด และไดสรางวัดวาอารามเปนจํานวนมากเชนกัน พุทธศิลปคงมีการกอสรางเพ่ิมข้ึนอีกจํานวนมาก โดยไดรับการอุปภัมถจากพระมหากษัตริยและเจาขุนมูลนาย ชวงปลายอาณาจักรลานนาพุทธศิลปคงหยุดชะงักลง เนื่องเพราะสงคราม จนถึงสมัยพระเจาเมกุสุทธิวงค อาณาจักรลานนาตกอยูใตอํานาจของพมา คือสมัยบุเรงนอง พุทธศิลปะไมมีการกอสรางข้ึนใหม พบเพียงแตการบูรณะปฏิสังขรณและธรรมเนียมการกอสรางท่ีพบ เชน การสรางรูปสิงห (พมา) รูปหงส (มอญ) และการติดกระจก เรียกวา แกวอังวะ ท่ีไดรับความนิยมจนถึงปจจุบัน จนถึงสมัยพระยาจาบานและพระยากาวิละ ไดรวมมือกับพระเจากรุงธนบุรี ขับไลพมาออกจากลานนา พุทธศิลปขณะน้ัน ก็คงไมมีการกอสรางเพ่ิม พบเพียงแตการบูรณะปฏิสังขรณพระธาตุเจดีย วัดวาอารามเปนการเรงดวน ท้ังนี้ไดรับการบูรณะปฏิสังขรณจากกลุมพอคาชาวพมาท่ีเขามาทําการคาขายและสัมปทานปาไม ไดสรางวัดวาอาราม บูรณะพระธาตุเจดียตาง ๆ ดวยกลุมชางฝมือชาวพมา ดังจะพบพุทธศิลปพมาในลานนา เชน พระเจดีย ณ วัดแสนฝาง วัดปาเปา ตอมาการสรางงานพุทธศิลปในลานนา ถูกสรางตามตามศรัทธาและความช่ืนชอบ จะพบจากความหลากหลายของพุทธศิลป เชน รับอิทธิพลจากรัตนโกสินทร จะเห็นจากรูปทรงพระวิหารหรืออุโบสถท่ีสูงชลูด หนาบรรณประดับดวยลายปูนปน หรือถูกสรางตามลานนาดั่งเดิม เชน วิหารทรงตํ่า นิยมสรางดวยไม แตปจจุบันจะเปนการสรางท่ีผสมผสานกันตามความช่ืนชอบและความสวยงาม

ดังนั้นพุทธศิลปลานนา ไดรับพื้นฐานทางพุทธศิลปจากพุทธศิลปเชียงแสนและพุทธศิลปหริภุญชัย ท้ังนี้เชียงแสนไดรับพัฒนาการมาจากพุทธศิลปคุปตะจากอินเดียและหริภุญชัยไดรับพัฒนาการมาจากเมืองลพบุรี เปนพุทธศิลปจากทวาราวดีและคงมีพุทธศิลปเขมรผสมเขามาดวย ตอมาไดรับการพัฒนาการมาเปนสกุลชางเชียงใหม ท้ังนี้เชียงใหมเปนศูนยกลางของลานนา พุทธศิลปลานนาคงไดรับอิทธิผลทางพุทธศิลปจากเชียงใหม ตอมานิยมงานพุทธศิลปแบบผสมผสานกันมากข้ึนตามความนิยมชมชอบ

การศึกษาการสืบทอดงานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง เปนการสืบทอดงานชางพุทธศิลป คือ งานชางไมท่ีเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา เรียกวา “งานชางพุทธศิลป” งานชางพุทธศิลปในวัดแสนเมืองมาหลวง ท่ีสรางสรรคข้ึนไดแก ธรรมมาสนปาฏิโมกข ธรรมมาสน

Page 187: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๗๔

หลวงทรงปราสาท บุษบก สัตตภัณฑ อาสนาสงฆ แวนตาพระเจา ตูเทียนชัย ตูธรรม นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเรียนรูการสรางงานชางอ่ืน ๆ อีกเชนงานชางตอง งานชางสี เปนตน การสรางงานเหลานี้เปนการสรางงานภายในวัด โดยผานการฝกหัดงานชางรวมกับพระภิกษุสงฆ คือ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ทานเจาอาวาสและเปนครูผูสอนหรือครูชาง ไดถายทอดงานชางพุทธศิลปใหกับพระภิกษุ สามเณร ไดรับการสืบทอดงานชางพุทธศิลป อันเปนกิจกรรมการทํางานของพระภิกษุ สามเณรภายในวัด โดยพระภิกษุ สามเณรทําหนาท่ีเปนลูกมือใหกับหลวงพอ คอยสังเกต คอยเรียนรู วิธีการสรางงานและเทคนิคตาง ๆ ในการสรางงานชางพุทธศิลปรวมกับหลวงพอ ทําใหพระภิกษุ สามเณร มีความสามารถและเรียนรูการสรางงานชางพุทธศิลปรวมกับหลวงพอหรือสามารถสรางงานชางพุทธศิลป และงานชางท่ัวไปข้ึนเองได นอกจากนี้การสรางงานชางพุทธศิลปภายในวัดแสนเมืองมาหลวง ยังสามารถสรางอาชีพสรางองคความรูใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายหลังไดมีโอกาสสิกขาลาเพศออกไปเปนคฤหัสถ จากน้ันแลวการสรางงานชางพุทธศิลปยังเปนการสรางมรดกไวกับพระพุทธศาสนา เพื่อเปนแหลงเรียนรูและการศึกษางานชางพุทธศิลปสืบตอไป

ขอเสนอแนะในการศึกษา การศึกษางานวิทยานิพนธเร่ือง การสืบทอดพุทธศิลปลานนา : กรณีศึกษาวัดแสน

เมืองมาหลวง (หัวขวง) เปนการศึกษาการบวนการถายทอด การสืบทอด งานชางพุทธศิลปและงานชางตาง ๆ ภายในวัดแสนเมืองมาหลวง จากการศึกษาและการรวมปฏิบัติงานจริงในการสืบทอดงานชางพุทธศิลป ผูศึกษาพบขอเสนอแนะเพ่ือเปนการศึกษาตอไป คือ

๑. การจัดต้ังใหเปนศูนยเรียนรู ในการจัดต้ังใหเปนแหลงเรียนรูหรือจัดต้ังทําเปนหลักสูตรการเรียนรูใหกับพระภิกษุ สามเณร หรือบุคคลท่ัวไปเขาไปศึกษาเรียนรูในการสรางงานชางพุทธศิลป โดยสามารถนําไปเปนหลักสูตรในโรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือหนวยงานตาง ๆ

๒. คนหา “วัด” หรือ “แหลงเรียนรู” ดานการสืบทอดงานชางพุทธศิลป เพื่อศึกษาคนควาหาวัดท่ีมีการสืบทอดงานชางพุทธศิลป และศึกษาเปรียบเทียบวิธิการหรือกระบวนการเรียนรู และมีการจัดทําเปนทําเนียบแหลงเรียนรู เพื่อเพิ่มแหลงเรียนรูและความสนใจใหกับพระภิกษุ สามเณร และบุคคลท่ีสนใจท่ัวไป เขาไปเรียนรูและศึกษา

Page 188: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

บรรณานุกรม

๑. ภาษาไทย : ก. ขอมูลปฐมภูมิ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๒๙.

ข. ขอมูลทุติยภูมิ (๑) หนังสือ : คงเดช ประพัฒนทอง. โบราณคดีประวัติศาสตร, กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร, ๒๔๒๙. จินตนา มัธยมบุณุษ. ประวัติศาสตรเมืองเชียงใหม,(ภาควิชาประวัติศาสตร คณะวิชามนุษยศาสตร

และสังคมศาสตร สหวิทยาลัยลานนา วิทยาลัยครูเชียงใหม, ๒๕๓๒. ฉลอง ปรีดาบุญ. พ.อ (พิเศษ).ใตรมพุทธศิลปะ. กรุงเทพมหานคร, โชติ กัลยาณมิตร. สถาปตยกรรมแบไทยเดิม. สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูประถัมภ

กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร, ๒๕๓๙. ตํานานเชียงใหมปางเดิม. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๐. พระยาดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระบรมวงศเธอ. ตํานานพระพุทธเจดีย. กรุงเทพมหานคร :

องคการคาคุรุสภา, ๒๕๑๘. พระยาอนุมานราชธน. งานนิพนธชุดสมบูรณ เร่ือง เร่ืองของคนไทย. พิมพเผยแผในวาระครบ

๑๐๐ ป พระยาอนุมานราชธน. กรุงเทพมหานคร : องคการคาของคุรุสภาและมูลนิธิ เสฐียร โกเศศ – นาคะประทีป

. ชีวิตชาวไทยสมัยกอนและการศึกษาเร่ืองประเพณีไทย. กรุงเทพมหานคร : สํานัก พิมพคลังวิทยา, พระธรรมปฏก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตน. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต เชียงใหม, ๒๕๔๐. . พจนานุกรมพุทธศาสตน ฉบับประมวลศัพท. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยา เขตเชียงใหม, ๒๕๔๐. . จารึกอโศก. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา, ๒๕๔๐.

Page 189: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๗๖

พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธิ). หลักปฏิบัติ สมถะ – วิปสสนากรรมฐาน. พิมพใน โอกาสอบรมพระวิปสสนาจารยหนเหนือ. กรรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ,

๒๕๓๗. พระมหาเกษม ทาสจิตโต. อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทตอศิลปวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย.

กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. พระมหาวิชาญ เล่ียวเส็ง. พุทธศิลปกับการทองเท่ียว : ศึกษาบทบาทของวัดในการอนุรักษพุทธ

ศิลปเพ่ือการทองเที่ยว . วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๔.

พุทธวงศ. ประวัติพระพุทธเจา. กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๑. ฟน ดอกบัว. พระพุทธศาสนากับคนไทย. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโสภณการพิมพ, ๒๕๔๑. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย .ตํานานมูลศาสนา. วิทยาเขตเชียงใหม, ๒๕๔๔. ยุพิน เข็มมุกต. พุทธศาสนาในลานนาไทย สมัยราชวงศมังราย. สภาวิจัยแหงชาติ, ๒๕๒๗. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, กรุงเทพมหานคร, ๒๕๒๖. ลัดดาวัลย แซเซ่ียว . ๒๐๐ ป พมาในลานนา. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานสนับสนุนการวิจัย

(สกว.), ๒๕๔๕. วัดไทยภุมิแผนดินไทย ๓ . กรุงเทพมหานคร : บริษัทไทยประกันชีวิตจํากัด, ๒๕๔๕. วิฑูรย เหล่ียวรุงเร่ือง. สถาปตยกรรมเชียงใหม. คณะสถาปตยกรรมศาสตร : มหาวิทยาลัยเชียงใหม,

๒๕๔๓. วิบูลย ล่ีสุวรรณ. ศิลปสมัยใหมและศิลปะรวมสมัยในเมืองไทย. กรุงเทพมหานคร : คณะอักษร

ศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๒. วุฒิชัย มูลศิลป. เม่ือเร่ิมการปฏิรูปการศึกษา สมัยรัชกาลท่ี ๕ – ๗. ภาควิชาประวัติศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรจนประสานมิตร : สํานักพิมพวัฒนาพานิช, ๒๕๒๙. ศิลป พีระศรี. มรดกชางศิลปไทย. กรุงเทพมหานคร : กรมการคาคุรุสภา, ๒๕๔๒. ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี ๑ - ๘. กรุงเทพมหานคร : พิมพเปนท่ีระลึกเนื่องในงานมหามงคล

สมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป. ๒๕๓๙. ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี ๙. กรุงเทพมหานคร : พิมพเปนท่ีระลึกเนื่องในงานมหามงคลสมัย

ฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ป. ๒๕๓๙. ศิลปสถาปตยกรรม. ศิลปะยุคทองของลานนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๖. เสถียร โพธินันทะ. ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา ฉบับมุขปาฐะ ภาค ๑. กรุงเทพมหานคร :

มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

Page 190: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๗๗

สมพร ไชยภูมิธรรม. ปางพระพุทธรูป. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพตนธรรม, ๒๕๔๓. สิริวัฒน คําวันสา. ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔. สุชีพ ปุญญานุภาพ. พระไตรปฏก ฉบับสําหรับประชาชน . มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓. เสนอ นิลเดช. ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๗ สุภัทรดิศ ดิสกุล. ศิลปะในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๙. สันติ เล็กสุขุม. ประวัติศาสตรศิลปะไทย การเร่ิมตนและการสืบเนื่องงานชางในศาสนา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพดานสุทธาการพิมพ, ๒๕๓๙. . ศิลปะภาคเหนือ หริกุญชัย – ลานนา. กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพดานสุทธา การพิมพ, ๒๕๓๘. สงวน รอดสุข. พุทธศิลปสุโขทัย. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, ๒๕๓๓. สรัสวดี ฮองสกุล. ประวัติศาสตรลานนา. โครงการขอมูลสนเทศลานนาคดีศึกษา : โครงการศูนย สงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๒๙. สุรพล ดําริหกุล. ลานนา ส่ิงแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม. บริษัทรุงอรุณพับลิช่ิง จํากัด , ๒๕๔๒. สมหมาย เปรมจิตต. มรดกศาสนาในเมืองเชียงใหม. เชียงใหม : คณะอนุกรรมการดานศาสนางาน สมโภชเชียงใหม ๗๐๐ ป, ๒๕๓๙. หนังสือวัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญาจังหวัดเชียงใหม. พิมพ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ, ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒. อรุณรัตน วิเชียรเขียว. การวิเคราะหสังคมเชียงใหมสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (ตามฉบับใบลานใน. ภาคเหนือ). เชียงใหม : สํานักพิมพตรัสวิน (ซิลคเวอรบุคส), ๒๕๔๓. . ลานนาไทยศึกษา. ภาควิชาประวัติศาสตร วิทยาลัยครูเชียงใหม, ๒๕๒๕. . ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม. เชียงใหม : สํานักพิมพตรัสวิน (ซิลคเวอรบุคส), ๒๕๔๓. . ลานนาไทยศึกษา. เชียงใหม : คณะอนุกรรมการดานศาสนางานสมโภชเชียงใหม

๗๐๐ ป, ๒๕๔๒. ๘๐ ปแหงการอนุรักษมรดกไทย ประชานพรอมพรัก อนุรักษมรดกไทย. กรุงเทพมหานคร : กรม

ศิลปากร พิมพเนื่องในวโรกาสคลายวัดพระราชสมภพและวันอนุรักษมรดกไทย, ๒๕๓๒.

Page 191: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๗๘

(๒) บทความ ไขมุก อุทยาวลี. ประวัติศาสตรลานนาในรัชกาลพระยาสามฝงแกน ราชวงคมังราย. สารานุกรมวัฒธรรม

ไทย, ภาคเหนือ เลม ๕ พิมพเนื่องในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒.

โชติ กัลยาณมิตร . ชางไทยตอการสืบทอด. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย (ภาคกลาง เลม ๔). พิมพ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒.

บทสัมภาษณ. หลวงพอพระเทพวรสิทธิจารย.รองเจาคณะจังหวัดเชียงใหมและเจาอาวาสวัดพระ ธาตุดอยสุเทพ. วันท่ี ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๙

บทสัมภาษณ. อาจารยยุพิน เข็มมุกต. คณาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม. วันท่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๙

พระครูอดุลสีลกิตต์ิ. การศึกษาของสามเณรและพระภิกษุหลังการบวช. ประวัติศาสตรพุทธศาสนา ในลานนา (ฉบับ ๗๓๕ ป) พระบรมธาตุดอยสุเทพ พิมพคร้ังท่ี ๑ เชียงใหม : โรงพิมพ แสงศิลป, ๒๕๔๙

พัทยา สายหู. การศึกษาในวิถีชีวิตไทย. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย (ภาคกลาง เลม ๑) พิมพเนื่อง ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ, ๕ ธันวาคม ๒๕๓๙.

อนุสรณวัฒนมงคล ๘๐ ป . แจกเปนวิทยาทานในวโรกาสอายุครบ ๘๐ ป พอเจาถวิล ณ เชียงใหม, ๒๕๓๗ – ๒๕๔๗.

Page 192: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

ภาคผนวก

Page 193: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๘๐

ประวัติวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)

วัดแสนเมืองมาหลวง หรือ“วัดหัวขวง” ต้ังอยูท่ี ๑๗๕ ถนน พระปกเกลา ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม ตามท่ีบันทึกของพระมหาหม่ืน วุฑฺฒิญาโณ๑ วัดหอธรรม (ราง : ปจจุบันเปนท่ีต้ังสภา - การศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตลานนา) ทานบันทึกไวทายของตํานานพระธาตุจอมทองวา “...วัดหัวขวงเดิมเม่ือแรกสรางช่ือ วัดลักขปุราคมาราม (วัดท่ีพระเจาแสนเมืองทรงสราง) ตอมาพระเจาเมืองแกว (พุทธศักราช ๒๐๖๓) ไดบูรณะพระเจดียวัดหัวขวงข้ึนใหม ใหใหญกวาเดิม ตามท่ีพระมหาหม่ืนไดบันทึกไวทายตํานานจอมทองวา

“...ในจุลศักราช ๘๘๒ (พุทธศักราช ๒๐๖๓) ตัวปมะโรง ไทยวา ปกดสี เดือน ๖ ๑๐ คํ่า พระเมืองแกวใหขุดฐานรากเจดียวัดลักขปุราคมาราม คือ วัดหัวขวง ตราบถึงเดือน ๗ ออก ๑๐ คํ่า วันอาทิตย จึงไดลงมือกอพระเจดีย ฐานกวาง ๘ วา ๒ ศอก ถึง จุลศักราช ๘๘๓ ตัว ปมะเส็ง ไทยวาปลวงใส เดือน ๑๑ ออก ๑๓ คํ่า วันพุธ ปุพสาธฤกษดาวสัปดับชาง พระเมืองแกวกับพระราชมารดา พรอมพระสงฆ ๓ คณะ มีพระราชครูเปนประธาน บรรจุพระบรมธาตุในมหาเจดียวัดลักขปุราคมาราม คือ วัดหัวขวง บัดนี้ เม่ือสรางพระเจดียเสร็จแลวทรงโปรดใหสรางคัมภีรพระไตรปฏก ไวในหอมณเฑียรธรรม ทรงโปรดใหมีการเฉลิมฉลองเปนการใหญ”

๑ตํานานจอมทองน้ี ทานพระมหาหม่ืนวุฑฒิญาโณ ปราชญโบราณลานนาไทย ไดแปลจากอักษรไทยยวน ไวเมื่อทานยังมีชีวิตอยู ประมาณ พุทธศักราช ๒๔๖๘

Page 194: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๘๑

ตอมาในจุลศักราช ๙๙๓ (พุทธศักราช ๒๑๓๔) ปมะแมตรีศก พระเจาสุทโธธรรมราชา (พระเจาแปร) ยกทัพมาตีเมืองเชียงใหมได ในคร้ังนั้นมีการตอสูอยางดุเดือน วัดวาอารามหลายแหงถูกกระสุนปนใหญทําลายความเสียหายบางวัดก็ถูกทหารทําลาย เชน วัดอาภัย (ดับภัย) วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) วัดสุทธาวาส (ปจจุบันคือท่ีต้ังวิทยาลัยเทคนิค เชียงใหม) เม่ือพระเจาสุทโธธรรมราชาตีเชียงใหมไดแลว และกลับไปครองเมืองอังวะ ทรงคํานึงวา “ในการตีเมืองเชียงใหมนั้นทําใหวัดหลายแหงถูกทําลายเนื่องจากการรบ สมควรไดรับการบูรณะใหกลับเปนดังเดิม” จึงทรงประทานเงินหม่ืนพันคํา ใหหัวหนาชาง ๒๐ นาย คุมคนมายังเมืองเชียงใหม และทําการบูรณะปฏิสังขรณ วัดท้ัง ๓ แหง ในชวงป พุทธศักราช ๒๑๗๗ และโปรดใหงดเก็บอากรของคลังเปนเวลา ๓ ป โดยเก็บเงินจํานวนนั้นบํารุงวัดวาอารามท่ีสําคัญ ๆ

ในตํานานพระธาตุจอมทองเชียงใหม, ประชุมตํานานลานนาไทย ไดบันทึกไววา “...พุทธศักราช ๒๑๗๗ เจาฟาสุทโธธรรมราชชา (สะโดะธรรมราชา) กษัตริยพมาไดพระราชทานเงิน ๑ หม่ืน ทองคํา ๑ พัน และเสนาพรอมคนงาน ๒๐ คน มาสรางวัด ๓ วัด ซ่ึงไดทําลายไปเม่ือทําการรบกับเชียงใหม คือวัดแสนเมืองมาหลวง วัดอาภัย (ดับภัย) วัดสุทธาวาส”

สมัยพระเจากาวิโรรสสุริยวงค (เจาชีวิตอาว) ไดเปนเจาเมืองนครเชียงใหม จุลศักราช ๑๒๒๒ (พุทธศักราช ๒๔๐๓) ไดนิมนตพระสฺวาธุเจาสิทธิ มาครองวัดแสนเมืองมาหลวง ไดทําพิธีแหพระสฺวาธุเจาสิทธิ ในวันพฤหัสบดี เดือนยี่ แรม ๑๓ คํ่า และไดสรางพระงาชางกับหีบพระธรรมไว เม่ือวันแรม ๔ คํ่า เดือน ๔ ในปจุลศักราช ๑๒๒๓ (พุทธศักราช ๒๔๐๔) ประกาตรีศก วันพุธ เพ็ญเดือน ๕ โปรดใหมีงานฉลองพระไตรปฏก ณ วัดหัวขวง ไดมีเคร่ืองไทยทานเปนจํานวนมาก ซ่ึงพระเจากาวิโรรสสุริยวงคนําไปถวาย เชน ชางพระท่ีนั่งใสดาวเงินกูบคํา มาพระท่ีนั่งใสเคร่ืองประดับดาวเงิน ดาบฝงทอง ๑ เลม ดาบหลุบเงิน ๑ เลม พระพุทธรูปทองคํา ๑ องค พระพุทธรูปนาค ๑ องค พระพุทธรูปเงิน ๑ องค

ตอมาวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดเจริญข้ึนมาอีกคร้ัง เพราะไดรับความอุปการะจากบรรดาเจานายในเมืองเชียงใหม ดังเชนในสมัยพระเจานวรัฐ พระองคไดทรงสรางธรรมหาเวสสันดรชาดก และชาดกตาง ๆ ถวายไวท่ีวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) พรอมท้ังไดนิมนตพระสงฆไปเทศนาธรรมท่ีคุมทุกวันพระ

พุทธศักราช ๒๔๙๓ ไดมีผูขุดกรุพระรอดเณรจิ๋ว หรือเรียกวา “พระรอดหัวขวง” ในบริเวณอันเปนท่ีต้ังหอมณเฑียรธรรม (จากการขุดคนจนทําใหหอมณเฑียรธรรมพังลมเสียหายและถูกร้ือถอนไปแลว) ปรากฏวา เปนพระเคร่ืองท่ีมีอภินิหารเปนเล่ืองลือ ในบรรดานักเลงพระเคร่ืองโดยท่ัวไปอยางมาก เชนเดียวกับพระรอด เมืองลําพูน

Page 195: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๘๒

วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดรับการบูรณะคร้ังใหญอีกคร้ังในป พุทธศักราช ๒๕๓๖ ไดสรางพระวิหาร บูรณะพระเจดียและจัดบริเวณตาง ๆ ของวัดใหสวยงาม สมกับเปนวัดท่ีมีความสําคัญของเมืองเชียงใหม และเพ่ือรวมฉลองในวาระท่ีเมืองเชียงใหมมีอายุครบ ๗๐๐ ป ในปพุทธศักราช ๒๕๓๙

ปจจุบัน มีโบราณศิลปวัตถุท่ีสําคัญปรากฏอยูในวัดแหงนี้ ไดแก พระประธานในพระวิหาร เปนพระพุทธรูปปูนปน และพระพุทธรูปสําริด หนาตักกวาง ๑.๘๘ เมตร สูง ๒.๖๓ ประดิษฐาน ณ อุโบสถ ปรากฏพระนามสามัญวา “พระแสนเมืองมาหลวง” รวมท้ังพระเจดีย กออิฐถือปูนขนาดใหญอีกแหงหนึ่งท่ีเหลืออยู ท่ีพอจะเปนหลักฐานในการศึกษาได

พระเจดียวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) เปนลักษณะเจดียกออิฐขนาดใหญและมีทรวดทรงท่ีงดงามมากองคหนึ่ง ในเมืองเชียงใหม เปนเจดียสิบสองเหล่ียมองคระฆังกลม เปนเจดียท่ีนิยมสรางกันในเมืองเชียงใหม (นับต้ังแตพุทธศตวรรษท่ี ๒๑) ซ่ึงเปนศิลปกรรมผสมระหวางศิลปเชียงแสนกับศิลปสุโขทัย ในสมัยพระเจาติโลกราช ในขณะน้ันพระพุทธศาสนาไดเจริญรุงเรืองเปนอยางยิ่ง แตเนื่องจากการสูรบระหวางพมากับเมืองเชียงใหม จึงทําใหวัดวาอาราม หรือเจดียไดรับความเสียหาย เม่ือไดรับการซอมแซมแลว ทําใหสวนฐานนับต้ังแตฐานหนากระดานสามชั้นข้ึนไปจนถึงฐานบัวลูกแกว เปนลักษณะพิเศษท่ีไมเคยพบเห็นในเจดียทรงกลมแบบพื้นเมืองลานนา

พระพุทธรูปสําริดปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง ๑.๘๘ เมตร สูงท้ังฐาน ๒๖๓ เมตร เปนลักษณะพระพุทธรูปประทับขัดสมาธิราบ เหนือฐานหนากระดานเกล้ียง พระพักตรเปนรูปไข พระหนุปาน พระโขนงโกงเปนสัน พระเนตรเรียวเหลือบลงตํ่า พระนาสิกโง พระโอษฐเรียวบาง ขมวดพระเกศาเล็กเรียงติดกันแนน แนวขมวดพระเกศาหยักลงกลางพระนลาฏ ไมมีแนวเสนไรพระศก พระรัศมีเปนรูปเปลวไฟ ครองจีวรหมเฉียงเปดพระอังสะขวา ชายสังฆาฏิยาวลงมาจรดพระนาภีปลายตัดตรง ดานลางมีแนวเสนรัดประคตคาดเปนแนวยาวหยักข้ึนตรงกลางพระนาภี ปลายพระหัตถท้ังส่ียาวไลเล่ียกัน สันนิฐานวานาจะสรางข้ึนในปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ หรืออยางชาราวตนพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ ระหวางตนรัชกาลพระเจาติโลกราช และจัดเปนพระพุทธรูปศิลปะลานนาระยะท่ี ๓

สําหรับช่ือวา “วัดหัวขวง” นาจะเปนช่ือท่ีไดมาในสมัยหลัง อาจจะรวมสมัยกับคติการสรางเมืองของลานนา ท้ังนี้เพราะทุกจังหวัดหรือทุกเมือง นับต้ังแตเมืองเชียงตุง เมืองชียงรุง เมืองยอง เมืองลําพูน เมืองนันทบุรี (เมืองนาน) ก็ปรากฏวามีวัดหัวขวงรวมกัน โดยเรียกตามท่ีต้ังของวัด คือ ทางทิศเหนือของเมือง (หัว : ทิศเหนือ, ขวง : สนามของเมือง, ลาน,บริเวณท่ีวาง

Page 196: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๘๓

กวาง) วัดหัวขวง แปลวา วัดท่ีต้ังอยูประตูเมืองดานเหนือ ติดกับขวง (สนามหลวง) และคุมของเจาเมือง

ดังนั้น วัดหัวขวงในอดีตจึงเปนวัดท่ีมีความสําคัญ และมีธรรมเนียมตลอดจนแนวคิดใหช่ือวัดตามท่ีต้ัง และใชวัดหัวขวงประกอบพิธีการทางศาสนาของชาวเมือง เม่ือมีพิธีหลวงก็จะมาใชวัดหัวขวงประกอบพิธีกรรม หรือเม่ือมีการประชุมทหาร ชุมชุนฝกหัดทหาร รวมทั้งเปนตลาดนัดดวย ท้ังนี้เพราะมีเนื้อท่ีบริเวณกวาง วัดหัวขวงเชียงใหมมีเนื้อท่ี ๙๓ ไร (สมัยรัชกาลท่ี ๗) ปจจุบันเหลือเนื้อท่ีอยูแค ๔ ไร ๑ งาน ๒๑ ตารางวา

Page 197: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๘๔

ประวัติหลวงพอ พระครูปลัดทรงสวัสด์ิ ปญญาวชิโร (พระชาง ผูสรางสรรคงานชางพุทธศิลปะลานนา)

พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ฉายา ปฺญาวชิโร (เตชะปญญา) เกิดวันท่ี ๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๐๑ ภูมิลําเนาเดิม บานเลขที่ ๙๙ ถนนเชียงใหม – ลําพูน บานทาสะตอย ตําบลวัดเกต อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม บิดาช่ือนายเฉลิม เตชะปญญา มารดาช่ือนางสมศรี เตชะปญญา เปนบุตรลําดับท่ี ๓ ในจํานวนพี่นองท้ังหมด ๖ คน ไดแก นายทรงเดช เตชะปญญา พระจีระศักดิ์ อรุโน พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญาวชิโร นายรัฐ เตชะปญญา (ถึงแกกรรม) นางสาวยุวนุช เตชะปญญา และพระธิวากร คมฺภีรธมฺโม

ปจจุบันดํารงตําแหนงเจาอาวาส วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ถนนพระปกเกลา ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ประวัติการศึกษา พุทธศักราช ๒๕๑๕ สําเร็จการศึกษาระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ โรงเรียนสิริมังคลานุสรณ อําเภอเมือง จงัหวัดเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๒๗ จบการศึกษานกัธรรมช้ันเอก สํานักเรียนวดับุพพาราม ตําบลชางคลาน อําเภอเมือง จังหวดัเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๕๐ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ถวายปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑติกติติมศักดิ์ สาขาออกแบบผลิตภัณฑ ประวัติการทํางาน พุทธศักราช ๒๕๓๐ เปนผูชวยเจาอาวาสวัดทาสะตอย

Page 198: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๘๕

พุทธศักราช ๒๕๓๐ เปนพระธรรมวิทยากรรุนท่ี ๑ ของคณะสงฆจงัหวัดเชียงใหม พุทธสักราช ๒๕๓๐ เปนกรรมการพระภกิษุอาสาสมัครโรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม และโรงพยาบาลประสาทเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เปนประธานกอสรางเจดียวัดสันมะฮกฟา อําเภอสันกําแพง จังหวดัเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เปนประธานกอสรางพระอุโบสถวัดปาแคโยง อําเภอสารภี จังหวดัเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๒ เปนประธานกอสรางวิหารครูบาบุญมี วิหารโพธิสัตวกวนอิม ศาลา บําเพ็ญบุญเจดีย ๙ ยอด วดัทาสะตอย อําเภอเมือง จังหวดัเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๔ เปนเลขานุการอบรมประชาชนประจําตําบลวดัเกตุ อําเภอเมือง จังหวดัเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๔ เปนประธานกอสรางวิหารวดับงตัน อําเภอดอยเตา จังหวดัเชียงใหม เปนประธานพัฒนาเสนาสนะในวดัแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) อําเภอเมือง จงัหวัดเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๖ รับตําแหนงเจาอาวาส วัดแสนเมืองมาหลวง (หวัขวง) อําเภอเมือง จังหวดัเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๓๖ เปนประธานกอสรางกุฏิเช่ียวสงวน กุฏิเอ่ียมแจงพันธ กําแพง ถนนรอบวัด วางระบบไฟฟา กอสรางหองน้ํา พุทธศักราช ๒๕๓๗ เปนประธานกอสรางอุโบสถ บูรณะเจดีย พุทธศักราช ๒๕๓๘ เปนประธานกอสรางอาคารปริยัติธรรม ๒ ช้ัน พุทธศักราช ๒๕๓๙ เปนประธานกอสรางหอพระไตรปฏก พุทธศักราช ๒๕๔๑ เปนประธานกุฏิสงฆ ปญญวชิร พุทธศักราช ๒๕๔๒ เปนประธานกอสรางอาคารเรียน ๓ ช้ัน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เปนประธานสรางพระพุทธปฏิมาและพระวิหาร พุทธศักราช ๒๕๔๗ เปนประธานกอสรางกุฏิสงฆ ธีรสํวโร พุทธศักราช ๒๕๔๘ เปนประธานกอสรางกุฏิ ปญญาวชิระ

Page 199: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๘๖

ประวัติการสรางสรรคงานชางพุทธศิลป ชีวิตในวัยเด็กของทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญาวชิโร ผูกผันกับวัดและดําเนินชีวิต

อยูกับวัดเหมือนกับเด็ก ๆ ท่ัวไป ในสมัยกอนของลานนานั่นคือ การเขาไปเปน “ลูกศิษยวัด” หรือ “ขโยม” ท่ีตองคอยปรนนิบัติครูบาอาจารยเรียนหนังสือและอักษรพื้นเมืองจนชํานาญ ซ่ึงวัดนั้นถือไดวาเปนแหลงรวมสรรพวิชา ทุกคนตางตองแสวงหาเพ่ือประโยชนกับตัวเองไมวาจะเปน การเรียน การฝมือ งานชางประเภทตาง ๆ ซ่ึงในวัยเด็กของทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญวชิโร ก็มีชีวิตเชนเดียวกัน เม่ือทานมีอายุไดประมาณ ๑๐ ขวบ ทานไดเขาเปนลูกศิษยวัดทาสะตอย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ในสมัยนั้นทานพระครูวิมลวรเวทย (ครูบาบุญมี) ดํารงตําแหนงเจาอาวาส ทานไดเรียนรูการทํางานชางไม ซ่ึงในแตละวัด พระ พอหนาน พอนอยจะเปนท่ีคอยซอมแซม และสรางเคร่ืองไมตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับศาสนา เชน ธรรมมาสนหลวง อาสนะ จองสูตร หีบธรรม เปนตน ทานพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญวชิโร ก็ไดฝกหัดการเปนชางไมมาต้ังแตเด็ก ๆ จนมีฝมือดีและงานท่ีทําออกมามีความโดดเดนสวยงามมาก

งานชางเปนส่ิงท่ีไดรับการฝกฝนมาจากระบบการศึกษาภายในวัดเม่ือคร้ังอดีต หลวงพอพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ไดเล็งเห็นวา ปจจุบันกระบวนการเรียนรูดังกลาวกําลังจะหายไปจากวัด จึงไดพยายามรักษาหลักการดังกลาว ดวยการนําพระภิกษุ สามเณรในวัดใหเขาไปมีสวนรวมในการกอสรางทุกอยาง ท้ังกุฏิสงฆ หอพระไตรปฏก ศาลาบําเพ็ญบุญ วิหาร เพื่อมุงใหเกิดกระบวนการเรียนรูท่ีเปนประสบการณตรงจากการปฏิบัติจริงเปนเวลากวา ๑๐ ป นับต้ังแตดํารงตําแหนงเจาอาวาสจนถึงปจจุบัน ดวยมุงหวังใหไดพระภิกษุ สามเณร ท่ีเปนดอกผลแหงการเรียนรู ท่ียังไดเห็นคุณคา

ปจจุบันวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดมีการสงเสริมการเรียนรูตาง ๆ อาทิ ชางไม ชางกอสราง และชางออกแบบลายไทยและลานนา ชางเขียนแบบลายไทยและลานนา การสรางคุณคาประโยชนแกสังคม นับต้ังแตหลวงพอพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปฺญาวชิโร รับตําแหนงเจาอาวาส วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) หลวงพอทานไดสรางคุณประโยชน อาทิเชน

- สงเสริมใหพระภิกษุ สามเณร เลาเรียนภาษาลานนา - จดัระบบการศึกษา และการทองมนตแบบโบราณ - อนุรักษการนงหมจีวรขแงพระภิกษุ สามเณร แบบพระสงฆนิกายเชียงใหม (สีกลัก

แดงรัดอก)

Page 200: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๘๗

- สงเสริมการสอนงานชาง งานศิลปะในวัดหลายประการ เชน สรางธรรมมาสนทรงปราสาท บุษบก ธรรมมาสนปาฏิโมกข สัตตภัณฑ ตุงกระดาง งานตองลายฉัตร ลงรักปดทอง การเขียนลายรดนํ้า การตองกระดาษสา เปนตน

- สงเสริมใหพระภิกษุ สามเณร เปนผูนําดานศาสนาพิธีโดยการประยุกตใชสูการปฏิบัติ โดยเนนความเปนระเบียบและเรียบงาย

พุทธศักราช ๒๕๒๙ เปนกรรมการศึกษาโรงเรียนเทศบาลวัดทาสะตอย จังหวัดเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๔๘ เปนกรรมการบริหารสภานักธรรม จังหวัดเชียงใหม

- มอบทุนการศึกษาใหพระภิกษุ สามเณร และมอบใหนักเรียนเยาวชน โรงเรียนตาง ๆ - เปนประธานกอสรางอาคารเรียนปฺญาวชิโร โรงเรียนบานหนองเขียว อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม - เปนกรรมการอุปถัมภโรงเรียนสืบสานภูมิปญญาทองถ่ิน บานสันทรายตนกอก อําเภอเมือง จังหวดัเชียงใหม

ผลงานทางงานชางพุทธศิลป

พระวิหารวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)

๑. แนวคิดเกี่ยวกับการสรางสรรคผลงานเพื่อประดิษฐานพระพุทธปฏิมาพระประธานของวัด เพื่อถวายเปนพุทธบูชาในพระพุทธศาสนา

Page 201: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๘๘

๒. ผลงานการสรางพระวิหารหลังนี้ เปนการสรางข้ึนแทนพระวิหารหลังเดิมท่ีถูกไฟไหม และชํารุดมาก

๓. โครงสรางท้ังหมดเทคอนกรีตเสริมเหล็ก ผนังกอดวยอิฐถือปูน พื้นและเพดานปูดวยไมสัก

๔. ในกระบวนการกอสรางนั้น ทุกข้ันตอนจะใหพระภิกษุ สามเณรภายในวัดไดมีสวนรวม ซ่ึงจะทําใหไดเรียนรูถึงอัตราสวนในการผสมปูน ตลอดถึงแนวคิด ในการสรางวิหารวามีพัฒนาการมาอยางไร ท้ังจากเจาอาวาส และมาจากชางท่ีมาทํางานภายในวัด

๕. งานไมพื้นวิหาร เปนผลงานการดําเนินการของพระภิกษุ สามเณรภายในวัดท้ังหมด เพื่อใหเกิดการเรียนรูจากการปฏิบัติจริงและเกิดความรู ความเขาใจ ตลอดถึงความภาคภูมิใจในงานท่ีไดรวมกันสรางสรรคข้ึน

๖. วิหารในลานนาเปนมรดกทางภูมิปญญาช้ันสูงท่ีแสดงเพ่ือเปนท่ีประทับของพระพุทธเจา วิหารเปนสวนหนึ่งในขวงแกวท้ังสามท่ีเปดโอกาสใหทุกคน ไดมีโอกาสเขาใกลชิดพระพุทธเจาโดยไมมีการปดกั้น ดวยแนวคิดดังกลาวนี้ พระวิหารในลานนาจึงเปนสถาปตยกรรม ท่ีทรงคุณคามากอยางหนึ่งของวัด ท่ีควรแกการสรางสรรคและรักษา

Page 202: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๘๙

บุษบกลานนา

๑. แนวคิดเกี่ยวกับการสรางสรรคช้ินนี้ เกิดข้ึนจากความตองการปราสาทเพ่ือไวประดิษฐานพระพุทธรูป และพระบรมสารีริกธาตุของวัด จากเดิมท่ีเคยไปหาชื้อท่ีเขาทําขายก็มีราคาแพงและบางช้ินงาน เม่ือพิจารณาดูแลวก็อยูในวิสัยท่ีสามารถจะสรางข้ึนมาได ประกอบกับเคยไดรับการถายทอดความรูในเชิงชางมาอยูบางแลว จึงไดออกแบบเพื่อใหไดตามที่ตองการและลงมือทํา เพื่อถวายไวเปนพุทธบูชา และถวายไวบูชาในวัดวาอารามตาง ๆ

Page 203: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๙๐

๒. ในกระบวนการสรางงานน้ัน ทุกข้ันตอนจะใหพระภิกษุ สามเณรภายในวัดไดมีสวนรวม ดวยความเปนผูคัดเลือกไม การประกอบ การขัดแตง ตลอดถึงแนวคิดเกี่ยวกับคําสอนทางศาสนา ท่ีเสริมเปนภูมิธรรมในงานท่ีสรางข้ึนของคนในอดีต

๓. ผลงานท่ีไดสรางข้ึน ไดมอบบุษบกจตุรมุขไวเปนท่ีประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

๔. การถายทอดความรูนั้น ใหเปนไปตามธรรมชาติของผูเรียน หากมีความรัก มีความสนใจ ก็สามารถรับการถายทอดไดเปนอยางดี บางรูปสามารถสรางสรรคงานข้ึนมาไดดวยตนเอง ธรรมาสนหลวง (ทรงปราสาท)

๑. แนวคิดเกี่ยวกับการสรางสรรค คือ เปนอาสนาเทศนาของพระสงฆ มีอยู ๒ แบบ คือ ธรรมาสนหลวง และธรรมาสนอย คติในการสรางเกิดจากการเทศนาของพระสงฆนั้น ในอดีตไมมีเคร่ืองกระจายเสียง พระสงฆจําเปนจะตองอยูท่ีสูง เพื่อเทศนาใหไดยินท่ัวถึง จึงเกิดการสรางสรรคธรรมาสนท่ีสูง ก็คือ ธรรมาสนหลวง

๒. ธรรมาสนหลวง ชาวลานนานิยมสรางสรรคข้ึน ตามรูปแบบ รูปทรงของแตละ

พื้นท่ี ในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) หลวงพอพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร ไดสรางเปนแบบ “ทรงปราสาท” ณ ปจจุบันประดิษฐานในวิหารหลวง ท่ังนี้มอบไวในพิพิธภัณฑองคการบริหารสวนจังหวัดเชียงใหม ท่ีสรางข้ึนในสมัยนายอุดรพันธ จันทรวิโรจนเปนนายก หลังเล็ก

Page 204: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๙๑

มอบถวายไวกับวัดกูเตา (เวฬุวนาราม) อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม และวัดโลกโมฬี อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

๓. ในการสรางสรรคธรรมาสนหลวง กระบวนการสราง ไดสรางรวมพรอมกับพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด เพื่อเปนการสรางกระบวนการเรียนรูทางงานชางพุทธศิลปะ ใหกับพระภิกษุสามเณรในดานหน่ึง และสรางสรรคไวเปนพุทธบูชา เพื่อใหเปนประโยชนในการเผยแผพระพุทธศาสนาอีกดานหนึ่ง ธรรมาสนปาฏิโมกข (ธรรมาสนนอย)

๑. ธรรมาสนอย หรือธรรมมาสนนอย มาคูกับธรรมาสนหลวง คติเกี่ยวกับการสรางก็เพื่อเปนอาสนะใหพระภิกษุสงฆนั่งเทศนา หรือนั่งสวดปาฏิโมกข (ในการลงอุโบสถทุก ๆ ๑๕ คํ่า ในชวงเขาพรรษา) ของพระสงฆ

๒. ธรรมาสนนอยท่ีสรางสรรคข้ึน เพื่อถวายเปนพุทธบูชาและเพื่อใหเปนประโยชนในการเผยแผพระพุทธศาสนา ท่ังนี้ไดสรางถวายไปสถานท่ีตาง ๆ ดวย อาทิ ถวายไว ณ วัดบานเดน อําเภอบานแตง จังหวัดเชียงใหม

๓. การสรางธรรมาสนนอย ไดสรางสรรคพรอมกับพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด เพื่อเปนการสรางความเรียนรูในทางชางพุทธศิลปะ ใหกับพระภิกษุ สามเณรดวย

Page 205: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๙๒

อาสนา ๑. คติเกี่ยวกับการสราง ถือคติวา ในวิหารเปนสถานท่ีประดิษฐานของพระพุทธองค

ท่ังนี้ควรมีเตียงหรืออาสนา เพื่อเปนสถานท่ีประทับของพระพุทธองค คตินี้นาเช่ือวาปรากฏเฉพาะดินแดนลานนา

๒. การสรางอาสนา ก็ข้ึนอยูกับรูปแบบ ทรวดทรงองคลายตามสถานท่ีหรือพื้นท่ีตาง ๆ ตามดินแดนลานนา และจะตามขนาดใหญหรือเล็กก็ได อาสนาท่ีสรางข้ึนนี้ ปจจุบันประดิษฐาน ณ พระวิหาร วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง)

๓. ในการสรางสรรค ก็ไดรวมกันสรางพรอม ๆ กับ พระภิกษุ สามเณร ภายในวัดเชนเดียวกัน ท่ังนี้ก็เพื่อเปนการสรางการเรียนรูทางงานชางพุทธศิลปะใหกับพระภิกษุ สามเณร

Page 206: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๙๓

ตูเทียนชัย ๑. คติเกี่ยวกับการสราง สรางใหเปนสถานท่ีจุดเทียนชัย ในการสวดมนตในงานมงคล

ตาง ๆ ในดินแดนลานนา อาทิ งานปอยหลวง งานสมโภชพระธาตุ – พระพุทธรูป ๒. การสรางสรรค สรางข้ึนรวมกันระหวางหลวงพอและพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด

ท่ังนี้ก็เพื่อสรางความเปนชางพุทธศิลปะใหกับพระภิกษุ สามเณร ท่ีไดรับการสืบทอดงานชางจากหลวงพอ เพื่อเปนการอนุรักษและฟนฟูงานชางพุทธศิลปะ ซ่ึงเปนกระบวนการศึกษาเรียนรูของพระสงฆในอดีต

แวนตาพระเจา

Page 207: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๙๔

๑. คติเกี่ยวกับการสราง ถือตามคติพระธรรม ท่ีถายทอดลงสูงานพุทธศิลปะ เรียกวา “แวนตาพระเจา” หมายถึง กระจก หรือลานนาเรียกวา แวน ท่ีมีไวเพื่อมองตัวเอง สํารวจตัวเอง ดังนั้น แวนตาพระเจาก็คือ ธรรมท่ีใชสํารวจตัวตนของพุทธบริษัท คือ ศีลสิกขา (ศึกษาเรื่องศีลและรักษาศีล) สมาธิสิกขา (ศึกษาเร่ืองสมาธิและม่ันอบรมสมาธิ) และปญญาสิกขา (ศึกษาเร่ืองปญญาและใชปญญาในการแกปญหา) แวนตาพระเจาหรือหมายถึงการตรัสรูของพระพุทธองค๒ ท่ีใชความรูคือ ปญญาทิพย ๓ ดวง เพื่อเอาชนะกิเลสตัณหา เรียกวา ญาณ ๓ คือ อตีตังสญาณ (ญาณระลึกถึงอดีต) จตูปปาตญาณ (ญาณระลึกถึงการเกิดการตายของสรรพสัตว) และอาสวักขยญาณ (ญาณ คือความรูในการทําใหส้ินไปแหงกิเลสและอาสวะท้ังหลาย) แวนตาพระเจานี้ นาเช่ือวามีคติเฉพาะดินแดนลานนา

๒. การสราง ก็มีพระภิกษุ สามเณร เขารวมสรางสรรค เพื่อเปนการเรียนรูและการสรางความเปนชางพุทธศิลปะ ใหกับพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด

ตูธรรม หรือหีดธรรม

๑. คติเกี่ยวกับการสราง เพื่อเปนสถานท่ีเก็บ รักษาพระธรรมคัมภีร ท่ีนักปราญชราชบัณฑิตทางพระพุทธศาสนา ไดจารลงใบลาน หนัง สือ เพื่ อให เปนแหลง เ รียนรูทางพระพุทธศาสนาของพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา

๒. การสรางงาน สรางดวยหลวงพอ พระครูปลัดทรงสัวัสดิ์ ปญญาวชิโร พรอมกับ

พระภิกษุ สามเณร ภายในวัด เพื่อใหเปนกระบวนการเรียนรูทางงานชางพุทธศิลปะ

๒มณี พยอมยงค, เคร่ืองสักการะในลานนาไทย, หนา ๕๕.

Page 208: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๙๕

สัตตภัณฑ ภูมิปญญาของบรรพชนท่ีสรางสรรคไวภายใตความคิดเร่ืองจักรวาลแทนภูเขาทั้ง ๗ มี

ยุคันธร อิสิขร กรวิก เปนตน และผองถายมาสูกระบวนการเรียนรูแบบโพชฌงค ๗ ในทางพระพุทธศาสนา มี สติ ความระลึกได ธัมมวิจัย การวิเคราะห วิจัยพระธรรม หรือ วิริยะ ความพากเพียร เปนตน ภายหลังไดถูกโตะหมูบูชาเขามาสวมทับแทนท่ีอยู ในชวงเวลาหนึ่งหลวงพอ พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ไดนําพระภิกษุ สามเณรและศรัทธาของวัด ชวยกันฟนฟู ดวยการชวยกันสรางข้ึนถวายไวเปนพุทธบูชา ในงานปอบหลวงพระวิหาร เม่ือเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๗ ปจจุบันประดิษฐานอยูในพระวิหารวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

Page 209: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๙๖

กางกอง (ฆอง) ๑. คติเกี่ยวกับการสรางสรรค เพื่อใหเปนท่ีประดับฆอง นาเช่ือวาไดรับความนิยม

เฉพาะชุมชนลานนา ปรกติก็จะทําเปนกาง (ลักษณะเปนเสา ๒ เสา และมีคานพาดบนคาน) ในวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวขวง) ไดออกรูปแบบใหม มีการประดับดวยลวดลายและปดทอง

๒. การสราง โดยหลวงพอพระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร พรอมดวยพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด เพื่อใหเปนแบบอยางและการเรียนรูในการสรางสรรคงานชางพุทธศิลป

เกรียติคุณท่ีไดรับ

๑. ภูมิปญญาไทย จังหวัดเชียงใหม. ประวัติชีวิตและผลงานภูมิปญญาไทย จังหวัดเชียงใหม. สํานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๔๗.

๒. รางวัลเพชรราชภัฏ – เพชรลานนา สาขาศิลปะสถาปตยกรรม : งานไม จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๔๘

๓. รางวัลเพชรสยาม สาขาชางฝมือ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม พุทธศักราช ๒๕๔๙

ท่ีมาของขอมูล

๑. ประวัติชีวิตและผลงานภูมิปญญาไทย จังหวัดเชียงใหม สํานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม พุทธศักราช ๒๕๔๗

๒. เพชรราชภัฏ – เพชรลานนา ประจําปพุทธศักราช ๒๕๔๘ สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

Page 210: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๙๗

ประมวลภาพการสรางงานและการสืบทอดงานชางพุทธศิลปะ ณ วัดแสนเมืองหมาหลวง (หัวขวง) จ. เชียงใหม

พระครูปลัดทรงสวัสด์ิ ปญญาวชิโร (ครูพระชางพุทธศิลป)

Page 211: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๙๘

Page 212: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๑๙๙

Page 213: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๐๐

Page 214: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๐๑

Page 215: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๐๒

Page 216: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๐๓

Page 217: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๐๔

Page 218: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๐๕

หนังสืออางอิง ศาสตราจารยเกียรติมณี พยอมยงค. เครื่องสักการะในลานนาไทย. ส.ทรัพยการพิมพ. ๒๕๓๘

Page 219: การสืบทอดพ ุทธศิลป ล านนา ...lib.mcu.ac.th/BO/download/Document Form...การส บทอดพ ทธศ ลป ล านนา: กรณ

๒๐๖

ประวัติผูเขียน ช่ือนิสิต นายไตรภพ สุทธเขต ชาติภูมิ เกิดวันพฤหัสสบดีท่ี ๑๙ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ บานโปงคํา ตําบลดูพงษ อําเภอสันติสุข จงัหวัดนาน บรรพชา วันท่ี ๒๑ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๔๑ ณ พันธสีมาวัดดอนมงคล ตําบลดูพงษ อําเภอสันติสุข จังหวดันาน อุปสมบท วันท่ี ๒๑ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๔๑ ณ พันธสีมาวัดดอนมงคล ตําบลดูพงษ อําเภอสันติสุข จังหวดันาน การศึกษา ช้ันประถมศึกษา โรงเรียนบานโปงคํา ตําบลดูพงษ อําเภอสันติสุข จงัหวัดนาน ช้ันมัธยมตอนตน โรงเรียนสันติสุขพิทยาคม ตําบลดูพงษ อําเภอสันติสุข จังหวดันาน

วิทยาลัยเทคนคินาน ( แผนงชางยนต ) ตําบลในเวยีง อําเภอเมือง จังหวัดนาน พุทธศักราช ๒๕๓๘ ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต คณะสังคมศาสตร (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)

ในปพุทธศักราช ๒๕๔๖ จากมหาวิทยาลัย มหาจฬุาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม

นักธรรมช้ันเอก สํานักวดัฟาฮาม ปพุทธศักราช ๒๕๔๔ ท่ีอยูปจจุบัน ๑๕๔ หมู ๕ บานโปงคํา ตําบลดูพงษ อําเภอสันติสุข จงัหวัดนาน ๕๕๒๑๐