เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย...

46
เรื่อง เทคนิค และวิธีการเขียนโครงการ โครงการชี้แจงนิเทศงานแก่ สํานักงานสภาเกษตรกรจังหวัด ปี 2561 เอกสารคําแนะนํา โดย นายมนตรี ถาวร ผู้เชี่ยวชาญด้านยุทธศาสตร์การเกษตร

Upload: others

Post on 11-Aug-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

เรื่อง เทคนิค และวิธีการเขียนโครงการ

โครงการชี้แจงนิเทศงานแก่ สํานักงานสภาเกษตรกรจงัหวัด ปี 2561

เอกสารคําแนะนํา

โดย นายมนตรี ถาวรผู้เชี่ยวชาญด้านยุทธศาสตร์การเกษตร

Page 2: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

เนื้อหาประกอบด้วย 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเขียนโครงการ 2. วิธีการจัดทําโครงการจากการวิเคราะห์ปัญหา 3. ประเด็นสําคัญในการเขียนองค์ประกอบโครงการ 4. การเขียนโครงการในรูป Logical Framework 5. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และนโยบายที่เกี่ยวข้องกับ ภาคการเกษตร

6. (ร่างตัวอย่าง) ข้อมูลภาพรวมด้านการเกษตรที่สําคัญของ ตําบล.......................จังหวดั.......................

Page 3: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเขียนโครงการ โครงการ หมายถึง แผนงานย่อยที่ประกอบด้วย กิจกรรมหลาย กิจกรรม หรือหลายงาน

ซึ่งระบุรายละเอียดชัดเจน เช่น วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ระยะเวลาดําเนินการ กิจกรรมดําเนินงาน สถานที่ดําเนินงาน งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ตลอดจนผลที่คาดว่าจะได้รับ

ยุทธศาสตร์

แผนงาน โครงการ

กลยุทธ์ โครงการ

การแปลงแผนงาน/ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ

นโยบาย

Page 4: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

รายละเอียดโครงการ - มีองค์ประกอบที่สามารถสื่อให้เข้าใจได้ง่าย - สามารถตอบคําถาม ต่อไปนี้

โครงการอะไร

ทําไมต้องทําโครงการ

ทําเพื่ออะไร

ปริมาณที่จะทําเท่าไร

ทําอย่างไร

1) ชื่อโครงการ

2) หลักการและเหตุผล

3) วัตถุประสงค์

4) เป้าหมาย

5) วิธีดําเนินงาน

Page 5: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

รายละเอียดโครงการ - มีองค์ประกอบที่สามารถสื่อให้เข้าใจได้ง่าย - สามารถตอบคําถาม ต่อไปนี้ (ต่อ)

จะทําเมื่อไร นานแค่ไหน

ใช้ทรัพยากรเท่าไร และจะได้มาจากไหน

ใครทํา

บรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์หรือไม่

เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้วจะได้อะไร

6) ระยะเวลาดําเนินการ

7) งบประมาณ แหล่งที่มา

8) ผู้รับผิดชอบโครงการ

9) ตัวชี้วัด

10) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

Page 6: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

ปัญหาเกี่ยวกับการเขียนโครงการ

1. โครงการที่กําหนดขึ้น – ไม่มีการวิเคราะห์ปัญหา และความต้องการแก้ปัญหาอย่างจริงจัง

2. ปัญหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 วัตถุประสงค์มากเกินไป ควรมี 1 -3 วัตถุประสงค์ก็เพียงพอแล้ว 2.2 ปัญหาสับสนระหว่าง จุดม่งหมาย (Goal) วัตถุประสงค์ (Purpose)

3. ปัญหากําหนดตัวชี้วัด

4. ปัญหากําหนดผลที่คาดว่าจะได้รับ

Page 7: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

2. วิธีการจัดทําโครงการจากการวเิคราะห์ปัญหา

ขั้นที่ 1 ปัญหาคืออะไร ความคาดหวัง (Expectation) - ความจริง (Actual) = ปัญหา 100 ชิ้น - 80 ชิ้น = 20 ชิ้นปัญหามี 3 ประเภท1. ปัญหาขัดข้อง จากอดีตไม่มีปัญหา แต่ปัจจุบันเริ่มเกิดปัญหาขึ้น

ไม่มีปัญหา เริ่มเกิดปัญหา

ปัจจุบัน

อดีต+ E คาดหวัง(1) (2)

อนาคตเกิดจริง

A

=======================

Page 8: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

2. ปัญหาป้องกัน ได้แก่ ปัญหาบัวปริ่มน้ํา ปัจจุบัน มี Indicator เช่น หนี้ค้างชําระเพิ่ม กําไรลดลง

ไม่มีปัญหา

(1)

อดีตปัจจุบัน

(2) ======================

อนาคต

Aเกิดจริง

E คาดหวัง

3. ปัญหาเชิงพัฒนา ได้แก่ ไม่มีปัญหา ต้องการพัฒนาให้ได้ผลสงูกว่าทีค่าดหวังไม่มีปัญหา

อดีต

(2)E คาดหวัง

(1) =====================

ปัจจุบัน

อนาคต

Aเกิดจริง

Page 9: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

ขั้นที่ 2 การค้นหาปัญหา เพื่อกําหนดโครงการมีรายได้จากทํานา

อย่างเดียวไม่พอใช้จ่ายวัตถุประสงค์แผนงาน

(Goal)เพื่อให้เกษตรกรประกอบการเกษตรหลายชนิดเพิ่มรายได้

วัตถุประสงค์โครงการ (P)(มรรค)

มีการเลี้ยงไก่พื้นเมืองแนวทางแก้ไข

(นิโรธ)

พัฒนาสายพันธุ์โคเนื้อ

จัดตั้งสหกรณ์ ผู้เลี้ยงโคเนื้อ

จัดตลาดดําเนินในพื้นที่และส่งออก

กลยุทธ์ สาเหตุใดมีพลังมาก แก้สาเหตุนั้นก่อนเพราะข้อจํากัด เวลา/คน/เงินโครงการ – แก้สาเหตุเพียง 1 สาเหตุ

จัดอบรมการพัฒนาสายพันธุ์โคเนื้อ แก่เกษตรกร

มีการเลี้ยงโคเนื้อสายพันธุ์ดีเพิ่มขึ้น

เกษตรกรจัดหาแหล่งสินเชื่อดอกเบี้ยต่ํา

ปศุสัตว์ให้บริการผสมเทียมพัฒนาสายพันธุ์

จัดทําแปลงหญ้า

Input

ไม่มีการเลี้ยงปศุสัตว์

ไม่มีการเลี้ยงสัตว์น้ํา

ปัญหา (ทุกข์)

สาเหตุ (สมุห์ทัย)

ไม่มีการปลูกไม้ผล,พืชผัก

Output

มีการปลูกไม้ผล

Page 10: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

ตัวอย่างเปลี่ยนกระบวนการแก้ปัญหา เป็น กระบวนการวางโครงการ

ปัญหา เกษตรกรขาดทุน เกษตรกรมีกําไรรายได้ต่ํา รายจ่ายสูง เพิ่มรายได้ ลดต้นทุน

สาเหตุ ระดับ 1

ตลาดแคบ

ด้อยคุณภาพ

ขยายตลาด

ราคาสูง Goal

สาเหตุ ระดับ 2

ดินขาดปุ๋ย

ขาดพันธุ์ดี

ขาดคลองส่งน้ําขาดแหล่งกักเก็บน้ํา

Purpose

มีฝายน้ําล้น

จัดหาแหล่งเงิน

จัดหาวัสดุอุปกรณ์

ออกแบบก่อสร้าง

Output

Input

ขาดแคลนน้ํา

มีน้ําทําเกษตรเพิ่มขึ้น

ราคาต่ําผลผลิตเพิ่มขึ้น

ปริมาณผลผลิตต่ํา

Page 11: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

3. ประเด็นสําคัญในการเขียนองค์ประกอบโครงการ

1. ชื่อโครงการ - ชัดเจน กะทัดรัด - บอกได้ว่าโครงการจะทําสิ่งใดบ้าง เพื่ออะไร - บอกลักษณะเฉพาะของโครงการและจุดมุ่งหมาย

เช่น “การเพิ่มอัตราการเกิดของประชากร” “การปรับเปลี่ยนพื้นทีเ่กษตรเชิงเดี่ยวเป็นเกษตรผสมผสาน”

Page 12: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

2. หลักการและเหตุผล- แสดงการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับด้านการเกษตร เช่น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 แผนพัฒนาการเกษตรฯในช่วงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 นโยบายรัฐบาล แผนแม่บทเพื่อพัฒนาเกษตรกรรม ยุทธศาสตร์สภาเกษตรกรแห่งชาติ ยุทธศาสตร์จังหวัด และยุทธศาสตร์กลุ่มจงัหวัด เป็นต้น

- แสดงปัญหา สาเหตุ ความจําเป็น หรือความต้องการจัดทําโครงการขึ้นเพื่อแก้ปัญหา/ หรือพัฒนา- ระบุเหตุผล และข้อมลูเพื่อสนับสนุนการจัดทําโครงการอย่างชัดเจน

ตัวอย่าง : โครงการขุดสระเก็บน้ําขนาดเล็กในไร่นา1) ตําบล ก. มีเกษตรกรจํานวน 500 ครัวเรือน พื้นที่การเกษตร 3,000 ไร่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทํานา โดยสามารถทํานา

ได้เฉพาะช่วงฤดูฝน เนื่องจากขาดแคลนแหล่งน้ํา2) มีแหล่งน้ําธรรมชาติ หนอง บึง ซึ่งสามารถใช้น้ําในฤดูแล้งทําการเกษตรได้เพียง 200 ไร่ ดังนั้นพื้นที่ทําการเกษตร

ส่วนใหญ่ต้องอาศัยน้ําฝน3) เกษตรกรมักประสบปัญหาการทํานาปี ในช่วงไถหว่านข้าวไปแล้ว เกิดภาวะฝนทิ้งช่วง ทําให้ข้าวที่ปลูกเสียหาย และไม่

สามารถทําเกษตรอย่างอื่น เช่น เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อเป็นแหล่งอาหาร และสร้างรายได้เพิ่ม4) ดังนั้นจึงจัดทําโครงการขุดสระเก็บน้ําขนาดเล็กในไร่นาขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงข้าวขาดน้ําช่วงฝนทิ้งช่วง และสามารถ

ปรับเปลี่ยนรูปแบบจากการทํานาอย่างเดียวไปทําเกษตรหลายชนิด เข่น ปลูกผัก/ไม้ผล/เลี้ยงปลา/เลี้ยงสัตว์ เพิ่มรายได้

Page 13: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

3. วัตถุประสงค์ - แสดงถึงความต้องการทําสิ่งต่างๆในโครงการ ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม สามารถวัดและ

ประเมินผลได้ - โครงการหนึ่งๆอาจมีวัตถุประสงค์มากกว่า 1 ข้อ แต่ไม่ควรเกิน 3 ข้อการเขียนวัตถุประสงค์ ต้องคํานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ใช้คําแสดงถึงความตั้งใจ เชิงพฤติกรรม เช่น เพื่อเพิ่ม................เพื่อลด.................เพื่อส่งเสริม................เพื่อปรับปรุง......................

ตัวอย่างวัตถุประสงค์ :เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการใช้น้ําในสระ ไปเพิ่มชนิดการทําเกษตรในฟาร์ม

Page 14: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

4. เป้าหมาย - แสดงผลผลิต (Output) ที่เป็นเชิงคุณภาพ หรือปริมาณที่คาดว่าจะทําให้เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่กาํหนด ตัวอย่าง : “โครงการขุดสระเก็บน้ําขนาดเล็กในไร่นา” เป้าหมาย : 1) เกษตรกรในตําบล ก. 300 ราย สามารถขุดสระเก็บน้ําในไร่นาขนาดความจุ 5,000 ม.3

ได้จํานวน 300 สระ 2) จํานวนเกษตรกรที่ขุดสระ 300 รายได้รับการอบรมการใช้น้ําจากสระไปเพิ่มชนดิการทํา

เกษตรในฟาร์ม เช่น พืชผัก ไม้ผล เลี้ยงปลา เลี้ยงปศุสัตว์

6. วิธีดําเนินงาน หรือกิจกรรมดําเนินงาน - ขั้นตอนการปฏิบัติ/ ดําเนินกิจกรรม ก่อน – หลัง เพื่อให้บรรลุวัตถปุระสงค์ ตัวอย่าง : โครงการขุดสระเก็บน้ําขนาดเล็กในไร่นา

5. พื้นที่ดําเนินการ ระบุพื้นที่เป้าหมายดําเนินการให้ชัดเจนว่า หมู่บ้านใดบ้างในตําบล ก็แสดงว่ามีความพร้อมดําเนินการได้ทันที

Page 15: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

6.1) ขั้นเตรียมงาน 1) สภาเกษตรกรจังหวัด/สํานักงานสภาเกษตรกรจังหวัด สํารวจข้อมูลเกษตรกรผู้ประสงค์ขุดสระน้ําขนาดเล็กในไร่นา - รวบรวมจาํนวนเกษตรกร จํานวนสระน้ํา และการปรบัปรงุพืน้ที่เกษตร ซึ่งจะนําน้ําในสระไปใช้ 2) ประสานสถานีพัฒนาทีดิน/องค์การบรหิารส่วนตําบล/องค์การบรหิารส่วนจังหวัด เพื่อขอรับการสนับสนุนสระน้ําขนาดเล็กในไร่นา - พร้อมรบัข้อมูลเงื่อนไข เช่น เกษตรกรต้องออกเงินสมทบค่าขุดสระ, ต้องออกสมบทค่าน้ํามันเชื้อเพลิง 3) ประสานหน่วยงานรับผิดชอบส่งเสริมอาชีพหลังขุดสระ เช่น ประมงสนับสนุนพันธุ์ปลา/ถ่ายทอดความรู้, สํานักงานเกษตรกรจังหวัดสนับสนุนพันธุ์พืช/ถ่ายทอดความรู,้ สถานีพัฒนาที่ดิน สนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืช ปุ๋ยสด, ปศุสัตว์ถ่ายทอดความรู้การเลี้ยงเป็ด ไก่ ฯลฯ 4) จัดทํารายละเอียดโครงการเสนอผู้มีอํานาจอนุมัติ

Page 16: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

6.2) ขั้นดําเนินการ 1) จัดประชุมชี้แจงเกษตรกรผู้ประสงค์เข้าโครงการฯ 2) ร่วมกับหน่วยงานรับผิดชอบ และเกษตรกร สํารวจพื้นที่เหมาะสมจะขุดสระ 3) ประสานจัดเครื่องจักรกลดําเนินการขุดสระเก็บน้ําขนาด 5,000 ม.3 ในไร่นา 4) จัดอบรมการทําเกษตรแบบผสมผสาน 5) ประสานหน่วยงานสนับสนุนการใช้น้ําในสระ ทําการเกษตร เช่น ตกกล้าข้าว เลี้ยงปลา

ปลูกพืชรอบสระ เลี้ยงปศุสัตว์6.3) ขั้นติดตามความก้าวหน้า 1) ติดตามความก้าวหน้ากิจกรรมที่ล่าช้า 2) ติดตามกิจกรรมที่มีปัญหาอุปสรรค ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติ 3) จัดทํารายงาน

Page 17: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

7. แผนปฏิบัติงาน - นําขั้นตอน/กิจกรรมต่างๆมาแจกแจงรายละเอียด เพื่อให้ผู้รับผิดชอบหรือผู้ร่วมดําเนินโครงการสามารถลงมือปฏิบัติงานได้ตามเวลาและเป้าหมายที่กําหนด - ใช้เป็นเครื่องมือควบคุมการดําเนินโครงการ

Page 18: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

รายการ เป้า หมาย

งบประมาณ (บาท)

ปี 2562ผู้รับผิด ชอบ

ต.ค. 61

พ.ย 61

ธ.ค61

ม.ค 62

ก.พ 62

มี.ค62

เม.ย.62

พ.ค62

มิ.ย 62

ก.ค 62

ส.ค.62

ก.ย 62

1. ขั้นเตรียมงาน 1.1) สํารวจข้อมูลเกษตรกรผู้ประสงค์ขุดสระ 3 หน่วย 4,000

- สภจ /สกจ.

1.2) ประสานหน่วยงานสนับสนุนขุดสระ และปัจจัยการผลิต รวมทั้งถ่ายทอดความรู้ 4 หน่วย 5,000 -สภจ./สกจ.

2. ขั้นดําเนินงาน 2.1) จัดประชุมชี้แจงเกษตรกร 300 ราย 60,000

- สภจ ./สกจ.-หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

2.2) สํารวจพื้นที่จะขุดสระ 300 แปลง 10,000-สภจ./สกจ.-พด/อบต.

2.3) ดําเนินการขุดสระ 300 สระ 3,000,000 -พด/อบต.

2.4) จัดอบรมเกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม/เลี้ยงปลา/เลี้ยงปศสุัตว์ 300 ราย 60,000

-สภจ /สกจ.-หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

2.5) เกษตรกรรวมจัดตั้งกลุ่ม และปรับเปลี่ยนการดําเนินงานเกษตรในฟาร์ม 300 แปลง 10,000 เกษตรกรที่

เข้าโครงการ

ตัวอย่าง แผนแสดงระยะเวลาการปฏิบัติงานแต่ละกิจกรรม

Page 19: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

รายการ เป้าหมาย งบประมาณ (บาท)

ปี 2562 ผู้รับผิด ชอบ

ต.ค.61

พ.ย.61

ธ.ค.61

ม.ค.62

ก.พ.62

มี.ค.62

เม.ย62

พ.ค.62

มิ.ย.62

ก.ค.62

ส.ค.62

ก.ย.62

3. ขั้นติดตามความก้าวหน้า 3.1) จัดประชุมเกษตรกรเพื่อติดตามความก้าวหน้า

300 ราย 60,000- สภจ. /สกจ.-หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

3.2) จัดทํารายงานผล 4 ไตรมาส -สภจ ./สกจ.

รวม 3,209,000

ตัวอย่าง แผนแสดงระยะเวลาการปฏิบัติงานแต่ละกิจกรรม (ต่อ)

8. ระยะเวลาดําเนินการ -ระบุระยะเวลาเริ่มต้นโครงการ จนถึงสิ้นสุดโครงการว่า ใช้เวลาทั้งหมดเท่าไร โดย ระบุ วัน เดือน ปี ที่เริ่มทําและสิ้นสดุที่ชัดเจน9. งบประมาณโครงการ -ระบุจํานวนเงินที่ต้องใช้ในโครงการ โดยจําแนกตามหมวดรายจ่ายด้วย เพื่อสะดวกแก่ผู้พิจารณาอนุมัติ

Page 20: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

10. หน่วยงานรับผิดชอบโครงการ - ให้ระบุหน่วยงานหลักรับผิดชอบ ว่าเป็นหน่วยงานใด - ระบุหน่วยงานร่วมดําเนินการ หรือหน่วยงานสนับสนุนในแต่ละกิจกรรม 11. ตัวชี้วัดโครงการ ตัวแปรที่กําหนดขึ้น เพื่อใช้วัดการเปลี่ยนแปลง หรือบ่งบอกสภาพความสําเร็จ หรือผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้น - สามารถใช้วัดปัจจัยนําเข้า (Input), วัดกระบวนงาน (Process), วัดผลผลิต (Output) และวัดผลลัพท์ (Outcome) ตัวอย่าง : วัดผลผลิต (Output) 1) จํานวนสระเก็บน้ําของเกษตรกรเป้าหมายที่สามารถขุดได้แล้วเสร็จ ภายในกําหนดเวลา 300 สระ 2) จํานวนเกษตรกรที่ผ่านการฝึกอบรมการใช้น้ําจากสระไปเพิ่มชนิดการทําเกษตร ในฟาร์ม 300 ราย วัดผลลัพท ์(Outcome) 1) เกษตรกรที่ขุดสระน้ําแล้วเสร็จสามารถใช้น้ําจากสระไปปรับเพิ่มชนิดการทําเกษตร ในฟาร์ม เช่น พืชผัก ไม้ผล เลี้ยงปลา เลี้ยงปศุสัตว์ เพิ่มรายไดเ้ฉลี่ยรายละ 60,000 บาท/ปี

Page 21: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

12. การเขียนโครงการในรูป Logical Framework- แนวคิดเรื่องความสัมพนัธ์ระหว่างแผนงาน และโครงการ มีอิทธิพลต่อรูปแบบ Log – Frame- โครงการจะไม่เป็นเอกเทศ โดยไม่สัมพันธ์กับโครงการ/แผนงานอื่นระดับเหนือกว่า

- ผลสําเร็จของโครงการหนึง่ มักเป็นตัวให้เกิดความสําเร็จกับแผน/แผนงานระดับเหนอืขึ้นไป

แผนงานเพิม่ผลผลติการเกษตรในตําบล ก. (Ultimate Goal)

Purpose

(1)โครงการปรับปรุง

บํารุงดิน

(2)โครงการส่งเสริมผลิต/ใช้

พืชพันธุ์ดี

(3)โครงการถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร

(4)โครงการพัฒนาแหล่งน้ํา

ฝายน้ําล้น (Output) คลองส่งน้ํา (Output)

ตัวอย่าง

Page 22: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

จากระบบความสัมพันธ์ของแผนและโครงการดังกล่าว จึงเกิดแนวคดิ เรื่อง ระดับวัตถุประสงคข์ึ้น ซึ่งควรคํานึงว่ามี 3 ระดับ คือ

1) Ultimate Goal เป็นวัตถุประสงคท์ี่สาํคญั ควรคํานึงในการเขียนโครงการ - เพราะการบรรล ุUltimate Goal หมายถึง บรรลุความต้องการที่สาํคญั ซึ่งเป็นที่มาของกําเนิดโครงการนั้นๆ

- จากตัวอย่าง “ผลผลิตการเกษตรที่เพิม่ขึ้น” เป็น G ของแผนงานซึ่งเป็นทีม่าของ 4 โครงการ

2) Intermediate Goal หรือ Purpose ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ของแต่ละโครงการภายใต้แผนงาน เช่น - โครงการพัฒนาแหล่งน้ํา Purpose ระดับนี้ คือ “ปริมาณน้ําที่ใช้ทําการเกษตร”

3) Immediate Goal หรือ Output ซึ่งวัตถุประสงค์ระดับนี้ - จะเป็นผลงานที่เกิดขึ้นทันที จากการปฏิบัติงานโครงการ

- แต่ไม่ใช่วัตถุประสงค์แท้จริงของโครงการ เช่น ได้คลองส่งน้ํา ฝายน้ําล้น คันคูน้ํา

Page 23: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

สาระสําคัญของโครงการที่ปรากฏใน Log – Frame ต้องประกอบด้วย1. วัตถุประสงค์ของแผน/แผนงาน (Program Goal)2. จุดมุ่งหมายของโครงการ (Project Purpose) - เป็นวัตถุประสงค์แท้จริงของโครงการ - จะเกิดผลตามที่กําหนด ต่อเมื่อมีผลผลิต (Output) ตามที่วางไว้3. ผลผลิต (Output) ได้แก่ ผลผลิตที่เกิดจากการดําเนินกิจกรรมภายใต้โครงการ4. กิจกรรมและทรัพยากร (Input) ได้แก่ กิจกรรม หรืองานที่จะดําเนินการ รวมทั้ง

การใช้ทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้เกิดผลผลิต (Output) ตามที่ต้องการ

Page 24: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

รูปแบบของ Log – Frameแผนภูมิแสดงรายละเอียดของตาราง Log – Framework (ต่อ)

สาระสําคัญของโครงการ เครื่องแสดงเวลา ปริมาณและคุณภาพ หลักฐาน แหล่งพิสูจน์ ตัวชี้วัด เงื่อนไขประกอบที่สําคัญ

(Narrative Summary) (Objective verifiable indicators) (Means of Verification) (Important Assumptions)

Outputมีฝายน้ําลัน ฝายน้ําล้นขนาด.......................

จํานวน 3 แห่งรายงานการตรวจรับของคณะกรรมการตรวจการจ้าง

+ - ฝนต้องตกจํานวน............มม. ต่อปี เหนือฝาย

Input - ประกวดราคาก่อสร้าง- จัดหางบประมาณสร้าง- จัดหาวัสดุอุปกรณ์- ออกแบบก่อสร้าง

1) งบประมาณ............บาท2) สามารถก่อสร้างให้แล้วเสร็จภายในเดือนมีนาคม 2560

1) แบบแปลนสร้างฝาย2) บัญชีการเบิกจ่ายวัสดุ

ราคาวัสดุ ค่าแรงต้องไม่สูงเกิน 12 %

Page 25: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

รูปแบบของ Log – Frameแผนภูมิแสดงรายละเอียดของตาราง Log – Framework

สาระสําคัญของโครงการ เครื่องแสดงเวลา ปริมาณและคุณภาพ หลักฐาน แหล่งพิสูจน์ ตัวชี้วัด เงื่อนไขประกอบที่สําคัญ

(Narrative Summary) (Objective verifiable indicators) (Means of Verification) (Important Assumptions)

Goalผลผลิตข้าวที่เพิ่มขึ้น

ผลผลิตข้าวต่อไร่เพิ่มขึ้น ปี 2559 ปี 2560 70 ถัง 90 ถัง

1) รายงานของเกษตรจังหวัด2) รายงานจาก สศก.เขต

เกษตรกรมีรายได้สูงขึ้น

Purposeเพิ่มปริมาณน้ําที่ส่งไปยังไร่นา

เพิ่มปริมาณน้ําให้พื้นที่นาข้าว ปี 2559 ปี 2560 1,000ไร่ 3,000 ไร่

1) รายงานของโครงการชลประทานจังหวัด

+ - โครงการอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น ปรับปรุงดิน พันธุ์ และการอบรมเกษตรกรต้องสําเร็จ

Page 26: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

สรุป ความหมายของคาํทีพ่บในการจัดทาํโครงการ1. ความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายและวัตถุประสงค์

(1) เป้าหมายต้องตอบสนองวัตถุประสงค์ (2) เป้าหมายคล้ายวัตถุประสงค์แต่

เฉพาะเจาะจงมากกว่า

วัตถุประสงค์หนึ่ง

เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย

2. ผลผลิต (Output) หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นโดยตรงหลังดําเนินกิจกรรมโครงการเสร็จ

3. ผลลัพธ์ (Outcome) หมายถึง ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตของโครงการ โดย กลุ่มเป้าหมาย ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

Page 27: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

4. ผลกระทบ (Impact) หมายถึง ผลที่เกิดตามมาจากการดําเนินโครงการ (Output) และ การใช้ประโยชน์โครงการ (Outcome) ทั้งกลุ่มเป้าหมาย และ มิใช่กลุ่มเป้าหมาย ทั้งเชิงบวก เชิงลบ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

5. ผลสัมฤทธิ์ (Result) = ผลกระทบ หรือ ผลลัพธ์

Page 28: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

หลักตรรกะ ทํากิจกรรมแก้เหตุ แล้วเกิด 3 ผล (3 ได้)

ผลผลิต(ได้อะไร)

ผลลัพธ์(ใครได้ใช้)

ผลกระทบ(ได้ให้ส่วนรวม)

กิจกรรม

1) ขุดสระน้ําในไร่นา สระน้ําเกษตรกรใช้น้ําทําการเกษตร

-เกษตรกรมีรายได้เพิ่ม-เศรษฐกิจชุมชนดีขึ้น

2) ก่อสร้างถนนใช้ ยางพาราผสม

ถนนใช้ยางพาราผสม

-ประชาชนได้ใช้ ขนส่งสินคา้เกษตร

-เกษตรกรขายยางพาราราคาดีขึ้น

-ลดปัญหาราคายางพาราตกต่ํา

3) จัดอบรมการขายสินค้าเกษตรออนไลน์

เกษตรกรผ่านการอบรมขายสินค้าออนไลน์ 100 ราย

เกษตรกรสามารถนําความรู้ไปขายสินค้าออนไลน์ของตนและกลุ่ม

- เพิ่มช่องทางและปริมาณขายสินค้าของเกษตรกร/กลุ่ม

- ผู้บริโภคประหยัดเวลา/ค่าใช้จ่ายในการซื้อหาสินค้า

Page 29: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

วัตถุประสงค์ = จะทําอะไรให้เกิดขึน้ (What output to do)ผลที่คาดว่าจะได้รับ = ถ้าเกิดวัตถุประสงค์แล้ว จะมีผลดีอะไรตามมา

(What benefit to get)ตัวชี้วดัความสําเร็จของโครงการ หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่จะนาํมาใชเ้ป็น หน่วยวัด

เพื่อทําการวัดความสําเร็จที่เกิดขึน้จากการนําโครงการไปปฏิบัติ- ตัวชี้วดัเชงิคุณภาพ = เป็นไปตามเกณฑ์ที่กําหนด/มาตรฐาน- ตัวชี้วดัเชงิปริมาณ = จํานวน/ร้อยละ/สัดส่วน

การประสานงานการบูรณาการดําเนินโครงการ

ความแตกต่างระหว่างผลที่คาดว่าจะได้รับ กับ วัตถุประสงค์

Page 30: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ
Page 31: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

การจัดทําโครงการที่จะได้รับการพิจารณาจากหน่วยงาน

1) โครงการต้องตรงกับบทบาทภารกจิของหน่วยงาน มีกฎ/ระเบียบ ให้ทําได้

2) ระเบียบของหน่วยงานผู้ให้ สามารถสนับสนุนงบประมาณให้ สกจ.ได้

3) การจัดทําโครงการที่ชัดเจน

4) จัดทําสรุปและมีการนําเสนอที่เข้าใจได้ง่าย

5) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

Page 32: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

การประสานกับหน่วยงานก่อนจัดทาํโครงการเสนอ

1) หารือกับประธานสภจ. /สมาชิกสภจ. ว่าควรทําโครงการอะไร

2) ประสานภายในกับแหล่งงบประมาณ/หน่วยงานที่จะขอสนับสนุนเพื่อ

- ให้ได้ข้อมูลเบื้องต้นว่าควรจัดทําโครงการอะไร

- หากเป็นโครงการบูรณาการ สกจ.จะรับผิดชอบกิจกรรมใด ในโครงการ

- เงื่อนไข/ข้อกําหนดต่างๆ

- รูปแบบโครงการที่จะนําเสนอ(สรุปย่อหรือโครงการฉบับสมบูรณ์)

3) จัดทําข้อเสนอโครงการส่งหน่วยงานที่ประสานไว้เป็นทางการต่อไป

Page 33: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

(ตัวอย่าง) ข้อมูลสําคัญที่ควรจัดเก็บ เพื่อใช้จัดทําแผนพัฒนาเกษตรกรรม/โครงการ

- (ร่างตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทาง) ข้อมูลภาพรวมด้านการเกษตรที่สําคัญของ

ตําบล........................จังหวัด........................

- ข้อมูลจํานวนกลุ่ม/องค์กรรายสินค้าเกษตร หรือกลุ่ม/องค์กรที่เกษตรกรสมาชิกทําเกษตร

รูปแบบเดียวกัน ตําบล...................จังหวัด........................

- ข้อมูลต้นทุนการผลิตและรายได้เฉลี่ยต่อไร่ของสินค้าเกษตรที่สําคัญของ

ตําบล.....................จังหวัด........................

- การนําข้อมูลด้านการเกษตรมาวิเคราะห์ศักยภาพ (SWOT Analysis)

- แบบสอบถามปัญหาด้านการเกษตร และความต้องการแก้ไขปัญหาของเกษตรกร

หมายเหตุ ตัวอย่างข้อมูลที่ควรจัดเก็บเป็นเพียงแนวทาง ซึ่งสํานักงานสภาเกษตรกรจังหวัด

สามารถปรับเพิ่ม/ ลด/ แก้ไขได้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการนําข้อมูลไปใช้ประโยชน์

Page 34: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

(ร่างตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทาง)

แบบฟอร์มจัดเก็บข้อมูลภาพรวมด้านการเกษตรที่สําคัญของตําบล............จังหวัด...............

รายการข้อมูล1. จํานวนครัวเรือนเกษตรกร/ จํานวนเกษตรกร

2. จํานวนครัวเรือนเกษตรกรจําแนกตามสงักัดองค์กร

3. พื้นที่ทั้งจงัหวัด แยกเป็น

3.1) พื้นที่ป่าไม้

3.2) พื้นที่ถือครองทางการเกษตร

4. คุณภาพดินทีท่ําการเกษตร (เปรี้ยวจัด/ เค็ม/ หน้าดินตื้นฯ)

5. แหล่งน้ําเพือ่การเกษตร

ครัวเรือนเกษตรกรเป็นเจ้าของที่ดิน

เช่าที่ดิน / ให้ทําฟรี

ทําเกษตรในเขตป่า

พื้นที่ในเขตชลประทาน

นอกเขตชลประทาน

แหล่งน้ําธรรมชาติใช้ทําเกษตรฤดูแล้งได้

Page 35: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

รายการข้อมูล (ต่อ)

6. ชนิดสินค้าเกษตรที่สําคัญทางเศรษฐกิจ เช่น

7. การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย/ เกษตรอินทรีย์

(จํานวนกลุ่มที่ได้รับรอง GAP/อินทรีย์)

8. แหล่งรับซื้อผลผลิต (ตลาดกลาง/ตลาดนัด/โรงสี/โรงงานแปรรูป)

9. หนี้สินเกษตรกร (หนี้ในระบบ/ หนี้นอกระบบ)

10. จํานวนครัวเรือเกษตรกรจําแนกตามรายได้

11. แหล่งถ่ายทอดความรู้ด้านการเกษตรในพื้นที่ (ศูนย์เรียนรู้/ศูนย์ปราชญ์/หน่วยงานราชการ/

สถาบันการศึกษา)

12. จํานวนกลุ่ม/เกษตรกรที่ทําเกษตรตามแนวพระราชดําริ (กลุ่ม/ราย)

13. จํานวนกลุ่ม/เกษตรกรทําเกษตรใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม (กลุ่ม/ราย)

โคเนื้อ (จํานวนที่เลี้ยง/มูลค่า)

ยางพารา

มันสําปะหลัง

ข้าว (พื้นที่ปลูก/ผลผลิต/มูลค่า)

Page 36: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

วิธีวิเคราะห์สัดส่วน (Percentage) (ต่อ)1. ต้นทุนการผลิต (บาท/ไร่)

รายการ ข้าวนาปี ร้อยละ1.1 ค่าเมล็ดพันธุ์/ต้นพันธุ์ 457.44 11.511.2 ค่าปุ๋ยเคมี/ฮอร์โมน 70.31 19.381.3ค่าสารเคมีป้องกันกําจัดโรค/แมลง/วัชพืช 332.22 8.361.4 ค่าจ้างเตรียมดิน 443.33 11.151.5 ค่าจ้างปลูก 133.86 3.371.6 ค้างดูแลรักษา/ฉีดพ่นยา/หว่านปุ๋ย 170.79 4.301.7 ค่าจ้างเก็บ 470.18 11.831.8 ค่าจ้างขนส่งไปขาย 138.44 3.481.9 ค่าน้ํามัน 384.02 9.661.10 ค่าใช้น้ํา 20.43 0.511.11 ค่าเช่าที่ดิน 541.02 13.611.12 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 113.32 2.85

รวม 3,975.36 100

ตัวอย่าง : สรุปต้นทุนและผลตอบแทนการผลติสินค้าเกษตรที่สาํคัญจังหวัดพษิณโุลก ปี 2553

Page 37: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

ตัวอย่าง : สรุปต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตสินค้าเกษตรที่สําคัญ จังหวัดพิษณุโลก ปี 2553

วิธีวิเคราะห์สดัสว่น (Percentage) (ต่อ)

2. ผลตอบแทน รายการ ข้าวนาปี

2.1 ผลผลิตที่ได้ (กก./ไร่) 757.462.2 ราคาขาย (กก./ไร่) 8.242.3 รวมผลตอบแทน (บาท/ไร่) 6,242.352.4 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท/ไร่) 2,269.99

Page 38: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

แบบฝึกหัดปฏิบัติ ชื่อโครงการ “..........................................................................”

1. หลักการและเหตุผล -ที่มา ระบุจุดเริ่มต้นที่ต้องการให้เกิดโครงการ หรือโครงการนี้ตอบสนองต่อนโยบายรฐับาลประเด็นใด ความต้องการของเกษตรกร ความสอดคล้องภารกจิสภาฯ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์จงัหวัด/กลุ่มจงัหวัด/ภาค -สถานการณป์ัญหา/ความต้องการ ความเดือดร้อนของเกษตรกร (ระบุจํานวน) สาเหตุ แนวโน้มความรนุแรง หรือกรณตี้องการพัฒนา (ระบุความพร้อมที่จะต่อยอด) -ความจาํเป็นเร่งด่วนที่ต้องดําเนินการ หากไมท่ําจะเกิดผลกระทบอย่างไร ประโยคท้ายสรุปสาเหตุที่ต้องทําโครงการนี้................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................

Page 39: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

แปลงไปสู่วิเคราะหป์ญัหา โครงการ

ปัญหา วัตถุประสงค์

สาเหตุ ชั้น 1

สาเหตุ ชั้น 2

เป้าหมาย

ขั้นตอนวิธีดําเนินงาน

Page 40: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

2. เขียนวัตถุประสงค์โครงการ (ระบุว่าดําเนินโครงการนี้แล้ว ต้องการให้เกิดผลลัพธ์ (Outcome) อะไรเกิดขึ้น เช่น ผลของการแก้ไขปัญหา หรือผลของการที่จะพัฒนาขยายผล/ต่อยอด ควรมีความชัดเจนเพียงข้อเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 3 ข้อ) รูปแบบผู้ได้รับประโยชน์ + สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้น ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

Page 41: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

3. เป้าหมายโครงการ (ระบุผลผลิต (Output) ที่จะต้องดําเนินการให้เกิดขึ้นและส่งผลให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือผลผลิตที่จะเกิดขึ้นหลังจากดําเนินกิจกรรมหลักภายใต้โครงการแล้วเสร็จ โดยแสดงปริมาณเป้าหมายให้ชัดเจน วัดได้)

.................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................ ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

Page 42: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

4. แผนปฏิบัติงานโครงการ (ระบุงาน/กิจกรรมหลักที่จะต้องดําเนินการตั้งแต่ขั้นตอนแรกเรียงลําดับจนถึงขั้นตอนสุดท้าย เพื่อจะให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์โครงการที่กําหนดไว้ โดยระบุเป้าหมาย งบประมาณ ระยะเวลาและผู้รับผิดชอบที่จะดําเนินการแต่ละงาน/กิจกรรมให้แล้วเสร็จ)

กิจกรรมหลัก เป้าหมาย งบประมาณ ระยะเวลาดําเนินงานผู้รับ

ผิดชอบ

ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-มิ.ย. ก.ค.-ก.ย.

รวม

Page 43: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

5. ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย/

หน่วยนับ ผลผลิต1. 2.

ผลลัพธ์1.

Page 44: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ คือ ผลที่เกิดขึ้นหลังจากได้ผลผลิต Output และผลลัพท์ Outcome แสดงว่ากลุ่มเป้าหมาย + มิใช่กลุ่มเป้าหมาย ได้รับประโยชน์ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม

.................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................ ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

Page 45: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ
Page 46: เอกสารคําแนะน ํา · 1. ความหมาย องค์ประกอบ และปัญหาการเข ียนโครงการ

แนวทางการดาํเนนิงาน 1 ตําบล 1 นวัตกรรมเกษตร

Quick win ในปีแรก ปีที่ 2 ปีที่ 3

สภาพปัญหาการใช้เทคโนโลยีด้านการเกษตรปัจจุบัน

1) ปัญหาราคาผลผลิตเพราะขายรปูวัตถุดิบ2) สินค้าเกษตรแปรรูปรูปแบบคลา้ยคลงึกัน 3) แต่ละพื้นที่มีศักยภาพด้านการเกษตรที่หลากหลาย แต่ยังไม่มีการพัฒนานวัตกรรม

เป้าหมาย 1 อําเภอ 1 นวัตกรรมเกษตร รวม 76 จังหวัด 878 อําเภอกลุ่มเป้าหมาย เกษตรกร/องค์กรเกษตรกรงบประมาณ รวม 88 ล้านบาท

ผลที่คาดหวัง1. สร้างเศรษฐกิจฐานรากให้เกษตรกร/องค์กรเกษตรกรเป้าหมายมีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต/แปรรูป/พัฒนาสินค้าสร้างมูลค่าเพิ่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของตําบล /อําเภอเป้าหมาย2. เกิดการสร้างนวัตกรรมกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร หรือได้ผลผลิต/ผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรใหม่ ร้อยละ 60 ของตําบล/อําเภอเป้าหมาย

วิธีดําเนนิการ1. การถ่ายทอดเทคโนโลยี/นวตักรรมที่

สําเร็จแล้ว1.1) สํารวจข้อมูลเบื้องต้นหาศักยภาพและ

ความต้องการถ่ายทอดเทคโนโลยี/นวตักรรม 1.2) หน่วยงานวจิัยนาํผลวิจัยทีส่ําเร็จและสอดคล้องความต้องการของเกษตรกรไปแสดงในพื้นที่ 1.3) เกษตรกรที่สนใจสมัครเข้าร่วมกิจกรรมรับถ่ายทอดองค์ความรู้

1.4) จัดอบรมฝึกปฏิบัติถ่ายทอดเทคโนโลยี/นวตักรรม

2. การวิจัยแบบมีส่วนร่วมของเกษตรกรเพื่อสร้างนวัตกรรมเกษตร

หน่วยงานวจิัยร่วมกับเกษตรกรดําเนนิการวิจัยสร้างนวัตกรรมเกษตรในพื้นที่

หน่วยงานรับผิดชอบ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงวทิยาศาสตร์และเทคโนโลย ีสภาเกษตรกรจังหวัด สถาบันการศึกษา หน่วยงานวจิัยด้านการเกษตร ธ.ก.ส. หน่วยงานกระทรวงพาณิชย์ ภาคเอกชน

เป้าหมาย ขยายผล 1 ตําบล 1 นวัตกรรมเกษตร รวม 7,255 ตําบล-จัดตั้งศูนย์วจิัยแบบมีส่วนร่วมและถ่ายทอดนวตักรรม 878 อําเภองบประมาณ-ตําบล 720 ล้านบาท-ศูนย์วจิัย 440 ล้านบาท

วิธีดําเนนิการ1. การถ่ายทอดเทคโนโลยี/นวตักรรมที่สําเร็จแล้ว

1.1) สํารวจข้อมูลเบื้องต้นหาศักยภาพและความต้องการถ่ายทอดเทคโนโลย/ีนวตักรรม 1.2) หน่วยงานวจิัยนาํผลวจิัยที่สําเร็จและสอดคล้องความต้องการของเกษตรกรไปแสดงในพื้นที่ 1.3) เกษตรกรที่สนใจสมัครเข้าร่วมกิจกรรมรับถ่ายทอดองค์ความรู้

1.4) จัดอบรมฝึกปฏิบัติถ่ายทอดเทคโนโลย/ีนวัตกรรม2. การวิจัยแบบมีส่วนร่วมของเกษตรกรเพื่อสร้างนวัตกรรมเกษตร

หน่วยงานวจิัยร่วมกับเกษตรกร ดําเนินการวิจัยสร้างนวัตกรรมเกษตรในพื้นที ่3. จัดตั้งศูนย์วจิัยแบบมีส่วนร่วมและถ่ายทอดนวัตกรรมทุกอําเภอ

เป้าหมาย ติดตามให้คําแนะนําพัฒนาต่อเนื่อง 1 ตําบล 1 นวัตกรรม รวม 7,255 ตําบลงบประมาณ -ตําบล 360 ล้านบาท-ศูนย์วิจัย 440 ล้านบาท

แหล่งเงินทุน

การตลาด

วิธีดําเนินการ1. ติดตามแนะนําแก้ไขปัญหาแก่เกษตรกร/องค์กรเกษตรกรที่นําความรู้ไปปฏิบัติ2. ให้คําแนะนําเกษตรกร/องค์กรเกษตรกรในการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยี/นวัตกรรม3. พัฒนาศูนย์วิจัยแบบมีส่วนร่วมให้สามารถวิจัยสินค้าเกษตรในพื้นที่ได้ครบวงจร