การเจริญเติบโตของ ... · 2014. 7. 17. · ก...

45
รายงานผลการวิจัย เรื่อง การเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงพันธุViking ( Nepenthes globosa “Viking”)ใน วัสดุปลูกชนิดต่างๆ Growth of Pitcher Plants “Viking” ( Nepenthes globosa “Viking”) with Various Potting Media โดย นายสวัสดิ์ พิมพ์สุวรรณ สาขาการผลิตพืช สาขวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชและภูมิทัศน์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โครงการวิจัย-เงินงบประมาณรายได้คณะฯ พ.. 2554

Upload: others

Post on 29-Aug-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

รายงานผลการวิจัย

เร่ือง

การเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงพันธุ์ Viking ( Nepenthes globosa “Viking”)ใน

วัสดุปลูกชนิดต่างๆ

Growth of Pitcher Plants “Viking” (Nepenthes globosa “Viking”)

with Various Potting Media

โดย

นายสวัสดิ์ พิมพ์สุวรรณ

สาขาการผลิตพืช สาขวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชและภูมิทัศน์

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

โครงการวิจัย-เงินงบประมาณรายได้คณะฯ พ.ศ. 2554

รายงานผลการวิจัย

เร่ือง

การเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงพันธุ์ Viking ( Nepenthes globosa “Viking”)ใน

วัสดุปลูกชนิดต่างๆ

Growth of Pitcher Plants “Viking” (Nepenthes globosa “Viking”)

with Various Potting Media

โดย

นายสวัสดิ์ พิมพ์สุวรรณ

สาขาการผลิตพืช สาขวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชและภูมิทัศน์

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

โครงการวิจัย-เงินงบประมาณรายได้คณะฯ พ.ศ. 2554

กิตติกรรมประกาศ

ผูวิจัยขอขอบคุณผูที่มีสวนเกี่ยวของในการทําวิจัยคร้ังน้ีใหสําเร็จลุลวงดวยดี คือ นางสาวนัฏธิมา

ภรณ และนายอภิชาติ อภัยฤกษ นักศึกษาสาขาการผลิตพืช รวมทั้งผูมีสวนชวยเหลือ ใหคําชี้แนะตางๆ

นอกจากน้ีผูวิจัยขอขอบคุณ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคดนโลยีราชมงคนธัญบุรี ที่ได

สนับสนุนงบประมาณ สถานที่ เคร่ืองมือและอุปกรณ ในการทําวิจัยคร้ังน้ี

สวัสด์ิ พิมพสุวรรณ

เมษายน 2555

บทคัดยอ

การศึกษาการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ ณ เรือน

เพาะชํา สาขาการผลิตพืช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะเทคโนโลยีการเกษตร ระหวาง

เดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2554 รวม 20 สัปดาห ใชวิธีการทดลองแบบ Randomized Complete

Block Design(RCBD) ทดสอบดวย DMRT (Duncan’s Multiple-Range Test) มีทั้งหมด 7สิ่งทดลองดังน้ี

กาบมะพราวสับ ขุยมะพราว สแฟกน่ัมมอส พีทมอส แกลบดิบ ใบกามปู และรากเฟนขาหลวงสับ

โดยเก็บขอมูลจาก ความสูงของตนขนาดเสนผาศูนยกลางของตน ความกวางใบ ความยาวใบ ความยาว

หมอ ความกวางดานขางของหมอ และความกวางฝาหมอ เมื่อ นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห พบวา

หมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingที่ปลูกในสแฟกน่ัมมอสใหการเจริญเติบโตดีกวาวัสดุปลูกอ่ืนๆอยางมี

นัยสําคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ.01คือใหความสูงของตน10.83เซนติเมตรขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.71

เซนติเมตร ความกวางใบ6.16 เซนติเมตร ความยาวใบ 14.05 เซนติเมตร ความยาวหมอ 8.65 เซนติเมตร

ความกวางดานขาง5.78 เซนติเมตร และความกวางฝาหมอ4.51เซนติเมตร

รองลงมาไดแก รากเฟนขาหลวงสับ และพิสมอส

ขอเสนอแนะ ควรศึกษาเพิ่มเติมดวยการนําวัสดุปลูกทั้งหมดมาผสมกัน ในอัตราสวนตางๆใน

การเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking

สารบัญ

หนา

กิตติกรรมประกาศ

บทคัดยอ

บทนํา

วัตถุประสงค

การตรวจเอกสาร

ลักษณะทางพฤกษศาสตรของหมอขาวหมอแกงลิง

การกระจายพันธุและถิ่นอาศัย

หมอขาวหมอแกงลิงในประเทศไทย

การปลูกเลี้ยง

เคร่ืองปลูก

ภาชนะที่ใชสําหรับปลูก

นํ้าและความชื้น

แสง

ปุยและอาหารเสริม

การขยายพันธุ

ลักษณะทั่วไปหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking

วิธีการวิจัย

ผลการวิจัย

วิจารณผลการวิจัย

สรุปผลการวิจัย

เอกสารอางอิง

ภาคผนวก

1

2

3

3

6

7

7

8

8

9

9

10

10

10

11

14

22

23

25

26

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา

1 ความสูงเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Vikingในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

2 ขนาดเสนผาศูนยเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

3 คาความกวางใบเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

4 คาความยาวใบเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

5 คาความยาวหมอเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

6 คาความกวางดานขางเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

7 คาความกวางฝาหมอขางเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

ตารางผนวกท่ี

1 Analysis of variance คาความสูงเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

2 Analysis of variance ขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

3 Analysis of variance คาความกวางใบเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

4 Analysis of variance คาความยาวใบเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

5 Analysis of variance คาความยาวหมอเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

6 Analysis of variance คาความกวางดานขางเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

7 Analysis of variance คาความกวางฝาหมอเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

15

16

17

18

19

20

21

27

28

28

29

29

30

30

สารบัญภาพ

ภาพผนวกท่ี หนา

1 แสดงคาความสูงของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

2 แสดงคาขนาดเสนผาศูนยกลางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

3 แสดงคาความกวางใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

4 แสดงคาความยาวใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

5 แสดงคาความยาวหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

6 แสดงคาความกวางดานขางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

7 แสดงคาความกวางฝาหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

8 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในกาบมะพราวสับ

9 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในขุยมะพราว

10 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในสแฟกน่ัมมอส

11 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในพีทมอส

12 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในแกลบดิบ

13 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในใบกามปูหมัก

14 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในรากเฟนขาหลวงสับ

31

31

32

32

33

33

34

35

35

36

36

37

37

38

1

การเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ( Nepenthes globosa “Viking”)

ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

Growth of Pitcher Plants “Viking” (Nepenthes globosa “Viking”) with Various Potting Media

บทนํา

ปจจุบันมีการศึกษาพืชพื้นถิ่นมากขึ้น เพื่อนํามาศึกษาหาความรูและยังมีประโยชนมาใชเปนไม

ประดับและไมกระถาง สําหรับประเทศไทยน้ันซึ่งมีภูมิประเทศอยูในแถบทวีปเอเชียในเขตรอนและกึ่ง

เขตรอนซึ่งมีความอุดมสมบูรณที่ประกอบไปดวยพืชพันธุไมนานาชนิด และยังมีพืชกลุมหน่ึงที่นาสนใจ

และนิยมปลูกเลี้ยงกันในปจจุบันคือ ตนหมอขาวหมอแกงลิงจัดเปนพืชกินแมลงชนิดหน่ึง ขึ้นกระจายอยู

ในทวีปเอเชีย เชน ประเทศอินโดนีเซีย พมา มาเลเซีย ฟลิปปนส กัมพูชา และเกือบทุกๆภาคของ

ประเทศไทยเชนภาคใตในจังหวัดชุมพรนครศรีธรรมราช ภาคเหนือเชนภูกระดึงตนหมอขาวหมอแกงลิง

เปนพืชที่มีลักษณะพิเศษ มีเอกลักษณเปนของตนเอง คือมีการสรางถุงลักษณะคลายถวยหรือกระเปาะ

หรือคลายกับเรือใบไวกิ้ง รวมทั้งยังมีรูปทรงลวดลายที่แตกตางกันไป และมีสีสันสวยงามแปลกตากวา

พืชชนิดอ่ืนๆจึงเปนที่ตองตองการของตลาดไมประดับของประเทศไทยเปนอยางยิ่งแตการศึกษาทางดาน

การขยายพันธุการเจริญเติบโต การใชวัสดุปลูกที่ดีของตนหมอขาวหมอแกงลิงที่มีถิ่นกําเนิดในประเทศ

ไทยยังมีการศึกษาไวนอยมาก

ดังน้ันจึงควรทําการศึกษาทดลองทางดานการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking

ในวัสดุปลูกชนิดตางๆเพื่อเปนการศึกษาหาวัสดุปลูกที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตในระยะตางๆของตน

หมอขาวหมอแกงลิงอยางสมบูรณ

2

วัตถุประสงค

เพื่อศึกษาการใชวัสดุปลูกที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิง

3

การตรวจเอกสาร

หมอขาวหมอแกงลิง ชื่อสามัญไทย: หมอขาวหมอแกงลิง ชื่อสามัญอังกฤษ : Monkey Cups ,

Pitcher Plant จัดอยูในวงศ Nepenthaceae (เต็ม สมิตินันทน ,2544;376) คําวา Nepenthes มาจากภาษา

กรีก วา = ไม สวนคําวา penthos = โศกเศราความเสียใจ และเปนชื่อของภาชนะใสเหลาของกรีกโบราณ

(กรีก: Nepenthes) หรือที่รูจักกันในชื่อของหมอขาวหมอแกงลิง ซึ่งจัดเปนสกุลของพืชกินสัตวดวย

หมอขาวหมอแกงลิง มีชื่อวิทยาศาสตรสกุลวา Nepenthes จัดอยูในตระกูล Nepenthaceae มีชื่อ

สามัญหลายชื่อ เชน tropical pitcher เปนตน ซึ่งจัดอยูในกลุมของไมเลื้อยที่มีตนแยกเพศใบมีลักษณะ

คลายหมอซึ่งเปนกับดักจับแมลงโดยหมอขาวหมอแกงลิงจะมีการกระจายตัวตามแถบโซนเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต นอกจากน้ันแลวหมอขาวหมอแกงลิงยังมีการกระจายตัวไปถึง ศรีลังกา ตอนใตของ

จีน ตะวันออกของอินเดียทางตอนเหนือของออสเตรเลียและมาดากัสการ ซึ่งปจจุบันไดมีการรวบรวม

สายพันธุ(Species)ซึ่งเปนสายพันธุแทจากทั่วโลกไดมากถึง 100 กวาชนิด โดยเฉพาะบนเกาะบอรเนียว

พบถึง 30 กวาชนิด แบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ 1) กลุมโลวแลนด ( Lowland Pitcher Plant หรือ L/L)

ซึ่งเปนกลุมที่กําเนิดในระดับความสูงตํ่ากวา 1 ,000 เมตร จากระดับนํ้าทะเลลงมา หรือมีอุณหภูมิตอน

กลางวัน ต้ังแต 80-95 F หรือ 27-35 C และกลางคืนต้ังแต 70-80 F หรือ 21-27 C เชน N.mirabilis ,

N. gracilis , N. ampullaria N. truncate, N. northiana , N.rafflesiana ,N.globosa เปนตน 2)กลุมไฮแลนด

(Highland Picher Plant หรือ H/L) ซึ่งเปนกลุมที่กําเนิดในระดับความสูงมากกวา 1 ,000 เมตร จาก

ระดับนํ้าทะเลขึ้นไป หรือมีอุณหภูมิตอนกลางวัน ต้ังแต 70-85 F หรือ 21-29 C และกลางคืน ต้ังแต 50-

65 F หรือ 12-18 C เชน N. glandulifera , N.spectabilis , N. villosa, N.vantricosa, N. rajah ,

N.sibuyanensisเปนตน (ภัทรา, 2551)

ลักษณะทางพฤกษศาสตรของหมอขาวหมอแกงลิง

ลําตน ลําตนของหมอขาวหมอแกงลิงเปนเถาซึ่งมีลําตนเล็กและยาวใบแคบลําตนไมสามารถรับ

นํ้าหนักทั้งหมดของตัวเองได มักจะตองอิงอาศัยกับตนไมที่อยูรอบขาง หากมันเจริญเติบโตบริเวณที่โลง

แจงลําตนมักจะเลื้อยไปกับพื้นแตเมื่อใดที่ลําตนเลื้อยไปถึงวัตถุใดที่สามารถยึดเกาะไดมันก็จะพยายามไต

ขึ้นไปทันที ลําตนอาจมีความยาวที่มากกวา 20 เมตร แตสวนใหญลําตนที่โตเต็มวัยจะมีความยาว

ประมาณ 2-5 เมตร ลําตนมีหลายลักษณะแตกตางกันไปตามแตละสกุล ทรงกระบอก มีครีบหรืออาจหนา

ตัดเปนทรงสี่เหลี่ยม ลําตนมีขนหรือไมมีและอาจมีสีระหวางเขียวออนหรือแดงเขม ใบเปนใบเด่ียวไมขด

4

เปนเกลียวเหนือบริเวณกานใบเชื่อมกับลําตนจะมีตาภายในตาน้ีจะมีเน้ือเยื่อยอดออนอยูภายในซึ่งเน้ือเยื่อ

ออนดังกลาวสามารถแตกออกเปนยอดใหมไดหากยอดเกาหักขาดลงขั้นตอนที่ตายอดสงบน่ิงน้ีถูก

ควบคุมโดยกระบวนการสะทอนกลับในพืชสวนมากซึ่งยอดออนสรางฮอรโมนซึ่งยับยั้งตาอ่ืนที่อยูตํ่า

กวาไมใหงอก ความมหัศจรรยน้ีเรียกวาอิทธิผลของยอด เมื่อยอดน้ีเสียไปหรือหักลงฮอรโมนที่ยับยั้งการ

เจริญเติบโตของเน้ือเยื่อยอดออนก็จะไมทํางานอีกตอไปและตาถัดไปก็จะเร่ิมงอกตาที่ถูกควบคุมจะ

ปรากฏตุมเล็กๆในรอยแยกต้ืนๆที่ลําตนโดยปกติจะอยูเหนือกานใบที่เจริญเต็มที่ประมาณ 1 เซนติเมตร

ตนหมอขาวหมอแกงลิงสวนใหญเมื่อยังเล็กแผนใบและหมอ จะเรียงอัดกันแนนบนลําตนที่สั้น

มาก พุมใบมักมีเสนผานศูนยกลางระหวาง 20 เซนติเมตร ขึ้นไปหลังจากเร่ิมเจริญเติบโต 3-4 ป ลําตนจะ

คอยๆยาวขึ้น ระยะระหวางขอก็เพิ่มขึ้นอยางกะทันหัน ใบที่เกิดจากลําตนที่เร่ิมเลื้อยน้ีจะมีขนาดใหญมาก

บางสกุลอาจมีความยาวถึง 1 เมตร เมื่อลําตนยาวขึ้นอีกใบก็จะเร่ิมเล็กลง แมวาระยะระหวางขอจะยังคง

ยาวขึ้นอยางตอเน่ือง ลําตนจะเลื้อยจะเจริญเติบโตเต็มที่ในขณะที่เร่ิมออกดอก แมวาจะมีขอยกเวนใน

หลายสกุลน่ีคือรูปแบบโดยทั่วไป มิใชเพียงใบและระยะระหวางขอเทาน้ันที่เปลี่ยนแปลงไป สายและ

หมอก็มีความเปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัดเจน(ภัทรา,2551 ; เศรษฐมันตร,2551)

ใบ ลักษณะ ใบของตนหมอขาวหมอแกงลิงมีหลากหลายทั้งรูปแบบ สีสัน พื้นผิวและขนาด ซึ่ง

เปนลักษณะสําคัญในการแบงสกุลเชนบางสกุลมีโครงสรางของใบที่มีเอกลักษณใบยังแบงออกเปนหลาย

สวนทั้งหมดถือเปนสวนสําคัญในการแยกแยะความแตกตางระหวางสกุลเร่ิมจากปลายใบ ซึ่งโดยทั่วไป

เปนสวนที่เชื่อมกับหมอเรียกวาสาย สวนตอมาเรียกวาเน้ือใบซึ่งมีหลายรูปรางคําบรรยายและแผนภาพ

ของลักษณะใบพบไดทั่วไปตามบทความเกี่ยวกับพฤกษศาสตรและสวนที่เกี่ยวของกับ

หมอขาวหมอแกงลิง สวนปลายสุดของใบเรียกวาปลายใบ สวนเน้ือใบที่อยูใกลกับลําตนเรียกวาโคนใบ

สวนของใบเรียกวาขอบใบ ขอบใบอาจเรียบเปนคลื่น หรือมีขน ผิวดานบนของเน้ือใบจํานวนมาก (ดู

คลายเสนประสาท) เสนใบน้ีมี 2 ลักษณะ : เสนใบแนวยาวและเสนใบยอย (หรือฝอย) เสนใบแนวยาวจะ

เดินเปนเสนตรงตามแนวยาวจากโคนใบไปยังปลายใบอาจยาวสุดปลายใบหรือไมก็ไดเสนใบยอยจะมี

ลักษณะเปนโครงตาขายและเดินเสนไปหลายทิศทาง (สุวรุณ, 2552; เอ้ือมพร, 2544)

สายหมอ สายหมอหรือสายด่ิงซึ่งยืดออกมาจากปลายใบ และอาจมีหมออยูที่ปลายอีกดานหน่ึง

อาจสั้นมากเมื่อลําตนยังเปนทรงพุมเล็ก เมื่อพุมใหญขึ้น สายก็จะยาวขึ้นแตก็ยังจะสั้นกวาสายของลําตนที่

โตเต็มที่และเปนเถาเลื้อย ที่สวนปลายสายมีสวนที่จะพัฒนาไปเปนหมอ ซึ่งเปนตุมขนาดเล็ก แบน แต

ไมใชวาตุมน้ีจะพัฒนาเปนหมอเสียทั้งหมด ในการเพาะเลี้ยงตุมน้ีอาจฝอไปหากแสงหรือความชื้นนอย

5

เกินไป ซึ่งอาจไมพบปญหาไดนอยมากในธรรมชาติแตก็มีบางตุมที่ไมพัฒนาไปเปนหมอบางเหมือนกัน

ปจจัยหน่ึงที่สังเกตไดคือการกดทับกับของแข็งไดอยางตอเน่ือง เชน เมื่อลําตนยืดยาวขึ้น สายที่เกิดใหม

จะยาวกวาเดิมหากลําตนที่ยาวไมถึง 1 เมตร สายสว นใหญจะยาวถึงพื้นซึ่งทําใหตุมถูกกดทับกับพื้นและ

ฝอไป

สาย หมอของตนขนาดเล็ก จะมีลักษณะตรง สายของลําตนเถาเลื้อยจะแตกตาง สายจะมวนรัด

ขมวดเปนวงที่บริเวณกึ่งกลางสายหากสายที่กําลังพัฒนาหากไปสัมผัสถูกวัตถุที่ซึ่งสายพอจะยึดไวได มัน

จะมวนรัดรอบวัตถุน้ันจนแนนเพื่อชวยพยุงลําตนในขณะที่มันยืดยาวตอไป เชนเดียวกับเถากระทกรก

(Passiflora) หากวาลําตนเจริญเติบโตตอไปเร่ือยๆโดยการพิงกับวัตถุรอบขาง ลมอาจพัดลําตนหักลงได

ถาไมมีสายยึดเกาะไว ประโยชนอีกอยางหน่ึงของสายคือเปนสวนที่รับนํ้าหนักของหมอ ไมใชลําตน

นํ้าหนักของเหลวปริมาณมากที่บรรจุอยูในหมอ สายจะชวยแบงเบานํ้าหนักเหลาน้ี ทําใหตนสามารถ

เจริญเติบโตตอไปได ซึ่งทําใหเห็นวาสายก็มีความสําคัญไมแพหมอของหมอขาวหมอแกงลิง (ภัท

รา, 2551)

ดอก ฝกและเมล็ด ตนหมอขาวหมอแกงลิงที่เจริญเติบโตเต็มที่ จึงจะเร่ิมมีดอกงอกออกจากปลาย

ยอดของตน หมอขาวหมอแกงลิงเปนพืชไมสมบูรณเพศ หมายถึง ในแตละตนจะมีเพียงเพศใดเพศหน่ึง

ไมครบสมบูรณทั้งสองเพศในตนเดียว การจะเกิดเมล็ดไดน้ันตองอาศัยการผสมเกสรตัวผูจากตนหน่ึงไป

ยังเกสรตัวเมียของอีกตนหน่ึง ซึ่งวิธีน้ีปองกันการผสมพันธุในตนเดียวกัน และความเสี่ยงที่จะผสมใน

ตระกูลเดียวกัน อีกประการหน่ึงคือเพศของตนหมอขาวหมอแกงลิงจะไมเปลี่ยนแปลงตลอดชีวิต

หมอขาวหมอแกงลิงจัดเปนตนไมที่มีดอกแยกเพศ(diecious) เพศผูและเพศเมียอยุตางตนกัน ซึ่ง

เราสามารถใชชอดอกในการแบงกลุมของหมอขาวหมอแกงลิงไดออกเปนสองกลุมดังน้ี

1. กลุมที่มีชอดอกแบบ Raceme (ชอกระจะ) ในภาษาลาติน Raceme แปลวา ชอองุนซึ่งลักษณะ

ของชอดอกแบบกระจะน้ันคือเปนชอดอกเดียวที่ประกอบดวยกานดอกยอยขนาดเล็กจํานวนมาก ซึ่งแต

ละกานดอกยอยน้ันมักจะมีขนาดใกลเคียงกันดอกจะบานจากลางขึ้นบนสายพันธุที่พบ เชน N. mirabli N.

gracilis และ N. veitchii เปนตน

2. กลุมที่มีชอดอกแบบ Pannicle (ชอแตกแขนง)ในภาษาลาติน Panicle แปลวาพัด ซึ่งลักษณะ

เดนของชอแบบน้ีน้ันคือ ในหน่ึงชอดอกจะมีกลุมชอดอกยอยเปนกลุมๆ กลุมหน่ึงจะมีดอกยอยต่ังแต 3-7

ดอก ซึ่งกานดอกยอยแตละดอกน้ันมีขนาดไมเทากันดอกจะบานจากลางขึ้นขางบน สายพันธุที่พบ เชน

N. madagascariensis , N. masoalensis , N. pervillei , N. distillatoria , N. ampullaria, N. bicalcarata

6

ชอดอกเปนแบบชอกระจะหรือชอแยกแขนง จะแยกเพศกันอยางชัดเจน แบบหน่ึงตนหน่ึงเพศ

ฝกเปนแบบแคปซูล 4 กลีบ และแตกเมื่อแกภายในประกอบไปดวยเมล็ด 10 ถึง 60 เมล็ดหรือมากกวา

น้ัน เมล็ดแพรกระจายโดยลม(ภัทรา, 2551)

โครงสรางและหนาท่ีของหมอ หมอขาวหมอแกงลิงเปนไมเลื้อยมีระบบรากที่ต้ืน-สั้น สูงได

หลายเมตร ลําตนมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 1 เซนติเมตร หรืออาจหนากวาน้ันในบางชนิด เชน

N.bicalcarata เปนตน จากลําตนไปยังกานใบที่มีลักษณะคลายใบ เหมือนกับสกุลสมยาวสุดสายด่ิงซึ่ง

บางสายพันธุใชเปนมือจับยึดเกี่ยว แลวจบลงที่หมอที่เปนใบแทแปรสภาพมา หมอเร่ิมแรกจะมีขนาดเล็ก

และคอยๆโตขึ้นอยางชาๆจนเปนกับดักทรงกลมหรือรูปหลอด (ภัทรา, 2551)

สวนประกอบพื้นฐานของหมอ หมอจะบรรจุไปดวยของเหลวที่พืชสรางขึ้น อาจมีลักษณะเปน

นํ้าหรือนํ้าเชื่อมใช สําหรับใหเหยื่อจมนํ้าตายดวยสารเหนียวที่ถูกผสมขึ้นเปนสําคัญเพื่อใชยอยแมลงใน

หมอความสามารถของของเหลวที่ใชดักจะลดลงเมื่อถูกทําใหเจือจางโดยนํ้าซึ่งเปนสิ่งที่เกิดขึ้นอยาง

หลีกเลี่ยงไมไดในสภาพแวดลอมในเขตรอนชื้นและมีฝนตกชุกที่เปนถิ่นอาศัยของพืชสกุลน้ี

โดยปกติหมอขาวหมอแกงลิงจะสรางหมอขึ้นมา 2 ชนิด คือหมอลาง (Lower Pitcher) เปนหมอ

ที่อยูแถวๆโคนตนมีขนาดใหญสีสันสวยงามอีกชนิดคือหมอบนที่มีขนาดเล็กกานหมอจะลีบแหลม

รูปทรงของหมอจะเปลี่ยนไปและสีสันจืดชืดกวาหรือความแตกตางอีกอยางคือหมอลางทําหนาที่ลอเหยื่อ

และดูดซึมสารอาหารไปใชในการเจริญเติบโตสวนหมอบนเมื่อตนโตขึ้นสูงขึ้นหมอบน

(Upper Pitcher)จะลดบทบาทการหาเหยื่อแตเพิ่มบทบาทการจับยึดโดยกานใบจะมวนเปนวงเกาะเกี่ยวกิ่ง

ไมขางๆดึงเถาหมอขาวหมอแกงลิงใหสูงขึ้นและมั่นคงขึ้นไมโคนลมโดยงายแตในบางชนิดเชน

N. rafflesiana เปนตน หมอที่ตางชนิดกันก็จะดึงดูดเหยื่อที่ตางชนิดกันดวย

เหยื่อของหมอขาวหมอแกงลิงโดยปกติแลวจะเปนแมลงแตบางชนิดที่มีหมอขนาดใหญ

(N. rajahN.rafflesiana เปนตน) บางคร้ังเหยื่ออาจจะเปนสัตวมีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก เชน หนู

และสัตวเลื้อยคลาน (ภัทรา,2551 ; เศรษฐมันตร, 2551)

การกระจายพันธุและถิ่นอาศัย

กระจายพันธุต้ังแตตอนใตของไทย จีน อิ นโดนีเซีย มาเลเซีย และ ฟลิปปนส ทางตะวันตกของ

มาดากัสการตอนใตของออสเตรเลีย และ นิวแคลิโดเนียตอนเหนือของอินเดีย และ ศรีลังกาพบมากที่

บอรเนียวและสุมาตราสวนมากน้ันเปนพืชที่ขึ้นตามที่ลุมเขตรอนชื้นแตในระยะหลังหมอขาวหมอแกงลิง

7

ชนิดใหมๆมักพบตามภูเขาซึ่งมีอากาศรอนตอนกลางวันและหนาวเย็นตอนกลางคืน(ภัทรา,2551;เศรษฐ

มันตร, 2551)

หมอขาวหมอแกงลิงในประเทศไทย

พนม สุทธิ์ศักด์ิโสภณ วสินี ไขวพันธุ และสุมาลี เหลืองสกุล ทําการสํารวจพันธุพืชกินแมลงวงศ

หมอขาวหมอแกงลิง (Nepenthaceae Family) ที่จําหนายในตลาดจําหนายพันธุไมประดับที่สําคัญของ

ประเทศไทยระหวางเดือนธันวาคม 2550 – กุมภาพันธ 2552 พบหมอขาวหมอแกงลิงจํานวน 1 สกุล 46

ชนิด และ70 พันธุลูกผสม ซึ่งสวนใหญเปนชนิดพันธุแทและพันธุลูกผสมที่นําเขามาจากตางประเทศ

โดยที่จําหนายเปนจํานวนมากไดแก Nepenthes ampullariaJack , N. rafflesianaJack , N. x

hookerianaLindl.,N. x hookerianaLindl. , N. x ventrataHort. ex Flaming nom. nud. สําหรับ

หมอขาวหมอแกงลิงที่มีถิ่นกําเนิดในประเทศไทยที่พบวางจําหนายเปนจํานวนมาก คือ N.

mirabilis(Lour.) Druce ,N. Sp. ‘Viking’ , N. thoreliiLecomteและ Nepenthes ampullariaJack

ในประเทศไทยพบวาหมอขาวหมอแกงลิงมีการกระจายพันธุต้ังแตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาค

กลางภาคตะวันออก และภาคใต ชนิดของหมอขาวหมอแกงลิงที่ถูกบันทึกไววาพบในประเทศไทยมี

ดังน้ี :

1. N. anamensis

2. N. ampullaria (ไทย : หมอแกงลิง)

3. N. globosa

4. N. gracilis (ไทย : หมอขาวหมอแกงลิง)

5. N. mirabilis (ไทย : เขนงนายพราน)

6. N. sanguinea (ไทย : หมอแกงลิงเขา)

7. N. smilesii (ไทย : นํ้าเตาพระฤๅษี)

8. N. thorelii (ไทย : นํ้าเตาลม)

การปลูกเลี้ยง

หมอขาวหมอแกงลิงบางชนิดสามารถปลูกเลี้ยงไดในเรือนกระจก หมอขาวหมอแกงลิงชอบนํ้า

สะอาดแสงมาก (ไมใชแดดจัด)ชอบชื้นไมชอบแฉะอากาศไหลเวียนไดดี ตัวอยางชนิดที่สามารถ

เพาะเลี้ยงไดงาย ที่สามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมที่มีความชื้นตํ่าไดดี พวกชนิดพื้นที่สูงตองอยูใ น

สภาพแวดลอมที่มีอากาศเย็นถึงจะเจริญเติบโตไดดี สามารถใหปุยไดโดยใหเจือจางกวาที่ระบุบในฉลาก

8

และ ปอนแมลงบางเปนบางคร้ัง บางชนิดใชพื้นที่ในการปลูกเลี้ยงนอย แตสวนมากจะมีขนาดตนที่ใหญ

และยาว (ภัทรา,2551 ; เศรษฐมันตร, 2551)

เคร่ืองปลูก

วัสดุปลูกก็เปนอีกปจจัยหน่ึงที่จะทําใหตนหมอขาวหมอแกงลิงเติบโตแตทุกสูตรก็จะเนนวัสดุ

สําหรับปลูกเลี้ยงสําหรับ ตนหมอขาวหมอแกงลิงใหมีลักษณะโปรง สามารถระบายนํ้าและเก็บความชื้น

ไดดี และมีราคาถูกซึ่งแตละคนจะใชวัสดุปลูกแตกตางกันตามแตจะสามารถหาไดงายตามทองถิ่น

วัสดุที่นิยมใชปลูกตนหมอขาวหมอแกงลิงไดแก

1.สแฟกน่ัมมอส (Sphagnum Moss) เปนวัสดุปลูกที่สามารถดูดซับนํ้า ไวไดมาก และระบายนํ้า

ไดดีเยี่ยม แตมีราคาแพงสามารถใชสําหรับปลูกตนหมอขาวหมอแกงลิงที่เปนไม H/L หรือตน

หมอขาวหมอแกงลิงที่หายาก ราคาแพง

2. พีทมอส ( Peat Moss) วัสดุปลูกมีสภาพเปนกรดออนและไมผุพังเร็วสามารถอยูไดนาน

ประมาณ 2 ป ใชแทนขุยมะพราว ขอเสียคือเคร่ืองปลูกจะแฉะมากควรใชผสมนอยๆแตยังมีนักปลูกเลี้ยง

หลายทานยังนิยมใชเปนวัสดุปลูก

3.เพอรไลท (Perlite) มีคุณสมบัติเหมือนทราย มีฤทธิ์เปนกรดออนๆชวยใหเคร่ืองปลูกโปรง

และผิวที่ไมเรียบชวยใหรากจับยึดไดดี

4.กาบมะพราวสับ (Pieces of Coconut) สามารถดูดซับนํ้าและความชื้นไดดีโปรง อากาศถายเท

ไดดี กอนนําไปใชควรแชนํ้าทิ้งไว 1 สัปดาห (แลวมั่นเปลี่ยนนํ้าบอย) เพื่อใหสารยับยั้งไมใหตนไมออ

กรากออกมา (นํ้าที่แชจะเปลี่ยนเปนสีนํ้าตาลแดง)

5.ขุยมะพราว ( Coconut Peat) สามารถดูดซับนํ้าไดดีราคาถูก ใชแทนพีทมอสได แตผุเร็วกวา

กอนใชควรแชนํ้า และบีบนํ้าออกใหมาดกอนนําไปใช

6.ทราย (Send) ชวยทําใหวัสดุปลูกโปรงขึ้นควรเลือกใชทรายหยาบ ใชแทนเพอรไลท ( Perlite)

ที่มีราคาแพงกวา

7.วัสดุอ่ืนๆเวอรมิคูไลท ( vermiculite) แกลบสด ขี้เถาแกลบ ไฮโดรตรอน หินภูเขาไฟ ( lava

rock) เปลือกถั่วฯลฯมักจะใสเพื่อเพิ่มความโปรงใหกับระบบราก (ภัทรา,2551 ;เศรษฐมันตร, 2551)

ภาชนะท่ีใชสําหรับปลูก

กระถางที่เหมาะสมกับการปลูกเลี้ยงหมอขาวหมอแกงลิง ควรจะใชกระถางพลาสติก และไม

ควรใชกระถางดินเผาในการปลูกเลี้ยง เน่ืองจากเวลาที่ปลูกเลี้ยงไปนานๆแรธาตุ และเกลือแรบางชนิดจะ

คอยๆปลดปลอยจากดินที่ใชในการปนกระถาง ซึ่งดินเหลาน้ีจะมีแรธาตุและเกลือแรชนิดตางๆ ขึ้นอยูกับ

แหลงที่มาของดินที่นํามาปน หมอขาวหมอแกงลิง เปนตนไมที่ไมคอยชอบ แรธาตุ และเกลือแรบางชนิด

จึงแนะนําใชกระถางพลาสติกในการปลูกเลี้ยง (ภัทรา,2551 ; เศรษฐมันตร, 2551)

9

นํ้าและความชื้น

นํ้าเปนปจจัยพื้นฐานที่สําคัญของพืชทุกชนิดไมเฉพาะกับตนหมอขาวหมอแกงลิงตาม

ธรรมชาติแลวตนหมอขาวหมอแกงลิงหลายสายพันธุมักขึ้นในสถานที่ชื้นแฉะหรือใกลๆแหลงนํ้า

ธรรมชาติซึ่งที่เราพบเห็นน้ันจะมีรากบางสวนแชนํ้าอยูและบางสวนซุกซอกอยูตามหนาดินที่อุดมไปดวย

เศษซากอินทรียวัตถุทําใหตนหมอขาวหมอแกงลิงเจริญเติบโตไดอยางดี ไมมีการขาดนํ้าในหนาแลง

ตนหมอขาวหมอแกงลิง ชอบชื้นแตไมชอบแฉะจึงเปนลักษณะเดียวกับพืชหลายๆ ชนิดที่

ตองการปริมาณนํ้ามากมีความชื้นในเคร่ืองปลูกสูงแตที่สําคัญเคร่ืองปลูกน้ันจะตองระบายนํ้าไดดีไมอม

นํ้าไวมากจนระบบรากแฉะ เมื่อระบบรากแฉะเน่ืองจากมีปริมาณนํ้ามากในเคร่ืองปลูกอากาศจึงไม

สามารถแทรกตัวเขาไปสัมผัสกับรากได รากจะขาดแก สซออกซิเจนทําใหรากเนาตอจากน้ันเชื้อราจะเขา

ทําลายระบบรากและลําตนตนหมอขาวหมอแกงลิงก็จะมีลักษณะโคนเนาถึงตายไดสวนการที่จะรดนํ้า

บอยแคไหนถึงอยูกับชนิดของเคร่ืองปลูกและสภาพแวดลอมแตละวันนํ้าที่ใชรดควรเปนนํ้าฝนหรือนํ้า

บาดาลถาเปนนํ้าประปาควรรองทิ้งใหคลอรีนระเหยหมดไปกอน(ประมาณ3วัน)จึงจะนํามารดได

ความชื้นของบริเวณสถานที่ใชปลูกเลี้ยงตนหมอขาวหมอแกงลิงนับเปนอีกปจจัยหน่ึงที่สําคัญที่

มีผลตอการปลูกเลี้ยงตนหมอขาวหมอแกงลิงเน่ืองจากในธรรมชาติถิ่นที่อยูของพืชกินแมลงจะอาศัยอยู

ตามที่ชื้นแฉะหรือเปนหนองนํ้าใกลๆแหลงนํ้าในปาทําใหสภาพแวดลอมมีความชื้นสัมพัทธในอากาศสูง

เมื่อเรานํามาปลูกเลี้ยงเราตองรูจักเลียนแบบธรรมชาติของมันใหใกลเคียงกับสภาพถิ่นที่อยูเดิมของมันซึ่ง

สวนใหญความชื้นสัมพัทธน้ีมีผลกับการเลี้ยงตนหมอขาวหมอแกงลิงหากไดรับความชื้นไมเพียงพอจะ

ไมสรางหมอหรือหมอจะฝอไมเติบโตหมอจะแคระเล็กนิดเดียวฉะน้ันเพื่อใหพืชสามารถเจริญเติบโตได

ดีความชื้นจะตองไมตํ่ากวา 70% (ภัทรา,2551 ; เศรษฐมันตร, 2551)

แสง

แสงแดดมีผลตอการปลูกเลี้ยงตนหมอขาวหมอแกงลิงมากหากไดรับแสงนอยตนจะออนแอ

เจริญเติบชาใบออนน่ิมไมแข็งแรงทําใหหมอมีสีซีดจางไมเขมตามสายพันธุปกติทําใหวัสดุปลูกแหงชา

ระบบรากเปยกแฉะเปนเวลานานพาลเกิดโรครากเนาทําใหตายไดแสงแดดที่ตนหมอขาวหมอแกงลิง

ไดรับมากนอยตามแตละสายพันธุ เชน N. ampullaria มักขึ้นอยูในปาทึบน้ันตองการปริมาณแสงแดด

นอยแตเมื่อเรานํามาปลูกเลี้ยงเราสามารถคอยๆ เพิ่มแสงแดดไดจนถึงแสงแดด50% โดยใชพลาสติก

ซาแลนชวยกรองแสงจะทําใหหมอมีสีที่จัดขึ้นแตในขณะเดียวกันเมื่อเพิ่มปริมาณแสงแดดมากขึ้น

ปริมาณความชื้นในอากาศรอบๆจะตํ่าลงมีผลใหขนาดหมอจะเล็กลงฉะน้ันจึงมีผูเลี้ยงบางคนใชวิธีเลี้ยง

ตนหมอขาวหมอแกงลิงในรมที่มีความชื้นสูงเสียกอนเพื่อใหหมอมีขนาดใหญแลวจึงคอยๆออกแดด

เพื่อใหหมอมีสีสันที่จัดขึ้นซึ่งตนหมอขาวหมอแกงลิงสวนใหญสามารถเลี้ยงไดในสถานที่มีแสงแดดได

10

ถึง100% สําหรับตนหมอขาวหมอแกงลิงที่เปนตนออนหรือยังเล็กอยูหรือไมปกชําควรจะคอยๆ ปรับการ

รับแสงต้ังแตนอยๆไปจนถึง 50% - 100 (ภัทรา, 2551 ; เศรษฐมันตร, 2551)

ปุยและอาหารเสริม

ปุยและอาหารเสริมเปนสิ่งที่ไมคอยจําเปนสําหรับตนหมอขาวหมอแกงลิงเน่ืองจากมีหมอที่คอย

ลอแมลงมาเปนสารอาหารอยูแลวแตหากใสจะทําใหเจริญเติบโตรวดเร็วขึ้นโดยใชปุยละลายชาสูตร

เสมอ 14-14-14 และ 16-16-16 หรือสูตรเรงดอกก็ใสได ใสประมาณ 5-15 เม็ด ตอกระถางปริมาณขึ้นอยู

กับขนาดของกระถางปุยละลายชาใส 1 คร้ัง อยูไดนาน 3-6 เดือนขึ้นอยูกับสูตรและยี่หอของปุยละลายชา

(ภัทรา, 2551 ; เศรษฐมันตร, 2551)

การขยายพันธุ

ในปจจุบันตลาดมีความตองการสูงจึงมีแนวโนมที่พันธุปาแทน้ันอาจจะมีการสูญพันธุได

เพราะวามีความตองการมากก็จะนําออกมาจากปามากเชนกันจึงไดมีการขยายพันธุในรูปแบบตางๆ

เพื่อลดปริมาณการนําออกมาจากปาเพราะการขยายพันธุทําใหเกิดความเพียงพอตอความตองการของ

ตลาดโดยที่การขยายพันธุน้ันมีดวยหลายวิธี เชน การปกชํา การตอน การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื้อ การเพาะเมล็ด

เปนตน (ภัทรา, 2551 ; เศรษฐมันตร, 2551)

ลักษณะท่ัวไปหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking (Nepenthesglobosa “Viking”)

หมอขาวหมอแกงลิงพันธุ‘Viking’เปนพันธุพื้นเมืองของไทยที่นาสนใจมีหมอที่มีลักษณะ

สวยงามมีสีสันตางๆมากมายไมแพสายพันธุอ่ืนอีกทั้งนักผสมพันธุยังใชเปนพอแมพันธุในการผลิต

ลูกผสมอีกดวย Vikingมีถิ่นกําเนิดในจังหวัดพังงาบนหมูเกาะระและหมูเกาะพระทองจัดเปนพืชถิ่นเดียว

ของประเทศไทย(Endemic species) เปนไมเลื้อยสูงประมาณ 4-6 เมตร ลําตนทรงกลมแดง ใบเด่ียวรูป

วงรี(elliptic)ถึงวงขอบขนาน ใบจะเรียงตัวเปนเกลียว( Spiral) ขอบใบเรียบ ใบหนาคลายหนังมีกานใบ

และเสนกลางใบสีแดง หมอมีลักษณะกลม ฝาหมอมีลักษณะคอนขางกลม ปากหมอชันคลาย

N.rafflesianaหมอมีขนาดใหญ ชอดอกแบบกระจะ( raceme) 1 กานดอกจะมีดอกยอย 1 ดอกผลเปนแบบ

แคปซูล(Capsules) เมื่อแกจะแตกเปนพู ออกดอกปละ 2 คร้ัง ชวงมิถุนายน - สิงหาคม และ พฤศจิกายน -

กุมภาพันธุ (ในป 2550ในงาน Sarawak summit ไดจัด VikingเปนสายพันธุยอยของN.mirabilis)

(ภัทรา, 2551 ; เศรษฐมันตร, 2551)

11

อุปกรณและวิธีการ

อุปกรณและวิธีการทดลอง

1. ตนหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

2. วัสดุปลูก กาบมะพราวสับ ขุยมะพราว สแฟกน่ัมมอส พีทมอส แกลบดิบ ใบกามปูหมัก

รากเฟนขาหลวง

3. กระถางพลาสติกขนาด 6 น้ิว

4. ปุยอินทรีย

5. ปายชื่อสําหรับติดตนไม

6. อุปกรณสําหรับการวัด ไดแก เวอรเนียรคาลิเปอร ไมบรรทัด

7. อุปกรณสําหรับการจดบันทึก ไดแก สมุดบันทึก ปากกาดินสอ

8. อุปกรณบันทึกภาพ ไดแก กลองถายรูป

วิธีการทดลอง

การวางแผนการทดลองใชแผนการทดลองแบบRandomized Complete Block Design(RCBD)

เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิง Viking ในวัสดุปลูกที่แตกตางกัน 7 ชนิด แตละชนิด

ทํา 4 ซ้ําๆ ละ 10 ตน รวม 280 ตนดังน้ี

สิ่งทดลองที่ 1 กาบมะพราวสับ

สิ่งทดลองที่ 2 ขุยมะพราว

สิ่งทดลองที่ 3 สแฟกน่ัมมอส

สิ่งทดลองที่ 4 พีทมอส

สิ่งทดลองที่ 5 แกลบดิบ

สิ่งทดลองที่ 6 ใบกามปู

สิ่งทดลองที่ 7 รากเฟนขาหลวงสับ

12

ข้ันตอนการดําเนินการทดลอง

1. เตรียมชั้นสําหรับวางกระถาง

2. เตรียมตนกลาหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking อายุ 1 ป

3. เตรียมวัสดุปลูกกาบมะพราวสับ ขุยมะพราว สแฟกน่ัมมอส พีทมอส แกลบดิบ ใบกามปู

รากเฟนขาหลวงสับ

4. ปลูกและจัดวางตามแผนการทดลองที่กําหนด Randomized Complete Block Design (RCBD)

จัดเปน 4 กลุม(ซ้ํา) แตละกลุม มี 7 สิ่งทดลอง

5. ใสปุยอินทรีย 2 กรัม ทุก ๆ 2 สัปดาหทุกตน

6. รดนํ้าชวงเชาวันละ 1 คร้ัง โดยใหนํ้าแบบละอองฝอย

7. บันทึกผลการทดลองทุก ๆ 2 สัปดาห

สถานท่ีและระยะเวลาทําการทดลอง

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ทําการ

เก็บขอมูลในการทดลองต้ังแตเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ.2554 รวม 20 สัปดาห

การบันทึกผลการทดลอง

ทําการวัดผลหลังจากการปลูกหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกที่ตางชนิดกันทุกๆ

1 สัปดาหโดยทําการบันทึกผลดังน้ี

1. วัดความสูงของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking โดยวัดจากโคนตนจนถึงยอดที่สูงที่สุด

ของตน

2. วัดขนาดเสนผาศูนยกลางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingโดยวัดตรงกลางลําตน

3. วัดความกวางใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingโดยวัดจากขอบใบดานหน่ึงไปยังอีก

ดานในทางตรงขาม

4. วัดความยาวใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingโดยวัดจากโคนใบจนถึงปลายใบ

5. วัดความยาวหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingโดยจุดบนสุดถึงจุดลางสุดของหมอ

6. วัดความกวางดานขางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingโดยวัดสวนที่กวางที่สุดดานขาง

ของหมอ

13

7. วัดความกวางฝาหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingโดยวัดความกวางฝาหมอจาก

ดานหน่ึงไปยังอีกดานหน่ึง

การวิเคราะหผลขอมูล

วิเคราะหขอมูลทางสถิติดวยการวิเคราะหความแปรปรวน ( Analysis of Variance) เปรียบเทียบ

ความแตกตางดวยวิธี DMRT (Duncan’s Multiple-Range Test)และใชระดับความเชื่อมั่น.01

14

ผลการวิจัย

จากการศึกษาการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

ดังน้ี กาบมะพราวสับ ขุยมะพราว สแฟกน่ัมมอส พีทมอส แกลบดิบ ใบกามปู และรากเฟนขาหลวง

สับ ไดผลการทดลองดังน้ี

1.สภาพท่ัวไปของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในเรือนเพาะชํา

สภาพทั่วไปในการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในเรือนเพาะชําของคณะ

เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ที่ไดจากการสังเกตพบวาสภาพโรงเรือน

ในสถานเพาะชําที่ใชในการปลูกหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingมีสภาพโรงเรือนที่ใชซาแรนพรางแสง

ประมาณ 50 เปอรเซ็นต ชวยใหพืชจะไดแสงแดดที่เหมาะสม ตนที่รับแสงแดดที่เพียงพอจะแข็งแรงไม

ยืดยาวเกงกางผลิตหมอไดดีและมีสมบูรณสวยงามสวนสภาพแวดลอมภายโรงเรือนเพาะชําน้ันในตอน

กลางวันแสงแดดจะสองกระทบลงพื้นของเรือนเพาะชําจึงทําใหความชื้นระเหยขึ้นและอากาศมีความ

รอนชื้น เน่ืองจากสภาพโรงเรือนเพาะชําเปนพื้นดินปนทราย

หมอขาวหมอแกงลิง พันธุViking เปนพืชกินแมลงที่ชอบความชื้น ซึ่งการใหนํ้าเปนละอองวันละ

1 คร้ัง ในชวงวันใดทีมีอากาศรอนจัดจะเพิ่มการใหนํ้าตอนบายอีก 1 คร้ัง เพื่อลดอุณหภูมิและเพิ่ม

ความชื้นในอากาศ

ลักษณะของตนกลาที่ไดมีความแตกตางกันไมมากหนักโดยภาพรวมใบเปนสีเขียวออนเน่ืองจาก

สภาพที่โรงเรือนในระยะกลาน้ันมีการพรางแสงประมาณ 80 เปอรเซ็นต เมื่อนํามาปลูกเลี้ยงในเรือน

ทดลองใบของตนหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ไดปรับตัวจากเปนสีเขียวเปนสีแดง เน่ืองจากสภาพ

โรงเรือนเพาะชําไดมีการพรางแสงเพียง 50 เปอรเซ็นตเทาน้ันและในระยะเวลาที่ผานไปทําใหเกิดมีสาย

หมอหรือสายด่ิงออกมาจากปลายใบ และมีหมออยูปลายใบอีกดานหน่ึงจะสั้นมาก เมื่อลําตนยังเปนพุม

เล็ก เมื่อพุมใหญสายก็จะยาวขึ้นแตก็ยังจะสั้นกวาสายของลําตนที่โตเต็มที่และเปนเถาเลื้อย ที่สวนปลาย

สายมีสวนที่จะพัฒนาไปเปนหมอ สวนหมอน้ัน จะมีไปดวยของเหลวราวคร่ึงหน่ึงของหมอ มีลักษณะ

เปนนํ้าหรือนํ้าเชื่อมใชสําหรับลอเหยื่อจมนํ้าตาย ซึ่งนํ้าจะมีเปนกรด เปนสําคัญเพื่อยอยแมลงในหมอ

นําไปเลี้ยงลําตนในการเจริญเติบโต

15

2. ความสูงของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

ผลการทดลองการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในวัสดุตางชนิดกัน

พบวาสแฟกน่ัมมอสใหความสูงของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingสูงที่สุดคือ10.8เซนติเมตร

รองลงมาไดแก รากเฟนขาหลวงสับ พีทมอส ขุยมะพราว ใบกามปู กาบมะพราวสับ และแกลบดิบ ซึ่งมี

ความสูง 7.66, 7.73, 6.12 , 5.98 , 5.90 และ 4.23 เซนติเมตร

เมื่อนํามาวิเคราะหทางสถิติการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่วัสดุปลูกตาง

ชนิดกันพบ วาสแฟกน่ัมมอสใหความสูงของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking สูงสุดและแตกตางจาก

วัสดุปลูกอ่ืนๆอยางมีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับ .01 ต้ังแตสัปดาหที่ 4 จนถึงสัปดาหที่ 20 (ตารางที1่)

ตารางท่ี 1 ความสูงเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Vikingในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

ส่ิงทดลอง

คาความสูงเฉล่ียของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking (เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

1.กาบมะพราวสับ 3.48a 3.65bc 3.94bc 4.09abc 4.33bc 4.78bc 5.24bc 5.41bc 5.78bc 5.90bc

2.ขุยมะพราว 3.38a 3.83bc 4.13bc 4.23bc 4.46b 4.99bc 5.40bc 5.67bc 5.85bc 6.12bc

3.สแฟกนั่มมอส 3.45a 5.52a 5.95a 6.06a 6.99a 9.05a 10.17a 10.35a 10.59a 10.83a

4.พีทมอส 3.50a 4.28abc 4.30b 4.69b 4.88b 5.49bc 6.37b 6.78b 7.15b 7.43b

5.แกลบดิบ 3.36a 3.37c 3.38c 3.40c 3.45c 3.78c 3.96c 4.24c 4.27c 4.33c

6.ใบกามปู 3.35a 3.62bc 3.77bc 3.80bc 4.05bc 4.64bc 5.39bc 5.69bc 5.71bc 5.98bc

7.รากเฟนขาหลวง

สับ 3.36a 4.75ab 5.40a 5.98a 6.11a 6.22b 6.80b 7.15b 7.41b 7.66b

CV (%) 3.99 14.31 9.64 10.47 8.88 18.88 17.09 15.32 13.29 16.42

LSD.01 0.27 1.20 0.86 0.98 0.88 2.14 2.15 2.01 1.80 2.30

16

3. ขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

ผลการทดลองการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในวัสดุตางชนิดกัน

พบวาสแฟกน่ัมมอสใหการเจริญเติบโตขนาดเสนผาศูนยกลางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

กวางที่สุดคือ 7.19มิลลิเมตร รองลงมาไดแก รากเฟนขาหลวงสับ พีทมอสขุยมะพราว ใบกามปู กาบ

มะพราวสับ และแกลบดิบ ซึ่งมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 6.41 , 6.24 , 6.24 , 5.93 , 5.85 , และ 4.46

มิลลิเมตร

เมื่อนํามาวิเคราะหทางสถิติการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่วัสดุปลูกตาง

ชนิดกันพบวา สแฟกน่ัมมอสใหขนาดเสนผาศูนยกลางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking สูงสุดและ

แตกตางจากวัสดุปลูกอ่ืนๆอยางมีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับ .01 ต้ังแตสัปดาหที่ 6 จนถึงสัปดาหที่ 20

(ตารางที่2)

ตารางท่ี 2 ขนาดเสนผาศูนยเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

ส่ิงทดลอง ขนาดเสนผาศูนยกลางเฉล่ียของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking (มิลลิเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

1.กาบมะพราวสับ 2.58a 3.25abc 4.05b 4.55bc 4.90bc 4.91bc 4.96bc 5.19b 5.52a 5.85c

2.ขุยมะพราว 3.19a 3.85a 4.33b 4.82b 5.24b 5.27b 5.39b 5.63b 5.69a 6.24bc

3.สแฟกนั่มมอส 2.85a 3.82ab 4.91a 5.69a 6.13a 6.16a 6.27a 6.30a 6.38a 7.19a

4.พีทมอส 2.82a 3.49bc 3.83bc 4.60bc 5.10b 5.10b 5.13bc 5.19b 5.82a 6.24bc

5.แกลบดบิ 2.66a 3.07d 3.38c 3.82d 4.16d 4.16d 4.16c 4.16c 4.19b 4.46d

6.ใบกามปู 3..05a 3.44c 4.10b 4.30c 4.58cd 4.58c 5.02b 5.02b 5.32a 5.93bc

7.รากเฟนขาหลวงสับ 2.71a 3.57abc 4.11b 4.88b 5.10b 5.10b 5.41b 5.41b 5.49a 6.41b

CV (%) 10.04 4.54 5.59 4.10 4.11 3.99 5.44 5.44 8.66 3.96

LSD.01 0.58 0.32 0.46 0.38 0.42 0.41 0.58 0.58 0.96 0.48

17

4. ความกวางของใบเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

ผลการทดลองการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในวัสดุตางชนิดกัน

พบวา สแฟกน่ัมมอสใหการเจริญเติบโตความกวางใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking กวางที่สุด

คือ 6.16 เซนติเมตร รองลงมาไดแก พีทมอสรากเฟนขาหลวงสับ ใบกามปู กาบมะพราวสับ

ขุยมะพราว และแกลบดิบ ซึ่งมีความกวางใบ 4.13 , 4.11 , 3.58 , 3.49 , 3.16 , และ 2.18 เซนติเมตร

เมื่อนํามาวิเคราะหทางสถิติการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่วัสดุปลูกตาง

ชนิดกันพบวา สแฟกน่ัมมอสใหความกวางใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking กวางที่สุดและ

แตกตางจากวัสดุปลูกอ่ืนๆอยางมีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับ.01 ต้ังแตสัปดาหที่ 4 จนถึงสัปดาหที่ 20

(ตารางที่ 3)

ตารางท่ี 3 คาความกวางใบเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

ส่ิงทดลอง คาความกวางใบเฉล่ียของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking (เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

1.กาบมะพราวสับ 1.33a 1.85ab 2.01bc 2.37c 2.56bc 2.73cd 2.92cd 2.96c 3.36bc 3.49bc

2.ขุยมะพราว 1.50a 1.70b 1.74c 2.37c 2.79bc 3.00cd 3.14bcd 3.23bc 3.29bc 3.16c

3.สแฟกนั่มมอส 1.65a 2.64a 3.76a 4.66a 5.18a 5.60a 5.70a 5.90a 6.05a 6.16a

4.พีทมอส 1.39a 1.78ab 2.37bc 3.02b 3.52b 3.77b 3.88b 3.97b 4.02b 4.13b

5.แกลบดบิ 1.31a 1.46b 1.79c 2.01c 2.40c 2.43d 2.57d 2.67c 2.73c 2.81c

6.ใบกามปู 1.39a 1.62b 1.89bc 2.55bc 3.00bc 3.18bc 3.28bcd 3.31bc 3.49bc 3.58bc

7.รากเฟนขาหลวง

สับ

1.41a 2.01ab 2.51b 3.00b 3.53b 3.72b 3.76bc 3.83b 3.93b 4.11b

CV (%) 19.69 21.66 13.56 9.21 13.47 9.46 10.54 10.19 12.09 10.20

LSD.01 0.57 0.82 0.63 0.59 0.90 0.67 0.77 0.76 0.94 0.81

18

5. ความยาวใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

ผลการทดลองการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในวัสดุตางชนิดกัน

พบวา สแฟกน่ัมมอสใหการเจริญเติบโตความยาวใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ยาวที่สุดคือ

14.05เซนติเมตร รองลงมาไดแก รากเฟนขาหลวงสับ พีทมอสขุยมะพราว ใบกามปู กาบมะพราวสับ

และแกลบดิบ ซึ่งมีความยาวใบ 9.18 , 9.59 , 8.14 , 8.12 , 6.89 และ 6.49 เซนติเมตร

เมื่อนํามาวิเคราะหทางสถิติการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่วัสดุปลูก

ตางชนิดกันพบวา สแฟกน่ัมมอสใหความยาวใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ยาวที่สุดและ

แตกตางจากวัสดุปลูกอ่ืนๆอยางมีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับ .01 ต้ังแตสัปดาหที่ 4 จนถึงสัปดาหที่ 20

(ตารางที่ 4)

ตารางท่ี 4 คาความยาวใบเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

ส่ิงทดลอง คาความยาวใบเฉล่ียของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking (เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

1.กาบมะพราวสับ 4.49a 5.23b 5.40b 5.71c 6.19c 6.51c 6.65c 6.65d 6.71cd 6.89c

2.ขุยมะพราว 4.52a 5.30b 6.21b 6.66bc 7.06bc 7.28bc 7.60bc 7.72cd 8.02bc 8.13bc

3.สแฟกนั่มมอส 4.30a 8.42a 11.07a 11.96a 12.14a 12.92a 13.58a 13.60a 13.82a 14.05a

4.พีทมอส 4.29a 6.20b 6.77b 7.66bc 8.72b 8.98b 9.22b 9.26bc 9.37b 9.59b

5.แกลบดิบ 4.41a 5.10b 5.36b 5.70c 6.15c 6.18c 6.23c 6.24d 6.24c 6.49c

6.ใบกามป ู 4.39a 5.71b 5.81b 6.73bc 7.17bc 7.31bc 7.41bc 7.72cd 7.86bc 8.12bc

7.รากเฟนขาหลวงสับ 4.32a 6.73b 7.22b 8.71b 8.96b 9.16b 9.34b 9.45b 9.66b 9.81b

CV (%) 2.62 13.16 14.01 12.61 11.75 12.59 10.45 9.04 9.75 9.01

LSD.01 0.23 1.63 1.95 1.94 1.92 2.13 1.82 1.59 1.75 1.65

19

6. ความยาวหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking

ผลการทดลองการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในวัสดุตางชนิดกัน

พบวา สแฟกน่ัมมอสใหการเจริญเติบโตความยาวหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ยาวที่สุดคือ

8.65เซนติเมตร รองลงมาไดแก รากเฟนขาหลวงสับ พีทมอสขุยมะพราว กาบมะพราวสับ แกลบดิบ

และใบกามปู ซึ่งมีความยาวหมอ 8.24, 5.40, 4.52 , 4.31 , 2.50 และ 2.36 เซนติเมตร

เมื่อนํามาวิเคราะหทางสถิติการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่วัสดุปลูกตาง

ชนิดกันพบวา สแฟกน่ัมมอสใหความยาวหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ยาวที่สุดและ

แตกตางจากวัสดุปลูกอ่ืนๆอยางมีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับ .01 ต้ังแตสัปดาหที่ 8 จนถึงสัปดาหที่ 20

(ตารางที่ 5)

ตารางท่ี 5คาความยาวหมอเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

ส่ิงทดลอง คาความยาวหมอเฉล่ียของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking (เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

1.กาบมะพราวสับ 0.50c 1.60cd 2.21c 3.11d 3.51b 3.91d 4.31d

2.ขุยมะพราว 1.00c 2.58bc 2.91c 3.31d 3.72b 4.12d 4.52d

3.สแฟกนั่มมอส 5.90a 6.53a 7.05a 7.45a 7.85a 8.25a 8.65a

4.พีทมอส 3.10b 3.80b 3.81b 4.20c 4.38b 5.00c 5.40c

5.แกลบดิบ 0.44d 0.90d 1.34e 1.74c 2.10e 2.50e

6.ใบกามป ู 0.33d 0.83d 1.23a 1.63c 2.03e 2.36e

7.รากเฟนขาหลวงสับ 4.50ab 6.02a 6.59a 7.04b 7.44a 7.84b 8.24b

CV (%) 36.51 20.35 11.83 4.22 10.72 3.30 3.26

LSD.01 1.59 1.26 0.83 0.34 0.94 0.31 0.34

20

7. ความกวางดานขางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

ผลการทดลองการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในวัสดุตางชนิดกัน

พบวา สแฟกน่ัมมอสใหการเจริญเติบโตความกวางดานขางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ยาว

ที่สุดคือ 5.78 เซนติเมตร รองลงมาไดแก รากเฟนขาหลวงสับ พีทมอสขุยมะพราว กาบมะพราวสับ ใบ

กามปู และแกลบดิบ ซึ่งมีความกวางดานขางหมอ 4.20, 3.67, 2.08 , 2.08 , 1.32 และ 1.31 เซนติเมตร

เมื่อนํามาวิเคราะหทางสถิติการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่วัสดุปลูกตาง

ชนิดกันพบวา สแฟกน่ัมมอสใหความกวางดานขางหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking กวางที่สุด

และแตกตางจากวัสดุปลูกอ่ืนๆอยางมีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับ .01 ต้ังแตสัปดาหที่ 8 จนถึงสัปดาหที่ 20

(ตารางที่ 6)

ตารางท่ี 6 คาความกวางดานขางเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

ส่ิงทดลอง คาความกวางดานขางเฉล่ียของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking (เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

1.กาบมะพราวสับ 0.15 0.22c 0.69c 1.09c 1.49c 1.89d 2.08d

2.ขุยมะพราว 0.49c 0.90c 1.30c 1.61d 2.08d

3.สแฟกนั่มมอส 3.17a 3.68a 4.21a 4.58a 4.98a 5.38a 5.78a

4.พีทมอส 1.02b 1.55b 2.05d 2.45b 2.83b 3.25c 3.67c

5.แกลบดิบ 0.16c 0.53c 0.93e 1.31e

6.ใบกามป ู 0.12c 0.52c 0.92e 1.32e

7.รากเฟนขาหลวงสับ 2.22a 2.80a 3.32a 3.72a 3.75b 3.77b 4.20b

CV (%) 59.18 46.67 37.03 30.45 25.68 8.21 2.06

LSD.01 1.13 1.12 1.16 1.15 1.15 0.42 0.12

21

8. ความกวางฝาหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

ผลการทดลองการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในวัสดุตางชนิดกัน

พบวา สแฟกน่ัมมอสใหการเจริญเติบโตความกวางฝาหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking กวาง

ที่สุดคือ 4.51 เซนติเมตร รองลงมาไดแก รากเฟนขาหลวงสับ พีทมอสขุยมะพราว กาบมะพราวสับ

แกลบดิบ และใบกามปู ซึ่งมีความกวางฝาหมอ 2.96, 2.41, 1.40 , 1.34, 1.00 และ 0.72 เซนติเมตร

เมื่อนํามาวิเคราะหทางสถิติการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่วัสดุปลูกตาง

ชนิดกันพบวา สแฟกน่ัมมอสใหความกวางฝาหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking กวางที่สุดและ

แตกตางจากวัสดุปลูกอ่ืนๆอยางมีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับ .01 ต้ังแตสัปดาหที่ 8 จนถึงสัปดาหที่ 20

(ตารางที่ 7)

ตารางท่ี 7 คาความกวางฝาหมอขางเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

ส่ิงทดลอง คาความกวางฝาหมอเฉล่ียของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking (สัปดาห/เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

1.กาบมะพราวสับ 0.14de 0.54d 0.94d 1.34d

2.ขุยมะพราว 0.20d 0.60d 1.00d 1.40d

3.สแฟกนั่มมอส 1.95a 2.41a 2.88a 3.32a 3.71a 4.11a 4.51a

4.พีทมอส 0.35c 0.46c 0.81c 1.21c 1.61c 2.01c 2.41c

5.แกลบดิบ 0.27e 0.67e 1.00e

6.ใบกามป ู 0.05f 0.45f 0.72f

7.รากเฟนขาหลวงสับ 0.70b 0.89b 1.36b 1.76b 2.16b 2.56b 2.96b

CV (%) 31.24 14.09 9.63 9.14 7.09 5.40 4.44

LSD.01 0.27 0.15 0.14 0.17 0.18 0.18 0.18

22

วิจารณผลการวิจัย

จากการศึกษาโดยใชสแฟกน่ัมมอสเปนวัสดุปลูกใหกับหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingที่มีผล

ตอการเจริญเติบโตพบวาสแฟกน่ัมมอสใหการเจริญเติบโตความสูงของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ เฉลี่ยสูงที่สุดคือ10.83 เซนติเมตร เมื่อพิจารณาจากว

สแฟกน่ัมมอสซึ่งมีผลตอการเจริญเติบโต เพราะเปนวัสดุปลูกที่สามารถดูดซับนํ้าไวไดมากรักษา

ความชื้นไดดี และระบายนํ้าไดดีเยี่ยม จึงมีผลใหความสูง ขนาดเสนผาศูนยกลาง ขนาดความกวางความ

ยาวใบ ความยาวหมอ ความกวางดานขาง และความกวางฝาหมอของ หมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

เจริญเติบโตไดดี แมวาสแฟกน่ัมมอสจะใหการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงดีที่สุด แตก็ตอง

นําเขาจากตางประเทศ และมีราคาที่สูงมาก เมื่อลองมาพิจารณารากเฟนขาหลวงสับ แมวาจะมีผลตอการ

เจริญเติบโตนอยกวาสแฟกน่ัมมอส แตก็เปนวัสดุที่มีอยูมากในภาคใตของประเทศไทย

นอกจากน้ียังพบวาการใชวัสดุปลูกชนิดเดียวมาเปนวัสดุปลูกอาจมีผลทําใหขาดคุณสมบัติที่

เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงไวกิ้ง ไดแก แกลบดิบ ใบกาม ปูหมัก กาบมะพราว

สับ เก็บความชื้นไวไดไมนาน จะแหงเร็วซึ่งมีผลตอการเจริญโต สิ่งที่ควรศึกษาเพิ่มเติมคือ การนําวัสดุ

ตางมาผสมกันดวยอัตราสวนตางๆซึ่งอาจจะชวยใหมีความเหมาะสมตอการปลูกเลี้ยงหมอขาว หมอแกง

ลิงไวกิ้งยิ่งขึ้น

แตอยางไรก็ตามการใชวัสดุปลูกชนิดตางๆ ไมใชปจจัยสําคัญเพียงอยางเดียวที่ตองพิจารณาแต

ตองรวมไปถึงการดูแลรักษาดวย ไดแก การใหนํ้า แสงแดด ภาชนะที่ใชปลูก การเอาใจใสของผูปลูกเลี้ยง

ดวย และรวมทั้งที่ต้ังสําหรับปลูกเลี้ยงเพื่อใหสายหมอไดยาวหอยลง แตก็ขึ้นอยูกับสายพันธุของ

หมอขาวหมอแกงลิงดวย

23

สรุปผลการวิจัย

จากการศึกษาการเจริญเติบโตของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

7 ชนิด ดังน้ี กาบมะพราวสับ ขุยมะพราว สแฟกน่ัมมอส พีทมอส แกลบดิบ ใบกามปู และรากเฟน

ขาหลวงสับ พบวาการใชสแฟกน่ัมมอสเปนวัสดุปลูกใหกับ หมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ใหผลดี

ที่สุดในดานของความสูง ขนาดเสนผาศูนยกลาง ความกวาง ความยาวใบ ความยาวหมอ ความกวาง

ดานขาง และความกวางฝาหมอ หมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ซึ่งมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ยิ่งทางสถิติ ดังผลสรุปตอไปน้ี

1. ความสูงของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking จากการทดลองพบวา หมอขาวหมอแกงลิง

พันธุVikingที่ใชสแฟกน่ัมมอสเปนวัสดุปลูกมีความสูงเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือรากเฟนขาหลวงสับ

พีทมอสขุยมะพราว ใบกามปู กาบมะพราวสับ และแกลบดิบซึ่งใหความสูงเฉลี่ยตํ่าสุด

2. ขนาดเสนผาศูนยกลางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking จากการทดลองพบวา

หมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingที่ใชสแฟกน่ัมมอสเปนวัสดุปลูกมีความกวางเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยกวาง

ที่สุด รองลงมาคือราก เฟนขาหลวงสับ พีทมอส ขุยมะพราว ใบกามปู กาบมะพราวสับ และแกลบดิบซึ่ง

ใหขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยนอยสุด

3. ความกวางใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingจากการทดลองพบวา

หมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingที่ใชสแฟกน่ัมมอสเปนวัสดุปลูกมีความกวางใบเฉลี่ยกวางที่สุด

รองลงมาคือ พีทมอสรากเฟนขาหลวงสับ ใบกามปูกาบ มะพราวสับขุยมะพราว และแกลบดิบซึ่งให

ความกวางใบเฉลี่ยนอยสุด

4. ความยาวใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking จากการทดลองพบวา

หมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ใชสแฟกน่ัมมอสเปนวัสดุปลูกมีความยาวใบเฉลี่ยยาวที่สุด รองลงมา

คือ รากเฟนขาหลวงสับ พีทมอสขุยมะพราว ใบกามปูกาบ มะพราวสับ และแกลบดิบซึ่งใหความยาวใบ

เฉลี่ยนอยสุด

5. ความยาวหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking จากการทดลองพบวา

หมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingที่ใชสแฟกน่ัมมอสเปนวัสดุปลูกมีความยาวหมอเฉลี่ยยาวที่สุด

รองลงมา คือ รากเฟนขาหลวงสับ พีทมอส ขุยมะพราว กาบมะพราวสับแกลบดิบ และใบกามปูซึ่งให

ความยาวหมอเฉลี่ยนอยสุด

24

6. ความกวางดานขางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking จากการทดลองพบวา

หมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ใชสแฟกน่ัมมอสเปนวัสดุปลูกมีความกวางดานขางเฉลี่ยกวางที่สุด

รองลงมา คือ รากเฟนขาหลวงสับ พีทมอส ขุยมะพราว กาบมะพราวสับ ใบกามปู และแกลบดิบซึ่งให

ความกวางดานขางเฉลี่ยนอยสุด

7. ความกวางฝาหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking จากการทดลองพบวา

หมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ใชสแฟกน่ัมมอสเปนวัสดุปลูก มีความกวางดานฝาหมอกวางที่สุด

รองลงมา คือ รากเฟนขาหลวงสับ พีทมอส ขุยมะพราว กาบมะพราวสับ แกลบดิบและใบกามปูซึ่งให

ความกวางฝาหมอเฉลี่ยนอยสุด

25

เอกสารอางอิง

เต็ม สมิตินันทน . 2544. ชื่อพรรณไมแหงประเทศ (ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544). กรุงเทพฯ :

บริษัทประชาชน จํากัด

พนม สุทธิศักด์ิโสภณ วสินี ไขวพันธุ และสุมาลี เหลืองสกุล. 2553. การสํารวจหมอขาวหมอแกงลิงใน

ตลาดจําหนายพันธุไมดอกไมประดับของประเทศไทย. การประชุมวิชาการพืชสวนแหงชาติ

คร้ังที่ 9 พัฒนาพืชสวนไทยเพื่อไทยเขมแข็ง11-14 พฤษาคม 2553 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร

อ.พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา

ภัทรา แสงดานุช วีระ โดแวนเว. 2551. พืชกินแมลง. บริษัทอัมรินทรพร๊ินแอนดพับริช ชิ่ง จํากัด .

กรุงเทพฯ.183 น.

เศรษฐมันตร กาญจนกุล. 2551. รอยพันพฤกษา ไมกินแมลง. บริษัทเลิฟแอนดลิพเพลส จํากัด. กรุงเทพฯ.

สุวรุณ ศุภวุฒิ. 2552. รอยพันพฤกษา ไมกินแมลง หมอขาวหมอแกงลิง.

บริษัท พิฆเณศพร๊ินต๊ิงเซนเตอร จํากัด.กรุงเทพฯ.

เอ้ือมพร วีสมหมาย. 2544. พฤกษาพัน. โรงพิมพ เอช เอน กรุป จํากัด, กรุงเทพฯ. 639 น.

26

ภาคผนวก

27

แสดงการวิเคราะหขอมูลความสูงเฉลี่ย ขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ย ความกวางใบเฉลี่ย

ความยาวใบเฉลี่ย ความยาวหมอเฉลี่ย ความกวางดานขางเฉลี่ย และความกวางฝาหมอเฉลี่ยของ

หมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

ตารางผนวกท่ี 1 Analysis of variance คาความสูงเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

(เซนติเมตร)

Mean Square

Sov df ความสูงของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking (เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

Block 3 0.00 0.58 0.72 0.67 0.52 2.66 2.24 2.36 1.13 2.51

Treatment 6 0.01 2.32 3.43 4.36 6.13 11.70 15.59 15.30 16.21 16.92

Error 18 0.01 0.35 0.18 0.23 0.18 1.10 1.12 0.98 0.78 1.28

Total 27

F-test ns ** ** ** ** ** ** ** ** **

ns ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

**แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .01

28

ตารางผนวกท่ี 2Analysis of variance ขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

(มิลลิเมตรเมตร)

Mean Square

Sov df ขนาดเสนผาศูนยกลางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking (มิลลิเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

Block 3 0.08 0.02 0.03 0.12 0.27 0.27 0.17 0.12 0.13 0.14

Treatment 6 0.18 0.27 0.86 1.31 1.49 1.54 1.65 1.67 1.77 2.71

Error 18 0.08 0.02 0.05 0.03 0.04 0.04 0.07 0.07 0.22 0.05

Total 27

F-test ns ** ** ** ** ** ** ** ** **

ns ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .01

ตารางผนวกท่ี 3Analysis of variance คาความกวางใบเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

(เซนติเมตร)

ns ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .01

Mean Square

Sov df ความกวางใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking (เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

Block 3 0.09 0.10 0.32 0.42 0.48 0.46 0.44 0.66 0.43 0.15

Treatment 6 0.05 0.59 1.99 3.03 3.56 4.41 4.23 4.16 4.54 4.80

Error 18 0.07 0.16 0.09 0.06 0.16 0.10 0.14 0.14 0.21 0.16

Total 27

F-test ns ns ** ** ** ** ** ** ** **

29

ตารางผนวกท่ี 4Analysis of variance คาความยาวใบเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

(เซนติเมตร)

Mean Square

Sov df ความยาวใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking (สัปดาห/เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

Block 3 0.09 3.36 1.93 4.54 6.02 1.80 3.47 1.27 2.94 3.91

Treatment6 0.03 0.55 15.81 19.32 17.85 21.50 25.01 24.68 25.77 25.87

Error 18 0.01 0.64 0.91 0.91 0.89 1.10 0.80 0.61 0.74 0.66

Total 27

F-test ns ** ** ** ** ** ** ** ** **

ns ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .01

ตารางผนวกท่ี 5Analysis of variance คาความยาวหมอเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

(เซนติเมตร)

** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .01

Mean Square

Sov df ความยาวหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking (สัปดาห/เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

Block 3 1.70 0.11 0.05 0.03 0.29 0.03 0.03

Treatment 6 22.51 25.31 25.29 24.79 24.73 24.93 25.18

Error 18 0.61 0.38 0.16 0.02 0.21 0.02 0.02

Total 27

F-test ** ** ** ** ** ** **

30

ตารางผนวกท่ี 6Analysis of variance คาความกวางดานขางเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

(เซนติเมตร)

Mean Square

Sov df ความกวางดานขางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking (สัปดาห/เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

Block 3 0.56 0.54 0.59 0.62 0.58 0.01 0.00

Treatment 6 6.62 9.41 11.44 12.42 11.63 11.05 11.30

Error 18 0.30 0.30 0.32 0.32 0.32 0.04 0.00

Total 27

F-test ** ** ** ** ** ** **

** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .01

ตารางผนวกท่ี 7Analysis of variance คาความกวางฝาหมอเฉลี่ยของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking

(เซนติเมตร)

Mean Square

Sov df ความกวางฝาหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุ Viking (สัปดาห/เซนติเมตร)

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

Block 3 0.06 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

Treatment 6 2.80 3.20 4.79 6.23 6.89 6.89 7.21

Error 18 0.01 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

Total 27

F-test ** ** ** ** ** ** **

** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .01

31

แผนภาพแสดงการเจริญเติบโตทางดานความสูง ขนาดเสนผาศูนยกลาง ความกวางใบ

ความยาวใบ ความยาวหมอ ความกวางดานขาง ความกวางฝาหมอ

ภาพผนวกท่ี 1 แสดงคาความสูงของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

ภาพผนวกท่ี 2แสดงขนาดเสนผาศูนยกลางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

0

2

4

6

8

10

12

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

ความ

สูง(เซ

นติเ

มตร

)

ระยะเวลา (สัปดาห)

กาบมะพราวสับ

ขุยมะพราว

สแฟกน่ัมมอส

พีทมอส

แกลบดิบ

ใบกามปู

รากเฟนขาหลวงสับ

0

1

2

3

4

5

6

7

8

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

ความ

กวาง

(มิลลิ

เมตร

)

ระยะเวลา (สัปดาห)

กาบมะพราวสับ

ขุยมะพราว

สแฟกน่ัมมอส

พีทมอส

แกลบดิบ

ใบกามปู

รากเฟนขาหลวงสับ

32

ภาพผนวกท่ี 3 แสดงคาความกวางใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

ภาพผนวกท่ี 4 แสดงคาความยาวใบของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุVikingในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

0

1

2

3

4

5

6

7

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

ความ

กวาง

(เซน

ติเมต

ร)

ระยะเวลา (สัปดาห)

กาบมะพราวสับ

ขุยมะพราว

สแฟกน่ัมมอส

พีทมอส

แกลบดิบ

ใบกามปู

รากเฟนขาหลวงสับ

0

2

4

6

8

10

12

14

16

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

ความ

ยาว

(เซน

ติเมต

ร)

ระยะเวลา(สัปดาห)

กาบมะพราวสับ

ขุยมะพราว

สแฟกน่ัมมอส

พีทมอส

แกลบดิบ

ใบกามปู

เฟนขาหลวงสับ

33

ภาพผนวกท่ี 5 แสดงคาความยาวหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

ภาพผนวกท่ี 6 แสดงคาความกวางดานขางของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

ภาพผนวกท่ี 7 แสดงคาความกวางฝาหมอของหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกตางชนิดกัน

0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

ความ

ยาว

(ซน

ติเมต

ร)

ระยะเวลา(สัปดาห)

กาบมะพราวสับ

ขุยมะพราว

สแฟกน่ัมมอส

พีทมอส

แกลบดิบ

ใบกามปู

รากเฟนขาหลวงสับ

0

1

2

3

4

5

6

7

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

ความ

กวาง

(เซ

ติเม

ตร)

ระยะเวลา(สัปดาห)

กาบมะพราว

ขุยมะพราว

สแฟกน่ัมมอส

พีทมอส

แกลบดิบ

ใบกามปู

รากเฟนขาหลวงสับ

34

ภาพแสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ในวัสดุปลูกชนิดตางๆ

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

3.5

4

4.5

5

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

ความ

กวาง

(เซ

็นติเ

มตร

)

ระยะเวลา(สัปดาห)

กาบมะพราว

ขุยมะพราว

สแฟกน่ัมมอส

พีทมอส

แกลบดิบ

ใบกามปู

รากเฟนขาหลวงสับ

35

ภาพผนวกที่8 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในกาบมะพราวสับ

ภาพผนวกที่ 9 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในขุยมะพราว

ภาพผนวกที่ 10 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในสแฟกน่ัมมอส

36

ภาพผนวกที่ 11 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในพีทมอส

ภาพผนวกที่ 12 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในแกลบดิบ

37

ภาพผนวกที่ 13 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในใบกามปูหมัก

ภาพผนวกที่ 14 แสดงหมอขาวหมอแกงลิงพันธุViking ที่ปลูกในรากเฟนขาหลวงสับ

38