ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 ·...

64

Upload: others

Post on 11-Feb-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส
Page 2: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ทฤษฎีอะตอมของดาลตนั

แบบจําลองอะตอมของทอมสนั

แบบจําลองอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด

ทฤษฎีอะตอมของบอห์ร

Page 3: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ดาลตนั (DALTON )

www.bwc.ac.th/stuchem44/m4/pp03/page2.html#Rutherford

Page 4: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ทฤษฎีอะตอมของดาล

ตนั

จอห์นดอลตนั ชาวอังกฤษได้รวบรวมเรื่องเกี่ยวกับ

อะตอมและตัง้เป็นทฤษฎีขึน้เรียกว่า ทฤษฎีอะตอมของ

ดาลตนั ซึ่งนบัเป็นก้าวแรกที่ทําให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับ

อะตอมมากขึน้ ทฤษฎีอะตอมของดาลตนัมีใจความสําคญั

ดงันี ้

Page 5: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

1. สสารทกุชนิดประกอบด้วยอนภุาคที่เลก็ที่สดุ

เรียกวา่อะตอมซึง่ไมส่ามารถแบง่แยกตอ่ไปได้

2. อะตอมไม่สามารถสร้างขึน้ใหม่หรือทําให้สญู

หายไปได้

3. อะตอมของธาตชุนิดเดียวกนัย่อมเหมือนกนั

กลา่วคือมีสมบตัิเหมือนกนัทัง้ทางกายภาพและทางเคมี

Page 6: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

4.อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันย่อมมีมวลหรือ

นํา้หนกัเทา่กนั

5. สารประกอบเกิดจากการรวมตวัทางเคมี

ระหวา่งอะตอมของธาตตุา่งชนิดกนัด้วยอตัราสว่นของ

จํานวนอะตอมเป็นเลขลงตวัน้อยๆ

6. อะตอมของธาตสุองชนิดขึน้ไปอาจรวมกนั

เป็นสารประกอบด้วยอตัราสว่นที่มากกวา่หนึง่อยา่ง

เพื่อเกิดสารประกอบมากกวา่ 1 ชนิด

Page 7: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

จากทฤษฎีอะตอมของดาลตนั แบบจาํลองอะตอม

มีลักษณะดงัรูป

www.bwc.ac.th

Page 8: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ทอมสัน (THOMSON)

www.bwc.ac.th/stuchem44/m4/pp03/page2.html# THomson

Page 9: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

แบบจาํลองอะตอมของทอมสัน

แบบจําลองนีอ้ธิบายสมบัติต่างๆของธาตุรวมทัง้

ทฤษฎีพนัธะเคมีด้วย ซึ่งก็ใช้ได้บ้างในบางกรณี จนในปี

ค.ศ. 1911 แบบจําลองนีก้็ยกเลิกไป เมื่อ อี อาร์ รัทเธอร์

ฟอร์ด ศกึษาการกระเจิง (scattering) ของรังสีแอลฟาใน

แผ่นโลหะบางๆ แล้วพบว่าแบบจําลองอะตอมของ

ทอมสนั ใช้อธิบายผลการทดลองไมไ่ด้

Page 10: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

+ +

+ + +

+ + +

+ +

-

- -

- - - -

- -

-

แบบจาํลองอะตอมตามทฤษฎีอะตอมของทอมสัน

มีลักษณะดงัรูป

www.bwc.ac.th

Page 11: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

รัทเธอร์ฟอร์ด ( RUTHERFORD )

www.bwc.ac.th/stuchem44/m4/pp03/page2.html#Rutherford

Page 12: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

รัทเธอร์ฟอร์ด พบว่ารังสีส่วนใหญ่ไม่เบี่ยงเบน และ

ส่วนน้อยที่เบี่ยงเบนนัน้ ทํามมุเบี่ยงเบนใหญ่มาก บางส่วน

ยงัเบี่ยงเบนกลบัทิศทางเดิมด้วย จํานวนรังสีที่เบี่ยงเบนจะ

มากขึน้ถ้าความหนาแนน่ของแผน่โลหะเพิ่มขึน้

แบบจาํลองอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด

Page 13: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

www.bwc.ac.th

Page 14: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

จากการคํานวณ รัทเธอร์ฟอร์ดพบว่า ในบรรดา

อนภุาคแอลฟา108 อนภุาคจะมีเพียงอนภุาคเดียวเท่านัน้ที่

จะถูกกระจายกลับทางเดิม รัทเธอร์ฟอร์ดจึงเสนอว่า

พืน้ที่หน้าตัดของนิวเคลียสเป็นเพียงราว 10-8 ของพืน้ที่

อะตอมหรือรัศมีของนิวเคลียสเป็นเพียง 10-4เท่าของรัศมี

อะตอม นัน่คือนิวเคลยีสมีรัศมีประมาณ 10-14 เมตร

Page 15: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

บอห์ร (BOHR)

www.bwc.ac.th/stuchem44/m4/pp03/page2.html# Bohr

Page 16: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ทฤษฎีอะตอมของบอห์รและการทดลองที่เกี่ยวข้อง

สเปกตรัมของไฮโดรเจน

จากการศกึษาเกี่ยวกบัการเปลง่รังสีของวตัถรุ้อนทําให้

ทราบว่า ถ้าให้ความร้อนแก่อะตอมจนมากพอ จะทําให้

อะตอมเปลง่แสง เมื่อทําการวิเคราะห์แสงที่เปลง่ออกมาอยา่ง

ละเอียดโดยใช้ปริซึมหรือเกรตติงพบว่าสเปกตรัมนัน้

ประกอบด้วยแสงที่มีค่าความถี่หรือความยาวคลื่นเรียง

ตวัอยา่งมีระเบียบเป็นชดุๆ

Page 17: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

- บาล์มเมอร์ (Balmer) ได้ทําการทดลองพบสเปกตรัม

ของไฮโดรเจนในช่วงแสงขาวซึ่งตามองเห็นได้ และหาสูตร

สําหรับคํานวณความถี่ต่าง ๆในสเปกตรัมชุดที่พบ (อนุกรม

บาล์มเมอร์)

- ไลแมน (Lyman) ทําการทดลองพบสเปกตรัมในช่วง

รังสอีลัตราไวโอเลต(อนกุรมไลแมน)

Page 18: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

* ปาสเชน (Paschen) พบสเปกตรัมในช่วง รังสี

อินฟราเรด (อนกุรมปาสเชน)

* นอกจากนีย้งัมีอีก 2 ชดุ ในช่วงพลงังานที่ตํ่าลงไป

อีกคือ อนกุรม แบรกเกตต์ (Brackett) และ ฟนุด์ (Pfund)

Page 19: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ริดเบอร์ก(J.R. Rydberg) ได้เสนอสมการที่ใช้

คาํนวณหาwave number ของสเปกตรัมทุกชุดดงันี ้

R คือค่าคงที่ของริดเบอร์ก มีค่า 1.09678 x 105

n1, n2 เป็นเลขจาํนวนเตม็ (n2 > n1)

Page 20: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

อนุกรมไลแมน n1 คงที่ = 1 n2 = 2,3,4,...

อนุกรมบาล์มเมอร์ n1 คงที่ = 2 n2 = 3,4,5....

อนุกรมปาสเชน n1 คงที่ = 3 n2 = 4,5,6...

อนุกรมแบรกเกตต์ n1 คงที่ = 4 n2 = 5,6,7...

อนุกรมฟุนด์ n1 คงที่ = 5 n2 = 6,7,8...

นําสมการของริดเบอร์กไปคาํนวณหา wave

function ของสเปกตรัมในอนุกรมต่างๆ โดยแทนค่า n1

และ n2 ดงันี ้

Page 21: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ทฤษฎีของบอห์รสาํหรับไฮโดรเจนอะตอม

นีลส์ บอห์ร ได้รวบรวมผลการทดลองต่างๆ และเสนอ

แบบจําลองของอะตอมขึน้ โดยตัง้สมมตุิฐานไว้ดงันี ้

1. อิเลก็ตรอนที่เคลื่อนที่รอบๆนิวเคลียสจะมีโมเมนตมั

เชิงมมุ (angular momentum)เป็นค่าเฉพาะ โดยมีค่าเป็น

จํานวนเท่าของคา่คงที่คา่หนึง่ คือ h/2p ถ้าการเคลื่อนที่ของ

อิเลก็ตรอน (มีมวล me)เป็นวงกลม (รัศมี r) และความเร็ว v

Page 22: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ดงันัน้m evr = nh/2p

h เป็นค่าคงที่ของพลังค์

n เป็นเลขจาํนวนเตม็ (1,2,3...)

www.bwc.ac.th

Page 23: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

n จะบ่งถึงพลงังานของอิเล็กตรอนในวงโคจรหนึ่งๆ

ซึง่เรียกวา่เลขควอนตมั (quantum number) การเคลื่อนที่ของ

อิเล็กตรอนในลกัษณะนีจ้ะไม่มีการสญูเสียพลงังาน พลงังาน

ของอิเลก็ตรอนจะคงตวั ระดบัพลงังานของวงโคจรที่ n เรียก

En อิเลก็ตรอนที่มีคา่ n ตํ่า จะมีพลงังานตํ่าสถานะของอะตอม

ที่มีระดบัพลงังานตํ่าสดุเรียกว่าสถานะพืน้ (ground state)

ส่วนสถานะอื่นๆ ทีมีพลังงานสูงกว่าเรียกว่าสถานะกระตุ้ น

(excited state)

Page 24: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

2. เมื่ออิเลก็ตรอนเปลี่ยนวงโคจรจะมีการดดูกลืนหรือ

เปลง่รังสแีมเ่หลก็ไฟฟ้า วงโคจรของอิเลก็ตรอนที่มีคา่ n1 จะมี

พลงังานน้อยกวา่ n2ดงันัน้ E1 < E2

ดูดพลังงาน

คายพลังงาน

www.bwc.ac.th/stuchem44/m4/pp03/page2.htm

Page 25: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

* การเปลีย่นวงโคจรจาก n1 ไปสูว่งโคจร n2 จะเป็นการ

ดดูกลนืรังส ี

* การเปลีย่นวงโคจรจาก n2 ไปสูว่งโคจร n1 จะเป็นการ

เปลง่รังสเีนื่องจาก DE = hu ดงันัน้ความถี่(u) ของรังสทีี่

เปลง่ออกมาจะมีคา่สงูหรือตํ่าจะขึน้อยูก่บัผลตา่งของระดบั

พลงังานทัง้สอง( DE) บอห์รได้เสนอสตูรสาํหรับหา En โดย

อาศยักฎทางกลศาสตร์และไฟฟ้าดงันี ้

Page 26: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

En = -(2p2meZ2e4) /n2h2

me คือ มวลของอิเลก็ตรอน (9.11 x 10-28g)

e เป็นประจขุองอิเลก็ตรอน (4.8 x 10-10 esu) z เป็นเลขอะตอมมิกของไฮโดรเจน (1) h คือคา่คงที่ของพลงัค์ (6.62 x 10-27 erg-sec)

เมื่อแทนคา่ me, e, z, h ที่อยูใ่นวงเลบ็ คา่ในวงเลบ็คือ

2.18 x 10 -11 erg หรือ 13.6 eV หรือ 1311.65 kJ mol-1

สตูรของบอห์ร สาํหรับหารัศมีของวงโคจรอิเลก็ตรอนที่มีเลข

ควอนตมั n คือ

Page 27: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

r = n2a0

a0 = คา่คงที่เรียกวา่ รัศมีของบอห์ร (Bohr radius)

= h2/4p2 mee2 =0.529 Ao อิเลก็ตรอนที่เคลือ่นที่รอบ

นิวเคลยีสที่ระดบัพลงังาน n = 1 จะมีพลงังานตํ่าสดุ

(มีคา่เป็นลบ) เมื่อ n มีคา่สงูขึน้จนกระทัง่ n = infinity จะมี

พลงังานสงูสดุคือ เทา่กบัศนูย์

สตูรของบอห์ร สาํหรับหารัศมีของวงโคจรอิเลก็ตรอนที่มี

เลขควอนตมั n คือ

Page 28: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

แบบจาํลองอะตอมตามทฤษฎีอะตอมของบอห์ร

มีลักษณะดงัรูป

www.bwc.ac.th/stuchem44/m4/pp03/page4.html

Page 29: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

จุดอ่อนทฤษฎีของบอห์รและการค้นคว้าหาทฤษฎีใหม่

ทฤษฎีของบอห์รใช้อธิบายได้กบัสเปกตรัมของอะตอม

หรือไอออนที่มีเพียง 1 อิเลก็ตรอน เช่น H, He+, Li+ แตใ่ช้

อธิบายสเปกตรัมทัว่ไปที่มีหลายอิเล็กตรอนไม่ได้ นอกจากนัน้

ตามทฤษฎีของบอห์รจะอธิบายโครงสร้างของอะตอมในระดบั

สองมิติเท่านัน้ นักวิทยาศาสตร์จึงค้นคว้าทดลองหาข้อมูล

ตา่งๆ เพื่อใช้อธิบายโครงสร้างของอะตอมให้ถกูต้องยิ่งขึน้

Page 30: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ผลงานที่สาํคญัที่ทําให้เข้าใจเกี่ยวกบัพฤติกรรมของ

อิเลก็ตรอนที่จะนําไปสูค่วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบัอะตอม

มากขึน้ คือ ผลงานของเดอบรอยล์ (Louis de Bröglie)

เกี่ยวกบัหลกัทวิภาพ อนภุาค-คลื่นของสาร และของไฮเซน

เบิร์ก (Werner Heisenberg) เกี่ยวกบัหลกัความไม่

แนน่อน (uncertainty principle)

Page 31: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

สเปกตรัม

การเปลง่รังสขีองวตัถรุ้อน

จดุเริ่มต้นของทฤษฎีควอนตมั

ปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ตริก

Page 32: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

แสงเป็นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าความยาวคลื่น หรือ ความถี่

ตา่งๆกนั รังสีที่มีพลงังานสงูจะมีความยาวคลื่นสัน้ สว่นรังสีที่มี

พลงังานตํ่ามีความยาวคลื่นยาวรังสีในช่วงที่ตาคนมองได้ (แสง

ขาว) มีความยาวคลืน่ 400 nm ถงึ 700 nm

การเปล่งรังสีของวัตถุ

Page 33: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

เมื่อนําแสงขาวมาผ่านปริซึมจะเกิดการหกัเหของ

แสงได้สเปกตรัมของแสง ซึง่มีสีเรียงตามลําดบัจากความ

ยาวคลื่นสัน้ไปหายาว คือ ม่วง นํา้เงินเขียว เหลือง ส้ม

แดง เหมือนสรีุ้ง

นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาเกี่ยวกับการเปล่งรังสีของ

วัตถุร้อนพบว่า เมื่อให้ความร้อนแก่โลหะต่างๆ จะมีการ

เปล่งรังสีออกมาเป็นแสงสีต่างๆ ขึน้กับความร้อนที่ให้แก่

แท่งเหล็ก แสดงว่าอะตอมของโลหะ สามารถเปล่งแสง

ออกมาเมื่อได้รับความร้อน

Page 34: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ในคริสตศตวรรษที่ 19 ปรากฏการณ์เกี่ยวกบัการแผ่รังสี

ความร้อนสรุปได้ 2 ประการ คือ

ถ้าให้ความร้อนแก่วตัถมุาก วตัถนุัน้จะเปล่งรังสีออกมา

มากด้วย ทัง้ในรูปของความร้อนและแสงความเข้มของรังสี

ขึน้กบัอณุหภมูิของวตัถ ุเช่น ถ้าเพิ่มอณุหภมูิเป็นสามเทา่ ความ

เข้มอาจเพิ่มขึน้ถงึ 100 เทา่

Page 35: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

นกัวิทยาศาสตร์พยายามจะเข้าใจปรากฏการณ์ของ

รังสคีวามร้อน และผลจากการทดลองนี ้เพื่อให้สะดวกจงึ

ตัง้แบบจําลอง โดยสมมติให้วตัถุที่ใช้ศึกษาเป็นชนิดที่ดูด

และคายรังสีความร้อนได้ดีที่สุด นั่นคือต้องเป็น วัตถุดํา

(black body)

สี (หรือชนิด) ของรังสีที่วัตถุเปล่งออกมาขึน้อยู่กับ

อุณหภูมิ เช่น ถ้าเราใช้ไฟเผาแท่งเหล็กซึ่งเดิมมีสีคลํา้ แต่

เมื่อเผาไฟไปนานพอ เหล็กจะเริ่มเปล่งรังสีสีแดงถ้าเผาให้

ร้อนขึน้กวา่นัน้จะเป็นสีส้มและสีเหลือง และในที่สดุจะเป็นสี

ขาว

Page 36: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ทฤษฎีที่ว่าด้วยวตัถดุําในยคุแรกนัน้เป็นผลงานของเรย์

เลห์ (Rayleigh) จีนส์ (Jeans) เคอร์ชฮอฟฟ์(Kirchhoff) และ

วีน(Wien) ซึ่งใช้ทฤษฎีคลาสสิกของฟิสิกส์อธิบาย โดย

พิจารณาวา่แสงเป็นคลืน่แมเ่หลก็ไฟฟ้าและถกูเปลง่ออกมา

เนื่องจากการสั่นสะเทือนของวัตถุที่มีประจุคือ อิเล็กตรอน

เนื่องจากอิเล็กตรอนจะสั่นด้วยความถี่เท่าใดก็ได้ไม่จํากัด

ดงันัน้รังสีที่เปล่งออกมาจากวตัถุดําที่ร้อน (ไม่ว่าจะอยู่ในรูป

ของแสงหรือความร้อน) จึงน่าจะมีความถี่เป็นค่าตอ่เนื่อง เมื่อ

คํานวณความเข้มและพลงังานของแสงที่มีความถี่ตา่งๆ

Page 37: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

โดยหาจํานวนอิเล็กตรอนในอะตอมที่สัน่สะเทือนด้วย

ความถี่นัน้ๆเสียก่อน ก็ปรากฏว่าผลการคํานวณไม่ตรงกบัผล

การทดลอง และไม่สามารถอธิบายได้วา่เหตใุดวตัถทุี่อณุหภมูิ

หนึ่งจึงเปล่งแสงที่มีความเข้มสงูสดุในช่วงความถี่หนึ่งเท่านัน้

นอกจากนีจ้ากทฤษฎีของเรย์เลห์และจีนส์ จะพบวา่ยิ่งความถี่

ของแสงที่เปลง่ออกมาสงูขึน้ ความเข้มของแสงก็ยิ่งสงูขีน้ไม่มี

ขอบเขตจํากดั ซึง่เป็นไปไมไ่ด้ในทางปฏิบตัิ

Page 38: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

จุดเริ่มต้นของทฤษฎีควอนตมั

แมกซ์ พลงัค์ ได้เสนอทฤษฎีควอนตมั (quantum theory)

และอธิบายเกี่ยวกับการเปล่งรังสีว่า รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปล่ง

ออกมามีลกัษณะเป็นกลุม่ๆ ซึง่ประกอบด้วยหน่วยเลก็ๆเรียกวา่

ควอนตมั (quantum) ขนาดของควอนตมัขึน้กบัความถี่ของรังส ี

และแตล่ะควอนตมัมีพลังงาน(E)โดยที่ E เป็นปฏิภาคโดยตรง

กบัความถี่(u) ดงันี ้

E = hu

Page 39: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

เมื่อ

E = พลงังานหนึง่ควอนตมัแสง (J) h = คา่คงที่ของพลงัค์ (6.62 x 10-34 Js)u = ความถี่ (s-1)

จากทฤษฎีควอนตมันี ้กลุม่ของอะตอมที่สัน่ด้วยความถี่

สงูจะเปลง่แสงที่มีพลงังานสงูๆ เทา่นัน้ ที่อณุหภมูิหนึง่ๆ โอกาส

ที่จะพบอะตอมที่สัน่สะเทือนด้วยความสงูมากๆ หรือตํ่ามากๆ

นัน้มีน้อย ดงันัน้ความเข้ม

Page 40: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

(ซึ่งขึน้กับพลงังานและจํานวนอะตอม)ของพวกที่มีความถี่

ดงักลา่วจงึน้อยกวา่ ซึง่ตรงกบัผลการทดลองที่กราฟเส้นโค้ง

ลดลงในบริเวณที่มีความถี่สงูมาก และตํ่ามากหรือถ้าคิดเป็น

ความยาวคลื่นก็กลบักนั) นอกจากนี ้แม้อะตอมตา่งๆ จะสัน่

ด้วยความถี่ต่างกัน จะมีความถี่ค่าหนึ่งที่เป็นของอะตอม

ส่วนใหญ่ ความถี่ค่านีเ้ พิ่มขึน้เมื่ออุณหภูมิสูงขึน้ ซึ่งใช้

อธิบายการเปลีย่นจดุสงูสดุของกราฟกบัอณุหภมูิได้

Page 41: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ตริก

เมื่อแสงที่มีความถี่เหมาะสมตกกระทบผิวหน้าของ

โลหะ จะมีอิเลก็ตรอนหลดุออกมา ปรากฏการณ์นีเ้รียกวา่

ปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ตริก และเรียกอิเลก็ตรอนนัน้วา่โฟ

โตอิเลก็ตรอน จากการศกึษาอยา่งละเอียดพบวา่

Page 42: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

1. โฟโตอิเล็กตรอนจะเกิดขึน้ก็ต่อเมื่อแสงตกกระทบมี

ความถี่สูงกว่าค่าหนึ่งซึ่งเป็นค่าจําเพาะสําหรับสารนัน้ๆ

ความถี่ตํ่าสดุที่ทําให้เกิดโฟโตอิเล็กตรอนได้นีเ้รียกว่า ความถี่

ขีดเริ่ม (threshold frequency)

2. ถ้าใช้แสงที่มีความถี่สูงกว่าความถี่ขีดเริ่ม พลงังาน

สว่นที่เกินนีจ้ะไปทําให้โฟโตอิเล็กตรอนมีพลงังานจลน์เพิ่มขึน้

ปรากฏว่าพลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนไม่ขึน้กับ

ความเข้มของแสงนัน้ๆแตข่ึน้กบัความถี่

Page 43: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

3. จํานวนโฟโตอิเลก็ตรอนขึน้กบัความเข้มของแสง

ถ้าลดความเข้มของแสงลง จํานวนโฟโตอิเลก็ตรอนจะ

ลดลงด้วย

ผลข้อ 2 ขดักบัทฤษฎีคลาสสกิของฟิสกิส์อยา่งยิ่ง

เพราะตามทฤษฏีดงักลา่ว พลงังานของโฟโตอิเลก็ตรอนควร

จะขึน้อยูก่บัความเข้มของแสงโดยตรง สว่นผลข้อ 3 นัน้

ทฤษฎีคลาสสกิอธิบายไมไ่ด้เลย

Page 44: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

ในปี ค.ศ.1905 อลัเบิร์ต ไอน์สไตน์(Albert Einstein)

สามารถอธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ตรอนนีไ้ด้อยา่งถกูต้อง

เขาเสนอวา่แสงควรมีคณุสมบตัิเป็นอนภุาคได้ด้วย เรียกวา่ โฟ

ตอน(photon) และใช้ทฤษฏีของพลงัค์กําหนดคา่พลงังาน

ของโฟตอนนัน้

Page 45: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

กลา่วคือ อนภุาคแสง 1 โฟตอนที่มีความถี่u มีพลงังาน

Eu = hu คิดเป็น 1 ควอนตมั คา่พลงังานของโฟตอนเป็นคา่

เฉพาะสําหรับแสงที่มีความถี่หนึง่ๆ เทา่นัน้ ดงันัน้พลงังานของ

1 ควอนตมัของแสงสีแดง 1 โฟตอน มีค่าน้อยกว่าพลงังาน

1 ควอนตมัของแสงสีนําเงิน 1 โฟตอน (แสงสีนํา้เงินมีความถี่

สงูกวา่)

Page 46: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

คําอธิบายของไอน์สไตน์สําหรับผลการทดลองแต่ละข้อ

เป็นดงันี ้

1. ปัญหาของความถี่ขีดเริ่ม

การที่จะดงึอิเลก็ตรอนให้หลดุออกมาจากผิวหน้าโลหะได้

ต้องใช้พลังงานอย่างน้อยที่สุดเท่ากับแรงดึงดูดที่โลหะมีต่อ

อิเลก็ตรอนนัน้ จากทฤษฎีของพลงัค์ พลงังานของแสงแตล่ะชนิด

ขึน้อยู่กับความถี่ ดงันัน้ถ้าเขียนแทนความถี่ตํ่าสดุว่า umin และ

แรงดงึดดูของอิเลก็ตรอนวา่ W (work function) ดงันัน้

W = hu min

Page 47: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

2. ปัญหาพลงังานจลน์สงูสดุของโฟโตอิเล็กตรอน

จากแสงชนิดหนึง่ๆ

ถ้าเราใช้แสงที่มีความถี่ u พลงังานของแสงคือ hu

( u มากกว่า umin สว่นที่เหลือจะใช้เป็นพลงังานของ

อิเลก็ตรอนนัน้) ดงันัน้

พลังงานจลน์ของอเิลก็ตรอน = h( u- umin)

uminมีคา่คงที่สาํหรับโลหะชนิดหนึง่ๆ ดงันัน้พลงังานจลน์

สงูสดุจงึแปรผนัโดยตรงกบั u

Page 48: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

3. ปัญหาความเข้มของแสงกับจาํนวนโฟโตอเิลก็ตรอน

เนื่องจากความเข้มของแสงขึน้อยูก่บัพลงังานของแสง

โดยตรง (ความเข้ม คือ พลงังานตอ่หนว่ยพืน้ที่ตอ่หนว่ยเวลา)

ถ้าให้พลงังานของแสงทัง้หมดที่ตกกระทบตอ่หนึง่หนว่ยพืน้ที่

ของผิวหน้าโลหะเป็น Er

ดงันัน้จํานวนโฟตอนที่ตกกระทบ = Et/hu

และ

จํานวนโฟตอนที่ตกกระทบตอ่ 1 วินาที = I/hu

Page 49: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

Et คือพลงังานของแสงทัง้หมดที่ตกกระทบ

hu คือ พลงังานของแสง 1 โฟตอน

I คือความเข้มของแสง

จากนีไ้อน์สไตน์ให้ข้อสมมตุิฐานที่สาํคญัอีกข้อหนึง่วา่

"1 โฟตอนจะทําให้เกิด 1 โฟโตอิเลก็ตรอนเทา่นัน้“

จํานวนโฟโตอิเลก็ตรอน a จํานวนโฟตอน a ความเข้มของแสง

ผลงานของไอน์สไตน์ชิน้นีเ้ป็นจดุเริ่มต้นของความคิด

ที่วา่แสงมีสมบตัิเป็นอนภุาคที่เรียกวา่ โฟตอน นอกเหนือจาก

ความเป็นคลืน่ตามที่เคยทราบกนัมาแตก่่อน

Page 50: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

สมมุตฐิานของเดอบรอยล์ ( ลักษณะทวภิาค )

เดอบรอยล์ ได้ เสนอแนวความคิดว่าสารทุกชนิด

นอกจากจะเป็นอนภุาคแล้วยงัมีสมบตัิความเป็นคลื่นอยู่ในตวั

ด้วย และสามารถยกตวัอย่างของสารที่แสดงสมบตัิเป็นคลื่น

ที่มีระดบัพลงังานเป็นช่วงๆ (quantized energy level)นัน่คือ

การสัน่ของเชือกที่ปลายทัง้สองข้างไม่เคลื่อนที่ เชือกหรือลวด

พวกนีส้ามารถสัน่ด้วยความถี่บางคา่เทา่นัน้

(ดงัที่นิยมเรียกกันว่าความถี่ขัน้มลูฐานและโอเวอร์โทนต่างๆ)

และการสัน่แบบนีอ้ยูใ่นลกัษณะของ คลืน่นิ่ง (standing wave)

Page 51: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

เดอบรอยล์ศกึษางานของไอน์สไตน์ในเรื่องของ สมบตัิทวิภาค

(อนภุาค-คลื่น)ของแสง และเสนอว่าสมบตัินีใ้ช้กบัสารอื่นๆได้

ด้วย เขาหาความสมัพนัธ์ได้ดงัตอ่ไปนี ้

เนื่องจาก

E = huแต่

u = c/l

และจากทฤษฎีสมัพนัธภาพ

E = cp

Page 52: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

เมื่อ p หมายถงึ โมเมนตมัของอนภุาค และ c เป็นความเร็ว

ของแสง ดงันัน้

hc/l=cp

หรือ

l = h/p = h/mv

ความยาวคลืน่ที่เป็นไปตามนีน้ิยมเรียกกนัวา่ ความยาวคลืน่

ของเดอบรอยล์

Page 53: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

อนภุาคตวัแรกที่แสดงสมบตัิความเป็นคลื่นโดยศึกษา

ได้จากการทดลอง คือ อิเล็กตรอนซึ่งเป็นผลงานของ ซี เดวิส

สนั (C. Davisson) และ แอล เอช เกอร์เมอร์ (L.H. Germer)

และผลงานของ จี พี ทอมสนั (G.P.Thompson) บตุรชายของ

เจ เจ ทอมสัน ซึ่ ง ไ ด้ทดลองศึกษาการ เ ลี ย้ว เบนของ

ลําอิเล็กตรอน และพบว่ามีสมบตัิการเลีย้วเบนคล้ายกับรังสี

เอ็กซ์มากกว่าความยาวคลื่นของลําอิเล็กตรอนก็ตรงกับที่

คํานวณได้จากสมการ l = h/p ด้วย

Page 54: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

นอกจากนี ้อนภุาคตวัอื่นที่แสดงสมบตัิของคลื่นก็มี

อีก เช่น นิวตรอน การเลีย้วเบนของทัง้อิเล็กตรอนและ

นิวตรอนนัน้ ต่อมาได้ใช้เป็นเทคนิคที่สําคญัในการศกึษา

โครงสร้างของสารทั่วไปทัง้ของแข็งที่เป็นผลึผง และ

ของเหลว ในปัจจุบันได้นําเทคนิคดังกล่าวมาศึกษา

โครงสร้าง 3 มิติ ของสารประกอบทางชีววิทยา เช่น

โปรตีน

Page 55: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

แนวความคิดของเดอบรอยล์นีไ้ด้นําไปอธิบายสมบัติ

ของอิเล็กตรอนในทฤษฎีของบอห์รด้วยว่า การที่อิเล็กตรอน

เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็นวงโคจรที่เสถียรนัน้ ถ้าพิจารณาใน

แง่ความเป็นคลื่นแล้ว หมายความว่าอิเล็กตรอนมีสมบตัิเป็น

คลื่นนิ่งเท่านัน้ ซึ่งจะต้องเป็นไปตามความสัมพันธ์ที่ว่า

ความยาวของเส้นรอบวงของวงโคจรของอนุภาคอิเล็กตรอน

จะต้องเท่ากับ จํานวนเท่าของความยาวช่วงคลื่นของ

อิเลก็ตรอนนัน้ นัน่คือ 2pr = nl

(n ต้องเป็นเลขจํานวนเตม็)

Page 56: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

จากสมมตุิฐานของบอห์ร

mvr = nh/2p

หรือ

2pr = nh/mv

www.bwc.ac.th

Page 57: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

เราก็จะได้

l = h/mv

เชน่กนั

จากสมมตุิฐานของบอห์ร

mvr = nh/2p

หรือ

2pr = nh/mv

Page 58: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบริ์ก

ในปี ค.ศ.1927 ไฮเซนเบิร์ก เสนอหลกัวา่เราไมส่ามารถ

รู้ตําแหนง่ที่อยูแ่ละ โมเมนตมัของอิเลก็ตรอนได้อยา่เที่ยงตรง

พร้อมๆกนัได้ เชน่ ถ้าวดัหาตําแหนง่ได้อยา่งแนน่อนแล้ว คา่

ของโมเมนตมัที่วดัออกมาพร้อมๆกนันัน้จะไมแ่นน่อนอยา่งยิ่ง

ถ้าเขียนเป็นสตูรโดยให้ Dx เป็นความไมแ่นน่อนในการวดั

ตําแหนง่ตามแนวแกน x และให้ D px เป็นความไมแ่นน่อน

สาํหรับคา่โมเมนตมัเชิงเส้นตรงในทิศทาง x แล้ว หลกัของไฮ

เซนเบิร์กก็คือ

Dx D px > h/4p

Page 59: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

เราอาจเข้าใจความหมายทางฟิสิกส์ของสูตรนีไ้ด้ดงันี ้

คือ ในการวดัหาตําแหน่งที่อยู่ของสาร คือ ถ้าสารนัน้ใหญ่พอ

เราอาจใช้เครื่องมือปกติที่อ่านค่าออกมาได้ทันทีโดยไม่

เปลี่ยนแปลงสมบตัิของสารนัน้มากนกั แตถ่้าสารเลก็มากๆจน

มองด้วยตาเปลา่ไมไ่ด้ เชน่

Page 60: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

อิเลก็ตรอน เราจําเป็นต้องใช้วิธีอื่นช่วย เช่น ใช้ลําแสง

เป็นตัวค้นหาอิเล็กตรอนนัน้ (เมื่อผ่านลําแสงเข้าไปพบ

อิเลก็ตรอน เราจําเป็นต้องใช้วิธีอื่นชว่ย เชน่ ใช้ลาํแสงเป็นตวั

ค้นหาอิเล็กตรอนนัน้ (เมื่อผ่านลําแสงเข้าไปพบอิเล็กตรอน

ลําแสงอาจกระจายหรือเปลี่ยนสมบัติของทิศทางการ

เคลือ่นที่ไป) และเนื่องจากอิเลก็ตรอนมีขนาดเลก็มาก

Page 61: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

แสงที่ใช้จําเป็นต้องมีความยาวคลื่นสัน้ขนาดเดียวกบั

ขนาดของอิเล็กตรอนนัน้ (ถ้าความยาวคลื่นใหญ่เกินไปการ

กระจายอาจไม่เป็นที่สงัเกตเห็นได้) แต่ในขณะเดียวกัน เรา

อาจพิจารณาว่าแสงเป็นอนุภาคคือ โฟตอนเคลื่อนที่ไป เมื่อ

พบอิเลก็ตรอนก็เกิดชน(collision)กนั ซึง่อาจมีการแลกเปลี่ยน

โมเมนตัมด้วย ถ้าโฟตอนมีโมเมนตัมสูงก็อาจถ่ายเทให้

อิเลก็ตรอนนัน้ได้มาก

Page 62: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

จากความสมัพนัธ์ของเดอบรอยล์ ความยาวคลื่นเป็น

สดัส่วนผกผนักบัโมเมนตมัของสาร ถ้าความยาวคลื่นสัน้มาก

แสดงว่าโฟตอนนัน้มีโมเมนตัมสูงมาก เมื่อโฟตอนขนกับ

อิเล็กตรอน ถ้าการถ่ายเทโมเมนตมัมีเป็นจํานวนมาก ก็จะทํา

ให้โมเมนตมัเดิมของอิเลก็ตรอนมีการเปลีย่นไปมากเชน่กนั

การที่จะหาเส้นทางเดินของวตัถุใดก็ตามได้ จะต้อง

ทราบตําแหน่งและโมเมนตมั (ผลคณูของมวลและความเร็ว)

ของวตัถนุัน้ที่จดุใดๆทัง้สองอยา่ง

Page 63: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

กลศาสตร์คลื่น

ผลงานของเดอบรอยล์และไฮเซนเบิ ร์กได้นําไปสู่

แนวความคิดของการสร้างทฤษฎีใหม่ขึน้มาสําหรับอธิบาย

เกี่ยวกบัอิเลก็ตรอนในอะตอมดงันี ้

อาศยัสมบตัิความเป็นคลื่นของอิเล็กตรอน จึงวิเคราะห์

หาสมบตัิตา่งๆของอิเลก็ตรอนโดยการสร้างสมการคลื่น (wave

equation) แล้วแก้สมการเพื่อหาคา่ตา่งๆ ออกมา

Page 64: ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั - rmutphysics · 2013-09-05 · ทฤษฎีอะตอมของดาลต นั แบบจําลองอะตอมของทอมส

เนื่องจากอิเลก็ตรอนมีขนาดเลก็มาก สมบตัิตา่งๆ

ของอิเลก็ตรอนจะวดัได้ในระดบัโอกาส หรือความน่าจะ

เป็น (probability) ที่จะพบอิเล็กตรอนที่บริเวณต่างๆ

รอบนิวเคลียส หรือความหนาแน่นของอิเล็กตรอน

(electron density) ที่บริเวณตา่งๆรอบนิวเคลยีส