(kingdom animalia) 4 - saard kmkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ...

22
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง รหัสวิชา 30245 รายวิชาชีววิทยา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที1 ความหลากหลายทางชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีท6 แผนการจัดการเรียนรู้ที7 เรื่ออาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) เวลา 4 ชั่วโมง ********************************************* 1. มาตรฐาน / ผลการเรียนรูว1.2 ม.4 -6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม ว8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ผลการเรียนรู1. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบ อภิปราย และสรุป ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันของ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรต่างๆ 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และนาเสนอ คุณค่าของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับการใช้ ประโยชน์ของมนุษย์ ที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 2. สาระสาคัญ อาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) สัตว์ เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์จึงไม่สามารถ สร้างอาหารได้เอง และมีระยะตัวอ่อน (EMBRYO) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดังนี1. ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA)สัตว์ที่ลาตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน้2. ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria) สัตว์ที่มีลาตัวกลวง ระบบประสาทเป็นแบบร่างแหประสาท (NERVE NET) ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปังหา และไฮดรา 3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES) หนอนตัวแบนเป็นสัตว์กลุ่มแรกที่มี เนื้อเยื่อ 3 ชั้น ได้แก่ พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด และพลานาเรีย 4. ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATODA) หนอนตัวกลม ไม่มีปล้อง เคลื่อนที่ด้วยการเอี้ยวตัว สลับกันไปมา ได้แก่ พยาธิตัวกลมต่างๆ เช่น พยาธิไส้เดือน ไส้เดือนฝอย และหนอนในนาส้มสายชู 5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA) หนอนปล้องเป็นพวกแรกที่มีระบบเลือดแบบปิด ขับถ่าย โดยเนฟริเดียม (NEPRIDIUM) ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ทากดูดเลือด และปลิงนาจืด

Upload: others

Post on 24-Dec-2019

25 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง รหัสวิชา ว30245 รายวิชาชีววิทยา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายทางชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง อาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA)

เวลา 4 ชั่วโมง *********************************************

1. มาตรฐาน / ผลการเรียนรู้

ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

ว8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กัน

ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล ส ารวจตรวจสอบ อภิปราย และสรุป ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันของ

สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรต่างๆ 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และน าเสนอ คุณค่าของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับการใช้ ประโยชน์ของมนุษย์ ที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

2. สาระส าคัญ อาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) สัตว์ เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์จึงไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง และมีระยะตัวอ่อน (EMBRYO) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดังนี้ 1. ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA)สัตว์ที่ล าตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน้ า 2. ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria) สัตว์ที่มีล าตัวกลวง ระบบประสาทเป็นแบบร่างแหประสาท(NERVE NET) ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปังหา และไฮดรา 3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES) หนอนตัวแบนเป็นสัตว์กลุ่มแรกท่ีมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ได้แก่ พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด และพลานาเรีย 4. ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATODA) หนอนตัวกลม ไม่มีปล้อง เคลื่อนที่ด้วยการเอ้ียวตัวสลับกันไปมา ได้แก่ พยาธิตัวกลมต่างๆ เช่น พยาธิไส้เดือน ไส้เดือนฝอย และหนอนในน้ าส้มสายชู 5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA) หนอนปล้องเป็นพวกแรกที่มีระบบเลือดแบบปิด ขับถ่ายโดยเนฟริเดียม (NEPRIDIUM) ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ทากดูดเลือด และปลิงน้ าจืด

Page 2: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

6. ไฟลัมอาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA) สัตว์ที่มีขาและรยางค์อ่ืนๆ ต่อกันเป็นข้อๆ เป็นสัตว์กลุ่มใหญ่ท่ีสุดในอาณาจักรสัตว์ ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู แมลง ตะขาบ กิ้งกือ เป็นต้น 7. ไฟลัมมอลลัสกา(PHYLUM MOLLUSCA) สัตว์ที่มีล าตัวอ่อนนุ่ม ได้แก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ 8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA) สัตว์ที่ผิวหนังมีหนามขุรขระ ได้แก่ ดาวทะเล เม่นทะเล เหรียญทะเล ปลิงทะเล ดาวเปราะ 9. ไฟลัมคอร์ดาตา (PHYLUM CHORDATA) สัตว์ที่มีแกนกลางของร่างกายสัตว์ในไฟลัมนี้มีลักษณะร่วมกัน 3 ประการคือ 1. มีแท่งโนโตคอร์ด(NOTOCHORD) อย่างน้อยชั่วระยะหนึ่งชองชีวิต 2. มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวอยู่ทางด้านหลัง 3. มีอวัยวะส าหรับแลกเปลี่ยนก๊าซท่ีบริเวณคอหอย(หรืออาจเปลี่ยนแปลงไปเป็นอวัยวะอ่ืนเช่น ปอด) สัตว์กลุ่มนี้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ 1. PROTOCHORDATE เป็นสัตว์ทะเลทั้งสิ้น ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่มีโนโตคอร์ดเป็นแกนกลางของร่างกาย ได้แก่เพรียงหัวหอม และ AMPHIOXUS 2. VERTEBRATE ได้แก่สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังทั้งหมด ได้แก่ - CLASS OSTEICTHYES ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง เช่น ปลาหมอ ปลาทู ม้าน้ า - CLASS CHONDRICTHYES ได้แก่ ปลากระดูกอ่อน เช่น ปลาฉลาม ปลากระเบน - CLASS AMPHIBIA ได้แก่สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ า เช่นกบ ซาลามานเดอร์ งูดิน - CLASS REPTLIA ได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน เช่น งู จระเข้ กิ้งก่า เต่า - CLASS AVES ได้แก่ สัตว์ปีกต่างๆ เช่น นก เป็ด ไก่ - CLASS MAMMALIA ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น วาฬ โลมา ช้าง ม้า วัว ลิง

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นและอธิบาย อภิปรายเกี่ยวกับอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) (K) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) (P)

3. ตระหนักถึงความส าคัญของอาณาจักรฟังไจ (KINGDOM FUNGI)กับการด ารงชีวิตของมนุษย์ (A) 4. น าความรู้เรื่องอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน (A)

4. สาระการเรียนรู้

1. ความหมายของอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 3. ประโยชน์ของอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 5. สมรรถนะส าคัญ

Page 3: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

1. ความสามรถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลย ี 4. ความสามารถในการแก้ปัญหา 5. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. อยู่อย่างพอเพียง 3. มุ่งม่ันในการท างาน 4. มีวินัย 7. ชิ้นงาน / ภาระงาน ชิ้นงาน : สมุดบันทึก จัดนิทรรศการ ภาระงาน : ใบงานที่ 1 อาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) รายงานอาณาจักร

สัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้

กิจกรรมน าสู่การเรียน 1. ขั้นสร้างความสนใจ

1.1 ให้นักเรียนสังเกตภาพสายวิวัฒนาการของอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 1.2 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA)

ร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิต และความหลากหลายของพืช รวมทั้งผลที่เกิดขึ้นกับมนุษย์และการน าไปใช้ประโยชน์ 1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งค าถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2. ขั้นส ารวจและค้นหา

2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน 2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นและทดลองลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิต และความ

หลากหลายของอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิตและความ

หลากหลายของอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA)

Page 4: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการสืบค้นและทดลองลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิต

และความหลากหลายของอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นและผลการทดลองเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด

3.3 ครูตั้งค าถามว่า - สัตว์มีวิวัฒนาการมาอย่างไร - สัตว์ควรมีลักษณะอย่างไรจึงจะเหมาะส าหรับการด ารงชีวิต - เหตุใดสัตว์ในไฟลัมฟลอริดาจึงไม่วิวัฒนาการมาด ารงชีวิตบนบก - สัตว์ในไฟลัมไนดาเรียมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศในทะเลอย่างไร - เหตุใดพบาธิตัวตืดจึงไม่มีทางเดินอาหาร

- สัตว์ไฟลังมอลลัสคากลุ่มใดที่มีการปรับตัวมาอยู่บนพ้ืนดิน - จงแสดงวัฏจักรของสัตว์ไฟลัมนีมาโทดามา 1 ชนิด พร้อมพิษภัยจากสัตว์ไฟลัมนี้ - ลักษณะใดที่ท าให้สัตว์ไฟลัมอาโทรโพดาประสบความส าเร็จในการอาศัยอยู่บนบก - การเพ่ิมจ านวนของแมลงน่าจะมีผลต่อวิวัฒนาการของพืชดอกหรือไม่ อย่างไร - จงยกตัวอย่างการก าจัดแมลงศัตรูพืชด้วยการควบคุมแบบชีววิธ ีและวิธีนี้มีประโยชน์ต่อระบบนิเวศอย่างไร - การรับประทานหูฉลามจะมีผลกระทบต่อระบบนิเวศในทะเลอย่างไร - ปลากระดูกอ่อนกับปลากระดูกแข็งแตกต่างกันอย่างไร - สาเหตุใดที่ท าให้สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบกลดลงอย่างรวดเร็วใน 30 ปีที่ผ่านมา - สัตว์เลื้อยคลานมีประโยชน์อย่างไรบ้าง - นกในท้องถิ่นของนักเรียนมีนกอะไรบ้าง นกเหล่านี้มีความส าคัญต่อระบบนิเวศอย่างไร - สัตว์กลุ่มไพรเมตมีลักษณะใดบ้างที่แตกต่างจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกลุ่มอ่ืน

- ลิงโลกเก่ากับลิงโลกใหม่ได้แก่อะไรบ้าง 3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการสืบค้นและศึกษา ก าเนิด ลักษณะ รูปร่าง การ

ด ารงชีวิต และความหลากหลายของสัตว์ กิจกรรมรวบยอด 4. ขั้นขยายความรู้ 4.1 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอแนวคิดต่อไปนี้ - การอนุรักษ์แมงดาทะเล - ข้อดี ข้อเสีย และข้อน่าสนใจของแมลง (PMI) - การแก้ปัญหาการลดลงของปลากระดูกแข็ง

Page 5: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

4.2 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาโจทย์เกี่ยวกับอาณาจักร

สัตว์ (KINGDOM ANIMALIA)

4.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการน าความเข้าใจเกี่ยวกับอาณาจักรสัตว์

(KINGDOM FUNGI) ไปใช้ประโยชน์

4.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเชื่อมโยงความคิดเกี่ยวกับการศึกษาอาณาจักร

สัตว์ (KINGDOM ANIMALIA)

5. ขั้นประเมินผล

5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดิม สิ่งที่ต้องการรู้ และ ขอบเขตเป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะท าอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพ่ือนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้นเพ่ิมเติม)

5.2 ให้นักเรียนท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย 5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน 5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จาก

เกณฑ์การให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพ่ิมเติม 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้

สื่อ 1. ใบงาน

2. ใบความรู้ เรื่อง อาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA)

3. แผนภาพสายวิวัฒนาการของอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 4. Power Point อาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA)

แหล่งเรียนรู้

1. ห้องสมุด 2. ฐานข้อมูล Internet http://www. members.thai.net/krusurnkru.main.htm 3. หนังสือเรียน รายวิชาเพ่ิมเติม ชีววิทยา เล่ม 5 4. ชุมชน

Page 6: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

10. วิธีการวัดและประเมินผล 1.) ด้านความรู้

จุดประสงค์ เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

1. K - ใบงานที่ 1 - แบบประเมินการท างานกลุ่ม

ผ่าน / ไม่ผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมิน 80%

2. P - แบบประเมินการน าเสนองาน

ผ่าน / ไม่ผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมิน 80%

3. A - แบบประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมินสมรรถนะ

ผ่านระดับดีข้ึนไป

11. การน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ 11.1 ผู้สอนน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จัดการเรียนรู้ 3 ห่วง ประเด็น

พอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกัน

เนื้อหาสาระ ก าหนดเนื้อหา ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเวลาและศักยภาพของนักเรียน

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุมาตรฐานตัวชี้วัด เพ่ือให้นักเรียนเกิด K : P : A สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

- จัดเตรียมเนื้อหาให้เหมาะสมกับเวลาและศักยภาพของนักเรียน - มีการเตรียมการสอนล่วงหน้า

กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมโดยการสืบค้นข้อมูลและน าเสนอที่เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน สอดคล้องกับเวลา งบประมาณในการท างาน

สอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนและชิ้นงานมีคุณภาพ พัฒนานักเรียนให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด

วิธีการสอนและกิจกรรมที่หลากหลาย สามารถปรับเปลี่ยนตามสภาพการณ์

Page 7: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

สื่อ / วัสดุอุปกรณ์ - ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน

นักเรียนได้ใช้สื่อในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้

- จัดสื่ออุปกรณ์ สื่อส ารองในการจัดการเรียนรู้ - มีวิธีการคิด ประดิษฐ์สื่ออย่างหลากหลาย

เวลา เวลาที่ก าหนดเหมาะสมกับภาระงาน / ชิ้นงานที่มอบหมาย

รูปแบบกิจกรรมส่งผลให้นักเรียนสามารถท าภาระงาน / ชิ้นงานได้ตามเวลาที่ก าหนด

ใช้เวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรมและเกิดความคุ้มค่า

การวัดและประเมินผล

ก าหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับภาระงาน ตัวชี้วัดและศักยภาพของนักเรียน

การวัดและประเมินผลสอดคล้อกับมาตรฐานและตัวชี้วัด สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

วางแผนติดตาม ประเมินผลการท างานของนักเรียนเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง

ความรู้ 1. ครูมีความรูในหลักสูตรและเนื้อหาสาระ 2. ครูมีความรู้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 3. ครูมีความรู้ในการใช้สื่อเทคโนโลยี

คุณธรรม 1. มีความรับผิดชอบ 2. มีความขยันหมั่นเพียรและอดทน 3. มีความพอเพียง

Page 8: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

11.2 ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ

หลักพอประมาณ หลักมีเหตุผล หลักการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี 1. ปฏิบัติหน้าที่ได้เหมาะสมตามศักยภาพ 2. ใช้เวลาในการสืบค้นข้อมูลเหมาะสม 3. ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการน าเสนอได้อย่างคุ้มค่า 4. ใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่าและประหยัด

1. วิเคราะห์อาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 2. รู้จักเลือกแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม 3. เลือกวิธีการน าเสนอข้อมูลได้เหมาะสม (เอามาจากจุดประสงค์) - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สมรรถนะ

1. ปฏิบัติหน้าที่ได้เหมาะสม ตามศักยภาพ 2. รู้จักการวางแผนการท างานอย่างเป็นระบบ 3. สักเรียนรู้จักการวางแผนในการใช้สื่อเทคโนโลยี

ความรู้

1. ความหมายของอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 3. น าความรู้เรื่องอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน 4. มีความรู้ด้านเทคโนโลยีในการสืบค้น / น าเสนอข้อมูล

คุณธรรม

1. รู้บทบาทและหน้าที่ของตนเอง 2. มีวินัยในการท างาน 3. ความรับผิดชอบ 4. มีความมุ่งม่ันในการท างาน 5. มีความซื่อสัตย์ 6. มีจิตสาธารณะ 7. มีเจตคติในการน าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการด าเนินชีวิต

Page 9: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

11.3 ประเมินผลลัพธ์ (K : P : A) ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลลัพธ์ อยู่อย่างพอเพียง สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ

วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้

(K) - ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการน าเสนอได้อย่างคุ้มค่า

- มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี - นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) ที่มีต่อสิงแวดล้อม

-

ทักษะ (P)

- มีกระบวนการในการสืบค้น น าเสนอข้อมูล - เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม

- มีทักษะในการท างาน / สืบค้น - มีความสามารถในการน าความรู้ไปร่วมกันแก้ปัญหา

- ใช้ประโยชน์จากอาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) ในสิ่งแวดล้อมอย่างระมัดระวังและคุ้มค่า

ด ารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

ค่านิยม (A)

- ตระหนักถึงผลที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยี - ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มคา่

- มีความรับผิดชอบต่อการท างานของกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน - มีความเสียสละ อดทน - เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน

การใช้แหล่งเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

Page 10: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

แบบบันทึกผลหลังสอน

ผลการจัดการเรียนรู้

ความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการ การมีส่วนร่วม ปัญหา / อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

ปัญหา / อุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

Page 11: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

ประมวลผลการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ด้านความรู้

นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ...........

ด้านทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ...........

ด้านคุณลักษณะอันพังประสงค์ นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... ลงชื่อ…………….……………….…………………..ผู้สอน (นางสาวพจนีย์ เคยสนิท) …………/……………./………… ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากที่สุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นางสาวกรวรรณ งามสม) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

Page 12: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

ความคิดเห็นของรองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากที่สุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นายนันธชัย แย้มโสพิศ) รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ

ความคิดเห็นของผู้อ านวยการ

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากที่สุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นายวินัย กรานมูล) ผู้อ านวยการโรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา

Page 13: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

ใบความรู้ เรื่อง ใบความรู้ เรื่อง

อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia) สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปีชีส์ ในจ านวนนี้เป็นแมลงประมาณ 6แสนชนิดสัตว์ถือเป็น สิ่งมีชีวิตที่มีความส าคัญต่อระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผลท าให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปยังผู้บริโภคระดับต่างๆนอกจากนี้สัตว์ยังเป็นตัวท าให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีความส าคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและก่อให้เกิดความสมดุลในธรรมชาติ สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์จึงไม่สามารถสร้างอาหารได้เองและมีระยะตัวอ่อน (EMBRYO) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดังนี้ 1. ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA) สัตว์ที่ล าตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน้ า ลักษณะส าคัญของสัตว์ใน Phylum Porifera - เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการต่ าสุด และ ไม่มีเนื้อเยื่อแท้จริง (Parazoa) - ตัวเต็มวัยเกาะกับที่ จึงไม่มี nervous system และ sense organ - มีทั้งอาศัยในน้ าจืดและน้ าเค็ม - มีสีสดใส (แดง ส้ม เหลือง ม่วง) เกิดจากรงควัตถุที่อยู่ในเซลล์ผิว - ฟองน้ าที่มีรูปร่างซับซ้อนน้อยที่สุดจะมีสมมาตรรัศมี แต่ฟองน้ าส่วนใหญ่ไม่มีสมมาตร - จะสร้าง Gemmule (แตกหน่อ)เวลาสภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม - มีโครงร่างแข็งค้ าจุน (Spicule ที่เป็นหินหรือแก้ว , Spongin ที่เป็นเส้นใยโปรตีน)

2. ไฟลัมซีเลนเทอราตา(PHYLUM COELENTERATA) ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปังหา และไฮดรา ลักษณะส าคัญของสัตว์ใน Phylum Coelenterata - ร่างกายประกอบด้วย เนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ Epidermis เเละ Gastrodermis - ระหว่างชั้นเนื้อเยื่อมีสารคล้ายวุ้นเรียกว่า Mesoglea เเทรกอยู่ - ล าตัวกลวงลักษณะเป็นถุงตันมีช่องเปิดช่องเดียวเรียกว่า gastrovascula cavity ท าหน้าที่เป็นทางเดินอาหารอาหารเข้า เเละกากอาหารออกทางช่องเปิดเดียวกัน

Page 14: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

- มีหนวดอยู่รอบปากเรียกว่า เทนทาเคิล ( tentacle )ใช้ส าหรับจับเหยื่อ - ที่หนวดมีเซลล์ส าหรับต่อยเรียกว่า cnidocyte เเละมีเข็มส าหรับต่อยเรียกว่า nematocyst - มีวงจรชีพสลับ - สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแตกหน่อ - มี 2 เพศในตัวเดียวกัน

3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES) ได้แก่ พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด และพลานาเรีย ลักษณะส าคัญของสัตว์ใน Phylum Platyhelminthes - มีสมมาตรเป็นแบบครึ่งซีก (Bilateral symmetry) - ไม่มีช่องว่างในล าตัว (Acoelomate animal) เนื่องจากเนื้อเยื่อชั้นกลางมีเนื้อเยื่อหยุ่นๆบรรจุอยู่เต็มไปหมด - ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ไม่มีเส้นเลือด ไม่มีหัวใจ สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์โดยการแพร่จากทางเดินอาหารเข้าสู่เซลล์โดยตรง - มีระบบทางเดินอาหารเป็นแบบไม่สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก และในพวกพยาธิตัวตืดไม่มีทางเดินอาหาร - มีระบบประสาทอยู่ทางด้านหน้าและแตกแขนงออกไปทางด้านข้างของล าตัว

Page 15: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

- มีทั้งสองเพศในตัวเดียวกัน สามารถผสมพันธุ์ได้ภายในตัวเอง (Self fertilization) และผสมพันธุ์ข้ามตัว (Cross fretilization)

4. ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATOD) ได้แก่ พยาธิตัวกลมต่างๆ เช่น พยาธิไส้เดือน ไส้เดือนฝอยและหนอนในน้ าส้มสายชู ลักษณะส าคัญของสัตว์ใน Phylum Nemetoda - ล าตัวกลมยาวหัวท้ายเเหลม ไม่มีรยางค์ - มีเปลือกเป็นคิวติเคิลหนาปกคลุม - สมมาตรครึ่งซีก - มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีทั้งปากเเละทวารหนัก - ร่างกายมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น - มีช่องล าตัวเทียม ( pseudocoelom )อยู่ระหว่างมีโซเดิร์มเเละเอนโดเดิร์มซึ่งมีของเหลวบรรจุอยู่เต็ม - ระบบประสาท เป็นวงเเหวนรอบคอ ต่อกับเส้นประสาทที่ยาวตลอดล าตัว - ไม่มีระบบไหลเวียนเลือดเเละระบบหายใจ - การสืบพันธุ์เเบบอาศัยเพศ มีตัวผู้ตัวเมียคนละตัวกัน ไข่มีสารไคตินหุ้มจึงทนทานต่อสภาพเเวดล้อมได้ดี

Page 16: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA) ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ทากดูดเลือด และปลิงน้ าจืด ลักษณะส าคัญของสัตว์ใน Phylum Annilida - มีล าตัวกลมยาวเป็นปล้องๆ มองเห็นภายนอกเป็นวงเเละภายในมีเนื้อเยื่อกั้นระหว่างปล้องเรียกว่า เซปตา ( septa ) - เเต่ละปล้องมีอวัยวะ คือ เดือย ( saeta ) 4 คู่ เนฟริเดีย ( อวัยวะขับถ่าย )1 คู่ เส้นประสาท 3 คู่ ทางเดินอาหารเเละช่องล าตัวส่วนหนึ่ง ยกเว้นปล้อง - ที่มีหัวที่ซึ่งมีอวัยวะส าคัญ ( สมอง คอหอย หัวใจ ) - ร่างกายมีสมมาตรครึ่งซีก - มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น - มีช่องล าตัวเเท้จริง ( coelom ) ซึ่งเป็นช่องล าตัวในเนื้อเยื่อมีโซเดิร์ม - ระบบประสาทประกอบด้วย ปมสมองที่หัว 1 คู่ และ เส้นประสาทใหญ่ด้านท้อง

6. ไฟลัมอาร์โทรโปดา ((PHYLUM ARTHROPODA ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู แมลง เห็บ ไร ตะขาบ กิ้งกือ แมงมุม แมงดาทะเล ลักษณะส าคัญของสัตว์ใน Phylum Arthropoda - มีล าตัวเป็นปล้องและมีรยางค์เป็นข้อๆต่อกัน (jointed appendage) ยื่นออกมาจากแต่ละปล้องของล าตัว - มีจ านวนชนิดมากที่สุดในอาณาจักรสัตว์ ประมาณว่ามีถึงกว่า 9 แสนชนิดที่มนุษย์เราได้ค้นพบ - สามารถอาศัยอยู่ได้ในแทบทุกสภาพภูมิประเทศบนโลก นับว่าประสบความส าเร็จในการด ารงชีวิตบนโลกเป็นอย่างมากเห็นได้จากการที่เราพบสัตว์เหล่านี้ได้แทบทุกหนทุกแห่ง ทุกฤดูกาล และพบเป็นจ านวนมาก - มีโครงสร้างของร่างกายที่แข็งแรง - มีระบบประสาทที่เจริญดี มีอวัยวะรับความรู้สึกหลายชนิด

Page 17: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

- มีการแบ่งสัดส่วนของร่างกายเป็นข้อปล้องชัดเจน 3ส่วน คือ หัว(Head) , อก(Thorax) และ ท้อง(Abdomen) - ระบบหมุนเวียนเป็นระบบเปิด ประกอบไปด้วยหัวใจ เลือด และแอ่งเลือด (Hemocoel)

7. ไฟลัมมอลลัสกา(PHYLUM MOLLUSCA) สัตว์ที่มีล าตัวอ่อนนุ่ม ได้แก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ ลักษณะส าคัญของสัตว์ใน Phylum Mollusca - ร่างกายจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1. head and foot 2. visceral mass 3. mantle, palium เกิด mantle cavity มีเหงือกภายใน - สัตว์ในไฟลัมนี้มีล าตัวอ่อนนุ่ม บางชนิดอาจมีเปลือกแข็งหุ้มล าตัวเป็น CaCO3 - แยกเพศผู้-เมีย - ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้ าทั้งน้ าจืดและน้ าทะเล มีอาศัยอยู่บนบกบ้าง - อวัยวะในการแลกเปลี่ยนแก๊สประกอบด้วย 1. เหงือก (gill) อยู่ภายในช่องแมนเติล พบในมอลลัสทั่วไป 2. ผิวตัว ในทากทะเล (sea slug, nudibranch) ผิวตัวจะเปลี่ยนรูปไปเป็นแขนงอยู่บนล าตัว เรียกว่า เซอราตา (cerata) หรือบางชนิดมีอยู่รอบทวารหนัก (anal gill)

Page 18: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

3. ช่องแมนเติลหรือปอด หอยฝาเดียวที่ข้ึนมาอยู่บนบกจะมีช่องแมนเติลที่มีผนังยื่นลงมากั้นเป็นห้อง มีของเหลวหล่อเลี้ยงในช่องนี้ท าให้สามารถแลกเปลี่ยนแก๊สได้

8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA) สัตว์ที่ผิวหนังมีหนามขุรขระ ได้แก่ ดาวทะเล เม่นทะเล เหรียญทะเล ปลิงทะเล ดาวเปราะ ลักษณะส าคัญของสัตว์ใน Phylum Echinoderm - สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นเเบบครึ่งซีก ตัวเต็มวัยมีเมเเทมอร์โฟซิสกลายเป็นสมมาตรเเบบรัศมี - ล าตัวเเบ่งเป็น 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยื่นออกมาจากเเผ่นกลมท่ีเป็นศูนย์กลาง - มีโครงร่างเเข็งภายใน มีเเผ่นหินปูนเล็กๆ ที่ยึดติดกันด้วยกล้ามเนื้อหรือผิวหนังที่ปกคลุมอยู่บางชนิด - มีเส้นประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน - การเคลื่อนไหวใช้ระบบท่อน้ า ( water vascula system ) ภายในร่างกาย - การสืบพันธุ์ แบ่งเป็นเเบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก และ เเบบไม่อาศัยเพศบางชนิด เช่น การขาดของเเขนใดเเขนหนึ่งส่วนที่ขาดก็จะเจริญไปเป็นตัวเต็มอีกทีหนึ่ง

9. ไฟลัมคอร์ดาตา (PHYLUM CHORDATA) คุณสมบัติเฉพาะของ Phylum Chordata - มีโนโตคอร์ด (Notochord) ซึ่งเป็นแกนค้ าจุนหรือพยุงกายเกิดข้ึนในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต หรือตลอดชีวิต ในพวกสัตว์ชั้นสูงมีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโนโตคอร์ด

Page 19: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

- มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง (Dorsal hollow nerve tube) เหลือทางเดินอาหารซึ่งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งมีระบบประสาทอยู่ทางด้านท้อง(Ventral nerve cord) ใต้ทางเดินอาหารและเป็นเส้นตัน - มีช่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต หรือตลอดชีวิตในพวหสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูง เช่น สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านมจะมีช่องเหงือกตอนเป็นตัวอ่อนเท่านั้น เมื่อโตขึ้นช่องเหงือกจะปิดส่วนปลามีช่องเหงือกตลอดชีวิต - มีหางเป็นกล้ามเนื้อ (Muscular post anal tail)

Page 20: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

ใบงานที่ 1 ชื่อ................................................................…………….เลขที่………....... ชั้น...............

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ............................................................... ชื่อเรื่อง ..................................................

1. ขอบเขตและเป้าหมายของประเด็นที่จะเรียนรู้ ที่นักเรียนและครูก าหนดร่วมกัน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. แต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นและผลการศึกษาเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. สัตว์มีวิวัฒนาการมาอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. สัตว์ควรมีลักษณะอย่างไรจึงจะเหมาะส าหรับการด ารงชีวิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. เหตุใดสัตว์ในไฟลัมพอริเฟอรา (PHYLUM PORIFERA) จึงไม่วิวัฒนาการมาด ารงชีวิตบนบก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 6. สัตว์ในไฟลัมไนดาเรียมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศในทะเลอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 7. เหตุใดพยาธิตัวตืดจึงไม่มีทางเดินอาหาร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 8. สัตว์ไฟลังมอลลัสกา(PHYLUM MOLLUSCA) กลุ่มใดที่มีการปรับตัวมาอยู่บนพื้นดิน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 9. แต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นและผลการศึกษาเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 10. จงแสดงวัฏจักรของสัตว์ไฟลัมนีมาโทดา (PHYLUM NEMATOD) มา 1 ชนิด พร้อมพิษภัยจากสัตว์ไฟลัมนี้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

Page 21: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

11. ลักษณะใดที่ท าให้สัตว์ไฟลัมอาโทรโพดา (PHYLUM ARTHROPODA) ประสบความส าเร็จในการอาศัยอยู่บนบก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 12. การเพ่ิมจ านวนของแมลงน่าจะมีผลต่อวิวัฒนาการของพืชดอกหรือไม่ อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 13. การรับประทานหูฉลามจะมีผลกระทบต่อระบบนิเวศในทะเลอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 14. ปลากระดูกอ่อนกับปลากระดูกแข็งแตกต่างกันอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 15. สาเหตุใดที่ท าให้สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบกลดลงอย่างรวดเร็วใน 30 ปีที่ผ่านมา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 16. สัตว์เลื้อยคลานมีประโยชน์อย่างไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 17. นกในท้องถิ่นของนักเรียนมีนกอะไรบ้าง นกเหล่านี้มีความส าคัญต่อระบบนิเวศอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 18. สัตว์กลุ่มไพรเมตมีลักษณะใดบ้างที่แตกต่างจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกลุ่มอ่ืน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 19. ลิงโลกเก่ากับลิงโลกใหม่ได้แก่อะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 20. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอแนวคิดต่อไปนี้ - การอนุรักษ์แมงดาทะเล ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. - ข้อดี ข้อเสีย ของแมลง

Page 22: (KINGDOM ANIMALIA) 4 - Saard KMkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180506.pdf2. จ าแนกและสรางเกณฑ ของอาณาจ กรส ตว

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. - การแก้ปัญหาการลดลงของปลากระดูกแข็ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 21. จงเติมเครื่องหมายถูกลงในตารางข้างล่างนี้ให้ตรงกับลักษณะของสัตว์นั้น ๆ ชนิดของสัตว์ เนื้อเยื่อแท้จริง สมมาตรแบบด้านข้าง ช่องปากแบบโพ

รโทสโทเมีย ตัวอ่อนมีการลอกคราบ

ฟองน้ า พลานาเรีย แมลง หอย ไส้เดือนดิน 22. จงเลือกสิ่งมีชีวิต เช่น พืช หรือสัตว์ ที่นักเรียนชอบมากที่สุด โดยให้นักเรียนไปศึกษา เกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตนั้น แล้วน ามาเสนอหรือเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

23. แนวคิดในการน าความเข้าใจเกี่ยวกับอาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia) ไปใช้ประโยชน์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..