a model of administration and management for...

372
รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการป้ องกันยาเสพติด A MODEL OF ADMINISTRATION AND MANAGEMENT FOR PREVENTION OF NARCOTICS IN SECONDARY SCHOOL เกรียงไกร สัจจะหฤทัย KRIANGKRAI SATJAHARUTHAI วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปีการศึกษา 2557 ลิขสิทธิ ์ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม

Upload: others

Post on 16-Jul-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • รูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการป้องกนัยาเสพตดิ

    A MODEL OF ADMINISTRATION AND MANAGEMENT FOR

    PREVENTION OF NARCOTICS IN SECONDARY SCHOOL

    เกรียงไกร สัจจะหฤทยั

    KRIANGKRAI SATJAHARUTHAI

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตร

    ปรัชญาดุษฎบีัณฑติ สาขาวชิาการบริหารการศึกษา

    วทิยาลยับณัฑติศึกษาด้านการจดัการ

    มหาวทิยาลยัศรีปทุม

    ปีการศึกษา 2557

    ลขิสิทธ์ิของมหาวทิยาลยัศรีปทุม

  • A MODEL OF ADMINISTRATION AND MANAGEMENT

    FOR PREVENTION OF NARCOTICS IN SECONDARY SCHOOL

    KRIANGKRAI SATJAHARUTHAI

    A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE

    REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF

    DOCTOR OF PHILOSOPHY PROGRAM

    IN EDUCATIONAL ADMINISTRATION

    GRADUATE COLLEGE OF MANAGEMENT

    SRIPATUM UNIVERSITY

    ACADEMIC YEAR 2014

    COPYRIGHT OF SRIPATUM UNIVERSITY

  • I

    วทิยานิพนธ์เร่ือง รูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดีเด่น

    ดา้นการป้องกนัยาเสพติด

    คาํสําคญั การบริหารจดัการ/โรงเรียนมธัยมศึกษา/การป้องกนั

    ยาเสพติด

    นักศึกษา นายเกรียงไกร สัจจะหฤทยั

    อาจารย์ทีป่รึกษา ดร.วราภรณ์ ไทยมา

    อาจารย์ทีป่รึกษาร่วม รศ.ดร. เชษฐ ์ รัชดาพรรณาธิกลุ

    หลกัสูตร ปรัชญาดุษฎีบณัฑิต สาขาวชิาการบริหารการศึกษา

    คณะวทิยาลยับณัฑิตศึกษาดา้นการจดัการ

    มหาวทิยาลยัศรีปทุม

    ปีการศึกษา 2557

    บทคดัย่อ

    การวจิยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค ์เพื่อ 1. ศึกษากระบวนการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษา

    ดีเด่นด้านการป้องกนัยาเสพติด 2. เสนอรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาด้านการ

    ป้องกนัยาเสพติด จากโรงเรียนมธัยมศึกษาท่ีไดรั้บรางวลัองคก์รดีเด่นดา้นการป้องกนัยาเสพติดจาก

    สาํนกังาน ปปส. ในปี พ.ศ.2555 – 2556 กลุ่มเป้าหมายในงานวจิยัคร้ังน้ีเป็นการศึกษาจากโรงเรียน

    มัธยมศึกษาท่ีได้รับรางวลัองค์กรดีเด่นด้านการป้องกันยาเสพติดจากสํานักงานป้องกันและ

    ปราบปรามยาเสพติด (สํานกังาน ปปส.) ประกอบดว้ย 1.โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก จงัหวดัจนัทบุรี

    2. โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ จงัหวดักาํแพงเพชร และ3. โรงเรียนสหคริสเตียน

    จงัหวดัอุตรดิตถ ์

    ดาํเนินการวิจยัโดยใช้การวิจยัแบบผสม (Mix-Methods Research) ระหว่างการวิจยั

    เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการวิจยัเชิงปริมาณ (Quatitative Research) กลุ่มเป้าหมาย

    เชิงคุณภาพ รวม 15 คน ประกอบด้วย สัมภาษณ์ผูอ้าํนวยการโรงเรียน และการสนทนากลุ่มกบั

    ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา รองผูอ้ ํานวยการฝ่ายท่ีรับผิดชอบงานป้องกันยาเสพติด

    ครูท่ีปรึกษาดา้นการป้องกนัยาเสพติด ผูแ้ทนผูป้กครองในคณะกรรมการสถานศึกษา ส่วนการวจิยั

    เชิงปริมาณ รวม399 คน กลุ่มเป้าหมาย 3 โรงเรียน คือ1.กลุ่มผูบ้ริหารและผูป้ฎิบติัการ 211 คน

  • II

    2.กลุ่มผูรั้บผลประโยชน์ 188 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจยัประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และ

    แบบสอบถาม การวเิคราะห์ขอ้มูลใช ้ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

    ผลการศึกษาพบว่า 1. กระบวนการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาด้านการป้องกัน

    ยาเสพติดประกอบดว้ย การวางแผน การจดัองค์กร การจดับุคลากรปฏิบติัหน้าท่ี การอาํนวยการ

    การประสานงาน การรายงาน และงบประมาณ 2. รูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษา

    ดา้นการป้องกนัยาเสพติด LOTUS MODEL ประกอบดว้ยองค์ประกอบ 5 ดา้น คือ 1.ดา้นความรัก

    (LOVE) 2.ดา้นโอกาส (OPPUTUNITY) 3.ดา้นเคร่ืองมือ (TOOLS) 4.ดา้นเอกภาพ (UNITY) และ

    5.ดา้นความต่อเน่ือง (STABILITY) ซ่ึงทุกองค์ประกอบสัมพนัธ์กนัส่งผลให้กระบวนการบริหาร

    จดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนัยาเสพติดมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

    ขอ้เสนอแนะสําหรับการวิจยั ควรนาํรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้น

    การป้องกนัยาเสพติด LOTUS MODELไปทดลองใช้กบัโรงเรียนมธัยมศึกษาของรัฐและเอกชน

    และควรศึกษารูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นอ่ืนๆ ให้สอดคลอ้งกบัปัญหาของ

    แต่ละพื้นท่ีต่อไป

  • III

    TITLE A MODEL OF SECONDARY SCHOOL

    ADMINISTRATION AND MANAGEMENT

    FOR PREVENTION OF NARCOTICS IN

    SCHOOL.

    KEYWORD ADMINISTRATION AND MANAGEMENT,

    NARCOTICS PREVENTION, SECONDARY

    SCHOOL

    STUDENT KRIANGKRAI SATJAHARUTHAI

    THESIS ADVISOR WARAPORN THAIMA DR.

    CO-ADVISOR ASSC.PROF. CHET ATCDAPANATIKON DR.

    LEVEL OF STUDY DOCTOR OF PHILOSOPHY PROGRAM IN

    EDUCATIONAL ADMINISTRATION

    FACULTY GRADUATE COLLEGE OF MANAGEMENT

    SRIPATUM UNIVERSITY

    ACADEMIC YEAR 2014

    ABSTRACT

    The objectives of this research are to study the administration and management process

    of distinguished secondary schools for prevention of narcotics in school and to propose a model

    of secondary school administration and management for prevention of narcotics in school. Three

    secondary schools that received the B.E. 2555 – 2556 awards for narcotics prevention in school

    from the Office of the Narcotics Control Board (ONCB) were purposively selected to be the

    cases for study, namely, Khlung Ratchadaphisek School in Chanthaburi province, Chalerm Phra

    Kiat the Royal Queen Mother School in Kamphaeng Phet province, and Saha Christian School in

    Uttaradit province.

    This study has been conducted with a mix-methods research, using both qualitative and

    quantitative research. For the qualitative research, a focus group of 15 people has been used. As

    for the quantitative research, the targeted groups were based on 3 different schools, which can be

  • IV

    divided into 1) a group executives and operating staff (211 persons) and 2) a group of those who

    have a direct benefit from this research (188 persons). Therefore, the total target accounts for 399

    persons. The research tools that have been used for this research, include, interviews,

    questionnaires, data analysis, frequencies, percentages, value averages and standard deviation.

    Research findings show to a model of the administration and management for narcotics

    prevention of the distinguished secondary schools by using “LOTUS” model approaches. The

    model consists of 5 elements, as follows: 1. Love, 2. Opportunity, 3. Tools, 4. Unity and 5.

    Stability. By using every element mentioned, it is believed that the secondary schools

    administration and management for narcotics prevention will be more effective and each school

    can adapt and deploy them into their own methods.

  • V

    กติตกิรรมประกาศ

    ดุษฎีนิพนธ์ฉบบัน้ีสําเร็จลุล่วงไดอ้ย่างสมบูรณ์ ดว้ยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่าน

    ซ่ึงไม่อาจจะนาํมากล่าวไดท้ั้งหมด ซ่ึงผูมี้พระคุณท่ีผูว้ิจยัใคร่ขอขอบพระคุณคือ รองศาสตราจารย ์ชารี

    มณีศรี ประธานสอบวิทยานิพนธ์ ผูช่้วยศาสตราจารย์ ดร.วิชิต อู่อ้น คณบดีวิทยาลัยบณัฑิตศึกษา

    ด้านการจัดการ ดร.วราภรณ์ ไทยมา ผู ้อ ํานวยการหลักสูตรและท่ีปรึกษาหลักวิทยานิพนธ์

    รองศาสตราจารย ์ดร. เชษฐ์ รัชดาพรรณาธิกุล ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.สิรินธร สินจินดาวงศ ์

    ดร.สาธิดา สกุลรัตนกุลชยั และ ดร.สุพรรณี สมานญาติ กรรมการท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ซ่ึงไดใ้ห้ความ

    กรุณาให้ คาํปรึกษาแนะนาํ ตรวจสอบแกไ้ขขอ้บกพร่องต่างๆ เพื่อให้ดุษฎีนิพนธ์ฉบบัน้ีถูกตอ้งมีความ

    สมบูรณ์ยิ่งข้ึน ผู ้วิจ ัยรู้สึกซาบซ้ึงในความอนุเคราะห์ท่ีได้รับ จึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว ้

    ณ โอกาสน้ี

    ขอขอบพระคุณ ผูท้รงคุณวุฒิ ผูเ้ช่ียวชาญ ผูบ้ริหารโรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก จงัหวดัจนัทบุรี

    โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี กาํแพงเพชร โรงรียนสหคริสเตียน

    จงัหวดัอุตรดิตถ์ตลอดจนผูใ้ห้ขอ้มูลและผูท่ี้มีส่วนเก่ียวขอ้งทุกท่านท่ีให้ขอ้มูล และได้อาํนวยความ

    สะดวกในการเก็บรวบรวมขอ้มูลในการวิจยัเป็นอย่างดี ขอขอบพระคุณเจา้ของเอกสาร บทความ ตาํรา

    หนงัสือทุกท่านท่ีผูว้จิยัใชใ้นการสืบคน้ขอ้มูลท่ีไม่ไดก้ล่าวนามไว ้ ณ ท่ีน้ี

    ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ น้องๆและ เพื่อนๆ ทีมงานทุกท่าน ท่ีให้กาํลังใจและอยู่

    เบ้ืองหลงัในความสาํเร็จ ช่วยเหลือ สนบัสนุน อาํนวยความสะดวกตลอดการดาํเนินการวิจยัทุกประการ

    คุณค่าและประโยชน์จากการค้นควา้อนัพึงมีของวิทยานิพนธ์ฉบับน้ี ผูว้ิจ ัยขอมอบ

    ทดแทนบุญคุณต่อบิดา มารดา และครูอาจารยทุ์กท่าน ท่ีไดอ้บรมสั่งสอนศิษยม์าตลอด ดว้ยวิญญาณ

    ของความเป็นครู ตลอดจนผูมี้พระคุณทุกท่าน

    เกรียงไกร สัจจะหฤทยั

    2558

  • VI

    สารบัญ

    บทคัดย่อภาษาไทย................................................................................................................. I

    บทคัดย่อภาษาองักฤษ............................................................................................................ III

    กติติกรรมประกาศ.................................................................................................................. V

    สารบัญ................................................................................................................................... VI

    สารบัญตาราง......................................................................................................................... X

    สารบัญภาพ............................................................................................................................ XIII

    บทที ่ หน้า

    1 บทนาํ.......................................................................................................................... 1

    ท่ีมาและความสาํคญัของปัญหา............................................................................. 1

    คาํถามการวจิยั ....................................................................................................... 5

    วตัถุประสงคข์องการวจิยั ...................................................................................... 5

    ขอบเขตการวจิยั ..................................................................................................... 6

    ประโยชน์ท่ีไดรั้บ................................................................................................... 7

    กรอบแนวคิดการวจิยั............................................................................................. 7

    นิยามศพัทเ์ฉพาะ.................................................................................................... 10

    2 ทบทวนวรรณกรรม..................................................................................................... 12

    ตอนท่ี 1 แนวคิดเก่ียวกบัการบริหาร....................................................................... 13

    ตอนท่ี 2 แนวคิดทฤษฎีเก่ียวกบัการบริหารการศึกษา............................................. 30

    ตอนท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีเก่ียวกบัภาวะผูน้าํ............................................................... 39

    ตอนท่ี 4 แนวคิดทฤษฎี ภาวะผูน้าํการเปล่ียนแปลง................................................ 42

    ตอนท่ี 5 แนวคิดในการป้องกนัและแกไ้ขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา............. 51

    ตอนท่ี 6 แนวคิดทฤษฎีเก่ียวกบัรูปแบบ................................................................. 53

    ตอนท่ี 7 แนวคิดทฤษฎีระบบ................................................................................ 59

    ตอนท่ี 8 งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง.................................................................................. 72

    ตอนท่ี 9 สรุป........................................................................................................ 79

  • VII

    สารบัญ (ต่อ)

    บทที ่ หน้า

    3 วธีิดาํเนินการวจิยั......................................................................................................... 81

    ขั้นตอนการดาํเนินการวจิยั..................................................................................... 81

    ระยะท่ี 1 22การศึกษากระบวนการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดีเด่นดา้นการ

    ป้องกนัยาเสพติด22.................................................................................................... 85

    ระยะท่ี 2 ร่างรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด.............................................................................................................. 88

    ระยะท่ี 3 การตรวจสอบรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้น

    การป้องกนัยาเสพติด........................................................................................... 92

    4 ผลการศึกษา……………………………………………………………. 95

    ผลการศึกษาเชิงคุณภาพขอ้มูลท่ีไดโ้ดยการสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม........ 95

    สรุปผลการศึกษาเชิงปริมาณ............................................................................... 134

    ขอ้มูลการวเิคราะห์เชิงปริมาณจากแบบสอบถาม................................................ 138

    การทดสอบ รูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด............................................................................................................. 226

    5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้เสนอแนะ..................................................................... 237

    สรุปผลการวเิคราะห์............................................................................................ 238

    อภิปรายผล............................................................................................................ 245

    การทดสอบรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาด้านการป้องกัน

    ยาเสพติด.............................................................................................................. 255

    หลกัการใช้ รูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนัยาเสพติด

    LOTUS MODEL…………………………………………………………………. 262

    ขอ้เสนอแนะ......................................................................................................... 272

    บรรณานุกรม............................................................................................................. 275

  • VIII

    สารบัญ (ต่อ)

    บทที ่ หน้า

    ภาคผนวก........................................................................................................................... 284

    ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพื่อการวจิยั เร่ือง ความคิดเห็นเก่ียวกบัรูปแบบการบริหาร

    จดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนัยาเสพติด……………………………………….. 285

    ภาคผนวก ข การสัมมนาอิงผูเ้ช่ียวชาญแสดงความคิดเห็นรูปแบบการทาํวิทยานิพนธ์ 325

    ประวติัผูว้จิยั...................................................................................................................... 355

  • X

    สารบัญตาราง

    ตารางที ่ หน้า

    2.1 การแสดงความถ่ี POSDCoRB............................................................................... 27

    2.2 องคป์ระกอบการมีส่วนร่วม.................................................................................... 29

    3.1 แสดงกลุ่มเป้าหมายเชิงคุณภาพ............................................................................... 86

    3.2 แสดงกลุ่มเป้าหมายเชิงปริมาณ 89

    4.1 จาํนวนและร้อยละของสถานภาพส่วนตวัของผูต้อบแบบสอบถาม จาํแนกตาม

    ตาํแหน่ง................................................................................................................. 139

    4.2 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผู ้บริหารและ

    ผูป้ฏิบติังาน เก่ียวกบัรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด ภาพรวม.................................................................................................. 141

    4.3 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของผูบ้ริหารสถานศึกษาเก่ียวกบั

    รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการป้องกันยาเสพติด

    ในดา้นการวางแผน................................................................................................ 143

    4.4 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผู ้บริหารและ

    ผูป้ฏิบติังานเก่ียวกบัรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด ในดา้นการจดัการองคก์ร........................................................................ 148

    4.5 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผู ้บริหารและ

    ผูป้ฏิบติังานเก่ียวกบัรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด ดา้นการจดัการบุคคล.............................................................................. 155

    4.6 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผู ้บริหารและ

    ผูป้ฏิบติังาน เก่ียวกบัรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด ดา้นการอาํนวยการ......................................................................................................... 162

    4.7 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผู ้บริหารและ

    ผูป้ฏิบติังาน เก่ียวกบัรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด ดา้นการประสานงาน.............................................................................. 167

    4.8 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผู ้บริหารและ

    ผูป้ฏิบติังาน เก่ียวกบัรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด ดา้นการรายงาน..................................................................................... 173

  • XI

    สารบัญตาราง

    ตารางที ่ หน้า

    4.9 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผู ้บริหารและ

    ผูป้ฏิบติังาน เก่ียวกบัรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด ดา้นการจดังบประมาณ........................................................................... 180

    4.10 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผูรั้บผลประโยชน์

    เก่ี ยวกับรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนมัธยมศึ กษาด้านการป้ องกัน

    ยาเสพติด ภาพรวม.................................................................................................. 188

    4.11 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของกลุ่มผูรั้บผลประโยชน์

    เก่ียวกบัรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนัยาเสพติด ดา้น

    การวางแผน........................................................................................................... 190

    4.12 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผูรั้บผลประโยชน์

    เก่ี ยวกับรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนมัธยมศึ กษาด้านการป้ องกัน

    ยาเสพติด ดา้นการจดัการองคก์ร............................................................................. 194

    4.13 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผูรั้บผลประโยชน์

    เก่ี ยวกับรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนมัธยมศึ กษาด้านการป้ องกัน

    ยาเสพติด ดา้นการจดัการบุคคล.............................................................................. 198

    4.14 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผูรั้บผลประโยชน์

    เก่ียวกบัรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนัยาเสพติด ดา้น

    การอาํนวยการ....................................................................................................... 203

    4.15 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผูรั้บผลประโยชน์

    เก่ียวกับรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาด้านการป้องกนัยาเสพติด

    ดา้นการประสานงาน............................................................................................ 205

    4.16 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผูรั้บผลประโยชน์

    เก่ียวกบัรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด ดา้นการรายงา....................................................................................... 211

    4.17 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของกลุ่มผูรั้บผลประโยชน์

    เก่ี ยวกับรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนมัธยมศึ กษาด้านการป้ องกัน

    ยาเสพติด ดา้นการจดังบประมาณ........................................................................... 217

  • XII

    สารบัญตาราง

    ตารางที ่ หน้า

    4.18 จุดเด่นในดา้นการบริหารจดัการโรงเรียนท่ีเป็นเอกลกัษณ์เฉพาะของโรงเรียน..... 219

    4.19 ตารางสังเคราะห์องคป์ระกอบรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้น

    การป้องกนัยาเสพติดจากขอ้มูลเชิงคุณภาพ............................................................. 220

    4.20 การประเมินรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด................................................................................................................. 229

    5.1 แสดงการสังเคราะห์กระบวนการบริหารจดัการโรงเรียนสรุปในภาพรวมจาก

    โรงเรียนมธัยมศึกษาดีเด่นดา้นการป้องกนัยาเสพติด............................................. 239

    5.2 จุดเด่นในดา้นการบริหารจดัการโรงเรียนท่ีเป็นเอกลกัษณ์เฉพาะของโรงเรียน 254

    5.3 สังเคราะห์องคป์ระกอบรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการ

    ป้องกนัยาเสพติด................................................................................................... 254

  • XIII

    สารบัญภาพ

    ภาพประกอบที่ หน้า

    1.1 กรอบแนวคิดการวจิยั…………………………………………………………………….. 9

    2.1 ววิฒันาการของทฤษฎีภาวะผูน้าํ.......................................................................................... 39

    2.2 คุณลกัษณะ 8 ประการของภาวะผูน้าํการเปล่ียนแปลง (Hacker & Roberts, 2003)…..… 49

    2.3 โมเดลภาวะผูน้าํการเปล่ียนแปลง (Hacker & Roberts, 2003).................................. 50

    2.4 รูปแบบเชิงระบบและสถานการณ์ของ Brown and Moberg.................................... 56

    2.5 องคก์รในฐานะระบบ………………………………………………………………..……. 61

    2.6 องคก์ารในฐานะเป็นระบบ..................................................................................... 64

    2.7 องคป์ระกอบของระบบ........................................................................................... 65

    2.8 รูปแบบระบบสังคมของสถานศึกษา (Social System Model for schools)………… 68

    3.1 รูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนัยาเสพติด.............. 84

    4.1 กระบวนการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนัยาเสพติด................. 222

    4.2 LOTUS MODEL รูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด ................................................................................................................ 226

    5.1 LOTUS MODEL รูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาดา้นการป้องกนัยาเสพติด 262

  • 1

    บทที ่1

    บทนํา

    ทีม่าและความสําคญัของปัญหา

    ปัญหายาเสพติดเป็นภยัคุกคามต่อความมัน่คงของหลายประเทศทัว่โลก จากรายงานของ

    สหประชาชาติระบุว่า มีผูเ้ก่ียวข้องกับยาเสพติดทั่วโลกมากถึง 210 ล้านคนและเสียชีวิตปีละ

    ประมาณ 200,000 คน โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนัออก และเอเชียตะวนัออกเฉียงใต ้

    ท่ีสถานการณ์แพร่ระบาดของยาเสพติดอยู่ในขั้นวิกฤตถึงขั้นท่ีสํานักงานสหประชาชาติเพื่อ

    แกปั้ญหายาเสพติดและอาชญากรรม (United Nations Office on Drug and Crime: UNODC)

    ออกมาแสดงความเป็นห่วงโดยเฉพาะอยา่งยิ่งเยาวชน เก่ียวกบัผลกระทบท่ีร้ายแรงของสารท่ีมีฤทธ์ิ

    ต่อจิตและประสาท ซ่ึงเมทแอมฟาตามินยงัคงเป็นสารกระตุน้ประสาท (ATS) ท่ีสําคญั คิดเป็น

    ร้อยละ 71 เป็นกลุ่มสารท่ีโดดเด่น จบักุมเมทแอมฟาตามินชนิดผลึกเพิ่มข้ึนเป็น 8.8 ตนั เป็นระดบั

    สูงสุดในรอบ 5 ปีท่ีผ่านมา (WORLD DUCG REPORT 2013 สํานกังานป้องกนัและปราบปราม

    ยาเสพติด ข่าวประชาสัมพนัธ์ เดือนมิถุนายน 2556) ส่วนของประเทศไทยก็เช่นกนัเร่ืองปัญหายา

    เสพติดได้ก่อให้เกิดผลกระทบในวงกวา้ง ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ทั้งทางตรงและทางออ้ม

    ในทุกปีรัฐจะต้องเสียงบประมาณแผ่นดินเพื่อนําไปใช้ในงานปราบปราม ป้องกันยาเสพติด

    โดยสาํนกังานป้องกนัและปราบปรามยาเสพติด ไดใ้ชง้บประมาณในดา้นการป้องกนัยาเสพติดในปี

    พ.ศ. 2556 เป็นจาํนวนเงินถึง 4,508,030,300 ลา้นบาท (สํานกัยุทธศาสตร์ สํานกังาน ปปส.,2556)

    ซ่ึงมากข้ึนในทุกๆ ปี โดยในด้านสังคม ปัญหายาเสพติดมีความเก่ียวพนัหรือเป็นสาเหตุให้เกิด

    อาชญากรรมประเภทอ่ืนๆ เช่น การวิ่งราว ลกัทรัพย ์เพื่อหาเงินมาใช้ในการซ้ือยาเสพติดการคลุม้คลัง่

    จนทาํใหเ้กิดการทาํร้ายร่างกายผูบ้ริสุทธ์ิ การสร้างความเดือดร้อนให้ประชาชนทัว่ไปรวมทั้งให้เกิด

    ปัญหาต่อครอบครัว ปัญหาต่อโรงเรียน และปัญหาต่อชุมชน(เกษมศานต์ โชติชาครพนัธ์ุ และ

    คณะ,2552) ซ่ึงโรงเรียนเป็นความคาดหวงัของสังคมในการสร้างและพฒันาผูเ้รียนให้เป็นคนเก่ง

    คนดี และมีความสุข เป็นทรัพยากรท่ีมีคุณภาพของสังคม ซ่ึงในอดีต คาํวา่ บวร. ท่ีหมายถึง บา้น วดั

    โรงเรียน มักมีการประสานทาํหน้าท่ีในบริบทของแต่ละส่วนได้อย่างสอดคล้อง แต่จากการ

    เปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนในภูมิภาคต่างๆ ในโลกไม่ว่าการเปล่ียนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ หรือ

    ส่ิงแวดลอ้มจากสังคมเกษตร สู่สังคมอุตสาหกรรม มาสู่รูปแบบสังคมเทคโนโลยี เกิดการส่ือสารท่ี

    ไร้พรมแดน ทาํใหก้ารบริหารจดัการมีความซบัซ้อนมากข้ึนและเน่ืองจากการเปล่ียนแปลงเป็นส่ิงท่ี

    ไม่อาจหลีกเล่ียงได้จึงส่งผลกระทบต่อปัจจยัแวดล้อมต่อเน่ืองกนัเป็นลูกโซ่กลายเป็นภาวการณ์

    เปล่ียนแปลงท่ีสามารถพลิกเปล่ียนแนวทางการดาํเนินชีวิตของผูค้นท่ีดาํรงอาศยัอยูใ่นสังคมนั้นๆ ได ้

  • 2

    สถานศึกษาก็เช่นกนั ผูบ้ริหารโรงเรียนตอ้งพบกบัความทา้ทายในการบริหารจดัการใน

    ทุกมิติ จะตอ้งบริหารจดัการสถานศึกษาให้สามารถผ่านเกณฑ์การประเมิน ตลอดจนเกณฑ์ตวัช้ีวดั

    ของกระทรวงศึกษาธิการ แลว้ยงัตอ้งสามารถตอบคาํถามของชุมชนและสังคมไดว้า่มีประสิทธิผล

    ในการพฒันาผูเ้รียนได้แค่ไหนผูบ้ริหารโรงเรียนมีหน้าท่ีในการบริหารจดัการโรงเรียนท่ีจะตอ้ง

    พฒันาเยาวชนใหมี้คุณภาพ แต่การพฒันาเยาวชนมีคุณภาพยอ่มตอ้งเกิดจากปัจจยัต่างๆ ประกอบกนั

    โดยเฉพาะในโรงเรียนท่ีจะตอ้งมีบุคคลากร งบประมาณ การจดัการ ซ่ึง Jones &George (2003)

    กล่าววา่ การบริหารจดัการประกอบไปดว้ย การวางแผนการจดัโครงสร้างองค์การ การนาํและการ

    ควบคุมในด้านบุคลากรและทรัพยากรอ่ืนๆ ในการบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและ

    ประสิทธิผล สอดคล้องกบั Dessler (2004 ) ท่ีกล่าวว่า การบริหาร คือ การท่ีผูบ้ริหารวางแผน

    จดัองค์กร การนาํ และควบคุมการทาํงาน ให้บรรลุวตัถุประสงค์ขององค์การเช่นเดียวกบั Gulick

    and Urwick (1937) ไดเ้สนอแนวความคิดเก่ียวกบัการบริหารงานไว ้7 ดา้น เรียกยอ่ๆ ว่า POSDCoRB

    ประกอบไปดว้ย การวางแผน (Planning) การจดัองค์การ (Organizing) การจดับุคคลากรปฏิบติัหน้าท่ี

    (Staffing) การอาํนวยการ (Directing)การประสานงาน (Coordinating) การรายงาน (Reporting)

    และการงบประมาณ (Budgeting) โดยแนวคิดกระบวนการบริหารท่ีใช้ POSDCoRB เป็นกรอบ

    ในการบริหารจดัการไดรั้บความนิยมอย่างแพร่หลายเน่ืองจากครอบคลุมในหลายมิติ ทั้งเร่ืองของ

    ระบบงาน บุคลากร นอกจากน้ียงัมีคาํกล่าวว่า การบริหารเป็นทั้ง ศาสตร์ และศิลป์ การท่ีผูบ้ริหาร

    วางแผน จดัองคก์ร การนาํ และควบคุมการทาํงาน ให้บรรลุวตัถุประสงคข์ององคก์ารคือศาสตร์ใน

    การบริหาร ส่วนผูบ้ริหารจะบริหารทุกอย่างไดเ้กิดผลแค่ไหนก็คงตอ้งอาศยัภาวะผูน้าํของตนเอง

    ดงัท่ี (Daft1999) กล่าวว่า ภาวะผูน้าํหมายถึงความสามารถของคนท่ีเป็นผูน้าํในการใช้อิทธิพล

    ท่ีสามารถโน้มน้าวบุคคลอ่ืนเพื่อนาํไปสู่การบรรลุเป้าหมายขององค์กร ดงันั้น เม่ือกล่าวถึงภาวะ

    ผูน้าํตอ้งประกอบไปดว้ยองคป์ระกอบ 3 ประการ คือ ผูน้าํกบัผูต้าม การโนม้นา้วหรืออิทธิพล และ

    เป้าหมายขององคก์ร

    การบริหารจดัการสถานศึกษานอกจากจะเก่ียวขอ้งกบัปัจจยัภายในสถานศึกษาเองแลว้ยงั

    มีปัจจยัจากภายนอกท่ียากต่อการควบคุมไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางเศรษฐกิจของแต่ละครอบครัวของ

    นักเรียน และปัญหาสังคมอีกหลากหลายประกอบกับนักเรียนท่ียงัเป็นเยาวชนก็มีธรรมชาติท่ี

    แตกต่างกบัผูใ้หญ่ เช่น ชอบลอง ชอบตามเพื่อน เป็นตน้ ซ่ึงการจะพฒันานกัเรียนให้เป็นบุคคลท่ีมี

    คุณภาพทั้งด้านร่างกายจิตใจ สติปัญญา มีคุณธรรมจริยธรรม และมีชีวิตท่ีสมบูรณ์ตามท่ีสังคม

    มุ่งหวงัโดยผา่นกระบวนการศึกษานั้น นอกจากผูบ้ริหาร ครู แลว้ผูท่ี้มีบทบาทท่ีเก่ียวขอ้งโดยตรง

    กบัผูเ้รียน คงจะเป็นผูป้กครองท่ีเล้ียงดูนกัเรียนและยงัมีชุมชน ส่ิงแวดลอ้มท่ีอยูอ่าศยั ดงันั้น ทุกฝ่าย

    จะตอ้งมีส่วนร่วมในการดาํเนินการดว้ยการส่งเสริมสนบัสนุนนกัเรียนตลอดจนมีการป้องกนัและ

    ช่วยเหลือแกปั้ญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนกบันกัเรียนก็เป็นส่ิงสําคญัเช่นกนันกัเรียนหรือก็คือเยาวชนท่ีเป็น

  • 3

    ท่ีรักของผูป้กครอง เป็นความหวงัของสังคมในการท่ีจะเจริญเป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพของประเทศ

    ทุกฝ่ายจึงตอ้งช่วยกนัดูแลป้องกนั แกไ้ขให้ห่างไกลจากปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะในปัจจุบนัปัญหา

    หน่ึงท่ีสังคมเป็นห่วงจนทุกรัฐบาลตอ้งประกาศเป็นวาระแห่งชาติคือ ปัญหาเร่ืองยาเสพติดท่ีแพร่

    ระบาดในกลุ่มเยาวชนซ่ึงอยู่ทั้งในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา เป็นการบัน่ทอนทรัพยากร

    มนุษยท่ี์เป็นกาํลงัสําคญัของชาติอย่างใหญ่หลวงซ่ึงจากผลการวิจยัของสํานักงานคณะกรรมการ

    ป้องกนั และปราบปรามยาเสพติดสํานักนายกรัฐมนตรี (กระทรวงศึกษาธิการ,2542) พบว่า

    องคป์ระกอบของสถานศึกษายงัมีส่วนทาํใหน้กัเรียนติดสารเสพติดมากเพิ่มข้ึนเพราะโรงเรียนตั้งอยู่

    ในส่ิงแวดลอ้มท่ีมีสารเสพติดแพร่ระบาดและนกัเรียนติดสารเสพติดเป็นผูจ้าํหน่ายสารเสพติดให้

    เพื่อนในโรงเรียนโดยหวงัหารายได ้นอกจากน้ีมีขบวนค้ายาเสพติดในโรงเรียนนอกเหนือจาก

    นกัเรียนท่ีติดสารเสพติดเป็นผูจ้าํหน่ายประกอบกบัโรงเรียนขาดการเอาใจใส่ต่อปัญหายาเสพติดท่ี

    เกิดข้ึนในโรงเรียน ครู อาจารย ์และผูบ้ริหารเกรงจะเสียซ่ึงสถานศึกษา รวมทั้งครูอาจารยมี์การสอนมาก

    ทาํใหดู้แลความประพฤตินกัเรียนไม่ทัว่ถึง

    ดงัท่ีกล่าวขา้งตน้มาแลว้วา่ท่ามกลางความเปล่ียนแปลงของสังคมท่ีเป็นกระแสแห่งความ

    เป็นโลกาภิวตัน์ เป็นสังคมท่ีตอ้งอาศยัองค์ความรู้ และเศรษฐกิจฐานความรู้ ซ่ึงมีผลให้การบริหาร

    จดัการศึกษาไทยตอ้งอยู่ภายใต้เง่ือนไขของการแข่งขนั และความมุ่งมัน่ตามความคาดหวงัของ

    สังคม ดังนั้ นในกระบวนการบริหารจัดการจึงต้องปรับเปล่ียนและพัฒนาให้สอดคล้องกับ

    สภาพการณ์ ซ่ึงเป็นความจาํเป็นท่ีผูบ้ริหารจะตอ้งสนใจใฝ่รู้ และพฒันาอยา่งต่อเน่ืองอยูต่ลอดเวลา

    (ธีระ รุญเจริญ, 2550) และยิ่งในปัจจุบนัปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาใหญ่ท่ีทุกภาคส่วนตอ้งร่วมมือ

    กนัแกไ้ข สาํนกังานคณะกรรมการป้องกนัและปราบปรามยาเสพติด (ปปส.) ซ่ึงเป็นองคก์รหลกัใน

    ดา้นป้องกนัและปรามปรามปัญหายาเสพติดไดร้ายงานสถานการณ์ปัญหายาเสพติดของประเทศไทย

    นบัตั้งแต่ปีพ.ศ. 2547 เร่ิมมีแนวโนม้ขยายตวัเพิ่มข้ึนโดยจากการประมาณการผูท่ี้เก่ียวขอ้งกบัยาเสพติด

    ของเครือข่ายวชิาการสารเสพติดไดป้ระมาณการผูเ้สพติด ในปีพ.ศ. 2551 วา่ยงัคงมีแนวโนม้เพิ่มข้ึน

    จากการสํารวจเพื่อประมาณการจาํนวนผูเ้สพ/ผูติ้ดยาเสพติดในปีพ.ศ. 2551 มีจาํนวน 605,095 คน

    เพิ่มข้ึนจากปีพ.ศ. 2550 ท่ีมีจาํนวน 575,312 คน ขณะเดียวกนัจาํนวนผูต้อ้งหาและผูเ้ขา้รับการ

    บาํบดัรักษายาเสพติดก็มีจาํนวนเพิ่มข้ึนเช่นเดียวกนั จากเดิมมีผูต้อ้งหา 117,018 คน เพิ่มข้ึนเป็น

    129,296 คน และผูเ้ขา้รับการบาํบดัรักษาจากเดิม 58,903 คนเป็น 68,084 คนซ่ึงกลุ่มเป้าหมายท่ี

    เขา้มาเก่ียวขอ้งกบัยาเสพติดยงัคงเป็นกลุ่มวยัรุ่นเกินกวา่ร้อยละ 70 เป็นรายใหม่โดยยาบา้เป็นตวัยาหลกั

    รองลงมาคือกญัชา และสารระเหย (สํานักงานคณะกรรมการป้องกนัและปราบปรามยาเสพติด,2553)

    ในขณะท่ีอายขุองผูเ้ขา้บาํบดัรักษาพบวา่กลุ่มอายุนอ้ยมีสัดส่วนเพิ่มข้ึนโดยเฉพาะกลุ่มอายุ 15-19 ปี

    โดยในปีพ.ศ.2552 ปรากฏวา่กลุ่มอายุ 15-19 ปี เป็นกลุ่มหลกัของผูเ้ขา้มาบาํบดัรักษาแทนกลุ่มอาย ุ

    20-24 ปีเดิมโดยอายตุ ํ่าสุดท่ีเคยเขา้รับการบาํบดัรักษาในสถานพยาบาลสังกดักระทรวงสาธารณสุข

  • 4

    คือ10 ขวบ (กรมการแพทย ์กระทรวงสาธารณสุข,2553) และยงัพบวา่เด็กเยาวชนท่ีเขา้มาเก่ียวขอ้ง

    กบัยาเสพติดมีทั้งท่ีอยูใ่นสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา โดยกลุ่มผูใ้ชย้าเสพติดมีอายุนอ้ยลงจาก

    เดิมเช่นกนั คือ ผูติ้ดยาเสพติดจะมีอายุระหว่าง 18 – 24 ปี รองลงมาคือ 15 – 18 ปี แต่ปัจจุบนัอายุ

    ของผูติ้ดยาเสพติดพบในกลุ่มอายุระหว่าง 13 - 18 ปีมากท่ีสุด และกาํลงัศึกษาในระดบั ม.1 ม.2

    มากข้ึน(สํานักยุทธศาสตร์ปปส., 2553) ซ่ึงในยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดเป็น

    ยุทธศาสตร์หลกัท่ีมีเป้าหมายในการลดจาํนวนผูเ้สพยาเสพติดทัว่ประเทศ ด้วยการนาํเขา้บาํบดั

    รักษาและสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติดให้กับเยาวชนก่อนวัยเส่ียง (อายุ 15-19 ปี) นั้ น

    ผลการดาํเนินงานในช่วง 6 เดือนท่ีผา่นมา พบวา่มีผูเ้ขา้รับการบาํบดัรักษาเท่าท่ีมีรายงานเขา้สู่ระบบ

    รายงานการติดตามและเฝ้าระวงัปัญหายาเสพติดของกระทรวงสาธารณสุขจาํนวน 130,278 คน

    คิดเป็นร้อยละ 86.8 ของเป้าหมายท่ีตอ้งการลดจาํนวนผูเ้สพยาเสพติดทั่วประเทศใน 6 เดือน

    คือ 150,000 คน จะเห็นไดว้า่จาํนวนผูเ้ขา้รับการบาํบดัรักษามีแนวโนม้ท่ีเพิ่มข้ึนในไตรมาศแรกท่ีมี

    จาํนวน 37,074 คน ทาํให้สัดส่วนเม่ือเทียบกบัเป้าหมายมีค่าสูงข้ึน (สํานกัยุทธศาสตร์ สํานกังาน

    ป.ป.ส., 2555)

    จากตวัเลขสถิติดงักล่าวทาํให้ผูเ้ก่ียวขอ้งทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นผูบ้ริหารโรงเรียน คุณครู

    ผูป้กครอง ชุมชน ตอ้งเขา้มามีส่วนร่วมในการป้องกนันกัเรียนให้ห่างไกลไม่เก่ียวขอ้งกบัยาเสพติด

    ซ่ึงโรงเรียนก็ถือวา่เป็นบา้นหลงัท่ีสองของนกัเรียน ท่ีพวกเขาตอ้งมาอยูร่วมกนัเป็นจาํนวนมากเกือบ

    ทุกวนั ทาํใหมี้ส่ิงเร้าต่างๆ มากกมายท่ีโรงเรียนจะตอ้งเป็นเหมือนร้ัวป้องกนัส่ิงท่ีไม่ดีต่างๆ ให้พวก

    เขาทางโรงเรียนจึงควรมีมาตรการการป้องกนัแก้ไขปัญหายาเสพติดดว้ย ดงันั้นตามคาํสั่งสํานัก

    นายกรัฐมนตรี ท่ี 82/2552 ลงวนัท่ี 17 มีนาคม พ.ศ. 2552 เร่ือง ยุทธศาสตร์และกลไกการป้องกนั

    และแกไ้ขปัญหายาเสพติดตามนโยบายรัฐบาล และคาํสั่งท่ี 249/2552 ลงวนัท่ี 10 พฤศจิกายน พ.ศ.

    2552 ปฏิบติัการ “ประเทศไทยเขม้แข็ง ชนะยาเสพติดอยา่งย ัง่ยืน” ภายใตยุ้ทธศาสตร์ 5 ร้ัวป้องกนั

    ประกอบดว้ย 1) ร้ัวชายแดน เป็นร้ัวแห่งการสกดักั้น 2) ร้ัวสังคม เป็นร้ัวแห่งการจดัระเบียบเพื่อ

    สังคมสงบสุข 3) ร้ัวชุมชน เป็นร้ัวแห่งการเสริมสร้างความเขม้แข็งและสมานฉนัท ์4) ร้ัวโรงเรียน

    เป็นร้ัวแห่งการปกป้องนกัเรียนและเยาวชนในสถานศึกษา และ5) ร้ัวครอบครัว เป็นร้ัวแห่งความรัก

    ความผูกพนั ความเขา้ใจ โดยมีเป้าหมายในการหยุดย ั้ง และลดระดบัการขยายตวัของปัญหายาเสพติด

    ซ่ึงมีผลต่อวิถีชีวิต และความสงบสุขของประชาชนในการดาํเนินงานภายใตยุ้ทธศาสตร์ดงักล่าว

    ไดมี้การจดัตั้งกลไกอาํนวยการและบริหารจดัการป้องกนั และแกไ้ขปัญหายาเสพติดในทุกระดบั

    สําหรับยุทธศาสตร์ “ร้ัวโรงเรียน” รัฐบาลได้มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการเป็น

    เจ้าภาพหลักในการประสานดาํเนินการ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา

    ทุกสังกัด ทั้ งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษาและอุดมศึกษาโดยมีวตัถุประสงค ์

    เพื่อป้องกนัและแกไ้ขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาเพื่อลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดใน

  • 5

    สถานศึกษาและเพื่อส่งเสริมให้ประชาชน องคก์รประชาชน เขา้มามีส่วนร่วมในการดาํเนินงาน

    นอกจากน้ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานก็ได้ตระหนักถึงความสําคญัและได้

    มอบหมายให้สํานกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาในสังกดั ดาํเนินการป้องกนัและแกไ้ข

    ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษามาอย่างต่อเน่ือง ภายใต้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและ

    แผนยุทธศาสตร์ตามนโยบายสถานศึกษา3 ดี (3D) ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้สถานศึกษา

    ได้รับการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา

    อย่างย ัง่ยืน (สํานกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาอุบลราชธานี เขต 4กระทรวงศึกษาธิการ,2553) ประกอบกบั

    สาํนกังานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปราบปัญหายาเสพติด (ปปส.) ท่ีเป็นหน่วยงานโดยตรง

    ในดา้นป้องกนัปัญหายาเสพติด ไดมี้การจดัตั้งรางวลัดีเด่นเพื่อมอบให้กบับุคคล องคก์รท่ีมีผลงาน

    ในการป้องกนัปัญหายาเสพติด ซ่ึงในแต่ละปีจะมีการคดัเลือก บุคคล องค์กรท่ีมีผลงานในการ

    ป้องกนัปัญหายาเสพติด เพื่อเป็นแบบอยา่งท่ีดีใหก้บัสังคม

    โรงเรียนมีหนา้ท่ีในการพฒันาผูเ้รียนให้เป็นเยาวชนท่ีมีคุณภาพเก่ง ดี มีสุข และห่างไกล

    ยาเสพติด เป็นทรัพยากรท่ีดีของชาติต่อไป ซ่ึงกระบวนการการบริหารจดัการโรงเรียนนั้นนับเป็น

    ส่วนสําคัญท่ีจะเป็นกลไกในการขับเคล่ือนองค์กรไปสู่ความสําเร็จ อีกทั้ งผู ้บริหารโรงเรียน

    คณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากร จะร่วมกนัในการบริหารอย่างไรท่ีจะนาํพาองค์กรสามารถ

    ป้องกันปัญหายาเสพติดไม่ให้แพร่ระบาดเข้าในโรงเรียนซ่ึงจะนําไปสู่การสร้างความเข้มแข็งของ

    นักเรียนในโรงเรียน จึงทําให้ผู ้วิจ ัยมีความสนใจท่ีจะศึกษารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียน

    มัธยมศึกษาในด้านการป้องกันยาเสพติดว่ามีแนวทางการบริหารจัดการและดําเนินการอย่างไร

    เพื่อนาํไปเป็นตน้แบบในการสร้างรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาในด้านการป้องกัน

    ยาเสพติดใหก้บัโรงเรียนอ่ืนๆ นาํไปปรับใชต่้อไป

    คําถามการวจัิย

    1. กระบวนการบริหารจดัการในโรงเรียนมธัยมศึกษาดีเด่นดา้นการป้องกนัยาเสพติด มีกระบวนการบริหารจดัการอย่างไรจึงได้รับรางวลัระดับ ดีเด่น จากสํานักงานคณะกรรมการ

    ป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด (สาํนกังาน ปปส.)

    2. รูปแบบการบริหารจดัการท่ีเหมาะสมของโรงเรียนมธัยมศึกษาในด้านการป้องกนั ยาเสพติดประกอบดว้ยอะไรบา้ง

    วตัถุประสงค์ของการวจัิย

    1. เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจดัการในโรงเรียนมธัยมศึกษาดีเด่นดา้นการป้องกนั ยาเสพติด

  • 6

    2. เพื่อเสนอรูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาในดา้นการป้องกนัยาเสพติด

    ขอบเขตการวจัิย

    1. กลุ่มเป้าหมาย การวิจัยคร้ังน้ี เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยเป็นการวิจัยเชิง คุณ ภา พ และ

    การเชิงปริมาณ โดยผา่นการถอดบทเรียนใชก้ารสัมภาษณ์เชิงลึกจาก 3 โรงเรียนท่ีไดรั้บรางวลัดีเด่น

    ดา้นการป้องกนัยาเสพติด ผูใ้ห้ขอ้มูล จาํนวน 15 คน และผูท่ี้ตอบแบบสอบถาม จาํนวน 399 คน

    มีกลุ่มเป้าหมายท่ีใชใ้นการศึกษา ไดแ้ก่

    1) การวจิยัเชิงคุณภาพ การวิจัย เชิงคุณภาพในคร้ังน้ีผู ้วิจ ัยใช้การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม

    โดยสัมภาษณ์ผูอ้าํนวยการโรงเรียน และ การสนทนากลุ่มกบัประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

    รองผูอ้าํนวยการฝ่ายท่ีรับผิดชอบงานป้องกนัยาเสพติด ครูท่ีปรึกษาดา้นการป้องกนัยาเสพติดและ

    ผูแ้ทนผูป้กครองในคณะกรรมการสถานศึกษา โดยใชแ้บบสัมภาษณ์ และสนทนากลุ่มท่ีเหมือนกนั

    เป็นสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง โดยเลือกผูใ้ห้ขอ้มูลแบบเจาะจง คือผูอ้าํนวยการโรงเรียน และ

    การสนทนากลุ่มกับประธานคณะกรรมการสถานศึกษา รองผูอ้าํนวยการฝ่ายท่ีรับผิดชอบงาน

    ป้องกนัยาเสพติด ครูท่ีปรึกษาด้านการป้องกนัยาเสพติดและผูแ้ทนผูป้กครองในคณะกรรมการ

    สถานศึกษาของโรงเรียนในระดับมธัยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ท่ีได้รับการ

    คดัเลือกไดรั้บรางวลัระดบั ดีเด่น จากสํานักงานคณะกรรมการป้องกนัและปราบปรามยาเสพติด

    (สาํนกังาน ปปส.) ไดแ้ก่ ในปี พ.ศ.2555 จาํนวน 2 โรงเรียน ไดแ้ก่ โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก จงัหวดั

    จนัทบุรี และ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี จงัหวดักาํแพงเพชร

    ในปี พ.ศ.2556 จาํนวน 1 โรงเรียน ไดแ้ก่ โรงเรียนสหคริสเตียน อาํเภอนํ้ าปาด จงัหวดัอุตรดิตถ ์

    โดยกลุ่มเป้าหมายแต่ละโรงเรียน ประกอบดว้ย 1) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา 1 คน

    2) ผูอ้าํนวยการโรงเรียน1 คน 3) รองผูอ้าํนวยการท่ีดูแลฝ่ายงานป้องกนัยาเสพติด 1 คน 4) ครูท่ีรับผิดชอบ

    งานป้องกนัยาเสพติดในโรงเรียน 1 คน5) ผูแ้ทนผูป้กครองในคณะกรรมการสถานศึกษา 1 คนรวม

    ทั้งส้ิน 15 คน

    2) การวจิยัเชิงปริมาณ หลงัจากท่ีไดข้อ้มูลจากการสัมภาษณ์ เม่ือนาํมาสังเคราะห์ ไดอ้งค์ประกอบต่างๆ

    ท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารจดัการในโรงเรียนมธัยมศึกษาด้านการป้องกนัยาเสพติดแล้ว ก็ได้นํา

    องค์ประกอบต่างๆ มาสร้างเป็นแบบสอบถามเพื่อเป็นการตรวจสอบข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

    ท่ีเก่ียวขอ้งในโรงเรียนทั้งหมด โดยใชก้ารวิจยัเชิงปริมาณ ผูว้ิจยัใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือใน

    การเก็บขอ้มูลจากกลุ่มตวัอย่างประกอบดว้ย 2 กลุ่มได้แก่ 1) กลุ่มผูบ้ริหารและผูป้ฏิบติังาน

  • 7

    ประกอบดว้ย คณะกรรมการสถานศึกษา คณะผูบ้ริหาร ครูผูป้ฏิบติังานในสถานศึกษา จาํนวน 117 คน

    2) กลุ่มผูรั้บผลประโยชน์ ประกอบด้วยผูแ้ทนนักเรียนท่ีเป็นหัวหน้าห้องทุกห้องเรียน ผูแ้ทน

    ผูป้กครองของตวัแทนนกัเรียนทุกหอ้งเรียน จาํนวน 228 คน รวมกลุ่มเป้าหมายทั้งส้ิน 399 คน

    2. ขอบเขตด้านเนือ้หา

    ศึกษากระบวนการการบริหารจัดการด้านการป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา

    3โรงเรียนในระดบัมธัยมศึกษา สังกดัสาํนกังานเขตพื้นท่ีการศึกษา ท่ีไดรั้บการคดัเลือกไดรั้บรางวลั

    ระดบัดีเด่น จากสาํนกังานคณะกรรมการป้องกนัและปราบปรามยาเสพติด (สาํนกังาน ปปส.) ไดแ้ก่

    โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก จงัหวดัจนัทบุรี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนค

    รินทราบรมราชชนนี จงัหวดักาํแพงเพชร และโรงเรียนสหคริสเตียน อาํเภอนํ้ าปาด จงัหวดัอุตรดิตถ ์

    โดยใชก้รอบกระบวนการบริหารแบบ POSDCoRB ในการวิจยัดา้นเน้ือหาประกอบดว้ย (1) การ

    วางแผน (2) การจัดองค์กร (3 ) การจัดบุ คลากรเข้าปฏิบัติหน้า ท่ี (4 ) การอํานวยกา ร

    (5) การประสานงาน (6) การรายงาน และ (7) การงบประมาณ

    ประโยชน์ทีไ่ด้รับ

    1. ทาํใหท้ราบถึงกระบวนการบริหารจดัการ วิธีการดาํเนินงานในโรงเรียนมธัยมศึกษาท่ีไดร้างวลัดีเด่นดา้นการป้องกนัยาเสพติด

    2. สามารถนํากระบวนการบริหารจดัการของต้นแบบการดาํเนินงานของโรงเรียนมธัยมศึกษาดีเด่นในดา้นการป้องกนัยาเสพติดท่ีได ้ไปสร้างรูปแบบการบริหารจดัการท่ีเหมาะสม

    เพื่อให้โรงเรียนมธัยมศึกษาอ่ืนๆ ไดน้าํไปใช้ ซ่ึงจะนาํไปสู่คุณภาพของนกัเรียนให้มีคุณภาพเป็น

    ทรัพยากรท่ีมีคุณค่าของประเทศชาติต่อไป

    กรอบแนวคิดการวจัิย

    การศึกษาวิจยัเร่ือง “รูปแบบการบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาในดา้นการป้องกนั

    ยาเสพติด” คร้ังน้ีใชก้ารวิจยัแบบผสมผสานวิธี(Confirmatory sequential Mixed-Methods Research) เป็น

    การประยุกตก์ารวิจยัเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อให้ไดข้อ้มูลเชิงลึก และการวิจยัเชิง

    ปริมาณ (Quantitative Research) เพื่อใหไ้ดข้อ้มูลเชิงกวา้งโดยมีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษากระบวนการ

    การบริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาในดา้นการป้องกนัยาเสพติดและเพื่อนาํเสนอรูปแบบการ

    บริหารจดัการโรงเรียนมธัยมศึกษาในดา้นการป้องกนัยาเสพติด วิธีการวิจยัในรูปแบบการศึกษา

    เฉพาะกรณี (Case study method) โดยแบ่งกรอบแนวคิดออกเป็น 2 ตอน คือ 1.กรอบแนวคิดตอน

    การวจิยัเชิงคุณภาพ 2. กรอบแนวคิดในขั้นตอนการวจิยัเชิงปริมาณ

  • 8

    1. กรอบแนวคิดตอนการวจิยัเชิงคุณภาพ ผูว้ิจยัไดท้บทวนวรรณกรรม แนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ง ไดก้รอบแนวคิดในขั้นตอนน้ี

    โดยใชท้ฤษฎีระบบ ท่ี ประกอบดว้ย

    1) ส่ิงท่ีป้อนเข้า (Input) หมายถึง ปัจจัย และองค์ประกอบแรกท่ีจะนําไปสู่การดาํเนินงานของระบบ ประกอบดว้ย คน งาน

    2) กระบวนการ (Process) หมายถึง วธีิการต่างๆ ท่ีจะนาํไปสู่ผลงานหรือผลผลิตของระบบ ประกอบด้วย การวางแผน การจดัองค์การ การประสานงาน การอาํนวยการ การจดับุคลากร

    เขา้ปฏิบติัหนา้ท่ี การรายงาน และการงบประมาณ

    3) ผลผลิต (Output) หมายถึง ความสําเร็จในลกัษณะต่างๆ ท่ีมีประสิทธิภาพ หรือประสิทธิผลในการป้องกนัปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา เป็นกรอบในการวจิยัเคร่าๆเพื่อใชใ้นการ

    สัมภาษณ์เชิงลึกผูบ้ริหารโรงเรียนและสนทนากลุ่มกับประธานกรรมการการศึกษา ตวัแทนครู

    ตวัแทนผูป้กครอง ตวัแทนนกัเรียน

    2. กรอบแนวคิดขั้น