โดย นายธราวุฒิ บุญช...

103
แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล โดย นายธราวุฒิ บุญชวยเหลือ สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก .. 2556

Upload: others

Post on 14-Oct-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล

โดย

นายธราวุฒิ บุญชวยเหลือ

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2556

Page 2: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล

By

Mr. Tharawut Boonchuailuea

A Study Report Submitted in Partial Fulfillment of theRequirements for the Master Degree of Business Administration

Faculty of Business AdministrationKRIRK UNIVERSITY

2013

Page 3: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

หัวขอสารนิพนธ แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล

ชื่อผูวิจัย นายธราวุฒิ บุญชวยเหลือคณะ/มหาวิทยาลัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ธมกร ธาราศรีสุทธิปการศึกษา 2556

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่องแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 และศึกษาเปรียบเทียบแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล

กลุมตัวอยางคือ นักฟุตบอลสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จํานวน 251 คน ใชแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลใชวิธีทางสถิติเชิงพรรณนาคือ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสูงสุด คาต่ําสุด คา t-test คา One-way ANOVA และคา LSD

ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลโดยรวมและรายดานอยูในระดับมากที่สุด ยกเวนดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ และดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับอยูในระดับมาก โดยอันดับแรกที่ใหความสําคัญคือ ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด อันดับที่สองคือ ดานเกียรติยศและชื่อเสียง อันดับสามคือ ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ และอันดับสุดทายคือ ดานความคิดเห็นแกตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ ผลการทดสอบสมมติฐานระหวางปจจัยสวนบุคคลของนักกีฬาฟุตบอลกับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล พบวา กลุมตัวอยางที่มีอายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงในการเลนฟุตบอล ประสบการณในการเลนฟุตบอล และรายไดเฉลี่ยตอเดือนตางกัน มีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

คําสําคัญ : แรงจูงใจ, การตัดสินใจ, นักกีฬาฟุตบอล

(1)

Page 4: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

หัวขอสารนิพนธ แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล

ชื่อผูวิจัย นายธราวุฒิ บุญชวยเหลือคณะ/มหาวิทยาลัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ธมกร ธาราศรีสุทธิปการศึกษา 2556

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่องแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 และศึกษาเปรียบเทียบแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล

กลุมตัวอยางคือ นักฟุตบอลสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จํานวน 251 คน ใชแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลใชวิธีทางสถิติเชิงพรรณนาคือ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสูงสุด คาต่ําสุด คา t-test คา One-way ANOVA และคา LSD

ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลโดยรวมและรายดานอยูในระดับมากที่สุด ยกเวนดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ และดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับอยูในระดับมาก โดยอันดับแรกที่ใหความสําคัญคือ ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด อันดับที่สองคือ ดานเกียรติยศและชื่อเสียง อันดับสามคือ ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ และอันดับสุดทายคือ ดานความคิดเห็นแกตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ ผลการทดสอบสมมติฐานระหวางปจจัยสวนบุคคลของนักกีฬาฟุตบอลกับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล พบวา กลุมตัวอยางที่มีอายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงในการเลนฟุตบอล ประสบการณในการเลนฟุตบอล และรายไดเฉลี่ยตอเดือนตางกัน มีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

คําสําคัญ : แรงจูงใจ, การตัดสินใจ, นักกีฬาฟุตบอล

(1)

Page 5: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธเรื่อง แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย ธมกร ธาราศรีสุทธิ อาจารยที่ปรึกษา และรองศาสตราจารย ดร.วิไลลักษณ รัตนเพียรธัมมะ ที่อนุเคราะหใหคําปรึกษาแนะนําแนวทาง แกไขขอผิดพลาด และชวยเหลือในดานตางๆ ทําใหรูปเลมถูกตองสมบูรณ

ขอกราบขอบพระคุณผูวิจัยและผูเขียนตําราวิชาการ ที่สรางแหลงขอมูลเพื่อใชในการอางอิงงานวิจัย รวมทั้งคณาจารย บุคลากร พี่ เพื่อนและนอง MBA มหาวิทยาลัยเกริกทุกทาน ผูตอบแบบสอบถาม ที่ใหความรูและชวยเหลือดวยดีตลอดมา

ทายสุดผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดาและผูอุปการะคุณที่ใหการดูแล สนับสนุนและเปนกําลังใจในทุกๆ เรื่อง ทําใหการศึกษาในระดับปริญญาโทเปนไปอยางราบรื่นและทําการศึกษาสําเร็จไปไดดวยดี หากสารนิพนธฉบับนี้มีขอผิดพลาดหรือบกพรองประการใด ผูวิจัยกราบขออภัยมา ณ ที่นี้และจักนําไปปรับปรุงแกไขในโอกาสตอไป

นายธราวุฒิ บุญชวยเหลือ มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ.2556

(2)

Page 6: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

สารบัญหนา

บทคัดยอภาษาไทย (1)กิตติกรรมประกาศ (2)สารบัญตาราง (5)สารบัญแผนภาพ (7)บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 31.3 ขอบเขตของการวิจัย 31.4 วิธีการศึกษา 41.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 71.6 นิยามศัพทที่เกี่ยวของ 8

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ 92.1 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับแรงจูงใจ 92.2 ทฤษฎีการตัดสินใจ 202.3 แรงจูงใจกับการเลนกีฬาและการออกกําลังกาย 242.4 ประวัติความเปนมาและวิวัฒนาการของกีฬาฟุตบอล 292.5 ประวัติสโมสรดิวิชั่น 1 402.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 422.7 กรอบแนวคิดในการวิจัย 49

บทที่ 3 ผลการศึกษา 443.1 ผลการวิเคราะหปจจัยสวนบุคคลของนักกีฬาฟุตบอล 503.2 ผลการวิเคราะหแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล

52

3.3 ผลการทดสอบสมมติฐาน 61

(3)

Page 7: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

(4)

สารบัญ (ตอ)หนา

บทที่ 4 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 784.1 สรุปผล 784.2 อภิปรายผล 804.3 ขอเสนอแนะ 81

บรรณานุกรม 83ภาคผนวก 86

แบบสอบถาม 87ประวัติผูวิจัย 92

Page 8: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

สารบัญตารางหนา

ตาราง3.1 แสดงจํานวนความถี่และคารอยละของปจจัยสวนบุคคลของนักกีฬาฟุตบอล 503.2 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬา

ฟุตบอลในภาพรวม52

3.3 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

53

3.4 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เก่ียวของ

55

3.5 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ

57

3.6 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานเกียรติยศและชื่อเสียง

59

3.7 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามอายุ

61

3.8 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามอายุ

62

3.9 แสดงการเปรียบเทียบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ จําแนกตามอายุ เปนรายคูดวยวิธี LSD

63

3.10 แสดงการเปรียบเทียบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ จําแนกตามอายุ เปนรายคูดวยวิธี LSD

64

3.11 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามระดับการศึกษา

65

3.12 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามระดับการศึกษา

66

(5)

Page 9: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

(6)

สารบัญตารางหนา

ตาราง3.13 แสดงการเปรียบเทียบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลน

สโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง และบุคคลที่เกี่ยวของ จําแนกตามระดับการศึกษา เปนรายคูดวยวิธี LSD

67

3.14 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามตําแหนงในการเลนฟุตบอล

68

3.15 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามตําแหนงในการเลนฟุตบอล

69

3.16 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามประสบการณในการเลนฟุตบอล

70

3.17 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามประสบการณในการเลนฟุตบอล

71

3.18 แสดงการเปรียบเทียบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ จําแนกตามอายุ เปนรายคูดวยวิธี LSD

72

3.19 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน

73

3.20 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับปจจัยของแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน

74

3.21 แสดงการเปรียบเทียบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน เปนรายคูดวยวิธี LSD

75

4.22 แสดงสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน 76

Page 10: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

สารบัญแผนภาพหนา

แผนภาพ2.1 ลําดับขั้นตอนของความตองการตามทฤษฎีของมาสโลว 162.2 กรอบแนวคิดในการวิจัย 49

(7)

Page 11: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ฟุตบอล (Football) หรือซอคเกอร (Soccer) เปนกีฬาที่มีผูสนใจที่จะชมการแขงขันและเขารวมเลนมากที่สุดในโลก ชนชาติใดเปนผูกําเนิดกีฬาชนิดนี้อยางแทจริงนั้นไมอาจจะยืนยันไดแนนอน เพราะแตละชนชาติตางยืนยันวาเกิดจากประเทศของตน แตในประเทศฝรั่งเศสและประเทศอิตาลี ไดมีการละเลนชนิดหนึ่งที่เรียกวา ซูเลอ (Soule) หรือจิโอโค เดล คาซิโอ (Gioco Del Calcio) มีลักษณะการเลนที่คลายคลึงกับกีฬาฟุตบอลในปจจุบัน ทั้งสองประเทศอาจจะถกเถียงกันวากีฬาฟุตบอลถือกําเนิดจากประเทศของตน อันเปนการหาขอยุติไมได เพราะขาดหลักฐานยืนยันอยางแทจริง ดังนั้น ประวัติของกีฬาฟุตบอลที่มีหลักฐานที่แทจริงสามารถจะอางอิงได เพราะการเลนที่มีกติกาการแขงขันที่แนนอนคือ ประเทศอังกฤษ เพราะประเทศอังกฤษตั้งสมาคมฟุตบอลในป พ.ศ. 2406 และฟุตบอลอาชีพของอังกฤษเกิดขึ้นในป พ.ศ. 2431 วิวัฒนาการดานฟุตบอลจะเปนไปพรอมกับความเจริญกาวหนาของมนุษยตลอดมา

สําหรับกีฬาฟุตบอลในประเทศไทย ไดมีการเลนตั้งแตสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร เนื่องจากสมัยรัชกาลที่ 5 พระองคไดสงพระเจาลูกยาเธอ พระเจาหลานยาเธอ และขาราชบริพารไปศึกษาวิชาการดานตางๆ ที่ประเทศอังกฤษ และผูที่นํากีฬาฟุตบอลกลับมายังประเทศไทยเปนคนแรกคือ เจาพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) หรือที่ประชนชาวไทยมักเรียกชื่อสั้นๆ วา “ครูเทพ” นับจากนั้นกีฬาฟุตบอลก็เขามามีบทบาทกับประชาชนที่สนใจกีฬาประเภทฟุตบอลในประเทศ และมีวัฒนาการและการเติบโตจนถึงปจจุบัน

ฟุตบอลเปนกีฬาประเภทหนึ่งที่ไดรับความนิยมจากบุคคลทั่วไป ทั้งในประเทศและตางประเทศ เพราะเปนกีฬาที่สามารถเลนรวมกันไดหลายคน ทําใหเกิดความสามัคคี มีความสัมพันธในหมูคณะ สงเสริมการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน หางไกลยาเสพติด และยังเปนจุดเริ่มตนในการพัฒนาทางดานจิตใจ เชน การมีน้ําใจเปนนักกีฬา ในประเทศไทยกีฬาฟุตบอลเปนกีฬาที่ไดรับความนิยมที่สุด ซึ่งเห็นไดจากจากในชวงการแขงขันฟุตบอลโลก การแขงขันฟุตบอลไทยพรีเมียรลีก ประชาชนคนไทยจํานวนหลายลานคนเฝาติดตามชมการแขงขันอยางใกลชิด ตลอดเวลา เปนการแขงขันที่สนุกสนาน เราใจ ดึงดูด โดยแตละครั้งไดมีการพัฒนารูปแบบการเลน เทคนิค และแทคติกใหมๆ อยูเสมอ ทําใหเกมตื่นเตน เราใจ และประทับใจ

1

Page 12: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

2

จากการที่กีฬาฟุตบอลไดรับความนิยมสูงสุดจากประชากรโลกผูที่เกี่ยวของ ไมวานักกีฬา ผูฝกสอนกีฬา สมาคม และสหพันธกีฬาที่เกี่ยวของไดรับผลประโยชนมากมาย จํานวนคนที่เขามาในแวดวงของกีฬาฟุตบอลจึงมีจํานวนมาก นักกีฬาฟุตบอลนับเปนผูที่ไดรับความสนใจ และปรากฏตามสื่อ ปจจุบันมีผูที่สนใจและเลนกีฬาฟุตบอลมากขึ้นเรื่อยๆ กีฬาฟุตบอลมีการพัฒนาจนถึงระดับอาชีพหรือในระดับสโมสร มีเงินหมุนเวียนในระบบจํานวนมาก และนักกีฬาฟุตบอลที่เลนในอาชีพจะมีรายไดจากการเลนกีฬาฟุตบอลเปนจํานวนมาก

กีฬาฟุตบอลระดับสโมสรดิวิชั่น 1 เริ่มขึ้นในป พ.ศ.2540 หลังจากกอตั้งไทยแลนดซอกเกอรลีกไดหนึ่งป โดยสมาคมฟุตบอลแหงประเทศไทยฯ (FAT) ทีมที่เขาจะเปนทีมตกชั้นมาจากจอหนนีวอลกเกอรไทยแลนดซอกเกอรลีก 2539 กับทีมขึ้นชั้นมาจากถวย ข โดยแขงขันในระบบพบกันหมดสองรอบโดยลีกดิวิชั่น 1 มีทีมเขารวมการแขงขัน 10 ถึง 12 สโมสร จนกระทั่ง พ.ศ.2550 จึงมีการเพิ่มเปน 24 สโมสร โดยจะแบงเปน 2 สาย เมื่อ พ.ศ.2550 ลีกดิวิชั่น 1 ทําการรวมลีกกับโปรวินเชียลลีก โดยทีมชนะเลิศและรองชนะเลิศไดสิทธิ์ขึ้นชั้นไปสูไทยพรีเมียรลีกรวม 4 สโมสร และตกชั้นลงสูลีกดิวิชั่น 2รวม 10 สโมสร ทําให ป พ.ศ.2551 มีทีมเขารวมแขงขัน 16 สโมสรเมื่อ พ.ศ.2552 เอเอฟซี ไดมีกฎระเบียบวาดวยความเปนสโมสรฟุตบอลอาชีพที่สมบูรณแบบ ทําใหสมาคมฟุตบอลตองจัดตั้งบริษัทไทยพรีเมียรลีก ขึ้นมาเพื่อดําเนินการจัดการแขงขันฟุตบอลลีกภายในประเทศ ใหเปนฟุตบอลอาชีพอยางแทจริง ซึ่งมีจัดตั้งเปนบริษัทนิติบุคคลขึ้นมาดูแลสโมสร ทั้งไทยพรีเมียรลีกและลีกดิวิชั่น 1 ในป 2553 เพิ่มทีมในลีกดิวิชั่น 1 เปน18 ทีม จากการเจริญเติบโตของลีกดิวิชั่น 1 รวมทั้งรางวัลที่ผูชนะเลิศไดรับจึงเปนที่สนใจของนักกีฬาฟุตบอลใฝฝนอยากเขามาเลนมาก เพราะมีรายไดและมีสวัสดิการ ชื่ อ เ สี ย ง แ ล ะ เ ป น อ า ชี พ ที่ ไ ด ผ ล ต อ บ แ ท น ใ ห นั ก กี ฬ า ใ น ร ะ ดั บ ม า ก ( สื บ ค น จ า กhttp://th.wikipedia.org/wiki, วันที่ 21 พฤศจิกายน 2555)

ผูวิจัยในฐานะนักกีฬาฟุตบอลสโมสรแอรฟอรช สโมสรระดับดิวิชั่น 1 เล็งเห็นถึงคุณคาของกีฬาฟุตบอล จึงมีความสนใจที่จะศึกษาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ซึ่งผลของการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ สามารถใชเปนแนวทางในการตัดสินใจประกอบอาชีพนักกีฬาประเภทฟุตบอลของเยาวชนรุนหลัง รวมทั้งนักกีฬาฟุตบอลในปจจุบัน และเปนขอมูลสําหรับ ผูประกอบธุรกิจและผูสนใจดานกีฬาฟุตบอลในอนาคต

Page 13: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

3

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย

1.2.1 เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล1.2.2 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬา

ฟุตบอล จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล ไดแก อายุ ตําแหนงในการเลน ประสบการณในการเลน การศึกษา และรายไดเฉลี่ยตอเดือน

1.3 ขอบเขตของการวิจัย

1.3.1 ขอบเขตดานเนื้อหา ในการศึกษาครั้งนี้ ศึกษาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ประกอบดวยตัวแปรตนและตัวแปรตาม ดังนี้

ตัวแปรตน ปจจัยสวนบุคคล ไดแก 1) อายุ 2) ระดับการศึกษา 3) ตําแหนงในการเลนฟุตบอล 4) ประสบการณในการเลนฟุตบอล 5) รายไดเฉลี่ยตอเดือนตัวแปรตาม แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ประกอบดวย 4 ดาน ไดแก 1) ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด 2) ดานความคิดเห็นเก่ียวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ 3) ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ 4) ดานเกียรติยศและชื่อเสียง

1.3.2 ขอบเขตดานพื้นที ่ ศึกษาเฉพาะสโมสรตาง ๆ ที่อยูในดิวิชั่น 1

1.3.3 ขอบเขตดานประชากร คือ นักกีฬาฟุตบอลระดับสโมสรดิวิชั่น 1

1.3.4 ขอบเขตดานเวลา ระยะเวลาที่ทําการศึกษาวิจัย เริ่มตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2555- มกราคม 2556

Page 14: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

4

1.4 วิธีการศึกษา

ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้

1.4.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ นักกีฬาฟุตบอลสังกัดทีมระดับสโมสรดิวิชั่น 1 ทั้งหมด 18 ทีม รวมทั้งสิ้น 514 คน ประกอบดวย

1. สโมสรแอรฟอรช เอวีเอ เอฟซี 27 คน2. สโมสรปตท.ระยอง 31 คน3. สโมสรสิงหทาเรือ 31 คน4. สโมสรบางกอก เอฟซี 26 คน5. สโมสรภูเก็ต เอฟซี 24 คน6. สโมสรกัลฟ สระบุรี เอฟซี 25 คน7. สโมสรตราด เอฟซี 29 คน8. สโมสรนครราชสีมา เอฟซี 25 คน9. สโมสรนครปฐม ยูไนเต็ด 27 คน10. สโมสรบีบีซียู เอฟซี 31 คน11. สโมสรกระบี่ เอฟซี 34 คน12. สโมสรอยุธยา เอฟซี 27 คน13. สโมสรศรีราชา ซูซูกิ เอฟซี 29 คน14. สโมสรขอนแกน เอฟซี 26 คน15. สโมสรทีทีเอ็ม ลพบุรี 31 คน16. สโมสรราชนาวี 30 คน17. สโมสรระยอง เอฟซี 30 คน18. สโมสรระยอง ยูไนเต็ด 31 คน

Page 15: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

5

เนื่องจากทราบจํานวนประชากรที่แนนอน ผูวิจัยจึงคํานวณหาขนาดของกลุมตัวอยางที่เปนนักกีฬาฟุตบอลสังกัดทีมระดับสโมสรดิวิชั่น 1 โดยใชสูตรของ Taro Yamane (นราศรี ไวนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี, 2547 : 2547) ดังนี้

n = N

1+ N(e)2

โดยกําหนดใหn = ขนาดของกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยN = ขนาดของประชากรที่ใชในการวิจัยe = คาความคลาดเคลื่อน โดยกําหนดใหเทากับ 0.05

แทนคาไดดังนี้n = 514

1 + 514 (0.05) 2

= 224.9 หรือ 225 คน ดังนั้นขนาดกลุมตัวอยางเทากับ 225 คน สําหรับการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดกลุมตัวอยาง

เพิ่มขึ้น เพื่อใชในการวิจัยครั้งนี้เทากับ 251 คน

Page 16: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

6

1.4.2 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวม และขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ “แบบสอบถาม” (Questionnaires) แบงออกเปน 3 สวน ดังนี้

สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคล ไดแก อายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงในการเลนฟุตบอล ประสบการณในการเลนฟุตบอล และรายไดเฉลี่ยตอเดือน คําถามมีลักษณะเปนแบบใหเลือกตอบ (Multiple-choices) โดยใหผูตอบเลือกเพียงคําตอบเดียว

สวนที่ 2 แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนกีฬาฟุตบอล ประกอบดวย 4 ดาน ไดแก ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ และดานเกียรติยศและชื่อเสียง คําถามมีลักษณะเปนแบบมาตราสวนประเมินคาวัด (Rating scale) โดยใหกลุมตัวอยางเลือกเพื่อแสดงถึงระดับแรงจูงใจ ดังนี้

1 หมายถึง นอยที่สุด2 หมายถึง นอย3 หมายถึง ปานกลาง4 หมายถึง มาก5 หมายถึง มากที่สุด

คะแนนเฉลี่ยแบงออกเปน 5 ระดับ โดยมีเกณฑในการพิจารณา ดังนี้

คะแนนสูงสุด- คะแนนต่ําสุด = 5 - 1 จํานวนชั้น 5 = 0.8

คะแนนเฉลี่ย ความหมาย1.00-1.80 มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินในเลือกนอยที่สุด1.81-2.60 มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินในเลือกนอย2.61-3.40 มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินในเลือกปานกลาง3.41-4.20 มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินในเลือกมาก4.21-5.00 มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินในเลือกมากที่สุด

สวนที่ 3 ขอเสนอแนะอื่นๆ

Page 17: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

7

1.4.3 สถิติที่ใชในการวิเคราะห

1. สถิติพรรณนาใชเพื่ออธิบายคุณลักษณะของขอมูล คือ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสูงสุด คาต่ําสุด

2. สถิติที่ใชในการทดสอบสมมติฐานเพื่อหาคาเปรียบเทียบความแตกตาง คือ คา t-test คา One-way ANOVA และหาคา LSD

1.4.4 แหลงที่มาของขอมูล

ขอมูลที่ใชวิเคราะหจะประกอบไปดวยขอมูล 2 ประเภท คือ1. ขอมูลปฐมภูมิ (Primary data) เปนการศึกษารวบรวมขอมูลจากแบบสอบถามเกี่ยวกับ

แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนฟุตบอลสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ประกอบดวย 4 ดาน (1) ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด (2) ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ (3) ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ และ (4) ดานเกียรติยศและชื่อเสียง

2. ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เปนขอมูลที่ไดคนควาจากหนังสือตํารา ผลการวิจัย รวมทั้งเอกสาร วารสาร สารนิพนธ และวิทยานิพนธที่เกี่ยวของ เพื่อทําใหไดแนวคิดทฤษฎีตาง ๆ ตลอดจนผลการศึกษาวิจัยที่ผานมา เพื่อนํามาประกอบในการวิเคราะหและการประยุกตใชไดอยางถูกตอง

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

ขอมูลที่ไดจากการศึกษาสามารถกําหนดนโยบายของสโมสรเพื่อพัฒนาปรับปรุงแรงจูงใจในในการตัดสินใจเลือกเลนฟุตบอลสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล และนอกจากนี้ยังเปนแนวทางในการวิจัยเรื่องอื่นๆ ที่มีความคลายคลึงกันตอไป

Page 18: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

8

1.6 นิยามศัพทที่เกี่ยวของ

การตัดสินใจ หมายถึง การเลือกกระทําอยางหนึ่งอยางใดจากทางเลือกที่มีอยู เพื่อใหไดผลลัพธอยางที่ตนเองมุงหวังใหเกิดขึ้นอยางเปนระบบ

สโมสรดิวิชั่น 1 หมายถึง สโมสรที่ดําเนินการแขงขันฟุตบอลลีกอาชีพ ปจจุบันมีทั้งหมด 18 ทีม

แรงจูงใจภายใน หมายถึง สภาวะของบุคคลที่มีความตองการ และอยากจะแสดงพฤติกรรมบางสิ่งบางอยางดวยเหตุผล และความชอบของตนเอง บุคคลที่มีแรงจูงใจภายในจะแสดงพฤติกรรมตาง ๆ ดวยความพอใจ และเต็มความสามารถ

แรงจูงใจภายนอก หมายถึง สภาวะของคนที่ไดรับแรงกระตุนจากภายนอกทําใหมองเห็นจุดหมาย หรือ เปาหมาย ซึ่งนําไปสูการแสดงพฤติกรรมของคนนั้น

แรงจูงใจในการเลนกีฬาของนักฟุตบอล หมายถึง ปจจัยหรือสภาวะใดๆ ก็ตามที่มีผล ตอการกระตุนใหนักกีฬาเกิดความมานะ พยายาม ความเชื่อมั่น ความกระตือรือรน ทําใหบุคคล กระทําสิ่งหนึ่ง สิ่งใด หรือแสดงพฤติกรรมออกมาและแบงออกเปน 4 ดาน คือ ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ ดานรายไดและ ผลประโยชนที่ไดรับ และดานเกียรติยศและชื่อเสียง

นักกีฬาตัวจริง หมายถึง นักกีฬาที่มีความสามารถระดับสูง โดยผูฝกสอนกําหนดใหลงทําการแขงขันเปน 11 คนแรก

นักกีฬาตัวสํารอง หมายถึง นักกีฬาที่มีความสามารถระดับรองลงมา โดยผูฝกสอนไมไดกําหนดใหลงทําการแขงขันเปน 11 คนแรก

Page 19: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

9

บทที่ 2แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาครั้งนี้ แนวคิดหลักในการศึกษามุงเนนถึงแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ผูวิจัยไดคนควาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของในประเด็นตางๆ ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้

2.1 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับแรงจูงใจ2.2 ทฤษฎีการตัดสินใจ2.3 แรงจูงใจกับการเลนกีฬาและการออกกําลังกาย2.4 ประวัติความเปนมาและวิวัฒนาการของกีฬาฟุตบอล2.5 ประวัติสโมสรดิวิชั่น 12.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ2.7 กรอบแนวคิดในการวิจัย

2.1 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับแรงจูงใจ

2.1.1 ความหมายของแรงจูงใจ

มีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของแรงจูงใจดังนี้ ภารดี อนันตนาวี (2552 : 113) ใหความหมายแรงจูงใจวา หมายถึง สภาพการณที่กระตุน

ใหมนุษยแสดงพฤติกรรมอยางใดอยางหนึ่งออกมาในทิศทางที่ตนตองการ ทั้งนี้เพื่อไปสูเปาหมายปลายทางที่กําหนด หรือหมายถึงกระบวนการที่ทําใหมนุษยกระทํากิจการงานอยางใดอยางหนึ่งอยางมีจุดมุงหมาย มีทิศทางและชวยใหกิจการงานที่กระทํานั้นคงสภาพอยูตอไปโดยที่มนุษยตองมีเจตคติ ทักษะ และความเขาใจในกิจการนั้นอยางแทจริง

จันทรานี สงวนนาม (2551 : 252) ไดใหความหมาแรงจูงใจ หมายถึง ความตองการแรงขับซึ่งเกิดขึ้นภายในตัวบุคคล สวนเครื่องลอหรือสิ่งจูงใจเกิดจากแรงจูงใจภายนอก

Page 20: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

10

รังสรรค ประเสริฐศรี (2544 : 40) ไดใหความหมายแรงจูงใจ หมายถึง สิ่งที่กระตุนใหอินทรียกระทํากิจกรรมอยางหนึ่ง อยางมีจุดมุงหมายปลายทางซึ่งอาจเกิดจากสิ่งเราภายนอกหรือภายในก็ได

กลูเอ็ด (Glueck, 1980) กลาววา แรงจูงใจมีผลตอความเขมของการกระทําและพฤติกรรม ทําใหแตละบุคคลมีพลังในการที่จะทําตามความตองการที่ตั้งไวใหประสบความสําเร็จที่แตกตางกันไป

จากการศึกษาความหมายของแรงจูงใจขางตน พอสรุปไดวา แรงจูงใจ หมายถึง แรงขับที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคลที่ เปนตัวกระตุนใหเกิดการกระทํา การแสดงพฤติกรรมหรือการใชความสามารถในการตอบสนองอยางมีทิศทางและดําเนินไปสูเปาหมายใหประสบผลสําเร็จตามที่ตองการหรือที่กําหนดไว

2.1.2 ความสําคัญของแรงจูงใจ

พนมไพร ไชยยงค (2542 : 138-139) กลาววา การจูงใจไมใชตัวพฤติกรรมหรือเหตุการณที่

สามารถมองเห็นไดโดยตรงแตเปนนามธรรมอยางหนึ่งที่ชวยอธิบายขั้นตอนการเกิดพฤติกรรมให

ชัดเจนยิ่งขึ้นการจูงใจมีลักษณะสําคัญ 3 ประการ คือ

1. ใหพลังกระตุนตอการแสดงพฤติกรรม หรือความเขมของกําลังตอบสนองที่จะแสดง

พฤติกรรม เมื่อกระหายน้ํามาก เราจะเดินอยางเร็ว หรือวิ่งเพื่อเสาะแสวงหาน้ําแกความกระหายแต

ถาเราไมกระหาย หรือกระหายพียงเล็กนอยเราอาจจะเดินชาๆ พูดคุยกับเพื่อนอยางไมรีบรอนเปน

ตน

2. กําหนดทิศทางและเปาหมายของพฤติกรรม เชนเมื่อหิวก็มีพฤติกรรมที่มุงไปสูการ

แสวงหาอาหาร เชน เดินไปรานขาวแกง ฝากเพื่อนไปซื้อ หรือวาจะเลือกทําอยางไรดี เพราะมี

ทางเลือกหลายทาง เพื่อใหไดอาหารมาบําบัดความหิวการไดรับประทานอาหารจึงเปนจุดหมาย

ปลายทางหรือทิศทางของพฤติกรรม

Page 21: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

11

3. กําหนดระดับความพยายาม หรือความมุงหนาไมลดละของพฤติกรรมนั้น คือ จะใชความ

อดทน หรือมานะพยายามในการกระทําพฤติกรรมนั้นไดนานเพียงใด เชน เมื่อเราหิวเราจะเขาครัว

คนหาของรับประทาน ถาในครัวไมมีอะไรรับประทานได เราก็จะออกไปนอกบานเพื่อซื้อของ

รับประทาน ถารานแรกที่ไปถึงปดราน แตความหิวเรายังสูงอยู เราก็จะไปหารานอื่นๆ ตอไปอีก

อาจจะเปนรานที่ 5 หรือ 6 จนกวาจะไดอาหารรับประทาน นั่นคือ ระดับความพยายาม หรือความมุง

หนาไมลดละที่จะแสดงพฤติกรรมก็สูงตามไปดวย

2.1.3 ประโยชนของแรงจูงใจ

มุกดา ศรียงค และคณะ (2540 : 225) ไดกลาวไววา การที่จะเขาใจพฤติกรรมของบุคคลจึงตองทําความเขาใจกับแรงจูงใจของคนนั้นๆ วาบุคคลนี้มีแรงจูงใจอยูในประเภทใด ระดับใด ดังนั้นการทําความเขาใจกับกระบวนการจูงใจ แนวคิด และทฤษฎีของแรงจูงใจจะชวยใหบุคคลไดรับประโยชนในดานตางๆ คือ

1. ความเขาใจในพฤติกรรมของตนเองจะเปนประโยชนในการควบคุมตนใหสามารถเลือกพฤติกรรมใหเหมาะสมและบังคับมิใหตนเองแสดงพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมออกมาได

2. เขาใจในพฤติกรรมของผูอื่นอันจะชวยใหคนเราควบคุมพฤติกรรมของบุคคลอ่ืนได3. เขาใจในพฤติกรรมของกลุมสังคม เพื่อสรางสถานการณจูงใจใหกลุมบุคคลมี

พฤติกรรมนําไปในแนวที่ตองการ

ดังนั้นควรศึกษาทฤษฎีแรงจูงใจและทฤษฎีที่เกี่ยวของเนื่องจากพฤติกรรรมของมนุษยมีผลมาจากแรงจูงใจ และเพื่อใหเขาใจพฤติกรรมของมนุษยมากยิ่งขึ้น

Page 22: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

12

2.1.4 ประเภทของแรงจูงใจ

ประเภทของแรงจูงใจ แรงจูงใจมี 2 ประเภทคือ แรงจูงใจที่เกิดจากแรงขับภายในรางกายและแรงจูงใจที่เกิดจากแรงขับที่เกิดข้ึนภายหลัง ดังจะอธิบายโดยละเอียดคือ

1. แรงจูงใจที่เกิดจากแรงขับภายในรางกาย ( physiological drive ) แรงจูงใจที่เกิดจากแรงขับภายในรางกายหรือเรียกอีกวา แรงจูงใจปฐมภูมิ( primary ) ซึ่งเปนแรงจูงใจที่เกิดขึ้นเองโดยไมตองเรียนรู (unlearned) แตเกิดจากความตองการทางรางกายและเปนตัวที่ผลักดันพฤติกรรมใหเกิดสภาวะสมดุล ซึ่งเปนแรงขับที่มีรากฐานมาจากความตองการที่จะใหชีวิตดํารงอยูได แรงขับประเภทนี้ไดแก ความหิว ความกระหาย ความรูสึกทางเพศ การหลีกหนีความเจ็บปวด การตองการพักผอน และแรงขับของความเปนพอเปนแม อธิบายแรงขับ ไดดังนี้

1.1 ความหิว ( hunger ) ความหิวเกิดจากการขาดสิ่งจําเปนในรางการซึ่งจะทําใหมนุษยมีชีวิตอยู

1.2 ความกระหาย ( Thirst ) ความกระหายเปนแรงขับทางกายที่มีความสําคัญตอการอยูรอดของมนุษยที่รุนแรงกวาความหิวเพราะคนจะอดอาหารไดหลายวัน แตคนเราจะอดน้ําไมไดเมื่อขาดน้ําเปนเวลานานความสามารถในการทํางานของรางกายจะเปลี่ยนไปเพราะเกิดอาการหายใจลําบาก การเคลื่อนไหวของกลามเนื้อผิดปกติ ปากคอและลิ้นแหงมีอาการทุรนทุราย

1.3 ความรูสึกทางเพศ (sex) ความรูสึกทางเพศเปนแรงขับที่ทําใหมนุษยและสัตวดํารงเผาพันธุอยูไดแรงขับทางเพศเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติไมตองมีการเรียนรู แตทั้งนี้จะขึ้นอยูกับวุฒิภาวะอยางไรก็ดีแรงขับทางเพศจะยังไมแสดงใหเห็นชัดเจนจนกวาระบบอวัยวะสืบพันธุจะพัฒนาถึงขีดสุด สําหรับมนุษยความรูสึกทางเพศจะไดรับการเรียนรูจากกรอบของสังคมและวัฒนธรรมหรือการเรียนรูทางสังคมนั่นเอง

1.4 การหลีกหนีความเจ็บปวด (pain reduction drive) การหลีกหนีความเจ็บปวดเปนแรงขับทางกายที่กระทําใหอินทรียมีแรงขับที่จะลดความเจ็บปวดหรือพยายามทําใหความเจ็บปวดนั้นลดนอยลง แรงขับในเรื่องการหลีกหนีจากความเจ็บปวดเปนแรงขับที่คลายๆ กับปฏิกิริยาสะทอนโดยมีการทําหนาที่โดยอัตโนมัติ

1.5 การตองการพักผอน (relax ) มนุษยตองการพักผอน ตองการการนอนหลับเปนความตองการโดยธรรมชาติที่มีในสัตวและมนุษย ศูนยกลางการหลับอยูที่สมอง การหลับ การพักผอนทําใหรางกายที่ออนเพลียเมื่อยลาไดคลายตัวและรูสึกสดชื่นขึ้นเมื่อบุคคลไดพักผอนตามความตองการของรางกายซึ่งจะทําใหเกิดความสมดุล

Page 23: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

13

1.6 แรงขับของความเปนพอเปนแม (maternal drive) เปนแรงขับที่มีโดยธรรมชาติเพื่อปกปองลูก ใหปลอดภัย เปนพลังที่แมมีในการใหกําเนิดลูกมีลักษณะเปนสัญชาตญาณ โดยที่ผูเปนแมจะมีพฤติกรรมปกปองลูกไมตองมีประสบการณและการเรียนรู เหมือนกับสัตวทุกชนิดจะกระทําไดเอง

2. แรงจูงใจที่เกิดจากแรงขับที่เกิดขึ้นภายหลัง (acquired drive) หรือแรงจูงใจทุติยภูมิ (secondary) ซึ่งเปนแรงจูงใจที่เกิดขึ้นเองโดยตองเรียนรู (learned) แรงจูงใจประเภทนี้เกิดจากการที่บุคคลมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม ทําใหเกิดแรงขับแมวาแรงขับในกลุมนี้อาจไมมีความจําเปนในการดํารงชีวิตแตแรงขับประเภทนี้ ใหความรูสึกที่พึงพอใจแกบุคคลไดมากและสามารถเปนพลังผลักดันใหบุคคลกาวไปขางหนาอยางมีเปาหมาย แรงจูงใจประเภทนี้ไดแก

2.1 ความอยากรูอยากเห็นและการสํารวจ เปนแรงขับที่มีในตัวมนุษยเด็กทารกที่เริ่มคลานไดมักจะอยากรูอยากเห็น จะคลานไปทั่วอยากเห็นวาที่นั่นมีอะไร อยากสํารวจแมเมื่อโตขึ้นบุคคลก็อยากที่จะรู วาที่นั่นมีอะไรที่นี่มีอะไร สํารวจสิ่งแปลกๆ ออกไป ยิ่งไดมีโอกาสไปในสถานที่หรือสิ่งแวดลอมที่ตางออกไปบุคคลจะรูสึกพอใจ แมกระทั่งเรื่องการไดกินอาหารแปลกๆ การไดดูดินแดนลึกลับ ยิ่งกระตุนแรงปรารถนาใหนาสนใจยิ่งขึ้น ยิ่งถาสิ่งใดๆ ที่หาดูอยากสิ่งนั้นๆ ยิ่งนาสนใจทั้งนี้เพื่อตอบสนองความอยากรูอยากเห็นนั้นเอง

2.2 ความตองการรูจักตนเองและการตองการพัฒนาตน เปนแรงขับที่บุคคลรูสึกวาตนเองนาจะไดรูจักตนเองอยางแทจริงและสามารถพัฒนาตนไปตามศักยภาพแหงตนโดยสมบูรณแรงขับนี้เปนแรงปรารถนาที่ปราศจากการชี้นําของผูอื่น แรงขับประเภทนี้เปนแรงขับที่เกิดขึ้นเพื่อใหบุคคลไดรูจักตนเอง ยอมรับตนเองและเห็นคุณคาของตนเองและผูอื่น รักตนเองและผูอื่นเสมอตน จะทําใหบุคคลสามารถยอมรับตนเองไดทั้งในสวนที่ดีและสวนดอยซึ่งจะนํามาซึ่งการพัฒนาตนทําใหบุคคลเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรค เกิดการรูจักตนเองอยางแทจริง เกิดการตระหนักรูและพัฒนาตนตามแนวคิดของ มาสโลวไปจนถึงขั้น “self-actualization” หรือตามแนวคิดของโรเจอรวา “fully functioning person”

2.3 ความตองการความรูความเขาใจ เปนแรงจูงใจที่เชื่อวามนุษยมีเจตคติและพฤติกรรมที่สอดคลองกันซึ่งจะทําใหบุคคลเกิดความพอใจ และเกิดความสมดุลในพฤติกรรมและทําใหตนเองรูสึกดี เชน คนอวนตองการลดน้ําหนักเมื่อถึงระดับหนึ่งการลดน้ําหนักทําใหรูสึกลําบาก ทั้งเหนื่อย ทั้งทอ น้ําหนักก็ยังไมลด ทายที่สุดก็ยกเลิกการลดน้ําหนักและบอกวามีคนอวนหลายคนในโลกที่มีอายุยืนยาว

Page 24: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

14

2.4 ความตองการความสัมฤทธิ์ เปนแรงจูงใจที่บุคคลตองการความสําเร็จหรือความสัมฤทธิ์เปนความปรารถนาที่บุคคลตองการจะกระทําสิ่งใดๆ ใหประสบความสําเร็จ ตองการรูสึกชนะ ตองรูสึกวาตนเองมีอิทธิพลตอบุคคลตอสถานการณ ตองการไดชื่อ มีคนยอมรับในความสามารถและความสําเร็จ แรงจูงใจประเภทนี้มีสวนที่ทําใหบุคคลมีความพยายามในสิ่งที่ตนเองมุงหวังแมวาสิ่งที่มุงหวังจะยากสักเพียงใดบุคคลก็จะไปใหถึงเปาหมายจนไดเปนแรงจูงใจที่สรางความพอใจใหกับบุคคล

2.5 ความตองการอํานาจ สําหรับแรงจูงใจประเภทนี้มักมีในตัวบุคคลแตจะแสดงออกหรือไมขึ้นอยูกับบุคคลแตละคนแตนักจิตวิทยาหลายทานเชื่อวาบุคคลมีแรงจูงใจในเรื่องการมีอํานาจเหนือผูอื่นและแรงจูงใจนี้จะอยูในสวนของจิตใตสํานึก บางครั้งแรงจูงใจประเภทนี้มีอยูในตัวบุคคลแตเจาตัวอาจจะไมรูตัวแตเมื่อใดที่บุคคลถูกแรงผลักดันมากๆ บุคคลอาจแสดงแรงจูงใจใฝอํานาจออกมาก็ได

2.1.5 องคประกอบของแรงจูงใจ

องคประกอบในการเกิดแรงจูงใจ มี 4 ขั้นตอน คือ1. ขั้นความตองการ (needs stage) ความตองการเปนสภาวะขาดสมดุลที่เกิดไดเมื่อบุคคล

ขาดสิ่งที่จะทําใหสวนตางๆ ภายในรางกายทําหนาที่ไปตามปกติ สิ่งที่อาจจะเปนสิ่งที่จําเปนตอการดําเนินชีวิตจึงทําใหเกิดแรงขับและเกิดแรงกระตุน เชน ความหิว เมื่อบุคคลหิวบุคคลก็ตองพยายามหาอาหาร คนที่ลดน้ําหนักโดยการใชยาลดความอวน ยาจะไปกดประสาทไมใหหิวแตพอหลังจากไมใชยาลดน้ําหนัก จะเห็นวาคนที่ลดน้ําหนักโดยใชยาจะกินอาหารชดเชยมากขึ้นและอาจจะกลับมาอวนใหมอีก

2. ขั้นแรงขับ (drive stage) หรือภาวะที่บุคคลถูกกระตุนใหเกิดแรงขับ เมื่อบุคคลเกิดแรงขับแลวบุคคลจะนิ่งอยูเฉยๆ ไมไดบุคคลอาจจะรูสึกไมมีความสุข กระวนกระวายใจ ดังนั้นบุคคลจะคิดคนหาวิธีการที่ทําใหตนเองรูสึกวาไดรับการตอบสนองจากความหิว ความกระหาย ความตองการทั้งปวงที่เกิดขึ้นเพื่อผลักดันใหไปสูจุดหมายปลายทาง ตามที่บุคคลตองการ เชน เมื่อเราวิ่งเหนื่อยๆ อากาศก็รอนจัด ทําใหเราเหนื่อยและคอแหงอยากกินน้ํา สิ่งที่เราตองการบําบัดความกระหายในชวงเวลานั้นคือนํ้า บุคคลจะพยายามทุกวิธีทางที่จะหาน้ํามาดื่ม

Page 25: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

15

3. ขั้นพฤติกรรม (behavior stage) เปนขั้นที่เกิดแรงขับอยางมากที่ทําใหบุคคลเดินไปหาน้ําดื่ม โดยการเดินเขาไปในรานสะดวกซื้อแลวเปดขวดดื่มแลวจึงเดินมาจายสตางค หรือถาทนตอความกระหายน้ําได ก็รีบเดินอยางรวดเร็วไปจายสตางคแลวยกน้ําดื่มรวดเดียวหมดขวดชื่นใจ ความกระหายก็บรรเทาลง

4. ขั้นลดแรงขับ (drive reduction stage) เปนขั้นสุดทายที่อินทรียไดรับการตอบสนองคือ ไดดื่มน้ําเปนขั้นที่บุคคลเกิดความพึงพอใจ ความตองการตางๆ ก็จะลดลง ดังแสดงในแหลงของแรงจูงใจ

2.1.6 แหลงของแรงจูงใจ

2.1 แรงจูงใจที่เกิดจากแหลงภายนอก มากระตุนใหเปนสิ่งเราใหบุคคลแสดงออกซึ่งพฤติกรรมตางๆ การจูงใจภายนอกจําแนกไดเปน 2 ชนิด คือ

- แรงจูงใจทางบวก แรงจูงใจเกิดจากการไดรับรางวัล หรือเปนแรงจูงใจที่กระตุนใหกลุมเปาหมายมีพฤติกรรมการฮึกเหิมเพื่อใหสามารถบรรลุผลสําเร็จตามแรงที่มากระตุน เมื่อผลสําเร็จนั้นเกิดผลดี จะกระตุนใหกระทําความดีตอไป

- แรงจูงใจทางลบ เปนแรงจูงใจดวยการถูกลงโทษ ถาหากไมปฏิบัติงานใหไดผลสําเร็จตามจุดมุงหมาย นับเปนการกระตุนเพื่อมิใหบุคคลกระทําความผิดซ้ําแลวซ้ําอีก

2.2 แรงจูงใจที่มีแหลงเกิดจากภายใน เปนความรูสึกที่เกิดจากการมองเห็นคุณคาหรือโอกาสของตนเอง หรือการมีจิตสํานึกดวยตนเองไมจําเปนตองมีสิ่งใดมากระตุนใหเกิดมีความตองการ

2.3 แรงจูงใจที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เปนแรงจูงใจที่เกิดขึ้นเองโดยไมจําเปนตองมีสิ่งใดมากระตุนใหเกิดความตองการ จําแนกได 3 ประเภท

- แรงจูงใจทางสรีรวิทยา หรือแรงขับทางชีวภาพ (biological drive) เปนแรงจูงใจตามธรรมชาติไมจําเปนตองมีสิ่งใดมากระทบ - แรงจูงใจทางจิตวิทยา เปนแรงจูงใจที่เกิดจากจิตใจของมนุษย

- แรงจูงใจที่เกิดทางสังคม เกิดจากปจจัยภายในที่ตองอาศัยอยูกับบุคคลอื่นๆ ไมสามารถอยูไดอยางโดดเดี่ยวในสังคม

Page 26: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

16

2.1.7 ทฤษฎีและหลักการเกี่ยวกับแรงจูงใจ

พฤติกรรมของมนุษยทุกรูปแบบเกิดจากแรงจูงใจของตนเอง ระดับของแรงจูงใจตางกัน จึงทําใหบุคคลมีบุคลิกภาพไมเหมือนกัน ซึ่งสามารถนําทฤษฎีหลายๆ ทฤษฎีมาอธิบาย ดังนี้

1. ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว (Maslow)

Maslow (1970) ไดลําดับความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษยไว 5 ขั้นตอนดังนี้

แผนภาพที่ 2.1 ลําดับขั้นตอนของความตองการตามทฤษฎีของมาสโลวที่มา : Maslow (1970)

5. ความตองการเปนตัวของตัวเอง (Self-actualization needs) :[การพัฒนาตัวเองและความปรารถนา สวนตัว (Self- development and realization) ]

4. ความตองการการยกยอง( Esteem needs ) : [ การยกยอง ความนับถือ สถานะ( Self- Esteem, recognition, status ) ]

3. ความตองการดานสังคม(Social needs) : [ การยอมรับและความรัก( Sense lf velonging , love) ]

2. ความตองการความปลอดภัยและมั่นคง (Safety needs) :[ ความมั่นคงและความคุมครอง( Security ,Protection ) ]

1. ความตองการทางรางกาย ( Physiological needs) : [อาหาร น้ํา อากาศ ที่อยูอาศัยและความตองการทางเพศ ( Food , water, shelter and sex ) ]

Page 27: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

17

จากแผนภาพที่ 2.1 สามารถอธิบายไดดังนี้1. ความตองการทางดานรางกาย (Physiological needs) ไดแก ความตองการขั้นพื้นฐาน

เบื้องตนอันเปนสิ่งจําเปนเพื่อการดํารงชีพของมนุษย ไดแก อาหาร น้ํา อากาศ การพักผอนนอน หลับ และความตองการทางเพศ เปนตน ความตองการเหลานี้จะตองไดรับการตอบสนองจนเปนที่พอใจกอนความตองการในระดับสูงขึ้นจึงจะเกิดขึ้น

2. ความตองการความปลอดภัย (Safety needs) เปนความตองการที่เกิดขึ้นภายหลังจากความตองการในระดับที่ 1 ไดรับการตอบสนองจนเปนที่พอใจแลวและมีความรูสึกอิสระไมตองเปนหวงกังวลกับความตองการทางดานรางกายอีกตอไป ความตองการความปลอดภัยจึงเกิดขึ้น ความตองการนี้จะเห็นไดชัดในเด็กเล็ก ซึ่งตองการความอบอุนปลอดภัยจากพอแม ซึ่งสอดคลองตามลักษณะ“ความตองการหลีกเลี่ยงอันตราย” (Harm avoidance need) ของเมอรเรย

3. ความตองการการยอบรับ หรือความผูกพัน หรือความตองการทางสังคม (Affiliation or acceptance needs) เนื่องจากบุคคลอยูในสังคมจึงตองการการยอบรับจากบุคคลอื่น

4. ความตองการการยกยอง (Esteem needs หรือ Egoistic needs) ตามทฤษฎีมาสโลว เมื่อบุคคลไดรับการตอบสนองความตองการการยอบรับ จะตองการการยกยองจากตัวเองและจากบุคคลอื่น ความตองการนี้เปนการพึงพอใจในอํานาจ (Power) ความภาคภูมิใจ (Prestige) สถานะ (Status) และความเชื่อม่ันในตนเอง (Self – confidence )

5. ความตองการความสําเร็จในชีวิต (Need for self-actualization ) มาสโลว คํานึงวาความตองการในระดับสูงสุดเปนความปรารถนาที่จะสามารถประสบความสําเร็จ เพื่อที่จะมีศักยภาพและบรรลุความสําเร็จในสิ่งใดสิ่งหนึ่งในระดับสูงสุด

จากทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว สามารถแบงความตองการออกไดเปน 2 ระดับ คือ

1. ความตองการในระดับต่ํา (Lower order needs) ประกอบดวย ความตองการทางรางกายความตองการความปลอดภัยและมั่นคง และความตองการความผูกพันหรือการยอมรับ

2. ความตองการในระดับสูง (Higher order needs) ประกอบดวย ความตองการการยกยองและความตองการความสําเร็จในชีวิต

Page 28: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

18

2. ทฤษฎีความตองการของเมอรเรย (Murey) เมอรเรย

Murey (1938; อางถึงใน สุรางค โควตระกูล, 2552: 156) กลาววา ความตองการเปนพื้นฐานที่จะทําใหเกิดแรงขับหรือแรงจูงใจ

ซึ่งเปนผลใหบุคคลแสดงพฤติกรรมไปในทิศทางที่จะนําไปสูเปาหมาย (Goal) และความตองการของบุคคลไมวาจะเกิดภายในรางกายหรือเกิดจากสังคมจะมีความสําคัญเทาเทียมกัน ถาเกิดขึ้นพรอม ๆ กัน จะไมมีความตองการใดความตองการหนึ่งที่สําคัญไปกวาความตองการอื่นดังนั้นการเลือกแสดงพฤติกรรมตอบสนองความตองการจึงไมแนนอน ไมสามารถบงชัดไดวาอินทรียจะเลือกตอบสนองตอความตองการใดกอน ความตองการนี้ เมอรเรย กลาววา มีถึง 20 ความตองการ ดังนี้

1. ความตองการที่จะยอมแพหรือยอมรับผิด (Abasement need) 2. ความตองการที่จะเอาชนะอุปสรรคทั้งปวง (Achievement need) 3. ความตองการทําใหผูอื่นรัก (Affiliation need) 4. ความตองการเอาชนะโดยใชความรุนแรง และการตอสู (Aggression need) 5. ความตองการเปนอิสระ เปนตัวของตัวเอง (Autonomy need) 6. ความตองการที่จะฝาฟนอุปสรรคโดยการสรางความมานะพยายามขึ้น (Counteraction

need) 7. ความตองการปองกันตนเองจากความผิด คําวิพากษวิจารณ การตําหนิ (Defendance

need) 8. ความตองการที่จะยอมรับนับถือ ใหความชวยเหลือแกผูสูงอายุกวา9. ความตองการที่จะควบคุมผูอื่น ใหผูอื่นกระทําตาม (Dominance need) 10. ความตองการสรางความประทับใจใหแกผูอื่น ตองการใหผูอื่นรับรูเรื่องราวของ

ตนเอง (Exhibition need) 11. ความตองการที่จะไดรับความปลอดภัยจากสถานการณที่อันตรายทั้งปวง (Harm

avoidance need) 12. ความตองการที่จะพนจากความอับอาย (Avoidance of inferiority need) 13. ความตองการที่จะใหความเมตตา สงสาร ชวยเหลือผูที่ชวยตนเองไมได (Nurturance

need) 14. ความตองการที่จะจัดทุกสิ่งทุกอยางใหเปนระเบียบ (Orderliness need) 15. ความตองการความสนุกสนาน (Play need)

Page 29: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

19

16. ความตองการที่จะแยกตนเองออกจากความทุกข (Rejection need) 17. ความตองการการดูแลเอาใจใส ความเมตตาสงสารจากผูอื่น (Succorance need) 18. ความตองการทางเพศ (Sexual need) 19. ความตองการที่จะมีความสุขกับสิ่งที่ประทับใจทั้งมวล (Sentience need) 20. ความตองการที่จะเขาใจสิ่งตาง ๆ (Understanding need)

3. ทฤษฎีจิตวิเคราะห

ฟรอยด (Freud, 1940; อางถึงใน สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต, 2549: 200-203) อธิบายวาพฤติกรรมตาง ๆ ของบุคคลเกิดจากแรงขับที่ฝงอยูในจิตไรสานึก (Unconscious) สิ่งสําคัญที่สุดของแรงจูงใจคือ สัญชาตญาณแรงขับ (Instinctual drives) ฟรอยดมีความเชื่อวาพฤติกรรมทั้งหมดที่บุคคลแสดงออกนั้นมาจากสัญชาตญาณแรงขับ ซึ่งสัญชาตญาณแรงขับนี้เปนสิ่งเราภายในที่แรงมาก บุคคลไมสามารถจะหลีกหรือหนีจากสิ่งเรานี้ไดเลย ตางจากสิ่งเราภายนอกที่บุคคลยังมีโอกาสหลีกหรือหนีไดเมื่อเกิดความไมพอใจในสิ่งเรา นั้น เมื่อใดก็ตามที่สิ่งเราภายในหรือแรงขับนี้เพิ่มมากขึ้น แรงกระตุนใหบุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อสนองความพึงพอใจก็จะสูงขึ้น ซึ่งถาบุคคลไมสามารถที่จะแสดงพฤติกรรมที่สามารถตอบสนอง ตอแรงขับนี้ไดแลว ก็อาจจะเปนสาเหตุทําใหบุคคลเกิดความเจ็บปวยทางจิตได แตถาบุคคลสามารถแสดงพฤติกรรมที่ตอบสนองแรงขับนี้ไดบุคคลก็จะมีความรูสึกที่เปนสุข ฟรอยดไดแบงสัญชาตญาณนี้ออกเปน 2 ประเภทดวยกัน คือ

1. สัญชาตญาณแหงการมีชีวิต (Life Instinct) สัญชาตญาณแหงการมีชีวิตนี้เปนตัวกระตุนใหบุคคลไดพัฒนาและเจริญเติบโต ซึ่งสัญชาตญาณชนิดนี้ประกอบดวยพลังงานชนิดหนึ่งที่เรียกวาลิบิโด (Libido) เปนพลังงานทางจิตที่กระตุนใหบุคคลกระทํากิจกรรมทางเพศ ซึ่งในที่นี้ ฟรอยดไมไดหมายถึงเฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวกับการรวมเพศเทานั้น

2. สัญชาตญาณแหงความตาย (Death Instinct) สัญชาตญาณแหงความตายเปนตัวกระตุนใหบุคคลแสดงพฤติกรรมกาวราวอันนําไปสูการทําลาย ซึ่งอาจนําไปสูพฤติกรรมฆาตัวตายหรือแสดงพฤติกรรมอื่นๆ ที่เปนภัยแกตนเองหรืออาจแสดงพฤติกรรมออกมาในรูปแบบของความกาวราวตอบุคคลอื่น ฟรอยดเชื่อวาความตองการความพึงพอใจทางเพศและความกาวราวเปนสิ่งที่เปนพื้นฐานหลักสองประการของการจูงใจใหบุคคลแสดงพฤติกรรม

Page 30: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

20

จากทฤษฎีที่ไดกลาวมาทั้งหมดนี้ พอจะสรุปไดวาทฤษฎีแรงจูงใจเปนทฤษฎีที่ สงผลตอความคิด ความเชื่อ ความตองการ ความมีเหตุผลในการตัดสินใจกระทําสิ่งตาง ๆ และกระทําพฤติกรรมใด ๆ ดวยความจริงใจ ทฤษฎีของแตละบุคคลยอมมีความแตกตางกันไป และจะแสวงหาความตองการออกไปเรื่อย ๆ จากระดับขั้นต่ําไปหาขั้นสูงโดยไมมีวันสิ้นสุดเพื่อใหตนเองไดมาซึ่งความสุข

2.2 ทฤษฎีการตัดสินใจ

วิทยา วิสูตรเรืองเดช (2545 : 27) ไดกลาววา ในการดําเนินชีวิตของแตละบุคคลจะตอง ผานกระบวนการตางๆ อยู มากมาย โดยการตัดสินใจเลือกกระทําหรือละเวนไมกระทํากิจกรรม ตางๆ ของตน ขึ้นอยูกับพื้นฐานเหตุผลของความแตกตางระหวางบุคคลตางกันออกไปตามปจจัย สวนตัวและปจจัยแวดลอม การตัดสินใจเพื่อตนเองหรือการตัดสินใจเพื่อสวนรวมซึ่งขึ้นอยู กับ ความเชื่อ คานิยม ทัศนคติ และแรงจูงใจตางๆ

2.2.1 ความหมายของการตัดสินใจ

การตัดสินใจมีนักวิชาการไดใหคําจํากัดความหรือคํานิยามไว ดังนี้ แฮรีสัน Harrison (1981 : 18) ไดใหคํานิยามของการตัดสินใจ วเปนกระบวนการ

ประเมินผลเกี่ยวกับทางเลือกหรือตัวเลือก หรือตัวเลือกที่จะนําไปสูการบรรลุ เปาหมาย และการคาดคะเนผลที่เกิดทางเลือกปฏิบัติที่จะสงผลถึงการบรรลุเปาหมายไดมากที่สุด

ฟรายเมน Friedman (1957 : 9) ไดใหความหมายของการตัดสินใจ คือความสามารถในการทํางานหรือการบริหารงาน นอกจากบุคคลจะตองมีความรูความสามารถในงานที่ปฏิบัติแลวสิ่งสําคัญประการหนึ่งของผูปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งหัวหนางานหรือผูบริหารก็คือ การตัดสินใจ (Decision making) การตัดสินใจเปรียบเสมือนหัวใจของการปฏิบัติงานและบริหารงาน ทั้งนี้เพราะการตัดสินใจจะมีอยูในแทบทุกขั้นตอนและทุกกระบวนการของการทํางาน แมแตบุคคลทั่วไปก็ไมอาจหลีกเลี่ยงเรื่องการตัดสินใจได นับตั้งแตบุคคลตื่นขึ้นมาก็จะมีการตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ อยู ตลอดเวลา ไมวาจะเปนการเลือกชุดที่จะใส เวลาที่จะออกจากบาน เสนทางที่จะใชเดินทาง เปนตน แตดูเหมือนวาการตัดสินใจในเรื่องทั่ว ๆ ไปเหลานี้เปนเรื่องที่ไม ตองพิจารณาอะไรมากมายนัก แมตัดสินใจแลวผิดพลาดก็สามารถแกไขไดไมยาก แตถาเรื่องที่ตัดสินใจนั้นเปนเรื่องใหญ ซึ่ง

Page 31: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

21

หมายถึง เรื่องที่หากตัดสินใจแลวผิดพลาดจะเกิดความเสียหายมากหรือแกไขไดยาก การตัดสินใจในเรื่องใหญ ๆ เหลานี้ควรตองพิจารณาใหรอบคอบกอนที่จะตัดสินใจลงไป ทั้งนี้การตัดสินใจในบางเรื่องของบุคคลอาจหมายถึงชีวิตหรืออนาคตของบุคคลนั้น ทํานองเดียวกันกับการตัดสินใจในบางเรื่องของผูนําหรือผูบริหารอาจหมายถึงความอยูรอดหรือไม ของกลุม ของหนวยงาน หรือขององคการ เปนตน

สรุปการตัดสินใจนับวาเปนสิ่งที่สําคัญอยางยิ่งตอชีวิตและการทํางานของบุคคล และถือ เปนบทบาทที่สําคัญของผูนําหรือผูบริหารในการจัดการหรือบริหารงานซึ่ง จะนําพาใหเกิดความอยูรอดหรือไม ของกลุม หนวยงาน หรือองคการ การตัดสินใจที่ดีนั้นจะกอใหเกิดความผิดพลาดนอยที่สุด ดังนั้นผูที่จะตัดสินใจจึงควรหาขอมูลหรือมีขอมูลที่ดีและมีกระบวนการที่ดีใหการตัดสินใจ ตลอดจนตระหนักถึงสาเหตุที่ทําใหเกิดการตัดสินใจผิดพลาดอีกดวยแลว การตัดสินใจก็จะเกิดผลดีมากที่สุดและเกิดความผิดพลาดนอยที่สุด

2.2.2 กระบวนการตัดสินใจ

กาญจนา เกียรติมณีรัตน (2546 : 65) ไดใหความหมายของการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค วามีกระบวนการและพฤติกรรมที่คลายคลึงกัน ซึ่งสามารถสรุปกระบวนการตัดสินใจซื้อและพฤติกรรมของผูบริโภคเปนองคประกอบ 3 สวนใหญ คือ ปจจัยนําเข า (Input) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ (Output) โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ปจจัยนําเขา (Input)

มีองคประกอบที่เกิดจากปจจัยภายนอก (External influence) ซึ่งเปนแหลงขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ ปจจัยภายนอกดังกลาวมีอิทธิพลตอคานิยม (Values) ทัศนคติ (Attitudes) และพฤติกรรมของผูบริโภค โดยเฉพาะปจจัยภายนอกที่อิทธิพลตอผูบริโภคมากคือ ปจจัยดานการตลาด และ ปจจัยดานสังคมวัฒนธรรม

ปจจัยดานการตลาด (Marketing inputs) เปนกิจกรรมทางการตลาดที่พยายามเขาถึงการแจงขอมูลขาวสารและจูงใจใหผูบริโภคใหซื้อและใชผลิตภัณฑ เรียกวา กลยุทธ สวนผสมทางการตลาด ไดแก การโฆษณา การใหขาวประชาสัมพันธสินคา และการขายตรงใหแกผูบริโภค

Page 32: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

22

ปจจัยดานสังคม วัฒนธรรม (Sociaocultural inputs) ปจจัยนําเขาในดานนี้เกี่ยวของกับภาพแวดลอมดานสังคมวัฒนธรรม ซึ่งเปนปจจัยภายนอกทีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อ ไดแก สมาชิกในครอบครัว ชนชั้นทางสังคม ตลอดจนแหลงขอมูลที่ไมเปนทางการ และแหลงขอมูลที่อื่นที่ไมใชทางธุรกิจ ทั้งนี้ ปจจัยดานสังคมวัฒนธรรมไมจําเปนตองสนับสนุนการซื้อหรือบริโภคผลิตภัณฑนั้น แตอาจจะทําใหผูบริโภคตอตานการใชผลิตภัณฑก็ได

2. กระบวนการ (Process)

กระบวนการตัดสินใจซึ่งป จจัยภายในประกอบไปดวย แรงจูงใจ การรับรู การเรียนรู บุคลิกภาพ และทัศนคติ ของผูบริโภค แยกเปนองคประกอบ 3 ขั้นตอน คือ

ขั้นความตองการรับรู (Need recognition) เนื่องจากผูบริโภคตระหนักถึงปญหาหรือความตองการที่เกิดขึ้น แตยังไมไดรับการตอบสนองทําใหเกิดความเครียด ความกดดันตองการที่จะผอนคลายความตองการที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเปนความตองการพื้นฐานที่เกิดจากสภาพรางกาย หรือความตองการที่เกิดขึ้นเมื่อไดรับการกระตุนจากสิ่งเราภายนอก เชน จากการโฆษณา เปนตน

ขั้นการคนหาขอมูลกอนตัดสินใจ (Prepurchase search) ถาความตองการที่เกิดขึ้นรุนแรง และมีสิ่งซึ่งสามารถสนองความตองการได ผูบริโภคก็จะตัดสินใจซื้อ แตถาไมเปนไปตามความตองการ ความตองการนี้ก็จะถูกเก็บสะสมไวในความทรงจํา และอาจมีการคนหาขอมูลตอไปอยางจริงจัง หรือหยุดการคนหาขอมูล ทั้งนี้ขึ้นอยู กับระดับความตองการของผูบริโภค แหลงขอมูลอาจมาจากหลายแหลง เชน ครอบครัว เพื่อน ผูคุนเคย หรืออาจไดมาจากการโฆษณา พนักงานขาย การแสดงสินคา และการเผยแพรโดยสื่อมวลชน ตลอดจนการทดลองใชผลิตภัณฑของผูบริโภคเอง

อิทธิพลของขอมูลขาวสารที่ผูบริโภคไดรับแตกตางกันไปตามประเภทของผลิตภัณฑ และคุณลักษณะสวนตัวของผูบริโภค โดยทั่วไปแลวผูบริโภคไดรับขอมูลจากแหลงการคามากที่สุด แตแหลงสวนตัวจะมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อมากที่สุด แหลงการคามักจะใหขอมูลในรูปของการ แจงขาวสาร สวนขอมูลจากแหลงสวนตัวจะใชสําหรับประเมินผลิตภัณฑ เชน แมบานเรียนรู จาก ขาวสารเกี่ยวกับน้ํามันพืชจากโฆษณา แตจะพูดคุยกับสมาชิกในครอบครัว เพื่อประเมินคาจาก ขาวสารที่ไดรับการประเมินทางเลือก (Evaluation of alternative) ขอมูลที่ไดจากแหลงตาง ๆ

ที่กลาวมาแลว นักเรียนหรือผูที่เกี่ยวของจะนํามาประเมินทางเลือกตามขอมูลที่มีอยู การประเมินคาจะเปนอยางไรนั้นขึ้นอยูกับบุคลิกภาพของผู เรียน แตอยางไรก็ตามการศึกษาพบวา มาตรฐาน 4 ประการที่ผู เรียนหรือผูที่เกี่ยวของในการเลือกตัดสินใจศึกษาตอ ไดแก คาใชจาย การปฏิบัติงาน ความเหมาะสม และความสะดวก

Page 33: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

23

ขั้นการประเมินทางเลือก (Evaluation alternative) ขอมูลที่ไดจากแหลงตางๆ ที่กลาวมาแลว ผู บริโภคจะนํามาใชในการประเมินทางเลือกตามขอมูลที่มีอยู การประเมินคาจะเปนอยางไรนั้นขึ้นอยูกับบุคลิกภาพของผูบริโภค การรับรูถึงความตองการ ตลอดจนอิทธิพลที่ไดรับจากกลุม อางอิงตางๆ แตอยางไรก็ตามการศึกษาพบวา มาตรฐานพื้นฐาน 4 ประการ ที่ผู บริโภคใชประเมินคา ไดแก คาใชจาย (Cost) การปฏิบัติงาน (Performance) ความเหมาะสม (Suitability) และความสะดวก (Convenience) ซึ่งมาตรการเหลานี้สามารถนํามาปรับใชใหเขากับคุณลักษณะของผลิตภัณฑ/สินคาได

3. ผลลัพธ (Output)

วุฒิชัย จํานงค (อางถึงใน ดลฤดี สุวรรณคีรี, 2539 : 8-10) กลาวถึงผลที่ไดจากการตัดสินใจจากปจจัยตางๆ ที่มีผลตอการตัดสินใจ แบงกระบวนการตัดสินใจออกเปน 6 ขั้นตอนดัง ตอไปนี้

1. การแยกแยะ (Problem identification) ขั้นตอนแรกของการตัดสินใจนั้น เปนเรื่องของการสรางความแนใจ มั่นใจโดยการคนหา ทําความเขาใจกับกับสิ่งที่ตองการอยางที่แทจริง ที่วาเปนเรื่องการแยกแยะสิ่งที่ตองการออกมาแนชัดนั้น ก็เพราะกระบวนการตัดสินใจจะเริ่มตนตามขั้นตอนแรกเมื่อผูกระทําการตัดสินใจมีความรูวาไดเกิดปญหาขึ้นมา ซึ่งโดยทั่วไปแลว สิ่งที่ตองการนี้จะเรียกรองความสนใจหรือความตั้งใจในอันที่จะแกปญหาเหลานั้น

2. การหาขาวสารที่เกี่ยวกับตัวปญหานั้น (Information search) ในขั้นที่ 2 เปนการเสาะแสวงหาขาวสารที่เกี่ยวของกับสาเหตุของปญหามากที่สุดที่จะมากได ทั้งนี้การเสาะหาขอมูล ขาวสารควรเปนไปตามแนวความคิดที่วา ขาวสารนั้นจําเปนตองมีความเกี่ยวของ ตลอดจนมีความเพียงพอกับการตัดสินใจมากนอยเพียงใด

3. การประเมินคา (Evalution of information) การประเมินคาจําเปนตอการวิเคราะหหาความตองการวาถูกตอง เหมาะสม เพียงพอหรือไม หลักจากการประเมินคาแลว ไมเพียงพอหรือไมเกี่ยวของเทาที่ควร จําเปนตองตัดขอมูลบางอยางออกไป ถาเห็นวาไมเกี่ยวของกับสิ่งที่ตองการเผื่อเปนขอมูลในการตัดสินใจ

4. การกําหนดทางเลือก (Listing of alternatives) ในขั้นนี้เองที่โดยทั่วไป มักจะเห็นเปนขั้นสําคัญมากของกระบวนการตัดสินใจ คือการกําหนดทางเลือกมากที่สุดเทาที่จะมากได แตไดกลาวแลวในกระบวนการตัดสินใจตามขั้นตอนการกําหนดทางเลือกหรือเลือกทางใดนั้น เปนการที่ พยายามครอบคลุมวิถีทางที่จะแกปญหาไดหลายๆ ถามีขาวสารสมบูรณและสําหรับปญหาแตละ

Page 34: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

24

เรื่อง อาจจะกําหนดทางเลือกไดเหมาะสมและครอบคลุมอยางแทจริงวาในบรรดาทางเลือกที่กําหนดออกมานั้นยังไมสมบูรณ เพราะเหตุวาขาวสารที่ไดมานั้นไมสมบูรณนั้นมีความสําคัญหรือจําเปนมากนอยเพียงใด

5. การเลือกทางเลือก (Selection of alternative) เมื่อไดกําหนดทางเลือกตางๆ ออกมา แลว พรอมทั้งกําหนดความสําคัญ และความเหมาะสมในการแกปญหาแลว ขั้นตอไปคือการเลือกทางเลือกท่ีจะปฏิบัติการตอไป ขั้นตอนนี้เองที่ยอมรับกันทั่วไป วาเปนการตัดสินใจโดยแทจริง

6. การปฏิบัติตามการตัดสินใจ (Implement of decision) เมื่อทางเลือกไดถูกเลือกขึ้นมาแลว ก็เปนการปฏิบัติกามผลของการตัดสินใจทางเลือกนั้น เราจะทราบการตัดสินใจนั้นถูกตองเหมาะสมเพียงใด หรือไม ก็ขึ้นอยู กับผลของการตัดสินใจนั้น หมายถึงวาสามารถที่จะแกปญหาหรือสนองความตองการในขั้นตอนแรกไดหรือไม

2.3 แรงจูงใจกับการกีฬาและการออกกําลังกาย

2.3.1 การสรางแรงจูงใจในการออกกําลังกายและเลนกีฬา

แนวทางในการสรางแรงจูงใจในสถานการณการกีฬา ผูฝกสอนกีฬา หรือผูที่ใหคําแนะนําในการออกกําลังกาย จําเปนตองสรางแรงจูงใจใหกับนักกีฬาหรือผูออกกําลังกาย เพื่อใหเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค ซึ่งการสรางแรงจูงใจในสถานการณการกีฬา มีแนวทางดังนี้

1. บุคคลจะมีลักษณะแรงจูงใจประจําตัวในแตละสถานการณแตกตางกัน ผูฝกสอน ควรจะศึกษาเกี่ยวกับบุคลิกภาพของนักกีฬาแตละคนวามีการตอบสนองและมีปฏิสัมพันธในแตละสถานการณอยางไร เพื่อเปนที่จะสงเสริมแรงจูงใจตอไป

2. ผูฝกสอนตองเขาใจถึงแรงจูงใจของผูเขารวมกิจกรรมกีฬาและออกกําลังกายแตละคน วาบุคคลมีแรงจูงใจหลายประการในการเขารวมกิจกรรม เชน ตองทราบวาทําไมบุคคลเขารวมกิจกรรมกีฬาและการออกกําลังกาย ตองเขาใจวาบุคคลเขารวมกิจกรรมหนึ่งอยางอาจจะมีสาเหตุมากกวาสาเหตุเดียว และแรงจูงใจของแตละบุคคลนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา ผูฝกสอนควรจะตรวจสอบอยางตอเนื่อง

3. ตามแนวคิดของนักจิตวิทยาสังคม กลาววา สภาพแวดลอมและพฤติกรรมของบุคคลจะมีปฏิสัมพันธกัน การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมก็สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลได ในการสรางแรงจูงใจ ผูฝกสอนสามารถสรางสิ่งแวดลอมทางการกีฬาและออกกําลังกายที่เหมาะสมเพื่อสงเสริมแรงจูงใจใหกับนักกีฬาได

Page 35: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

25

4. ผูฝกสอนหรือผูนํามีความสําคัญในการสรางสิ่งแวดลอมของแรงจูงใจ ทั้งทางตรงและทางออม

5. ใชเทคนิคการปรับพฤติกรรมเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค และทําใหเพิ่มแรงจูงใจที่ออนแอใหมีพลังมากขึ้น

2.3.2 การสงเสริมแรงจูงใจภายใน

ศิลปชัย สุวรรณธาดา (2548 : 97-98) กลาววา ในสถานการณการกีฬา เปาหมายหลักในการฝกสอนกีฬาหรือการเปนผูนําการออกกําลังกาย คือการสรางแรงจูงใจภายใน ของบุคคล เพื่อสงเสริมการเขารวมกิจกรรมกีฬาเปนประจําสม่ําเสมอ การใหแรงจูงใจภายนอก เชนการใหรางวัลที่เปนสิ่งของ สามารถที่จะลดแรงจูงใจภายในได เชน ถานักเรียนคนหนึ่งเขารวมกิจกรรมการออกกําลังกายเพื่อความสนุกสนาน และตองการรูสึกวาตนเองมีความสามารถเทานั้น แตผูฝกสอนใหรางวัลซึ่งเปนแรงจูงใจภายนอกกับเด็กนักเรียนอยางสม่ํา เสมอหรือมากเกินไป ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการรับรูวาเหตุผลสําคัญในการเขารวมกิจกรรมครั้งนี้มาจากภายนอกตัวบุคคลคือ รางวัล เมื่อผูฝกสอนหยุดใหรางวัล พฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกีฬาและการออกกําลังกายของเขาจะลดนอยลง จนในที่สุดก็หยุดการเขารวมกิจกรรมไปเลย ดังนั้นผูฝกสอนจึงจําเปนตองกําหนดกุศโลบายในการฝกสอนเพื่อเพิ่มความพึงพอใจ ความสนุกสนาน การพัฒนาทักษะ ความสมบูรณทางกาย และความประสบความสําเร็จ ดังนี้

1. ผูฝกสอนตองแนใจวา นักกีฬามีแรงจูงใจภายในที่ทําใหเขารวมกิจกรรมกีฬานั้น และตองการที่จะเพิ่มแรงจูงใจภายในตัวนักกีฬา ดังนั้น ผูฝกสอนควรสรางสิ่งแวดลอมที่ทําใหนักกีฬาประสบความสําเร็จ ซึ่งจะทําใหนักกีฬารูสึกถึงความสามารถของตนเองมากขึ้น ตัวอยางเชน ในกีฬาวอลเลยบอล ความสูงของตาขายมาตรฐานอาจจะยากเกินไปสําเร็จผูที่ฝกหัดเลนใหมๆ การลดความสูงของตาขายลง จะทําใหนักกีฬาฝกหัดประสบความสําเร็จมากขึ้นและเกิดความสนุกสนานในการเลนมากยิ่งขึ้น

2. การใหนักกีฬามีสวนรวมรับผิดชอบเกี่ยวกับกฎระเบียบและการตัดสินใจของกลุม สามารถสงเสริมแรงจูงใจภายในตัวนักกีฬาได นักกีฬาสามารถใหขอเสนอเกี่ยวกับกฎระเบียบ การฝกซอม การจัดการภายในทีม สิ่งเหลานี้จะชวยใหนักกีฬาเพิ่มการรับรูถึงความสําเร็จแหงตน ตัวอยางเชน นักกีฬาแตละคนมีสวนรับผิดชอบในชวงหนึ่งของการฝกซอม การนําอบอุนรางกาย การนําฝก หรือกระตุนใหนักกีฬาคิดพัฒนาแบบฝก นักกีฬาที่ความสามารถสูงอาจสงเสริมใหมีสวนรวมในการพัฒนาแบบฝกและแผนการเลนของทีมได

Page 36: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

26

3. ตัวเสริมแรงทางสังคมที่เปนลักษณะคําพูด และการแสดงออกเปนทาทาง ตัวอยางเชน การชมเชย การยกยอง การยิ้ม การแตะตัว สามารถเพิ่มแรงจูงใจภายในได ควรใหตัวเสริมแรงทางสังคมเปนประจําเพื่อเพิ่มการรับรูการมีสวนรวมของนักกีฬาแตละคนในทีม ทําใหนักกีฬารูสึกถึงคุณคาของตนเอง สิ่งเหลานี้อาจเปนสิ่งสําคัญสําหรับนักกีฬาตัวสํารองหรือนักกีฬาที่มีความสําคัญนอย

4. การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลได (สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต, 2549: 49) การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมสามารถสรางแรงจูงใจใหกับบุคคลได ในสถานการณการกีฬาสามารถสงเสริมแรงจูงใจภายในดวยการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาและแบบฝกซอม เพราะนักกีฬาแตละคนมีความตองการภายในที่จะเขารวมกิจกรรมกีฬาแตกตางกัน แบบฝกก็ควรจะมีหลากหลายแตกตางกัน และเปลี่ยนแปลงลําดับการฝกเพื่อลดความเบื่อหนายและเพิ่มความสนใจใหนักกีฬาได โดยเฉพาะในนักกีฬาเยาวชน เพื่อใหนักกีฬามีโอกาสไดเลนในตําแหนงที่แตกตางกันไปในแตละครั้ง นอกจากจะทําใหการฝกซอมมีความสนุกสนานมากขึ้นแลว แตจะทําใหนักกีฬาแตละคนมีความชํานาญในการเลนในแตละตําแหนง ตระหนักและเขาใจถึงความตองการและความจําเปนในการเลนตําแหนงตางๆภายในทีม

5. ผูฝกสอนควรจัดกิจกรรม แบบฝก และจําลองการแขงขันใหทาทายความสามารถของนักกีฬาใหเหมาะสมกับนักกีฬาแตละคน ถานักกีฬามีความสามารถสูงกวาความตองการในกิจกรรมเหลานั้น จะทําใหนักกีฬาเกิดความเบื่อหนาย ไมมีความรูสึกทาทายได ตรงกันขาม นักกีฬาที่มีความสามารถต่ํากวาความตองการในกิจกรรมนั้น จะทําใหเกิดความวิตกกังวล ในการแขงขันกีฬาถาผูฝกสอนสามารถสรางสถานการณใหทาทายได และใหนักกีฬาไดมีโอกาสแกปญหาและสรางสรรค จะทําใหนักกีฬามีประสบการณที่มีคุณคาและมีผลตอการเขารวมกิจกรรมกีฬาในระยะยาวตอไป

การสรางแรงจูงใจใหกับนักกีฬาหรือผูเขารวมกิจกรรมกีฬาและการออกกําลังกายนั้น เปนสิ่งที่ที่ผูฝกสอนจะตองใหความสําคัญ การสรางแรงจูงใจเปนการสรางความพึงพอใจใหกับนักกีฬา ชวยสงเสริมใหนักกีฬาประสบความสําเร็จ แรงจูงใจอาจเกิดขึ้นจากตัวผูฝกสอนหรือตัวนักกีฬาเอง ผูฝกสอนตองหาวิธีการตางๆมาใชจูงใจนักกีฬา เชน การยกยองชมเชย การตอบสนองตอความตองการพื้นฐานของนักกีฬาอยางพอเหมาะ

Page 37: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

27

สรุปวา แรงจูงใจที่ทําใหคนเลนกีฬานั้นก็เพราะวามีทัศนคติที่ดีตอการเลนกีฬาเห็นความสําคัญและประโยชนของการออกกําลังกายและเลนกีฬาทั้งทางดานรางกาย คือเรื่องการรักษาสุขภาพรางกายใหแข็งแรงรวมทั้งความเจ็บปวยตาง ๆ

2.3.3 แรงจูงใจกับการเลนกีฬา

แรงจูงใจนับวามีบทบาทสําคัญมากตอการเลนการเตรียมทีมและการฝกซอมกีฬานักจิตวิทยาการกีฬาใหทัศนะตอแรงจูงใจแตกตางกัน สรุปแลวพอจะกลาวไดวา แรงจูงใจเปนกระบวนการที่มีอยูในตัวนักกีฬาเองแตละคน ซึ่งพรอมที่จะไดรับการกระตุนจากภายนอกใหมีกําลังแรงขึ้นเพื่อใหอยากกระทําสิ่งนั้น ๆ มากขึ้น หมายความวา นักกีฬาทุกคนตางมีแรงจูงใจภายในตัวอยูแลว หนาที่ของผูฝกสอนกีฬามีเพียงคนหาวิธีการที่จะกระตุนจากภายนอก เพื่อใหเกิดกําลังแรงขึ้นอีกเทานั้น การสรางแรงจูงใจนี้มีความเกี่ยวพันกับความตองการมากที่สุดความตองการ (Needs) ดังกลาวน้ีเปนความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษยทุกคน ดังนั้นในการฝกซอมกีฬาแตละครั้งหากวาผูฝกสอนไดเล็งเห็นถึงความสําคัญเหลานี้แลวนําไปใชใหเกิดประโยชนจะเปนพื้นฐานในการฝกซอมกีฬาที่ดี และยังสามารถที่จะสรางแรงจูงใจในระดับสูงขึ้นไปไดอีกดวย ในการคัดเลือกนักกีฬาเพื่อใหไดตัวนักกีฬาตามลักษณะและคุณสมบัติของการเปนนักกีฬาที่แทจริงน้ัน

พิชิต เมืองนาโพธิ์ (2534: 76-77) ไดกลาวถึง วิธีการสรางแรงจูงใจเพื่อใหเกิดความสําเร็จในการแขงขันกีฬาไววา

1.ใหนักกีฬาไดรับประสบการณประสบความสําเร็จทั่วถึงกันในการกีฬาการจัดสภาพแวดลอมในการกีฬาควรจัดใหนักกีฬาไดรับความสําเร็จ ซึ่งทําใหเพิ่มแรงจูงใจในการเลนกีฬา

2.ใหนักกีฬามีโอกาสรับผิดชอบในการตั้งกฎเกณฑในการตัดสินใจ ทําใหนักกีฬามีโอกาสควบคุมความประพฤติของตนเองและเกิดความรูสึกสําเร็จ

3.ใหคําชมเชยทั้งคําพูดและทาทาง และควรใชบอย ๆ ใหนักกีฬาไดรับรูถึงการมีสวนชวยเหลือทีม เนนบทบาทความสําคัญของแตละคนที่มีตอความสําเร็จของทีมทําใหนักกีฬามีความรูสึกวาตนเองมีคา

4.การตั้งจุดมุงหมายตองเปนจุดมุงหมายที่เปนจริงและสามารถทําไดดวยความพยายามมีโอกาสควบคุมความประพฤติของตนเองและเกิดความรูสึกสําเร็จมีการประเมิน มีการปรับปรุงวานักกีฬาไดบรรลุจุดมุงหมายแคไหน

Page 38: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

28

5. มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการฝก ทําใหไมเกิดความเบื่อหนาย ทําใหการฝกซอมเกิดความสนุกสนาน ทําใหนักกีฬาไดคนพบสิ่งใหม ๆ

สรุปไดวา แรงจูงใจมีบทบาทสําคัญมากตอการเลือกเรียนและการฝกซอมกีฬา การสรางแรงจูงใจใหเกิดกับนักกีฬา เพื่อใหประสบความสําเร็จจึงเปนสิ่งสําคัญโดยเฉพาะตอการเลือกศึกษาในโรงเรียนกีฬาเพื่อสงเสริมพัฒนานักกีฬาสูความเปนเลิศ

วรศักดิ์ เพียรชอบ (2527 : 47) ไดสรุปแนวคิดเกี่ยวกับการเตรียมตัวดานจิตวิทยากอนการแขงขัน โดยนําเสนอปจจัยในการเตรียมตัวนักกีฬาดานจิตวิทยา เพื่อเขาทําการแขงขันใหไดประสบความสําเร็จไวดังนี้

1. ควรใหแรงเสริมและผลยอนกลับที่เหมาะสมแกนักกีฬาในความสามารถทีทําไดซึ่ง การใชแรงเสริมสามารถทําไดโดยงายคือ คําชมเชยและกลาวคําทีเปนลักษณะสรางสรรคของผูฝกเปนตน สวนผลยอนกลับทําได โดยผูฝกสอนบอกผลที่นักกีฬาสามารถทําได

2. ควรใชแรงจูงใจโดยการที่ครูผูฝกสอนจะตองรูจักการสรางสภาพการฝกซอมเปนที่นาสนใจ มีความสนใจ มีความสนุกสนาน มีความทาทาย และสภาพการฝกซอมก็ตองคลายคลึงกับการแขงขันจริง เพื่อใหนักกีฬาสามารถยืนหยัดฝกซอมใหไดมากที่สุด และดีที่สุด

3. ควรจะลดความตื่นเตน และความฮึกโหมในการแขงขันใหเหมาะสมและถูกตอง เชนการนั่งสมาธิและการฝกควบคุมจิตใจ

4. การจัดสภาพการฝกซอมใหคลายคลึงกับสภาพการแขงขันจริงใหมากที่สุด5. ผูฝกสอนตองมีความเขาใจความแตกตางของนักกีฬาแตละคนเปนสําคัญ

Page 39: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

29

2.4 ประวัติความเปนมาและวิวัฒนาการของกีฬาฟุตบอล

2.4.1 วิวัฒนาการของกีฬาฟุตบอล

ภาคตะวันออกไกลขงจื้อไดกลาวไวในหนังสือ "กังฟู" เกี่ยวกับกีฬา โดยเฉพาะอยางยิ่งกีฬาที่ใชเทาและศรีษะ

ในสมัยจักรพรรดิ์ เซิงติ (Emperor Cneng Ti) (ป 32 กอนคริสตกาล) มีการเลนกีฬาที่คลายกับฟุตบอลซึ่งเรียกวา "ซือ-ซู" (Tsu-Chu) ซึ่งหมายถึงการเตะลูกหนังดวยเทา กีฬาชนิดนี้ไดรับความนิยมอยางกวางขวาง ซึ่งนักประพันธและนักประวัติศาสตรในสมัยนั้นไดยกยองผูเลนที่มีชื่อเสียงใหเปนวีรบุรุษของชาติ และในสมัยเดียวกันไดมีการเลนคลายฟุตบอลในประเทศญี่ปุนอีกดวย

ภาคตะวันออกกลางในกรุงโรม ความเจริญของตะวันออกไกลไดแผขยายถึงตะวันออกกลางโดยเฉพาะอยางยิ่ง

จากอิทธิพลของสงครามโดยพระเจาอเล็กซานเดอรมหาราช การเลนกีฬาชนิดหนึ่งเรียกวา ฮารปาสตัม เปนกีฬาที่นิยมของชาวโรมันและชาวกรีกโบราณวิธีการเลนคือ มีประตูคนละขาง แลวเตะลูกบอลไปยังจุดหมายที่ตองการ เชน จากหมูบานหนึ่งไปอีกหมูบานหนึ่ง การเลนจะเปนการเตะ หรือการขวางไปขางหนา ฮารปาสตัม หมายถึงการเหวี่ยงไปขางหนา การเลนกีฬาฮารปาสตัมในกรุงโรมดูเหมือนจะเปนตนกําเนิดของกีฬาซึ่งมีการเลนในสมัยกลาง ในการเลนฮารปาสตัม ขนาดของสนามจะเล็กกวาสนามกีฬาซูเลอ แตจุดประสงคของกีฬาทั้งสอง คือ การนําลูกบอลไปยังแดนของตนแตเนื่องจากมีเสียงอึกทึกโครมครามจากการวิ่งแยงลูกบอล ซึ่งอาจจะทําใหเกิดอุบัติเหตุไดมากมายอันเปนขอหามของพระเจาจึงมีพระบรมราชโองการในนามของพระเจาแผนดินหามเลนกีฬาดังกลาวในเมืองผูฝาฝนมีโทษถึงจําคุกนอกจากนี้ยังมีขอหามซึ่งออกในวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.1892 ขอใหเลนยิงธนูในวันฉลองตาง ๆ แทนการเลนเกมสฟุตบอล ในโอกาสตอมากีฬาฟุตบอลไดจัดใหมีการแขงขันกันอีกครั้งซึ่งเปนการเผชิญหนากันระหวางทีมตางๆ ที่อยูหางกันประมาณ 3-4 ไมล (5-6.5 กิโลเมตร)

Page 40: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

30

ในป พ.ศ. 2344 กีฬาชนิดนี้ไดขัดเกลาใหดีขึ้น มีการกําหนดจํานวนผูเลนใหเทากันในแตละขาง ขนาดของสนามอยูในระหวาง 80 - 100 หลา (73-91 เมตร) และมีประตูทั้งสองขางที่ริมสุดของสนามซึ่งทําดวยไม 2 อัน หางกัน 2-3 ฟุต

ในป พ.ศ. 2366 ไดจัดใหมีการเลนฟุตบอลในรูปแบบของการเลนใน ปจจุบัน William Alice คือผูเริ่มวางกฎบังคับตางๆ สําหรับกีฬาฟุตบอลและรักบี้ ในป พ.ศ. 2393 ไดมีการออกระเบียบและกฎของการเลนไปสู ดินแดนตางๆ ใหปฏิบัติตาม โดยจํากัดจํานวนผูเลนใหมีขางละ 15-20 คน

ในป พ.ศ. 2400 สโมสรฟุตบอลไดกอตั้งเปนครั้งแรกที่เมืองเซนพัสดประเทศอังกฤษ และตอมาในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2406 สโมสรฟุตบอล 11 แหงไดมารวมกันที่กรุงลอนดอนเพื่อกอตั้งสมาคมฟุตบอลขึ้น ซึ่งถือเปนรากฐานในการกําเนิดสมาคมแหงชาติ จนถึง 140 สมาคม และทําใหผูเลนฟุตบอลตองเลนตามกฎและกติกาของสมาคมฟุตบอล จนเวลาผานไปจากคําวา Association ก็ยอเปน Assoc และกลายเปน Soccer ขึ้นในที่สุด ซึ่งนิยมเรียกกันในประเทศอังกฤษ แตชาวอเมริกันเรียกวา Football หมายถึง American football

ในป พ.ศ. 2413 มีการกําหนดผูเลนใหเหลือขางละ 11 คน โดยมีผูเลนกองหนา 9 คน และผูเลน รักษาประตู 2 คน โดยผูรักษาประตูใชเทาเลนเหมือน 9 คนแรกจนกระทั่งใหเหลือผูรักษาประตู 1 คน แตอนุญาตใหใชมือจับลูกบอลไดในป พ.ศ. 2423

ภายนอกเกาะอังกฤษ พวกกะลาสีเรือ ทหาร พอคา วิศวกร หรือแมแตนักบวชไดนํากีฬาชนิดนี้ ไปเผยแพร ประเทศเดนมารกเปนประเทศที่ 2 ในยุโรป

ในอเมริกาใต สโมสรแรกไดถูกตั้งขึ้นในประเทศอารเจนตินา เมื่อพี่นองชาวอังกฤษ 2 คนไดลงขอความโฆษณาในหนังสือพิมพของเมืองบูเอโนสไอเรส (Buenos Aires) เพื่อ หาผูอาสาสมัคร ในป พ.ศ.2427 กีฬาฟุตบอลก็กลายมาเปนวิชาหนึ่งในโรงเรียนของเมืองบูเอโนสไอเรสการแขงขันระดับชาติครั้งแรกในทวีปอเมริกาใต คือ การแขงขันระหวางอารเจนตินากับอุรุกวัยในป พ.ศ.2448 แตอเมริกาเหนือเริ่มแขงขันเม่ือป พ.ศ.2435

ในอิตาลี ฮารปาสตัมเปนตนกําเนิดจิโอโค เดล คาลซิโอ ผูเลนกีฬาจะเปนผูนําทางสังคมหรือแมแตผูนําชั้นสูงของศาสนา เชนสันตปาปา เกลาเมนตที่ 7 ลีออนที่ 10 และเออรเบนที่ 7เปนถึงแชมเปยนในกีฬาฟลอเรนไทนฟุตบอล ตอมาชาวโรมันไดดัดแปลงเกมสการเลนฮารปาสตัมเสียใหม โดยกําหนดใหใชเทาแตะลูกบอลเทานั้น สวนมือใหใชเฉพาะการทุมลูกบอล ซึ่งนักรบชาวโรมัน นิยมเลนกันมาก

Page 41: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

31

ในทวีปเอเชีย อินเดียเปนประเทศแรกที่เริ่มเลนฟุตบอล ศาสตราจารยจากวิทยาลัยกัลกัตตาเปนผูนําสําเนากฎหมายการเลนมาเผยแพรในป พ.ศ.2426 และในป พ.ศ.2435 ไดมีการแขงขันชิงถวยรางวัลเปนครั้งแรกในทวีปซึ่งยังไมมีชื่อเสียงในดานการเลนฟุตบอล กีฬาชนิดนี้ก็ไดเริ่มมีการเลนมากอนรวมรอยปแลว เชน สมาคมฟุตบอลแหงนิวเซาทเวลส ไดถูกตั้งขึ้นในออสเตรเลีย ป พ.ศ. 2425 และสมาคมฟุตบอลของนิวซีแลนดไดถูกตั้งขึ้นหลังจากนั้น 9 ป สมาพันธประจําทวีปของสมาคมฟุตบอลแหงแรกที่ตั้งขึ้นคือ Conmebol ซึ่งเปนสมาพันธของอเมริกาใต สมาพันธนี้ไดถูกจัดขึ้นเพื่อจัดตั้งเพื่อจัดการแขงขันชิงชนะเลิศภายในทวีปอเมริกาใต ในป พ.ศ. 2460 เกือบครึ่งศตวรรษ ตอมาเมื่อการแขงขันภายในทวีปไดแพรหลายมากขึ้น จึงไดมีการจัดตั้งสมาพันธในทวีปอื่นๆ ขึ้นอีกคือสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป ในป พ.ศ. 2497 ซึ่งเปนปเดียวกับการจัดตั้งในทวีปเอเชีย และ 2 ป กอนการจัดตั้งสมาคมฟุตบอลยุโรป ในป พ.ศ. 2497 ซึ่งเปนปเดียวกับการจัดตั้งสหพันธฟุตบอลแหงแอฟริกา(Concacaf) หรือสหพันธฟุตบอลแหงอเมริกากลาง อเมริกาเหนือและแคริบเบี้ยน ไดถูกจัดตั้งขึ้นในป พ.ศ. 2504 และนองใหมในวงการฟุตบอลโลกคือ สมาพันธฟุตบอลแหงโอเชียนเนีย(Oceannir)

สหพันธฟุตบอลนานาชาติสหพันธฟุตบอลนานาชาติ (Federation International Football Association FIFA)

กอตั้งขึ้นที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ.2447 โดยสมาคมฟุตบอลแหงประเทศฝรั่งเศส และประเทศที่เขารวมกอตั้ง 7 ประเทศคือ ฝรั่งเศส เบลเยียม เดนมารก เนเธอรแลนด สเปน สวีเดนและสวิตเซอรแลนด มีสํานักงานใหญต้ังอยูที่ เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอรแลนด

สมาพันธฟุตบอลที่ไดรับการรับรองจากสหพันธฟุตบอลนานาชาติ1. Africa (C.A.F.) เปนเขตที่มีสมาชิกมากที่สุด ไดแก ประเทศแอลจีเรีย ตูนิเซีย แซร

ไนจีเรีย และซูดาน เปนตน2. America-North and Central Caribbean (Concacaf) ไดแก ประเทศสหรัฐอเมริกา

แคนาดา เม็กซิโก คิวบา เอติ เอลซัลวาดอร กัวเตมาลา และฮอนดูรัส เปนตน3. South America (Conmebol) ไดแก ประเทศเปรู บราซิล อุรุกวัย โบลิเวีย อารเจนตินา

ชิลี เวเนซุเอลา อีคิวเตอร และโคลัมเบีย เปนตน4. Asia (A.F.C.)เปนเขตที่มีสมาชิกรองจากแอฟริกา ไดแก ประเทศไทย มาเลเซีย เกาหลี

ญี่ปุน ฮองกง เลบานอน อิสราเอล อิหราน จอรแดน และเนปาล เปนตน

Page 42: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

32

5. Europe (U.E.F.A.) เปนเขตที่มีการพัฒนามากที่สุด ไดแก ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศสเยอรมัน ฮังการี อิตาลี สกอตแลนด รัสเซีย สวีเดน สเปน และเนเธอรแลนด เปนตน

6. Oceannir เปนเขตที่มีสมาชิกนอยที่สุดและเพิ่งจะไดรับการแบงแยก ไดแก ประเทศออสเตรเลียนิวซีแลนด ฟจิ และปาปวนิวกินี เปนตน ซึ่งประเทศตางๆ ที่เปนสมาชิกตองเสียคาบํารุงเปนรายป ปละ 300 ฟรังสวิสส หรือประมาณ 2,400 บาท

สหพันธฟุตบอลแหงเอเชียในทวีปเอเชียมีการจัดตั้งสหพันธฟุตบอลแหงเอเชีย (A.F.C.) เพื่อดําเนินการดานฟุตบอล

ดังนี้พ.ศ.2495 มีการแขงขันกีฬาโอลิมปกที่เฮลซิงกิ ประเทศฟนแลนด โดยมีนักกีฬาและ

เจาหนาที่จากประเทศในเอเชียเขามารวมการแขงขันดวย จึงไดปรึกษาหารือกันในการจัดตั้งสหพันธฟุตบอลเอเชียขึ้น

พ.ศ.2497 มีการแขงขันเอเชียนเกมสสที่กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส ก็ไดเริ่มตั้งคณะกรรมการจากชาติตาง ๆ ที่เขารวมเปนสมาชิก 12 ประเทศ

พ.ศ.2501 มีการแขงขันกีฬาเอเชียนเกมสสที่ประเทศญี่ปุน ไดมีการประชุมเกี่ยวกับเรื่องนี้อีก และมีประเทศเขารวมเปนสมาชิกรวมเปน 35 ประเทศ

พ.ศ. 2509 ฟฟาไดมองเห็นความสําคัญของ A.F.C. จึงไดกําหนดใหมีเลขานุการประจําในเอเชีย โดยออกคาใชจายใหทั้งหมด รวมทั้งเงินเดือน และคนแรกที่ไดรับตําแหนงคือ Khow Eve Turk

พ.ศ. 2517 ในการแขงขันกีฬาเอเชียนเกมสสที่เตหะราน ประเทศอิหรานไดมีการประชุมประเทศสมาชิก A.F.C.และที่ประชุมไดลงมติขับไลอิสราเอล ออกจากสมาชิก และใหจีนแดงเขาเปนสมาชิกแทน ทั้งๆ ที่จีนแดงไมไดเปนสมาชิกของฟฟา นับวาเปนการสรางเหตุการณที่ประหลาดใจใหกับบุคคลทั่วไปเปนอยางมากทั้งนี้เนื่องจากเหตุผลทางการเมือง

พ.ศ. 2519 มีการประชุมกันที่ประเทศมาเลเซีย ปรากฏวาประเทศสมาชิกไดลงมติใหขับไลประเทศไตหวันออกจากสมาชิก และใหรับจีนแดงเขามาเปนสมาชิกแทน ทั้งๆ ที่ไตหวันเปนประเทศที่รวมกันกอตั้งสหพันธขึ้นมา

Page 43: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

33

งานของสหพันธฟุตบอลแหงเอเชีย1. ดําเนินการจัดการแขงขันและควบคุม Asian Cup 2. ดําเนินการจัดการแขงขันและควบคุม Asian Youth 3. ดําเนินการจัดการแขงขันและควบคุมฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก4. ดําเนินการจัดการแขงขันและควบคุม Pre-Olympic 5. ดําเนินการจัดการแขงขันและควบคุม World Youth 6. ควบคุมการแขงขัน Kings Cup, President Cup, Merdeka, Djakarta Cupนอกจากนี้ยัง

ไดรับความรวมมือจากฟฟาจัดสงวิทยากรมาชวยดําเนินการ

สรุปวิวัฒนาการของกีฬาฟุตบอลกอนคริสตกาล - อางถึงการเลนเกมสซึ่งเปรียบเสมือนตนฉบับของกีฬาฟุตบอลที่เกาแกที่

ไดมีการคนพบจากการเขียนภาษาญี่ปุน-จีน และในสมัยวรรณคดีของกรีกและโรมันยุคกลาง - ประวัติบันทึกการเลนในเกาะอังกฤษ อิตาลี และฝรั่งเศสป พ.ศ. 1857-พระเจาเอดเวิรดที่ 3 ทรงออกพระราชกฤษฎีกาหามเลนฟุตบอลเพราะจะ

รบกวนการยิงธนูป พ.ศ. 2104-Richardo Custor อาจารยสอนหนังสือชาวอังกฤษกลาวถึงการเลนวา ควร

กําหนดไวในบทเรียนของเยาวชน โดยไดรับอิทธิพลจาการเลนกาลซิโอในเมืองฟลอเรนทป พ.ศ. 2123-Riovanni Party ไดจัดพิมพกติการการเลนคาลซิโอป พ.ศ. 2223-ฟุตบอลในประเทศอังกฤษไดรับพระบรมราชานุเคราะหจากพระเจาชารลที่ 2 ป พ.ศ. 2391-ไดมีการเขียนกฎขอบังคับเคมบริดจขึ้นเปนครั้งแรกป พ.ศ. 2406-ไดมีการกอตั้งสมาคมฟุตบอลขึ้นป พ.ศ. 2426-สมาคมฟุตบอลจักรภพ 4 แหง ยอมรับองคกรควบคุม และจัดตั้งกรรมการ

ระหวางชาติป พ.ศ. 2429-สมาคมฟุตบอลเริ่มทําการฝกเจาหนาที่ที่จัดการแขงขันป พ.ศ.2431-เริ่มเปดการแขงขันฟุตบอลลีก โดยยินยอมใหมีนักฟุตบอลอาชีพ

และเพิ่มอํานาจการควบคุมใหผูตัดสินป พ.ศ. 2432-สมาคมฟุตบอลสงทีมไปแขงขันในตางประเทศ เชน เยอรมันไปเยือนอังกฤษป พ.ศ. 2447-กอตั้งฟฟา ซึ่งมีสํานักงานอยูที่กรุงปารีส เมื่อ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2447

โดยสมาคมแหงชาติคือ ฝรั่งเศส เบลเยียม เดนมารก สเปน สวีเดน และสวิตเซอรแลนด

Page 44: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

34

ป พ.ศ . 2480-2481-ขอบั งคับปจจุบันเขียนขึ้นตามระบบใหมขององคกรควบคุมโดยใชขอบังคับเกามาเปนแนวทาง

2.4.2 ประวัติฟุตบอลในประเทศไทย

กีฬาฟุตบอลในประเทศไทย ไดมีการเลนตั้งแตสมัย "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว" รัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสิทร เนื่องจากสมัยรัชกาลที่ 5 พระองคไดสงพระเจาลูกยาเธอพระเจาหลานยาเธอ และขาราชบริพารไปศึกษาวิชาการดานตางๆ ที่ประเทศอังกฤษ และผูที่นํากีฬาฟุตบอลกลับมายังประเทศไทยเปนคนแรกคือ "เจาพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)" หรือ ที่ประชาชนชาวไทยมักเรียกชื่อสั้นๆ วา "ครูเทพ" ซึ่งทานไดแตงเพลงกราวกีฬาที่พรอมไปดวยเรื่องน้ําใจนักกีฬาอยางแทจริง เชื่อกันวาเพลงกราวกีฬาที่ครูเทพแตงไวนี้จะตองเปน"เพลงอมตะ" และจะตองคงอยูคูฟาไทย

พ.ศ. 2454-2458 ทานไดดํารงตําแหนงเปนเสนาบดีกระทรวงธรรมการครั้งแรก เมื่อทานไดนําฟุตบอลเขามาเลนในประเทศไทยไดมีเสียงวิพากษวิจารณตางๆมากมาย โดยหลายคนกลาววาฟุตบอลเปนกีฬาที่ไมเหมาะสมกับประเทศที่มีอากาศรอนเหมาะสมกับประเทศที่มีอากาศหนาวมากกวาและเปนเกมสที่ทําใหเกิดอันตรายตอผูเลนและผูชมไดงายซึ่งขอวิจารณดังกลาวถามองอยางผิวเผินอาจคลอยตามได แตภายหลังขอกลาวหาดังกลาวก็ไดคอยหมดไปจนกระทั่งกลายเปน กีฬายอดนิยมที่สุดของประชาชนชาวไทยและชาวโลกทั่วทุกมุมโลกซึ่งมีวิวัฒนาการดังกําลังอยูระหวางปรับปรุงขอมูลตอไปนี้

พ.ศ. 2440 รัชกาลที่ 5 ไดเสด็จนิวัติพระนคร กีฬาฟุตบอลไดรับความสนใจมากขึ้นจากบรรดาขาราชการบรรดาครูอาจารย ตลอดจนชาวอังกฤษในประเทศไทยและผูสนใจชาวไทยจํานวนมากขึ้นเปนลําดับกอรปกับครูเทพทานไดเพียรพยายามปลูกฝงการเลนฟุตบอลในโรงเรียนอยางจริงจังและแพรหลายมากในโอกาสตอมา

พ.ศ.2443 (รศ.119) การแขงขันฟุตบอลเปนทางการครั้งแรกของไทยไดเกิดขึ้นเมื่อวันเสารที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2443 (รศ. 119) ณ สนามหลวง ซึ่งเปนสถานที่ออกกําลังกายและประกอบงานพิธีตางๆการแขงขันฟุตบอลคูประวัติศาสตรของไทย ระหวาง "ชุดบางกอก" กับ "ชุดกรมศึกษาธิการ" จากกระทรวงธรรมการหรือเรียกชื่อการแขงขันครั้งนี้วา"การแขงขันฟุตบอลตามขอบังคับของแอสโซซิเอชั่น" เพราะสมัยกอนเรียกวา "แอสโซซิเอชั่นฟุตบอล" (ASSOCIATIONS FOOTBALL) สมัยปจจุบันอาจเรียกไดวา "การแขงขันฟุตบอลของสมาคม"หรือ "ฟุตบอลสมาคม"ผลการแขงขันฟุตบอลนัดพิเศษดังกลาวปรากฏวา "ชุดกรมศึกษาธิการ" เสมอกับ"ชุดบางกอก" 2-2

Page 45: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

35

(ครึ่งแรก 1-0) ตอมาครูเทพทานไดวางแผนการจัดการแขงขันฟุตบอลนักเรียนอยางเปนทางการพรอมแปลกติกาฟุตบอลแบบสากลมาใชในการแขงขันฟุตบอลนักเรียนครั้งนี้ดวย

พ.ศ.2444 (รศ.120) หนังสือวิทยาจารย เลมที่ 1 ตอนที่ 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2444 ไดตีพิมพเผยแพรเรื่องกติกาการแขงขันฟุตบอลสากลและการแขงขันอยางเปนแบบแผนสากลการแขงขันฟุตบอลนักเรียนครั้งแรกของประเทศไทยไดเกิดขึ้นในป พ.ศ. 2444 นี้ ผูเขาแขงขันตองเปนนักเรียนชายอายุไมเกิน 20 ป ใชวิธีจัดการแขงขันแบบน็อกเอาต หรือแบบแพคัดออก (KNOCKOUT OR ELIMINATIONS) ภายใตการดําเนินการจัดการแขงขันของ "กรมศึกษาธิการ" สําหรับทีมชนะเลิศติดตอกัน 3 ป จะไดรับโลรางวัลเปนกรรมสิทธิ์

พ.ศ.2448 (รศ.124) เดือนพฤศจิกายน สามัคยาจารย สมาคม ไดเกิดขึ้นครั้งแรกเปนการแขงขันฟุตบอลของบรรดาครูและสมาชิกครู โดยใชชื่อวา "ฟุตบอลสามัคยาจารย"

พ.ศ.2450-2452 (รศ.126-128) ผูตัดสินฟุตบอลชาวอังชื่อ "มร.อี.เอส.สมิธ" อดีตนักฟุตบอลอาชีพไดมาทําการตัดสินในประเทศไทย เปนเวลา 2 ป ทําใหคนไทยโดยเฉพาะครู-อาจารย และผูสนใจไดเรียนรูกติกาและสิ่งใหมๆเพิ่มขึ้นมาก

พ.ศ. 2451 (รศ. 127) มีการจัดการแขงขัน "เตะฟุตบอลไกล" ครั้งแรกพ.ศ.2452 (รศ.128) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ไดทรงสวรรคต

เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2452 นับเปนการสูญเสียครั้งยิ่งใหญของผูสนับสนุนฟุตบอลไทยในยุคนั้นซึ่งตอมาในปนี้ กรมศึกษาธิการก็ไดประกาศใชวิธีการแขงขัน "แบบพบกันหมด" (ROUND ROBIN) แทนวิธีจัดการแขงขันแบบแพคัดออกสําหรับคะแนนที่ใชนับเปนแบบของแคนาดา(CANADIAN SYSTEM) คือ ชนะ 2 คะแนน เสมอ 1คะแนน แพ 0 คะแนน และยังคงใชอยูจนถึงปจจุบันตอมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ 6 พระองคทรงมีความสนพระทัยกีฬาฟุตบอลเปนอยางยิ่งถึงกับทรงกีฬาฟุตบอลเอง และทรงตั้งทีมฟุตบอลสวนพระองคเองชื่อทีม "เสือปา" และไดเสด็จพระราชดําเนินประทับทอดพระเนตรการแขงขันฟุตบอลเปนพระราชกิจวัตรเสมอมาโดยเฉพาะมวยไทยพระองคทรงเคยปลอมพระองคเปนสามัญชนขึ้นตอยมวยไทยจนไดฉายาวา "พระเจาเสือปา" พระองคทานทรงพระปรีชาสามารถมาก จนเปนที่ยกยองของพสกนิกรทั่วไปจนตราบเทาทุกวันนี้จากพระราชกิจวัตรของพระองครัชกาลที่ 6 ทางดานฟุตบอลนับไดวาเปนยุคทองของไทยอยางแทจริงอีกทั้งยังมีการเผยแพรขาวสาร หนังสือพิมพ และบทความตางๆทางดานฟุตบอลดังกําลังอยูระหวางปรับปรุงขอมูลตอไปนี้

Page 46: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

36

พ.ศ.2457 (รศ.133) พระยาโอวาทวรกิจ" (แหมผลพันชิน) หรือนามปากกา "ครูทอง" ไดเขียนบทความกีฬา"เรื่องจรรยาของผูเลนและผูดูฟุตบอล" และ "คุณพระวรเวทย พิสิฐ" (วรเวทย ศิวะศริยานนท) ไดเขียนบทความกีฬา "เรื่องการเลนฟุตบอล" และ "พระยาพาณิชศาสตรวิธาน" (อู พรรธนะแพทย) ไดเขียนบทความกีฬาที่ประทับใจชาวไทยอยางยิ่ง"เรื่องอยาสําหรับนักเลงฟุตบอล

พ.ศ.2458 (รศ.134) ประชาชนชาวไทยสนใจกีฬาฟุตบอลอยางกวางขวาง เนื่องจาก กรมศึกษาธิการไดพัฒนาวิธีการเลน วิธีจัดการแขงขัน การตัดสิน กติกาฟุตบอลที่สากลยอมรับตลอดจนระเบียบการแขงขันที่รัดกุมยิ่งขึ้น และผูใหญในวงการใหความสนใจอยางแทจริงนับตั้งแตพระองครัชกาลที่ 6 เองลงมาถึงพระบรมวงศานุวงศจนถึงสามัญชน และชาวตางชาติ และในป พ.ศ. 2458 จึงไดมีการแขงขันฟุตบอลประเภทสโมสรครั้งแรกเปนการชิงถวยพระราชทานและเรียกชื่อการแขงขันฟุตบอลประเภทนี้วา "การแขงขันฟุตบอลถวยทองของหลวง" การแขงขันฟุตบอลสโมสรนี้เปนการแขงขันระหวางทหาร-ตํารวจ-เสือปา ซึ่งผูเลนจะตองมีอายุเกินกวาระดับทีมนักเรียน นับวาเปนการเพิ่มประเภทการแขงขันฟุตบอลราชกรีฑาสโมสร หรือสปอรตคลับ นับไดวาเปนสโมสรแรกของไทยและเปนศูนยรวมของชาวตางประเทศในกรุงเทพฯ ซึ่งยังอยูในปจจุบัน และสโมสรสปอรตคลับเปนศูนยกลางของกีฬาหลายประเภท โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอลไดมีผูเลนระดับชาติจากประเทศอังกฤษมาเขารวมทีมอยูหลายคนเชน มร.เอ.พี.โคลป. อาจารยโรงเรียนราชวิทยาลัย นับไดวาเปนทีมฟุตบอลที่ดี มีความพรอมมากทั้งทางดานผูเลนงบประมาณและสนามแขงขันมาตรฐาน จึงตองเปนเจาภาพใหทีมตางๆของไทยเรามาเยือนอยูเสมอทําใหวงการฟุตบอลไทยในยุคนั้นไดพัฒนายิ่งขึ้นและรัชกาลที่ 6 ทรงสนพระทัยโดยเสด็จมาเปนองคประธานพระราชทานรางวัลเปนพระราชกิจวัตรทําใหประชาชนเรียกการแขงขันสมัยนั้นวา "ฟุตบอลหนาพระที่นั่ง" และระหวางพักครึ่งเวลามีการแสดง "พวกฟุตบอลตลกหลวง"นับเปนพิธีชื่นชอบของปวงชนชาวไทยสมัยนั้นเปนอยางยิ่ง และการแขงขันฟุตบอลสโมสรครั้งแรกนี้ มีทีมสมัครเขารวมแขงขันจํานวน 12 ทีม ใชเวลาในการแขงขัน 46 วัน (11 ก.ย.-27 ต.ค. 2458) จํานวน 29 แมตช ณ สนามเสือปา ถนนหนาพระลาน สวนดุสิต กรุงเทพมหานครหรือสนามหนากองอํานวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติปจจุบันพระองครัชกาลที่ 6 ไดทรงโปรดเกลาแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการแขงขันนับวาฟุตบอลไทยมีระบบในการบริหารมานานนับถึง 72 ปแลวความเจริญกาวหนาของฟุตบอลภายในประเทศไดแผขยายกวางขวางทั่วประเทศไปสูสโมสรกีฬา-ตางจังหวัดหรือชนบทอยางรวดเร็ว ซึ่งเปนที่นิยมกันทั่วไปภายใตการสนับสนุนของรัชกาลที่ 6 และพระองคทานทรงเล็งเห็นกาลไกลวาควรที่ตะตั้งศูนยกลางหรือสมาคมอยางมีระบบแบบแผนที่ดีโดยมีคณะกรรมการบริหารสมาคมและทรงมีพระบรมราชโองการกอตั้ง "สโมสรคณะฟุตบอลสยาม" ขึ้นมาโดยพระองคและพระบรมวงศานุวงศทรงเลน

Page 47: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

37

ฟุตบอลเอง รัชกาลที่ 6 ไดทรงมีวัตถุประสงคของการกอตั้งสมาคมฟุตบอลแหงสยามดังนี้คือ 1. เพื่อใหผูเลนฟุตบอลมีพลานามัยที่สมบูรณ 2. เพื่อกอใหเกิดความสามัคคี 3. เพื่อกอใหเกิดไหวพริบและเปนกีฬาที่ประหยัดดี 4. เพื่อเปนการศึกษากลยุทธในการรุกและการรับเชนเดียวกับกองทัพทหารหาญจากวัตถุประสงคดังกลาว นับเปนสิ่งที่ผลักดันใหสมาคมฟุตบอลแหงสยามดําเนินกิจการเจริญกาวหนามาจนตราบถึงทุกวันนี้ ซึ่งมีกําลังอยูระหวางปรับปรุงขอมูลดังนี้ พ.ศ. 2458 (ร.ศ.134) การแขงขันระหวางชาติครั้งแรกของประเทศไทย เมื่อวันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 ณ สนามราชกรีฑาสโมสร(สนามมาปทุมวันปจจุบัน) ระหวาง "ทีมชาติสยาม" กับ "ทีมราชกรีฑาสโมสร" ตอหนาพระที่นั่ง และมี "มร.ดักลาส โรเบิรตสัน" เปนผูตัดสิน ซึ่งผลการแขงขันปรากฏวาทีมชาติสยามชนะทีมราชกรีฑาสโมสร 2-1 ประตู (ครึ่งแรก 0-0) และครั้งที่ 2 เมื่อวันเสารที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2458เปนการแขงขันระหวางชาตินัดที่ 2 แบบเหยาเยือนตอหนาพระที่นั่ง ณ สนามเสือปาสวนดุสิตและผลปรากฏวา ทีมชาติสยามเสมอกับทีมราชกรีฑา สโมสร หรือทีมรวมตางชาติ 1-1 ประตู (ครึ่งแรก 0-0)

สมาคมฟุตบอลแหงประเทศไทย (THE FOOTBALL ASSOCIATION OF THAILAND) มีวิวัฒนาการตามลําดับตอไปนี้ พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ตั้งสมาคมฟุตบอลแหงสยามขึ้นเมื่อวันที่ 25 เมษายน พุทธศักราช 2459และตราขอบังคับขึ้นใชในสนามฟุตบอลแหงสยามดวยซึ่งมีชื่อยอวา ส.ฟ.ท. และเขียนเปนภาษาอังกฤษวา "THE FOOTBALL ASSOCIATION OF THAILAND UNDER THE PATRONAGE OF HIS MAJESTY THE KING" ใชอักษรยอวา F.A.T.และสมาคมฯ จัดการแขงขันถวยใหญและถวยนอยเปนครั้งแรกในปนี้ดวย

พ.ศ. 2468 เปนภาคีสมาชิกสมาพันธฟุตบอลระหวางชาติ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พุทธศักราช 2468 ชุดฟุตบอลเสือปาพรานหลวง ไดรับถวยของพระยาประสิทธิ์ศุภการ (เจาพระยารามราฆพ) ซึ่งเลนกับชุดฟุตบอลกรมทหารรักษาวัง เมื่อ พ.ศ. 2459-2460 ไดรับไวเปนกรรมสิทธิ์ โดยชนะ 2 ปติดตอกัน

Page 48: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

38

รายนามผูเลน1.ผัน ทัพภเวส2.ครูเพิ่ม เมษประสาท (พระดรุณรักษา)3.ครูเธียร วรธีระ (หลวงวิเศษธีระการ)4.จรูญฯ (พระทิพยจักษุศาสตร)5.กอนดิน ราหุลหัต (หลวงศิริธารา)6.ครูสําลี จุโฬฑก (หลวงวิศาลธีระการ)7.ครูหับ ปตะนีละผลิน (หลวงประสิทธิ์นนทเวท)8.ตุย ศิลป (หลวงจิตรเจนสาคร)9.แฉลม กฤษณมระ (พระประสิทธิ์บรรณสาร)10.จิ๋ว รามนัฎ (หลวงยงเยี่ยงครู)11.ลิ้ม ทูตจิตร (พระวิสิษฐเภสัช)

ชุดฟุตบอลสโมสรกรมหรสพ ไดรับพระราชทาน "ถวยใหญ" ของสมาคมฟุตบอลแหงสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2459

รายนามผูเลน1. ครูเพิ่ม เมษประสาท (พระดรุณรักษา)2. ครูเธียร วรธีระ (หลวงวิเศษธีระการ)3. เจ็ก สุนทรกนิษฐ4. บุญ บูรณรัฎ5. ใหญ มิลินทวณิช (หลวงมิลินทวณิช)6. ครูหับ ปตะนีละผลิน (หลวงประสิทธิ์นนทเวท)7. ผัน ทัพภเวส8. ถม โพธิเวช9. แฉลม พฤษณมระ (พระประสิทธิ์บรรณสาร)10. หลวงเยี่ยงครู (ถือถวยใหญ)11. เกิด วัชรเสรี (ขุนบริบาลนาฎศาลา)

Page 49: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

39

พ.ศ. 2499 การแกไขเพิ่มเติมขอบังคับ ครั้งที่ 3 และเรียกวาขอบังคับ ลักษณะปกครองพ.ศ. 2499 สมาคมฟุตบอลฯ ไดสิทธิ์สงทีมฟุตบอลชาติไทยเขารวมการแขงขัน "กีฬา

โอลิมปก" ครั้งที่ 16 นับเปนครั้งแรกที่ประเทศไทยมีสิทธิ์เขารวมการแขงขัน เมื่อวันที่ 26พฤศจิกายน พุทธศักราช 2499 ณ นครเมลเบิรน ประเทศออสเตรเลีย

พ.ศ. 2500 เปนภาคีสมาชิกสมาพันธฟุตบอลแหงเอเชีย ซึ่งมีชื่อยอวา เอเอฟซี และเขียนเปนภาษาอังกฤษวา"ASIAN FOOTBALL CONFEDERATION" ใชอักษรยอวา A.F.C.

พ.ศ. 2501 การแกไขเพิ่มเติมขอบังคับลักษณะปกครอง ครั้งที่ 4 พ.ศ.2503 การแกไขเพิ่มเติมขอบังคับลักษณะปกครอง ครั้งที่ 5 พ.ศ.2504-ปจจุบันสมาคมฟุตบอลฯไดจัดการแขงขันฟุตบอลถวยนอย และถวยใหญซึ่งภายหลังไดจัดการแขงขันแบบเดียวกันของสมาคมฟุตบอลอังกฤษคือจัดเปนประเภทถวยพระราชทาน ก, ข, ค, และ ง และยังจัดการแขงขันประเภทอื่นๆ อีกเชน ฟุตบอลนักเรียน ฟุตบอลเตรียมอุดม ฟุตบอลอาชีวะ ฟุตบอลเยาวชนและอนุชน ฟุตบอลอุดมศึกษา ฟุตบอลเอฟเอ คัพ ฟุตบอลควีนส คัพ ฟุตบอลคิงสคัพ เปนตน ฯลฯ นอกจากนี้ยังไดจัดการแขงขันและสงทีมเขารวมกับทีมนานาชาติมากมายจนถึงปจจุบัน

พ.ศ. 2511 สมาคมฟุตบอลไดสิทธิ์สงทีมฟุตบอลชาติไทยเขารวมการแขงขันกีฬาโอลิมปกเปนครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พุทธศักราช 2511 ณ ประเทศเม็กซิโก

พ.ศ. 2514 การแกไขเพิ่มเติมขอบังคับลักษณะปกครอง ครั้งที่ 6 ชุดฟุตบอลทีมชาติไทย ชุดแรกที่เดินทางไปแขงขัน "กีฬาโอลิมปก"ครั้งที่ 16 ณ นครเมลเบิรน ประเทศออสเตรเลีย เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2499

พ.ศ. 2531 สมาคมฟุตบอลฯ ไดมีโครงการจัดการแขงขันฟุตบอลภายในประเทศ รวมทั้งเชิญทีมตางประเทศเขารวมแขงขัน และสงทีมเขารวมการแขงขันในตางประเทศตลอดปงานวิจัยที่เกี่ยวของ

Page 50: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

40

2.5 ประวัติสโมสรดิวิชั่น 1

ไทยลีกดิวิชั่น 1 (Thai Division 1 League) เปนการแขงขันฟุตบอลลีกอาชีพ ระดับชั้นที่สองในประเทศไทย บริหารงานโดยบริษัทไทยพรีเมียรลีก จํากัด ซึ่งถือหุนโดยสมาคมฟุตบอลแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ โดยตั้งแตฤดูกาล 2553 มีสโมสรฟุตบอลเขาแขงขันทั้งหมด 18 ทีม โดยตําแหนงชนะเลิศ รองชนะเลิศ และอันดับที่สามของแตละฤดูกาล จะขึ้นชั้นไปสูไทยพรีเมียรลีกในฤดูกาลถัดไป ขณะเดียวกัน 3 อันดับสุดทาย เมื่อจบฤดูกาลจะตกชั้นไปสูลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 ทั้งนี้ในฤดูกาลปจจุบัน (พ.ศ. 2556) เปนการแขงขันครั้งที่ 17 และมีผูสนับสนุนหลักคือบริษัทไทยยามาฮามอเตอร จํากัด (ตั้งแตฤดูกาล 2555) จึงมีชื่อเรียกวา ยามาฮาลีกวัน

ฟุตบอลไทยลีกดิวิชั่น 1 กอต้ังขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2540 หลังจากเริ่มมีไทยแลนซอกเกอรลีกหนึ่งป เพื่อรองรับสโมสรที่ตกชั้นจากไทยแลนดซอกเกอรลีก ฤดูกาล 2539 และสโมสรที่ขึ้นชั้นมาจากฟุตบอลถวยพระราชทาน ประเภท ข โดยแขงขันระบบลีก แบบพบกันหมด สองนัดเหยาเยือน ซึ่งมีสโมสรฟุตบอลเขารวมแขงขัน เริ่มแรกที่ 10 ทีม กอนจะเพิ่มเปน 12 ทีมในเวลาตอมา โดยในป พ.ศ. 2550 มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือ การยุบโปรวินเชียลลีก โดยใหสโมสร 10 อันดับทาย เขาแขงขันในไทยลีกดิวิชั่น 1 รวมจํานวนสโมสรในไทยลีกดิวิชั่น 1 เปน 16 ทีม

ตอมาในปพ.ศ2552 สมาพันธฟุตบอลเอเชีย ออกระเบียบวาดวยความเปนสโมสรฟุตบอล อาชีพอยางสมบูรณแบบ เปนผลใหสมาคมฯ ตองดําเนินการจัดตั้งบริษัทไทยพรีเมียรลีก จํากัด ขึ้นเพื่อเปนผูจัดการแขงขัน ทั้งรายการไทยพรีเมียรลีก และไทยลีกดิวิชั่น 1 โดยมีวิชิต แยมบุญเรือง เปนประธานกรรมการ และออกระเบียบใหผูบริหารสโมสรฟุตบอลอาชีพ ตองจัดตั้งในรูปนิติบุคคล (บริษัท) เพื่อดําเนินการบริหารสโมสรดวย และในฤดูกาลถัดมา (พ.ศ. 2553) สมาคมฯ ประกาศเพิ่มจํานวนสโมสรที่ไดสิทธิ เลื่อนชั้นขึ้นจากลีกภูมิภาคดิวิชั่น 2 เปนผลใหไทยลีกดิวิชั่น 1 มีสโมสรที่เขาแขงขันรวมเปน 18 ทีม

มีทีมเขารวมการแขงขันไทยลีกดิวิชั่น 1 ทั้งหมด 18 ทีม โดยจะทําการแขงขัน ในระบบเหยาเยือนพบกันหมด เปนจํานวนทีมละ 34 นัด ซึ่งในแตละนัด ทีมชนะจะได 3 คะแนน เสมอได 1 คะแนน แพไมไดคะแนน ทั้งนี้เมื่อสิ้นสุดฤดูกาล สโมสรที่ไดคะแนนรวมสูงสุด จะไดรับรางวัลชนะเลิศ สวนทีมที่ไดคะแนนรองลงมา จะเรียงอันดับลดหลั่นกันตามคะแนนรวมที่ได โดยสามอันดับสุดทาย จะตกชั้นสูลีกภูมิภาคดิวิชั่น 2 และสามอันดับแรก จากลีกภูมิภาคดิวิชั่น 2 จะขึ้นชั้นมาแทน

Page 51: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

41

รูปแบบการแขงขัน ในกรณีที่มีทีมมากกวา 1 ทีมขึ้นไป ไดคะแนนรวมเทากันเมื่อสิ้นสุดฤดูกาล ใหใชเกณฑพิจารณาเรียงลําดับดังนี้

1. พิจารณาจากผลการแขงขันของทีมที่มีคะแนนเทากันที่เคยแขงกันมาในฤดูกาลที่เพิ่งจบการแขงขัน (Head to head)

2. พิจารณาจากจํานวนครั้งที่ชนะ (Number of wins) ของแตละทีมที่คะแนนเทากัน 3. พิจารณาจากผลตางของประตูได และประตูเสีย (Goals difference) 4. พิจารณาเฉพาะประตูได (Goals for) แขงขันกันใหม 1 นัด เพื่อหาทีมชนะ หากผลการแขงขันเสมอกันในเวลาปกติใหตัดสินดวย

การเตะลูกโทษ ณ จุดเตะโทษ ในกรณีที่พิจารณาตามเกณฑดังกลาวขางตนตามลําดับแลวและไดเกณฑตัดสินตามขอหนึ่ง

ขอใดแลวใหยุติการพิจารณาขอตอไป

ในการจัดอันดับระหวางการแขงขัน เพื่อแสดงลําดับในตารางคะแนนระหวางฤดูกาล ใหใชเกณฑพิจารณาดังตอไปนี้

1. พิจารณาจากคะแนนรวมสูงสุด 2. ถาคะแนนรวมเทากันใหพิจารณาจากผลตางของประตูได ประตูเสีย 3. ถายังเทากันอีกใหดูเฉพาะประตูได 4. ถายังเทากันอีกใหทําการจับฉลาก

การกีฬาแหงประเทศไทยเปนผูสนับสนุนเงินรางวัล สําหรับสโมสรฟุตบอลซึ่งไดคะแนนรวม เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลในอันดับตาง ๆดังตอไปนี้

อันดับที่ 1 รางวัล 5 ลานบาทอันดับที่ 2 รางวัล 3 ลานบาทอันดับที่ 3 รางวัล 1 ลานบาทอันดับที่ 4 รางวัล 5 แสนบาทอันดับที่ 5 รางวัล 3 แสนบาทอันดับที่ 6 รางวัล 1 แสนบาทอันดับที่ 7 รางวัล 5 หมื่นบาท

Page 52: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

42

นอกจากนี้ ยังมีเงินบํารุงสโมสรที่เขารวมแขงขัน และโลรางวัลสําหรับสโมสรที่มีมารยาทยอดเยี่ยม, ผูจัดการทีม/หัวหนาผูฝกสอนยอดเยี่ยม, ผูทําประตูสูงสุด, นักฟุตบอลเยาวชนผูมีผลงานโดดเดน และผูเลนยอดเยี่ยมตําแหนงตางๆ คือผูรักษาประตู, กองหลัง, กองกลาง, กองหนา (สืบคนจาก http://th.wikipedia.org/wiki/ วันที่ 25 กันยายน 2556)

2.6 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.6.1 งานวิจัยในตางประเทศ

วิลลิส (Willis, 1982: 10 อางถึงใน อารี พันธมณี, 2534) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางแรงจูงใจในการแขงขันกับระดับของการแขงขัน โดยใหนักกีฬาประเมินตัวเองและผูฝกสอนประเมินนักกีฬาในการแขงขัน จุดมุงหมายของการศึกษาครั้งนี้ เปนการตรวจสอบถึงพลังของการกลัวความลมเหลว และแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์กลุมตัวอยางเปนนักกีฬาชาย 33 คน เปนนักกีฬาหญิง 10 คนเปนนักกีฬาวอลเลยบอล บาสเกตบอล กรีฑาลูและลาน นักวิ่งทางไกล นักกีฬาทั้งหมดเปนนักกีฬาระดับมหาวิทยาลัย นักกีฬาตอบแบบสอบถามตามความคิดเห็นซึ่ง เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับความสัมพันธของการแขงขันกับแรงจูงใจในการเลนกีฬา ซึ่งออกแบบสอบถามเฉพาะกีฬามีน้ําหนักคะแนน 3 ระดับ ผลการวิเคราะหแสดงใหเห็นวา การประเมินของผูฝกสอนไดใหทักษะของนักกีฬามีความสัมพันธมากที่สุด กับระดับของการแขงขันและระดับของแรงจูงใจ การประเมินตัวเองของนักกีฬา ในการเขารวมการแขงขันและพลังแรงจูงใจ คะแนนจึงเปนตัวแปรที่มีความสําคัญตอการคาดเดา และพลังแรงจูงใจของนักกีฬาหญิง มีความสัมพันธกับผูฝกสอน ทักษะและความรูความเขาใจที่พบเสมอ ๆ คือ ความกลัว

เฟรดเดอริค (Frederick, 1992: 3786) ไดศึกษาวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางแรงจูงใจในการเขารวม ระดับของการเขารวม และสภาพจิตใจที่แสดงออกมาในขอบเขตของกิจกรรมทางกายลักษณะสภาพจิตใจที่แสดงออกมา เชน การยกยองตนเอง ความหดหู ความกังวลสภาพความเปนจริงของตนเอง และความมีชีวิตชีวา โดยยึดตามแนวทฤษฎีแรงจูงใจของ เดซี่และไรอัน (Deci and Ryan, 1985) ไดเสนอความสําคัญของการศึกษา 2 สิ่งแรกเปนการกระทําที่เชื่อมแรงจูงใจในการเขารวมกับสภาพจิตใจที่แสดงออกมา สิ่งที่สองคือ การวัดผลวิธีใหม 2 วิธีที่สรางขึ้นตัวแปรในการศึกษาครั้งนี้คือ มีเหตุจูงใจในการเขารวมและการวัดความมีชีวิตชีวากลุมตัวอยาง 2 กลุม คือกลุมผูใหญ 376 คน กลุมนักเรียน 150 คน ผลของการศึกษาพบวาเหตุจูงใจในการเขารวมเปนปจจัย3 สวนยอย คือ แรงจูงใจภายใน ความสามารถ และความสัมพันธของรางกาย มีการตั้งสมมุติฐาน

Page 53: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

43

เพื่อทดสอบนัยสําคัญของความสัมพันธที่คนพบ ระหวางตัวแปรยอยของเหตุแรงจูงใจในการเขารวม ไดถูกคนพบถึงความแตกตางโดยเพศของผูเขารวม ผูหญิงมีคะแนนเฉลี่ย สูงกวาผูชาย ในเรื่องแรงจูงใจที่สัมพันธกับรางกาย และผูชายมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาผูหญิงในแรงจูงใจดานความสามารถแรงจูงใจในการเขารวมเปนตัวแปรโดยกิจกรรมกลุม ซึ่ง มี 3 กลุม คือกลุมกีฬาบุคคล กลุมสุขภาพและสมรรถภาพ และกลุมกีฬาประเภททีม กลุมสุขภาพมีคะแนนเฉลี่ยของแรงจูงใจที่สัมพันธกับรางกาย สูงกวากิจกรรมกลุมอื่น ๆ การศึกษาทางดานสภาพจิตใจความมีชีวิตชีวา พบวา มีความสัมพันธทางบวกกับการยกยองตนเองและความกังวลใจ การศึกษาเสนอใหเห็นถึงความมีนัยสําคัญ แสดงวาแรงจูงใจในการเขารวมกิจกรรมทางกาย มีความสัมพันธกับองคประกอบทางดานจิตใจอยางมีนัยสําคัญ

เออลี ่(Early, 1987: 93 อางถึงใน อารี พันธมณี, 2534) ไดศึกษาการปรับตัวและศึกษาความแตกตางของแรงจูงใจในการเขารวมเลนกีฬาประเภททีมและประเภทบุคคล เครื่องมือทีใชเปนแบบวัดลักษณะการปรับตัวพื้นฐานที่สัมพันธกับการปรับความประพฤติ และแบบสอบถามวัดแรงจูงใจในการเขาแขงขันกลุมตัวอยางเปนนักกีฬาฟุตบอล นักกีฬาบาสเกตบอล นักกรีฑาประเภทลู นักกีฬากอลฟนักกีฬาเทนนิส ผูไมเปนนักกีฬา และผูที่เปนนักกีฬาครั้งเดียว

ผลการศึกษาพบวา แรงจูงใจแตกตางกันในดานกลัวความลมเหลว สมรรถภาพรางกายการแจงใหทราบและการควบคุมระหวางนักกีฬาประเภททีมและนักกีฬาประเภทบุคคล แตการปรับตัวไมตางกัน ความสัมพันธระหวางการปรับตัวขั้นพื้นฐานกับแรงจูงใจในการแขงขัน ชี้ใหเห็นวาในกีฬาประเภทบุคคลที่มีความสามารถสูงและต่ํามีความแตกตางกัน ขอแนะนําเพื่อการพัฒนาลักษณะของบุคคลใหดีขึ้นนั้นจะมีความเกี่ยวของกับการรักษาแรงจูงใจของนักกีฬาแตละบุคคลวามีความสัมพันธอยางมากกับบุคคลและการแกไขทางสังคมและการแขงขัน ความกาวราว ความขัดแยง มีความสัมพันธเกี่ยวของกับความรูสึกในทางลบ มีความสัมพันธระหวางการปรับปรุงตัวทางการกีฬาประเภททีมและนักกีฬาประเภทบุคคล องคประกอบของบุคคลไมมีความสัมพันธกับความสามารถทางการกีฬาและความสนใจทางสังคม ไมมีสิ่งใดชี้วาการจัดแกไของคประกอบสวนบุคคลใหเหมาะสม มีความสัมพันธกับแรงจูงใจในการเลนกีฬาและแมวานักกีฬาในกลุมตัวอยางของการวิจัยจะมีความสําเร็จในการแขงขันอยางสูง ก็ยังเห็นคุณคาของการประสานความรวมมือและเปนเครื่องมือสําคัญของการประสบความสําเร็จในการกีฬาและประสบความสําเร็จในการศึกษา

Page 54: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

44

มิทเชลล (Mitchell, 1982: 38-42) ไดศึกษาการรับรูที่เกิดจากแรงจูงใจภายในสภาพแวดลอมของการเรียนในวิชาพลศึกษา โดยศึกษาความสัมพันธของจุดมุงหมายสัมฤทธิ์กับแรงจูงใจในการเรียน การศึกษามุงตรวจพิสูจนระดับแรงจูงใจภายนอก จากการจัดสภาพแวดลอมของการเรียนและความสัมพันธระหวางการรับรูกับแรงจูงใจอื่น ๆ เชน จุดมุงหมายสัมฤทธิ์ความสามารถในการรับรูของตนเอง แรงจูงใจเหลานี้ไดรับการยอมรับวาเปนตัวสําคัญที่ทําใหประสบความสําเร็จ กลุมตัวอยางคือ นักเรียน 50 คน ในโรงเรียนระดับกลาง โดยใหนักเรียนตอบแบบสอบถาม จากการวิเคราะห กราฟของผลการเรียนการสอนวิชาพลศึกษาไดพัฒนาขึ้น และการศึกษาในกลุมตัวอยางที่ใหญขึ้น คือ นักเรียน 622 คน ผลการศึกษาพบวา ระดับของแรงจูงใจในการเรียนมีความสัมพันธกับจุดมุงหมายสัมฤทธิ์อยางมีนัยสําคัญ

อมรเรส และฮอรน (Amorase & Horn, 1995: 20) ไดทําการทดสอบแรงจูงใจภายในระยะยาวของนักกีฬาวิทยาลัยปแรก โดยศึกษาประเด็นความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูฝกสอนหรือโคช (Coach) และสถานภาพการศึกษา วาสามารถทํานายความเปลี่ยนแปลงแรงจูงใจภายในของนักกีฬาวิทยาลัยปแรก ซึ่งแบบสอบถามไดดําเนินการทั้งกอนและหลังฤดูการแขงขันกับนักกีฬาจํานวน 76 คน การวิจัยพบวาลักษณะการโคชแบบเผด็จการ พรอมทั้งมีพฤติกรรมตอบสนองรุนแรงมีผลสนับสนุนอยางมาก ที่ทําใหแรงจูงใจภายในลดลง และสถานภาพทางการศึกษาไมมีผลตอแรงจูงใจภายใน

Page 55: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

45

2.6.2 งานวิจัยในประเทศ

สมนึก บุญนาค (2548) ไดทําการวิจัยเรื่องแรงจูงใจในการเลือกฝกกีฬามวยไทยของนักเรียนชาย ชวงชั้นปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ ปการศึกษา 2547 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยจํานวน 226 คน เลือกกลุมตัวอยางโดยวิธีสุมอยางงาย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามที่ทางผูทําการสรางขึ้น วิเคราะหขอมูลโดยหาคาความถี่และคารอยละนําขอเสนอแนะมาเขียนเปนความเรียง

ผลการวิจัยพบวา ดานความรักความถนัดและความสนใจ นักเรียนชายที่เลือกฝกกีฬามวยไทยมีแรงจูงใจ ระดับมาก รอยละ 49.63 รองลงมาคือ ระดับมากที่สุด รอยละ 18.81 ระดับปานกลางรอยละ 15.71 ระดับนอย รอยละ 8.19 และระดับนอยที่สุดรอยละ 7.67ดานสุขภาพและอนามัยนักเรียนชายที่เลือกฝกกีฬามวยไทย มีแรงจูงใจระดับมากที่สุด รอยละ 38.05 รองลงมา คือ ระดับมาก รอยละ 30.71 ระดับปานกลาง รอยละ 15.00ระดับนอย รอยละ 8.19 และระดับนอยที่สุด รอยละ 7.70 ดานรายไดและผลประโยชน นักเรียนชายทีเลือกฝกกีฬามวยไทย มีแรงจูงใจระดับมากรอยละ 44.12 รองลงมาคือ ระดับมากที่สุด รอยละ 24.02 ระดับปานกลาง รอยละ 12.77ระดับนอยรอยละ 10.24 และระดับนอยที่สุดรอยละ 8.85ดานโอกาสที่จะไดรับความกาวหนาในอนาคตนักเรียนชายที่เลือกฝกกีฬามวยไทยมีแรงจูงใจระดับมากที่สุด รอยละ 38.99 รองลงมา คือ ระดับมาก รอยละ 30.64 ระดับปานกลางรอยละ 11.50 ระดับนอย รอยละ 9.79 และระดับนอยที่สุด รอยละ 9.07

จิตรัตดา รัตนาธีวัฒน (2550) ไดศึกษาแรงจูงใจในการเลือกเลนกีฬามวยปล้ําในประเทศไทย การวิจัยในครั้งนี้ มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบแรงจูงใจในการเลือกเลนกีฬาของนักกีฬามวยปล้ํา กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้เปนนักกีฬามวยปล้ําในประเทศไทย รวมทั้งสิ้นจํานวน 242 คน เพศชาย จํานวน 142 คน เพศหญิง จํานวน 100 คนเลือกกลุมตัวอยางโดยวิธีสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) แบบสอบถามดังกลาวประกอบดวย แรงจูงใจดานตางๆ 4 ดาน คือ (1) ดานความรักความถนัดและความสนใจ (2) ดานสุขภาพและพลานามัย (3) ดานรายไดและผลประโยชน และ (4) ดานเกียรติยศชื่อเสียงและความกาวหนาวิเคราะหขอมูลโดยใช คารอยละคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบคา t-test คาความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) และทดสอบความแตกตางเปนรายคูดวยวิธีเชฟเฟ (Scheffe)

Page 56: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

46

ผลการศึกษาพบวา1. แรงจูงใจภาพรวมในการเลือกเลนกีฬามวยปล้ํา ของนักกีฬามวยปล้ําในประเทศไทย

ดานความรักความถนัดและความสนใจ ดานสุขภาพและพลานามัย ดานรายไดและผลประโยชนและดานเกียรติยศชื่อเสียงและความกาวหนา มีแรงจูงใจในระดับมาก

2. แรงจูงใจในการเลือกเลนกีฬามวยปล้ําของนักกีฬามวยปล้ําในประเทศไทยแยกตามตัวแปร เพศ และอายุ ปรากฏผลดังนี้

2.1 แยกตามเพศ พบวา แรงจูงใจดานความรักความถนัดและความสนใจ, ดานสุขภาพและพลานามัย, ดานรายไดและผลประโยชน, และดานเกียรติยศชื่อเสียงและความกาวหนาเพศชายมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.00, 4.22, 3.90 และ 4.05 ตามลําดับ และเพศหญิงมีคาเฉลี่ย เทากับ 3.81, 4.19, 3.80 และ 3.99 ตามลําดับ

2.2 แยกตามระดับอายุ รายดาน แรงจูงใจดานความรักความถนัดและความสนใจดานสุขภาพและพลานามัย , ดานรายไดและผลประโยชน, และดานเกียรติยศชื่อเสียงและความกาวหนา อายุต่ํากวา 12 ป มีคาเฉลี่ย เทากับ 3.90, 4.25, 3.89 และ 4.06 ตามลําดับอายุ 12 – 18 ป มีคาเทากับ 3.91, 4.20, 3.86 และ 4.02 ตามลําดับ และอายุสูงกวา 18 ปขึ้นไปมีคาเฉลี่ย เทากับ3.96, 4.20, 3.83 และ 4.01 ตามลําดับ

3. เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของแรงจูงใจในการเลือกเลนกีฬามวยปล้ําของนักกีฬามวยปล้ําในประเทศไทย

3.1 เปรียบเทียบระหวางเพศ นักกีฬามวยปล้ําที่เพศตางกัน มีแรงจูงใจในการเลือกเลนกีฬามวยปล้ําไมแตกตางกัน แตเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา นักกีฬาที่มีเพศตางกัน มีแรงจูงใจในการเลือกเลนกีฬามวยปล้ํา ดานความรักความถนัดและความสนใจแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

3.2 เปรียบเทียบระหวางอายุ นักกีฬามวยปล้ําที่มีระดับอายุตางกันมีแรงจูงใจในการเลือกเลนกีฬามวยปล้ําไมแตกตางกัน

Page 57: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

47

อภิชัย บัวหยู (2551) ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับแรงจูงใจของนักกีฬาเทนนิสสมัครเลนที่สนใจเขารวมการแขงขันเทนนิสระดับอาชีพ การวิจัยครั้งนี้มีความมุงหมายเพื่อศึกษาถึงแรงจูงใจของนักกีฬาเทนนิสสมัครเลนที่สนใจเขารวมการแขงขันเทนนิสระดับอาชีพป พ.ศ. 2550 กลุมตัวอยางคือ นักกีฬาเทนนิสสมัครเลนที่สนใจในการเลนเทนนิสระดับอาชีพ ในป พ.ศ. 2550 กลุมตัวอยางจํานวน 160 คน เปนเพศชาย 87 คน และเพศหญิง 73 คน ซึ่งไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง(Purposively Selected) เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้น มีคาความเชื่อมั่น 0.93 วิเคราะหขอมูลโดยการหาคาความถี่คารอยละ คาเฉลี่ยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบคาที (t-test)

ผลการวิจัยพบวา 1. แรงจูงใจของนักกีฬาเทนนิสสมัครเลนที่สนใจเขารวมการแขงขันเทนนิสระดับอาชีพป

พ.ศ. 2550 ดานความรักความสนใจและความถนัด ดานรายไดและผลประโยชนดานเกียรติยศชื่อเสียง และ ดานความกาวหนาในอนาคต จําแนกตามเพศ มีแรงจูงใจอยูในระดับมาก (เพศชาย x = 4.17, 3.91, 3.97, และ 4.16 ตามลําดับ และเพศหญิง x = 4.15, 3.73, 3.82,และ 4.03 ตามลําดับ

2. แรงจูงใจของนักกีฬาเทนนิสสมัครเลนที่สนใจเขารวมการแขงขันเทนนิสระดับอาชีพปพ.ศ. 2550 ดานความรักความสนใจและความถนัด ดานรายไดและผลประโยชนดานเกียรติยศชื่อเสียง และ ดานความกาวหนาในอนาคต จําแนกตามประสบการณในการแขงขัน1 - 3 ป และตั้งแต 4 ปขึ้นไป มีแรงจูงใจอยูในระดับมาก (ประสบการณในการแขงขัน 1 - 3 ป x = 4.19, 3.78, 3.89, และ 4.09 และประสบการณในการแขงขันตั้งแต 4 ป ขึ้นไป x = 4.11,3.91, 3.92, และ 4.12 ตามลําดับ)

3. แรงจูงใจของนักกีฬาเทนนิสสมัครเลนที่สนใจเขารวมการแขงขันเทนนิสระดับอาชีพดานความรักความสนใจและความถนัด ดานรายไดและผลประโยชน ดานเกียรติยศชื่อเสียง และดานความกาวหนาในอนาคต จําแนกตามเพศ และประสบการณในการแขงขัน พบวานักกีฬาเทนนิสสมัครเลนทีมีเพศตางกัน มีแรงจูงใจในการเขารวมการแขงขันเทนนิสระดับอาชีพแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดานรายไดและผลประโยชน ดานเกียรติยศชื่อเสียง และดานความกาวหนาในอนาคต นักกีฬาเทนนิสสมัครเลนที่มีประสบการณในการแขงขันตางกัน มีแรงจูงใจในการเขารวมการแขงขันเทนนิสระดับอาชีพ ไมแตกตางกันจากการศึกษาทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของนี้เห็นวาแรงจูงใจมีสวนในการสรางความสําเร็จและชี้ถึงความตองการของบุคคลในการกระทําและการเลือกเลนกีฬา ผูวิจัยไดสรุปแนวความคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจ และไดแนวคิดที่จะศึกษาแรงจูงใจดานตางๆ 5 ดาน ดังนี้คือ (1) ดานความรักความสนใจ (2) ดานสุขภาพ

Page 58: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

48

ความแข็งแรง (3) ดานความทะเยอทะยาน(4) ดานบุคคลที่เกี่ยวของ และ (5) ดานโอกาสที่ไดรับในอนาคต

วีรยุทธ จิตรขุนทด (2554) ไดทําการวิจัยแรงจูงใจในการเลนกีฬาฟุตบอลทีมสโมสรบุรีรัมย โดยกลุมตัวอยางในการศึกษาคนควาครั้งนี้เปนนักกีฬาฟุตบอลสโมสรบุรีรัมย จํานวน 75 คน ประกอบดวย ทีมเยาวชน 25 คน ทีมบุรีรัมยเอฟซี 25 คน พีอีเอ 25 คน รวม 75 คน เลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีความเชื่อมั่นเทากับ 0.85 ผลการศึกษาพบวา แรงจูงใจโดยรวมของนักกีฬาฟุตบอลทีมสโมสรบุรีรัมย ดานความรัก ความสนใจ และ ความถนัด ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง และบุคคลที่เกี่ยวของ ดานรายได และผลประโยชนที่ไดรับ ดานเกียรติยศชื่อเสียงมีแรงจูงใจอยูในระดับมากที่สุด 4.26 ผลการทดสอบสมมติฐานดวยคา t-test โดยวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 พบวามีคา sigเทากับ 0.000 แสดงใหเห็นวา ปฏิเสธสมมติฐานในการวิจัยดังนี้ ขอมูลสวนตัวทางดานเพศ มีผลตอแรงจูงใจตอตัวนักกีฬา ขอมูลสวนตัวทางดานอายุ มีผลตอแรงจูงใจตอตัวนักกีฬา ขอมูลสวนตัวทางดานสังกัดทีม มีผลตอแรงจูงใจตอตัวนักกีฬา และขอมูลสวนตัวทางดานรายได ไมมีผลตอแรงจูงใจ และการพัฒนาตอตัวนักกีฬา

Page 59: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

49

2.7 กรอบแนวคิดในการวิจัย

จากผลงานวิจัยทั้งตางประเทศและในประเทศ รวมทั้งแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ ทําใหผูวิจัยสามารถสรางกรอบแนวคิดในการวิจัยไดดังนี้

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

แผนภาพที่ 2.2 กรอบแนวคิดในการวิจัย

ปจจัยสวนบุคคล 1) อายุ 2) ระดับการศึกษา 3) ตําแหนงในการเลนฟุตบอล 4) ประสบการณในการเลนฟุตบอล5) รายไดเฉลี่ยตอเดือน

แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 11) ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด2) ดานความคิดเห็นเก่ียวกับตนเองและ บุคคลที่เกี่ยวของ3) ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ 4) ดานเกียรติยศและชื่อเสียง

Page 60: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

50

บทที่ 3ผลการศึกษา

การศึกษาวิจัยเรื่องแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 และศึกษาเปรียบเทียบแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล โดยผูวิจัยไดทําการรวบรวมขอมูล นําเสนอ และอธิบายผลการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม ซึ่งนําเสนอผลการศึกษาการวิเคราะหขอมูลดังนี้

3.1 ผลการวิเคราะหปจจัยสวนบุคคลของนักกีฬาฟุตบอล3.2 ผลการวิเคราะหแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล3.3 ผลการทดสอบสมมติฐาน

3.1 ผลการวิเคราะหปจจัยสวนบุคคลของนักกีฬาฟุตบอล

ตารางที่ 3.1 แสดงจํานวนความถี่และคารอยละของปจจัยสวนบุคคลของนักกีฬาฟุตบอลn= 251

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน รอยละ

อายุ1. ไมเกิน 20 ป2. 21 - 25 ป3. 26 - 30 ป4. 30 ปขึ้นไป (Min = 18, Max = 33, Mean = 24.86)

271169612

10.7546.2238.254.78

ระดับการศึกษา1. ต่ํากวาปริญญาตรี2. ปริญญาตรี3. ปริญญาโท

4419611

17.5378.094.38

Page 61: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

51

ตารางที่ 3.1 แสดงจํานวนความถี่และคารอยละของปจจัยสวนบุคคลของนักกีฬาฟุตบอล (ตอ)n= 251

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน รอยละ

ตําแหนงในการเลนฟุตบอล1. กองหนา2. กองกลาง3. กองหลัง4. ผูรักษาประตู

71896526

28.2935.4625.9010.35

ประสบการณในการเลนฟุตบอล1. 1 - 3 ป2. 4 - 6 ป3. 7 - 9 ป4. มากกวา 9 ป (Min = 1, Max = 12, Mean = 5.27)

78995123

31.0839.4420.329.16

รายไดเฉลี่ยตอเดือน1. 15,001 – 30,000 บาท2. 30,001– 45,000 บาท3. มากกวา 45,000 บาท

162188

0.4024.7074.90

จากตารางที่ 3.1 สามารถอธิบายผลวิเคราะหปจจัยสวนบุคคลของนักกีฬาฟุตบอล พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีอายุระหวาง 21 - 25 ป จํานวน 116 คน คิดเปนรอยละ 46.22 โดยอายุมากที่สุดคือ 33 ป อายุนอยที่สุด คือ 18 ป และมีอายุเฉลี่ยคือ 24.86 ป สวนใหญมีระดับการศึกษาปริญญาตรี จํานวน 196 คน คิดเปนรอยละ 78.09 สวนใหญมีประสบการณในการเลนระดับสโมสร ระหวาง 4 - 6 ป จํานวน 99 คน คิดเปนรอยละ 39.44 สวนใหญตําแหนงในการเลนฟุตบอล คือ กองกลาง จํานวน 89 คน คิดเปนรอยละ 35.46 สวนใหญมีรายไดเฉลี่ยตอเดือนในปจจุบัน มากกวา 45,000 บาท จํานวน 188 คน คิดเปนรอยละ 74.90

Page 62: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

52

3.2 ผลการวิเคราะหแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิช่ัน 1 ของนักกีฬาฟุตบอล

1. แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ในภาพรวม

ตารางที่ 3.2 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลในภาพรวม

n= 251

แรงจูงใจ 4 ดาน X SDระดับ

แรงจูงใจลําดับ

1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด 4.46 0.187 มากที่สุด 12. ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง และบุคคลที่เกี่ยวของ

4.14 0.229 มาก 4

3. ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ 4.16 0.292 มาก 34. ดานเกียรติยศและชื่อเสียง 4.44 0.238 มากที่สุด 2

รวม 4.30 0.120 มากที่สุด

จากตารางที่ 3.2 ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ยเทากับ 4.30)

เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจดานความรัก ความสนใจ และความถนัดในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 มากที่สุด (คาเฉลี่ยเทากับ 4.46) รองลงมา คือ ดานเกียรติยศชื่อเสียง (คาเฉลี่ยเทากับ 4.44) ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ (คาเฉลี่ยเทากับ 4.16) และนอยที่สุด คือ ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ (คาเฉลี่ยเทากับ 4.14)

Page 63: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

53

2. แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

ตารางที่ 3.3 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

n= 251ระดับแรงจูงใจแรงจูงใจ

ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

นอยที่สุด

นอย ปานกลาง

มาก มากที่สุด

X SDระดับ

แรงจูงใจ

1. มีความรัก และสนใจลักษณะของเกมสฟุตบอล

- - - 20(7.97)

231(92.03)

4.92 0.271 มากที่สุด

2. มีความสามารถปฏิบัติทั ก ษ ะ แ ล ะ เ ล น กี ฬ าฟุตบอลไดดีกวากีฬาชนิดอื่น

- - - 120(47.81)

131(52.19)

4.52 0.501 มากที่สุด

3. มีความชื่นชอบตอการเลนที่ตองมีสัมพันธกับผูอื่น

- - - 144(57.37)

107(42.63)

4.43 0.496 มากที่สุด

4 . มีค วามถ นัดใ นกี ฬ าป ร ะ เ ภ ท ที่ ต อ ง มี ก า รเคลื่อนที่อยางรวดเร็ว

- - - 152(60.56)

99(39.44)

4.39 0.490 มากที่สุด

5. มีความสนใจทักษะการเลนกีฬาฟุตบอลแบบพลิกแพลง

- - - 144(57.37)

107(42.63)

4.43 0.496 มากที่สุด

6. มีความชื่นชอบกีฬาที่ต อ ง ชิ ง ไ ห ว พ ริ บ กั บ คูแขงขันตลอดเวลา

- - - 139(55.38)

112(44.62)

4.45 0.498 มากที่สุด

Page 64: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

54

ตารางที่ 3.3 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานความรัก ความสนใจ และความถนัด (ตอ)

n= 251ระดับแรงจูงใจแรงจูงใจ

ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

นอยที่สุด

นอย ปานกลาง

มาก มากที่สุด

X SDระดับ

แรงจูงใจ

7 . มี ค ว า ม ส น ใ จ ที่ จ ะพั ฒ น า ก า ร เ ล น ใ ห มีความสามารถสูงขึ้น

- - - 132(52.59)

119(47.41)

4.47 0.500 มากที่สุด

8 . มีค วามปรารถน าจะพัฒนาความสามารถเชิงกีฬาในระดับสูง

- - - 148(58.96)

103(41.04)

4.41 0.493 มากที่สุด

9 . มีค วามถ นัดใ นกี ฬ าประเภทที่ใช เทาควบคุมอุปกรณกีฬา

- - - 164(65.34)

87(34.66)

4.35 0.477 มากที่สุด

10. มีความชอบในการทําคะแนนตามรูปแบบของกีฬาฟุตบอล

- - 15(5.98)

173(68.92)

63(25.10)

4.19 0.525 มาก

รวม 4.46 0.187 มากที่สุด

จากตารางที่ 3.3 ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานความรัก ความสนใจ และความถนัด อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ยเทากับ 4.46)

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลในระดับมากที่สุด จํานวน 9 ขอ และระดับมาก จํานวน 1 ขอ โดยเรื่องมีความรักและสนใจลักษณะของเกมสฟุตบอลมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด (คาเฉลี่ยเทากับ 4.92) รองลงมาคือเรื่องมีความสามารถปฏิบัติทักษะและเลนกีฬาฟุตบอลไดดีกวากีฬาชนิดอื่น (คาเฉลี่ยเทากับ 4.52) และนอยที่สุดคือ มีความชอบในการทําคะแนนตามรูปแบบของกีฬาฟุตบอล (คาเฉลี่ยเทากับ 4.19)

Page 65: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

55

ตารางที่ 3.4 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เก่ียวของ

n= 251ระดับแรงจูงใจแรงจูงใจดานความคิดเห็น

เกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ

นอยที่สุด

นอย ปานกลาง

มาก มากที่สุด

X SDระดับ

แรงจูงใจ

1 . มี ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ใ นความสามารถของตนวาจะประสบความสําเร็จในการเลนกีฬาฟุตบอล

- - 1(0.40)

172(68.53)

78(31.08)

4.31 0.471 มากที่สุด

2. มีความคิดวาการเปนนักกีฬาฟุตบอลเปนกีฬาที่ทาทายความสามารถ

- - - 132(52.59)

119(47.41)

4.47 0.500 มากที่สุด

3. เปนกีฬาที่ไดแสดงออกถึ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ งตนเอง

- - - 105(41.83)

146(58.17)

4.58 0.494 มากที่สุด

4. มีความคิดวาการเปนนั ก กี ฬ า ฟุ ต บ อ ล ร ะ ดั บสโมสรดิวิชั่น 1 ทําใหเกิดความภูมิใจ

- 44(17.53)

137(54.58)

62(24.70)

8(3.19)

3.14 0.730 ปานกลาง

5 . มี ค ว า ม เ ชื่ อ ว า กี ฬ าฟุตบอลมีสวนชวยในการพัฒนาบุคลิกภาพของตนได

- - 29(11.55)

138(54.98)

84(33.47)

4.22 0.635 มากที่สุด

6. ครอบครัวและบุคคลใกลชิดใหการสนับสนุนใ น ก า ร เ ล น แ ล ะ เ ป นนักกีฬาฟุตบอล

- - - 146(58.17)

105(41.83)

4.42 0.494 มากที่สุด

7 . เ ชื่ อ ว า กี ฬ า ฟุ ต บ อ ลส า ม า ร ถ เ พิ่ ม พู น ค วา มแข็งแรงและเสริมสรางความอดทนใหเพิ่มขึ้น

- - 4(1.59)

153(60.96)

94(37.45)

4.36 0.513 มากที่สุด

Page 66: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

56

ตารางที่ 3.4 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เก่ียวของ (ตอ)

n= 251ระดับแรงจูงใจแรงจูงใจดานความคิดเห็น

เกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ

นอยที่สุด

นอย ปานกลาง

มาก มากที่สุด

X SDระดับ

แรงจูงใจ

8. ผูมีประสบการณ ในกีฬาฟุตบอลแนะนําและชักชวนเลนกีฬาฟุตบอลในทีมสโมสรดิวิชั่น 1

- 3(1.20)

56(22.31)

114(45.42)

78(31.08)

4.06 0.762 มาก

9 . มี เ พื่ อ น ที่ เ ล น กี ฬ าฟุตบอลทีมสโมสรดิวิชั่น 1 ชักชวนใหเลน

- 4(1.59)

50(19.92)

144(57.37)

53(21.12)

3.98 0.690 มาก

10. มีแรงบันดาลใจจากค ว า ม ต อ ง ก า ร ที่ จ ะแสดงออกเพื่อการยอมรับจากผูอื่น

- - 59(23.51)

167(66.53)

25(9.96)

3.86 0.564 มาก

รวม 4.14 0.229 มาก

จากตารางที่ 3.4 ผลการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของอยูในระดับมาก (คาเฉลี่ยเทากับ 4.14)

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลในระดับมากที่สุด จํานวน 6 ขอ ระดับมาก จํานวน 3 ขอ และระดับปานกลาง จํานวน 1 ขอ โดยเรื่องเปนกีฬาที่ไดแสดงออกถึงความสามารถของตนเองมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด(คาเฉลี่ยเทากับ 4.58) รองลงมาคือเรื่องมีความคิดวาการเปนนักกีฬาฟุตบอลเปนกีฬาที่ทาทายความสามารถ (คาเฉลี่ยเทากับ 4.47) และนอยที่สุดคือ มีความคิดวาการเปนนักกีฬาฟุตบอลระดับสโมสรดิวิชั่น 1 ทําใหเกิดความภูมิใจ (คาเฉลี่ยเทากับ 3.14)

Page 67: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

57

ตารางที่ 3.5 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ

n= 251ระดับแรงจูงใจ

แรงจูงใจดานรายได และผลประโยชนที่ไดรับ

นอยที่สุด

นอย ปานกลาง

มาก มากที่สุด

X SDระดับ

แรงจูงใจ

1. มีโอกาสที่จะเขาศึกษาใ น ร ะ ดั บ ที่ สู ง ขึ้ น ด ว ยระบบโควตานักกีฬา

- - 17(6.77)

170(67.73)

64(25.50)

4.19 0.537 มาก

2 . มี โ อ ก า ส ไ ด รั บทุนการศึกษา

- - 34(13.55)

166(66.14)

51(20.32)

4.07 0.579 มาก

3. มีโอกาสที่จะไดรับชุดแ ล ะ อุ ป ก ร ณ กี ฬ า จ า กผูสนับสนุน

3(1.20)

37(14.74)

125(49.80)

76(30.28)

10(3.98)

3.21 0.784 ปานกลาง

4. มีโอกาสเดินทางไปยังสถานที่ตางๆ ทั้งในและตางประเทศ

- - 1(0.40)

165(65.74)

85(33.86)

4.33 0.481 มากที่สุด

5 . ได รับ เงินสวัสดิการตางๆ อยางมาก

- - 1(0.40)

94(37.45)

156(62.15)

4.62 0.495 มากที่สุด

6 . มี โ อ ก า ส ไ ด รั บ ก า รบรรจุเขาทํางานทั้งภาครัฐและเอกชน

10(3.98)

74(29.48)

105(41.83)

45(17.93)

17(6.77)

2.94 0.951 ปานกลาง

7 . ไ ด รั บ ร า ย ไ ดป ร ะ จํ า เ ดื อ น เ ป นผลตอบแทนที่สูง

- - - 22(8.76)

229(91.24)

4.91 0.283 มากที่สุด

8. ไดรับเงินตอบแทนหรือสิ่งตอบแทนจากผลสําเร็จในการแขงขันอยางมาก

- - - 54(21.51)

197(78.49)

4.78 0.412 มากที่สุด

9. มีโอกาสไดแสวงหาความรูและประสบการณใหมๆ ในเชิงกีฬาฟุตบอล

- - 1(0.40)

134(53.39)

116(46.22)

4.46 0.507 มากที่สุด

Page 68: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

58

ตารางที่ 3.5 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ (ตอ)

n= 251ระดับแรงจูงใจ

แรงจูงใจดานรายได และผลประโยชนที่ไดรับ

นอยที่สุด

นอย ปานกลาง

มาก มากที่สุด

X SDระดับ

แรงจูงใจ

10 . มี โ อก าสป ร ะก อ บอ า ชี พ ใ น ฐ า น ะ เ ป น ผูฝกสอนในสถานศึกษ าหรือสโมสรตางๆ ได

- 1(0.40)

39(15.54)

153(60.96)

58(23.11)

4.07 0.632 มาก

รวม 4.16 0.292 มาก

จากตารางที่ 3.5 ผลการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับอยูในระดับมาก (คาเฉล่ียเทากับ 4.16)

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลในระดับมากที่สุด จํานวน 5 ขอ ระดับมาก จํานวน 3 ขอ และระดับปานกลาง จํานวน 2 ขอ โดยเรื่องไดรับรายไดประจําเดือนเปนผลตอบแทนที่สูง (คาเฉลี่ยเทากับ 4.91) รองลงมาคือเรื่องไดรับเงินตอบแทนหรือสิ่งตอบแทนจากผลสําเร็จในการแขงขันอยางมาก (คาเฉลี่ยเทากับ 4.78) และนอยที่สุดคือ มีโอกาสไดรับการบรรจุเขาทํางานทั้งภาครัฐและเอกชน (คาเฉลี่ยเทากับ 2.94)

Page 69: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

59

ตารางที่ 3.6 แสดงระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานเกียรติยศและชื่อเสียง

n= 251ระดับแรงจูงใจ

แรงจูงใจดานเกียรติยศและชื่อเสียง

นอยที่สุด

นอย ปานกลาง

มาก มากที่สุด

X SDระดับ

แรงจูงใจ

1. สามารถสรางชื่อเสียงแกตนเอง และวงศตระกูลได

- - - 96(38.25)

155(61.75)

4.62 0.487 มากที่สุด

2. สามารถสรางชื่อเสียงใหกับทองถิ่นและจังหวัดของตนเองได

- - 2(0.80)

166(66.14)

83(33.07)

4.32 0.485 มากที่สุด

3. สามารถสรางชื่อเสียงใหแกประเทศชาติได

- - - 73(29.08)

178(70.92)

4.71 0.455 มากที่สุด

4 . ไ ด รั บ ก า ร ย ก ย อ งสรรเสริญจากบุคคลท่ัวไป

- - 43(17.13)

178(70.92)

30(11.95)

3.95 0.538 มาก

5. สามารถสร างคุณค าใหกับตนเอง

- - - 133(52.99)

118(47.01)

4.47 0.500 มากที่สุด

6 . ส า ม า ร ถ ทํ า ใ ห ค นยอมรับและเปนที่รูจักในสังคม

- - 37(17.74)

190(75.70)

24(9.56)

3.95 0.491 มาก

7. ตองการใหครอบครัวและคนใกลชิดภาคภูมิใจในความมีชื่อเสียง

- - 2(0.80)

146(58.17)

103(41.04)

4.40 0.507 มากที่สุด

8. ตองการ เปนนักกีฬาฟุตบอลที่มีความสําเร็จ

- - - 35(13.94)

216(86.06)

4.86 0.347 มากที่สุด

9. ตองการ เปนนักกีฬาฟุตบอลที่เปนแบบอยางที่ดีแกนักกีฬาโดยทั่วไป

- - 1(0.40)

122(48.61)

128(51.00)

4.51 0.509 มากที่สุด

10. ตองการเปนผูหนึ่งที่มีชื่อเสียงในการสรางเกียรติป ร ะวั ติ ใ ห แ ก ก า ร กี ฬ าฟุตบอล

- - - 105(41.83)

146(58.17)

4.58 0.494 มากที่สุด

รวม 4.44 0.238 มากที่สุด

Page 70: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

60

จากตารางที่ 3.6 ผลการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามดานเกียรติยศและชื่อเสียงอยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ยเทากับ 4.44)

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลในระดับมากที่สุด จํานวน 8 ขอ และระดับมาก จํานวน 2 ขอ โดยเรื่อง ตองการเปนนักกีฬาฟุตบอลที่มีความสําเร็จ (คาเฉลี่ยเทากับ 4.86) รองลงมาคือเรื่อง สามารถสรางชื่อเสียงใหแกประเทศชาติได (คาเฉล่ียเทากับ 4.71) และนอยที่สุดเทากัน 2 ขอ คือ ไดรับการยกยองสรรเสริญจากบุคคลทั่วไป และสามารถทําใหคนยอมรับและเปนที่รูจักในสังคม (คาเฉลี่ยเทากับ 3.95)

Page 71: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

61

3.3 ผลการทดสอบสมมติฐาน

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดทดสอบสมมติฐานเพื่อศึกษาปจจัยสวนบุคคล ประกอบดวย อายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงในการเลนฟุตบอล ประสบการณในการเลนฟุตบอล และรายไดเฉลี่ยตอเดือนที่ตางกัน จะมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลแตกตางกัน ซึ่งสามารถสรุปผลการทดสอบสมมติฐานไดดังนี้

ตารางที่ 3.7 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามอายุ

ไมเกิน 20 ป 21 – 25 ป 26 – 30 ป 30ปขึ้นไป

ปจจัยของแรงจูงใจx ̅ S.D.

ระดับการใชปจจัย

x ̅ S.D.ระดับการใชปจจัย

x ̅ S.D.ระดับการใชปจจัย

x ̅ S.D.ระดับการใชปจจัย

1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

4.42 0.247 มากที่สุด

4.46 0.171 มากที่สุด

4.45 0.185 มากที่สุด

4.48 0.217 มากที่สุด

2. ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง และบุคคลที่เกี่ยวของ

4.00 0.251 มาก 4.14 0.226 มาก 4.17 0.218 มาก 4.24 0.183 มากที่สุด

3 . ดาน ราย ได แล ะผลประโยชนที่ไดรับ

4.44 0.299 มากที่สุด

4.16 0.283 มาก 4.08 0.251 มาก 4.11 0.294 มาก

4 . ด า น เ กี ย ร ติ ย ศชื่อเสียง

4.49 0.301 มากที่สุด

4.42 0.222 มากที่สุด

4.43 0.239 มากที่สุด

4.48 0.221 มากที่สุด

รวม 4.34 0.121 มากที่สุด

4.30 0.112 มากที่สุด

4.28 0.128 มากที่สุด

4.33 0.124 มากที่สุด

จากตารางที่ 3.7 กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามระดับอายุ อยูในระดับมากที่สุด คือ ระดับอายุไมเกิน 20 ป (คาเฉลี่ยเทากับ 4.34) รองลงมา คือ ระดับอายุ 30 ปขึ้นไป (คาเฉลี่ยเทากับ 4.33) ระดับอายุ 21 - 25 ป (คาเฉลี่ยเทากับ 4.30) และนอยที่สุด คือ ระดับอายุ 26 - 30 ป (คาเฉลี่ยเทากับ 4.28)

Page 72: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

62

ตารางที่ 3.8 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามอายุ

ปจจัยของแรงจูงใจ SS df MS F Sig1 . ด า น ค ว า ม รั ก ค ว า ม ส น ใ จ แ ล ะความถนัด

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.0468.7338.779

3247250

0.0150.035

0.435 0.728

2. ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.72712.43713.164

3247250

0.2420.050

4.812 0.003*

3. ดานรายไดและผ ล ป ร ะ โ ย ช น ที่ไดรับ

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

2.80418.46621.271

3247250

0.9350.075

12.504 0.000*

4. ดานเกียรติยศและชื่อเสียง

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.14114.00214.143

3247250

0.0470.057

0.827 0.480

รวม ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.0783.4593.627

3247250

0.0260.014

1.800 0.148

จากตารางที่ 3.8 ผลการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติ One-Way ANOVA ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 พบวา คา Sig นอยกวา 0.05 สองดาน คือ ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ และดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ แสดงวา กลุมตัวอยางที่มีอายุแตกตางกัน จะมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานความรัก ความสนใจ และความถนัด ดานเกียรติยศและชื่อเสียง และโดยรวม แตกตางอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานที่ 1

Page 73: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

63

ตารางที่ 3.9 แสดงการเปรียบเทียบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ จําแนกตามอายุ เปนรายคูดวยวิธี LSD

ไมเกิน 20 ป 21 – 25 ป 26 – 30 ป 30 ปขึ้นไปอายุ X 4.00 4.14 4.17 4.24

ไมเกิน 20 ป 4.00 - -0.14* -0.17* -0.24*21 – 25 ป 4.14 - -0.03 -0.1026 – 30 ป 4.17 - -0.0730 ปขึ้นไป 4.24 -

จากตารางที่ 3.9 เมื่อทดสอบความแตกตางของระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ จําแนกตามอายุ เปนรายคู พบวา กลุมตัวอยางที่มีชวงอายุแตกตางกัน มีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 3 คู ไดแก กลุมตัวอยางที่มีอายุไมเกิน 20 ป มีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล นอยกวากลุมที่มีอายุระหวาง 21 – 25 ป กลุมอายุระหวาง 26 – 30 ป และกลุมอายุ 30 ปขึ้นไป

Page 74: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

64

ตารางที่ 3.10 แสดงการเปรียบเทียบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ จําแนกตามอายุ เปนรายคูดวยวิธี LSD

ไมเกิน 20 ป 21 – 25 ป 26 – 30 ป 30 ปขึ้นไปอายุ X 4.44 4.16 4.08 4.11

ไมเกิน 20 ป 4.44 - 0.28* 0.36* 0.33*21 – 25 ป 4.16 - 0.09* 0.0526 – 30 ป 4.08 - -0.0330 ปขึ้นไป 4.11 -

จากตารางที่ 3.10 เมื่อทดสอบความแตกตางของระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ จําแนกตามอายุ เปนรายคู พบวา กลุมตัวอยางที่มีชวงอายุแตกตางกัน มีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 4 คู ไดแก

1. กลุมตัวอยางที่มีอายุไมเกิน 20 ป มีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล มากกวากลุมที่มีอายุระหวาง 21 – 25 ป กลุมอายุระหวาง 26 – 30 ป และกลุมอายุ 30 ปขึ้นไป

2. กลุมตัวอยางที่มีอายุระหวาง 21 – 25 ป มีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล มากกวากลุมที่มีอายุระหวาง 26 – 30 ป

Page 75: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

65

ตารางที่ 3.11 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามระดับการศึกษา

ต่ํากวาปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท

ปจจัยของแรงจูงใจx ̅ S.D.

ระดับการใชปจจัย x ̅ S.D.

ระดับการใชปจจัย x ̅ S.D.

ระดับการใชปจจัย

1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

4.45 0.231 มากที่สุด 4.45 0.171 มากที่สุด 4.57 0.245 มากที่สุด

2. ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง และบุคคลที่เกี่ยวของ

4.04 0.245 มาก 4.17 0.223 มาก 4.11 0.176 มาก

3 . ดาน ราย ได แล ะผลประโยชนที่ไดรับ

4.25 0.347 มากที่สุด 4.14 0.276 มาก 4.11 0.274 มาก

4 . ด า น เ กี ย ร ติ ย ศชื่อเสียง

4.48 0.278 มากที่สุด 4.43 0.228 มากที่สุด 4.35 0.238 มากที่สุด

รวม 4.30 0.128 มากที่สุด 4.30 0.12 มากที่สุด 4.29 0.108 มากที่สุด

จากตารางที่ 3.11 กลุมตัวอยางที่มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามระดับการศึกษาอยูในระดับมากที่สุด ซึ่งเทากัน 2 ขอ คือ ระดับต่ํากวาปริญญาตรี และระดับปริญญาตรี (คาเฉลี่ยเทากับ 4.30) และนอยที่สุด คือ ระดับปริญญาโท (คาเฉลี่ยเทากับ 4.29)

Page 76: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

66

ตารางที่ 3.12 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามระดับการศึกษา

ปจจัยของแรงจูงใจ SS df MS F Sig1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.1588.6218.779

2248250

0.0790.035

2.269 0.106

2. ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.60912.55513.164

2248250

0.3040.051

6.011 0.003*

3. ด าน ร ายไ ด แ ละผลประโยชนที่ไดรับ

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.46020.81121.271

2248250

0.2300.084

2.741 0.066

4. ดานเกียรติยศและชื่อเสียง

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.15113.99214.143

2248250

0.0750.056

1.336 0.265

รวม ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.0033.6243.627

2248250

0.0010.015

0.090 0.914

จากตารางที่ 3.12 ผลการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติ One-Way ANOVA ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 พบวา คา Sig นอยกวา 0.05 จํานวน 1 ดาน คือ ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ แสดงวากลุมตัวอยางที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานความรัก ความสนใจ และความถนัด ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ ดานเกียรติยศและชื่อเสียง และโดยรวม แตกตางอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานที่ 2

Page 77: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

67

ตารางที่ 3.13 แสดงการเปรียบเทียบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง และบุคคลที่เกี่ยวของ จําแนกตามระดับการศึกษา เปนรายคูดวยวิธี LSD

ต่ํากวาปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโทระดับการศึกษา X

4.04 4.17 4.11ต่ํากวาปริญญาตรี 4.04 - -0.13* -0.08ปริญญาตรี 4.17 - 0.06ปริญญาโท 4.11 -

จากตารางที่ 3.13 เมื่อทดสอบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ จําแนกตามระดับการศึกษา เปนรายคู พบวา กลุมตัวอยางที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 1 คู ไดแก กลุมตัวอยางที่มีระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล นอยวากลุมที่ศึกษาระดับปริญญาตรี

Page 78: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

68

ตารางที่ 3.14 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามตําแหนงในการเลนฟุตบอล

กองหนา กองกลาง กองหลัง ผูรักษาประตู

ปจจัยของแรงจูงใจx ̅ S.D.

ระดับการใชปจจัย

x ̅ S.D.ระดับการใชปจจัย

x ̅ S.D.ระดับการใชปจจัย

x ̅ S.D.ระดับการใชปจจัย

1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

4.44 0.184 มากที่สุด

4.47 0.174 มากที่สุด

4.48 0.18 มากที่สุด

4.41 0.247 มากที่สุด

2. ดานความคิดเห็นเกี่ ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ

4.14 0.235 มาก 4.11 0.222 มาก 4.17 0.219 มาก 4.19 0.256 มาก

3 . ด า น ร า ย ไ ด แ ล ะผลประโยชนที่ไดรับ

4.14 0.3 มาก 4.14 0.29 มาก 4.17 0.283 มาก 4.24 0.299 มากที่สุด

4. ดานเกียรติยศและชื่อเสียง

4.43 0.256 มากที่สุด

4.44 0.232 มากที่สุด

4.42 0.221 มากที่สุด

4.49 0.251 มากที่สุด

รวม 4.28 0.126 มากที่สุด

4.29 0.114 มากที่สุด

4.31 0.121 มากที่สุด

4.33 0.122 มากที่สุด

จากตารางที่ 3.14 กลุมตัวอยางมีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามตําแหนงในการเลนฟุตบอล อยูในระดับมากที่สุด คือ ผูรักษาประตู (คาเฉลี่ยเทากับ 4.33) รองลงมา คือ กองหลัง (คาเฉลี่ยเทากับ 4.31) กองกลาง (คาเฉลี่ยเทากับ 4.29) และนอยที่สุด คือ กองหนา (คาเฉลี่ยเทากับ 4.28)

Page 79: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

69

ตารางที่ 3.15 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามตําแหนงในการเลนฟุตบอล

ปจจัยของแรงจูงใจ SS df MS F Sig1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.1258.6548.779

3247250

0.0420.035

1.188 0.315

2. ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.22012.94313.164

3247250

0.0730.052

1.401 0.243

3. ด าน ร ายไ ด แ ละผลประโยชนที่ไดรับ

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.23921.03121.271

3247250

0.0800.085

0.937 0.423

4. ดานเกียรติยศและชื่อเสียง

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.09914.04414.143

3247250

0.0330.057

0.582 0.627

รวม ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.0683.5593.627

3247250

0.0230.014

1.58 0.195

จากตารางที่ 3.15 ผลการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติ One-Way ANOVA ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 พบวา คา Sig มากกวา 0.05 แสดงวา กลุมตัวอยางที่มีตําแหนงในการเลนฟุตบอลแตกตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล แตกตางอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานที่ 3

Page 80: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

70

ตารางที่ 3.16 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามประสบการณในการเลนฟุตบอล

1 - 3 ป 4 - 6 ป 7 - 9 ป มากกวา 9 ป

ปจจัยของแรงจูงใจx ̅ S.D.

ระดับการใชปจจัย

x ̅ S.D.ระดับการใชปจจัย

x ̅ S.D.ระดับการใชปจจัย

x ̅ S.D.ระดับการใชปจจัย

1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

4.46 0.211 มากที่สุด

4.45 0.16 มากที่สุด

4.45 0.17 มากที่สุด

4.50 0.247 มากที่สุด

2. ดานความคิดเห็นเกี่ ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ

4.06 0.254 มาก 4.16 0.19 มาก 4.19 0.239 มาก 4.22 0.211 มากที่สุด

3 . ด า น ร า ย ไ ด แ ล ะผลประโยชนที่ไดรับ

4.22 0.347 มากที่สุด

4.13 0.252 มาก 4.09 0.265 มาก 4.18 0.271 มาก

4. ดานเกียรติยศและชื่อเสียง

4.42 0.255 มากที่สุด

4.44 0.211 มากที่สุด

4.46 0.26 มากที่สุด

4.40 0.248 มากที่สุด

รวม 4.29 0.127 มากที่สุด

4.30 0.109 มากที่สุด

4.30 0.137 มากที่สุด

4.33 0.109 มากที่สุด

จากตารางที่ 3.16 กลุมตัวอยางที่มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามประสบการณในการเลนฟุตบอลอยูในระดับมากที่สุด คือ ประสบการณมากกวา 9 ป (คาเฉลี่ยเทากับ 4.33) รองลงมา เทากัน 2 ขอ คือ ประสบการณ 4 - 6 ป และประสบการณ 7 - 9 ป (คาเฉลี่ยเทากับ 4.30) และนอยที่สุด คือ ประสบการณ 1 - 3 ป (คาเฉลี่ยเทากับ 4.29)

Page 81: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

71

ตารางที่ 3.17 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามประสบการณในการเลนฟุตบอล

ปจจัยของแรงจูงใจ SS df MS F Sig1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.0578.7228.779

3247250

0.0190.035

0.537 0.658

2. ดานความคิดเห็นเกี่ ยวกั บตน เอ งแ ละบุคคลที่เกี่ยวของ

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.84612.31813.164

3247250

0.2820.050

5.653 0.001*

3 . ด า น ร า ย ไ ด แ ล ะผลประโยชนที่ไดรับ

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.61620.65421.271

3247250

0.2050.084

2.457 0.064

4. ดานเกียรติยศและชื่อเสียง

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.06114.08214.143

3247250

0.0200.057

0.358 0.784

รวม ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.0223.6053.627

3247250

0.0070.015

0.495 0.686

จากตารางที่ 3.17 ผลการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติ One-Way ANOVA ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 พบวา คา Sig นอยกวา 0.05 มี 1 ดาน คือ ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ แสดงวา กลุมตัวอยางที่มีประสบการณในการเลนฟุตบอลแตกตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานความรัก ความสนใจ และความถนัด ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ ดานเกียรติยศและชื่อเสียง และโดยรวม แตกตางอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานที่ 4

Page 82: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

72

ตารางที่ 3.18 แสดงการเปรียบเทียบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ จําแนกตามอายุ เปนรายคูดวยวิธี LSD

1 - 3 ป 4 - 6 ป 7 - 9 ป มากกวา 9 ปประสบการณในการเลนฟุตบอล

X4.06 4.16 4.19 4.22

1 - 3 ป 4.06 - -0.10* -0.14* -0.16*4 - 6 ป 4.16 - -0.03 -0.067 - 9 ป 4.19 - -0.03

มากกวา 9 ป 4.22 -

จากตารางที่ 3.18 เมื่อทดสอบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ จําแนกตามประสบการณในการเลนฟุตบอล เปนรายคู พบวา กลุมตัวอยางที่มีประสบการณในการเลนฟุตบอล แตกตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 3 คู ไดแก กลุมตัวอยางที่มีประสบการณในการเลนฟุตบอล 1-3 ป มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล นอยกวากลุมที่มีประสบการณในการเลนฟุตบอลระหวาง 4-6 ป ระหวาง 7-9 ป และมากกวา 9 ป

Page 83: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

73

ตารางที่ 3.19 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน

15,001 - 30,000 บาท 30,001 - 45,000 บาท มากกวา 45,000 บาท

ปจจัยของแรงจูงใจx ̅ S.D.

ระดับการใชปจจัย x ̅ S.D.

ระดับการใชปจจัย x ̅ S.D.

ระดับการใชปจจัย

1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

4.42 0.247 มากที่สุด 4.46 0.171 มากที่สุด 4.45 0.185 มากที่สุด

2. ดานความคิดเห็นเกี่ ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ

4.00 0.251 มาก 4.14 0.226 มาก 4.17 0.218 มาก

3 . ด า น ร า ย ไ ด แ ล ะผลประโยชนที่ไดรับ

4.44 0.299 มากที่สุด 4.16 0.283 มาก 4.08 0.251 มาก

4. ดานเกียรติยศและชื่อเสียง

4.49 0.301 มากที่สุด 4.42 0.222 มากที่สุด 4.43 0.239 มาก

รวม 4.34 0.121 มากที่สุด 4.30 0.112 มากที่สุด 4.28 0.128 มากที่สุด

จากตารางที่ 3.19 กลุมตัวอยางที่มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน อยูในระดับมากที่สุด คือ รายได 15,001 - 30,000 บาท (คาเฉลี่ยเทากับ 4.34) รองลงมา คือ รายได 30,001 - 45,000 บาท (คาเฉลี่ยเทากับ 4.30) และนอยที่สุด คือ มากกวา 45,000 บาท (คาเฉล่ียเทากับ 4.28)

Page 84: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

74

ตารางที่ 3.20 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบระดับปจจัยของแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน

ปจจัยของแรงจูงใจ SS df MS F Sig1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.0538.7268.779

2248250

0.0270.035

0.758 0.470

2. ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.18112.98213.164

2248250

0.0910.052

1.733 0.179

3. ด าน ร ายไ ด แ ละผลประโยชนที่ไดรับ

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

1.04520.22521.271

2248250

0.5230.082

6.410 0.002*

4. ดานเกียรติยศและชื่อเสียง

ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.03614.10714.143

2248250

0.0180.057

0.315 0.730

รวม ระหวางกลุมภายในกลุม

รวม

0.0183.6083.627

2248250

0.0090.015

0.633 0.532

จากตารางที่ 3.20 ผลการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติ One-Way ANOVA ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 พบวา คา Sig นอยกวา 0.05 มี 1 ดาน คือ ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ แสดงวา กลุมตัวอยางที่มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนแตกตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานความรัก ความสนใจ และความถนัด ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ ดานเกียรติยศและชื่อเสียง และโดยรวม แตกตางอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานที่ 5

Page 85: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

75

ตารางที่ 3.21 แสดงการเปรียบเทียบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน เปนรายคูดวยวิธี LSD

15,001 - 30,000 บาท

30,001 - 45,000 บาท

มากกวา 45,000 บาทรายไดเฉลี่ยตอเดือน X

4.44 4.16 4.0815,001 - 30,000 บาท 4.44 - 0.28* 0.36*30,001 - 45,000 บาท 4.16 - 0.08มากกวา 45,000 บาท 4.08 -

จากตารางที่ 3.21 เมื่อทดสอบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน เปนรายคู พบวา ไมมีตัวแปรคูใดที่แตกตางกัน

จากตารางที่ 3.21 เมื่อทดสอบความแตกตางระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน เปนรายคู พบวา กลุมตัวอยางที่มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนแตกตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 2 คู ไดแก กลุมตัวอยางที่มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนระหวาง 15,001-30,000 บาท มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล มากกวากลุมที่มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนระหวาง 30,001-45,000 บาท และรายไดมากกวา 45,000 บาท

Page 86: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

76

ตารางที่ 3.22 แสดงสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน

ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐาน ยอมรับ

สมมติฐานปฏิเสธ

สมมติฐาน1. กลุมตัวอยางที่มีอายุตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลแตกตางกัน - ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด - ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ - ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ - ดานเกียรติยศและชื่อเสียง - โดยรวม

---

--

2. กลุมตัวอยางที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลแตกตางกัน - ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด - ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ - ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ - ดานเกียรติยศและชื่อเสียง - โดยรวม

----

-

3. กลุมตัวอยางที่มีตําแหนงในการเลนฟุตบอลตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลแตกตางกัน - ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด - ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ - ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ - ดานเกียรติยศและชื่อเสียง - โดยรวม

-----

Page 87: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

77

ตารางที่ 3.22 แสดงสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน (ตอ)

ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐาน ยอมรับ

สมมติฐานปฏิเสธ

สมมติฐาน4. กลุมตัวอยางที่มีประสบการณในการเลนฟุตบอลตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลแตกตางกัน - ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด - ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ - ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ - ดานเกียรติยศและชื่อเสียง - โดยรวม

----

-

5. กลุมตัวอยางที่มีรายไดตอเดือนตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลแตกตางกัน - ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด - ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ - ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ - ดานเกียรติยศและชื่อเสียง - โดยรวม

----

-

Page 88: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

78

Page 89: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

78

บทที่ 4สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาวิจัยเรื่อง แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 และศึกษาเปรียบเทียบแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล

กลุมตัวอยางคือ นักกีฬาฟุตบอลระดับสโมสรดิวิชั่น 1 จํานวน 251 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ แบบสอบถาม สถิติติพรรณนาใชเพื่ออธิบายคุณลักษณะของขอมูล คือ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสูงสุด คาต่ําสุด และสถิติที่ใชในการทดสอบสมมติฐานเพื่อหาคาเปรียบเทียบความแตกตาง คือ คา t-test คา One-way ANOVA และหาคา LSD ซึ่งสรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ดังนี้

4.1 สรุปผล

4.1.1 ปจจัยสวนบุคคลของนักกีฬาฟุตบอล

ผลการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีอายุ 21-25 ป ศึกษาระดับปริญญาตรี ตําแหนงในการเลนฟุตบอลคือ ตําแหนงกองกลาง ประสบการณในการเลนฟุตบอลอยูในชวง 4-6 ป และมีรายไดตอเดือนมากกวา 45,000 บาท

4.1.2 แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล

ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจดานความรัก ความสนใจ และความถนัดในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 มากที่สุด รองลงมาคือ ดานเกียรติยศชื่อเสียง ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ และนอยที่สุด คือ ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ

Page 90: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

79

เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัดพบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬา

ฟุตบอล อยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบวา กลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องดานความรักและสนใจลักษณะของเกมฟุตบอล เปนอันดับแรก มีความสําคัญอยูในระดับมากที่สุด

2. ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลท่ีเกี่ยวของพบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬา

ฟุตบอล อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบวา กลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องเปนนักกีฬาที่ไดแสดงออกถึงความสามารถของตนเอง เปนอันดับแรก มีความสําคัญอยูในระดับมากที่สุด

3. ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับพบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬา

ฟุตบอล อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบวา กลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องของไดรับรายไดประจําเดือนเปนผลตอบแทนที่สูง เปนอันดับแรกมีความสําคัญอยูในระดับมากที่สุด

4. ดานเกียรติยศและชื่อเสียงพบวา กลุมตัวอยางมีแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬา

ฟุตบอล อยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบวา กลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องตองการเปนนักกีฬาฟุตบอลที่มีความสําเร็จ เปนอันดับแรก มีความสําคัญอยูในระดับมากที่สุด

4.1.3 ผลการทดสอบสมมติฐาน

เปนการทดสอบความแตกตางของคาเฉล่ียเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล โดยจําแนกตามอายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงในการเลนฟุตบอล ประสบการณในการเลนฟุตบอล รายไดเฉลี่ยตอเดือน พบวา

1. นักฟุตบอลที่มีอายุตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสร ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ และดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 91: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

80

2. นักฟุตบอลที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสร ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

3. นักฟุตบอลที่มีตําแหนงในการเลนฟุตบอลตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรทุกดาน แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

4. นักฟุตบอลที่มีประสบการณในการเลนฟุตบอลตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสร ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่ เกี่ยวของ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

5. นักฟุตบอลที่มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนตางกัน มีระดับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสร ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

4.2 อภิปรายผล

จากการวิจัยเรื่องแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลแรงจูงใจดานความรัก ความสนใจ และความถนัด พบวา กลุมตัวอยางใหความสําคัญใน

เรื่องดานความรัก และสนใจลักษณะของเกมฟุตบอลเปนอันดับแรก ซึ่งสอดคลองกับวีรยุทธ จิตรขุนทด(2554) ไดทําการศึกษาเรื่องแรงจูงใจในการเลนฟุตบอลของนักกีฬาฟุตบอลทีมสโมสรบุรีรัมย พบวา ดานความรัก ความถนัด และ ความสนใจกลุมตัวอยางใหความสําคัญดานความรัก และสนใจในลักษณะของเกมฟุตบอล เปนอันดับแรก และสอดคลองกับ อภิชัย บัวหยู (2551) ไดทําการศึกษาเรื่อง แรงจูงใจของนักกีฬาเทนนิสสมัครเลนที่สนใจเขารวม การแขงขันเทนนิสระดับอาชีพ พบวา ดานความรัก ความสนใจ และ ความถนัด กลุมตัวอยางใหความสําคัญกับ ความสนใจในกีฬาเทนนิสอาชีพเปนอันดับแรก

ปจจัยดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ พบวา กลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องของการเปนนักกีฬาที่ไดแสดงออกถึงความสามารถของตนเองเปนอันดับแรก ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Maslow (1987; อางถึงใน พาสนา จุลรัตน, 2548 : 201-203) ที่กลาวถึงลําดับความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษยในขั้นที่ 5 ที่วา ความตองการเปนตัวของตัวเอง หรือการพัฒนาตัวเองและความปรารถนาสวนตัว แสดงใหเห็นวานักกีฬาไดแสดงความสามารถสวนตัวออกมา จึงทําใหเปนที่ยอมรับของคนทั่วไป

Page 92: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

81

ปจจัยดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ พบวา กลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องไดรับรายไดประจําเดือนเปนผลตอบแทนที่สูงซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของสอดคลองกับอภิชัย บัวหยู (2551) ไดทําการศึกษาเรื่อง แรงจูงใจของนักกีฬาเทนนิสสมัครเลนที่สนใจเขารวม การแขงขันเทนนิสระดับอาชีพ พบวา ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ กลุมตัวอยางใหความสําคัญกับ กีฬาเทนนิสระดับอาชีพ สามารถสรางรายไดใหทานได เปนอันดับแรก

ปจจัยดานเกียรติยศชื่อเสียง พบวากลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องตองการเปนนักกีฬาฟุตบอลที่มีความสําเร็จ เปนอันดับแรก ซึ่งสอดคลองกับวีรยุทธ จิตรขุนทด (2554) ไดทําการศึกษาเรื่องแรงจูงใจในการเลนฟุตบอลของนักกีฬาฟุตบอลทีมสโมสรบุรีรัมย พบวา ดานความรัก ความถนัด และ ความสนใจกลุมตัวอยางใหความสําคัญดานตองการเปนนักกีฬาฟุตบอลที่ประสบความสําเร็จ

4.3 ขอเสนอแนะ

4.3.1 ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย

จากผลการวิจัยเรื่องแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ผูวิจัยไดขอเสนอแนะดังนี้

1. ดานความรัก ความสนใจ และความถนัด สโมสรฯ ควรใหความสําคัญในเรื่องดานความรักและความสนใจในเกมฟุตบอล รวมทั้งสงเสริมความชอบในการทําคะแนนตามรูปแบบของกีฬาฟุตบอลใหมากขึ้น เพื่อจะสามารถคัดเลือกนักกีฬาเขามาเปนสมาชิกของทีมไดมากขึ้น

2. ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ สโมสรฯ ควรใหความสําคัญในเรื่องกีฬาที่ไดแสดงออกถึงความสามารถของตนเองใหมากขึ้น เพราะการแสดงออกถึงความสามารถของนักกีฬาจะสามารถทําใหสโมสรมีวิธีการและแนวทางในการคัดเลือกนักฟุตบอลเขาสังกัดของทีมไดอยางมีประสิทธิภาพ และควรเสริมสรางความภูมิใจใหกับนักกีฬาเมื่อไดรับรางวัลตางๆ เชน มีการประกาศชื่อตอสาธารณชน หรือประชาสัมพันธผานสื่อตางๆ เชน สื่อโทรทัศน สื่อหนังสือพิมพ สื่ออินเตอรเน็ต เปนตน

Page 93: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

82

3. ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ สโมสรฯ ควรใหความสําคัญในเรื่องการใหคาตอบแทนประจําเดือนในระดับสูง ซึ่งจะทําใหนักกีฬาฟุตบอลไมยายทีมไปสังกัดทีมอื่น คาตอบแทนที่สูงจะชวยใหนักฟุตบอลมีแรงจูงใจในการเลน และควรหาตําแหนงงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนใหกับนักกีฬาที่ไดสรางผลงานใหกับประเทศ

4. ดานเกียรติยศและชื่อเสียง สโมสรฯ ควรใหความสําคัญในเรื่องความตองการเปนนักกีฬาฟุตบอลที่มีความสําเร็จ ดังนั้นสโมสรฯ ควรสงเสริมนักกีฬาใหมีการแขงขันมากขึ้น โดยตองดําเนินการจัดแขงขันเพื่อใหสมาชิกในสโมสรไดแสดงออกใหมากที่สุด เมื่อนักกีฬามีความสําเร็จในการเลน จะทําใหสโมสรฯ มีชื่อเสียงตามมาดวย และทําใหมีนักกีฬาจากสโมสรอื่นๆ สนใจที่จะมาอยูในสังกัดสโมสรดิวิชั่น 1 มากขึ้น นอกจากนี้สโมสรฯ ควรประชาสัมพันธใหประชาชนทั่วไปไดรับทราบและยกยองนักกีฬาที่ไดสรางชื่อเสียงใหกับประเทศ

4.3.2 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป

1. การศึกษาวิจัยครั้งตอไปควรมีการศึกษาถึงแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอลในสโมสรอื่น ๆ

2. ควรมีการศึกษาถึงกลยุทธที่ใชในการคัดเลือกนักฟุตบอลของสโมสรในประเทศไทย ที่เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อใหไดขอมูลเชิงลึกในการนําผลมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 94: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

จันทรานี สงวนนาม. ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บุคพอยท, 2551.

พนมไพร ไชยยงค. เอกสารประกอบการสอนวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว. สุพรรณบุรี : วิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดสุพรรณบุรี, 2542.

พิชิต เมืองนาโพธิ์. เอกสารประกอบการสอน พ437 จิตวิทยาการกีฬา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพลศึกษาคณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2534.

ภารดี อนันตนาวี. หลักการแนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : มนตรี จํากัด, 2552.

มุกดา ศรียงค และคณะ. จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2540.

รังสรรค ประเสริฐศรี. ภาวะผูนํา. กรุงเทพฯ : ธนธัชการพิมพ, 2544.

วรศักดิ ์ เพียรชอบ. หลักการและวิธีสอนพลศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช, 2527.

ศิลปชัย สุวรรณธาดา. การเรียนรูทักษะการเคลื่อนไหว ทฤษฎีและปฏิบัติการ. กรุงเทพฯ : สํานักวิชาวิทยาสาสตรการกีฬา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548.

สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549.

83

Page 95: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

84

สุรางค โควตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2552

อารี พันธมณี. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : บริษัท ตนออ จํากัด, 2534.

เอกสารอื่นๆ

กาญจนา เกียรติมณีรัตน. “ภูมิปญญาในการทอผาพื้นเมืองภาคเหนือ : รูปแบบการเรียนรูและการถายทอดความรูของครูภูมิปญญาไทย”. วิทยานิพนธศิลปะศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2546.

จิตรัตดา รัตนาธีวัฒน. “แรงจูงใจในการเลือกเลนกีฬามวยปล้ําของนักกีฬามวยปล้ําในประเทศ”. หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2550.

ดลฤดี สุวรรณคีรี. “การศึกษาเปรียบเทียบปจจัยที่ผลตอการตัดสินใจเลือกศึกษาตอสายอาชีพระหวางสถานศึกษาเอกชน : กรณีศึกษาโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนและรัฐบาล จังหวัดนครปฐม”. มหาวิทยาลัยพัฒนบริหารศาสตร, 2539.

วิทยา วิสูตรเรืองเดช. “ปจจัยที่มีตอการเลือกศึกษาตอสายสามัญหรือสายอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบัณฑิตวิทยา ปการศึกษา 2544”. สารนิพนธหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตรการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2545.

วีรยุทธ จิตรขุนทด. “แรงจูงใจในการเลนกีฬาฟุตบอลของนักกีฬาฟุตบอลทีมสโมสรบุรีรัมย”. วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2554).

สมนึก บุญนาค. “แรงจูงใจในการเลือกฝกกีฬามวยไทยของนักเรียนชาย ชวงชั้นที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ ปการศึกษา 2547.” ปริญญานิพนธ กศ.ม.(พลศึกษา) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2548.

Page 96: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

85

อภิชัย บัวหยู. “แรงจูงใจของนักกีฬาเทนนิสสมัครเลนที่สนใจเขารวมการแขงขันเทนนิสระดับอาชีพ”. หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2550.

Books

Amorase,Tony and Horn, Thelma S. (1995). A Season – Long Examination of IntrinsicMotivation In First Year College Athletes : Relationships with Coaching Behavior. Journal of Sport and Exercis Psychology. 1995 NASPSPA Abstracts.17 : 20; Human Kinetics Publishers.Inc.

Frederick, Robberies L. “The Qualitative Content Analysis of a National Sample of 12 Portfolios Assessment Program”. Dissertation Abstracts International. 53 (May 1992) 3786.

Friedman, M. A Theory of the Consumption Function. Princeton University Press, 1957.

Glueck, William F. Management. The Dryden Press. Hinsdales, U.S.A. Prentice – Hall: International, Inc., 1980.

Harrison, F.E. The Managerial Decision-Marketing Process. Boton: Houghton Mifflin, 1981.

Maslow, Abraham Harold. Motivation and Personality. 2ed. New York : Harper Row,1970.

Mitchell, Terence R. People in Organization: An Introduction to Organizational Behavior. 2nd ed. Tokyo : McGraw – Hill, 1982.

เว็บไซต

http://th.wikipedia.org/wiki

Page 97: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

ภาคผนวก

Page 98: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

แบบสอบถามเรื่อง แรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล

แบบสอบถามนี้จัดทําขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกเลนสโมสรดิวิชั่น 1 ของนักกีฬาฟุตบอล ขอมูลที่ไดดังกลาวจะใชประโยชนตอการศึกษาและใชเปนแนวทางในการเลือกเลนฟุตบอลระดับสโมสรเทานั้น จึงขอความอนุเคราะหทานตอบแบบสอบถามอยางครบถวนตามความเปนจริงและขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้

.......................................................................

แบบสอบถามประกอบไปดวยขอมูลทั้งหมด 3 สวน ดังนี้

สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลของนักกีฬาฟุตบอลคําชี้แจง โปรดขีดเครื่องหมาย ( √ ) หนาขอความหรือเติมตัวเลขที่ตรงกันความเปนจริงของทาน

1. อาย.ุ................................ป

2. ระดับการศึกษา1) ต่ํากวาปริญญาตรี 2) ปริญญาตรี 3) ปริญญาโท4) ปริญญาเอก 5) อื่นๆ ระบุ.................................................

3. ตําแหนงในการเลนฟุตบอล1) กองหนา 2) กองกลาง3) กองหลัง 4) ผูรักษาประตู

4. ประสบการณในการเลนฟุตบอลระดับสโมสร ...............ป

5. รายไดเฉลี่ยตอเดือนในปจจุบัน1) นอยกวา 15,000 บาท 2) 15,001-30,000 บาท3) 30,001-45,000 บาท 4) มากกวา 45,000 บาท

87

Page 99: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

88

สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับแรงจูงใจในการเลนกีฬาฟุตบอลระดับสโมสรดิวิชั่น 1

คําชี้แจง โปรดขีดเครื่องหมาย ( ) หนาขอความที่ตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุด

ระดับแรงจูงใจ

ปจจัยของแรงจูงใจ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

ก.ดานความรัก ความสนใจ และ ความถนัด1. มีความรัก และสนใจลักษณะของเกมฟุตบอล2. มีความสามารถปฏิบัติทักษะและเลนกีฬาฟุตบอลไดดีกวา กีฬาชนิดอื่น3. มีความชื่นชอบตอการเลนที่ตองมีสัมพันธกับผูอื่น4. มีความถนัดในกีฬาประเภทที่ตองมีการเคลื่อนที่อยาง รวดเร็ว5. มีความสนใจทักษะการเลนกีฬาฟุตบอลแบบพลิกแพลง6. มีความชื่นชอบกีฬาที่ตองชิงไหวพริบกับคูแขงขัน ตลอดเวลา7. มีความสนใจที่จะพัฒนาการเลนใหมีความสามารถสูงขึ้น8. มีความปรารถนาที่จะพัฒนาความสามารถเชิงกีฬาใน ระดับสูง9. มีความถนัดในกีฬาประเภทที่ใชเทาควบคุมอุปกรณกีฬา10. มีความชอบในการทําคะแนนตามรูปแบบของกีฬา ฟุตบอล

Page 100: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

89

ระดับแรงจูงใจ

ปจจัยของแรงจูงใจ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

ข.ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ1. มีความเชื่อมั่นในความสามารถของตนวาจะประสบ ความสําเร็จในการเลนกีฬาฟุตบอล2. มีความคิดวาการเปนนักกีฬาฟุตบอลเปนกีฬาที่ทาทาย ความสามารถ3. เปนกีฬาที่ไดแสดงออกถึงความสามารถของตนเอง4. มีความคิดวาการเปนนักกีฬาฟุตบอลระดับสโมสรดิวิชั่น 1 ทําใหเกิดความภูมิใจ5. มีความเชื่อวากีฬาฟุตบอลมีสวนชวยในการพัฒนา บุคลิกภาพของตนได6. ครอบครัวและบุคคลใกลชิดใหการสนับสนุนในการเลน และเปนนักกีฬาฟุตบอล7. เชื่อวากีฬาฟุตบอลสามารถเพิ่มพูนความแข็งแรงและ เสริมสรางความอดทนใหเพิ่มขึ้น8. ผูมีประสบการณในกีฬาฟุตบอลแนะนําและชักชวนเลน กีฬาฟุตบอลในทีมสโมสรดิวิชั่น 19. มีเพื่อนที่เลนกีฬาฟุตบอลทีมสโมสรดิวิชั่น1 ชักชวนให เลน10. มีแรงบันดาลใจจากความตองการที่จะแสดงออกเพื่อ การยอมรับจากผูอื่น

Page 101: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

90

ระดับแรงจูงใจปจจัยของแรงจูงใจ มาก

ที่สุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ที่สุดค.ดานรายไดและผลประโยชนที่ไดรับ1. มีโอกาสที่จะเขาศึกษาในระดับที่สูงขึ้นดวยระบบโควตา นักกีฬา2. มีโอกาสไดรับทุนการศึกษา3. มีโอกาสที่จะไดรับชุดและอุปกรณกีฬาจากผูสนับสนุน4. มีโอกาสเดินทางไปยังสถานที่ตาง ๆ ทั้งในและ ตางประเทศ5. ไดรับเงินสวัสดิการตาง ๆ อยางมาก6. มีโอกาสไดรับการบรรจุเขาทํางานทั้งภาครัฐและเอกชน7. ไดรับรายไดประจําเดือนเปนผลตอบแทนที่สูง8. ไดรับเงินตอบแทนหรือสิ่งตอบแทนจากผลสําเร็จใน การแขงขันอยางมาก9. มีโอกาสไดแสวงหาความรูและประสบการณใหม ๆใน เชิงกีฬาฟุตบอล10. มีโอกาสประกอบอาชีพในฐานะเปนผูฝกสอนใน สถานศึกษาหรือสโมสรตาง ๆ ได

Page 102: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

91

ระดับแรงจูงใจ

ปจจัยของแรงจูงใจ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

ง.ดานเกียรติยศและชื่อเสียง1. สามารถสรางชื่อเสียงแกตนเอง และวงศตระกูลได2. สามารถสรางชื่อเสียงใหกับทองถ่ินและจังหวัดของตนเอง ได3. สามารถสรางชื่อเสียงใหแกประเทศชาติได4. ไดรับการยกยองสรรเสริญจากบุคคลทั่วไป5. สามารถสรางคุณคาใหกับตนเอง6. สามารถทําใหคนยอมรับและเปนที่รูจักในสังคม7. ตองการใหครอบครัวและคนใกลชิดภาคภูมิใจใน ความมีชื่อเสียง8. ตองการเปนนักกีฬาฟุตบอลที่มีความสําเร็จ9. ตองการเปนนักกีฬาฟุตบอลที่เปนแบบอยางที่ดีแกนักกีฬา โดยทั่วไป10. ตองการเปนผูหนึ่งที่มีชื่อเสียงในการสรางเกียรติประวัติ ใหแกวงการกีฬาฟุตบอล

ขอขอบพระคุณ ผูตอบแบบสอบถามทุกทานที่กรุณาเสียสละเวลาเพื่อใหขอมูล

Page 103: โดย นายธราวุฒิ บุญช วยเหลือmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut...3.3 แสดงระด บแรงจ งใจในการต

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-นามสกุล นายธราวุฒิ บุญชวยเหลือ

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2552 บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

พ.ศ. 2556 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต กลุมวิชาการจัดการทั่วไป

มหาวิทยาลัยเกริก

ประวัติการทํางาน

พ.ศ 2545 - 2550 นักกีฬาฟุตบอลสโมสรทีโอที เอฟซี

พ.ศ. 2551 - 2554 นักกีฬาฟุตบอลสโมสรบางกอก เอฟซี

พ.ศ 2555 นักกีฬาฟุตบอลสโมสรสมุทรสาคร เอฟซี

พ.ศ. 2556 นักกีฬาฟุตบอลสโมสรแอรฟอรช เอวิเอ เอฟซี

92