ทรัพยากรการบริหารกับ...

143
ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร โดย นายเสกมนต สัมมาเพ็ชร สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2559

Upload: others

Post on 16-Feb-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

โดยนายเสกมนต สัมมาเพ็ชร

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2559

Page 2: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

Resource Management and the Effectiveness ofthe Central Correctional Institution for Drug Addicts Officer in Bangkok

ByMr. Sekmon Sammapetch

A Study Report Submitted in Partial Fulfillment of theRequirements for the Master of Public Administration

Faculty of Liberal ArtsKrirk University

2016

Page 3: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

(1)

หัวขอสารนิพนธ ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ชื่อผูศึกษา นายเสกมนต สัมมาเพ็ชรหลักสูตร/คณะ/มหาวิทยาลัย รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต/ศิลปศาสตร/มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ รองศาสตราจารย ดร. อนันต บุญสนองปการศึกษา 2557

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่องทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร และเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงปริมาณ โดยสามารถเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามจากเจาพนักงานราชทัณฑที่ปฏิบัติหนาที่ในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร จํานวน 135 คน

ผลการศึกษาพบวา ทรัพยากรการบริหารในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยดานการบริหารงานทั่วไป มีคาเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค และดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสารตามลําดับ สวนดานที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุด คือ ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย สําหรับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่อยูในระดับมาก โดยดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืนมีคาเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง และดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑตามลําดับ และความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ พบวา ทรัพยากรทั้ง 11 ดาน คือ ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย ดานการบริหารงบประมาณ ดานการบริหารงานทั่วไป ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ ดานการบริหารคุณธรรม ดานการใหบริการประชาชน ดานการบริหารขาวสารหรือขอมูลขาวสาร ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน ลวนมีสหสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Page 4: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

(2)

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาเรื่อง ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร สําเร็จลุลวงไปไดดวยดีดวยความอนุเคราะหจาก รองศาสตราจารย ดร.อนันต บุญสนอง ที่กรุณารับเปนที่ปรึกษาสารนิพนธ และคําปรึกษาของทานเปนแนวทางทําใหการทําสารนิพนธสําเร็จลุลวงไปดวยดี ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสอบ สารนิพนธทุกทานที่ไดใหคําแนะนําและชี้แนวทางในการแกไขขอบกพรองตางๆ ทําใหสารนิพนธฉบับนี้มีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น

ขอขอบคุณเจาพนักงานราชทัณฑ ที่ปฏิบัติหนาที่ในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทุกทาน ที่สละเวลากรอกแบบสอบถาม จนทําใหสารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดี

สุดทายนี้ ผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ที่คอยใหกําลังใจ ขอขอบคุณบุคคลอื่นๆอีกหลายทานที่ไมสามารถกลาวนามไดทั้งหมดที่มีสวนชวยเหลือ คอยใหการสนับสนุน และใหกําลังใจในการศึกษาวิจัยครั้งนี้

เสกมนต สัมมาเพ็ชร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2559

Page 5: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

(3)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ (1)กิตติกรรมประกาศ (2)สารบัญตาราง (5)สารบัญแผนภาพ (9)

บทที่ 1 บทนํา 11.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคในการศึกษา 41.3 ขอบเขตของการศึกษา 41.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 51.5 นิยามศัพทที่เกี่ยวของ 5

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา 62.1 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับทรัพยากรการบริหาร 62.2 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน 162.3 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ 322.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา 382.5 สมมติฐานในการศึกษา 392.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ 40

บทที่ 3 วิธีการศึกษา 433.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 433.2 วิธีการเลือกกลุมตัวอยาง 443.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 443.4 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 453.5 การเก็บรวบรวมขอมูล 473.6 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช 47

Page 6: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

(4)

สารบัญ (ตอ)

หนาบทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 49

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 494.2 ผลการวิเคราะหทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง 52

กรุงเทพมหานคร 4.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถาน 65 บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร 4.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน 70

บทที่ 5 บทสรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 805.1 บทสรุป 805.2 อภิปรายผล 835.3 ขอเสนอแนะ 101

บรรณานุกรม 107

ภาคผนวก 113ก. ยุทธศาสตรของกรมราชทัณฑ พ.ศ. 2555 – 2558 114ข. แบบสอบถามเพื่อการวิจัย 120

ประวัติผูศึกษา 131

Page 7: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

(5)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

3.1 แสดงคาสัมประสิทธิ์อัลฟาของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง 46กรุงเทพมหานคร

3.2 แสดงคาสัมประสิทธิ์อัลฟาของประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถาน 47บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

4.1 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ 494.2 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามสถานภาพ 504.3 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ 504.4 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา 514.5 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามตําแหนงในการทํางาน 514.6 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามประสบการณในการทํางาน 524.7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 53

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ในภาพรวม 4.8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 54

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย 4.9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 55

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารงบประมาณ4.10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 56

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารงานทั่วไป4.11 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 57

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ4.12 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 58

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารคุณธรรม4.13 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 59

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการใหบริการประชาชน

Page 8: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

(6)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา

4.14 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 60บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร

4.15 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 61บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค

4.16 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 62บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน

4.17 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 63บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม

4.18 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน 64บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน

4.19 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ 65ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ในภาพรวม

4.20 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ 66ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง

4.21 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ 67ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดให

ไดผลอยางยั่งยืน4.22 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ 69

ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ

4.23 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารทรัพยากรมนุษย 71มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

Page 9: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

(7)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา

4.24 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงบประมาณมีความ 71สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

4.25 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงานทั่วไปมีความ 72สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

4.26 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารวัสดุอุปกรณมีความ 72สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

4.27 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารคุณธรรมมีความ 73 สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

4.28 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการใหบริการประชาชนมีความ 73สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

4.29 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูล 74 ขาวสารมีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

4.30 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือ 75เทคนิคมีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

4.31 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลา 75ในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

Page 10: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

(8)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา

4.32 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการประสานงาน หรือการ 76 ประนีประนอมมีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่

ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร 4.33 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการวัดผล หรือการประเมินผล 77

การปฏิบัติงานมีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

4.34 แสดงสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน 78

Page 11: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

(9)

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่ หนา

2.1 แสดงปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการบริหารการพัฒนา 122.2 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา 38

Page 12: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

1

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดเปนปญหาที่สําคัญและเปนภัยรายแรงตอสังคม

มีผลกระทบตอความมั่นคงของชาติและการพัฒนาคุณภาพประชากรของประเทศโดยเฉพาะการทําลายความสัมพันธภายในครอบครัวซึ่งเปนสถาบันที่มีความสําคัญและเปนรากฐานของการพัฒนาสมาชิกในครอบครัว เพื่อใหเปนทรัพยากรมนุษยที่สําคัญของประเทศและโครงสรางของสังคมที่ตามมาปจจัยดานผลตอบแทนหรือกําไรในตัวเงินเปนปจจัยที่สําคัญที่ชักนําใหบุคคลกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเพิ่มขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้นเม่ือพิจารณาถึงแนวโนมอาชญากรรมพบวาสวนใหญเกิดจากการกระทําผิดตอพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ มีแนวโนมทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ปญหายาเสพติดจึงไดกลายเปนปญหาสังคมที่เพิ่มความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในสังคมไทย ในชวงป พ.ศ.2553 มีผูที่กระทําความผิดสูงขึ้นถึง 266,010 ราย ซึ่งเปนสถิติสูงในรอบ 10 ปที่ผานมา และมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน (www.hiso.or.th/hiso/tonkit/tontits สืบคนเมื่อวันที่ 17 ม.ค. 2557)

สถานการณดังกลาวสงผลกระทบโดยตรงตอกรมราชทัณฑ เพราะเปนหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงในการควบคุมผูกระทําความผิดภายในเรือนจํา ซึ่งโดยปกติความจุของเรือนจําทั่วประเทศสามารถรองรับผูตองขังไดประมาณ 160,000 คน แตจํานวนของผูตองขังในเดือน มิถุนายน พ.ศ.2555 มีจํานวนสูงถึง 239,684 คน แสดงใหเห็นวาปริมาณของผูตองขังลนเกินความจุของเรือนจําที่จะรองรับไดกวารอยละ 30 จนเกิดสภาวะนักโทษลนคุกหรือผูตองขังลนเรือนจําในประเทศไทย ซึ่งเปนสภาวะที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องมาโดยตลอด เกิดเปนสภาพของความแออัด ความเบียดเสียดของผูตองขังในเรือนจําหรือที่เรียกวาสภาวะผูตองขังลนเรือนจํานั้น ไมเพียงแตจะสงผลทางลบตอสภาพความเปนอยูของผูตองขังเทานั้น แตยังสงผลกระทบตอการบริหารจัดการเรือนจําอีกดวย เพราะทําใหการจัดสวัสดิการและการดูแลผูตองขังในดานตางๆทําไดดวยความยาก ลําบาก สภาพความแออัดทําใหผูตองขังดํารงชีวิตอยูดวยความลําบากกวาปกติ สภาพการณเชนนี้ยิ่งเพิ่มขึ้นเมื่อเกิดปญหาของอัตรากําลังของเจาพนักงานราชทัณฑไมไดสัดสวนกับจํานวนผูตองขัง นั่นเพราะอัตรากําลังของเจาพนักงานราชทัณฑยังคงเทาเดิม แตจํานวนของผูตองขังกลับเพิ่มมากขึ้นโดยตลอด สงผลใหอัตราสวนของเจาพนักงานราชทัณฑตอผูตองขังของประเทศไทยหางไกลจากมาตรฐานมาก ในขณะที่ประเทศอื่นมีอัตราสวนของเจาพนักงานตอผูตองขังประมาณ 1 ตอ 3 ถึง

Page 13: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

2

1 ตอ 6 และมาตรฐานสากลของสหประชาชาติคือ 1 ตอ 5 แตประเทศไทยกลับมีอัตราสวนของ เจาพนักงานตอผูตองขัง 1 ตอ 20 คือ มีอัตราเจาหนาที่ 11,000 คน แตมีผูตองขังมากถึง 240,000 คน(www.gotoknow.org/post/497865 สืบคนเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2558)

ในปจจุบันทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางมีจํานวนผูตองขังมากกวา 8000 คน (ขอมูล ณ วันที่ 3 กุมภาพันธ 2558) เปนผูตองขังคดียาเสพติดทั้งหมด สูงเกินกวามาตรฐานการควบคุมปกติที่กําหนดไวจํานวน 4,500 คน และมีเจาพนักงานราชทัณฑจํานวน 204 คน เมื่อพิจารณาจากสถิติจํานวนผูตองขังที่ตองโทษมีจํานวนเพิ่มขึ้นในแตละป เปรียบเทียบกับอัตราการเพิ่มขึ้นของจํานวนผูตองขังจากอดีตถึงปจจุบันตั้งแต ป พ.ศ. 2554 มีจํานวนตองขัง 5,708 คน ป พ.ศ. 2555 มีจํานวน 7,373 คน ป พ.ศ. 2556 มีจํานวน 7,307 คน ป พ.ศ. 2557 มีจํานวน 8,145 คน ซึ่งจากสถิติดังกลาวมีจํานวนเจาพนักงานราชทัณฑทัณฑสถานฯ ปฏิบัติหนาที่เพียง 204 คน ตั้งแตป พ.ศ. 2554 จนถึงปจจุบันและไดรับงบประมาณประจําปแตละป ตั้งแตป พ.ศ. 2554 เปนเงินจํานวนประมาณการ 150 ลานบาท ไมเกินรอยละ 10 ตอป จนถึงปปจจุบัน (ขอมูลโดยสวนบริหารงานทั่วไป ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง 2557) กอใหเกิดผลกระทบกับทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางในการผลักดันการบริหารงานใหเกิดผลสําเร็จ อาทิ ในดานการวางแผน (Planning) กลาวคือ เมื่อเกิดกรณีสภาพความแออัด มีผูตองขังอยูจํานวนมากเกินขีดความสามารถของเรือนจํา ตองจัดการวางแผนหามาตรการที่รัดกุมเพื่อการควบคุมผูตองขังมิใหหลบหนีออกไปจากที่คุมขังอยางมีประสิทธิภาพ ตอมาในดานการบริหารทรัพยากรบุคคล (Staffing) กลาวคือ อัตราสวนของเจาพนักงานราชทัณฑทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางตอจํานวนผูตองขัง 1 ตอ 40 ซึ่งไมมีความเหมาะสม ตอการปฏิบัติงานประจําวัน การควบคุมและแกไขพฤตินิสัยผูตองขังที่ตองรับภาระหนาที่ในแตละคนมีเกินกวาปกติ เจาพนักงานที่อาจจะลาออกหรือขอโอนยายไปอยูหนวยงานอื่น ตอมาในดานงบประมาณ (Budgeting) กลาวคือ เงินงบประมาณประจําปของทัณสถานบําบัดพิเศษกลางที่ไดรับสําหรับจัดการบริหารไมเพียงพอเหมาะสมกับจํานวนผูตองขังกับเงินงบประมาณ ทําใหตองลดการจัดกิจกรรมการพัฒนาพฤตินิสัยผูตองขัง การดูแลเรื่องสวัสดิการสุขภาพอนามัยของผูตองขังไมทั่วถึง กรณีเชน ผูตองขังเมื่อเจ็บปวยแตละคนจะไดรับยารักษาโรคลดจํานวนลง เพราะผูตองขังเพิ่มแตเงินงบประมาณเทาเดิม ตอมาในดานการบริหารนโยบาย (Policy Management) กลาวคือ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางไมสามารถดําเนินการตามยุทธศาสตรที่ 5 ที่กรมราชทัณฑไดกําหนดประเด็นไว คือ การเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมดูแลพัฒนาพฤตินิสัยผูตองขัง เนื่องจากมีจํานวนของผูตองขังสูงกวาอัตราการควบคุม ตอมาในดานการประสานงาน (Coordinating) กลาวคือ ตองประสานงานทั้งภายในและภายนอกหนวย งานซึ่งมีความสําคัญเปนอยางยิ่งเชนในกรณีที่เรือนจําตองการยายระบายผูตองขังที่มีอยูอยางแออัด

Page 14: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

3

ไปควบคุมที่เรือนจําอื่น จําเปนที่จะตองมีความรวมมือกันในการทํางาน การวางแผนรวมกัน การประชุมรวมกัน การประสานงานระหวางทัณฑสถานกับเรือนจําและในดานการบริหารอํานาจหนาที่ (Authority) กลาวคือ ผูบริหารตองสรรหาวิธีการคัดเลือกเจาหนาที่ที่มีความรูและความ สามารถมาปฏิบัติหนาที่แตละตําแหนงภายในเรือนจําใหเหมาะสม และกําหนดอํานาจหนาที่แตละตําแหนงใหชัดเจนในสถานการณผูตองขังลนเรือนจํา จากปญหาดังกลาวนี้ แสดงใหเห็นชัดวาการศึกษาทรัพยากรการบริหาร มีความสําคัญเปนอยางยิ่งกับการจัดการบริหารงานภายในของ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง ทามกลางสถานการณที่มีผูตองขังลนเรือนจําและตองจัดทรัพยากรการบริหารปฏิบัติใหสอดคลองกับนโยบายของกรมราชทัณฑใหเกิดประสิทธิผลสูงสุดที่กําหนด เปนพันธกิจเนนการปฏิบัติที่สําคัญสองประการ ภารกิจที่หนึ่ง ไดแก การควบคุมผูตองขังเพื่อมิใหหลบหนี โดยยึดถือหลักกฎหมาย หลักทัณฑวิทยา และขอกําหนดมาตรฐานขั้นต่ําสําหรับปฏิบัติตอผูตองขังของสหประชาชาติ ซึ่งไดมีมติรับรองใหนําไปใชตั้งแตวันที่ 30 สิงหาคม 2498โดยกําหนด ใหประเทศที่เปนสมาชิกถือปฏิบัติตอผูตองขังภายในประเทศของตนใหมากที่สุดเทาที่สามารถจะกระทําไดและมีความเสมอภาคกัน (วิวิทย จตุปาริสุทธิ์ และวีระยุทธ สุขเจริญ, 2549: 77) และภารกิจที่สอง คือ การปรับปรุงแกไขพฤตินิสัยเพื่อใหเปนคนดี ซึ่งภารกิจดังกลาวเจาพนักงานราชทัณฑทุกคนตองใหความรวมมือกัน พัฒนาจิตใจใหแกผูตองขังในรูปแบบที่หลากหลาย การจัดกิจกรรมชุมชนบําบัด เพื่อฟนฟูและแกไขสภาพรางกายและสภาพจิตใจของผูตองขัง เพื่อเพิ่มศักยภาพในการใชชีวิตใหแกผูตองขังภายหลังพนโทษ ไมหวนกลับมากระทําความผิดซ้ําอีก (วิวิทย จตุปาริสุทธิ์ และวีระยุทธ สุขเจริญ, 2549: 81)

ดังนั้น ผูศึกษาในฐานะบุคลากรของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางมีความตระหนักถึงความสําคัญของปญหา เพราะการบริหารงานแผนดินตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานแผนดิน พ.ศ. 2555 นั้น หนวยงานของภาครัฐจะตองพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติของบุคลากร เพื่อใหสามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชนอยางมีประสิทธิผล โปรงใสและเกิดความเปนธรรมเกิดประโยชนอยางสูงสุดตอประชาชน จึงไดทําการศึกษาเรื่องทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ซึ่งจะเปนขอมูลพื้นฐานตอคณะกรรมการบริหารงานทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางในการแกไขปญหาในสภาพที่เปนจริงตอไป

Page 15: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

4

1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา1.2.1 เพื่อศึกษาทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร1.2.2 เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

กรุงเทพมหานคร1.2.3 เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

ของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

1.3 ขอบเขตของการศึกษา1.3.1 ดานเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้ เปนการศึกษาทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการ

ปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ประกอบดวยตัวแปรตนและตัวแปรตาม

ตัวแปรตน ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร มีองคประกอบจํานวน 11 ดาน ซึ่งผูศึกษาไดนําทรัพยากรการบริหารของวิรัช วิรัชนิภาวรรณ พ.ศ.2552 มาใชในการศึกษาครั้งน้ี ไดแก

1. การบริหารทรัพยากรมนุษย (Man)2. การบริหารงบประมาณ (Money)3. การบริหารงานทั่วไป (Management)4. การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material)5. การบริหารคุณธรรม (Morality)6. การใหบริการประชาชน (Market)7. การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message)8. วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method)9. การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute)10. การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation)11. การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement)

ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ซึ่งผูศึกษาไดนํามาจากประเด็นยุทธศาสตรของแผนปฏิบัติราชการกรมราชทัณฑ พ.ศ. 2555-2558 โดยไดกําหนดประเด็นของการวิจัยไว 3 ดาน ดังนี้

1. ดานเสริมสรางประสิทธิผลการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง2. ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน

Page 16: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

5

3. ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ 1.3.2 ดานพื้นที ่ศึกษาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร1.3.3 ดานประชากร ศึกษาจากเจาพนักงานราชทัณฑ ที่ปฏิบัติหนาที่ในทัณฑสถานบําบัด

พิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร จํานวน 204 คน1.3.4 ดานระยะเวลา การศึกษาในครั้งนี้มีระยะเวลาระหวางเดือนตุลาคม – เดือนธันวาคม

พ.ศ. 2558

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับขอมูลที่ไดจากการศึกษาสามารถนําเสนอการบริหารงานทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

เพื่อกําหนดแนวทาง ในการสงเสริมและพัฒนาประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

1.5 นิยามศัพทที่เกี่ยวของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง หมายถึง สถานที่ควบคุมและกักขังนักโทษเด็ดขาด สังกัด

กรมราชทัณฑ กระทรวงยุติธรรม มีหนาที่รับผิดชอบการแกไข ฟนฟู ผูตองโทษ ตามพระราช บัญญัติยาเสพติดใหโทษ ตั้งแตอยูระหวางการสอบสวน จนถึงกําหนดโทษประหารชีวิต ใหเปนไปตามคําพิพากษาของศาล ซึ่งจะตองดําเนินการนําแผนทิศทางกรมราชทัณฑไปสูการปฏิบัติ โดยมีประเด็นยุทธศาสตรและกลยุทธหลัก 5 ประเด็น แตในการศึกษาครั้งนี้ไดศึกษา 3 ประเด็น ประกอบดวย เสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง การรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน และการพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ

เจาพนักงานราชทัณฑ หมายถึง ขาราชการที่ปฏิบัติงานสังกัดกรมราชทัณฑ กระทรวงยุติธรรม ซึ่งปฏิบัติหนาที่ประจําในเรือนจําและทัณฑสถาน ซึ่งแมวาขาราชการที่ปฏิบัติใดๆก็ตาม อาทิ เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน นักวิชาการและฝกอบรมวิชาชีพ เปนตน จะตองปฏิบัติหนาที่ในการควบคุมผูตองขังอีกหนาที่หนึ่ง โดยบุคคลทั่วไปจะเรียกวา ผูคุม

Page 17: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

6

บทที่ 2วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา

การศึกษาเรื่อง ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ผูศึกษาไดคนควาจากแนวคิด ทฤษฏี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อนําไปสูการกําหนดกรอบแนวคิดของการวิจัยครั้งนี้ ดังตอไปนี้

2.1 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับทรัพยากรการบริหาร2.2 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน2.3 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา2.5 สมมติฐานในการศึกษา2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

2.1 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับทรัพยากรการบริหาร2.1.1 ความหมายของทรัพยากรการบริหารการบริหาร (Administration) มีรากศัพทมาจากภาษาลาติน “Administatrae” หมายถึง

ชวยเหลือ (Assist) หรืออํานวยการ (Direct) การบริหารมีความสัมพันธหรือมีความหมายใกลเคียงกับคําวา “Minister” ซึ่งหมายถึง การรับใชหรือผูรับใช หรือผูรับใชรัฐ คือ รัฐมนตรี สําหรับความ หมายดั้งเดิมของคําวา Administer หมายถึง การติดตามดูแลสิ่งตางๆ สวนคําวา การจัดการ (Management) นิยมใชในภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจซึ่งมีวัตถุประสงคในการจัดตั้งเพื่อมุงแสวงหากําไร (Profits) หรือกําไรสูงสุด (Maximum Profits) สําหรับผลประโยชนที่จะตกแกสาธารณะถือเปนวัตถุประสงครองหรือเปนผลพลอยได (By Product) เมื่อเปนเชนนี้จึงแตกตางจากวัตถุประสงคในการจัดตั้งหนวยงานภาครัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อใหบริการสาธารณะทั้งหลาย (Public Services) แกประชาชนการบริหารภาครัฐทุกวันนี้หรืออาจเรียกวาการบริหารจัดการ ( Management Administration) เกี่ยวของกับภาคธุรกิจมากขึ้น เชน การนําแนวคิดผูบริหารสูงสุด (Chief Executive Officer) หรือ ซีอีโอ (CEO) มาปรับใชในวงราชการการบริหารราชการดวยความรวดเร็ว การลดพิธีการที่ไมจําเปน การลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ และการจูงใจดวยการใหรางวัลตอบแทน นอกเหนือจากการที่ภาครัฐไดเปดโอกาสใหภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจเขามารับสัมปทานจากภาครัฐ เชน ใหสัมปทานโทรศัพทมือถือ การขนสง เหลา บุหรี่ อยางไรก็ดีภาคธุรกิจก็ไดทําประโยชนใหแก

Page 18: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

7

สาธารณะหรือประชาชนไดเชนกัน เชน จัดโครงการคืนกําไรใหสังคมดวยการลดราคาสินคา ขายสินคาราคาถูกหรือการบริจาคเงินชวยเหลือสังคมเปนตน

นอกจากนี้ทรัพยากรการบริหาร จะมีการใชคําวาการบริหารและการบริหารจัดการรวมทั้งคําอื่นๆ อาทิ การบริหารการพัฒนา การจัดการและการพัฒนา (Development) การบริหารการบริการ (Service Administration) การบริหารจิตสํานึกหรือการบริหารความรูผิดรูชอบ (Consciousness Administration) การบริหารคุณธรรม (Morality Administration) และการบริหารการเมือง (Politics Administration) ที่เปนคําในอนาคตที่อาจถูกนํามาใชได คําเหลานี้ลวนมีความ หมายใกลเคียงกัน การใชยอมขึ้นอยูกับผูมีอํานาจในแตละยุคสมัยจะนําคําใดมาใช โดยอาจมีจุดเนนใหเห็นความความแตกตางกันไปบางอยางไรก็ตาม ทุกคําที่กลาวมานี้เฉพาะในภาครัฐลวนแตหมายถึง (1) การดําเนินงาน การปฏิบัติงาน แนวทาง (Guideline) วิธีการ (Method) หรือมรรควิธี (Means) (2) ที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐนํามาใชในการบริหารราชการหรือปฏิบัติงาน (3) ตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว (4) เพื่อนําไปสูจุดหมายปลายทาง (End หรือ Goal) หรือการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดี เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการบริหารราชการหรือเปลี่ยนแปลงเปนไปในทิศทางที่ดีขึ้น (สมชาย หิรัญกตติ, 2542: 16)

2.1.2 องคประกอบของทรัพยากรการบริหารการบริหารราชการหรือการบริหารธุรกิจจําเปนตองอาศัยปจจัยสําคัญหรือที่เรียกวา

ทรัพยากรการบริหาร ในการดําเนินการภารกิจขององคกรใหสําเร็จตามวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมีนักวิชาการและผูที่สนใจใหการศึกษาที่หลากหลายไดแบงองคประกอบของทรัพยากรการบริหารที่คลายคลึงกัน ประกอบดวยรายละเอียดดังตอไปนี้

1. ทรัพยากรการบริหาร 4 ประการ หรือ 4 M’s ซึ่ง สมาน รังสิโยกฤษณและสุธี สุทธิสมบูรณ (2540: 2) สุกัญญา มีกําลัง (2553: 37) ทองหลอ เดชไทย (2545 อางถึงในอาคม ปญญาแกว, 2554: 53) ไดระบุองคประกอบของทรัพยากรการบริหารที่เปนพื้นฐานสําคัญ 4 ประการ ไดแก คน (Man) งบประมาณหรือเงิน (Money) วัสดุอุปกรณ (Material) และการจัดการ (Management) สําหรับแนวคิดที่ไดเพิ่มอีกองคประกอบหนึ่งนั้นคือ ขอมูลขาวสารขององคกร (Information) เปนทัศนะของ Robbins and Coulter (1999: 12) และ นิรมล กิติกุล (2549 อางถึงใน สุวรรณโชค เหลาเขตวิทย, 2554: 8) นอกจากนี้ ไดมีผูศึกษาทานอื่นที่ใหแนวคิดแตกตางเพียงเล็กนอยในเรื่องขององคประกอบทรัพยากรการบริหารที่นอกเหนือจากแนวคิดแบบ 4 M’s ดัง Griffin (1996: 6) กลาววา ทรัพยากรบุคคล (Human Resources) ทรัพยากรการเงิน (Financial Resources) ทรัพยากรกายภาพ (Physical Resources) ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources) ซึ่งทรัพยากรการบริหารเหลานี้ตองนําไปใชในกระบวนการบริหารสวน เนตรพัณณา

Page 19: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

8

ยาวิราช (2553: 2) ไดระบุทรัพยากรการบริหารประกอบดวย บุคลากร (Human) เงิน (Momentary) วัตถุดิบ (Raw Material) และเงินทุน งบประมาณที่ใชในการทํางาน (Capital)

2. ทรัพยากรการบริหาร 5 ประการหรือ 5M’s โดย สุรพันธ ฉันทแดนสุวรรณ (2550: 9) ไดระบุวาประกอบดวยปจจัยดังตอไปนี้ คือ

1) คน (Man) เปนทรัพยากรบุคคลที่เปนหัวใจขององคกร ซึ่งมีผลตอความสําเร็จในการจัดการเพราะคนมีชีวิตจิตใจ มีอารมณ ความรูสึก ดังนั้น การบริหารจึงใหความสําคัญกับคนมากที่สุด

2) เงิน (Money) เปนปจจัยสําคัญ ที่จะชวยสนับสนุนใหกิจกรรมขององคการดําเนินการตอไป

3) วัสดุ (Materials) วัสดุหรือวัตถุดิบซึ่งเปนปจจัยที่สําคัญไมแพปจจัยอื่น จําเปนตองมีคุณภาพและมีตนทุนที่ต่ํา เพราะมีผลกระทบตอตนทุนการผลิต

4) เครื่องจักร (Machine) เครื่องจักรอุปกรณ ที่มีศักยภาพที่ดีอันจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการผลิตเชนกัน

5) วิธีการบริหาร หรือวิธีการปฏิบัติ (Management or Method) การจัดการหรือการบริหารในองคกรธุรกิจ ประกอบดวยระบบการผลิต หรือระบบการใหบริการตางๆ หากมีระบบที่ชัดเจนตลอดจนมีระเบียบขั้นตอน วิธีการตางๆ ในการทํางาน ยอมสงผลใหองคกรประสบความสําเร็จไดดวยดี

3. ทรัพยากรการบริหาร 6 ประการหรือ 6 M’s การบริหารทั่วไปไมวาจะเปนองคกรขนาดใหญหรือเล็ก เมื่อวิวัฒนาการทางวิชาการบริหารมีมากขึ้น ทรัพยากรการบริหารก็ยอมพัฒนาออกไป จากการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและการเมือง แตทวาการบริหาร ธุรกิจก็ไดมีการขยายปจจัยการบริหาร จากเดิมประกอบดวยปจจัยพื้นฐาน 4 ประการเพิ่มเติมมากขึ้นอีกเปน 2 ประการ รวมเปนองคประกอบ 6 ประการ สอดคลองกับแนวคิดของวิภาดา คุปตานนท (2551: 13) ที่กลาววา ทรัพยากรการบริหารที่สําคัญ 4 ดาน ไดแก คน (Man) เงิน (Money) วัสดุอุปกรณ (Material) และความรูทางการจัดการ (Management) และที่มีเพิ่มขึ้น ไดแก การตลาด (Marketing) เครื่องจักร (Machines) เปนตน เชนเดียวกับความเห็นของศิริวรรณ เสริรัตน, สมชาย หิรัญกิตติ, สุดา สุวรรณาภิรมณ, ชวลิต ประภวานนท และสมศักดิ์ วานิชยาภรณ (2545: 18) สมาน รังสิโยกฤษณ และสุธี สุทธิสมบูรณ (2525: 2) รวมถึงมณี เหมทานนท (ม.ป.ป.: 51-52) ไดใหคํา อธิบายเพิ่มเติมวา เครื่องจักรกลมีบทบาทอยางสูงตอการผลิตสินคาโดยการนําเทคโนโลยีใหมๆที่กาวหนามาใช ทําใหมาตรฐานในการจัดการมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สวนตลาดก็มีสวนสําคัญอยางยิ่งตอการจําหนายสินคาและการบริหาร เพราะตลาดเปนเปาหมายสูงสุดของสินคาและการบริการซึ่ง

Page 20: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

9

หมายถึงฐานะทางเศรษฐกิจและความอยูรอดของธุรกิจนั้น การจัดการทางธุรกิจจึงมีการแขงขันกันอยางมากของตลาดสินคาและบริการองคประกอบ 6 ประการ ประกอบ (1) Man มีความสามารถ (2) Money ที่มีเพียงพอ (3) Material มีเพียงพอ (และครบถวน) (4) Management มีหลักการบริหารมีการบริหารที่ดี (5) Machine เครื่องจักร อุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชที่ทันสมัยและ (6) Methods วิธีปฏิบัติที่มีประสิทธิผล

4. ทรัพยากรการบริหาร 7 ประการหรือ 7M’s เนื่องจากปจจุบันการพัฒนาของวิทยาการใหมๆ ถูกนํามาประยุกตใชเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการทํางานและการผลิต ทรัพยากรการบริหารจึงเพิ่มขึ้นอีก 3 ประการ รวมเปน 7 ประการ ความจําเปนตองใชทรัพยากรการบริหารตางกันมากนอยเพียงใดแลวแตนโยบาย ความเหมาะสมและความสามารถของแตละองคกร ซึ่งมีความสําคัญอยางยิ่งตอการบริหารงานสมัยใหม จากการรวบรวมแนวความคิด พบวา วีระนารถ มานะกิจ และพรรณี ประเสริฐวงษ (2519: 18) ไดกลาวถึงหลัก 7 M’s ไดแก คน (Man) เงิน (Money) วัสดุอุปกรณ (Material) วิธีการบริหาร (Management or Method) ตลาด (Market) และเครื่องจักร (Machines) และขวัญ (Morale) อันหมายถึงขวัญของคนงาน ตรงกันกับแนวคิดของ ปยธิดา ตรีเดช และศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช (2540 อางถึงใน สุกัญญา มีกําลัง, 2553: 36) และมนัส บุญวงศ (2545 อางถึงใน สุวรรณโชค เหลาเขตวิทย, 2554: 7-8) นอกจากที่ระบุขางตน ยังมีผูใหความเห็นแตกตางไปอีก 2 แนวทาง นั้นคือ แนวทางแรก ตะวัน สาดแสง (2548: 20) มีความเห็นวา ปจจุบันองคประกอบ 4 ประการ ไมเปนการเพียงพอ หรือ 4 เอ็ม (4M) ไดแก คน (Man) เงิน (Money) วัสดุอุปกรณ (Material) และการจัดการ (Management) อาจตองเพิ่ม เอ็มเครื่องจักร (Machine) เอ็มสื่อสาร (Media) และเอ็มกรรมวิธี (Method) เขาไปอีก แตอยางไรก็ตาม คนยังเปนองคประกอบสําคัญมากอนองคประกอบอื่นดวยเหตุผลงายๆ คือ ถาคนในองคกรมีคุณภาพเปยมดวยความรูความสามารถการจัดการองคประกอบอื่นก็จะมีคุณภาพตามไปดวย ตรงกันขามหากคนไมมีคุณภาพและความสามารถก็จะฉุดใหองคประกอบอื่นของการบริหารตกต่ําและมีปญหาตามมา สวนแนวทางที่สองเกี่ยวกับทรัพยากรการบริหาร 7 ประการวาประกอบดวย คน เงิน วัสดุสิ่งของ อํานาจหนาที่ (Authority) เวลา (Time) ความตั้งใจในการทํางาน (Will) และสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ (Facilities) (ชําเลือง พุฒพรหม, 2545: 25 อางถึงใน อนุราช เทศทอง 2555: 15)โดยย้ําใหเห็นถึงความสําคัญและความจําเปนของอํานาจหนาที่ และเวลาในการบริหารไววา ในการบริหารงานนั้น ไมวาจะเปนการบริหารราชการหรือการบริหารธุรกิจ ถาปราศจากเสียซึ่งอํานาจหนาที่ งานก็จะไมสามารถดําเนินไปไดดวยดี ในทํานองเดียวกัน หากมิไดกําหนดเวลาไวใหเหมาะสมเพียงพอกับลักษณะและประเภทของงานนั้นๆ งานก็จะไมสามารถเกิดสัมฤทธิ์ผลดวยดีอยางมีคุณคา (สมาน รังสิโยกฤษณและสุธี สุทธิสมบูรณ, 2525: 2) แมความเห็นจะคลายคลึงกันบางประการแต

Page 21: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

10

ขอยกตัวอยางคําอธิบายของวิลาวรรณ รพีพิศาล (2550: 26-27) ที่กลาวไวคอนขางชัดเจนเกี่ยวกับทรัพยากรการบริหาร 7 M’s ดังนี้

1) คน (Man) ตองเปนผูที่มีความรู ความสามารถและปฏิบัติภารกิจใหกับองคกรไดมากที่สุด

2) เงิน (Money) เงินทุนที่ใชในการจัดหาทรัพยากร หรือสนับสนุนการใชทรัพยากรตองมีอยางเพียงพอและกอใหเกิดสภาพคลองในการบริหารงานตลอดเวลา

3) วัสดุ-อุปกรณ (Material) หมายถึงอุปกรณเครื่องใชในการปฏิบัติงานทั่วๆไป4) การจัดการ (Management) ตองมีหลักและวิธีการปฏิบัติงานที่ดีทันสมัยสอดคลอง

กับสภาพแวดลอมที่เปนอยู5) เครื่องจักร (Machine) ตองมีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสูง6) วิธีปฏิบัติ (Method) เปนเทคนิควิธีการปฏิบัติงานในรูปแบบตางๆ ที่ทําใหงาน

ประสบผลสําเร็จมากยิ่งขึ้น7) ขวัญและกําลังใจ (Moral) คือหาวิธีการสรางขวัญกําลังใจใหผูใตบังคับบัญชา

รวมมือปฏิบัติงานเกิดความอบอุนในการปฏิบัติงานและอยูในองคกรตลอดไป5. ทรัพยากรการบริหาร 8 ประการหรือ 8 M’sไดมีผูใหความเห็นแตกตางกันเพียง

เล็กนอย โดยวิเชียร วิทยาอุดม (2550: 2) ใหความเห็นวา ทรัพยากรการบริหาร 8 ประการ ไดแก คน (Man) เงิน (Money) วัสดุสิ่งของ (Material) การบริหาร (Management) เครื่องจักร (Machine) วิธีการ (Method) ตลาด (Market) และขวัญและกําลังใจ (Morale) ขณะที่ สมคิด บางโม (2552: 63) ไดใหอธิบายวา ในปจจุบันปจจัยของการจัดการยุคใหมมีกลาวไวถึง 8 ประการ หรือ 8 Mโดยเพิ่มปจจัย อีก 2 จาก 6 M คือ ปจจัยดานวิธีการทํางานและ ปจจัยดานเวลา ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

1) คน (Man) เจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน2) เงิน (Money) สําหรับเปนคาจางและคาใชจายในการดําเนินการ3) วัสดุสิ่งของ (Material) ไดแก อุปกรณ เครื่องใช และอาคารสถานที่4) ความรูดานการจัดการ (Management) หมายถึงความรูเกี่ยวกับการจัดการ5) ตลาด (Market) เปนที่สําหรับจําหนายสินคาและบริการ6) เครื่องจักรกล (Machine) ใชสําหรับผลิตสินคาและบริการ7) วิธีการทํางาน (Method) หมายถึงวิธีหรือขั้นตอนในการทํางาน8) เวลา (Minute) หมายถึง เวลาในการดําเนินงาน

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2545: 75) อธิบายวา ปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการบริหารการพัฒนาควรมีอยางนอย 6 ประการประกอบดวย (1) คน (Man) (2) เงิน (Money) (3) วัสดุอุปกรณ (Material)

Page 22: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

11

(4) การจัดการทั่วไป (Management) (5) ผูรับบริการหรือประชาชน (Market) และ (6) จริยธรรมของบุคคล (Morality) ปจจัยทั้ง 6 ประการนี้ สงผลตอประสิทธิภาพในการบริหารของหนวยงาน ตอมาในหนังสือเรื่อง แนวทางการตอบขอสอบและกรอบแนวคิดทางสังคมศาสตร ไดอธิบายไวอีกวา ทรัพยากรการบริหาร คือ ปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการบริหารจัดการใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวซึ่งผูบริหารจําเปนตองนํามาใชเปนเครื่องมือในการบริหารงานภายในองคกรโดยใช 11 M ดังมีตอไปนี้ (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, 2548: 18)

1. การบริหารทรัพยากรมนุษย (Man) หมายถึง การบริหารที่เกี่ยวของกับบุคลากรของหนวยงาน เชนการวางแผนกําลังคน การแสวงหาบุคลากร การบรรจุแตงตั้ง การบํารุงรักษาและจัดสวัสดิการ การพัฒนาบุคลากร และการประเมินผลการปฏิบัติงาน เปนตน

2. การบริหารงบประมาณ (Money) หมายถึง การจัดใหมีงบประมาณ การควบคุมการตรวจสอบดานการเงิน การพัฒนาระบบบัญชี การเสนอความตองการ การจัดหางบประมาณ การใชจายงบประมาณ ตลอดจนการบันทึกและรายงานการใชจายงบประมาณ

3. การบริหารงานทั่วไป (Management) หมายถึง การดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารกระบวนการปฏิบัติขององคกร คือ การวางแผนงาน การจัดองคกร การจัดการทรัพยากรบุคคล การประสานงานภายในองคกร การรายงาน และการประเมินภายในหนวยงาน

4. การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) หมายถึง การประมาณการและเสนอความตองการ จัดหาวัสดุอุปกรณ การเก็บรักษา การแจกจายและการใชวัสดุอุปกรณ และการจําหนายจากบัญชี

5. การบริหารคุณธรรม (Morality) หมายถึง การนําหลักธรรมในการบริหาร การมีจิตสํานึกดีงามในการปฏิบัติราชการหรือการปฏิบัติงาน การวางตนที่เหมาะสม

6. การใหบริการประชาชน (Market) หมายถึง ใหประชาชนมาเลือกรับบริการ การจัดการตอนรับในการใหบริการ การบริการที่ประทับใจ และการบริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ

7. การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message) หมายถึง การกําหนดความตองการขอมูลขาวสารที่จําเปน การรวบรวมขาวสาร การดําเนินกรรมวิธีตอขาวสารที่ไดมาดวยการประเมินคาและตีความ การกระจายการใชขาวสารใหทันสมัยและทันเวลาที่ตองการใช

8. วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method) หมายถึง การเตรียมขอมูลและการวางแผนงานอยางเปนระบบดวยวิธีการที่ทันสมัย

9. การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute) หมายถึง มีแผนการใชเวลาอยางรัดกุมและชัดเจน การกํากับเวลาที่ทันสมัยในการติดตามแผนงานที่ไดวางไว

10. การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation) หมายถึง ความสัมพันธระหวางหนวยงานกับบุคลากร ความสัมพันธระหวางหนวยงานตอหนวยงาน และความสัมพันธ

Page 23: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

12

ระหวางหนวยงานตอประชาชน เชน ประสานดานนโยบายและวัตถุประสงค ประสานเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน ประสานการเงินและวัสดุอุปกรณ และประสานความขัดแยงของบุคลากร เปนตน

11. การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement) หมายถึง มีระบบการติดตามงานระหวางปฏิบัติงาน ตลอดจนการประเมินผลที่เปนจริงและทันสมัยประกอบตัวชี้วัดที่ชัดเจนใหผลเที่ยงตรง ดังสรุปไวในแผนภาพที่ 2.1

แผนภาพที่ 2.1 แสดงปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการบริหารการพัฒนา

ไดศึกษาปจจัยพื้นฐานที่มีสวนสําคัญตอการบริหารการพัฒนามีองคประกอบที่สําคัญประกอบดวย 11 ดาน ไดแก (1) การบริหารทรัพยากรมนุษย (Man) (2) การบริหารงบประมาณ (Money) (3) การบริหารงานทั่วไป (Management) (4) การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) (5) การบริหารคุณธรรม (Morality) (6) การใหบริการประชาชน (Market) (7) การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message) (8) วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method) (9) การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute) (10) การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation) (11) การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement) โดยในแตละดานมีตัวชี้วัด 5 ขอ ดังนี้

1. การบริหารทรัพยากรมนุษย (Man)1) หนวยงานบรรจุแตงตั้งและใชบุคลากรอยางเหมาะสมกับงานโดยวางตัวบุคลากร

ไดเหมาะสม

1. การบริหารทรพัยากรมนุษย (Man)

2. การบริหารงบประมาณ (Money) 3M

3. การบริหารงานทั่วไป (Management) 4M

4. การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) 5M

5. การบริหารคุณธรรมหรือจริยธรรม (Morality) 6M

6. การใหบริการประชาชน (Market) 7M

7. การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message) 8M

8. วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method) 9M

9. การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute) 10M

10. การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation) 11M

11. การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement)

Page 24: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

13

2) หนวยงานเห็นความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพบุคลากรมีการฝกอบรมเปนประจํา

3) หนวยงานเชิญบุคคลภายนอกมาชวยการพัฒนาบุคลากร4) หนวยงานเปลี่ยนหรือยืมตัวบุคลากรจากหนวยงานอื่นมาปฏิบัติหนาที่ตําแหนงที่

จําเปน5) ผูบริหารของหนวยงานทําตัวเปนแบบอยางที่ดีดานการบริหารทรัพยากรมนุษย

2. การบริหารงบประมาณ (Money)1) หนวยงานไดรับการจัดสรรงบประมาณเพียงพอแกการบริหารจัดการ2) การรายงานบริหารงบประมาณของหนวยงานถูกตองตามระเบียบ3) หนวยงานสนับสนุนใหตรวจสอบในดานงบประมาณอยางเขมงวด4) หนวยงานสนับสนุนใหหนวยงานภายนอกเขามามีสวนรวมในการตรวจสอบ

งบประมาณ5) หนวยงานใชจายงบประมาณอยางประหยัด มีประสิทธิภาพ คุมคาและเกิด

ประโยชนสูงสุด3. การบริหารงานทั่วไป (Management)

1) หนวยงานวางแผน ปฏิบัติตามแผน และประเมินผลอยางเปนระบบ2) หนวยงานมีการบังคับบัญชาอยางเปนเอกภาพ3) หนวยงานมีการแจงเวียนประกาศและคําสั่งใหผูเกี่ยวของอยางทั่วถึง4) ผูบริหารของหนวยงานมีภาวะผูนําสูง เชน กลาตัดสินใจ กลาแสดงออก5) ผูบริหารของหนวยงานมีลักษณะเปนผูนํามืออาชีพ เชน มีวิสัยทัศน มีความคิดริเริ่ม

ใชความรูในการปฏิบัติงาน 4. การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material)

1) หนวยงานมีวัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพทันสมัยมาใชปฏิบัติงาน2) หนวยงานมีวัสดุอุปกรณเพียงพอและมีประสิทธิภาพตอการปฏิบัติงาน เชน

คอมพิวเตอร 3) หนวยงานมีระบบการบํารุงรักษาวัสดุอุปกรณอยางเครงครัด4) หนวยงานมีการบํารุงรักษาและทดแทนวัสดุอุปกรณอยางมีระบบ5) ผูบริหารของหนวยงาน มีความคิดริเริ่มในการบริหารจัดการวัสดุอุปกรณที่ทันสมัย

นํามาใชในหนวยงาน เชนการนําระบบ Expire day (วันหมดอายุ)5. การบริหารคุณธรรม (Morality)

Page 25: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

14

1) หนวยงานนําหลักธรรม เชน ความซื่อสัตยสุจริตมาใชในการปฏิบัติงาน2) บุคลากรของหนวยงานมีจิตสํานึกที่ดีงามในการปฏิบัติงานดวยความรับผิดชอบ

และเอาใจใสงานอยางสม่ําเสมอ3) บุคลากรของหนวยงานมีความตั้งใจทุมเท อุทิศตน ปฏิบัติงานตามกฎ ขอบังคับ

ระเบียบ วินัย อยางเครงครัด4) บุคลากรของหนวยงานไมใชตําแหนงหรืออํานาจหนาที่แสวงหาผลประโยชนสวน

ตน หรือใหพวกพอง5) บุคลากรของหนวยงานมีความเมตตากรุณาในการปฏิบัติตามกฎ ขอบังคับ ระเบียบ

วินัย อยางเครงครัด6. การใหบริการประชาชน (Market)

1) หนวยงานมีชองทางการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเพื่อบริการใหดียิ่งขึ้น2) หนวยงานใหบริการในลักษณะที่ตอบสนองความตองการของประชาชน3) หนวยงานดําเนินงานโดยยึดหลักความรวดเร็วใหกับประชาชน4) หนวยงานคนหาขอมูลที่เที่ยงตรงและทันสมัยเพื่อนํามาใชบริการประชาชน5) หนวยงานประเมินผลความพึงพอใจของประชาชน

7. การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message)1) หนวยงานมีระบบการหาขาวสารที่มีประสิทธิภาพรวดเร็ว2) หนวยงานมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารเปนเครือขายและเปนระบบ3) หนวยงานมีระบบกลั่นกรองขอมูลขาวสารที่เชื่อถือได4) หนวยงานมีระบบการควบคุมการตรวจสอบขอมูลขาวสารอยางมีมาตรฐาน5) หนวยงานนําขอมูลขาวสารมาใชในการปฏิบัติงาน

8. วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method)1) หนวยงานมีการบริหารจัดการบนพื้นฐานของกฎหมายหรือยึดถือหลักนิติธรรม2) หนวยงานมีวิธีการระเบียบแผนหรือเทคนิคในการปฏิบัติงานอยางเปนมาตรฐาน3) หนวยงานมีการปรับปรุงวิธีการระเบียบแบบแผนหรือเทคนิคในการปฏิบัติงานอยู

ตลอดเวลา4) ผูบริหารของหนวยงานสนับสนุนใหบุคลากรนําวิธีการและเทคนิคมาใชในการ

ปฏิบัติงาน5) หนวยงานมีการฝกอบรมทําความเขาใจกับบุคลากรถึงวิธีการระเบียบแบบแผน

หรือเทคนิคอยูเปนประจํา

Page 26: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

15

9. การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute)1) ผูบริหารของหนวยงานใหความสําคัญกับการบริหารเวลาหรือกรอบเวลาในการ

ปฏิบัติงาน2) ผูบริหารของหนวยงานมีนโยบายสนับสนุนการปฏิบัติงานดวยความรวดเร็วและ

ทันเวลา3) หนวยงานมีการประเมินกรอบเวลาในปฏิบัติงานอยูสม่ําเสมอ4) หนวยงานมีการปรับปรุงกรอบเวลาในการปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ5) บุคลากรของหนวยงานใหความสําคัญกับการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการ

ปฏิบัติงานอยางสมํ่าเสมอ10. การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation)

1) หนวยงานมีการประชุมประสานงานหารือกับหนวยงานอื่นเพื่อจัดแบงหนาที่การปฏิบัติงานหนาที่ใหชัดเจนและลดความซ้ําซอน

2) หนวยงานมีการประชุมตกลงเพื่อการประสานงานอยางสม่ําเสมอ3) หนวยงานมีการประชุมหนวยงานภายในเพื่อการประนีประนอมเปนประจําทุกครั้ง

เมื่อมีกรณีเกิดขึ้น4) หนวยงานมีการประชุมกับหนวยงานภายนอกเพื่อการประสานงานระหวาง

หนวยงานเปนประจํา5) หนวยงานมีการประชุมเพื่อการประนีประนอมกับหนวยงานภายนอกเปนประจํา

ทุกครั้งเมื่อมีกรณีเกิดขึ้น11. การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement)

1) ผูบริหารของหนวยงานเห็นถึงความสําคัญและความจําเปนของการวัดผลหรือ การประเมินผลการปฏิบัติงานภายในหนวยงาน

2) ผูบริหารของหนวยงานมีนโยบายการวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและไดมาตรฐาน

3) หนวยงานมีระบบการวัดผลหรือประเมินผลที่ตรงกับความตองการของเจาหนาที่โดยสามารถจูงใจใหเกิดการปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถ

4) ผูบริหารของหนวยงานเปดโอกาสใหประชาชนหรือหนวยงานภายนอกเขามามีสวนรวมในการวัดผล

5) ผูบริหารของหนวยงานมีการควบคุมตรวจสอบการวัดผลหรือการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรอยางเครงครัด

Page 27: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

16

สรุปไดวา ทรัพยากรการบริหารเปนปจจัยสําคัญที่ผูบริหารใชบริหารจัดการทําใหองคกรบรรลุเปาหมายหรือที่เรียกวา 11 M จากการทบทวนวรรณกรรมของนักวิชาการที่ไดนําเสนอขางตน ที่ใหความหมายไวหลากหลายแตกตางกัน ในขณะที่ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2552: 21-29) ไดใหความหมายของทรัพยากรการบริหารหรือปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการบริหารจัดการที่ครอบคลุม 11 ดาน หรืออีกนัยหนึ่งทรัพยากรการบริหารเปนการนําพาและชี้แนวทางโดยกลุมบุคคลขององคกรดําเนินกิจกรรมใหเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด ซึ่งทรัพยากรการบริหารเปนกระบวนการ ที่ประกอบดวยขั้นตอนตางๆ ที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน เกี่ยวกับนักบริหารทุกระดับและทุกองคกรที่จะตองดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกรโดยไมไดจํากัดอยูแคคําเรียกที่ตองระบุชัดโดยการพิจารณาที่ลักษณะของความสัมพันธดังกลาว

สาวดี รักษศิริ (2558) ไดกลาวไววา การประสานงาน หมายถึง การจัดใหคนในองคกรทํางานสัมพันธสอดคลองกันโดยจะตองตระหนักถึงความรับผิดชอบ วัตถุประสงค เปาหมาย และมาตรฐานการปฏิบัติขององคกรเปนหลัก ตองมีการจัดระเบียบ วิธีการทํางานเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกันเพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันในการรวมมือปฏิบัติงานใหสอดคลองทั้งเวลา และกิจกรรมที่ตองกระทําใหบรรลุวัตถุประสงค โดยไมทําใหเกิดความสับสน ขัดแยงหรือเลื่อมล้ํากันทั้งนี้เพื่อใหงานดําเนินไปอยางราบรื่น ทําใหไดมาซึ่งงานอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

2.2 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานประสิทธิผลในการปฏิบัติงานนั้น คือ ผลสําเร็จอันเปนผลเนื่องมาจากการปฏิบัติงาน

ตามโครงการ หรือแผนงานนั้นตามวัตถุประสงคขององคการที่ไดตั้งไว หรือไดคาดหวังไว โดยหากนํามาศึกษาแลวจะพบวาประสิทธิผลนั้น หมายถึง ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นแลวตัวเราคิดหรือวางแผนที่จะประกอบกิจการใดแลวสามารถทํากิจการนั้นใหสําเร็จไดตามที่คิดหรือวางไว เรียกวา การทํางานนั้นมีประสิทธิภาพ แนวความคิดสมัยใหมในการจัดกิจการงานจะเริ่มตนที่การตั้งจุดสําเร็จของงาน นั่นคือ ในการวางแผนงานนั้น ณ จุดเริ่มตนของงานจะมีการตั้งเปาหมายหรือวัตถุประสงคกันวาผลสําเร็จที่เราตองการนั้นคืออะไร ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง การที่ดําเนินโครงการหรืองานอยางหนึ่ง อยางใดแลวและปรากฏวาผลเกิดขึ้น (Outcomes) หรือผลผลิตที่เกิดขึ้น (Output) ณ ระดับหนึ่งระดับใดที่เปนเปาหมายหรือวัตถุประสงคที่กําหนดไวมีการใชทรัพยากร (Resources) หรือปจจัยนําเขา (Inputs) มากนอยเพียงใด ถาใชทรัพยากรหรือปจจัยนําเขามาดําเนินการในโครงการหรืองานใดนอยที่สุด และผลที่เกิดขึ้นสอดคลองกับวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่กําหนดไว การดําเนินโครงการนั้นจะมีประสิทธิผลสูงสุด (ทั้งนี้โดยการเปรียบเทียบโครงการแตละโครงการที่สามารถดําเนินการแลวบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่กําหนดไดเหมือนกัน) ในทาง

Page 28: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

17

ตรงกันขามโครงการใดแมวาจะสามารถดําเนินการบรรลุวัตถุประสงค หรือเปาหมายที่กําหนดไวเหมือนกันก็ตามแตใชทรัพยากรหรือปจจัยนําเขามากกวาโครงการอื่นๆ โครงการนั้นก็จะไมใชโครงการที่มีประสิทธิผลสูงสุด (จินดาลักษณ วัฒนสินธุ , 2551) นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการไดใหความหมายของประสิทธิผลไวหลายทาน เพื่อใหเกิดความเขาใจอยางถูกตองผูวิจัยขอนําเสนอตามลําดับ ดังน้ี

2.2.1 ความหมายของประสิทธิผลในการปฏิบัติงานวิทยา ดานธํารงกูล ( 2546: 27) ไดใหความหมายของประสิทธิผลในการปฏิบัติงานวา

เปนความสามารถของบุคลากรในการเลือกเปาหมายที่ เหมาะสมและบรรลุเปาหมายนั้นๆ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานจึงวัดกันที่วาบุคคลจะสามารถตอบสนอง ตามเปาหมายขององคการไดหรือไมและสามารถบรรลุในสิ่งที่พยายามจะทํามากนอยเพียงใด

เฟดเลอร (1967: 11 อางถึงในชมพูนุช วรรณคนาพล, 2545: 32) กลาวไววา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการปฏิบัติงานรวมกันเพื่อบรรลุเปาหมายของงานที่วางไว ซึ่งรวมถึงพฤติกรรมการวางตนในการปฏิบัติงานและบรรยากาศการปฏิบัติงานในกลุมนี้ที่เอื้อตอการบรรลุเปาหมาย

ดรัคเคอร (1964: 5 อางถึงใน มะลิวรรณ ตัณติสันติส, 2542: 26) ไดใหความหมายของประสิทธิผลวา เปนการทําสิ่งตางๆใหถูกตอง กลาวคือ ความสามารถในการเลือกวัตถุประสงคไดอยางเหมาะสม

ธงชัย สันติวงษ (2537: 22) กลาววา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน เปนการทํางานที่ไดผลโดยสามารถบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตองการ การวัดผลที่ทําไดเทียบกับเปาหมาย หากสามารถทําไดตามเปาหมายที่ตั้งไวก็แสดงวาการทํางานมีประสิทธิผลสูง

สมพงษ เกษมสิน (2521: 31) กลาววา ประสิทธิผล หมายถึง การพิจารณาผลของการทํางานที่สําเร็จลุลวงดังวัตถุประสงคหรือที่คาดหวังไวเปนหลัก และความสําเร็จอยางมีประสิทธิผลนี้อาจเกิดจากการปฏิบัติงานที่ประหยัด หรือมีประสิทธิภาพก็ได เพราะประสิทธิภาพเปนเรื่องของการทํางานใหไดผลสูงสุด สวนประสิทธิผลเปนเรื่องของการนําเอาผลงานที่สําเร็จดังที่คาดหวังไวมาพิจารณา

สรุปไดวา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน หมายถึง ความสามารถของบุคคลโดยการใชประโยชนจากทรัพยากรและหนทางที่มีใหองคกร ใหบรรลุเปาหมายและพัฒนาใหองคกรอยูรอดไดในสภาวะที่เกิดความวิกฤตที่มากระทบ ประสิทธิ์ผลจึงเปนเรื่องความสําเร็จของบุคลากรในการกระทําสิ่งตางๆตามที่ไดตั้งเปาหมายเอาไว

Page 29: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

18

2.2.2 ความสําคัญของประสิทธิผลในการปฏิบัติงานบุญเลิศ ไพรินทร (2548: 446 – 460) การพัฒนาองคกรตองมุงเนนที่การสรางทีมงาน

และบุคลากรใหมีประสิทธิผล โดยเบลค เมาทัน เชปปารด โฮโรวิทย และแมกเกรเกอร ไดกลาวถึงความสําคัญของประสิทธิผลในการปฏิบัติงานตอการพัฒนาองคกร ดังนี้

1. ความสําเร็จขององคกรประเภทตางๆทุกประเภทในโลกปจจุบันมีผลสืบเนื่องจากประสิทธิผลของทีมงานและบุคลากรขององคกรนั้น

2. วัฒนธรรมของทีมงานและบุคลากรมีอิทธิพลอยางสูงตอพฤติกรรมของปจเจกชน3. การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม กระบวนการ วิธีการทํางานของกลุมตลอดจน

ความสัมพันธภายในทีมงานและระหวางกลุมทีมงานจะเปนวิธีการเพิ่มประสิทธิผลขององคกรอยางถาวร

ธงชัย สันติวงษ (2537) การบริหารองคกรจะประสบความสําเร็จหรือไมเพียงใด องคกรจะอยูรอดและมีความมั่นคงเพียงใดยอมขึ้นอยูกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน ดังนั้นประสิทธิผลในการปฏิบัติงานมีความสําคัญตอองคกรดังนี้

1. ชวยตรวจสอบวัตถุประสงคของการจัดตั้งองคกร ซึ่งการจัดตั้งองคกรยอมกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายไวอยางชัดเจน

2. การประเมินผลงานตามแผนงานที่กําหนด ซึ่งการดําเนินงานในแตละกิจกรรมยอมจะตองมีการวางแผน กําหนดหนาที่และความรับผิดชอบ การจัดสรรทรัพยากร การใชอํานาจหนาที่ในการบริหารการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพที่ตามมา

3. ประเมินผลสําเร็จโดยเทียบกับวัตถุประสงค โดยการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานที่ไดกับวัตถุประสงคที่คาดหวังไว หากบรรลุผลตามวัตถุประสงคและความคาดหวังขององคกรแสดงวาองคกรมีประสิทธิผล ซึ่งประสิทธิผลสามารถแบงออกเปน 2 ระดับ ดังนี้

1) ประสิทธิผลระดับบุคคล คือลักษณะของบุคคลที่มีความสามารถปฏิบัติงานหรือกิจกรรมใดๆแลวประสบผลสําเร็จ ซึ่งทําใหเกิดผล ครบถวนตามวัตถุประสงค ผลที่เกิดขึ้นมีลักษณะคุณภาพ เชนความถูกตอง ความมีคุณคาเหมาะสมกับงาน ตรงกับความคาดหวังและความตองการของหมูคณะ สังคมและผูที่จะนําผลที่ไดรับไปปฏิบัติอยางมีประสิทธิผล

2) ประสิทธิผลขององคกร คือการเนนไปที่ผลรวมขององคกร ซึ่งกิ๊บสันและคณะ อธิบายถึงเกณฑของความมีประสิทธิผลโดยมีตัวบงชี้ 5 ตัว คือ การผลิต ประสิทธิผล ความพึงพอใจ การปรับเปลี่ยนและการพัฒนา

สรุปไดวา กลุมหรือทีมงานเปนองคประกอบยอยขององคกร หากองคประกอบยอยขององคกรมีประสิทธิผล ยอมทําใหภาพรวมขององคกรมีความสําเร็จตามวัตถุประสงคอยางสูงสุด อาจ

Page 30: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

19

กลาวไดวาการพัฒนาองคกรจึงควรมุงเนนหาเทคนิคและวิธีการเขามาสอดแทรกในการพัฒนาบุคคลหรือทีมงาน

2.2.3 องคประกอบของประสิทธิผลในการปฏิบัติงานศรีธนา บุญญเศรษฐ (2551)ไดกลาววา ผลการปฏิบัติงานขององคกรจะเปนอยางไร

สอดคลองกับเกณฑมาตรฐานการปฏิบัติงานหรือไม หรือบรรลุวัตถุประสงคขององคกรมากนอยเพียงใด เปนเรื่องที่แตละองคกรใหความสนใจอยางมาก เนื่องจากเกี่ยวของกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานและการดําเนินงานขององคกร การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อใหไดคําตอบดังกลาว จึงนับเปนองคประกอบสําคัญอยางหนึ่งที่ผูบริหารจะตองเลือกดําเนินการอยางเหมาะสม

ประภาวดี ประจักษศุภนิติ (2530: 72) กลาววา ตัวบุคลากรในหนวยงานนั้นๆ มีสวนสัมพันธกับความสําเร็จและความมีประสิทธิภาพของหนวยงานหรือองคกรเปนอยางมาก โดยเฉพาะในสวนของความรูความสามารถ และทักษะในการปฏิบัติงาน และในสวนที่เกี่ยวกับปริมาณของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน กรณีนี้หากพิจารณาในเชิงเศรษฐศาสตรกําลังคน จะพบวา ความตองการกําลังคนที่มีความรูความสามารถตรงกับความประสงคของหนวยงานมีจํานวนไมไดสัดสวนกัน ดังนั้น ถาองคกรมีคนไมตรงตามจํานวนที่ตองการ ไมสามารถใชงานไดหรือใชประโยชนอยางเต็มที่และสูงสุดแลว หนวยงานนั้นยอมประสบปญหาในการปฏิบัติงาน

Miltion (อางถึงใน นงลักษณ เรือนทอง, 2550)ไดเสนอองคประกอบของประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน เพื่อการบริหารองคกรที่มีประสิทธิภาพไว 3 ประเภทใหญๆ คือ

1. ลักษณะเฉพาะบุคลากร (Individual Characteristics) ซึ่งประกอบดวย ความสนใจเจตคติ ความสามารถในการปฏิบัติงาน ความตองการ ทักษะความชํานาญ

2. ลักษณะของงาน (Characteristics of the job) ประกอบดวย ความหลากหลายของงานขอมูลยอนกลับรางวัลความชัดเจนของบทบาท

3. ลักษณะสิ่งแวดลอมของงาน (Characteristics of work environment) ประกอบดวยสิ่งแวดลอมปจจุบันและบรรยากาศองคกร

Gibson (2000: 55) ไดใหความหมายของคําวาประสิทธิผล (Effectiveness) วามาจากคําวา Effect ที่ใชในบริบทของความสัมพันธระหวางเหตุและผล (Cause and Effect) โดยอธิบายถึงประสิทธิผลวามี 3 ระดับ ไดแก ระดับบุคคล ระดับกลุม และระดับองคกร ซึ่งในแตละระดับของประสิทธิผลจะมีปจจัยที่เปนเหตุผลแตกตางกันดังน้ี

1. ประสิทธิผลระดับบุคคล (Individual Effectiveness) เปนการเนนผลการปฏิบัติงานเฉพาะบุคคลหรือสมาชิกในองคกรที่ทํางานตามหนาที่และตําแหนงในองคกร ซึ่งโดยทั่วไป

Page 31: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

20

ผูบังคับบัญชาประเมินประสิทธิผลระดับบุคคล โดยใชกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อพิจารณาการขึ้นคาตอบแทนหรือการใหรางวัลตอบแทนเปนปจจัยที่เปนเหตุใหเกิดประสิทธิผลระดับบุคคลอันไดแก ความสามารถ (Ability) ทักษะ (Skills) ความรู (Knowledge) เจตคติ (Attitude) แรงจูงใจ (Motivation) และความเครียด (Stress)

2. ประสิทธิผลระดับกลุม (Group Effectiveness) เปนภาพรวมของกลุมบุคคลที่เปนสมาชิกในองคกรที่ทํางานตามหนาที่และตําแหนงในองคกรเปนปจจัยที่เปนเหตุใหเกิดประสิทธิผลระดับกลุมอันไดแกความสามัคคี (Cohesiveness) ภาวะผูนํา (Leadership)โครงสราง (Structure) สถานภาพ (Status) บทบาท (Roles) และบรรทัดฐาน (Norms)

3. ประสิทธิผลระดับองคกร (Organizational Effectiveness) คือภาพรวมของประสิทธิผลระดับบุคคลและระดับกลุม เปนปจจัยที่ เปนเหตุใหเกิดประสิทธิผลระดับองคกรอันไดแกสภาพแวดลอม (Environment) เทคโนโลยี (Technology) กลยุทธ (Strategy Choices) โครงสราง (Structure) กระบวนการตางๆ (Process) และวัฒนธรรม (Culture) โดยที่ประสิทธิผลองคกรทั้ง 3 ระดับมีความสัมพันธกันซึ่งประสิทธิผลองคกรขึ้นอยูกับประสิทธิผลของบุคคลและกลุมนั้นเอง นอกจากนี้ยังขึ้นอยูกับปจจัยอื่นอีกหลายประการ เชน ชนิดขององคกรงานที่องคกรทําและเทคโนโลยีที่ใชในการทํางานขององคกร

สรุปไดวา การประเมินประสิทธิผลภายในองคกรจะตองประเมินจากประสิทธิผลระดับบุคคลซึ่งจะเนนผลการปฏิบัติงานเฉพาะบุคคลหรือสมาชิกที่ทํางานตามหนาที่และตําแหนงในองคกรแก ความสามารถ ทักษะ ความรู เจตคติ แรงจูงใจ และความเครียด ประสิทธิผลระดับกลุมเปนภาพรวมของกลุมบุคคลที่ เปนสมาชิกในองคกรที่ทํางานตามหนาที่และตําแหนงในองคกรไดแก ความสามัคคี ภาวะผูนํา โครงสราง สถานภาพ บทบาท และบรรทัดฐาน และประสิทธิผลระดับองคกรไดแก ภาวะผูนํา สภาพแวดลอมเทคโนโลยี กลยุทธ โครงสรางวัฒนธรรม กระบวนการบริหารซึ่งประสิทธิผลองคกรทั้ง 3 ระดับมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน

2.2.4 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานผูศึกษาวิจัยไดทําการทบทวนวรรณกรรม ผลงาน แนวคิดที่เกี่ยวของกับประสิทธิผลใน

การปฏิบัติงาน และสามารถสรุปไดเปนตัวแปรที่เกี่ยวของได 3 ปจจัย ดังนี้1. ลักษณะของงาน

ลักษณะของงานตามแนวคิดของ รังสรรค ประเสริฐศรี (2548: 125) ไดกลาวถึงความจริงที่เกิดขึ้นในองคกร 2 ประการคือ (1) งานตางๆ จะมีลักษณะที่แตกตางกัน (2) งานบางอยางเปนที่นาสนใจมากกวางานอีกอยางหนึ่ง จากความจริงที่กลาวมานี้ ทําใหมีการกําหนดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับลักษณะของงาน โดยการศึกษาคุณสมบัติของงานที่สําคัญ ตลอดจนศึกษาถึงความสัมพันธ

Page 32: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

21

ระหวางลักษณะของงานกับการจูงใจในการทํางาน ความพึงพอใจในการทํางานและผลการปฏิบัติงานของพนักงานอีกดวย ซึ่งลักษณะของงาน (Task Characteristic Theory) สามารถแบงเปนทฤษฎียอยที่สําคัญได 3 ทฤษฎี ดังตอไปนี้

1) ทฤษฎีการกําหนดลักษณะงานที่จําเปน (Requistic task attributes theory)Lawrence and others (1967) เปนกลุมแรกที่บุกเบิกเรื่องการศึกษาลักษณะของงาน

โดยศึกษาจากงานในหลายประเภทวาลักษณะของงานเหลานั้นมีผลกระบทตอการขาดงานหรือความพึงพอใจในการทํางานอยางไร และไดคาดการณวาพนักงานมีความพึงพอใจในการทํางานมากกวาหรือมีการขาดงานนอยกวา ถาหากวางานนั้นๆ เปนงานที่ทาทายหรือเปนงานที่มีความซับซอนมี ประกอบดวย (1) ความหลากหลาย (2) ความมีอิสระ (3) ความรับผิดชอบ (4) ความรูและความชํานาญ (5) ตองการความสัมพันธระหวางกัน (6) ตองการความสัมพันธทางสังคมที่เปนทางเลือก จากการศึกษาสามารถคาดเดาการขาดงานของพนักงานได พนักงานทํางานที่ทาทายมีความสลับซับซอนสูง มีแนวโนมจะมาทํางานมากกวาพนักงานทํางานที่มีความสลับซับซอนนอย

ทฤษฎีของ Lawrence and others มีความสําคัญหลายประการ คือเปนการแสดงใหเห็นวาพนักงานมีการตอบสนองที่แตกตางกันในงานที่มีลักษณะตางกัน เปนการกําหนดคุณลักษณะของงานที่สําคัญเพื่อที่จะทําใหงานนั้นๆ สําเร็จและเปนการแสดงใหเห็นถึงความจําเปนในการพิจารณาความแตกตางกันของบุคคลที่มีตอการทํางาน

2) โมเดลลักษณะของงาน (Job Characteristics Model) โมเดลลักษณะของงานมาประกอบดวย ความหลากหลายในทักษะ การระบุงาน

และความสําคัญของงานมารวมกันจะทําใหงานตางๆมีความสําคัญมากขึ้น การใหอิสระในการทํางานแกพนักงาน จะทําใหพนักงานมีความรับผิดชอบในการทํางานของตนเองมากยิ่งขึ้น และยิ่งถามีการใหขอมูลการปอนกลับจากการทํางานใหกับพนักงาน จะทําใหพนักงานไดทราบถึงประสิทธิผลในการทํางานของตนเอง แรงจูงใจจะเกิดขึ้นเมื่อพนักงานไดมีสวนรวมในการเรียนรู หรือรับผิดชอบในงานของตนเอง ผลการดําเนินงานจะออกมาในแงที่ดี ซึ่งโมเดลลักษณะของงานไดพัฒนากันมาอยางตอเนื่องโดยลักษณะของงาน ประกอบดวย 5 ลักษณะ ดังนี้ (Schermerhorn, Hunt and Osborn, 2003: 156)

2.1 ความหลากหลายในทักษะ หมายถึง ลักษณะของงานที่มีความหลากหลายจะชวยใหพนักงานสามารถใชความรูความชํานาญที่แตกตางกันในการทํางานเหลานั้น

2.2 การระบุงาน หมายถึง การใหพนักงานทํางานตั้งแตตนจนจบ โดยมีผลผลิตที่ปรากฏชัดเจน

Page 33: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

22

2.3 ความสําคัญของงาน หมายถึง พนักงานไดตระหนักถึงความสําคัญของงานวามีผลกระทบกับงานของคนอื่นๆ ตลอดจนองคกรและสังคม

2.4 ความมีอิสระ หมายถึง การใหอิสระแกพนักงานในการกําหนดวิธีการทํางาน การวางแผนการทํางาน การจัดตารางการทํางาน การปฏิบัติเพื่อใหงานนั้นสําเร็จ ตลอดจนการตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการที่ใชในการแกไขปญหาในการทํางาน

2.5 การปอนกลับจากการทํางาน หมายถึงการใหขอมูลยอนกลับ ซึ่งเปนผลลัพธจากการปฏิบัติงานของพนักงาน

3) กระบวนการขอมูลที่ไดจากสังคม (Social Information Processing) โดยที่ Gerald salancik and Jeffrey pfeffer (1978: 118) ไดพัฒนาทฤษฎีกระบวนการขอมูลที่ไดจากสังคมวาการที่พนักงานมีทัศนคติ หรือพฤติกรรมอยางไรนั้น จะขึ้นอยูกับกลุมคนที่พนักงานเหลานั้นเกี่ยวของดวย ไมวาจะเปนครอบครัว เพื่อน เพื่อนรวมงาน ผูบังคับบัญชา หรือแมแตลูกคา ถาพนักงานไดรับขอมูลตางๆ จากผูบังคับบัญชา จากเพื่อนรวมงานในทางไมดี แรงจูงใจที่พนังงานมีจะลดลง

จากทฤษฎีคุณลักษณะของงานสามารถสรุปไดวา ลักษณะของงานสงผลตอพฤติกรรมการทํางานของพนักงาน ซึ่งพนักงานจะมีการตอบสนองตอลักษณะงานที่แตกตางกัน ทําใหเกิดผลหรือประสิทธิผลในการทํางานที่แตกตางกันดวย

2. ความกาวหนาในการทํางานการจัดการองคกรในยุคแหงสังคมที่ยึดความรูเปนหลัก เรื่อง การวางแผนและการ

บริหารจัดการในการทํางานนับเปนสิ่งที่สําคัญและจําเปนมากเพราะสถานการณการจัดการองคกรมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่เกิดการแขงขันกันสูงมากขึ้นและตลอดเวลามีการนําเทคโนโลยีมาใชในองคกรมากขึ้น ทําใหองคกรมีความตองการหรือเลือกเฟนบุคลากรที่มีคุณสมบัติเปนเลิศหรือโดดเดนและมีทั้งความรู ความสามารถและทักษะการทํางานที่หลากหลาย ความตองการเหลานี้สงผลกระทบทําใหบุคลากรในยุคปจจุบันตองมีความสนใจในเรื่องความกาวหนาในการทํางานมากยิ่งขึ้นมีความมุงมั่นที่จะตองพัฒนาตนเองใหมีศักยภาพเปนที่ตองการความสนับสนุนและพัฒนาอาชีพจากองคกรเชนกัน อาชีพเปนทักษะที่เกิดจากการเรียนรู และสภาพการบังคับของสังคมทําให บุคคลเลือกอาชีพและมีการประกอบอาชีพเมื่อถึงทํางาน

การพัฒนาความกาวหนาในการทํางาน ถือวาเปนสวนหนึ่งของการบริหารทรัพยากรมนุษย (Human Resource Management : HRM)คือ การดําเนินกิจกรรมตางๆขององคกรทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเพื่อเพิ่มพูนความรู (knowledge)ทักษะ (skill) และปรับทัศนคติ (attitude) ของบุคลากรเพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิผล ตามแนวคิดของ Jerry W. Gilley, Steven

Page 34: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

23

A. Eggland and annMaycunich Gilley (1989) ไดนําเสนอหลักการในการพิจารณาองคประกอบของ HRD เปนกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษยเกี่ยวกับการพัฒนาเสนทางอาชีพหรือสายความกาวหนาในการทํางาน ดังตอไปนี้

1. การพัฒนารายบุคคล (Individual Development) เปนงานที่มุงเนนในสวนบุคคลและเกิดผลลัพธในระยะสั้น ซึ่งหมายถึงการพัฒนาความรู ทักษะ และปรับพฤติกรรมการทํางานของบุคลากรแตละคนในองคกรเพื่อใหสามารถทํางานปจจุบันที่ตนรับผิดชอบได ซึ่งสวนนี้เรียกวาการฝกอบรม

2. การพัฒนาอาชีพ (Career Development) เปนงานที่มุงเนนสวนบุคคลและเกิดผลลัพธในระยะยาว ซึ่งหมายถึงการวิเคราะหความจําเปนรายบุคคลในสวนของ ความสนใจ คานิยม ความสามารถ เพื่อที่จะนําไปวางแผนพัฒนาใหมีความรู ทักษะเพื่องานในอนาคต ซึ่งสวนนี้มักเรียกวา การพัฒนาบุคคล (Human Development)

3. การบริหารผลปฏิบัติงาน (Performance Management) เปนงานที่มุงเนนภาพรวมของทั้งองคกรและเกิดผลในระยะสั้นซึ่งหมายถึงการปรับปรุงผลงานขององคกร โดยมีเปาหมายเพื่อประกันหรือรับรองวาบุคลากรจะตองมีความรู ทักษะมีแรงจูงใจ และมีสภาพแวดลอมที่ดีในการสนับสนุนใหบุคลากรสรางผลงานไดอยางเกิดผลสัมฤทธิ์

4. การพัฒนาองคกร (Organization) เปนงานที่มุงเนนภาพรวมองคกร และเกิดผลในระยะยาว ซึ่งหมายถึงการแกไขปญหาขององคกร การปรับปรุงหรือวางระบบโครงสรางองคกร วัฒนธรรมองคกร การกําหนดกลยุทธ กระบวนการบริหารงาน และภาวะผูนํา

การพัฒนาเสนทางอาชีพหรือสายความกาวหนาในการทํางานได เนนไปที่ความกาวหนาในการทํางานของพนักงาน ซึ่งการฝกอบรมและการพัฒนาเปนระบบที่ผลักดันหรือสนับสนุนใหพนักงานมีศักยภาพและความสามารถพรอมที่จะกาวหนาในสายอาชีพที่กําหนดขึ้น อยางไรก็ตามพนักงานในองคกรตางๆ ตองเปลี่ยนงานนั้น หากเปนพนักงานในตําแหนงที่ไมสําคัญ ก็จะไมเกิดปญหาตอองคกรเทาใดนัก แตถาเปนพนักงานในตําแหนงสําคัญแลว การลาออกยอมจะเกิดผลกระทบตอองคกรขึ้นได ดังนั้น การพัฒนาเสนทางอาชีพหรือสายความกาวหนาในงาน จึงเกิดขึ้นเนื่องจากมองเห็นวาทรัพยากรบุคคลเปนทรัพยากรที่สําคัญ และมีคาที่สุดในองคกรนับตั้งแตพนักงานคนนั้นๆ ไดเริ่มเขามาทํางานกับองคกร ซึ่งเปรียบเสมือนเด็กที่เพิ่งเกิด ถาเราใหความดูแลเอาใจใสวางสายทางเดินที่ถูกตองสําหรับเด็กแลว ในวันหนึ่งขางหนาเมื่อเด็กคนนั้นเติบโตขึ้นเปนผูใหญ เขาจะเปนผูใหญที่มีคุณภาพและคุณคากับองคกรอยางมาก

การพัฒนาความกาวหนาในการทํางานนั้น อาจกลาวไดวาเปนแนวความคิดที่จะพัฒนาพนักงานในองคกรใหทํางานอยางมีประสิทธิผลมากที่สุด โดยจับจุดจากความตองการโอกาส

Page 35: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

24

กาวหนาของบุคคลทุกคนในองคกร ซึ่งการพัฒนานี้เปนสิ่งจําเปน และมีคุณคาทั้งกับตัวพนักงานและองคกร ในขณะเดียวกันพนักงานที่ไมไดทําคุณประโยชนใดๆ ใหกับองคกร ก็อาจจะตองพนจากหนาที่ไป ซึ่งหากเปนระบบเดิมนั้นผูบริหารอาจจะไมไดรับขอมูลดังกลาว ดังนั้นการพัฒนาเสนทางอาชีพหรือสายความกาวหนาในงาน จึงจะกอใหเกิดประโยชนกับทั้งพนักงานและองคกรซึ่งประโยชนการพัฒนาความกาวหนาในการทํางานที่นํามาใชในองคกร มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (ธํารงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์, 2547: 154)

1) ทําใหองคกรเดินไปสูความสําเร็จโดยมีวัตถุประสงครวมกันระหวางตัวพนักงานและองคกร

2) ทําใหพนักงานมีความกระตือรือรนในการพัฒนาตัวเองในการทํางาน เพื่อเปนที่ยอมรับขององคกร เพื่อความสําเร็จในหนาที่การงานของตน

3) ทําใหพนักงานมีขวัญและกําลังใจในการทํางาน4) เปนการลดอัตราการลาออกของพนักงานไดทางหนึ่ง5) สามารถพิจารณาความดีความชอบของพนักงานแตละคนไดใกลเคียงกับความจริง

มากยิ่งขึ้น6) สามารถจัดใหพนักงานไดทํางานที่ตรงกับความถนัด, ความรูความสามารถของคน

ซึ่งจะเปนประโยชนโดยตรงตอองคกรสรุปไดวา การพัฒนาความกาวหนาในงานมีสวนสําคัญอยางยิ่งในการพัฒนาพนักงาน

ใหทํางานกับองคกรอยางมีประสิทธิผล และเปนสวนเสริมอยางสําคัญในการที่จะผลักดันองคกรใหเจริญเติบโตกาวหนาไปดวยทรัพยากรบุคคลที่ถูกใชอยางถูก ความกาวหนาในการทํางานจะสงผลการพัฒนาความสามารถในการแขงขันขององคกรไดอยางมีประสิทธิผล กลาวคือการพัฒนาความสามารถทั้งในระดับบุคคล และภาพรวมองคกรเพื่อสรางความไดเปรียบทางการแขงขันไดอยางยั่งยืนขององคกรตอไป

3. ความสัมพันธกับเพื่อนรวมงานความสําคัญของสัมพันธที่ดีกับเพื่อนรวมงาน กอใหเกิดความเขาใจอันดีและความเต็ม

ใจที่จะใหความรวมมือซึ่งกันและกัน เพื่อนําไปสูการอยูรวมกันอยางมีความสุขและสามารถรวมมือกันดําเนินงานของสวนรวมใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี (Davis, 1972: 203) ซึ่งความสัมพันธที่ดีกับเพื่อนรวมงานมีเปาหมายที่สําคัญอยู 3 ประการ คือ (1) เพื่อใหเกิดความรวมมือรวมใจกันในการทํางาน (2) เพื่อใหคนไดรับความพอใจในงานที่ตนทําอยู (3) เพื่อใหคนทํางานอยางมีประสิทธิภาพ เมื่อเปาหมายเหลานี้บรรลุผลสําเร็จ ยอมทําใหการกระทําของกลุมจะประสบความสําเร็จอยางสมบูรณ นั่นก็คือ คนจะทํางานรวมกันโดยมีวัตถุประสงคและแรงจูงใจรวมกัน ดังนั้นจึงอาจกลาว

Page 36: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

25

ไดวาความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน เปนพัฒนาการของการเชื่อมโยงวัตถุประสงคและแรงจูงใจของคนในกลุมเขาดวยกัน ดังนั้นองคประกอบของมนุษยสัมพันธเพื่อสรางความสัมพันธระหวางเพื่อนรวมงานในองคกรแบงเปน 3 ประการ คือ (พรรณทิพย ศิริวรรณบุศย, 2550: 101)

1. การเขาใจตนเอง เปนลักษณะการรูจักตนเองอยางแทจริงวาตนเองเปนใคร มีความรูความสามารถ ทักษะ ประสบการณแคไหนระดับใด มีจุดแข็งคือความเกง และจุดออนคือความไมเกงในดานใดบางเรื่องใดบาง การเขาใจตนเอง ทําใหบุคคลเกิดการรูสึกยอมรับในคุณคาแหงตน นับถือตนเอง และรูจักเขาใจสิทธิ เสรีภาพ หนาที่ ความรับผิดชอบของตนเอง สิ่งสําคัญในการเขาใจตนเองจะชวยใหเรารูจักปรับตัวเขากับบุคคลอื่นไดดีมาก

2. การเขาใจบุคคลอื่น เปนการเรียนรูธรรมชาติของคน ความแตกตางระหวางบุคคลความตองการของบุคคล แรงจูงใจของบุคคล สภาพสิ่งแวดลอมทําใหเกิดประโยชน ในการนําไปใชติดตอสัมพันธกับบุคคลอื่นไดนานัปการ เมื่อเราตองการไปติดตอสัมพันธกับบุคคลใด เราตองทราบกอนวาบุคคลนั้นชื่อใดเปนใคร มีความรู ความสามารถ ทักษะ ประสบการณทางดานใด อยูในระดับใด ชอบสิ่งใด ไมชอบสิ่งใด โปรดปรานในสิ่งใดเปนพิเศษ มีคุณลักษณะที่เดนทางดานใดบางเมื่อเรานําเอาบุคคลอื่น ที่เราตองการติดตอ สัมพันธ มาพิจารณาดูวา เรามีความเขาใจในตัวเขาอยางไร เรายอมรับในตัวเขาไดแคไหนเพื่อจัดระดับคุณคาและความสําคัญของบุคคลที่เราจะตองมีการติดตอสัมพันธรวมทั้งการที่เรารูจักปรับตัว ใหเขากับบุคคลอื่นไดในการติดตอสัมพันธกัน

3. การเขาใจสิ่งแวดลอม เปนการเรียนรูธรรมชาติของสิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวเราและบุคคลอื่นซึ่งมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตประจําวัน และมีสวนสัมพันธกับสัมพันธภาพไดแก สภาพการณเหตุการณ สถานการณที่เกิดขึ้นในปจจุบัน และในอนาคต ลวนแตมีอิทธิพลมาจากสิ่งแวดลอมทั้งสิ้นไดแก สถาบันครอบครัว สถาบันที่เปนองคกร สถาบันการศึกษา หนวยงาน บริษัท หางราน โรงงาน รัฐบาล ศาสนา องคกรระหวางประเทศ ความรูจากการเขาใจสิ่งแวดลอมสามารถนํามาปรับใชกับตัวเรา ในการเสริมสรางสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นไดดีมากขึ้น

ประโยชนของมนุษยสัมพันธกับเพื่อนรวมงานจะเปนประโยชนในการทํางานและการอยูรวมกันเปนสังคม เพราะชวยใหมนุษยเรียนรู ที่จะยอมรับ ความคิดเห็นของผูอื่น และปรับตัวปรับใจ ใหรวมสังคม และรวมกิจกรรมกันอยางสันติสุข ซึ่งจะกอใหเกิดประโยชนตอตนเองและสวนรวม ซึ่งจะเปนแรงขับเคลื่อนใหการดําเนินงานขององคกรประสบผลสําเร็จ ปราศจากขอขัดแยงและสรางสรรคสังคมงานตางๆจะประสบความสําเร็จและบรรลุตามเปาหมายขององคกร เนื่องจากทุกคนในองคกรเคารพการแสดงความคิดเห็นและพฤติกรรมการแสดงออกของแตละบุคคล ยอมนําไปสูความรวมมือและการประสานงานที่ดี

Page 37: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

26

สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2552: 2) ไดสรุปปจจัยที่เปนตัวกําหนดประสิทธิผลในการปฏิบัติงานมีดังนี้

1. ความถูกตองในการทํางาน ความถูกตองในการทํางาน หมายถึง ความพยายามที่จะปฏิบัติงานใหถูกตองครบถวน

ตลอดจนลดขอบกพรองที่อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งพยายามใหเกิดความชัดเจนขึ้นในบทบาทหนาที่ กฎหมาย ระเบียบการขอบังคับขั้นตอนปฏิบัติตางๆ ซึ่งมีหลักและวิธีปฏิบัติเพื่อเกิดความถูกตองในการทํางาน ดังนี้

1.1 ทํางานใหถูกตองและชัดเจน รักษาระเบียบ1) ตั้งใจทํางานใหถูกตอง สะอาดเรียบรอย

2) ดูแลใหเกิดความเปนระเบียบเรียบรอยในสภาพแวดลอมตามหลัก 5ส. 3) ปฏิบัติตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน กฎ ระเบียบที่วางไว

1.2 ตรวจทานความถูกตองของงานที่ตนรับผิดชอบ 1) ตรวจทานความถูกตองของงานอยางละเอียดรอบคอบเพื่อใหงานมีคุณภาพดี

2) ตองการทราบมาตรฐานของผลงานในรายละเอียดเพื่อจะไดปฏิบัติไดถูกตอง3) ตระหนักถึงผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้นกับตนเองหรือหนวยงาน จากความ

ผิดพลาดในการปฏิบัติงานของตน1.3 ดูแลความถูกตองของงานทั้งของตนและของผูอื่น

1) ตรวจสอบความถูกตองโดยรวมของงานของตนเอง2) ตรวจสอบความถูกตองโดยรวมของงานผูอื่นโดยอิงมาตรฐานการปฏิบัติงาน

หรือกฎหมาย ขอบังคับ กฎระเบียบที่เกี่ยวของกัน1.4 ตรวจสอบขั้นตอนการปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบวาผูอื่นปฏิบัติตามขั้นตอนการทํางานที่วางไวหรือไม2) ใหความเห็นและชี้แนะใหผูอื่นปฏิบัติตามขั้นตอนการทํางานที่วางไวเพื่อ

ความถูกตองของงาน 1.5 กํากับตรวจสอบความถูกตองและคุณภาพของขอมูลหรือโครงการ และการ

ปฏิบัติงานโดยละเอียด1) ตรวจสอบความกาวหนาของโครงการตามกําหนดเวลาที่วางไว2) ตรวจสอบความถูกตองและคุณภาพของขอมูล หรือการปฏิบัติงานโดย

ละเอียด

Page 38: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

27

3) ระบุขอบกพรองหรือขอมูลที่หายไป และกํากับดูแลใหหาขอมูลเพิ่มเติมใหไดผลลัพธหรือผลงานที่มีคุณภาพตามหลักเกณฑที่กําหนด

ดังนั้นหากพนักงานในองคกรสามารถทํางานที่ไดรับมอบหมายไดอยางถูกตองตามหลักเกณฑระเบียบ ขอบังคับขององคกร จะทําใหเกิดประสิทธิผลในการทํางาน ซึ่งถาพนักงานทํางานอยางมีความถูกตองในการทํางาน จะสามารถทํางานใหเปนไปตามเปาหมายที่กําหนดไว และทําใหองคกรประสบความสําเร็จตามแผนที่กําหนด

2. การบรรลุวัตถุประสงคในการทํางาน การกําหนดวัตถุประสงคในการทํางาน ถือเปนหัวใจสําคัญของการบริหารงาน เพราะ

การบริหารงานใดๆ ก็ตาม จะเนนที่ความสําเร็จตามที่กําหนดไว การที่จะทําใหสามารถบริหารงานจนบรรลุวัตถุประสงคไดนั้น จําเปนตองมีการกําหนดทิศทางในการทํางานของผูเกี่ยวของใหสอดรับหรือสนับสนุนวัตถุประสงค ดังนั้นการกําหนดวัตถุประสงคในการทํางานของบุคลากรทุกคน ทุกสวนงานจึงเปนสิ่งสําคัญ เพราะจะมุงวัตถุประสงคหลักในการบริหารขององคกรในภาพรวมในทางตรงขามถาเปาหมายของบุคคลากรแตละคนไมมุงไปสูวัตถุประสงคหลักการบริหารงานขององคกรจะไมประสบความสําเร็จ นอกจากนั้นวัตถุประสงคที่กําหนดสามารถนํามาใชเปนเครื่องมือในการควบคุมการปฏิบัติงานของผูบังคับบัญชา รวมทั้งใชเปนเครื่องนําทางในการปฏิบัติงาน การกําหนดวัตถุประสงคอยางถูกตองกอใหเกิดประสิทธิผลนั้น จําเปนจะตองทําความเขาใจในหลักการตางๆ ในการกําหนดตัวชี้วัดและวัตถุประสงคเสียกอน จึงจะสามารถกําหนดวัตถุประสงคไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล วิธีการที่จะทําใหบุคคลจํานวนมากมีสวนรวมในการวางแผน กําหนดวัตถุประสงคจากแนวคิดของ Perter F. Drucker (1954) และจากแนวคิดของ Douglas Megregor (1957) เปนหลักการบริหารงานแบบวัตถุประสงค ซึ่งเรียกวาการบริหารงานเพื่อผลงาน เปนการบริหารงานโดยเนนมนุษยสัมพันธระหวางเพื่อนรวมงาน ซึ่งเรียกวาการบริหารงานแบบวัตถุประสงคออกเปน 4 ฐานะ คือ (1) ฐานะยุทธศาสตรการประเมินผลงานของผูบริหาร (2) ฐานะยุทธศาสตรการจูงใจผูรวมงาน (3) ฐานะยุทธศาสตรการพัฒนาผูบริหาร (4) ฐานะยุทธศาสตรพิเศษในการฝกอบรมขบวนการหมูพวกเพื่อใหทุกฝายพยายามรวมกัน

นอกจากนี้การบริหารงานเพื่อทําใหเกิดการบรรลุวัตถุประสงคในการทํางานตามกําหนดไวมีขอดีคือ ชวยใหการบริหารงานดีขึ้นทําใหเกิดความชัดเจน เกิดความผูกพันขึ้นในการปฏิบัติงานระหวางสมาชิกภายในหนวยงาน นอกจากนี้ยังในการควบคุมการดําเนินงานขององคกรอยางมีประสิทธิผล ในขณะเดียวกันยอมกอใหเกิดผลเสียไดหากขาดการชี้แนะใหเขาใจถึงปรัชญาการทํางานของการบริหารงานโดยวัตถุประสงคอยางชัดเจน สืบเนื่องจากฝายบริหารจะเขาใจอยูฝายเดียว ในขณะที่ผูปฎิบัติขาดความเขาใจในระบบทั้งหมด ขาดแนวทางที่จะใหผูกําหนดเปาหมาย

Page 39: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

28

เพราะปราศจากความรูและขอมูลที่แทจริง เปาหมายยากแกการกําหนดเนื่องจากเปาหมายลักษณะเปนเปาหมายระยะ และระยะเวลาในการดําเนินงานไมเกิน 1 ป ขาดความยืดหยุน ซึ่งอาจทําใหผูบริหารไมกลาที่จะเปลี่ยนแปลงเปาหมายหรือวัตถุประสงคในขณะดําเนินงาน

สรุปไดวาการบริหารตามวัตถุประสงคเปนระบบบริหารงานโดยผูบริหารกับผูรวมงานกําหนดวัตถุประสงค เพื่อใหดําเนินงานไปสูเปาหมายที่วางไวรวมกัน มีทิศทางการทํางานที่แนนอนทําใหบุคคลในองคกรทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิผล

3. ความสําเร็จตรงเวลาในการทํางาน ความสามารถในการบริหารเวลาของแตละบุคคลจะสามารถบริหารเวลาไดดีจะตองมี

ความรู ความเขาใจและความสามารถในการจัดลําดับความสําคัญเกี่ยวกับภารกิจที่ตองปฏิบัติไดอยางเหมาะสมเม่ือพิจารณาถึงภารกิจที่เรงดวนสามารถแบงออก 4 ประเภท ดังนี้

3.1 ภารกิจที่มีความเรงดวนและมีความสําคัญคือ ภารกิจที่ตองตัดสินใจและถูกจํากัดดวยระยะเวลาและมีความสําคัญ ไดแก ประชุมดวน ปญหาเรงดวน กําหนดการสงงานหรือโครงการ

3.2 ภารกิจที่มีความเรงดวนแตไมสําคัญ คือ ภารกิจที่ถูกจํากัดดวยระยะเวลา แตไมมีความสําคัญเปนงานเฉพาะหนา ที่ไมมีความสําคัญ ไดแก การรับโทรศัพท เปนตน

3.3 ภารกิจที่ไมมีความเรงดวนแตมีความสําคัญคือ ภารกิจที่ไมถูกจํากัดดวยระยะเวลาแตเปนสิ่งสําคัญ เปนสิ่งที่ทําประจํา ไดแก งานตามบทบาทหนาที่ ที่ไมตองรับผิดชอบ ที่ทําเปนประจํา

3.4 ภารกิจที่ไมเรงดวนและไมสําคัญคือ ภารกิจที่ไมถูกจํากัดดวยเวลาและไมมีความสําคัญ ไมตองตัดสินใจเรงดวน เปนภารกิจที่สามารถรอได หรือเปนภารกิจที่ไมใชหนาที่ในความรับผิดชอบโดยตรง ไดแก การจัดการเกี่ยวกับเอกสาร

นอกจากนี้ประโยชนตอการทํางานหากจัดระบบบริหารเวลาใหเกิดสมดุล ทําใหเพิ่มเวลาวางและ ลดความเครียด การตัดสินใจดีขึ้น งานงายขึ้น ลดความเสี่ยง มีประสิทธิผลและผลผลิตที่ดีขึ้น มีความสุขกับการทํางาน เวลาเปนทรัพยากรที่มีคาสําหรับทุกคน มนุษยจึงมีขอจํากัดในเรื่องของเวลาดังนั้นบุคลทุกคนควรใชเวลาใหเกิดคุณคาตอชีวิตและสังคม การทํางานใหมีความสุขควรรูจักวิธีใชเวลา ใหเกิดคุณคาตอชีวิตและผลงาน ดวยวิธีดังนี้

1. การตรงตอเวลา เวลาเปนเครื่องมือวัดความสําเร็จหรือความลมเหลวของการมาทํางานตรงเวลา การทํางานเสร็จตามเวลาที่กําหนดเปนสิ่งที่ปรารถนาของทุกหนวยงาน ซึ่งบุคคลที่ประสบความสําเร็จจะตองเปนบุคคลที่ตรงตอเวลา การฝกฝนตนเองใหเปนคนตรงตอเวลา จึงเปนสิ่งจําเปน และมีคาตอชีวิตจึงควรสํารวจตนเองอยูเสมอ จัดตารางการทํางาน บันทึกการนัดหมายงาน สรางสัญญาณและสิ่งเตือนใจและมอบใหคนอื่นจัดการสําหรับบุคคลที่มีงานมากตองใหผูอื่น

Page 40: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

29

ชวยเหลือดังนั้นการใชเวลาใหเกิดประโยชนโดยเฉพาะเมื่อมีเวลาคอนขางนอยในการปฏิบัติงาน ซึ่งการใชเวลาใหเกิดประโยชนตอชีวิตและผลงานจึงถือเปนความสําเร็จที่สําคัญในการทํางาน ควรใชเวลาใหเกิดประโยชนดังนี้ใชเวลาใหเกิดประโยชนตองานและอาชีพของตนเองถือเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด เพราะเกี่ยวพันกับการครองชีพในสังคม ดังนั้นบุคคลที่ประสบความสําเร็จในชีวิตและการงานจะเปนผูที่อุทิศเวลาใหกับงาน อาชีพของตนมากที่สุด

2. การประหยัดเวลาเปนการจัดการเกี่ยวกับเวลาโดยมิใหเวลาเสียไปโดยไรประโยชน เนื่องจากมีบุคคลหลายคนตองเสียเวลากับเรื่องที่ไรสาระ จึงควรใชวิธีการประหยัดเวลาโดยการลดขั้นตอนของการทํางานลง เลือกทําเฉพาะกิจกรรมที่เปนสาระสําคัญของงาน การกระจายงานหรือการแบงงานหรือมอบความรับผิดชอบใหผูอื่นซึ่งจะชวยประหยัดเวลาไดดี การควบคุมงานหรือการกํากับดูแลและประสานงานใหการทํางานดําเนินไปตามระยะเวลาที่กําหนด รวมทั้งการใชเครื่องมือเทคโนโลยีสมัยใหมเพื่อทดแทนแทนแรงงานคนและสัตวก็จะชวยประหยัดเวลาไดมาก

สรุปไดวาการบริหารเวลาที่ดี นอกจากสามารถทํางานของตนเองใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดีแลว ยังสามารถทํางานเพื่อผูอื่นไดดวยและยังไดรับความสุขจากการมีเวลาวางของตนเอง ซึ่งเทคนิคบริหารเวลาใหมีประสิทธิผลและเคล็ดลับในการทํางานใหเสร็จทันเวลา ดังนี้

1. การเริ่มตนที่ดีความสําเร็จเกินกวาครึ่ง ถาการเริ่มตนของวันใหมมีความสดชื่น แจมใส จึงควรคนหาสิ่งที่ตนเองชื่นชอบสักอยาง

2. พิจารณาใหแนนอนวาอะไรสําคัญที่สุด เพื่อปองกันไมใหคนอื่นปลนเวลาหรือปลนสิ่งสําคัญๆ ในชีวิตไป และจงกลาที่จะตอบปฏิเสธเพียงกลาวคําวา “ไม” สั้นๆ งายๆ

3. ตั้งเปาหมาย การมีเปาหมายอาจมีไดหลายเปาหมาย ทั้งเรื่องสวนตัวและเรื่องงาน การเขียนเปาหมายเหลานั่นออกมาจะชวยใหจุดประสงคของมันชัดเจนขึ้น และชวยกําหนดทิศทาง การใชเวลาในแตละสัปดาห เดือน ป ทศวรรษ และชั่วชีวิตได

4. กําหนดเกณฑ ในการใชเวลาในการทํากิจกรรมแตละอยาง เชนการโทรศัพท การคุยกับลูกคา การรับประทานอาหาร ตลอดจนเรื่องใชจายตางๆ ควรกําหนดไวลวงหนาวาจะใชเวลาเทาไหร

5. การวางแผนประจําวัน ควรเขียนกิจกรรมตางๆ ออกมาอยางชัดเจน วางแผนการจัดทําเพื่อใหบรรลุผล โดยจัดลําดับความสําคัญ

6. ใชชีวิตอยางสมดุล ทั้งในการพักผอนนอนหลับใหเพียงพอ มีเวลาหยอนใจพอควรเวลาใหกับตนเองและการพัฒนาจิตวิญญาณตลอดจนเรื่องท่ีสนใจ

Page 41: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

30

7. จัดลําดับความสําคัญของงานใหชัดเจน โดยพิจารณาวางานใดเรงดวนที่ตองดําเนินการโดยดวน งานใดที่สามารถทําภายหลังได ไมตองใชสมองและไมตองเวลามากนัก ก็ทําภายหลังได

8. ลงมือทํางานที่ยากที่สุด เมื่อทํางานที่ยากสําเร็จแลว จะชวยใหเกิดความโลงใจและชวยใหเกิดความสําเร็จในการทํางาน

9. มอบหมายงาน โดยพิจารณาวาใครที่พอจะชวยไดเพื่อชวยใหมีเวลาเพิ่มข้ึน10. ทํางานใหสําเร็จเปนชิ้นเปนอัน อยาทํางานดวยความยืดยาด11. ออกกําลังกาย เพื่อใหรางกายกระฉับกระเฉง กระปรี้กระเปรา12. ตรวจสอบสิ่งที่ทํา วามีความสําคัญหรือจําเปนเพียงใดหรือเปนเพียงความเคยชิน

สํารวจดูวาถาตัดออกจะชวยใหมีเวลามากขึ้นหรือไม13. วางแผนฉลองความสําเร็จ เชน ถางานชิ้นนี้เสร็จแลวควรจะใหอะไรเปนรางวัลให

สําหรับตนเอง ซึ่งอาจจะเปนสิ่งเล็กๆ นอยๆ ก็ไดเพื่อใหเปนขวัญและกําลังใจตัวเอง14. ใชความจําจะชวยประหยัดเวลาในการทํางานสูง จึงควรจดจําสิ่งตางๆจาก

สาระสําคัญของการใชเวลาใหเกิดคุณคาตอชีวิต ทุกคนควรมีการบริหารจัดการเวลา เพื่อใหเกิดความสําเร็จตรงเวลาในการทํางาน หากรูจักจัดการเวลาใหเกิดคุณคาตอชีวิตและสังคมใหมากที่สุด โดยการตรงตอเวลา การใชเวลาใหเกิดประโยชนและการรูจักจัดการเวลา จะทําใหทุกคนเกิดความสุขในการดําเนินชีวิตและการทํางาน

4. การใชทรัพยากรอยางคุมคาการจัดสรรทรัพยากร เปนการสรรหา หรือจัดแบงทรัพยากรใหหนวยงานตางๆ

เพื่อใหหนวยงานหรือบุคลากรไดใชทรัพยากรที่เหมาะสม เพื่อการดําเนินงานสูเปาหมายขององคกร การใชทรัพยากรที่ใหงานดานการบริการ แบงเปน ทรัพยากรบุคคล หรือทรัพยากรมนุษย ซึ่งเปนบุคคลที่ปฏิบัติงานในองคกรทุกคน และทรัพยากรดานเทคโนโลยี เครื่องจักร อุปกรณสํานักงานหรือสิ่งอํานวยความสะดวก หรือสิ่งที่สนับสนุนใหการทํางานเกิดประสิทธิภาพ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหเกิดประสิทธิผล เกิดจากการนําแนวคิด ปรัชญา และทฤษฎีตางๆ มาประกอบกันเพื่อใหเกิดหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษยอยางมีประสิทธิผลขึ้น

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2545: 22) กลาวถึง การจัดการวาเปนปจจัยกําหนดประสิทธิผลและประสิทธิภาพขององคกร ผูบริหารจึงมีความจําเปนอยางมากที่ตองเขาใจภาระหนาที่และความรับผิดชอบดานการบริหารจัดการทั้งตอตนเอง ตอกลุม ตอสังคม จุดมุงหมายของการจัดการ คือ การใชความพยายามทุกกรณีโดยการกําหนดงานและความสําคัญของอํานาจหนาที่การพิจารณาถึงสิ่งที่ตองการทําและผูที่จะทํารายงานมีตัวอยางในประวัติศาสตรของธุรกิจที่มี

Page 42: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

31

การจัดองคการที่ดีสามารถประสบความสําเร็จในการแขงขันและสามารถเอาชนะคูแขงขันได ธุรกิจที่มีการจัดองคการที่ดีสามารถจูงใจผูบริหารและพนักงานใหมองเห็นความสําคัญของความสําเร็จขององคกร

Steer (1977: 40) ไดเสนอปจจัยการบริหารซึ่งเปนตัวกําหนดประสิทธิผลขององคกรและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานไว 4 ประการใหญๆ คือ

1. ลักษณะขององคกร (Organization Characteristics) ประกอบดวย1.1 โครงสรางขององคกร1.2 บทบาทของเทคโนโลยี

2. ลักษณะของสภาพแวดลอม (Environment Characteristics) ประกอบดวย2.1 ลักษณะสภาพแวดลอมภายนอกองคกร2.2 ลักษณะสภาพแวดลอมภายในองคกร

3. ลักษณะของบุคลากร (Employee Characteristics) ประกอบดวย3.1 ความผูกพันตอองคกร3.2 การปฏิบัติงาน

4. นโยบายการบริหารและแผนการปฏิบัติงาน (Policies and Practices) ประกอบดวย4.1 การกําหนดเปาหมายและแผนการปฏิบัติงาน4.2 การจัดหาและการใชทรัพยากร4.3 สภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน4.4 กระบวนการติดตอสื่อสารและการประสานงาน4.5 ภาวะผูนําและการตัดสินใจ4.6 การปรับตัวขององคกรและการริเริ่มสงใหม

2.2.4 ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของกรมราชทัณฑนอกจากนี้ แผนปฏิบัติราชการกรมราชทัณฑ พ.ศ. 2555-2558ไดกําหนดประสิทธิผลการ

ปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ไว 5 ดาน ดังนี้1. ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง ประกอบดวย

กลยุทธพัฒนาควบคุมตอผูกระทําผิด พัฒนาระบบการบริหารจัดการเรือนจําและทัณฑสถาน เสริมสรางการบริหารจัดการที่ดีของกรมราชทัณฑ

2. ดานพัฒนาพฤตินิสัยเพื่อคืนคนดีสูสังคม เปนกลยุทธในการพัฒนาผูตองขังใหไดรับการแกไขและพัฒนาพฤตินิสัย ใหสามารถนําหลักธรรมของศาสนาที่ผูตองขังนับถือเปนหลัก

Page 43: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

32

ในการดําเนินชีวิตอีกทั้งยังสงเสริมใหเปนพลเมืองที่ดีของสังคมดวยการสรางวินัยและหนาที่พลเมืองท่ีดีอยางเขาใจและปฏิบัติได

3. ดานการรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน มีกลยุทธเชิงรุกในการปองกันปราบปรามยาเสพติดในเรือนจําและทัณฑสถาน การบําบัดแกไขฟนฟูผูตองขังติดยาเสพติด มีการเสริมสรางใหเกิดความรวมมือกับทุกภาคสวนในการแกไขปญหายาเสพติดเรงรัดพัฒนามาตรฐานการแกไขปญหายาเสพติด

4. ดานการพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ ประกอบดวยการพัฒนาการบริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพระบบงานราชทัณฑใหเปนตามหลักธรรมาภิบาล การสงเสริมเพื่อการสรางบรรยากาศที่เอื้อในการทํางานขององคกร การสงเสริมใหบุคคลากรพัฒนาสมรรถนะและคุณภาพชีวิตและการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล

5. ดานเสริมสรางการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีในงานราชทัณฑ สรางขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานอีกทั้งยกระดับคุณชีวิตของเจาพนักงานทั้งในดานของการสรางความมั่นคงในการทํางานและมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยางยั่งยืน

ซึ่งจากแผนปฏิบัติราชการกรมราชทัณฑ พ.ศ. 2555-2558 ผูศึกษาสนใจเลือกใชเปนตัวแปรตามที่จะใชในการศึกษาครั้งนี้เพียง 3 ดาน ไดแก 1) ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง 2) ดานการรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน 3) ดานการพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ ทั้งนี้เพื่อใหสอดคลองกับภารกิจหลักของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

2.3 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของปรีชา แสนแกว (2557) ไดศึกษาทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลของการปองกัน

และปราบปรามยาเสพติดของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง ผลการศึกษาพบวา ระดับทรัพยากรการบริหารของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางอยูในระดับมาก จํานวน 8 ดาน ไดแก 1) ดานการบริหาร งานทั่วไป 2) ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย 3) ดานการบริหารดานงบประมาณ 4) ดานวิธีการ ระเบียบแบบแผนหรือเทคนิค 5) ดานการบริหารเวลาหรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน 6) ดานคุณธรรม 7) ดานการประสานงานหรือประนีประนอม 8) ดานการบริหารประสานหรือขอมูลขาวสาร และผลการทดสอบสมมติฐานพบวา ทรัพยากรการบริหารที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลของการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางไดรอยละ 43.2 ซึ่งตัวแปรที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลของการปองกันและปราบปรามยาเสพติดเปนไปในทิศทางบวก มี 5 ดาน ไดแก 1) ดานการบริหารดานงบประมาณ 2) ดานวิธีการ ระเบียบแบบแผนหรือเทคนิค 3) ดาน

Page 44: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

33

คุณธรรม 4) ดานการประสานงานหรือประนีประนอม 5) ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร มีอิทธิพลตอประสิทธิผลของการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางที่นัยสําคัญทางสถิติ .05

พงษศักดิ์ บันฑิตย (2557) ไดศึกษาการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่เรือนจํากลางคลองเปรม ผลการศึกษาพบวา ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่เรือนจํากลางคลองเปรม โดยรวมอยูในระดับมาก โดยดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืนมีคาเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง และดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑตามลําดับ และผลการทดสอบสมมติฐานพบวา การบริหารกิจการบานเมืองที่ดีโดยรวมมีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลของเรือนจํากลางคลองเปรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่ งมีความสัมพันธอยูในระดับปานกลาง โดยการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีดานหลักความโปรงใสมีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลของเรือนจํากลางคลองเปรมมากที่สุด รองลงมาคือ ดานหลักคุณธรรม ดานหลักนิติธรรม ดานหลักความคุมคา ดานหลักความมีสวนรวม ดานหลักความพรอมรับผิดตามลําดับ

วินัย เจริญเฉลิมศักดิ์ (2557)ไดศึกษาเรื่องราชทัณฑมืออาชีพ ผลการศึกษาพบวา การพัฒนางานราชทัณฑใหสูความเปนวิชาชีพ มีองคประกอบที่สําคัญ 5 ดาน คือ ดานคุณลักษณะราชทัณฑมืออาชีพ ประกอบดวยคุณลักษณะที่สําคัญ คือ คุณลักษณะดานความซื่อสัตยสุจริต การประพฤติตนที่เหมาะสมเปนตัวอยางที่ดี มีความมุงมั่นและความเพียรในการแกไขฟนฟูผูตองขัง และเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ดานทักษะราชทัณฑมืออาชีพ ประกอบดวยทักษะที่สําคัญ คือ ทักษะดานการควบคุมรักษาความปลอดภัย และทักษะดานการแกไขฟนฟูผูตองขัง ดานโอกาสความกาวหนา มีการวางแผนพัฒนาพนักงานราชทัณฑมืออาชีพระยะยาว ผานการกําหนดคุณลักษณะ การฝกอบรมทักษะดานตางๆ ยึดหลักความรูความสามารถ ทักษะ และความรูเชี่ยวชาญ ชัดเจน แนนอน ดานคาตอบแทน ไดกําหนดใหเงินเดือนของราชทัณฑมืออาชีพมีอัตรา ที่สูงในระดับที่ใกลเคียงกับผูพิพากษาและอัยการซึ่งมีความเพียงพอที่จะทําใหเกิดเสถียรภาพทํางานการเงิน และดานเปาหมายของราชทัณฑมืออาชีพ คือ การไดรับความไววางใจจากประชาชนในดานการปฏิบัติตอผูตองขัง

สุพรรณ ยามาดะ (2556) ไดศึกษาเรื่องทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลของงานพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาพบวา ทรัพยากรการบริหารในภาพรวมอยูระดับมาก โดยดานคุณภาพและความเหมาะสมของวัสดุอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใชทางการรักษาพยาบาล อยูในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ดานงบประมาณ ดานการบริหารงานทั่วไป และ

Page 45: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

34

ดานบุคลากร ซึ่งทั้ง 3 ดานอยูในระดับมากประสิทธิผลของงานพยาบาลในภาพรวมอยูในระดับมากเชนกันโดยใหความสําคัญกับการรักษาพยาบาลที่ตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิตของผูปวย รองลงมาคือ สามารถใหการรักษาพยาบาลอยางถูกตองมีหลักการและเหตุผล ใหการรักษาพยาบาลผูปวยดวยความรวดเร็ว งานที่ทําอยูทาทายความสามารถ และสามารถตัดสินใจใหการรักษาพยาบาลผูปวยไดทันตอเหตุการณ ทรัพยากรการบริหารดานการจัดการ ดานงบประมาณ และดานบุคลากร มีความสัมพันธเชิงบวกอยูในระดับต่ํากับประสิทธิผลของงานพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชลบุรี สวนทรัพยากรการบริหารดานวัสดุอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใชทางการรักษาพยาบาล มีความสัมพันธเชิงลบอยูในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของงานพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชลบุรี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

นัทธี จิตสวาง (2556) ไดศึกษาการราชทัณฑในประเทศไทยในอนาคต พบวา การเสริมสรางสมรรถนะในการบริหารงานราชทัณฑอยางมีประสิทธิผล ตองมีความพรอมของทรัพยากรการบริหารดานพัฒนาบุคลากรและดานการพัฒนาระบบงาน โครงสรางกฎหมายขอบังคับ สภาวะแวดลอมและทรัพยากรใหสอดคลองกับภารกิจ โดยที่ทิศทางในอนาคตนั้นกรมราชทัณฑมีการเปดโอกาสใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานของกรมราชทัณฑ เพื่อใหงานมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น การประชาสัมพันธใหสังคมเขาใจภารกิจและบทบาทของกรมราชทัณฑตามแผนทิศทางที่ไดกําหนดเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของกรมราชทัณฑในอนาคต โดยไดกําหนดความผูกพันของกรมราชทัณฑตอแผนดังกลาว คือ ผูบริหารจะตองถือแผนทิศทางนี้เปนหลักปฏิบัติในอนาคตอยางตอเนื่อง ตองมีการทําแผนปฏิบัติการที่มีการกําหนดการเปนระยะเปนชวงสั้น เชน 2 – 3 ป และการสรางระบบติดตามประเมินผลอยางจริงในกรมราชทัณฑ ไดแก 1) การเนนการอบรมแกไขผูกระทําผิดใหกลับเขาสูสังคมมากขึ้น 2) การเขามามีสวนรวมของภาคเอกชนมากขึ้น ในดานการเสริมสรางสมรรถนะ การใหบริการดานการเตรียมการปลดปลอยและการสงเคราะหหลังปลอย การใหบริการดานการศึกษา หรือการใหเอกชนเขามาบริหารงานเรือนจําทั้งระบบ 3)การนําเทคโนโลยีมาใชงานในกรมราชทัณฑมากขึ้น 4) การเนนการราชทัณฑในชุมชนเพิ่มขึ้น 5) การพัฒนาบุคลากร อีกทั้งยังใหความสําคัญในเรื่องของการสงเสริมจริยธรรมและคุณธรรมของเจาพนักงานราชทัณฑอยางจริงจัง สงผลใหมีบุคลากรที่มีคุณภาพเกิดประสิทธิผลอยางสูงสุดตอกรมราชทัณฑ

ทัศนีย โฉมประดิษฐ (2554) ไดศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิผลของแผนการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในเรือนจํา: ศึกษาเฉพาะกรณีทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง พบวา ประสิทธิผลของแผนการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในเรือนจําอยูในระดับปานกลาง โดยโครงการที่มีประสิทธิผลมากที่สุด ไดแก โครงการตรวจคนจูโจมพิเศษจากสวนกลาง สําหรับ

Page 46: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

35

โครงการที่มีประสิทธิผลนอยที่สุด ไดแก โครงการวิจัยเรื่องโทษประหารชีวิตมีผลตอการยับยั้งมิใหกระทําผิดหรือไม สําหรับปจจัยดานอุปกรณ ปจจัยดานบุคคล ปจจัยดานงบประมาณและปจจัยดานการประสานงานขอความรวมมือ มีความสัมพันธกับประสิทธิผลของแผนการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในเรือนจํา นอกจากนี้ผูศึกษายังไดเสนอแนวทางในการปรับปรุงแผนการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในเรือนจําไววา ควรมีการจัดหาเครื่องมืออุปกรณและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชในการปฏิบัติงานใหมากขึ้น ควรพัฒนาศักยภาพของเจาหนาที่ โดยสงเสริมการจัดฝกอบรมใหความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติงานดานการปองกันและปราบปรามยาเสพติดอยางตอเนื่อง ควรจัดหางบประมาณใหมากขึ้น เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามแผนการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในเรือนจํา รวมทั้งควรมีการประสานงานกับหนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของกับงานดานยาเสพติดใหมากขึ้น เพื่อความรวมมือในดานขอมูลขาวสารการตรวจคนและพิสูจนสารเสพติด

มณี ลิ้มปะวงศ (2554) ไดศึกษาเรื่อง ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการนํานโยบายปองกันและแกไขปญหายาเสพติดไปปฏิบัติ: ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชน เขต 5 จังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษา พบวา ปจจัยที่สงผลตอการนํานโยบายไปปฏิบัติมีดังนี้ 1) ปจจัยดานทรัพยากรในดานงบประมาณ พบวา งบประมาณที่ไดรับจัดสรรเปนคาใชจายเกี่ยวกับการดําเนินงานในกิจกรรมการปองกัน บําบัด แกไข ฟนฟูสมรรถภาพเด็กและเยาวชนที่เกี่ยวของกับยาเสพติดนั้นไมเพียงพอในการดําเนินงานใหเกิดประสิทธิผลสูงสุด ในดานบุคลากร พบวา บุคลากรที่ปฏิบัติงานดานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดที่มีอยูไมเหมาะสมกับจํานวนเด็กและเยาวชนซึ่งมีจํานวนมาก โดยเฉพาะบุคลากรในตําแหนงพยาบาล นักสังคมสงเคราะห และนักจิตวิทยา ซึ่งเปนผูที่มีบทบาทหนาที่ในการจัดกิจกรรมดานยาเสพติดใหแกเด็กและเยาวชนโดยตรง ดานวัสดุอุปกรณ พบวา วัสดุอุปกรณซึ่งใชในการจัดกิจกรรมปองกันและแกไขปญหายาเสพติดไมเพียงพอและไมเหมาะสม 2) ปจจัยดานโครงสราง/ลักษณะของหนวยงาน จากการศึกษาพบวา ลําดับสายการบังคับบัญชาของศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชน เขต 5 จังหวัดอุบลราชธานี ไมมีความชัดเจนเพียงพอ เนื่องจากมีการขามขั้นตอนตามลําดับสายการบังคับบัญชา รวมถึงมีการกาวกายสายการบังคับบัญชา 3) ปจจัยดานการสนับสนุนจากภายนอกที่ครอบครัวของเด็กและเยาวชนไมใหความรวมมือในกิจกรรมที่ศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชน เขต 5 จังหวัดอุบลราชธานีจัดขึ้น ใหการเลี้ยงดูที่ไมเหมาะสม ปลอยปละละเลยความเปนอยูและไมใสใจพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน รวมถึงการที่ชุมชนมีทัศนคติที่ไมดี ไมใหโอกาสเด็กและเยาวชนที่เคยกระทําความผิด และสภาพแวดลอมภายในชุมชนที่มีการแพรระบาดของยาเสพติดคอนขางมาก เปนปจจัยที่เปนความเสี่ยงอยางสูงท่ีจะทําใหเด็กและเยาวชนกระทําความผิดซ้ํา

Page 47: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

36

ยุทธภูมิ จิตภักดี (2554) ไดศึกษาเรื่องการนํานโยบายการปองกันและปราบปรามยาเสพติดไปปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผล : กรณีศึกษาเรือนจํากลางคลองเปรม ผลการศึกษาพบวา ประเด็นปญหาสําคัญเกี่ยวของกับการนํานโยบายการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของเรือนจํากลางคลองเปรมไปปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผล คือ ดานสมรรถนะของเรือนจํากลางคลองเปรม ดานบุคคลภายนอกที่ติดตอเกี่ยวกับเรือนจํากลางคลองเปรม ดานผูตองขัง ดานโทรศัพทมือถือ ดานกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร ดานสภาพแวดลอมทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง สําหรับแนวทางการแกไขปญหาและการปรับปรุงนโยบายการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของเรือนจํากลางคลองเปรมนั้น ควรมีการเพิ่มอัตรากําลังเจาหนาที่ ควรพัฒนาศักยภาพของเจาหนาที่ โดยสงเสริมใหเจาหนาที่ไดเขารับการฝกอบรมในดานการปองกันและปราบปรามยาเสพติดอยางตอเนื่อง ควรมีการตรวจสอบบัญชีทรัพยสินของเจาหนาที่ระดับบริหารของเรือนจํากลางคลองเปรม ควรมีการจัดหาเครื่องมือและอุปกรณและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชในการปฏิบัติงานใหเพิ่มมากขึ้น ควรจัดหางบประมาณใหมากขึ้น ควรมีการจัดตั้งหนวยงานขึ้นมาทําหนาที่ในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในเรือนจําคลองเปรมอยางชัดเจน ควรมีการนําสุนัขชวยงานราชทัณฑกลับมาชวยงานในเรือนจํากลางคลองเปรม ควรลดจํานวนผูตองขังใหเหมาะสม ควรมีการแยกคดีทั่วไปกับคดียาเสพติด ควรมีการบล็อกสัญญาณโทรศัพทมือถือใหครอบคลุมทั้งเรือนจํา ควรมีการเพิ่มความเขมงวดและรอบความถี่ในการจูโจมตรวจคนในกรณีพิเศษของเรือนจําคลองเปรม และการจูโจมตรวจคนของกรมราชทัณฑใหเพิ่มมากขึ้น ควรมีการแกไขกฎหมายและระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของควรมีการสงเสริมใหเจาหนาที่ทุกคนใหมีโอกาสเขารับการศึกษาอบรมทางดานเทคนิคการหาขาวและเฝาระวังเครือขายยาเสพติดในเรือนจําที่มีความเขมขนและเหมาะสมกับสถานการณปจจุบันอยางสม่ําเสมอ

สําราญ บุญชิต (2553) ทําการศึกษาทรัพยากรการบริหารที่สอดคลองกับประสิทธิผลของความตองการของประชาชนที่เรียกวา 11 M ของสํานักงานเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร ผลการ ศึกษาพบวา สํานักงานเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร มีปญหาเรื่องทรัพยากรการบริหารในระดับมาก ทั้ง 11ดาน ไดแก ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย (Man) ดานการบริหารงบประมาณ (Money) ดานการบริหารงานทั่วไป (Management) ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) ดานการบริหารคุณธรรม (Morality) ดานการใหบริการประชาชน (Market) ดานการบริหารขาวสารหรือขอมูลขาวสาร (Message) วิธีการ ระเบียบแบบแผน หรือเทคนิค (Method) ดานการบริหารเวลาหรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute) ดานการประสานงานหรือการประนีประนอม (Mediation) และดานการวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน สวนการพัฒนาทรัพยากรการบริหารที่สอดคลองกับประสิทธิผลของความตองการของประชาชนของสํานักงานเขต บางซื่อ กรุงเทพมหานคร กลุม

Page 48: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

37

ตัวอยางเห็นดวยในระดับมาก จํานวน 8 ดาน ไดแก ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย ดานการบริหารงบประมาณ ดานการบริหารงานทั่วไป ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ วัดผลหรือการประเมิน ผลการปฏิบัติงาน ดานการใหบริการประชาชน ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค และดานการประสานงานหรือประนีประนอม กลุมตัวอยางที่เห็นดวยในระดับปานกลาง จํานวน 3 ดาน ไดแก ดานการบริหารขาวสารหรือขอมูลขาวสาร ดานการบริหารเวลาหรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน และดานการบริหารคุณธรรม สําหรับปจจัยที่มีสวนสําคัญใหการพัฒนาทรัพยากรการบริหารที่สอดคลองกับประสิทธิผลของความตองการของประชาชนของสํานักงานเขตบางซื่อประสบความสําเร็จตามกรอบแนวคิด 3M พบวา กลุมตัวอยางเห็นดวยระดับปานกลาง จํานวน 2 ดาน ไดแก ดานการบริหารงบประมาณและดานการบริหารงานทั่วไป กลุมตัวอยางเห็นดวยระดับมาก จํานวน 1 ดาน คือ ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย

ธนะศักดิ์ พรหมจันทร (2552) ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลของการจัดการศึกษา โรงเรียนเอกชน ผลการศึกษาพบวา ทรัพยากรการบริหารของโรงเรียนเอกชนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสิงหบุรีในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยดานทรัพยากรบุคคลมีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ดานบุคคลและกลุมบุคคลในโรงเรียน ดานการสนับสนุนของชุมชนดานภาระงานและเทคโนโลยี และดานการจัดองคการตามลําดับ สําหรับประสิทธิผลของโรงเรียนเอกชนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสิงหบุรีในภาพรวม อยูในระดับมาก โดยดานการประกันคุณภาพในโรงเรียนมีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดานการพัฒนาและการเสียสละของบุคลากร และดานภาวะผูนําของผูบริหารตามลําดับ สําหรับความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียนเอกชนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสิงหบุรี พบวา ทรัพยากรการบริหารดานทรัพยากรบุคคลความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลของโรงเรียน โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธมากที่สุด คือ .87 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .012 ดานอํานาจและการเมืองในโรงเรียนมีความสัมพันธทางบวกกับประสิทธิผลของโรงเรียน โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ .84 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .013 ดานภาวะผูนํามีความสัมพันธทางบวกกับประสิทธิผลของโรงเรียน โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ .84 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .014 ดานการตัดสินใจมีความสัมพันธทางบวกกับประสิทธิผลของโรงเรียน โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ .82 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และดานภาระงานและเทคโนโลยีมีความสัมพันธทางบวกกับประสิทธิผลของโรงเรียนโดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ .81 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Page 49: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

38

2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษาการศึกษาเรื่องทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่

ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ผูศึกษาไดนําปจจัยจากทฤษฏีทรัพยากรการบริหารของ (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, 2552) จํานวน 11 ดาน มาเปนตัวแปรตน สวนประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง ทั้ง 3 ประเด็น ผูศึกษาไดนําประเด็นยุทธศาสตรของแผนปฏิบัติราชการกรมราชทัณฑ พ.ศ.2555-2558 มาสังเคราะหเพื่อเปนตัวแปรตาม ซึ่งสามารถแสดงเปนกรอบแนวคิดในการศึกษาดังนี้

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

แผนภาพที่ 2.2 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา

ทรัพยากรการบริหาร

1. การบริหารทรัพยากรมนุษย (Man)2. การบริหารงบประมาณ (Money)3. การบริหารงานท่ัวไป (Management)4. การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material)5. การบริหารคุณธรรม (Morality)6. การใหบริการประชาชน (Market)7. การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message)8. วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method)9. การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute)10. การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation)11. การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน

(Measurement)

ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

ของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพเิศษกลาง

- ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุม

และการปฏิบัติตอผูตองขัง

- ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดให

ไดผลอยางยั่งยืน

- ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงาน

ราชทัณฑ

Page 50: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

39

2.5 สมมติฐานในการศึกษาสมมุติฐานที่ 1 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารทรัพยากรมนุษย มีความสัมพันธเชิง

บวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครสมมุติฐานที่ 2 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงบประมาณ มีความสัมพันธเชิงบวก

กับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครสมมุติฐานที่ 3 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงานทั่วไป มีความสัมพันธเชิงบวก

กับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครสมมุติฐานที่ 4 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารวัสดุอุปกรณ มีความสัมพันธเชิงบวก

กับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครสมมุติฐานที่ 5 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารคุณธรรม มีความสัมพันธเชิงบวกกับ

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครสมมุติฐานที่ 6 ทรัพยากรการบริหารดานการใหบริการประชาชน มีความสัมพันธเชิง

บวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครสมมุติฐานที่ 7 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร มีความ

สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร

สมมุติฐานที่ 8 ทรัพยากรการบริหารดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค มีความ สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร

สมมุติฐานที่ 9 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

สมมุติฐานที่ 10 ทรัพยากรการบริหารดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

สมมุติฐานที่ 11 ทรัพยากรการบริหารดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

Page 51: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

40

2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ1. ทรัพยากรการบริหาร หมายถึง ปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการบริหาร การพัฒนาในทัณฑ

สถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ประกอบดวย 11 ดาน ไดแก (1) การบริหารทรัพยากรมนุษย (Man) (2) การบริหารงบประมาณ (Money) (3) การบริหารงานทั่วไป (Management) (4) การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) (5) การบริหารคุณธรรม (Morality) (6) การใหบริการประชาชน (Market) (7) การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message) (8) วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method) (9) การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute) (10) การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation) (11) การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement) ซึ่งมีความหมายดังนี้ (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, 2552)

1.1 การบริหารทรัพยากรมนุษย (Man) คือ การคัดเลือก และบรรจุคนเขาทํางานและดูแลใหมีคนที่มีประสิทธิภาพในตําแหนงงานตางๆ ภายในองคกร ซึ่งเปนภาระหนาที่ที่เกี่ยวกับคนโดยตรง เริ่มตนดวยการสรรหา และคัดเลือกใหไดคนที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับลักษณะงานตางๆ ที่ไดพิจารณาแลวในรายละเอียดของการจัดองคกร วาจะสามารถพรอมสําหรับการปฏิบัติงานได

1.2 การบริหารงบประมาณ (Money) คือ เปนการศึกษาถึงการใชจายเงินในการบริหารมีขั้นตอนตั้งแตการจัดเตรียม การอนุมัติ และการบริหารงบประมาณ ตลอดจนถึงการวางแผน การคลัง การทําบัญชีและการควบคุม เพื่อใหมีการใชจายเงินตรงตามเปาหมายของการบริหารที่กําหนดไว

1.3 การบริหารงานทั่วไป (Management) คือ วางแผน ปฏิบัติตามแผน และประเมินผลอยางเปนระบบ มีการบังคับบัญชาอยางเปนเอกภาพมีการประชาสัมพันธอยางตอเนื่องมีภาวะผูนําสูง เชน กลาตัดสินใจกลาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง

1.4 การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) คือ มีวัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพที่ทันสมัยมาใชปฏิบัติงาน มีวัสดุอุปกรณ เชนโตะ เกาอี้ และคอมพิวเตอรมากเพียงพอแกการปฏิบัติงานปฏิบัติตามระเบียบการพัสดุอยางเครงครัดมีระบบการบํารุงรักษาวัสดุอุปกรณอยางชัดเจน

1.5 การบริหารคุณธรรม (Morality) คือ นําหลักธรรมมาใชในการปฏิบัติงาน มีจิตสํานึกที่ดีงามในการปฏิบัติงานดวยความรับผิดชอบและเอาใจใสงานอยางสม่ําเสมอ วางตัวบุคลากรไดเหมาะสมกับตําแหนงหนาที่

1.6 การใหบริการประชาชน (Market) คือ เปดโอกาสใหประชาชนแสดงความคิดเห็น และใหบริการในลักษณะที่ตอบสนองความตองการของประชาชนดํา เนินงานโดยยึดถือผลประโยชนของประชาชนเปนหลักคนหาขอมูลเพื่อนํามาใชบริหารประชาชน

Page 52: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

41

1.7 การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message) คือ นําขาวสาร หรือขอมูลขาวสารมาใชในการปฏิบัติงานอยางมาเพียงพอมีวัสดุอุปกรณที่ทันสมัยเพียงพอตอการสนับสนุนการรับและสงขอมูลขาวสารงานและเปล่ียนขอมูลขาวสารเปนเครือขายและเปนระบบ

1.8 วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method)คือ บริหารจัดการบนพื้นฐานของกฎหมายหรือยึดถือหลักนิติธรรมยึดถือและปฏิบัติตามกฎระเบียบของการปฏิบัติงานอยางเครงครัดเห็นถึงความสําคัญและไดพัฒนาวิธีการหรือเทคนิคในการปฏิบัติงานอยูตลอดเวลา

1.9 การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute) คือ มีนโยบายสนับสนุนการปฏิบัติงานดวยความรวดเร็วและทันเวลากําหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงานแลวเสร็จที่ชัดเจนและปฏิบัติตามอยางเครงครัดลดขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อใหงานหรือกิจกรรมแลวเสร็จโดยเร็ว

1.10 การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation) คือ ประสานภายในและภายนอกของหนวยงานอยางชัดเจนวางระบบการประสานงานกับหนวยงานอื่นเพื่อลดขั้นตอนและเพื่อเกิดความรวดเร็วในการปฏิบัติงานใหเวลาสําหรับการประสานกับหนวยงานอื่นอยางมากเพียงพอ

1.11 การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement) คือ มีระบบการ

วัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ไดมาตรฐานและชัดเจนเปดโอกาสใหประชนหรือ

หนวยงานภายนอกเขามามีสวนรวมในการวัดผลควบคุมตรวจสอบการวัดผล หรือการประเมินผล

การปฏิบัติงานของบุคลากรอยางเครงครัด

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลสําเร็จของงานที่เปนไปตามความหวังที่กําหนดไวในวัตถุประสงคหรือเปาหมาย และเปาหมายเฉพาะที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง ตามแบบแผนปฏิบัติราชการกรมราชทัณฑ พ.ศ. 2555-2558 จําแนกออกเปน 3 เปาหมาย คือ

1. เสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง มีความหมายในการบรรลุเปาหมายดังตอไปนี้ คือ ผูตองขังไมหลบหนี ผูตองขังไมกอเหตุราย เรือนจําทัณฑสถานปลอดยาเสพติด เรือนจําและทัณฑสถานผานเกณฑมาตรฐานเรือนจําดานการควบคุมและการรักษาความปลอดภัย และหนวยงานภายนอกมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในเรือนจําและทัณสถานฯ

2. รวมพลังแกปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน มีความหมายเกี่ยวกับการกําหนดเปาหมายดังตอไปนี้ คือ ควบคุมและปองกันการแพรระบาดยาเสพติดในเรือนจํา โดยเรือนจําตอง

Page 53: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

42

ปลอดจากยาเสพติด มีการประสานความรวมมือกับหนวยงานภายนอกในการปองกันและในการปราบปรามยาเสพติด และมีการตรวจคนจูโจมและตรวจปสสาวะกับผูตองขัง อีกทั้งผูตองขังที่ติดยาเสพติดไดรับการฟนฟู โดยจะไดรับการดูแลสุขภาพทั้งดานรางกายและจิตใจ ใหการบําบัดฟนฟูกับผูตองขัง

3. พัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ มีความหมายเกี่ยวกับการบรรลุเปาหมายดังตอไปนี้ คือ มีการพัฒนาโครงสรางและกรอบอัตรากําลังใหเหมาะสมสอดคลองกับการพัฒนาสมรรถนะของเจาหนาที่ใหเปนมืออาชีพ เจาหนาที่มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในการทํางาน มีการจัดทําขอตกลงเปาหมายผลการปฏิบัติงานที่เชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตรหลักของกรมราชทัณฑ การนําผลการปฏิบัติงานเชื่อมโยงกับสิ่งจูงใจมีแผนพัฒนาสมรรถนะของบุคคล และสงเสริมความเสมอภาคระหวางขาราชการหญิง – ชาย

Page 54: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

43

บทที่ 3วิธีการศึกษา

การศึกษาเรื่อง ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ผูศึกษาไดดําเนินการศึกษาตามขั้นตอนดังนี้

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง3.2 วิธีการเลือกกลุมตัวอยาง3.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา3.4 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ3.5 การเก็บรวบรวมขอมูล3.6 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางประชากรที่ใชในการศึกษา คือ เจาพนักงานราชทัณฑ ที่ปฏิบัติหนาที่ในทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร จํานวน 204 คน ผูศึกษาทําการสุมตัวอยางเพื่อหาขนาดของกลุมตัวอยาง โดยใชสูตรของ Taro Yamane (1973 อางถึงใน ศิริรัตน ชุณหคลาย, 2546) ดังนี้

n = N 1 + Ne2

เมื่อ n = จํานวนกลุมตัวอยาง N = เจาพนักงานราชทัณฑที่ปฏิบัติหนาที่ ในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง

กรุงเทพมหานคร จํานวน 204 คน e = คาความคลาดเคลื่อนระหวางคาเฉลี่ยของตัวอยางและคาเฉลี่ยของประชากร

เทากับ 0.05แทนคาไดดังนี้ n = 204

1+204 (0.05)2

= 135 คน

Page 55: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

44

3.2 วิธีการเลือกกลุมตัวอยางการศึกษาในครั้งนี้ ผูศึกษาเลือกกลุมตัวอยางโดยใชการสุมตัวอยางแบบงาย (Simple

Random sampling) โดยการกําหนดหมายเลขแทนเจาพนักงานราชทัณฑแตละคน ไดทั้งหมด 204 หมายเลข และทําการจับสลากจนไดจํานวนครบ 135 คน

3.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในครั้งนี้คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) โดย

แบงออกเปน 3 สวน ไดแกสวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพและ

ประสบการณในการทํางาน จํานวนขอคําถาม 6 ขอ มีลักษณะคําถามแบบปลายปดสวนที่ 2 ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง มี 11 ดาน ไดแก (1) การ

บริหารทรัพยากรมนุษย (Man) (2) การบริหารงบประมาณ (Money) (3) การบริหารงานทั่วไป (Management) (4) การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) (5) การบริหารคุณธรรม (Morality) (6) การใหบริการประชาชน (Market) (7) การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message) (8) วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method) (9) การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute) (10) การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation) (11) การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement) มีลักษณะเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating scale ) แบบเลือกตอบได 5 ระดับ ไดแก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด โดยแตระดับแทนความหมาย ดังนี้

ตอบ 1 หมายถึง มีทรัพยากรการบริหารอยูระดับนอยที่สุดตอบ 2 หมายถึง มีทรัพยากรการบริหารอยูระดับนอยตอบ 3 หมายถึง มีทรัพยากรการบริหารอยูระดับปานกลางตอบ 4 หมายถึง มีทรัพยากรการบริหารอยูระดับมากตอบ 5 หมายถึง มีทรัพยากรการบริหารอยูระดับมากที่สุด

ชวงหางของคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด จํานวนชั้น

= 5 – 1 = 4 = 0.80 5 5

Page 56: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

45

การแปลความหมายคาเฉลี่ย 1.00 – 1.80 มีทรัพยากรการบริหารอยูระดับนอยที่สุดคาเฉลี่ย 1.81 – 2.60 มีทรัพยากรการบริหารอยูระดับนอยคาเฉลี่ย 2.61 – 3.40 มีทรัพยากรการบริหารอยูระดับปานกลางคาเฉลี่ย 3.41 – 4.20 มีทรัพยากรการบริหารอยูระดับมากคาเฉลี่ย 4.21 – 5.00 มีทรัพยากรการบริหารอยูระดับมากที่สุดสวนที่ 3 ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

กรุงเทพมหานคร มีลักษณะเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating scale) แบบเลือกตอบได 5 ระดับ ไดแก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด ซึ่งมีเกณฑการใหคะแนนดังนี้

ตอบ มากที่สุด ให 5 คะแนนตอบ มาก ให 4 คะแนนตอบ ปานกลาง ให 3 คะแนนตอบ นอย ให 2 คะแนนตอบ นอยที่สุด ให 1 คะแนน

ชวงหางของคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด จํานวนชั้น = 5 – 1 = 4 = 0.80

5 5การแปลความหมาย

คาเฉลี่ย 1.00 – 1.80 มีประสิทธิผลระดับนอยที่สุดคาเฉลี่ย 1.80 – 2.60 มีประสิทธิผลระดับนอยคาเฉลี่ย 2.61 – 3.40 มีประสิทธิผลระดับปานกลางคาเฉลี่ย 3.41 – 4.20 มีประสิทธิผลระดับมากคาเฉลี่ย 4.21 – 5.00 มีประสิทธิผลระดับมากที่สุด

3.4 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือมีวัตถุประสงคเพื่อทราบวาแบบสอบถามที่สรางขึ้นมา

นั้น มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) และมีความนาเชื่อถือ (Reliability) ในระดับใด ซึ่งมีขั้นตอนในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ดังนี้

Page 57: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

46

1. การหาความตรง (Validity)โดยการนําแบบสอบถามที่สรางเสร็จแลวไปปรึกษากับรองศาสตราจารย ดร. อนันต บุญสนอง อาจารยที่ปรึกษาและจากนั้นนําฉบับรางที่ปรับปรุงเสนอตอผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบแกไขดูความชัดเจนความถูกตองกับกรอบแนวคิดในการวิจัยเปนการหาความตรงตามเนื้อหา (Content Validity ) ตลอดจนวิจารณเสนอแนะในการปรับปรุงแบบสอบถามใหมีความสมบูรณ

2. การทดสอบความเชื่อถือ (Reliability) ผูศึกษาทําการปรับแบบสอบถามกอนนําไปทดลอง (Try out) เก็บขอมูลจริงกับเจาพนักงานราชทัณฑประจําเรือนจํากลางคลองเปรม ซึ่งเปนตัวอยางที่มีลักษณะคลายกับเจาพนักงานราชทัณฑในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางซึ่งเปนกลุมประชากร จํานวน 30 คนโดยนําแบบสอบถามไปทําการทดสอบ (Pre-Test) จากนั้นนําแบบสอบ ถามมาวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบัค (Cronbachs’ Alpha Coefficient)

3. การหาคาสัมประสิทธิ์อัลฟา ในขั้นการตรวจสอบแบบสอบถามเบื้องตน คํานวณดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ สําหรับผลลัพธที่ไดรับจากการตรวจสอบนั้นคาสัมประสิทธิ์อัลฟาควรจะมีคาสูงกวา 0.70 ซึ่งแสดงวามาตรวัดองคประกอบนั้นวามีความเหมาะสมในการนําไปใช และการวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์อัลฟา มีรายละเอียด ดังนี้

ตารางที่ 3.1 แสดงคาสัมประสิทธิ์อัลฟาของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ทรัพยากรการบริหาร 11 ดาน คาสัมประสิทธิ์อัลฟา(Alpha)1. ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย 0.8672. ดานการบริหารงบประมาณ 0.8493. ดานการบริหารงานทั่วไป 0.8264. ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ 0.8965. ดานการบริหารคุณธรรม 0.8766. ดานการใหบริการประชาชน 0.8817. ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร 0.7578. ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค 0.8849. ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในกาปฏิบัติงาน 0.80010. ดานการประสานงานหรือการประนีประนอม 0.87511. ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน 0.893

รวม 0.970

Page 58: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

47

ตารางที่ 3.2 แสดงคาสัมประสิทธิ์อัลฟาของประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

คาสัมประสิทธิ์อัลฟา(Alpha)

1. ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติ ตอผูตองขัง

0.747

2. ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน 0.8673. ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ 0.850

3.5 การเก็บรวบรวมขอมูล ผูศึกษาดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลกับกลุมตัวอยางที่เปนเจาพนักงานราชทัณฑที่

ปฏิบัติหนาที่ในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร จํานวน 135 คนดวยตนเอง และมีผูชวยวิจัยจํานวน 2 คน โดยขออนุญาตเขาทําการเก็บขอมูลจากผูอํานวยการทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง เพื่อเขาชี้แจงวัตถุประสงคของการศึกษา และกําหนดวันแจกแบบสอบถามใหแกกลุมตัวอยาง โดยใชเวลาประมาณ 30 วัน

3.6 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชผูศึกษานําแบบสอบถามทําการตรวจสอบความถูกตองของการตอบแบบสอบถามและทํา

การประมวลผลขอมูลดวยเครื่องคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ ซึ่งในการวิเคราะหขอมูลครั้งนี้ ผูศึกษานําเสนอขอมูลเปน 2 รูปแบบ ดังนี้

3.6.1 สถิติพรรณนา (Descriptive Statistic) 1. ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง สถิติที่ใชในการวิเคราะหคือ การแจกแจงความถี่

(Frequency) และคารอยละ (Percentage) 2. ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง สถิติที่ใชในการวิเคราะห

คือ การหาคาเฉลี่ย (Mean: ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: SD) 3. ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

กรุงเทพมหานคร สถิติที่ใชในการวิเคราะห คือ การหาคาเฉลี่ย (Mean: ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: SD )

Page 59: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

48

3.6.2 สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistic) การวิเคราะหความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการ

ปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร สถิติที่ใชในการวิเคราะหคือ การหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันพันธแบบเพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบคาความสัมพันธของตัวแปรที่ศึกษา

Page 60: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

49

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาเรื่อง “ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร” ผูศึกษาเก็บรวบรวมขอมูลกับเจาหนาที่ จํานวน 135 คน และไดรับกลับคืน จํานวน 135 คน คิดเปนรอยละ 100 ซึ่งผูศึกษาไดนํามาวิเคราะหและนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล โดยแบงออกเปน 4 สวน ดังนี้

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง4.2 ผลการวิเคราะหทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร4.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

กรุงเทพมหานคร4.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางจากการศึกษาขอมูลทั่วไปของเจาพนักงานราชทัณฑที่ปฏิบัติหนาที่ในทัณฑสถานบําบัด

พิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ประกอบดวย เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และประสบการณในการทํางาน ผูศึกษาขอเสนอในรูปตารางประกอบการบรรยาย ดังนี้

ตารางที่ 4.1 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน รอยละชายหญิง

12411

91.858.15

รวม 135 100.0

จากตารางที่ 4.1 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย จํานวน 124 คน คิดเปนรอยละ 91.85 และเปนเพศหญิง จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 8.15

Page 61: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

50

ตารางที่ 4.2 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามสถานภาพ

สถานภาพ จํานวน รอยละโสดสมรส/อยูดวยกันหมาย/หยารางแยกกันอยู

369162

26.6767.414.441.48

รวม 135 100.0

จากตารางที่ 4.2 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีสถานภาพสมรส/อยูดวยกัน จํานวน 91 คน คิดเปนรอยละ 67.41 รองลงมาคือ มีสถานภาพโสด จํานวน 36 คน คิดเปนรอยละ 26.67 สถานภาพหมาย/หยาราง จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 4.44 และสถานภาพแยกกันอยู อยูในลําดับนอยที่สุด จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 1.48

ตารางที่ 4.3 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ

อายุ จํานวน รอยละ21-30 ป31-40 ป41-50 ป51-60 ป

17413641

12.5930.3726.6730.37

รวม 135 100.0

จากตารางที่ 4.3 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญอยูที่อายุชวง 31-40 ป และ 51-60 ป จํานวน 41 คน คิดเปนรอยละ 30.37 รองลงมาคือ อายุชวง 41-50 ป จํานวน 36 คน คิดเปนรอยละ 26.67 และอายุชวง 21-30 ป อยูในลําดับนอยที่สุด จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 12.59

Page 62: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

51

ตารางที่ 4.4 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จํานวน รอยละต่ํากวาปริญญาตรีปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

287829

20.7457.7821.48

รวม 135 100.0

จากตารางที่ 4.4 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 78 คน

คิดเปนรอยละ 57.78 รองลงมาคือ มีการศึกษาระดับสูงกวาปริญญาตรี จํานวน 29 คน คิดเปนรอยละ

21.48 และมีการศึกษาระดับต่ํากวาปริญญาตรี อยูในลําดับนอยที่สุด จํานวน 28 คน คิดเปนรอยละ

20.74

ตารางที่ 4.5 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามตําแหนงในการทํางาน

ตําแหนง จํานวน รอยละเจาพนักงานราชทัณฑเจาพนักงานอบรมและฝกวิชาชีพนักทัณฑวิทยานักวิชาการอบรมและฝกวิชาชีพอื่นๆ

718

341111

52.595.92

25.198.158.15

รวม 135 100.0

จากตารางที่ 4.5 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีตําแหนงการทํางานเปนเจาพนักงาน

ราชทัณฑ จํานวน 71 คน คิดเปนรอยละ 52.59 รองลงมาคือ นักทัณฑวิทยา จํานวน 34 คน คิดเปน

รอยละ 25.19 นักวิชาการอบรมและฝกวิชาชีพและอื่นๆ จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 8.15 และ

เจาพนักงานอบรมและฝกวิชาชีพ อยูในลําดับนอยที่สุด จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 5.92

Page 63: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

52

ตารางที่ 4.6 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามประสบการณในการทํางาน

ประสบการณในการทํางาน จํานวน รอยละ1-10 ป11-20 ป21-30 ป31-40 ป

68467

14

50.3734.075.19

10.37รวม 135 100.0

จากตารางที่ 4.6 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีประสบการณในการทํางานระหวาง

1-10 ป จํานวน 68 คน คิดเปนรอยละ 50.37 รองลงมาคือ มีประสบการณในการทํางานระหวาง

11-20 ป จํานวน 46 คน คิดเปนรอยละ 34.07 มีประสบการณในการทํางานระหวาง 31-40 ป จํานวน

14 คน คิดเปนรอยละ 10.37 และมีประสบการณในการทํางาน 31-30 ป อยูในลําดับนอยที่สุด

จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 5.19

4.2 ผลการวิ เค รา ะหทรัพยา กรการบริหา รใน ทัณฑ สถ า นบํ า บัด พิ เ ศ ษกลางกรุงเทพมหานคร

ผู ศึ กษ า ไดวิ เคร า ะห ท รัพ ยาก รกา รบ ริห าร ในทั ณฑส ถา น บํ า บั ดพิ เศ ษก ลา ง กรุงเทพมหานครประกอบดวย 11 ดาน ไดแก 1. การบริหารทรัพยากรมนุษย (Man) 2. การบริหารงบประมาณ (Money) 3. การบริหารงานทั่วไป (Management) 4. การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) 5. การบริหารคุณธรรม (Morality) 6. การใหบริการประชาชน (Market) 7. การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message) 8. วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method) 9. การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute) 10. การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation) 11. การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement) ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้

Page 64: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

53

ตารางที่ 4.7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ในภาพรวม

ทรัพยากรการบริหาร

ดาน SD การแปลผล ลําดับที่

1. การบริหารทรัพยากรมนุษย 3.24 .731 ปานกลาง 112. การบริหารงบประมาณ 3.45 .725 มาก 83. การบริหารงานทั่วไป 3.76 .678 มาก 14. การบริหารวัสดุอุปกรณ 3.40 .788 ปานกลาง 95. การบริหารคุณธรรม 3.52 .724 มาก 56. การใหบริการประชาชน 3.51 .791 มาก 67. การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร 3.53 .734 มาก 38. วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค 3.53 .722 มาก 39. การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน 3.61 .684 มาก 210. การประสานงาน หรือการประนีประนอม 3.33 .808 ปานกลาง 1011. การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.49 .837 มาก 7

เฉลี่ยรวม 3.49 .617 มาก

จากตารางที่ 4.7 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( =3.49) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ทรัพยากรการบริหารอยูในระดับมากและระดับปานกลาง ซึ่งสามารถเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยดังนี้ ดานการบริหารงานทั่วไป ( =3.76) มีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน ( =3.61) ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผนหรือเทคนิค ( =3.53) ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร ( =3.53) ดานการบริหารคุณธรรม ( =3.52) ดานการใหบริการประชาชน ( =3.51) ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน ( =3.49) ดานการบริหารงบประมาณ ( =3.45) ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ ( =3.40) ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม ( =3.33) และดานการบริหารทรัพยากรมนุษย ( =3.24) ตามลําดับ

Page 65: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

54

จากผลวิเคราะหทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ในภาพรวมดังกลาว ผูศึกษาขอนําเสนอผลวิเคราะหทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร เปนรายดานดังมีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 4.8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย

ทรัพยากรการบริหาร

ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯ บรรจุแตงตั้งและใชบุคลากรอยาง เหมาะสมกับงานโดยวางตัวบุคลากรได เหมาะสมกับตําแหนงหนาที่

3.33 .809 ปานกลาง 2

2. ทัณฑสถานฯ เห็นความสําคัญของการพัฒนา คุณภาพบุคลากร มีการฝกอบรมเปนประจํา

3.32 .861 ปานกลาง 3

3. ทัณฑสถานฯ เชิญบุคคลภายนอก มาชวยการ พัฒนาบุคลากร

3.11 .912 ปานกลาง 4

4. ทัณฑสถานฯ เปลี่ยนหรือยืมตัวบุคลากรจาก หนวยงานอื่นมาปฏิบัติหนาที่ตําแหนงงานที่ จําเปน

2.59 1.003 ปานกลาง 5

5. ผูบริหารทัณฑสถานฯ ทําตัวเปนแบบอยางที่ดี ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย

3.84 .948 มาก 1

เฉลี่ยรวม 3.24 .731 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.8 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย อยูในระดับปานกลาง ( =3.24) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารทรัพยากรมนุษยมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากและระดับปานกลาง และขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ ผูบริหารทัณฑสถานฯ ทําตัวเปนแบบอยางที่ดีดานการบริหารทรัพยากรมนุษย ( =3.84) รองลงมาคือ ทัณฑสถานฯ บรรจุแตงตั้งและใชบุคลากรอยางเหมาะสมกับงานโดยวางตัวบุคลากรไดเหมาะสมกับตําแหนงหนาที่ ( =3.33) และทัณฑสถานฯ เห็นความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพบุคลากร มีการฝกอบรมเปนประจํา

Page 66: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

55

( =3.32) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ทัณฑสถานฯ เปลี่ยนหรือยืมตัวบุคลากรจากหนวยงานอื่นมาปฏิบัติหนาที่ตําแหนงงานที่จําเปน ( =2.59)

ตารางที่ 4.9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารงบประมาณ

ทรัพยากรการบริหาร

ดานการบริหารงบประมาณ SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯ ไดรับการจัดสรรงบประมาณ เพียงพอแกการบริหารจัดการ

3.31 .926 ปานกลาง 5

2. ทัณฑสถานฯ มีการวางแผนการบริหาร งบประมาณของหนวยงานถูกตองตามระเบียบ

3.59 .767 มาก 1

3. ทัณฑสถานฯ สนับสนุนใหตรวจสอบในดาน งบประมาณอยางเขมงวด

3.57 .860 มาก 2

4. ทัณฑสถานฯ สนับสนุนใหหนวยงานภายนอก เขามามีสวนรวมในการตรวจสอบงบประมาณ

3.41 .949 มาก 3

5. ทัณฑสถานฯใชจายงบประมาณอยางประหยัด มีประสิทธิภาพ คุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด

3.40 .924 ปานกลาง 4

เฉลี่ยรวม 3.45 .725 มาก

จากตารางที่ 4.9 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารงบประมาณ อยูในระดับมาก ( =3.45) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทรัพยากรการบริหารอยูในระดับมากและระดับปานกลาง และขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ ทัณฑสถานฯมีการวางแผนการบริหารงบประมาณของหนวยงานถูกตองตามระเบียบ( =3.59) รองลงมาคือ ทัณฑสถานฯ สนับสนุนใหตรวจสอบในดานงบประมาณอยางเขมงวด( =3.57) และทัณฑสถานฯ สนับสนุนใหหนวยงานภายนอกเขามามีสวนรวมในการตรวจสอบงบประมาณ ( =3.41) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ ทัณฑสถานฯ ไดรับการจัดสรรงบประมาณเพียงพอแกการบริหารจัดการ ( =3.31)

Page 67: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

56

ตารางที่ 4.10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารงานทั่วไป

ทรัพยากรการบริหาร

ดานการบริหารงานทั่วไป SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯวางแผน ปฏิบัติตามแผน และ ประเมินผลอยางเปนระบบ

3.53 .800 มาก 4

2. ทัณฑสถานฯมีการบังคับบัญชาอยางเปน เอกภาพ

3.62 .905 มาก 3

3. ทัณฑสถานฯมีการแจงเวียนประกาศและคําสั่ง ใหเจาหนาที่ผูเกี่ยวของอยางทั่วถึง

3.53 .905 มาก 4

4. ผูบริหารทัณฑสถานฯมีภาวะผูนําสูง เชน กลาตัดสินใจ กลาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง

4.11 .798 มาก 1

5. ผูบริหารทัณฑสถานฯ มีลักษณะเปนผูนํามือ อาชีพ เชนมีวิสัยทัศน มีความคิดริเริ่ม ใชความรู ในการปฏิบัติงาน

4.04 .876 มาก 2

เฉลี่ยรวม 3.76 .678 มาก

จากตารางที่ 4 .10 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง

กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารงานทั่วไป อยูในระดับมาก ( =3.76) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา ทรัพยากรการบริหารอยูในระดับมากทุกขอ และขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ

ผูบริหารทัณฑสถานฯ มีภาวะผูนําสูง เชน กลาตัดสินใจ กลาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ( =4.11)

รองลงมาคือ ผูบริหารทัณฑสถานฯ มีลักษณะเปนผูนํามืออาชีพ เชนมีวิสัยทัศน มีความคิดริเริ่ม

ใชความรูในการปฏิบัติงาน ( =4.04) และทัณฑสถานฯมีการบังคับบัญชาอยางเปนเอกภาพ

( =3.62) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ ทัณฑสถานฯ มีการแจงเวียนประกาศและคําสั่งใหเจาหนาที่

ผูเกี่ยวของอยางทั่วถึง และทัณฑสถานฯ วางแผน ปฏิบัติตามแผนและประเมินผลอยางเปนระบบ

( =3.53)

Page 68: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

57

ตารางที่ 4.11 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ

ทรัพยากรการบริหาร

ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯ มีวัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพที่ทัน สมัยมาใชปฏิบัติงาน

3.40 .908 ปานกลาง 3

2. ทัณฑสถานฯ มีวัสดุอุปกรณเพียงพอและมี ประสิทธิภาพตอการปฏิบัติงาน เชน คอมพิวเตอร วิทยุสื่อสาร เครื่องตรวจโลหะ

3.44 .870 มาก 2

3. ทัณฑสถานฯ ปฏิบัติตามระเบียบการพัสดุอยาง เครงครัด

3.56 .816 มาก 1

4. ทัณฑสถานฯ มีการบํารุงรักษาและทดแทน วัสดุอุปกรณอยางมีระบบ

3.24 .910 ปานกลาง 5

5. ผูบริหารทัณฑสถานฯ มีความคิดริเริ่มในการ บริหารจัดการวัสดุอุปกรณที่ทันสมัยนํามาใช ในหนวยงาน เชน การนําระบบ Expire day (วันหมดอายุ)

3.37 1.070 ปานกลาง 4

เฉลี่ยรวม 3.40 .788 ปานกลาง

จากตารางที่ 4 .11 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง

กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ อยูในระดับปานกลาง ( =3.40) เมื่อพิจารณาเปน

รายขอ พบวา ทรัพยากรการบริหารอยูในระดับมากและระดับปานกลาง และขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด

3 อันดับแรกคือ ทัณฑสถานฯ ปฏิบัติตามระเบียบการพัสดุอยางเครงครัด ( =3.56) รองลงมาคือ

ทัณฑสถานฯ มีวัสดุอุปกรณเพียงพอและมีประสิทธิภาพตอการปฏิบัติงาน เชน คอมพิวเตอร วิทยุ

สื่อสาร เครื่องตรวจโลหะ ( =3.44) และทัณฑสถานฯ มีวัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพที่ทันสมัยมาใช

ปฏิบัติงาน ( =3.40) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ ทัณฑสถานฯ มีการบํารุงรักษาและทดแทนวัสดุ

อุปกรณอยางมีระบบ ( =3.24)

Page 69: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

58

ตารางที่ 4.12 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารคุณธรรม

ทรัพยากรการบริหาร

ดานการบริหารคุณธรรม SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯ นําหลักการบริหารคุณธรรม เชน ความซื่อสัตยสุจริตมาใชในการปฏิบัติงาน

3.59 .949 มาก 1

2. บุคลากรทัณฑสถานฯ มีจิตสํานึกที่ดีงามในการ ปฏิบัติงานดวยความรับผิดชอบและเอาใจใสงาน อยางสม่ําเสมอ

3.54 .835 มาก 4

3. บุคลากรทัณฑสถานฯ มีความตั้งใจทุมเท อุทิศ ตนในการปฏิบัติตามกฎ ขอบังคับ ระเบียบ วินัย อยางเครงครัด

3.55 .798 มาก 3

4. บุคลากรทัณฑสถานฯ ไมใชตําแหนงหรืออํานาจ หนาที่แสวงหาผลประโยชนสวนตนหรือให พวกพอง

3.38 .854 ปานกลาง 5

5. บุคลากรทัณฑสถานฯ มีความเมตตากรุณาใน การปฏิบัติตามกฎ ขอบังคับ ระเบียบ วินัยอยาง เครงครัด

3.56 .798 มาก 2

เฉลี่ยรวม 3.52 .724 มาก

จากตารางที่ 4.12 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครดานการบริหารคุณธรรม อยูในระดับมาก ( =3.52) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทรัพยากรการบริหารอยูในระดับมากและระดับปานกลาง และขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ ทัณฑสถานฯนําหลักการบริหารคุณธรรม เชน ความซื่อสัตยสุจริตมาใชในการปฏิบัติงาน( =3.59) รองลงมาคือ บุคลากรทัณฑสถานฯมีความเมตตากรุณาในการปฏิบัติตามกฎ ขอบังคับ ระเบียบ วินัย อยางเครงครัด ( =3.56) และบุคลากร ทัณฑสถานฯ มีความตั้งใจทุมเท อุทิศตนในการปฏิบัติตามกฎ ขอบังคับ ระเบียบ วินัยอยางเครงครัด ( =3.55) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ บุคลากรทัณฑสถานฯ ไมใชตําแหนงหรืออํานาจหนาที่แสวงหาผลประโยชนสวนตนหรือใหพวกพอง ( =3.38)

Page 70: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

59

ตารางที่ 4.13 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการใหบริการประชาชน

ทรัพยากรการบริหาร

ดานการใหบริการประชาชน SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯ มีชองทางการรับฟงความคิดเห็น ของประชาชนเพื่อปรับปรุงการบริการใหดี ยิ่งขึ้น

3.46 .983 มาก 4

2. ทัณฑสถานฯ ใหบริการที่มุงตอบสนองความ ตองการของประชาชน

3.60 .883 มาก 2

3. ทัณฑสถานฯ ดําเนินงานโดยยึดหลักดวยความ รวดเร็วใหกับประชาชน

3.61 .865 มาก 1

4. ทัณฑสถานฯ ใหขอมูลที่เที่ยงตรงและทันสมัย เพื่อประชาสัมพันธใหกับประชาชน

3.56 .861 มาก 3

5. ทัณฑสถานฯ มีการประเมินผลความพึงพอใจ ของประชาชน

3.31 .981 ปานกลาง 5

เฉลี่ยรวม 3.51 .791 มาก

จากตารางที่ 4 .13 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง

กรุงเทพมหานครดานการใหบริการประชาชน อยูในระดับมาก ( =3.51) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ

พบวา ทรัพยากรการบริหารอยูในระดับมากและระดับปานกลาง และขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับ

แรกคือ ทัณฑสถานฯ ดําเนินงานโดยยึดหลักดวยความรวดเร็วใหกับประชาชน ( =3.61) รองลงมา

คือ ทัณฑสถานฯ ใหบริการที่มุงตอบสนองความตองการของประชาชน ( =3.60) และทัณฑสถาน

ใหขอมูลที่เที่ยงตรงและทันสมัยเพื่อประชาสัมพันธใหกับประชาชน ( =3.56) สวนขอที่มีคาเฉลี่ย

ต่ําสุดคือ ทัณฑสถานฯ มีการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชน ( =3.31)

Page 71: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

60

ตารางที่ 4.14 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร

ทรัพยากรการบริหาร

ดานการบริหารขาวสารหรือขอมูลขาวสาร SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯ มีระบบการหาขาวสารที่มี ประสิทธิภาพรวดเร็ว

3.54 .920 มาก 1

2. ทัณฑสถานฯ มีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร เปนเครือขายและเปนระบบ

3.54 .835 มาก 1

3. ระบบกลั่นกรองขอมูลขาวสารของทัณฑสถาน เชื่อถือได

3.51 .818 มาก 5

4. ทัณฑสถานฯ มีระบบการควบคุมการตรวจสอบ ขอมูลขาวสารอยางมีมาตรฐาน

3.52 .863 มาก 4

5. ทัณฑสถานฯ นําขอมูลขาวสารมาใชในการ ปฏิบัติงาน

3.53 .827 มาก 3

เฉลี่ยรวม 3.53 .734 มาก

จากตารางที่ 4 .14 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง

กรุงเทพมหานครดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร อยูในระดับมาก ( =3.53) เมื่อ

พิจารณาเปนรายขอ พบวา ทรัพยากรการบริหารอยูในระดับมากทุกขอ และขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด

3 อันดับแรกคือ ทัณฑสถานฯมีระบบการหาขาวสารที่มีประสิทธิภาพรวดเร็ว และทัณฑสถานฯ

มีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารเปนเครือขายและเปนระบบ ( =3.54) รองลงมาคือ ทัณฑสถานฯ

นําขอมูลขาวสารมาใชในการปฏิบัติงาน ( =3.53) และทัณฑสถานฯ มีระบบการควบคุมการ

ตรวจสอบขอมูลขาวสารอยางมีมาตรฐาน ( =3.52) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ ระบบกลั่นกรอง

ขอมูลขาวสารของทัณฑสถานฯ เชื่อถือได ( =3.51) ตามลําดับ

Page 72: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

61

ตารางที่ 4.15 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค

ทรัพยากรการบริหาร

ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯ บริหารจัดการบนพื้นฐานของ กฎหมายหรือยึดถือหลักนิติธรรม

3.61 .802 มาก 1

2. ทัณฑสถานฯ มีวิธีการระเบียบแบบแผนหรือ เทคนิคในการปฏิบัติงานอยางเปนมาตรฐาน

3.55 .750 มาก 3

3. ทัณฑสถานฯ มีการปรับปรุงวิธีการระเบียบ แบบแผนหรือเทคนิคในการปฏิบัติงานอยู ตลอดเวลา

3.51 .827 มาก 4

4. ผูบริหารทัณฑสถานฯ สนับสนุนใหบุคลากร นําวิธีการและเทคนิคมาใชในการปฏิบัติงาน

3.57 .815 มาก 2

5. ทัณฑสถานฯ มีการฝกอบรมทําความเขาใจกับ บุคลากรถึงวิธีการระเบียบแบบแผนหรือ เทคนิคอยูเปนประจํา

3.41 .892 ปานกลาง 5

เฉลี่ยรวม 3.53 .722 มาก

จากตารางที่ 4 .15 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง

กรุงเทพมหานครดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค อยูในระดับมาก ( =3.53) เมื่อ

พิจารณาเปนรายขอ พบวา ทรัพยากรการบริหารอยูในระดับมากและระดับปานกลาง และขอที่มี

คาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ ทัณฑสถานฯ บริหารจัดการบนพื้นฐานของกฎหมายหรือยึดถือหลัก

นิติธรรม ( =3.61) รองลงมาคือ ผูบริหารทัณฑสถานฯ สนับสนุนใหบุคลากรนําวิธีการและเทคนิค

มาใชในการปฏิบัติงาน ( =3.57) และทัณฑสถานฯ มีวิธีการระเบียบแบบแผนหรือเทคนิคในการ

ปฏิบัติงานอยางเปนมาตรฐาน ( =3.55) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ ทัณฑสถานฯ มีการฝกอบรม

ทําความเขาใจกับบุคลากรถึงวิธีการระเบียบแบบแผนหรือเทคนิคอยูเปนประจํา ( =3.41)

Page 73: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

62

ตารางที่ 4.16 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน

ทรัพยากรการบริหาร

ดานการบริหารเวลาหรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน

SD การแปลผล ลําดับที่

1. ผูบริหาร ใหความสําคัญกับการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน

3.72 .928 มาก 2

2. ผูบริหาร มีนโยบายสนับสนุนการปฏิบัติงาน ดวยความรวดเร็วและทันเวลา

3.81 .851 มาก 1

3. ทัณฑสถานฯ มีการประเมินกรอบเวลาใน ปฏิบัติงานอยูสม่ําเสมอ

3.53 .800 มาก 4

4. ทัณฑสถานฯ มีการปรับปรุงกรอบเวลาในการ ปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ

3.59 .776 มาก 3

5. บุคลากรทัณฑสถานฯ ใหความสําคัญกับการ บริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน โดยไมมีขอตอรอง

3.41 .866 ปานกลาง 5

เฉลี่ยรวม 3.61 .684 มาก

จากตารางที่ 4 .16 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง

กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน อยูในระดับมาก ( =3.61)

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทรัพยากรการบริหารอยูในระดับมากและระดับปานกลาง และขอที่มี

คาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ ผูบริหาร มีนโยบายสนับสนุนการปฏิบัติงานดวยความรวดเร็วและ

ทันเวลา ( =3.81) รองลงมาคือ ผูบริหาร ใหความสําคัญกับการบริหารเวลาหรือกรอบเวลาในการ

ปฏิบัติงาน ( =3.72) และทัณฑสถานฯ มีการปรับปรุงกรอบเวลาในการปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ

( =3.59) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ บุคลากรทัณฑสถานฯ ใหความสําคัญกับการบริหารเวลา

หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงานโดยไมมีขอตอรอง ( =3.41)

Page 74: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

63

ตารางที่ 4.17 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม

ทรัพยากรการบริหาร

ดานการประสานงานหรือการประนีประนอม SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯ มีการประชุมประสานงานหารือ กับหนวยงานอื่นเพื่อจัดแบงหนาที่การปฏิบัติ งานหนาที่ใหชัดเจนและลดความซ้ําซอน

3.31 .910 ปานกลาง 3

2. ทัณฑสถานฯ มีการประชุมตกลงเพื่อการ ประสานงานอยางสม่ําเสมอ

3.44 .944 มาก 2

3. ทัณฑสถานฯ มีการประชุมหนวยงานภายใน เพื่อการประนีประนอมเปนประจําทุกครั้งเมื่อมี กรณีเกิดขึ้น

3.46 .944 มาก 1

4. ทัณฑสถานฯ มีการประชุมกับหนวยงาน ภายนอกเพื่อการประสานงานระหวาง หนวยงานเปนประจํา

3.24 .950 ปานกลาง 4

5. ทัณฑสถานฯ มีการประชุมเพื่อการ ประนีประนอมกับหนวยงานภายนอกเปน ประจําทุกครั้งเมื่อมีกรณีเกิดขึ้น

3.19 .918 ปานกลาง 5

เฉลี่ยรวม 3.33 .808 ปานกลาง

ตารางที่ 4 .17 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม อยูในระดับปานกลาง ( =3.33) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทรัพยากรการบริหารอยูในระดับมากและระดับปานกลาง และขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ ทัณฑสถานฯ มีการประชุมหนวยงานภายในเพื่อการประนีประนอมเปนประจําทุกครั้งเมื่อมีกรณีเกิดขึ้น ( =3.46) รองลงมาคือ ทัณฑสถานฯ มีการประชุมตกลงเพื่อการประสานงานอยางสม่ําเสมอ ( =3.44) และทัณฑสถานฯ มีการประชุมประสานงานหารือกับหนวยงานอื่นเพื่อจัดแบงหนาที่การปฏิบัติงานหนาที่ใหชัดเจนและลดความซ้ําซอน ( =3.31) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ ทัณฑสถานฯ มีการประชุมเพื่อการประนีประนอมกับหนวยงานภายนอกเปนประจําทุกครั้งเมื่อมีกรณีเกิดขึ้น ( =3.19)

Page 75: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

64

ตารางที่ 4.18 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน

ทรัพยากรการบริหาร

ดานการวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน SD การแปลผล ลําดับที่

1. ผูบริหารทัณฑสถานฯ เห็นถึงความสําคัญและ ความจําเปนของการวัดผลหรือการประเมินผล การปฏิบัติงานภายในหนวยงาน

3.72 .951 มาก 1

2. ผูบริหาร มีนโยบายการวัดผลหรือการประเมิน ผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและไดมาตรฐาน

3.60 .971 มาก 2

3. ทัณฑสถานฯ มีระบบการวัดผลหรือประเมินผล ที่ตรงกับความตองการของเจาหนาที่โดย สามารถจูงใจใหเกิดการปฏิบัติงานอยางเต็ม ความสามารถ

3.46 .904 มาก 3

4. ผูบริหาร เปดโอกาสใหประชาชนหรือหนวยงาน ภายนอกเขามามีสวนรวมในการวัดผล

3.20 1.006 ปานกลาง 5

5. ผูบริหาร มีการควบคุมตรวจสอบการวัดผล หรือ การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรอยาง เครงครัด

3.45 1.020 มาก 4

เฉลี่ยรวม 3.49 .837 มาก

ตารางที่ 4 .18 พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน อยูในระดับมาก ( =3.49) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ทรัพยากรการบริหารอยูในระดับมากและระดับปานกลาง และขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ ผูบริหารทัณฑสถานฯ เห็นถึงความสําคัญและความจําเปนของการวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงานภายในหนวยงาน ( =3.72) รองลงมาคือ ผูบริหารมีนโยบายการวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและไดมาตรฐาน ( =3.60) และ ทัณฑสถานฯ มีระบบการวัดผลหรือประเมินผลที่ตรงกับความตองการของเจาหนาที่โดยสามารถจูงใจใหเกิดการปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถ ( =3.46) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ ผูบริหารเปดโอกาสใหประชาชนหรือหนวยงานภายนอกเขามามีสวนรวมในการวัดผล ( =3.20)

Page 76: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

65

4.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ผูศึกษาไดวิเคราะหประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ประกอบดวย 3 ดาน ไดแก ดานเสริมสรางประสิทธิผลการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน และดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้

ตารางที่ 4.19 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ในภาพรวม

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ดาน SD การแปลผล ลําดับที่

1. เสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการ ปฏิบัติตอผูตองขัง

3.53 .594 มาก 2

2. รวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน 3.78 .756 มาก 13. พัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ 3.40 .790 ปานกลาง 3

เฉลี่ยรวม 3.52 .601 มาก

จากตารางที่ 4.19 พบวา ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( =3.52) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ประสิทธิผลอยูในระดับมากและระดับปานกลาง ซึ่งสามารถเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้คือ ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน ( =3.78) ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง ( =3.53) และดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ ( =3.40) ตามลําดับ

จากผลวิเคราะหประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

กรุงเทพมหานคร ในภาพรวมดังกลาว ผูศึกษาขอนําเสนอผลวิเคราะหประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

ของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร เปนรายดานดังมีรายละเอียดดังนี้

Page 77: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

66

ตารางที่ 4.20 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ดานการเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง

SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯ ผานเกณฑมาตรฐานเรือนจําดาน การควบคุมและการรักษาความปลอดภัย

3.90 .845 มาก 1

2. ผูตองขังในทัณฑสถานฯ ไดรับโอกาสการแกไข และพัฒนาพฤตินิสัย

3.59 .875 มาก 4

3. ทัณฑสถานฯ มีการนําระบบพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการมาใชในการควบคุมผูตองขัง

3.64 .868 มาก 2

4. ทัณฑสถานฯ มีการพัฒนาระบบสื่อสารและ สารสนเทศอยางเพียงพอ

3.46 .826 มาก 6

5. ทัณฑสถานฯ มีการปรับปรุงจัดเก็บฐานขอมูล เมื่อเกิดกรณีผูตองขังกระทําผิดวินัยผูตองขัง

3.56 .843 มาก 5

6. โอกาสการหลบหนีของผูตองขังภายใน ทัณฑสถานฯ

3.63 1.320 มาก 3

7. โอกาสการกอเหตุทะเลาะวิวาทระหวางผูตองขัง ในทัณฑสถานฯ

2.96 1.025 ปานกลาง 7

เฉลี่ยรวม 3.53 .594 มาก

ตารางที่ 4.20 พบวา ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง อยูในระดับมาก ( =3.53) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ประสิทธิผลอยูในระดับมากและระดับปานกลาง และขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ ทัณฑสถานฯ ผานเกณฑมาตรฐานเรือนจําดานการควบคุมและการรักษาความปลอดภัย ( =3.90) รองลงมาคือ ทัณฑสถานฯ มีการนําระบบพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการมาใชในการควบคุมผูตองขัง ( =3.64) และโอกาสการหลบหนีของ

Page 78: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

67

ผูตองขังภายในทัณฑสถานฯ ( =3.63) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ โอกาสการกอเหตุทะเลาะวิวาทระหวางผูตองขังในทัณฑสถานฯ ( =2.96)

ตารางที่ 4.21 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน

SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯ มีการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพดาน รางกายเพื่อผูตองขังในทัณฑสถานฯ เพื่อใหเลิก ยุงเกี่ยวกับยาเสพติดอยางสม่ําเสมอ เชน กิจกรรม ดานกีฬานันทนาการและสันทนาการ

3.64 .990 มาก 5

2. ทัณฑสถานฯ มีการประสานงานรวมกับ เจาหนาที่หนวย งานภายในและหนวยงาน ภายนอกดานการขาวเกี่ยวกับปญหายาเสพติด ภายในทัณฑสถานฯ อยางสม่ําเสมอ

3.76 .842 มาก 4

3. ทัณฑสถานฯ มีแผนจูโจมตรวจคนหายาเสพติด โดยไดรับการรวมมือของเจาหนาที่ภายในทุกฝาย อยางตอเนื่อง

3.84 .945 มาก 1

4. ทัณฑสถานฯ มีการบําบัดฟนฟูดานจิตใจเพื่อให เลิกยุงเกี่ยวกับยาเสพติดอยางสม่ําเสมอ เชน กิจกรรมศาสนาบําบัด

3.83 .902 มาก 3

5. มีการสุมตรวจปสสาวะหาสารยาเสพติดกับ ผูตองขังตามเกณฑกําหนดเวลาของกรมราชทัณฑ

3.84 .953 มาก 1

เฉลี่ยรวม 3.78 .756 มาก

Page 79: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

68

ตารางที่ 4.21 พบวา ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

กรุงเทพมหานคร ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน อยูในระดับมาก

( =3.78) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ประสิทธิผลอยูในระดับมากทุกขอ และขอที่มี

คาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ มีการสุมตรวจปสสาวะหาสารยาเสพติดกับผูตองขัง ตามเกณฑ

กําหนดเวลาของกรมราชทัณฑ และทัณฑสถานฯ มีแผนจูโจมตรวจคนหายาเสพติดโดยไดรับการ

รวมมือของเจาหนาที่ภายในทุกฝายอยางตอเนื่อง ( =3.84) รองลงมาคือ ทัณฑสถานฯมีการบําบัด

ฟนฟูดานจิตใจเพื่อใหเลิกยุงเกี่ยวกับยาเสพติดอยางสม่ําเสมอ เชน กิจกรรมศาสนาบําบัด ( =3.83)

และทัณฑสถานฯ มีการประสานงานรวมกับเจาหนาที่หนวยงานภายในและหนวยงานภายนอกดาน

การขาวเกี่ยวกับปญหายาเสพติดภายในทัณฑสถานฯ อยางสม่ําเสมอ ( =3.76) สวนขอที่มีคาเฉลี่ย

ต่ําสุดคือ ทัณฑสถานฯ มีการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพดานรางกายเพื่อผูตองขังในทัณฑ

สถานฯ เพื่อใหเลิกยุงเกี่ยวกับยาเสพติดอยางสม่ําเสมอ เชน กิจกรรมดานกีฬานันทนาการและ

สันทนาการ ( =3.64)

Page 80: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

69

ตารางที่ 4.22 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ SD การแปลผล ลําดับที่

1. ทัณฑสถานฯ มีการจัดทําขอตกลงเปาหมายผลการ ปฏิบัติงานที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรหลักของกรม ราชทัณฑ

3.80 .827 มาก 1

2. ทัณฑสถานฯ มีการพัฒนาโครงสรางและกรอบ อัตรากําลังใหเหมาะสมสอดคลองความเปนมือ อาชีพ

3.38 1.006 ปานกลาง 4

3. ทัณฑสถานฯ มีการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติ งานของเจาหนาที่ใหเปนมืออาชีพ

3.46 1.035 มาก 2

4. ทัณฑสถานฯ มีแผนพัฒนาบุคลากรเจาหนาที่เปน รายบุคคล

3.13 1.025 ปานกลาง 7

5. ทัณฑสถานฯ มีการสงเสริมความเสมอภาค ระหวางขาราชการหญิง-ชาย

3.39 .985 ปานกลาง 3

6. เจาหนาที่มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมใน การทํางาน

3.32 .967 ปานกลาง 6

7. ทัณฑสถานฯ มีการนําผลการปฏิบัติงานเชื่อมโยง กับสิ่งจูงใจผลสําเร็จ

3.36 .997 ปานกลาง 5

เฉลี่ยรวม 3.40 .790 ปานกลาง

ตารางที่ 4.22 พบวา ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ อยูในระดับปานกลาง ( =3.40) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ประสิทธิผลอยูในระดับมากและระดับปานกลาง และขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ ทัณฑสถานฯ มีการจัดทําขอตกลงเปาหมายผลการปฏิบัติงานที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรหลักของกรมราชทัณฑ ( =3.80) รองลงมาคือ ทัณฑสถานฯ มีการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ใหเปนมืออาชีพ ( =3.46) และทัณฑสถานฯ มีการนําผล

Page 81: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

70

การปฏิบัติงานเชื่อมโยงกับสิ่งจูงใจผลสําเร็จ ( =3.39) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ ทัณฑสถานฯมีแผนพัฒนาบุคลากรเจาหนาที่เปนรายบุคคล ( =3.13)

4.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน

การศึกษาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของ

เจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร โดยการหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

(Correlation Coefficient) ซึ่งเปนดัชนีที่บอกขนาดและทิศทางของความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิง

เสนตรง มักใหสัญลักษณแทนดวย R มีคาตั้งแต -1 (มีความสัมพันธเชิงลบที่ตัวแปรทั้งสองผันแปร

ไปในทิศทางตรงกันขามอยางสมบูรณ) ถึง +1 (มีความสัมพันธเชิงบวกที่ตัวแปรทั้งสองผันแปรไป

ในทิศทางเดียวกันอยางสมบูรณ) แตถามีคาเทากับ 0 หมายความวา ไมมีความสัมพันธระหวางตัว

แปร อยางไรก็ตาม การแปรผลขนาดความสัมพันธนั้นมีหลายระดับขึ้นอยูกับตัวแปรที่ใชศึกษา

ขนาดตัวอยางและความมีนัยสําคัญในทางปฏิบัติ ซึ่งพิจารณาตามเกณฑการวัดคาสัมประสิทธิ์

สหสัมพันธไดดังนี้คือ

-1.00 หมายถึง มีความสัมพันธเชิงลบเต็มที่

-0.71 ถึง -0.99 หมายถึง มีความสัมพันธเชิงลบในระดับสูงมาก

-0.56 ถึง -.070 หมายถึง มีความสัมพันธเชิงลบในระดับสูง

-0.26 ถึง -0.55 หมายถึง มีความสัมพันธเชิงลบในระดับปานกลาง

-0.01 ถึง -0.25 หมายถึง มีความสัมพันธเชิงลบในระดับต่ํา

0.00 หมายถึง ไมมีความสัมพันธกัน

0.01 ถึง 0.25 หมายถึง มีความสัมพันธเชิงบวกในระดับต่ํา

0.26 ถึง 0.55 หมายถึง มีความสัมพันธเชิงบวกในระดับปานกลาง

0.56 ถึง 0.70 หมายถึง มีความสัมพันธเชิงบวกในระดับสูง

0.71 ถึง 0.99 หมายถึง มีความสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงมาก

1.00 หมายถึง มีความสัมพันธเชิงบวกเต็มที่

ผูศึกษาขอแสดงผลการทดสอบสมมติฐานดังนี้

Page 82: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

71

สมมุติฐานที่ 1 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารทรัพยากรมนุษย มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 4.23 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารทรัพยากรมนุษย มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ทรัพยากรการบริหาร

r Sig.ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย 0.545 ** 0.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จากตารางที่ 4.23 พบวา ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารทรัพยากรมนุษย มีความ สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับปานกลาง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.545) จึงเปน ไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 2 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงบประมาณ มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 4.24 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงบประมาณ มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ทรัพยากรการบริหาร

r Sig.ดานการบริหารงบประมาณ 0.681** 0.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จากตารางที่ 4 .24 พบว า ทรัพยากรการบริหารด านการบริหารงบประมาณ มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

Page 83: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

72

กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.681) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 3 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงานทั่วไป มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่สถานบําบัดทัณฑพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 4.25 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงานทั่วไป มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ทรัพยากรการบริหาร

r Sig.ดานการบริหารงานทั่วไป 0.737** 0.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จากตารางที่ 4.25 พบวา ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงานทั่วไปมีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.737) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 4 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารวัสดุอุปกรณ มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 4.26 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารวัสดุอุปกรณ มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ทรัพยากรการบริหาร

r Sig.ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ 0.692** 0.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Page 84: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

73

จากตารางที่ 4 .26 พบวา ทรัพยากรการบริหารด านการบริหารวัสดุอุปกรณ มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.692) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 5 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารคุณธรรม มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 4.27 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารคุณธรรม มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ทรัพยากรการบริหาร

r Sig.ดานการบริหารคุณธรรม 0.652** 0.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จากตารางที่ 4.27 พบวา ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารคุณธรรม มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.652) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 6 ทรัพยากรการบริหารดานการใหบริการประชาชน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 4.28 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการใหบริการประชาชน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ทรัพยากรการบริหาร

r Sig.ดานการใหบริการประชาชน 0.632** 0.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Page 85: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

74

จากตารางที่ 4.28 พบวา ทรัพยากรการบริหารดานการใหบริการประชาชนมีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.632) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 7 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 4.29 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ทรัพยากรการบริหาร

r Sig.ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร 0.732** 0.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จากตารางที่ 4.29 พบวา ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.732) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

Page 86: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

75

สมมุติฐานที่ 8 ทรัพยากรการบริหารดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 4.30 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ทรัพยากรการบริหาร

r Sig.ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค 0.766** 0.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จากตารางที่ 4.30 พบวา ทรัพยากรการบริหารดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัด พิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.766) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 9 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 4.31 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ทรัพยากรการบริหาร

r Sig.ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน

0.660** 0.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Page 87: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

76

จากตารางที่ 4.31 พบวา ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.660) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 10 ทรั พยากร การ บริหาร ดานการป ระสานงาน หรือการป ระนีประนอม มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 4.32 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ทรัพยากรการบริหาร

r Sig.ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม 0.705** 0.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จากตารางที่ 4.32 พบวา ทรัพยากรการบริหารดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.705) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

Page 88: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

77

สมมุติฐานที่ 11 ทรัพยากรการบริหารดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ตารางที่ 4.33 แสดงคาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

ทรัพยากรการบริหาร

r Sig.ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน 0.789** 0.000

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จากตารางที่ 4.33 พบวา ทรัพยากรการบริหารดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.789) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

Page 89: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

78

ตารางที่ 4.34 แสดงสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน

ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐาน

ยอมรับ ปฏิเสธ1. ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารทรัพยากรมนุษย มีความ สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

-

2. ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงบประมาณ มีความสัมพันธ เชิงบวกกับประสิทธิผลของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

-

3. ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงานทั่วไป มีความสัมพันธ เชิงบวกกับประสิทธิผลของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

-

4. ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารวัสดุอุปกรณ มีความสัมพันธ เชิงบวกกับประสิทธิผลของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

-

5. ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารคุณธรรม มีความสัมพันธเชิง บวกกับประสิทธิผลของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

-

6. ทรัพยากรการบริหารดานการใหบริการประชาชน มีความ สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

-

7. ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลของทัณฑสถาน บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

-

8. ทรัพยากรการบริหารดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลของทัณฑสถาน บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

-

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Page 90: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

79

ตารางที่ 4.34 แสดงสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน (ตอ)

ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐาน

ยอมรับ ปฏิเสธ9. ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการ ปฏิบัติงาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลของ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

-

10. ทรัพยากรการบริหารดานการประสานงาน หรือการ ประนีประนอม มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลของ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

-

11. ทรัพยากรการบริหารดานการวัดผล หรือการประเมินผลการ ปฏิบัติงาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลของ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

-

** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Page 91: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

80

บทที่ 5บทสรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค 3 ประการ ดังนี้ ประการแรกเพื่อศึกษาทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ประการที่สองเพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร และประการสุดทายเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก เจาพนักงานราชทัณฑ ที่ปฏิบัติหนาที่ในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร จํานวน 135 คน จากผลการศึกษาสามารถสรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะไดดังตอไปนี้

5.1 บทสรุป5.2 อภิปรายผล5.3 ขอเสนอแนะ

5.1 บทสรุป5.1.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง พบวา สวนใหญเปนเพศชาย จํานวน 124 คน คิดเปนรอย

ละ 91.85 สถานภาพสมรส/อยูดวยกัน จํานวน 91 คน คิดเปนรอยละ 67.41 มีอายุ 31-40 ป และ 50-60 ป จํานวน 41 คน คิดเปนรอยละ 30.37 มีการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 78 คน คิดเปนรอยละ 57.78 มีตําแหนงเจาพนักงานราชทัณฑ จํานวน 71 คน คิดเปนรอยละ 52.59 และสวนใหญมีประสบการณในการทํางานระหวาง 1-10 ป จํานวน 68 คน คิดเปนรอยละ 50.37

5.1.2 ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครผลการศึกษาทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ในภาพรวม พบวา อยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.49 เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดับมากและระดับปานกลางสามารถเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ ดานการบริหารงานทั่วไปอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.76 ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงานอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.61 ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิคอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.53 ดานการ

Page 92: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

81

บริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสารอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.53 ดานการบริหารคุณธรรมอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.52 ดานการใหบริการประชาชนอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.51 ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงานอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.49 ดานการบริหารงบประมาณ อยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.45 ดานการบริหารวัสดุอุปกรณอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 3.40 ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอมอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 3.33 และดานการบริหารทรัพยยากรมนุษยอยูในระดับปานกลาง คาเฉล่ีย 3.24 ตามลําดับ

5.1.3 ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลางกรุงเทพมหานคร

ผลการศึกษาประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครในภาพรวม พบวา อยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.52 เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางอยูในระดับมากและระดับปานกลาง สามารถเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืนอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.78 ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขังอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.53 และดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ อยูในระดับปานกลาง คาเฉล่ีย 3.40 ตามลําดับ

5.1.4 ผลการทดสอบสมมติฐานจากผลการทดสอบสมมติฐานพบวาสมมุติฐานที่ 1 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารทรัพยากรมนุษย มีความสัมพันธ

เชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับปานกลาง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.545) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมติฐานที่ 2 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงบประมาณ มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.681) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 3 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงานทั่วไป มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.737) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

Page 93: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

82

สมมุติฐานที่ 4 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารวัสดุอุปกรณ มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.692) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 5 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารคุณธรรม มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.652) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 6 ทรัพยากรการบริหารดานการใหบริการประชาชน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.632) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 7 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร มีความ สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.732) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 8 ทรัพยากรการบริหารดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค มีความ สัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.766) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 9 ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติ งาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.660) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 10 ทรัพยากรการบริหารดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.705) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

สมมุติฐานที่ 11 ทรัพยากรการบริหารดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร อยูในระดับสูงมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.789) จึงเปนไปตามสมติฐานที่ตั้งไว

Page 94: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

83

5.2 อภิปรายผลทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง เปนหนวยงานราชการสังกัดกรมราชทัณฑ กระทรวงยุติธรรม

มีหนาที่รับผิดชอบควบคุมผูตองขังตามคําพิพากษาของศาลยุติธรรม โดยยึดแนวทางการบริหารงานจากประเด็นยุทธศาสตรของแผนปฏิบัติราชการกรมราชทัณฑ พ.ศ. 2555-2558 ซึ่งประกอบไปดวย 3 ดาน คือ ดานเสริมสรางประสิทธิผลการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน และดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ เพื่อใหการควบคุม แกไขและพัฒนาพฤตินิสัยผูตองขังเปนไปดวยความมีประสิทธิภาพกอใหเกิดประสิทธิผล แตปจจุบัน ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางประสบปญหาปริมาณของผูตองขังลนเกินความจุของเรือนจําที่จะรองรับไดหรือที่เรียกวาสภาวะผูตองขังลนเรือนจํา สงผลตอการบริหารการจัดการของทัณฑสถานบําบัดกลางในหลายๆดาน เชน ดานการบริหารงบประมาณในการจัดสวัสดิการผูตองขัง ดานการบริหารทรัพยากรมนุษยในการบริหารจัดการจํานวนของเจาพนักงานราชทัณฑใหเพียงพอตอการควบคุมและการฟนฟูพัฒนาจิตใจผูตองขัง ดังนั้นทรัพยากรการบริหารนับเปนปจจัยสําคัญที่ผูบริหารทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางตองบริหารจัดการเพื่อใหเกิดประโยชนคุมคาสูงสุดสอดคลองกับแนวคิดของวิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2548: 18) กลาวถึงทรัพยากรการบริหาร คือ ปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการบริหารจัดการใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวซึ่งผูบริหารจําเปนตองนํามาใชเปนเครื่องมือในการบริหารงานภายในองคกรโดยใช 11 M ซึ่งการปฏิบัติและกํากับดูแลนโยบายองคกรใหดําเนินไปสูความสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไว จําเปนตองอาศัยปจจัยการบริหารที่มีประสิทธิผลซึ่งมีอยูอยางมากมายในปจจุบัน ขึ้นอยูกับลักษณะของแตละองคกรและภารกิจที่รับผิดชอบจะเลือกนําไปใช ปจจุบันการบริหารจัดการทรัพยากรแบบ 11M เปนที่ยอมรับจากกวางขวางสามารถนําไปใชกับองคกรตางๆ อยางหลากหลายซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ สําราญ บุญชิต (2553) ที่พบวา ทรัพยากรการบริหารที่สอดคลองกับประสิทธิผลของความตองการของประชาชนตองใชทรัพยากรการบริหารที่เรียกวา 11 M ไดแก ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย (Man) ดานการบริหารงบประมาณ (Money) ดานการบริหารงานทั่วไป (Management) ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) ดานการบริหารคุณธรรม(Morality) ดานการใหบริการประชาชน (Market) ดานการบริหารขาวสารหรือขอมูลขาวสาร (Message) วิธีการ ระเบียบแบบแผน หรือเทคนิค (Method) ดานการบริหารเวลาหรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute) ดานการประสานงานหรือการประนีประนอม (Mediation) และดานการวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน แตอยางไรก็ตามยังไมมีขอมูลการศึกษาบริหารจัดการทรัพยากรแบบ 11M ในงานราชทัณฑมากอนจึงเปนที่นาสนใจเกี่ยวกับการประยุกตใชในงานราชทัณฑของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางในการศึกษาครั้งนี้

Page 95: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

84

5.2.1 ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางจากกา รศึกษ าพบว า ทรัพยากรการ บริหารในทัณฑสถานบํ าบั ดพิ เศษกลาง

กรุงเทพมหานคร ไดแก ดานการบริหารงบประมาณ (Money) ดานการบริหารงานทั่วไป (Management) ดานการใหบริการประชาชน (Market) ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message) ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method) ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute) และดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement) ในภาพรวมอยูในระดับมาก สอดคลองกับปรีชา แสนแกว (2557) ไดศึกษาทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลของการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง ผลการศึกษาพบวา ระดับทรัพยากรการบริหารของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางอยูในระดับมาก จํานวน 8 ดาน คือ ดานการบริหารงานทั่วไป ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย ดานการบริหารดานงบประมาณ ดานวิธีการ ระเบียบแบบแผนหรือเทคนิค ดานการบริหารเวลาหรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน ดานคุณธรรม ดานการประสานงานหรือประนีประนอม และดานการบริหารประสานหรือขอมูลขาวสาร ทั้งนี้เพราะทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร เปนหนวยงานของรัฐซึ่งทําหนาที่ควบคุมผูตองขังที่กระทําความผิดตามคําพิพากษาของศาลยุติธรรม จึงมีการดําเนินการโดยนําทรัพยากรการบริหารมาบริหารจัดการภายในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง อีกทั้งนําทรัพยากรการบริหารมาพัฒนาเพื่อใหทัณฑสถานฯ เกิดความมั่นคงปลอดภัยไดมาตรฐานสากลและสอดคลองกับนัทธี จิตสวาง (2556) ไดศึกษาการราชทัณฑในอนาคตพบวาการเสริมสรางสมรรถนะ ในการบริหารงานราชทัณฑอยางมีประสิทธิผล ตองมีความพรอมของทรัพยากรการบริหาร เมื่อพิจารณาทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทั้ง 11 ดาน เรียงจากมากไปหานอยซึ่งผูศึกษาสามารถอภิปรายผลไดดังนี้

1. ดานการบริหารทั่วไป พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางกรุงเทพมหานคร ดานการบริหารทั่วไป เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมาก เนื่องจากการบริหารทั่วไปของทัณฑสถานฯ ตองมีการวางแผนงานใหสอดคลองกับนโยบายของกรมราชทัณฑ ทําให ทัณฑสถานฯตองมีการดําเนินงานการวางแผนอยางเปนระบบ มีการวัดผลประเมินผลตามเกณฑตัวชี้วัดและรายงานประจําเดือนใหกรมราชทัณฑทราบ ตามมาตรฐานที่กรมราชทัณฑกําหนด มีการกําหนดสายงานการบังคับบัญชาของเจาหนาที่ทัณฑสถานฯ อยางเปนเอกภาพ เชน หัวหนางาน หัวหนาฝาย ผูอํานวยการสวน ซึ่งจะสงผลกระทบตอการควบคุมผูตองขังใหเปนไปดวยความเรียบรอยและรวดเร็ว ที่ผานมาทัณฑสถานฯไดมีการแตงตั้งผูบริหารที่มีความรูความสามารถ มีประสบการณ มีภาวะผูนําสูงที่กลาตัดสินใจ กลาเสนอการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงการบริหารงานของทัณฑสถานฯ ใหมีความรวดเร็วและทันสมัย อีกทั้งยังมีลักษณะเปนผูนํามืออาชีพ เชน

Page 96: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

85

มีวิสัยทัศน มีความคิดริเริ่ม ยอมรับความคิดเห็นของเจาพนักงานราชทัณฑที่เสนอแนะอุปสรรคการบริหารนําไปประกอบการตัดสินใจการบริหารทั่วไป มีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารทั่วไปของทัณฑสถานฯพิจารณาภารกิจเรงดวนที่ไดรับมอบหมายจากกรมราชทัณฑและจากทัณฑสถานฯ ทําใหการบริหารงานทรัพยากรในทัณฑสถานฯ เปนไปดวยความเรียบรอยสอดคลองกับแนวคิดของวิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2551: 41) กลาววา ปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการบริหารจัดการเพื่อใหการปฏิบัติงานบรรลุผลสําเร็จได คือ การบริหารทั่วไป (Management) และสอดคลองกับแนวคิดของ สุรพันธ ฉันทแดนสุวรรณ (2550: 9) กลาววา การจัดการหรือการบริหารในองคกรธุรกิจประกอบ ดวยระบบการผลิต หรือระบบการใหบริการตางๆ หากมีระบบที่ชัดเจนตลอดจนมีระเบียบขั้นตอน วิธีการตางๆในการทํางาน ยอมสงผลใหองคกรประสบความสําเร็จไดดวยดี

2. ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติ งาน เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมาก เนื่องจากการบริหารเวลาตองอยูภายใตขอจํากัดที่มีผูตองขังตองโทษอยูภายในเรือนจําเปนจํานวนมาก ทัณฑสถานฯใชหลักการแบงลําดับความสําคัญของเวลาใหใชเวลาไดอยางมีประสิทธิผลสูงสุด คือ 1. กําหนดสําคัญและเรงดวน 2. กําหนดสําคัญแตไมเรงดวน 3. กําหนดไมสําคัญแตเรงดวน 4. กําหนดไมสําคัญและไมเรงดวน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานดวยความรวดเร็วและทันเวลา ระยะเวลาในการปฏิบัติงานแลวเสร็จที่ชัดเจนและปฏิบัติตามอยางเครงครัด สามารถลดขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อใหงานหรือกิจกรรมแลวเสร็จโดยเร็ว โดยที่ผูบริหารทัณฑสถานฯใหความสําคัญกับเวลาหรือความรวดเร็วในการปฏิบัติหนาที่เพราะมีญาติผูตองขังจํานวนมากมาติดตอสอบถามและเยี่ยมผูตองขังในแตละวัน เชน การเยี่ยมญาติของผูตองขังกําหนดไวรอบละ 30 นาที จึงจําเปนที่เจาหนาที่ตองควบคุมเวลาใหเปนไปตามที่กําหนดมิฉะนั้นจะทําใหผูตองขังรอบอื่นๆไมสามารถเขาเยี่ยมตามกําหนดเวลาที่ไดรับ สอดคลองกับแนวคิดของอนุราช เทศทอง (2555: 15) ความสําคัญและความจําเปนของเวลาในการบริหารไววา ในการบริหาร งานนั้น ไมวาจะเปนการบริหารราชการหรือการบริหารธุรกิจ หากมิไดกําหนดเวลาไวใหเหมาะสมเพียงพอกับลักษณะและประเภทของงานนั้นๆ งานก็จะไมสามารถสัมฤทธิผลดวยดีอยางมีคุณคา

3. ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมาก แสดงใหเห็นวา ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางยึดถือและปฏิบัติตามกฎระเบียบอยางเครงครัด เนื่องจากมีผูตองขังที่ตองโทษอยูภายในเปนจํานวนมาก ตองมีระเบียบ วิธีการ แบบแผน เทคนิคการปกครองผูตองขังรวมถึงการนําระเบียบแบบแผนมาใชกับเจาพนักงานราชทัณฑใหเปนไปดวยความเรียบรอยตามกฎขอบังคับเชน ตองลงชื่อเขาปฏิบัติงานตอนเชากอน 08.00 น. และ

Page 97: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

86

ลงชื่อออกภายนอกทัณฑสถานฯ ในเวลา 16.30 น. ของทุกวัน การตรวจรางกายดวยเครื่องสแกนตรวจหาสิ่งของตองหามทุกครั้งเมื่อเขามาปฏิบัติงานภายในทัณฑสถานฯ ซึ่งเปนการบริหารจัดการบนพื้นฐานของกฎหมายหรือยึดถือหลักนิติธรรมที่เจาหนาที่ทุกคนตางยอมรับทั่วกัน อีกทั้งยังมีการจัดฝกอบรมเจาหนาที่เรื่องวิธีการและเทคนิคในการปฏิบัติงานอยูเปนประจํา เชน ฝกการระงับเหตุจลาจล เจรจาตอรองการชิงตัวประกัน และนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับยุทธภูมิ จิตภักดี (2554) ไดศึกษาเรื่องการนํานโยบายการปองกันและปราบปรามยาเสพติดไปปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผล : กรณีศึกษาเรือนจํากลางคลองเปรม ผลการศึกษาพบวา ประเด็นปญหาสําคัญเกี่ยวของกับการนํานโยบายการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของเรือนจํากลางคลองเปรมไปปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผล คือ ดานกฎหมายและระเบียบแบบแผน

4. ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมาก เปนผลมาจากทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางเนนการใหขอมูลขาวสารในการปฏิบัติงานกับเจาหนาที่กับเจาหนาที่ทุกระดับโดยการจัดการประชุม Morning brief ทุกสัปดาหและประชุมเจาหนาที่ประจําเดือนเพื่อรับทราบนโยบายของกรมราชทัณฑที่ตองปฏิบัติพรอมกับจัดซื้ออุปกรณที่ทันสมัยเพียงพอตอการสนับสนุนการรับและสงขอมูลขาวสาร เชน วิทยุติดตามตัว อีกทั้งยังไดมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารเปนเครือขายและเปนระบบกับสํานักงานปราบปรามยาเสพติดแหงชาติและสํานักงานตํารวจแหงชาติเรื่องเครือขายยาเสพติดภายในทัณฑสถาน ไดทําขอตกลงแลกเปลี่ยน เจาหนาที่ฝกอบรมการขาวใหกับเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง แตงตั้งเจาหนาที่ฝายบริหารทําหนาที่ควบคุมการตรวจสอบขอมูลขาวสารที่ไดรับ – สงอยางมีมาตรฐาน สอดคลองกับแนว ความคิดของวิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2552: 21-29) กลาววา ทรัพยากรการบริหารที่มีสวนสําคัญตอการบริหารใหเกิดผลสําเร็จคือการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message) ดังนั้นหนวยงานตองมีระบบการหาขาวสารที่มีประสิทธิภาพรวดเร็ว มีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารเปนเครือขายและเปนระบบ มีระบบกลั่นกรองขอมูลขาวสารที่เชื่อถือได มีระบบการควบคุมการตรวจสอบขอมูลขาวสารอยางมีมาตรฐาน นําขอมูลขาวสารมาใชในการปฏิบัติงาน

5. ดานการบริหารคุณธรรม พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารคุณธรรม เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมาก เกิดจากการที่ผูบริหารของทัณฑสถานฯไดนําหลักธรรมมาภิบาลมาประยุกตใชในการบริหารจึงเปนแบบอยางที่ดีใหกับเจาหนาที่และผูตองขังใหปฏิบัติตัวประพฤติตนเปนคนดีของสังคม อีกทั้งยังมีการรณรงคใหเจาพนักงานราชทัณฑนําหลักคุณธรรม จริยธรรม มาใชในการปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตยสุจริต มีจิตสํานักที่ดีงามในการปฏิบัติงาน มีความรับผิดชอบและเอาใจใสงานอยางสม่ําเสมอ ไมใช

Page 98: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

87

ตําแหนงหรืออํานาจแสวงหาผลประโยชนสวนตนหรือใหพวกพอง โดยปฏิบัติตามกฎขอบังคับระเบียบวินัยอยางเครงครัด ซึ่งสอดคลองกับสมบูรณ ประสพเนตร (2552: 1-8) การสรรหาบุคคลเขามาปฏิบัติหนาที่ในเรือนจําหรือทัณฑสถานฯจะตองพยายามสรรหาผูที่มีความรูความสามารถมากที่สุดเขามาทํางาน โดยยึดหลักคุณธรรม (Merit system) และการปกครองของผูบริหารราชทัณฑกับเจาหนาที่ผูใตบังคับบัญชาตองใชระบบคุณธรรมและความเสมอภาคโดยไมมีการเลนพรรค เลนพวก หรือเลนภาค นับเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งในการบริหารงานซึ่งจะกอใหเกิดประสิทธิภาพในการดําเนินงานของหนวยงานนั้นๆ

6. ดานการใหบริการประชาชน พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการใหบริการประชาชน เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมาก เปนผลเกิดจากทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางไดใชหลักการบริการสูความเปนเลิศเพื่อประชาชน 8 ประการ คือ 1. ตองใหบริการอยางจริงจัง 2. ตองบริการประชาชนดวยความเปนมิตร 3. ขาราชการตองมีความคิดสรางสรรคในงานบริการ 4. ตองมีการเรียนรูและแกไขสิ่งที่ผิดพลาด 5. เนนการขยายงานที่ตนชํานาญ 6. มีรูปแบบงานบริการที่เรียบงายและเขมงวดในเวลาเดียวกัน 7. ปฏิบัติงานบริการประชาชนตองสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล 8. บริการประชาชนดวยการคนหาความตองการของประชาชนที่แทจริง เชน ทัณฑสถานฯไดจัดทําโครงการ One stop service ไวบริการประชาชนซึ่งมาติดตอราชการกับทัณฑสถานฯจัดบัตรคิวเยี่ยมญาติอัตโนมัติเปนการใหบริการในลักษณะที่ตอบสนองความตองการของประชาชนโดยยึดถือผลประโยชนของประชาชนเปนหลักอีกทั้งมีกลองรับเรื่องราวรองทุกขเพื่อโปรดโอกาสใหประชาชนแสดงความคิดเห็นไว ณ สํานักงานตึกอํานวยการทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางซึ่งสอดคลองกับสําราญ บุญชิต (2553) ทําการศึกษาทรัพยากรการบริหารที่สอดคลองกับประสิทธิผลของความตองการของประชาชนของสํานักงานเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบวา การพัฒนาทรัพยากรการบริหารที่สอดคลองกับประสิทธิผลของความตองการของประชาชนของสํานักงานเขต บางซื่อ กรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยางเห็นดวยในระดับมาก จํานวน 8 ดาน ไดแก ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย ดานการบริหารงบประมาณ ดานการบริหารงานทั่วไป ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ วัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน ดานการใหบริการประชาชน ดานวิธีการ ระเบียบแบบแผน หรือเทคนิค และดานการประสานงานหรือประนีประนอม

7. ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน พบวา ทรัพยากรการบริหารใน ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมาก สืบเนื่องจากทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางใหความสําคัญในการประเมินผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทุกระดับอยูบนพื้นฐานของความเปนระบบและมาตรฐาน

Page 99: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

88

เดียวกัน มีเกณฑการประเมินผลที่มีประสิทธิผลในทางปฏิบัติ ใหความเปนธรรมทั่วกัน โดย ทัณฑสถานฯไดประเมินผลการปฏิบัติงานเจาหนาที่ทุก 6 เดือน ของปงบประมาณ เปนเครื่องมือที่มีความสําคัญตอการปรับเงินเดือนอันสงผลทางออมถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในองคกร เปนเครื่องชี้วัดความสัมพันธระหวางความรูความสามารถของเจาหนาที่กับความคาดหวังของ ทัณฑสถานฯโดยมีระเบียบปฏิบัติงานบุคคลวาดวยการประเมินผลการปฏิบัติงานตามขอกําหนด 10 ประการอันไดแก 1. หลักการและเหตุผล 2. วัตถุประสงค 3. นโยบาย 4. กระบวนการประเมินผลและวิธีการ 5. แบบประเมินผล 6. ปจจัยและการถวงน้ําหนัก 7. คําจํากัดความ 8. แนวทางปฏิบัติในการประเมินผลและขอพึงระวัง 9. กําหนดวันและระยะเวลาการประเมิน 10. การแจงและหารือผลการปฏิบัติงาน สอดคลองกับแนวคิดของศรีธนา บุญญเศรษฐ (2551) ไดกลาววา ผลการปฏิบัติงานขององคกรจะเปนอยางไร สอดคลองกับเกณฑมาตรฐานการปฏิบัติงานหรือไม หรือบรรลุวัตถุประสงคขององคกรมากนอยเพียงใด เปนเรื่องที่แตละองคกรใหความสนใจอยางมาก เนื่องจากเกี่ยวของกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานและการดําเนินงานขององคกร การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อใหไดคําตอบดังกลาว จึงนับเปนองคประกอบสําคัญอยางหนึ่งที่ผูบริหารจะตองเลือกดําเนินการอยางเหมาะสม

8. ดานการบริหารงบประมาณ พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารงบประมาณ เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมาก เนื่องจากทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง ไดรับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลผานการพิจารณาจากกระทรวงยุติธรรมเปนงบเสริมระบบความมั่นคงของทัณฑสถานฯ ในการควบคุมผูตองขัง อีกทั้งยังมีงบประมาณจากหนวยงานตางๆ เชน สํานักงานปองกันและปราบรามยาเสพติดแหงชาติ และหนวยงานภาคเอกชนตางๆ ซึ่งเพียงพอตอการบริหารจัดการในแตละดาน ทําใหทัณฑสถานฯ ตองมีการวางแผนการบริหารงบประมาณของหนวยงานใหถูกตอง โปรงใส มีการตรวจสอบอยางเขมงวด ทั้งจากภายในองคกรและจากหนวยงานภายนอกเขามามีสวนรวมในการตรวจสอบงบประมาณ งบประมาณที่ทัณฑสถานฯไดรับมานี้ ผูบริหารจะเปนผูจัดการบริหารงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ คุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด สอดคลองกับนัทธี จิตสวาง (2556) ไดศึกษาการราชทัณฑในประเทศไทยในอนาคต พบวา การเสริมสรางสมรรถนะในการบริหารงานราชทัณฑอยางมีประสิทธิผลตองนําเทคโนโลยีมาใชงานในกรมราชทัณฑมากขึ้น อีกทั้งทัณฑสถานฯยังไดรับงบประมาณดานการเพิ่มประสิทธิภาพการบําบัดและฟนฟูสมรรถภาพผูตองขังติดยาเสพติดในทัณฑสถานฯรวมถึงงบประมาณสนับสนุนฝกอบรมเจาหนาที่ไมวาจะเปนคาเบี้ยเลี้ยง คาเดินทางในการเดินทางไปฝกอบรมหรือประชุม เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพของเจาหนาที่ เพื่อไดนําความรูความสามารถทักษะกลับมาปฏิบัติงานใหกับองคกรซึ่งทัณฑสถานฯไดจัดทําแผนการเบิกจายและการอนุมัติงบประมาณ

Page 100: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

89

คือ 1. จัดทําแผนการใชงบประมาณรายไตรมาสโดยกําหนดปฏิทินปฏิบัติงานรายเดือนใหเปนไปตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณแลวสรุปแยกเปนรายไตรมาสเปนงบบุคลากร งบอุดหนุน งบลงทุนและงบดําเนินการ 2. เสนอแผนการใชงบประมาณ วงเงินรวมเพื่อขออนุมัติเงินประจํางวดเปนรายไตรมาส รวมเสนอตอสํานักงบประมาณ 3. เบิกจายงบประมาณประเภทตางๆ ใหเปนไปตามแผนปฏิบัติการประจําป และอนุมิติการใชงบประมาณของทัณฑสถานฯตามประเภทและรายการตามที่ไดรับงบประมาณและยังใหความสําคัญตอการตรวจสอบติดตามการใชเงินและผลการดําเนินงานโดยมีการประเมินผลการใชเงินและผลการดําเนินงานทุกไตรมาสเพื่อใหการใชจายงบประมาณของทัณฑสถานฯมีประโยชนและคุมคาที่สุดตามนโยบายของรัฐบาล

9. ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัด พิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับปานกลาง เนื่องจากทัณฑสถานฯตองใชวัสดุอุปกรณเปนจํานวนมากและมีราคาสูงในการบริหารงานพัฒนาเสริมสรางงานภายในทัณฑสถานฯใหมั่นคงและปลอดภัยในการควบคุมผูตองขังที่มีโทษสูงและต่ํา โดยการคิดริเริ่มนําวัสดุอุปกรณที่ทันสมัยมาใชในหนวยงาน เชน กลองวงจรปด คอมพิวเตอรควบคุมการเยี่ยมญาติผูตองขัง เยี่ยมญาติระบบ Video Conference ซึ่งเปนวัสดุอุปกรณที่มีระยะเวลาการใชงานสั้นทําใหทัณฑสถานฯประสบกับปญหาวัสดุอุปกรณชํารุดและเสื่อมสภาพตามกาลเวลาจึงตองมีการตรวจสอบสภาพและบํารุงรักษาเปนประจําทุก 1 เดือน โดยแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อดําเนินการจัดซื้อวัสดุใหเปนไปตามระเบียบพัสดุอยางเครงครัด ทัณฑสถานฯไดจัดตั้งแผนกซอมบํารุงฉุกเฉินเพื่อดูแลวัสดุอุปกรณที่ชํารุดใหคืนสภาพกลับมาใชงานไดสอดคลองกับแนวคิดของวิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2551: 47) กลาววา ปจจัยที่มีสวนสําคัญตอการบริหารจัดการเพื่อใหการปฏิบัติ งานบรรลุผลสําเร็จไดคือ การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) และสอดคลองกับแนวคิดของ Greenwood (1965: 33) กลาววา ทรัพยากรทางการบริหารที่มีความสําคัญและจําเปนตอการบริหาร งานใหประสบผลสําเร็จไดดวยดี และชวยใหการทํางานบรรลุผลสัมฤทธิ์ไดอยางมีคุณภาพ คือ วัสดุสิ่งของ (Material)

10. ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม พบวา ทรัพยากรการบริหารใน ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับปานกลาง การติดตอประสานงานเปนสิ่งที่ เจาหนาที่ตองปฏิบัติกันอยูเปนประจําไมวาจะเปนการติดตอระหวางฝาย เชน ฝายการศึกษาและพัฒนาจิตใจ ฝายปกครองแตละแดน หรือแมแตการประสานงานกับหนวยงานภายนอก เชน การประสานงานดานการยายผูตองขังระหวางเรือนจําและทัณฑสถานฯ การประสานงานดานการยายผูตองขังเรือนจําทหารกับเรือนจําฝายพลเรือน การประสานงานระหวางศาล อัยการ ทนายความ และหนวยงานอื่นๆอีกมากมาย ทั้งนี้

Page 101: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

90

ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางไดฝกอบรมเพื่อการประสานงานในการปฏิบัติงานเปนประจําโดยเชิญวิทยากรภายนอกมาใหความรูกับเจาหนาที่อยูเปนประจํา อีกทั้งทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางยังไดปรึกษาหารือกับหนวยงานอื่นเพื่อจัดแบงหนาที่การปฏิบัติงานที่ซ้ําซอนกันหรือคลายคลึงกันเองแตละหนวยงานใหชัดเจนขึ้น เชน การนําผูตองขังออกไปทํางานบริการสาธารณประโยชนใหแกสังคมโดยติดตอประสานงานกับสํานักงานเขตของกรุงเทพมหานคร สอดคลองกับแนวคิดของ Steer (1977: 40) ไดกลาววาปจจัยการบริหารซึ่งเปนตัวกําหนดประสิทธิผลขององคกร คือ ตองประกอบไปดวยกระบวนการติดตอสื่อสารและการประสานงานเปนองคประกอบของนโยบายการบริหารและการปฏิบัติงาน

11. ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย พบวา ทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัด พิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับปานกลาง เนื่องจากจํานวนเจาพนักงานราชทัณฑขอยายสังกัดมีจํานวนมากกวาจํานวนที่ทัณฑสถานฯไดรับเจาหนาที่เขามาทดแทนจํานวนผูที่ขอยายสังกัด ทําใหผูบริหารไดมีเปลี่ยนหรือยืมตัวบุคลากรจากหนวยงานอื่นมาปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงงานที่จําเปน พยายามบรรจุแตงตั้งและใชบุคลากรที่มีอยูใหไดอยางเหมาะสมกับงาน เชน เจาหนาที่ที่มีวุฒิการศึกษาวิชาชีพฝกอบรมฯจะใหทําหนาที่เปนเจาหนาที่สังกัดฝายการศึกษาและพัฒนาจิตใจ นอกจากนั้นผูบริหารยังไดเห็นความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพของบุคลากร โดยสงเจาหนาที่ไปเขารับการฝกอบรมจากทั้งหนวยงานภายในและหนวยงานภายนอกอยู เปนประจํา เชน อบรมระบบเฝาติดตามผูติดยาเสพติดกับกระทรวงสาธารณสุข อีกทั้งยังไดเชิญบุคคลภายนอกมาชวยพัฒนาบุคลากร เชน สํานักงานตํารวจแหงชาติมาฝกอบรมเกี่ยวกับเรื่องวัตถุระเบิดและยาเสพติดอีกทั้งผูบริหารยังไดวางแผนการจัดการทรัพยากรบุคคลการประเมินผลเจาหนาที่ การฝกอบรม และพัฒนา คาตอบแทน สุขภาพ และความปลอดภัย สอดคลองกับแนวคิดของ ประภาวดี ประจักษ (2530: 72) กลาววา ตัวบุคลากรในหนวยงานนั้นๆ มีสวนสัมพันธกับความสําเร็จและความมีประสิทธิภาพของหนวยงานหรือองคกรเปนอยางมาก โดยเฉพาะในสวนของความรูความสามารถ และทักษะในการปฏิบัติงาน และในสวนที่เกี่ยวกับปริมาณของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน กรณีนี้หากพิจารณาในเชิงเศรษฐศาสตรกําลังคน จะพบวา ความตองการกําลังคนที่มีความรูความสามารถตรงกับความประสงคของหนวยงานมีจํานวนไมไดสัดสวนกัน ดังนั้น ถาองคกรมีคนไมตรงตามจํานวนที่ตองการ ไมสามารถใชงานไดหรือใชประโยชนอยางเต็มที่และสูงสุดแลว หนวยงานนั้นยอมประสบปญหาในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับแนวคิดของสมคิด บางโม (2538: 30-31) กลาววา ปจจัยพื้นฐานทางการจัดการกิจการตางๆ คือ การจัดการทรัพยากรบุคคล (Man)

Page 102: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

91

5.2.2 ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร

ผลการศึกษาครั้งนี้ พบวา ระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครในภาพรวมอยูในระดับมาก ทั้งนี้เพราะ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางไดตระหนักถึงประสิทธิผล จะเปนตัวชี้วัดและเปนเครื่องตัดสินใจขั้นสุดทายวา การบริหารขององคกรประสบความสําเร็จหรือไมเพียงใด จึงมีสวนสําคัญอยางยิ่งที่จะตองนําทรัพยากรบริหารมาใชใหเกิดประสิทธิผลสูงสุด อีกทั้งผูบริหารตองมีวิสัยทัศนกวางไกลและเจาหนาที่ทุกคนรวมมือกันดําเนินงานตามนโยบายของกรมราชทัณฑที่กําหนดใหไวทามกลางกระแสโลกโลกาภิวัตนที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาในสภาวะผูตองขังลนเรือนจําอยูในปจจุบันนี้ ภายใตทรัพยากรการบริหารที่มีอยูในปจจุบัน แสดงใหเห็นวาประสิทธิผลของของทัณฑสถานฯบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว สอดคลองกับพงษศักดิ์ บันฑิตย (2557) ไดศึกษาการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่เรือนจํากลางคลองเปรม ผลการศึกษาพบวา ระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่เรือนจํากลางคลองเปรม ในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืนมีคาเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง และดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑตามลําดับ เมื่อพิจารณาระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทั้ง 3 ดาน เรียงจากมากไปหานอยซึ่งผูศึกษาสามารถอภิปรายผลไดดังนี้

1. ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลยั่งยืน พบวา ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลยั่งยืน เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมาก ซึ่งทัณฑสถานฯ มีแผนจูโจมตรวจคนหายาเสพติดโดยไดรับความรวมมือจากเจาหนาที่ภายในทุกฝายอยางตอเนื่องและมีการสุมตรวจปสสาวะหาสารยาเสพติดกับผูตองขังตามเกณฑกําหนดเวลาของกรมราชทัณฑ ในสวนงานดานการบําบัดฟนฟูดานจิตใจเพื่อใหผูตองขังเลิกยุงเกี่ยวกับยาเสพติดนั้น ทัณฑสถานก็มีกิจกรรมตางๆใหผูตองขังมีสวนรวม เชน กิจกรรมศาสนาบําบัด โครงการทูบีนัมเบอรวัน โปรแกรมการฝกอาชีพตางๆ อีกทั้งมีการประสานงานรวมกับเจาหนาที่หนวยงานภายในและหนวยงานภายนอกดานการขาวเกี่ยวกับปญหายาเสพติดภายในทัณฑสถานฯ อยางสม่ําเสมอ สอดคลองกับแนวความคิดของยุทธภูมิ จิตภักดี (2554) ไดศึกษาเรื่องการนํานโยบายการปองกันและปราบปรามยาเสพติดไปปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผล : กรณีศึกษาเรือนจํากลางคลองเปรม ผลการศึกษาพบวา ประเด็นปญหาสําคัญเกี่ยวของกับการนํานโยบายการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของเรือนจํากลางคลองเปรมไปปฏิบัติให

Page 103: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

92

เกิดประสิทธิผล คือ ดานสมรรถนะของเรือนจํากลางคลองเปรม ดานบุคคลภายนอกที่ติดตอเกี่ยวกับเรือนจํากลางคลองเปรม ดานผูตองขัง ดานโทรศัพทมือถือ ดานกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร ดานสภาพแวดลอมทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ซึ่งแนวทางการแกไขปญหาและการปรับปรุงนโยบายการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของเรือนจํากลางคลองเปรมนั้น ควรมีการเพิ่มอัตรากําลังเจาหนาที่ ควรพัฒนาศักยภาพของเจาหนาที่ โดยสงเสริมใหเจาหนาที่ไดเขารับการฝกอบรมในดานการปองกันและปราบปรามยาเสพติดอยางตอเนื่อง ควรมีการตรวจสอบบัญชีทรัพยสินของเจาหนาที่ระดับบริหารของเรือนจํากลางคลองเปรม ควรมีการจัดหาเครื่องมือและอุปกรณและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชในการปฏิบัติงานใหเพิ่มมากขึ้น ควรจัดหางบประมาณใหมากขึ้น ควรมีการจัดตั้งหนวยงานขึ้นมาทําหนาที่ในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในเรือนจําคลองเปรมอยางชัดเจน ควรมีการนําสุนัขชวยงานราชทัณฑกลับมาชวยงานในเรือนจํากลางคลองเปรม ควรลดจํานวนผูตองขังใหเหมาะสม ควรมีการแยกคดีทั่วไปกับคดียาเสพติด ควรมีการบล็อกสัญญาณโทรศัพทมือถือใหครอบคลุมทั้งเรือนจํา ควรมีการเพิ่มความเขมงวดและรอบความถี่ในการจูโจมตรวจคนในกรณีพิเศษของเรือนจําคลองเปรม และการจูโจมตรวจคนของกรมราชทัณฑใหเพิ่มมากขึ้น ควรมีการแกไขกฎหมายและระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของควรมีการสงเสริมใหเจาหนาที่ทุกคนใหมีโอกาสเขารับการศึกษาอบรมทางดานเทคนิคการหาขาวและเฝาระวังเครือขายยาเสพติดในเรือนจําที่มีความเขมขนและเหมาะสมกับสถานการณปจจุบันอยางสม่ําเสมอ

2. ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง พบวา ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมาก เปนเพราะทัณฑสถานฯ ไดผานเกณฑมาตรฐานเรือนจํา ดานการควบคุมและการรักษาความปลอดภัย โดยการนําระบบพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการมาใชในการควบคุมผูตองขัง ทําใหผูตองขังในทัณฑสถานฯ ไดรับโอกาสการแกไขและพัฒนาพฤตินิสัยอยางเปนระบบ ไมทําผิดกฎระเบียบของเรือนจํา รวมทั้งเปนการลดโอกาสการหลบหนีของผูตองขังภายในทัณฑสถานฯดวย สอดคลองกับแนวคิดของนัทธี จิตสวาง (2556) ไดศึกษาการราชทัณฑในประเทศไทยในอนาคต พบวา การเสริมสรางสมรรถนะในการบริหารงานราชทัณฑอยางมีประสิทธิผล ตองมีความพรอมของทรัพยากรการบริหารดานพัฒนาบุคลากรและดานการพัฒนาระบบงาน โครงสรางกฎหมายขอบังคับ สภาวะแวดลอมและทรัพยากรใหสอดคลองกับภารกิจ โดยที่ทิศทางในอนาคตนั้นกรมราชทัณฑมีการเปดโอกาสใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานของกรมราชทัณฑ เพื่อใหงานมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น การนําเทคโนโลยีมาใชงานในกรมราชทัณฑมากขึ้น โดยที่กรม

Page 104: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

93

ราชทัณฑไดกําหนดไวในแผนทิศทางในการบริหารงานราชทัณฑผานดาวเทียมและระบบเครื่องมืออิเล็คทรอนิคสสําหรับเรือนจํา เชน อุปกรณโทรทัศนวงจรปด และอุปกรณตรวจจับการหลบหนี ซึ่งเทคโนโลยีเหลานี้จําเปนในการเขามาแทนที่กําลังคนภาครัฐที่จะถูกจํากัดไมใหขยายตัวเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ขึ้นอยูกับงบประมาณและการประยุกตใชอยางมีประสิทธิผลนั้นเองและสอดคลองกับ พงษศักดิ์ บันฑิตย (2557) ไดศึกษาการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีกับประสิทธิผลของเรือนจํากลาง คลองเปรม ผลการศึกษาพบวา ระดับประสิทธิผลของเรือนจํากลางคลองเปรม ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขังอยูในระดับมากเชนเดียวกัน

3. ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ พบวา ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับปานกลาง ทั้งนี้เปนเพราะทัณฑสถานฯ มีการจัดทําขอตกลงเปาหมายผลการปฏิบัติงานที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรหลักของกรมราชทัณฑ รวมถึงมีการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ใหเปนมืออาชีพ โดยการสงเจาหนาที่ไปอบรมโครงการตางๆ อาทิ อบรมระบบเฝาติดตามผูติดยาเสพติดกับกระทรวงสาธารณสุข มีการสงเสริมความเสมอภาคระหวางขาราชการหญิง-ชาย แบงสรรหนาที่กันตามความเหมาะสมตามลักษณะของงาน มีการพัฒนาโครงสรางและกรอบอัตรากําลังใหเหมาะสมสอดคลองความเปนมืออาชีพ และมีการนําผลการปฏิบัติงานเชื่อมโยงกับสิ่งจูงใจผลสําเร็จ อาทิ การใหสวัสดิการในดานตางๆแกเจาหนาที่ ไมวาจะเปนเบี้ยเลี้ยง คาตอบแทน รวมทั้งเงินรางวัล ที่เกิดจากการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานราชทัณฑเอง สอดคลองกับแนวความคิดของบุญเลิศ ไพรินทร (2548: 446 – 460) กลาวไววา กลุมหรือทีมงานเปนองคประกอบยอยขององคกร หากองคประกอบยอยขององคกรมีประสิทธิผล ยอมทําใหภาพรวมขององคกรมีความสําเร็จตามวัตถุประสงคอยางสูงสุด อาจกลาวไดวาการพัฒนาองคกรจึงควรมุงเนนหาเทคนิคและวิธีการเขามาสอดแทรกในการพัฒนาบุคคลหรือทีมงาน และสอดคลองกับพงษศักดิ์ บันฑิตย (2557) ไดศึกษาการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีกับประสิทธิผลของเรือนจํากลางคลองเปรม ผลการศึกษาพบวา ระดับประสิทธิผลของเรือนจํากลางคลองเปรม ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ อยูในระดับปานกลาง

5.2.3 การศึกษาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

จากการศึกษาความสัมพันธระหวางทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร พบวา ทรัพยากรทั้ง 11 คือ ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย ดานการบริหารงบประมาณ ดานการบริหารงานทั่วไป ดานการบริหารวัสดุ

Page 105: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

94

อุปกรณ ดานการบริหารคุณธรรม ดานการใหบริการประชาชน ดานการบริหารขาวสารหรือขอมูลขาวสาร ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอมดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน ลวนมีสหสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร หมายความวา การที่ทรัพยากรการบริหารของทัณฑสถานบําบัด พิเศษกลางจะมีสหสัมพันธกับประสิทธิผลของทัณฑสถานฯไดนั้น ตองมีองคประกอบดวยกันหลายดาน เชน ดานการบริหารทั่วไปของทัณฑสถานฯ ตองมีการวางแผนงานใหสอดคลองกับนโยบายของกรมราชทัณฑ เชน นโยบายมาตรฐาน 5 ดาน สวัสดิการผูตองขัง ทําใหทัณฑสถานฯตองมีการดําเนินงานการวางแผนอยางเปนระบบ มีการวัดผลประเมินผลตามเกณฑตัวชี้วัดและรายงานประจําเดือนใหกรมราชทัณฑทราบ ตามมาตรฐานที่กรมราชทัณฑกําหนด มีการกําหนดสายงานการบังคับบัญชาของเจาหนาที่ทัณฑสถานฯ อยางเปนเอกภาพ เชน หัวหนางาน หัวหนาฝาย ผูอํานวยการสวน ซึ่งสงผลกระทบตอการควบคุมผูตองขังใหเปนไปดวยความเรียบรอยและรวดเร็ว ที่ผานมาทัณฑสถานฯไดมีการแตงตั้งผูบริหารที่มีความรูความสามารถ มีประสบการณ มีภาวะผูนําสูงที่กลาตัดสินใจ กลาเสนอการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงการบริหารงานของทัณฑสถานฯ ใหมีความรวดเร็ว และทันสมัย อีกทั้งยังมีลักษณะเปนผูนํามืออาชีพมีวิสัยทัศน มีความคิดริเริ่ม ยอมรับความคิดเห็นของเจาพนักงานราชทัณฑที่เสนอแนะอุปสรรคการบริหารนําไปประกอบการตัดสินใจการบริหารทั่วไป มีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารทั่วไปของทัณฑสถานฯ พิจารณาภารกิจเรงดวนที่ไดรับมอบหมายจากกรมราชทัณฑและจากทัณฑสถานฯ ทําใหการบริหารงานทรัพยากรใน ทัณฑสถานฯ เปนไปดวยความเรียบรอย นี่เปนอีกหนึ่งตัวอยางสามารถพิสูจนไดวาทรัพยากรการบริหารสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง สอดคลองกับแนวคิดของศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2545: 22) กลาวถึง การจัดการวาเปนปจจัยกําหนดประสิทธิผลในการปฏิบัติงานและประสิทธิภาพขององคกร ผูบริหารจึงมีความจําเปนอยางมากที่ตองเขาใจภาระหนาที่และความรับผิดชอบดานการบริหารจัดการทั้งตอตนเอง ตอกลุม ตอสังคม จุดมุงหมายของการจัดการ คือ การใชความพยายามทุกกรณีโดยการกําหนดงานและความสําคัญของอํานาจหนาที่การพิจารณาถึงสิ่งที่ตองการทําและผูที่จะทํารายงานมีตัวอยางในประวัติศาสตรของธุรกิจที่มีการจัดองคการที่ดีสามารถประสบความสําเร็จในการแขงขันและสามารถเอาชนะคูแขงขันได ธุรกิจที่มีการจัดองคการที่ดีสามารถจูงใจผูบริหารและพนักงานใหมองเห็นความสําคัญของความสําเร็จขององคกร เมื่อพิจารณาความสัมพันธทั้ง 11 ดาน สามารถแบงความสัมพันธไดเปน 3 ระดับ คือ ระดับสูงมาก ระดับสูง และระดับปานกลาง ดังนี้

Page 106: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

95

1. ทรัพยากรการบริหารที่มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงมากกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร มี 5 ดานไดแก 1) ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2) ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค 3) ดานการบริหารงานทั่วไป 4) ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร 5) ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม ซึ่งผูศึกษาสามารถอภิปรายผลเปนรายดานไดดังนี้

1.1 ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงมากกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจ าหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพราะวา ผูบริหารทัณฑสถานฯทุกระดับเห็นถึงความสําคัญและความจําเปนของการวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทุกระดับอยูบนพื้นฐานของความเปนระบบและมาตรฐานเดียวกัน มีเกณฑการประเมินผลที่มีประสิทธิผลในทางปฏิบัติ ใหความเปนธรรมทั่วกันโดยทัณฑสถานฯไดประเมินผลการปฏิบัติงานเจาหนาที่ทุก 6 เดือน ของปงบประมาณ เปนเครื่องมือที่มีความสําคัญตอการปรับเงินเดือนอันสงผลทางออมถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในองคกร เปนเครื่องชี้วัดความสัมพันธระหวางความรูความสามารถของเจาหนาที่กับความคาดหวังของทัณฑสถานฯ รวมทั้งมีการเปดโอกาสใหประชาชน หรือหนวยงานภายนอกเขามามีสวนรวมในการวัดผลดวย ซึ่งสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง สอดคลองกับการศึกษาของสําราญ บุญชิต (2553) พบวา ทรัพยากรการบริหารดานการวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงานมีความสัมพันธกับประสิทธิผลอยูในระดับมาก ของความตองการของประชาชนและสอดคลองกับแนวคิดของ Gibson (2000: 55) กลาววา ประสิทธิผลระดับบุคคล (Individual Effectiveness) เปนการเนนผลการปฏิบัติงานเฉพาะบุคคลหรือสมาชิกในองคกรที่ทํางานตามหนาที่และตําแหนงในองคกร ซึ่งโดยทั่วไปผูบังคับบัญชาจะประเมินประสิทธิผลระดับบุคคล โดยใชกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อพิจารณาการขึ้นคาตอบแทนหรือการใหรางวัลตอบแทนเปนปจจัยที่เปนเหตุใหเกิดประสิทธิผลระดับบุคคล

1.2 ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงมากกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครทั้งนี้เพราะวา ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง มีกฎ ระเบียบ แบบแผนอยางเปนมาตรฐาน ใหเจาพนักงานราชทัณฑปฏิบัติตามอยางเครงครัด อาทิ ญาติผูตองขัง ยื่นคํารองขอเยี่ยมผูตองขัง พรอมกับฝากเงินใหกับผูตองขัง ทัณฑสถานฯก็ไดมีการจัดเจาหนาที่รับผิดชอบรับฝากเงินและควบคุมการเยี่ยมญาติตามกําหนดระยะเวลาที่ไดออกระเบียบขอบังคับกําหนดไวรอบละ 30 นาที โดยเฉพาะเจาหนาที่ที่รับผิดชอบเรื่องการรับฝากเงิน ตองเปนผูที่มีความซื่อสัตย และรอบคอบเปนอยางมาก เพราะถาเกิดความผิดพลาดใดๆ ก็ยอมสงผลเสียตอองคกร และตัวเจาหนาที่เอง อีกทั้งทัณฑสถานก็

Page 107: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

96

ไดมีการปรับปรุง วิธีการ ระเบียบ แบบแผน ในการปฏิบัติงานอยูตลอดเวลาเพื่อใหสอดคลองกับสภาวะแวดลอมภายนอก และมีการฝกอบรมทําความเขาใจกับบุคลากรถึงวิธีการ ระเบียบแบบแผน หรือเทคนิค อยูเปนประจํา ซึ่งสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางสอดคลองกับแนวคิดของสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2552: 2) ไดกลาวถึงปจจัยที่ เปนตัวกําหนดประสิทธิผลในการทํางานตองประกอบไปดวยขั้นตอนการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบขอบังคับที่วางไวและตระหนักถึงผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้นกับตนเองหรือหนวยงานจากความผิดพลาดในการปฏิบัติงานของตน

1.3 ดานการบริหารงานทั่วไป มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงมากกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพราะวา ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางไดมีการกําหนดสายการบังคับบัญชาอยางเปนเอกภาพผูบริหารทัณฑสถานฯมีภาวะผูนําสูง เชน กลาตัดสินใจ กลาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงมีการวางแผน ปฏิบัติตามแผน และประเมินผลอยางเปนระบบสงผลตอประสิทธิผลของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง สอดคลองกับการศึกษาของสุพรรณ ยามาดะ (2556) ไดศึกษาเรื่องทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลของงานพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาพบวา ทรัพยากรการบริหารดานการบริหารงานทั่วไป อยูระดับมาก ประสิทธิผลของงานพยาบาลในภาพรวมอยูในระดับมาก และสอดคลองกับแนวคิดของ Griffin (1999: 4) กลาววา การบริหารจัดการเปนการกําหนดทิศทางในการใชทรัพยากรทั้งหลายอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อใหบรรลุถึงเปาหมายขององคกร โดยการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ หมายถึง การใชทรัพยากรไดอยางเฉลียวฉลาดและคุมคา สําหรับการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิผลนั้น หมายถึง การตัดสินใจไดอยางถูกตอง และมีการปฏิบัติการสําเร็จตามแผนที่กําหนดไว ดังนั้น ผลสําเร็จของการบริหารจัดการจึงจําเปนตองมีทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลควบคูกัน

1.4 ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงมากกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานครทั้งนี้เพราะวาทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง นําขาวสาร หรือขอมูลขาวสารมาใชในการปฏิบัติงานอยางเพียงพอ เชน นําทะเบียนประวัติผูตองขังมาประกอบการจําแนกผูตองขังแรกรับ การเขารับการศึกษาและฝกวิชาชีพซึ่งมีระบบการควบคุมตรวจสอบขอมูลขาวสารอยางมีมาตรฐานคือ ตรวจสอบจากทะเบียนประวัติอาชญากรจากสํานักงานตํารวจแหงชาติ ซึ่งเปนแหลงขอมูลขาวสารที่เชื่อถือได และทัณฑสถานฯยังไดและเปลี่ยนขอมูลขาวสารเปนเครือขายและเปนระบบกับสํานักงานปราบปรามยาเสพติดแหงชาติ จึงสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง สอดคลองกับการศึกษาของยุทธภูมิ จิตภักดี (2554) ไดศึกษาเรื่องการ

Page 108: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

97

นํานโยบายการปองกันและปราบปรามยาเสพติดไปปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผล : กรณีศึกษาเรือนจํากลางคลองเปรม ผลการศึกษาพบวา ประเด็นปญหาสําคัญเกี่ยวของกับการนํานโยบายการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของเรือนจํากลางคลองเปรมไปปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผล คือ ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร ดานสมรรถนะของเรือนจํากลางคลองเปรม ดานบุคคลภายนอกที่ติดตอเกี่ยวกับเรือนจํากลางคลองเปรม ดานผูตองขัง ดานโทรศัพทมือถือ ดานกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ

1.5 ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงมากกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพราะวา ทัณฑสถานฯไดแตงตั้งเจาหนาที่นิเทศสัมพันธเปนผูประสานงานกับหนวยงานภายนอกและหนวยงานตางๆที่มาติดตอราชการกับทัณฑสถานฯ เชน เจาหนาที่สถานทูตของประเทศตางๆติดตอขอพบผูตองขังชาวตางชาติและใหเวลาสําหรับการประสานงานครั้งละ 45 นาที ซึ่งมากเพียงพอ อีกทั้งไดวางระบบการประสานงานกับหนวยงานอื่นเพื่อลดขั้นตอนและเพื่อเกิดความรวดเร็วในการปฏิบัติงาน เชน สํานักงานทนายความ จะไดรับการประสานงานเปนชองกรณีพิเศษ (ชองพบทนายความของผูตองขัง) เพื่อลดขั้นตอนงานเอกสารที่จะสงถึงการพิจารณาของศาลซึ่งจะสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง สอดคลองกับแนวคิดของสาวดี รักษศิริ (2558) ไดกลาวไววา การประสานงาน หมายถึง การจัดใหคนในองคกรทํางานสัมพันธสอดคลองกันโดยจะตองตระหนักถึงความรับผิดชอบ วัตถุประสงค เปาหมาย และมาตรฐานการปฏิบัติขององคกรเปนหลัก ตองมีการจัดระเบียบ วิธีการทํางานเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกันเพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันในการรวมมือปฏิบัติงานใหสอดคลองทั้งเวลา และกิจกรรมที่ตองกระทําใหบรรลุวัตถุประสงค โดยไมทําใหเกิดความสับสน ขัดแยงหรือเลื่อมล้ํากันทั้งนี้เพื่อใหงานดําเนินไปอยางราบรื่น ทําใหไดมาซึ่งงานอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

2. ทรัพยากรการบริหารที่มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร มี 5 ดานไดแก 1) ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ 2) ดานการบริหารงบประมาณ 3) ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน 4) ดานการบริหารคุณธรรม 5) ดานการใหบริการประชาชน ซึ่งผูศึกษาสามารถอภิปรายผลเปนรายดานไดดังนี้

2.1 ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพราะวา ทัณฑสถานฯไดรับมอบหมายภารกิจหนาที่พิเศษตองควบคุมผูตองขังคดียาเสพติดของกลางจํานวนมากและมีอัตราโทษตั้งแตตลอดชีวิตถึงประหารชีวิต ควบคุมไวที่แดนความมั่นคงสูง ดังนั้นทัณฑสถาน

Page 109: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

98

จึงตองมีวัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพที่ทันสมัยมาใชในการปฏิบัติงานเชน กลองวงจรปด เครื่องดักฟง คอมพิวเตอรสําหรับเก็บขอมูลทะเบียนประวัติพื้นฐานของผูตองขัง ระบบวีดิโอเยี่ยมญาติทางไกล โดยที่ผูบริหารของทัณฑสถานฯ ไดมีความคิดริเริ่มที่จะนําวัสดุอุปกรณที่ทันสมัยใหมมาใชในหนวยงาน เชน เครื่องเอ็กซเรยตรวจหาโลหะสมัยใหมสําหรับตรวจจับเจาหนาที่และผูตองขังกอนเขามาภายในทัณฑสถานฯ พรอมทั้งมีระบบการบํารุงรักษาวัสดุอุปกรณอยางชัดเจนจึงสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิ เศษกลาง กรุงเทพมหานคร ซึ่งสอดคลองกับทัศนีย โฉมประดิษฐ (2554) ที่ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลตอประสิทธิผลของแผนการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในเรือนจํา: ศึกษาเฉพาะกรณีทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง ผลการศึกษาพบวา ปจจัยดานอุปกรณ ปจจัยดานบุคคล ปจจัยดานงบประมาณและปจจัยดานการประสานงานขอความรวมมือ มีความสัมพันธกับประสิทธิผลของแผนการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในเรือนจํา และสอดคลองกับแนวคิดของปยธิดา ตรีเดชและศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช (2536: 239-240) กลาววา วัสดุอุปกรณเปนทรัพยากรทางการบริหารที่สําคัญที่ผูบริหารจะตองดูแลใหมีการดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพ โดยจะตองจัดหาวัสดุอุปกรณในการทํางานไดอยางเพียงพอ และทันตอความตองการ แตขณะเดียวกันจะตองจัดหาเทาที่จําเปนจริงๆเทานั้น คือ กําหนดความตองการ การจัดหาและแจกจาย การบํารุงรักษาและการจําหนาย

2.2 ดานการบริหารงบประมาณ มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพราะวา ทัณฑสถานฯมีการวางแผนงบประมาณประจําปใหเกิดประโยชนสูงสุดและถูกตองตามระเบียบขอบังคับการใชงบประมาณของกรมราชทัณฑ โดยเฉพาะงบประมาณดานการควบคุมผูตองขังและดานสวัสดิการผูตองขัง ไดจัดสรรงบประมาณเพียงพอแกการบริหารการจัดการ ทั้งนี้ทัณฑสถานฯไดใหหนวยงานตรวจสอบภายในกรมราชทัณฑเขามาตรวจสอบการใชงบประมาณอยางเขมงวด และมีนโยบายใชจายงบประมาณอยางประหยัดมีประสิทธิภาพคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งจะสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง สอดคลองกับการศึกษาของสุพรรณ ยามาดะ (2556) ไดศึกษาเรื่อง ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลของงานพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาพบวา ทรัพยากรการบริหารดานอยูในระดับมากและประสิทธิผลของงานพยาบาลในภาพรวมอยูในระดับมาก และสอดคลองกับแนวคิดของติน ปรัชญพฤทธิ์ (2539: 24 - 26) กลาววา งบประมาณ คือ การจัดสรรทรัพยากรหรือวิธีการทางงบประมาณการเงิน วางแผนหรือโครงการในการจายเงิน การบัญชีและการควบคุมการดูแลการใชจายเงินโดยรอบคอบและรัดกุม

Page 110: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

99

2.3 ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพราะวา ผูบริหารทัณฑสถานฯไดใหความสําคัญกับเวลาหรือความรวดเร็วในการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ทุกระดับ ทั้งงานควบคุมผูตองขัง งานบริการประชาชนที่มาติดตอขอเยี่ยมญาติ โดยไดลดขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อใหงานหรือกิจกรรมแลวเสร็จโดยเร็ว เชน การใชคอมพิวเตอรตรวจ สอบฐานขอมูลประวัติการเยี่ยมญาติของผูตองขังแตละวัน (One Stop service) ทําใหประชาชนที่มาติดตอไดรับความรวดเร็ว และสิ่งสําคัญเจาหนาที่ของทัณฑสถานฯ จะไมมีการผัดผอนหรือเลื่อนวันเวลาปฏิบัติการที่ตนเองรับผิดชอบอยูถามีความจําเปนจะผัดผอนจะตองยื่นคํารองตอผูบริหารเพื่อจัดเจาหนาที่มาปฏิบัติหนาที่แทนทําใหกรอบเวลาปฏิบัติงานดําเนินการไปไดอยางเรียบรอยสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง สอดคลองกับสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2552: 2) ไดสรุปปจจัยที่เปนตัวกําหนดประสิทธิผลในการปฎิบัติงาน คือ ความสําเร็จตรงเวลาในการทํางาน เปนความสามารถในการบริหารเวลาของแตละบุคคลจะสามารถบริหารเวลาไดดีจะตองมีความรู ความเขาใจและความสามารถในการจัดลําดับความสําคัญเกี่ยวกับภารกิจที่ตองปฏิบัติไดอยางเหมาะสม

2.4 ดานการบริหารคุณธรรม มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพราะวา ทัณฑสถานฯไดบรรจุแตงตั้งเจาหนาที่ใหเหมาะสมกับตําแหนงหนาที่รับผิดชอบภายในทัณฑสถานฯเชน เจาหนาที่ที่จบดานกฎหมายจะใหดํารงตําแหนงนิติกรในการตีความขอกฎหมาย และสอบสวนลงโทษทางวินัยผูตองขังและเจาหนาที่ซึ่งเจาหนาที่ทัณฑสถานฯมีจิตสํานึกดีงามในการปฏิบัติหนาที่ดวยความรับผิดชอบและเอาใจใสงานอยางสม่ําเสมอโดยปฏิบัติตามกฎขอระเบียบวินัยอยางเครงครัดไมใชตําแหนงหนาที่การงานแสวงหาผลประโยชนสวนตนจึงทําใหสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง สอดคลองกับแนวคิดของ วินัย เจริญเฉลิมศักดิ์ ไดศึกษาเรื่อง ราชทัณฑมืออาชีพ ผลการศึกษาพบวา ตองเปนพนักงานราชทัณฑที่ตองใชความรูเชี่ยวชาญและทักษะพิเศษในการปฏิบัติตอผูตองขัง ไดแก ความรูเชี่ยวชาญและทักษะดําเนินการแกไข ความรูสูงเชี่ยวชาญ และทักษะดานการควบคุม โดยมีลักษณะที่สําคัญ คือ ความซื่อสัตยสุจริต มีจริยธรรมประพฤติปฏิบัติตนเหมาะสมเปนแบบอยางที่ดีแกผูตองขัง มีความมุงมั่นในการแกไขฟนฟูปรับทัศนคติผูตองขังใหมีพัฒนาการในเชิงบวก ปกปองสังคมใหปลอดภัยจากอาชญากรรมเพื่อความไววางใจของประชาชน

2.5 ดานการใหบริการประชาชน มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับสูงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพราะวา ทัณฑ

Page 111: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

100

สถานบําบัดพิเศษกลางไดใหบริการประชาชนที่มาติดตอเยี่ยมผูตองขังดวยความเปนมิตร สะดวกและรวดเร็ว ไมแบงชนชั้นวรรณะ สรางความพึงพอใจใหผูรับบริการ โดยยึดผลประโยชนของประชาชนเปนหลัก รวมถึงมีการจัดตูแดงรับแสดงความคิดเห็นที่เดนชัดใหประชาชนผูมาติดตอไดแสดงความคิดเห็นตอการบริการโดยทัณฑสถานฯจะเรงปรับปรุงกรณีที่ไดรับขอมูลในเชิงลบ เชน การรับฝากเงินใหกับผูตองขังตองใชเวลานาน ดังนั้นทัณฑสถานฯจึงไดมีการแกไขปญหาโดยการนําระบบคอมพิวเตอรเขามาใชในการรับฝากเงิน ซึ่งใชเวลาเพียง 2 นาที ตอคน จึงทําใหสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง สอดคลองกับสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.2556 -พ.ศ.2561 ที่เนนการพัฒนางานบริการของสวนราชการและหนวยงานของรัฐสูความเปนเลิศ เพื่อใหประชาชนมีความพึงพอใจ ตอคุณภาพการใหบริการ โดยออกแบบการบริการที่ยึดประชาชนเปนศูนยกลาง มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เหมาะสมมาใชเพื่อใหประชาชนสามารถใชบริการไดงายและหลากหลายรูปแบบ เนนการบริการเชิงรุกที่มีปฏิสัมพันธโดยตรงระหวางภาครัฐและประชาชน การใหบริการแบบเบ็ดเสร็จอยางแทจริง พัฒนาระบบการจัดการ ขอรองเรียนใหมีประสิทธิภาพรวมทั้งเสริมสรางวัฒนธรรมการบริการที่เปนเลิศ

3. ทรัพยากรการบริหารที่มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร มี 1 ดาน คือ ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย ซึ่งผูศึกษาสามารถอภิปรายผลไดดังนี้

3.1 ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย มีสหสัมพันธเชิงบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพราะวา ทัณฑสถานฯ มีการบรรจุแตงตั้งและใชบุคลากรอยางเหมาะสมกับงาน อาทิ เจาหนาที่ที่มีวุฒิการศึกษาวิชาชีพอบรม จะใหสังกัดฝายการศึกษาและพัฒนาจิตใจ อีกทั้งไดใหความสําคัญการพัฒนาองคความรูการปฏิบัติงานในหนาที่ของเจาหนาที่แตละคนโดยการสงไปฝกอบรมภายในกรมราชทัณฑและหนวยงานราชการภายนอก เชน หลักสูตรผูบริหารระดับตนของกระทรวงยุติธรรมเพื่อใหเจาหนาที่ที่เขารับการอบรมมีทักษะทางวิชาการและนํามาประยุกตใชในงานที่ตนปฏิบัติหนาที่อยางมีคุณภาพสามารถแกปญหาวิกฤตใหกับองคกร และทัณฑสถานฯยังไดเชิญวิทยากรบุคคลกรภายนอกเขามาฝกทักษะใหกับเจาหนาที่ เชน ฝกอบรมการจัดเก็บขอมูลผูตองขังรายสําคัญ โดยวิทยากรจากสํานักงานปราบปรามยาเสพติดแหงชาติ ทั้งนี้ยังเปดโอกาสใหเจาหนาที่ไดลาไปศึกษาตอที่ตางประเทศและในประเทศ จึงทําใหสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง สอดคลองกับการศึกษาของเพ็ญรัตน วิเศษปรีชา (2550: 13) กลาววา การบริหารงานทรัพยากรมนุษยเปนกระบวนการในการจัดการเกี่ยวกับบุคคลทางดานการจัดหา

Page 112: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

101

บุคลากรที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเขามาทํางานในองคกรและใชบุคคลนั้นใหเกิดประโยชนแกองคกร รวมถึงการธํารงรักษาบุคลากรใหปฏิบัติงานอยางมีความสุขดวยการจัดใหมีสวัสดิการที่ดี

5.3 ขอเสนอแนะ5.3.1 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษาจากผลการศึกษาเรื่อง ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่

ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ทําใหผูศึกษาไดเล็งเห็นปญหาตางๆ ในทุกๆดานที่ไดศึกษามาและมีขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ และสมควรเรงดําเนินการแกไข คือ

1. ดานการบริหารงานทั่วไป จากการศึกษาทําใหทราบวา ผูบริหารทัณฑสถานฯ มีภาวะผูนําสูง เชน กลาตัดสินใจ กลาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง มีลักษณะเปนผูนํามืออาชีพ เชน มีวิสัยทัศน มีความคิดริเริ่มใชความรูในการปฏิบัติงานเปนอยางมากและมีการกําหนดสายงานการบังคับบัญชาอยางเปนเอกภาพ ซึ่งทําใหทัณฑสถานฯไดรับรางวัลดีเดน คือ เรือนจําสีขาวของกรมราชทัณฑ แตสิ่งที่ผูบริหารหรือผูมีสวนเกี่ยวของตองแกไข คือ

1.1 ควรดําเนินการรณณรงคประชาสัมพันธใหเจาหนาที่บรรจุใหม หรือเจาหนาที่ที่ยายเขามาจากเรือนจําอื่นๆ ทราบถึงขั้นตอนความสําเร็จในการบริหารงานของผูบริหารชุดปจจุบัน เพื่อใหเกิดความภาคภูมิใจและปฏิบัติตามคําสั่งของผูบัญชาอยางภาคภูมิใจ

1.2 ทัณฑสถานฯ ตองเปดโอกาสใหเจาหนาที่ทุกระดับ เขามามีสวนรวมในการวาง แผนงานบริหารงานภายในเพิ่มมากขึ้น เชน การพิจารณาปรับขึ้นเงินเดือนประจําปของเจาหนาที่เพื่อใหเกิดความเปนธรรมและเชื่อมั่นการบริหารงานทั่วไป

2. ดานการบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน จากการศึกษาทําใหทราบวาทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางกําหนดนโยบายสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ดวยความรวดเร็วและทันเวลาซึ่งผูบริหารใหความสําคัญโดยกวดขันเวลาเขา-ออกปฏิบัติหนาที่ประจําวัน ลดขั้นตอนของการปฏิบัติงานเพื่อใหงานหรือกิจกรรมใหเสร็จตามเวลาที่กําหนดไว เชน การฝากขังศาลของผูตองขัง ลดขั้นตอนที่จะนําผูตองขังออกไปกับพาหนะรถยนตแตใชระบบ Video conference กับศาลแทน ทําใหลดขั้นตอนการปฏิบัติงานทัณฑสถานฯกับศาลยุติธรรมโดยปริยาย แตสิ่งที่ผูบริหารหรือผูมีสวนเกี่ยวของยังตองทําการแกไข คือ

2.1 ควรปรับเวลาการทํางานของเจาหนาที่ใหสอดคลองกับกิจกรรมหรืองาน ขึ้นอยูกับความยากงายของงานที่ไดรับมอบหมาย เชน การเดินทางไปประชุมยังหนวยงานนอกสังกัดจะตองเผื่อเวลาในการเดินทางเนื่องจากจราจรติดขัด

Page 113: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

102

2.2 ปลูกฝงทัศนคติเจาหนาที่ใหมทุกคน ตองไมผัดผอนหรือเลื่อนวันเวลาปฏิบัติงานเกินกวาที่กําหนดไวเพราะจะทําใหติดนิสัยการไมตรงตอเวลาและจะสงผลกระทบกับประชาชนผูมาติดตอราชการดวยตอไป

3. ดานวิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค จากการศึกษาทําใหทราบวา ทัณฑสถานฯมีการบริหารจัดการบนพื้นฐานของกฎหมายโดยยึดถือหลักนิติธรรมไมเลือกปฏิบัติเมื่อเกิดปญหาขอพิพาทระหวางหนวยงานกับประชาชนผูรับบริการหรือขอพิพาทระหวางเจาหนาที่ดวยกัน และไดจัดใหมีการฝกอบรมใหความรูกับเจาหนาที่เกี่ยวกับเรื่อง ระเบียบ แบบแผน ขอบังคับทางราชการ นํามาใชปฏิบัติกับงานในหนาที่รับผิดชอบอยางเครงครัด สนับสนุนใหเจาหนาที่นําวิธีการทางทฤษฎีและเทคนิคมาประยุกตใชในการปฏิบัติงาน แตสิ่งที่ผูบริหารหรือผูมีสวนเกี่ยวของยังตองทําการแกไข คือ

3.1 ควรจัดทําคูมือรายละเอียดการปฏิบัติงานภายใตเทคนิควิธีการ ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของแจกใหกับเจาหนาที่ไวใชปฏิบัติงานเปนมาตรฐานหนึ่งเดียวกัน

3.2 ตองมีบทลงโทษทางวินัยขาราชการกับเจาหนาที่ที่ไมปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับ กอใหเกิดความเสียหายกับทางราชการอยางเดนชัด เพื่อใหเจาหนาที่อื่นไดตระหนักถึงการปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับที่ถูกตอง

4. ดานการบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร จากการศึกษาทําใหทราบวา ทัณฑสถานฯมีระบบการหาขาวที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็วเกี่ยวกับเรื่อง การสกัดการแพรระบาดของยา เสพติดเขาไปภายในทัณฑสถานฯ และสกัดการใชโทรศัพทมือถือโดยไมไดรับอนุญาตเพื่อการติดตอกับเครือขายยาเสพติดกับสังคมภายนอกของผูตองขังรายสําคัญ ซึ่งทัณฑสถานฯไดใชรถยนต โมบายอิเลคทรอนิคสที่ทันสมัยวิ่งหาคลื่นและตัดสัญญานอยูภายนอกเรือนจํา อีกทั้งทัณฑสถานฯมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารเปนเครือขายและเปนระบบกับสํานักงานปองกันยาเสพติดแหงชาติและสํานักงานตํารวจแหงชาติ ทําใหลดภาระกับเจาหนาที่ทัณฑสถานฯดานการจูโจมตรวจคนนอกเวลาการปฏิบัติงานประจําวัน แตสิ่งที่ผูบริหารหรือผูมีสวนเกี่ยวของยังตองทําการแกไข คือ

4.1 ควรมีชองทางที่จะใหเจาพนักงานราชทัณฑที่ปฏิบัติหนาที่ในทัณฑสถานฯ สามารถติดตอกับผูบริหาร ที่สะดวก รวดเร็วกวานี้ เพื่อที่จะไดกระจายขอมูลขาวสารที่สําคัญและเรงดวนใหทราบดวยความรวดเร็ว

4.2 ควรมีการจัดตั้งศูนยขอมูลที่ทันสมัยในดานการบริหารทัณฑสถานฯไวใหเจาหนาที่ไดคนหาขอมูลและนําไปใชอางอิงกับงานที่ตองไดรับการรับรองวามีอยูจริง

5. ดานการบริหารคุณธรรม จากการศึกษาทําใหทราบวา ทัณฑสถานฯ ไดนําหลักการบริหารคุณธรรมมาประยุกตใชในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ดวยความชื่อสัตยสุจริต ไมมีเรื่อง

Page 114: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

103

เสียหายกับทางราชการในเรื่อง รับสินบน ใชอํานาจหนาที่แสวงหาผลประโยชน ขมแหงประชาชนผูมารับบริการ สงผลใหเจาหนาที่มีความตั้งใจทุมเท อุทิศตนใหการปฏิบัติตามกฎ ขอบังคับ ระเบียบ วินัย อยางเครงครัด แตสิ่งที่ผูบริหารหรือผูมีสวนเกี่ยวของยังตองทําการแกไข คือ

5.1 ควรมีการคัดเลือกเจาหนาที่ที่มีคุณธรรมสูงในหนวยงานโดยใหเจาหนาที่ทุกคนลงคะแนนคัดเลือกและมอบรางวัลแกเจาหนาที่ผูที่ไดคะแนนสูง เพื่อกระตุนใหเจาหนาที่รูสึกวาคุณธรรมก็มีประโยชนในหนาที่การงาน

5.2 กรมราชทัณฑควรจะมีนโยบายสงเสริมคุณธรรมของเจาหนาที่เรือนจํา/ทัณฑสถานทั่วประเทศ โดยจัดทําโครงการอบรมคุณธรรมกับเจาหนาที่ เพื่อสรางทัศนคติเชิงบวกในการปฏิบัติงานหนาที่ของแตละบุคคล

6. ดานการใหบริการประชาชน จากการศึกษาทําใหทราบวา ทัณฑสถานฯ ดําเนินงานในดานงานบริการใหกับประชาชนเปนไปดวยความรวดเร็วและเนนใหบริการที่มุงตอบสนองความตองการของประชาชน สืบเนื่องจากมีประชาชนซึ่งเปนญาติผูตองขังจํานวนมากมาติดตอขอรับการบริการดานเยี่ยมผูตองขัง ฝากเงิน ตรวจทะเบียนประวัติผูตองขัง จึงเปนเหตุผลสําคัญที่ทําให ทัณฑสถานฯ จัดหางบประมาณมากอสรางตึกอํานวยการหลังใหมที่ทันสมัยดวยเทคโนโลยีรองรับการใหบริการที่รวดเร็ว สรางความพึงพอใจใหกับประชาชนผูมาติดตอเปนอยางมาก แตสิ่งที่ผูบริหารหรือผูมีสวนเกี่ยวของยังตองทําการแกไข คือ

6.1 ควรเพิ่มชองทางการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนที่มารับการบริการ เชนทางโทรศัพท ทางอินเตอรเน็ต กับสังกัดของผูบริหารโดยตรง

6.2 ควรใหหนวยงานภายนอกจากสวนราชการหรือเอกชนเขามาประเมินการให บริการประชาชนเพื่อสรางมาตรฐานและรองรับการปรับปรุงงานบริการประชาชนในอนาคต

7. ดานการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน จากการศึกษาทําใหทราบวา ผูบริหารของทัณฑสถานฯ เห็นถึงความสําคัญและความจําเปนของการวัดผลหรือการประเมินการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ภายในหนวยงานที่ชัดเจนและไดมาตรฐาน โดยมีระบบการวัดผลหรือประเมินผลที่ตรงกับความตองการของเจาหนาที่ ซึ่งสามารถจูงใจใหเกิดการปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถ สรางขวัญและกําลังใจดวยการเพิ่มคาตอบแทนรายเดือนแตสิ่งที่ผูบริหารหรือผูมีสวนเกี่ยวของยังตองทําการแกไข คือ

7.1 ผูบริหารของทัณฑสถานฯ ควรประชาสัมพันธแนวคิด วิธีการวัดผลการปฏิบัติ งานกอนประเมินผลใหกับเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานทราบ เพื่อใหการประเมินผลเปนที่พึงพอใจของทุกคน

Page 115: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

104

7.2 ควรจัดใหมีการวิจารณการประเมินผลการปฏิบัติงานภายในการประชุมประจํา เดือนของเจาหนาที่ เพื่อเสนอผูบริหารนําไปแกไขขอบกพรองในการประเมินผลในครั้งตอไป

8. ดานการบริหารงบประมาณ จากการศึกษาทําใหทราบวา ทัณฑสถานฯไดมีการวางแผนการบริหารงบประมาณไดถูกตองตามระเบียบ โดยการสนับสนุนใหมีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบการใชงบประมาณอยางเขมงวดและรองขอใหกองตรวจสอบภายในกรมราชทัณฑรวมตรวจสอบการดําเนินการบริหารเงินงบประมาณใหมีความโปรงใส ประหยัด และคุมคาเกิดประโยชนสูงสุด แตสิ่งที่ผูบริหารหรือผูมีสวนเกี่ยวของยังตองทําการแกไข คือ

8.1 ควรมีการประสานกับหนวยงานภาคเอกชนภายนอกเขามาสนับสนุนงบประมาณในดานการพัฒนาพฤตินิสัยของผูตองขังใหมากยิ่งขึ้น ไมวาจะเปนดานวิทยากรหรือการฝกอาชีพใหกับผูตองขัง

8.2 ควรจัดสรรงบประมาณจัดซื้อเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชควบคุมผูตองขังรายสําคัญใหเพิ่มมากขึ้นในแตละป เพื่อลดอัตราความเสี่ยงของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน

9. ดานการบริหารวัสดุอุปกรณ จากการศึกษาทําใหทราบวา ทัณฑสถานฯมีวัสดุอุปกรณเพียงพอและมีประสิทธิภาพตอการปฏิบัติงาน เชน คอมพิวเตอร วิทยุสื่อสาร เครื่องตรวจโลหะซึ่งมีการบํารุงรักษาอยางเปนระบบ โดยที่ผูบริหารมีความคิดริเริ่มสรรหาวัสดุอุปกรณที่ทันสมัยมาใชในการควบคุมผูตองขังรายสําคัญ เชน เลเซอรควบคุมระวังการหลบหนีผูตองขัง แตสิ่งที่ผูบริหารหรือผูเกี่ยวของยังตองทําการแกไข คือ

9.1 ควรจะเพิ่มระยะเวลาการรับประกันคุณภาพวัสดุอุปกรณเทคโนโลยีที่ทันสมัยจากผูผลิตที่รับประกันการทํางานหลังตกลงสัญญาซื้อขายกันที่ระยะเวลา 1 ป เปน 3 ป เพื่อใหไดอุปกรณที่มีคุณภาพใชงานไดจริง

9.2 ควรจะจัดการประมูลจัดซื้อวัสดุอุปกรณระหวางผูคากับทัณฑสถานฯ ดวยความเปนธรรม เพื่อใหไดราคาวัสดุอุปกรณที่มีราคาและคุณภาพตามที่กําหนดไว

10. ดานการประสานงาน หรือการประนีประนอม จากการศึกษาทําใหทราบวา ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางมีการประชุมหนวยงานภายในเพื่อการประนีประนอมเปนประจําทุกครั้งเมื่อมีกรณีเกิดขึ้น เชน เมื่อผูตองขังเรียกรองสิทธิดานสวัสดิการ ความเปนอยูภายในทัณฑสถานฯ ผูอํานวยการทัณฑสถานฯจะเรียกประชุมทุกฝายที่เกี่ยวของไปเจรจาประนีประนอมกับผูตองขัง เพื่อหาขอยุติ มีการประชุมตกลงเพื่อการประสานงานภายในและภายนอกอยางสม่ําเสมอ ทําใหการบริหารงานเปนไปดวยความเรียบรอย ไมมีอุปสรรคขัดของ แตสิ่งที่ผูบริหารหรือผูเกี่ยวของยังตองดําเนินการแกไข คือ

Page 116: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

105

10.1 ควรรวมการจัดกิจกรรมกับหนวยงานภายนอกที่เขามาติดตอประสานงานกับทัณฑสถานฯ เชน สถานทูต สํานักงานตํารวจแหงชาติ ศาลยุติธรรม เพื่อกระชับความสัมพันธในการติดตอประสานงาน

10.2 ควรจัดการติดตอประสานงานสายตรงระหวางหนวยงานดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เชน การใชอินเตอรเน็ต เพื่อใหการติดตอประสานงานเปนไปดวยความรวดเร็ว

11. ดานการบริหารทรัพยากรมนุษย จากการศึกษาทําใหทราบวา ผูบริหารทัณฑสถานฯทําตัวเปนแบบอยางที่ดีในดานทรัพยากรมนุษยโดยบรรจุแตงตั้งและใชบุคลากรอยางเหมาะสมกับงานโดยวางตัวบุคลากรไดเหมาะสมกับตําแหนงหนาที่และมีการฝกอบรมพัฒนาคุณภาพบุคลากรอยูเปนประจํา แตสิ่งที่ผูบริหารหรือผูเกี่ยวของยังตองทําการแกไข คือ

11.1 ทัณฑสถานฯควรจะจัดทําระบบการโอนยายบุคลากรโดยตรงที่มีความชํานาญดานการศึกษาพัฒนาพฤตินิสัยจากหนวยราชการอื่นมาบรรจุเปนเจาหนาที่ราชทัณฑ

11.2 ควรสงเจาหนาที่ไปอบรมวิชาการเฉพาะหนา ณ หนวยราชการหรือองคกรเอกชนเพื่อใหเขาใจทองแทวิชาการแตละดานที่จะตองนํามาใช

ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง เ จ า ห น า ที่ ทั ณ ฑ ส ถ า น บํ า บั ด พิ เ ศ ษ ก ล า ง กรุงเทพมหานคร นั้น จากการวิเคราะหที่ผานมาทําใหผูศึกษาสามารถสรุปสิ่งที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางควรเรงรีบดําเนินการแกไข ดังนี้

1. ดานการเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง1.1 ทัณฑสถานฯ ตองมีการพัฒนาระบบสื่อสารและสารสนเทศใหเพียงพอตอความ

ตองการ โดยการเพิ่มงบประมาณดานการจัดหาเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาชวยในงานควบคุมผูตองขัง อาทิ พัฒนาระบบทีวีเคเบิ้ลภายใน โดยมีการถายทอดกิจกรรมที่ทัณฑสถานฯไดจัดใหผูตองขังเขารวมกิจกรรม ถายทอดสิทธิของผูตองขังในระหวางตองโทษอยูภายในทัณฑสถานฯ ซึ่งจะสงผลโดยตรงกับการควบคุมผูตองขังที่มีความหวังจะไดรับการปลอยตัว โดยไมคิดหลบหนีจากการควบคุมของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

1.2 ทัณฑสถานฯ ตองตัดโอกาสการกอเหตุทะเลาะวิวาทระหวางผูตองขังภายใน ทัณฑสถานฯ โดยจัดใหมีการจูโจมจากเจาหนาที่ภายใน ตรวจคนสิ่งของตองหามสัปดาหละ1 ครั้ง อาทิ อุปกรณเลนการพนัน ยาเสพติด โทรศัพทมือถือ ซึ่งเปนตนเหตุของการทะเลาะวิวาทจากการติดตามทวงหนึ้ และควรมีการประสานงานกับหนวยงานราชการภายนอก อาทิ ทหารและตํารวจ ระดมกําลังเขาตรวจคนจูโจมรวมกับเจาหนาที่ภายในทัณฑสถานฯเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อใหการตรวจคนหาสิ่งของตองหามมีความละเอียดและครอบคลุมทุกพื้นที่ภายในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

Page 117: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

106

2. ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน2.1 ทัณฑสถานฯ ตองมีโปรแกรมการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพดานรางกายและจิตใจ

เทียบ เทามาตรฐานของสถานบําบัดฟนฟูผูติดยาเสพติดเพื่อใหผูตองขังเลิกยุงเกี่ยวกับยาเสพติดไดอยางยั่งยืนและเปนการคืนคนดีสูสังคม เชน โปรแกรมการปองกันผูตองขังกระทําผิดซ้ํา โปรแกรมเตรียมความพรอมกอนปลอยพนโทษ โปรแกรมการบําบัดฟนฟูผูตองขังที่ติดยาเสพติดในรูปแบบชุมชนบําบัด โปรแกรมการบําบัดฟนฟูผูคารายยอย เปนตน

2.2 ทัณฑสถานฯตองมีการประสานงานรวมกับหนวยงานภายนอกดานการขาวเกี่ยวกับปญหายาเสพติดภายในทัณฑสถานฯอยางตอเนื่อง เชน ประสานงานกับสํานักงานปองกันและปราบปรามยาเสพติดแหงชาติดําเนินการขอขอมูลเครือขายผูคายาเสพติดของผูตองขังรายสําคัญที่ตองโทษอยูภายในทัณฑสถานฯเพื่อนําขอมูลมาวิเคราะหการควบคุมเครือขายผูตองขังรายสําคัญภายในทัณฑสถานฯไมใหสามารถลักลอบคายาเสพติดภายในทัณฑสถานฯได

3. ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ3.1 ทัณฑสถานฯ ตองปรับปรุงสภาพแวดลอมบริเวณภายในและภายนอกสําหรับ

การทํางานประจําวันแกเจาหนาที่ ใหเกิดความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในการทํางานมากยิ่งขึ้น อาทิ ปรับปรุงหองรับประทานอาหารสําหรับเจาหนาที่ใหถูกสุขลักษณะ ปรับปรุงหองออกกําลังกายใหมีอุปกรณที่ไดมาตรฐาน ปรับปรุงพื้นที่บริเวณหองสมุดใหเปนหองสมุดอิเล็กทรอนิกสที่ทันสมัยใหมใหกับเจาหนาที่ไดใชประโยชนในการดานศึกษาทางทฤษฎีและภาคปฏิบัติในวิชาชีพงานราชทัณฑ เปนตน

3.2 ทัณฑสถานฯ ตองมีการจัดทําแผนพัฒนาบุคลากรเปนรายบุคคลที่ชัดเจนเพื่อความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ โดยยึดหลักหัวขอสําคัญ คือ 1) การกําหนดความตองการของบุคลากรรายบุคคล 2) การตอบสนองความตองการของบุคลากรรายบุคคล 3) การธํารงรักษาบุคลากรเปนรายบุคคลและการจัดสวัสดิการ

5.3.2 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไปควรนําผลการวิจัยดังกลาวไปตอยอดในการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อจะไดขอมูลเชิงลึกใน

การอธิบายปรากฏการณที่เกิดขึ้นและเพื่อหารูปแบบพัฒนาทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง ตอไป

Page 118: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

107

บรรณานุกรม

กรมราชทัณฑ. แผนปฏิบัติราชการกรมราชทัณฑ พ.ศ. 2555-2558. กรุงเทพมหานคร: กรมราชทัณฑ, 2555.

กษมาพร ทองเอื้อ. “ทรัพยากรบริหารตอประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล”. วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2555.

กัลยา วานิชยบัญชา. การใช SPSS for Windows ในการวิเคราะหขอมูล. พิมพครั้งที่ 9.กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ, 2549.

________________. การวิเคราะหสถิติขั้นสูงดวย SPSS for Windows. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร, 2546.

ณัฐพงศ แสนทวีสุข. บทคัดยอ การพัฒนาและแนวโนมการบริหารจัดการดานการใหบริการขอมูลขาวสารของเมืองพัทยา. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553.

ไตรรัตน โภคพลากรณ. เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานราชทัณฑ หนวยที่ 1-8 เรื่องแนวคิด ทฤษฏีและขอบเขตของการบริหารงานราชทัณฑ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช, 2552.

ทัศนีย โฉมประดิษฐ. “ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จของแผนการปองกันและปราบปรามยาเสพติดในเรือนจํา: ศึกษาเฉพาะกรณีทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง”. วิทยานิพนธหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2554.

ธงชัย สันติวงษ. องคการและการบริหาร.พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2543.ธนะศักดิ์ พรหมจันทร. “ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลของการจัดการศึกษาโรงเรียนเอกชน

สังกัดงานเขตพื้นที่การศึกษาสิงหบุรี ”. วิทยานิพนธหลักสูตรวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ลพบุรี, 2552.

นงลักษณ เรือนทอง. “รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิผล”. ดุษฎีนิพนธ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปกร, 2550.

นัทธี จิตสวาง. งานราชทัณฑในอนาคต. นนทบุรี: กรมราชทัณฑ, 2556.___________. “นวัตกรรมและการนําเทคโนโลยีมาใชในงานราชทัณฑ”. ในสรุปผลการประชุม

กลุมยอย กลุมที่ 7, 17 กรกฎาคม 2546 ณ อิมแพคเมืองทองธานี กรุงเทพมหานคร, 2546.

Page 119: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

108

___________. หลักทัณฑวิทยา. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพิบูลสงเคราะห กรมราชทัณฑ, 2542.เนตรพัณณา ยาวิราช. การจัดการสมัยใหม. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: ทริปเพิ้ล กรุป, 2553.บุญเลิศ ไพรินทร. องคการและการพัฒนาองคการ : สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน.

กรุงเทพมหานคร: สํานักงาน ก.พ., 2548.ประเสริฐ เมฆมณี. หลักการบริหารและพัฒนาเรือนจํา. กรุงเทพมหานคร: บพิตรการพิมพ, 2527.ปรีชา แสนแกว. “ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลของการปองกันและปราบปรามยาเสพติด

ของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

แผนปฏิบัติราชการกรมราชทัณฑ พ.ศ. 2552 – 25555. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพราชทัณฑ, 2552.พงษศักดิ์ บันฑิตย. “การบริหารกิจการบานเมืองที่ดีกับประสิทธิผลของเรือนจํากลางคลองเปรม”.

สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

พชญรัศม ลิ่มสอน. “ประสิทธิผลของการบริหารงานพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครราชสีมา”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก, 2548.

พะยอม วงศสารศรี. การบริหารทรัพยากรมนุษย. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพสุภา, 2545.

พัชรี นีรนาทโกมล. เงื่อนไขและความสําเร็จในการพัฒนาองคกร เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาองคการ. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549.

พิทยา บวรวัฒนา. เอกสารประกอบคําบรรยายวิชาทฤษฏีองคการ เรื่อง ประสิทธิผลของหนวยงาน ทฤษฏีองคการสําหรับนักรัฐประศาสนศาสตร . กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (เอกสารอัดสําเนา), 2530.

พิมลจรรย นามวัฒนและเสนห จุยโต. เอกสารการสอนชุดวิชาองคการและการจัดการ เรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับองคการและการจัดการ. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2552.

ไพฑูรย บุญวัฒน. เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหาราชการไทย หนวยที่ 9-15 เรื่อง แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารราชการ. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช, 2554.

ภรณี มหานนท. การประเมินผลประสิทธิภาพขององคการ. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร, 2539.

Page 120: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

109

มณี ลิ้มปะวงศ. “ปจจัยที่สงผลตอการนํานโยบายปองกันและแกไขปญหายาเสพติดไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชน เขต 5 จังหวัดอุบลราชธานี”. งานวิจัยหลักสูตรปริญญา สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2554.

ยุทธภูมิ จิตภักดี. “การนํานโยบายการปองกันและปราบปรามยาเสพติดไปปฏิบัติ: กรณีศึกษาเรือนจํากลางคลองเปรม”. วิทยานิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2554.

รังสรรค ประเสริฐศรี. ภาวะผูนํา. กรุงเทพมหานคร: ธนธัชการพิมพ, 2548. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพมหานคร: อักษร

เจริญพัฒน, 2539.วันชัย เมฆจันทึก. “รูปแบบการบริหารที่มีประสิทธิผลของเรือนจําและทัณฑสถานตามหลักการ

บริหารกิจการบานเมืองที่ดี”. ดุษฎีนิพนธ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารพัฒนาองคการ บัณฑิตวิทยาลัยเจาพระยา, 2554.

วินัย เจริญเฉลิมศักดิ์. “ราชทัณฑมืออาชีพ” วารสารราชทัณฑปที่ 62, 3(2557). วิภาดา คุปตานนท. การจัดการและพฤติกรรมองคการ. นนทบุรี: เอส อาร พริ้นติ้ง แมสโปรดักส,

2551.วิเชียร วิทยอุดม. ภาวะผูนํา ฉบับล้ํายุค. กรุงเทพมหานคร: ธีระฟลมและไซเท็ก, 2550.วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. การบริหารจัดการและการบริหารการพัฒนาของหนวยงานของรัฐ .

กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอรเน็ท, 2550. __________________. การบริหารจัดการและการบริหารการพัฒนาขององคกรตามรัฐธรรมนูญ

และหนวยงานของรัฐ. กรุงเทพมหานคร: นิติธรรม, 2552.__________________. การบริหารเมืองหลวงและการบริหารทองถิ่น: สหรัฐอเมริกา อังกฤษ

ฝรั่งเศส ญี่ปุน และไทย. กรุงเทพมหานคร: โฟรเพซ, 2545.__________________. การพัฒนาเมืองและชนบทประยุกต. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:

โฟรเพซ, 2551.__________________. “แนวคิดทางรัฐประศาสน ศาสตร การประยุกตแล ะการพัฒนา ”.

http://www.wiruch.com/books, 2558. สืบคนเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2558.__________________. “แนวคิดและความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนา”. ในประมวล

สาระ ชุดวิชาการบริหารการพัฒนา 1 สาขาวิทยาการจัดการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2548.

Page 121: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

110

วิวิทย จตุปาริสุทธิ์ และวีระยุทธ สุขเจริญ. เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานราชทัณฑ หนวยที่ 1-8 เรื่อง นโยบายในการบริหารงานราชทัณฑ. สาขาวิทยาการจัดการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549.

ศรีธนา บุญญเศรษฐ. เอกสารการสอนชุดวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ หนวยที่ 1-8 เรื่อง การวิเคราะหและกําหนดกลยุทธทรัพยากรมนุษย. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2551.

ศิริรัตน ชุณหคลาย. ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร ภาควิชาสังคมศาสตร คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 2546.

ศิริลักษณ สุวรรณวงศ. ทฤษฎีและเทคนิคการสุมตัวอยาง. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2538.ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. องคการและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสารน, 2545.สงศักดิ์ ทิตาราม. เอกสารการสอนชุดวิชา สถิติวิจัย และการประเมินผลการศึกษา หนวยที่1-8 เรื่อง

ประชากร กลุมตัวอยางและการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัย. สาขาวิชาศึกษาศาสตร. นนทบุร:ี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554.

สมคิด บางโม. องคการและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: วิทยพัฒน, 2552.สมบูรณ ประสบเนตร. “การฝกวิชาชีพและการทํางานของผูตองขังในประเทศอังกฤษ”. วารสาร

ราชทัณฑปที่ 35, (2530): 23-25._________________. เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานราชทัณฑ หนวยที่ 1 -8 เรื่อง

การบริหารงานเรือนจํา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552.สมชาย หิรัญกตติ. การบริหารทรัพยากรมนุษย. กรุงเทพมหานคร: ปทุมชาง, 2542.สมาน รังสิโยกฤษณและสุธี สุทธิสมบูรณ. การปฏิรูปภาคราชการ: แนวคิดและยุทธศาสตร.

กรุงเทพมหานคร: สวัสดิการสํานักงาน ก.พ., 2540.สาวดี รักษศิริ. “เทคนิคการประสานงาน”. http://www.reo8.moe.go.th/index.php/, 2558. สืบคนเมื่อ

วันที่ 9 กันยายน 2558.สุกัญญา มีกําลัง. เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารราชการไทย หนวยที่ 9-15 เรื่อง แนวคิดทั่วไป

เกี่ยวกับการบริหารราชการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553.สุพรรณ ยามาดะ. “ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลของงานพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน

จังหวัดชลบุรี”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก, 2556.

Page 122: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

111

สุรพันธ ทับสุวรรณ. “การประเมินผลการนํานโยบายการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีไปปฏิบัติของกรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน”. http://www.moj.go.th, 2550. สืบคนเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2550.

สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน. คูมือการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลตามแนวทาง HR scorecard. กรุงเทพมหานคร: สํานักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล, 2552.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. “เอกสารเผยแพร “แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2556- พ.ศ. 2561”. http://www.opdc.go.th/content.php?menu.idl, 2558. สืบคนเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2558.

สําราญ บุญชิต. “ทรัพยากรการบริหารที่สอดคลองกับประสิทธิผลของความตองการของประชาชนที่เรียกวา 11 M ของสํานักงานเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธสาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552.

อุดมพร สุคนธฉายา. “ประสิทธิผลของการใหบริการประชาชนแบบศูนยบริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ กรณีศึกษาประชาชนผูมาขอรับบริการ ณ สํานักงานเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 2547.

Cronbach, L. J. Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 1951. Davis, Ralph C. The Fundamental of Top Management. New York: Harper & Row, 1951.Georgopolos and Tannenbaum. “The Study of Organization Effectiveness”. American

Sociological Review 22(8) (1957): 534-540.Hammer, Michael and Champy, James. Reengineering the Corporation: A Manifesto for Business

Revolution. New York: A Division of Harper Collins Publishers, 1993.Jerry W. Gilley and Steven A. Eggland. Principles of Human Resource Development. Reading,

Massachusetts: Addison-Wesley Publishing Company, Inc., 1989.Joseph L. Massie and John Douglas. Managing: A Contemporary Introduction. 3rd ed. Englewood

Cliffs, N.J.: Prentice-Hall, Inc., 1981.JameL.Gibson. Organization: Behavior structure process, International edition. 10th ed. U.S.A:

McGraw hill Inc., 2000.Krejcie, R.V. and Morgan D.W. “Determining Sample Size for Research Activities”. Education

and Psychological Measurement. 30: (1970): 607-610.Lawrence, P.R. and Jay W. Lorsch. Organization and Environment: Managing Differentiation and

Page 123: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

112

Integration. Boston: Harvard University, Graduate School of Business Administration. Division of Research, 1967.

Robbin, S.P. Organizational behavioe.11thed.Upper Saddle River, N.J.: Pearson Education Inc., 2005.

Schermerhorn, J.R., J.G.Hunt and R.N. 0Osborn. Organizational Behavior. 7th ed. New York: John Wiley & Sons Inc., 2000.

Steers. Managing Effective Organizations: An Introduction. California: Goodyear Publishing Company Inc., 1985.

Yamane, Taro. Statistice : An in troduction analysis. 3nd ed. New York : Harper & Row, 1967.____________. Statistics an Introductory Analysis. 3rd ed. Singapore: Time Printers Sdn Bhd.,

1973.

Page 124: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

ภาคผนวก

Page 125: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

114

ผนวก ก.ยุทธศาสตรของกรมราชทัณฑ พ.ศ. 2555 – 2558

การบริหารงานราชทัณฑตามแผนปฏิบัติราชการกรมราชทัณฑ พ.ศ. 2555 – 2558การบริหารงานราชทัณฑตองมีแผนการปฏิบัติที่ชัดเจนเพื่อใหสอดคลองตามการกรอบ

แนวทางการปฏิบัติงานของขาราชการและหนวยงานในสังกัดกรมราชทัณฑ ใหสามารถสงเสริมสนับสนุนการบริหารและพัฒนางานราชทัณฑ ใหสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนดไว เพื่อใหการควบคุม แกไขและพัฒนาพฤตินิสัยผูตองขังซึ่งเปนพันธกิจหลักของกรมราชทัณฑ เปนไปดวยความมีประสิทธิภาพกอใหเกิดประสิทธิผล สามารถคืนคนดีสูสังคม มีคุณคา สูสังคมอยางยั่งยืนตอไป

วิสัยทัศนกรมราชทัณฑเปนองคกรที่มีประสิทธิภาพในการควบคุม แกไข และพัฒนาพฤตินิสัย

ผูตองขังเพื่อคืนคนดีมีคุณคาสูสังคม

พันธกิจ1. ควบคุมผูตองขังอยางมืออาชีพ2. บําบัด ฟนฟู และแกไขพัฒนาพฤตินิสัยของผูตองขังอยางมีประสิทธิภาพ

ประเด็นยุทธศาสตร/เปาประสงคประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ เสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง

ประกอบดวยกลยุทธพัฒนาควบคุมตอผูกระทําผิด พัฒนาระบบการบริหารจัดการเรือนจําและ ทัณฑสถาน เสริมสรางการบริหารจัดการที่ดีของกรมราชทัณฑ

เปาประสงค : การควบคุมและปฏิบัติตอผูตองขังมีประสิทธิภาพประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ พัฒนาพฤตินิสัยเพื่อคืนคนดีสูสังคม เปนกลยุทธในการพัฒนา

ผูตองขังใหไดรับการแกไขและพัฒนาพฤตินิสัย ใหสามารถนําหลักธรรมของศาสนาที่ผูตองขังนับถือเปนหลักในการดําเนินชีวิตอีกทั้งยังสงเสริมใหเปนพลเมืองที่ดีของสังคมดวยการสรางวินัยและหนาที่พลเมืองที่ดีอยางเขาใจและปฏิบัติได

เปาประสงค : คืนคนดีสูสังคม

Page 126: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

115

ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ การรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน มีกลยุทธเชิงรุกในการปองกันปราบปรามยาเสพติดในเรือนจําและทัณฑสถาน การบําบัดแกไขฟนฟูผูตองขังติดยาเสพติด มีการเสริมสรางใหเกิดความรวมมือกับทุกภาคสวนในการแกไขปญหายาเสพติดเรงรัดพัฒนามาตรฐานการแกไขปญหายาเสพติด

เปาประสงค : ขจัดปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืนประเด็นยุทธศาสตรที่ ๔ การพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑประกอบดวย

การพัฒนาการบริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพระบบงานราชทัณฑใหเปนตามหลักธรรมาภิบาล การสงเสริมเพื่อการสรางบรรยากาศที่เอื้อในการทํางานขององคกร การสงเสริมใหบุคคลากรพัฒนาสมรรถนะและคุณภาพชีวิตและการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล

เปาประสงค : ราชทัณฑมืออาชีพประเด็นยุทธศาสตรที่ ๕ เสริมสรางการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีในงานราชทัณฑ

สรางขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานอีกทั้งยกระดับคุณภาพชีวิตของเจาพนักงานทั้งในดานของการสรางความมั่นคงในการทํางานและมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยางยั่งยืน

เปาประสงค : ราชทัณฑธรรมาภิบาล

การพัฒนาการบริหารทรัพยากรในงานราชทัณฑไตรรัตน โภคพลากรณ (2551: 355) กรมราชทัณฑ เปนสวนหนึ่งของกระทรวงยุติธรรม

เปนหนวยงานที่ตองปฏิบัติภารกิจใหบรรลุตามที่กําหนดภายใตความเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเขาใจสาเหตุและเปาหมายและขั้นตอนของการพัฒนางานราชทัณฑใหดําเนินกิจกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ

สาเหตุของการพัฒนา แบงได 2 ประเภทดังนี้1. สภาพแวดลอมภายใน เปนปจจัยภายใน ที่สามารถควบคุมได อาทิ เครื่องมือเครื่องจักร

ระเบียบวิธีการ มาตรฐานของงาน บุคลากร ความเกี่ยวพันระหวางบุคคล อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ วัตถุประสงคและนโยบาย

2. สภาพแวดลอมภายนอก เปนปจจัยที่มีผลกระทบมากกวาจากปจจัยภายใน ทั้งนี้เปนปจจัยที่มีความยากในการควบคุมหรือไมอาจควบคุมไดในบางครั้ง ปจจัยภายนอกนั้นสามารถยกเปนตัวอยาง ไดแก การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประชาชน และรัฐบาล เชน นโยบายที่เกี่ยวกับงานราชทัณฑ ทัศนคติของประชาชนที่มีตอนักโทษ ซึ่งจะมีผลกระทบตอการดําเนินงานของกรมราชทัณฑ เปนตน

Page 127: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

116

เปาหมายของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรมราชทัณฑฮาโรลด เจ เลวิทท อางถึงในไตรรัตน โภคพลากรณ (2551: 355) ไดกําหนดองค

ประกอบที่เปนเปาในการเปลี่ยนแปลงไว 4 ประการ ดังนี้1. บุคลากร อันไดแก เจาหนาที่ของราชทัณฑและผูตองขัง การเปลี่ยนโดยมีเปาหมายที่

คนนี้ยึดตามสมมติฐานที่วา ผลการดําเนินงานสวนใหญขึ้นอยูกับบุคคลากรเปนสวนสําคัญ การพัฒนาบุคลากรเพื่อใหเกิดความรูทักษะ โดยวิธีการตางๆ อาทิ การฝกอบรม การศึกษา เปนตน

2. เทคโนโลยี กลาวคือ เทคโนโลยีมีผลกระทบตอปริมาณและคุณภาพของผลผลิต การปรับปรุงเครื่องจักร อุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชตางๆ ที่เกี่ยวของกับการกอใหเกิดผลงานเพื่อมีประสิทธิภาพและเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น

3. โครงสราง กลาวคือ เปาหมายดานโครงสราง อันไดแก การจัดแผนกงาน การกําหนดขอบเขตการควบคุม การออกแบบงาน การกําหนดอํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบรวมทั้งการจัดระบบการควบคุมตางๆ เพื่อใหมีโครงสรางที่เหมาะสมเอื้ออํานวยตอการดําเนินงาน

4. งาน กลาวคือ ภารกิจที่ตองดําเนินการใหบรรลุผล การเปลี่ยนแปลงดานนี้จึงเกี่ยวของกับการจัดความสัมพันธของงาน การวิเคราะหงาน การจัดทํารายละเอียดงาน และการกําหนดคุณสมบัติของงานโดยยึดหลักเกณฑการทํางานตามความถนัดสําหรับกรมราชทัณฑมีภารกิจที่สําคัญ ไดแก การควบคุมผูตองขัง และพัฒนาผูตองขังเมื่อพนกําหนดโทษแลวเปนคนดีที่สังคมตองการ ไมกลับไปกอปญหาเกิดขึ้นกับสังคมอีกตอไป

การบริหารงานภายในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง การบริหารงานในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางสามารถจําแนกไดพอสังเขปดังนี้1. สวนควบคุมผูตองขัง มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ ควบคุม ตรวจสอบดานการควบคุม

ผูตองขังการรักษาการณบริเวณเรือนจําการปองกันลักลอบนําสิ่งของตองหาม เขา-ออก เรือนจําและประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ มีฝายในสังกัด 4 ฝาย คือ

1. ฝายปกครองกลางผูตองขัง2. ฝายรักษาการณภายในและภายนอกทัณฑสถานฯ 3. ฝายปกครองผูตองขัง4. ฝายสถานพยาบาลผูตองขัง2. สวนทัณฑปฏิบัติผูตองขัง มีหนาที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับการควบคุมตรวจสอบการ

จัดทําทะเบียนประวัติผูตองขัง การจําแนกลักษณะผูตองขัง การดําเนินการดานการทัณฑปฏิบัติ การคุมประพฤติ ฝายนิเทศสัมพันธ มีฝายในสังกัด 3 ฝาย คือ

Page 128: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

117

1. ฝายจําแนกลักษณะและคุมประพฤติผูตองขัง2. ฝายทะเบียนประวัติผูตองขัง3. ฝายนิเทศสัมพันธ3. สวนพัฒนาผูตองขัง มีหนาที่ฟนฟูสมรรถภาพทั้งทางดานรางกายและจิตใจใหแก

ผูตองขังใหสามารถเลิกเกี่ยวของกับยาเสพติดโดยใหการศึกษาทั้งวิชาสามัญและวิชาชีพ การใชแรงงาน การฝกวิชาชีพผูตองขัง รวมทั้งการบริหารเงินทุนผลประโยชน และประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ มีฝายในสังกัด 3 ฝาย คือ

1. ฝายการศึกษาและพัฒนาจิตใจ2. ฝายชุมชนบําบัด3. ฝายฝกวิชาชีพผูตองขัง4. สวนสวัสดิการผูตองขัง มีหนาที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับการวางแผนและดําเนินการจัด

สวัสดิการเพื่อการสงเคราะหผูตองขังในเรือนจํา รวมทั้งประสานงานกับหนวยงานที่ เกี่ยวของ มีฝายในสังกัด 3 ฝาย คือ

1. ฝายสวัสดิการผูตองขัง2. ฝายสงเคราะหผูตองขัง3. ฝายการเงินรานสงเคราะหผูตองขัง5. ฝายบริหารทั่วไป มีหนาที่รับผิดชอบ ดําเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานทะเบียน

เอกสารสําคัญ การเงิน การบัญชี การพัสดุ อาคารสถานที่ ยานพาหนะ การบริหารงานบุคคล การประชาสัมพันธ งานรับเรื่องราวรองทุกข งานเลขานุการ งานการประชุม การรวบรวมสถิติ ขอมูลของหนวยงานวางแผน งานโครงการการติดตามประเมินผล รวมทั้งงานที่ไดกําหนดใหเปนหนาที่ของฝายหนึ่งฝายใดโดยเฉพาะ

การบริหารทรัพยากรบุคคลของทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางเจาหนาที่ราชทัณฑ นับเปนตัวจักรที่สําคัญยิ่งในการบริหารงานเรือนจําและทัณฑสถาน

จะประสบความสําเร็จหรือความลมเหลว ยอมขึ้นอยูกับตัวบุคลากรเปนสวนสําคัญเรือนจําหรือ ทัณฑสถานใดที่มีเจาหนาราชทัณฑสวนใหญที่มีขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน มีความพรอมทั้งความรูและมีความประพฤติดี ซื่อสัตยสุจริต ขยันหมั่นเพียร และกระตือรือรนในการปฏิบัติหนาที่ การดําเนินงานยอมประสบความสําเร็จและเจริญกาวหนา

ฉะนั้นกลาวไดวา ความสําเร็จหรือความลมเหลวในการบริหารงานทรัพยากรบุคคลของเรือนจําหรือทัณฑสถาน ยอมขึ้นอยูกับตัวของเจาหนาที่ราชทัณฑที่ปฏิบัติงานเปนสําคัญ

Page 129: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

118

โดยเฉพาะตัวผูบริหารงานเรือนจําและทัณฑสถานถาเปนผูที่มีความรูความสามารถดี มีความรับผิดชอบตอหนาที่ มีความกระตือรือรนในการปฏิบัติหนาที่ มีคุณธรรมและความเปนธรรมในการปกครอง ตลอดเปนที่ยอมรับนับถือของเจาหนาที่ราชทัณฑแลว การบริหารงานเรือนจําและทัณฑสถานยอมจะบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไว

กระบวนการในการบริหารทรัพยากรบุคคล จะเริ่มตั้งแตการสรรหาบุคคลที่มีความรูความสามารถเขามาทํางาน (Recruitment) ไปจนกระทั่งบุคคลดังกลาวพนสภาพจากการปฏิบัติงาน ในหนวยงานนั้นๆไป (Retirement) สามารถอธิบายไดโดยสังเขปดังนี้ (สมบูรณ ประสพเนตร, 2552: 1-8)

1. การสรรหาบุคคลเขามาปฏิบัติหนาที่ในเรือนจําหรือทัณฑสถาน ตาง ๆ เปนหนาที่ของสํานักงานกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) และกรมราชทัณฑที่จะสรรหาบุคคลที่มีความรูความสามารถและคุณสมบัติเหมาะสมเขามาปฏิบัติงานในตําแหนงที่วางอยู ซึ่งอาจดําเนินการ โดยการเปดสอบแขงขัน การคัดเลือกหรือรับโอนขาราชการจากหนวยงานอื่น ตามปกติจะใชวิธีการเปดสอบแขงขัน ขอที่สําคัญที่จะตองคํานึงถึงก็คือ จะตองพยายามสรรหาผูที่มีความรูความสามารถมากที่สุดเขามาทํางาน โดยยึดหลักคุณธรรม (Merit system)

2. การปฐมนิเทศและการฝกอบรมผูไดรับการบรรจุเขารับราชการใหม เมื่อไดมีการสรรหาบุคคลที่มีความรูความสามารถที่ดีที่สุดเขามาปฏิบัติงานแลว ผูบัญชาการเรือนจําควรที่จะตอนรับเจาหนาที่ที่เขามาปฏิบัติงานใหมดวยตนเอง โดยการกลาวตอนรับอยางอบอุนและเปนกันเองที่สุด ชี้แจงระเบียบปฏิบัติบางอยางที่จําเปนในการปฏิบัติหนาที่ใหทราบ ตลอดจนแนะนําสถานที่และบรรดาผูรวมงาน ตอจากนั้นตองจัดใหมีการปฐมนิเทศหรือการฝกอบรมเบื้องตน

เมื่อกรมราชทัณฑไดจัดใหมีการฝกอบรมแกขาราชการใหมอยางเปนทางการที่สถาบันพัฒนาขาราชการราชทัณฑ ควรจะตองสงเสริมสนับสนุนใหบุคคลดังกลาวเขารับการฝกอบรมทันที เพื่อเพิ่มพูนความรู ทักษะและประสบการณในการปฏิบัติงานใหเกิดความเจริญกาวหนาในชีวิตราชการ

3. การสงเสริมสนับสนุนใหไดรับความเจริญกาวหนาในชีวิตราชการ โดยผูบริหารตองดูแลกวดขันผูปฏิบัติงานใหประพฤติดี อยูในกรอบของระเบียบวินัยและหมั่นศึกษาหาความรูเพิ่มเติมอยูเสมอ เพื่อเตรียมพรอมสําหรับการสอบเลื่อนระดับในอนาคต

4. การปกครองของผูบริหารราชทัณฑกับเจาหนาที่ผูใตบังคับบัญชาตองใชระบบคุณธรรมและความเสมอภาค โดยไมมีการเลนพรรค เลนพวก หรือเลนภาค นับเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งในการบริหารงาน ซึ่งจะกอใหเกิดประสิทธิภาพในการดําเนินงานของหนวยงานนั้นๆ

Page 130: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

119

5. การดูแลเอาใจใสในเรื่องสวัสดิการของเจาหนาที่ตามควรแกอัตภาพ ผูบริหารที่ดีตองคอยดูแลเอาใจใสเรื่องสวัสดิการของผูใตบังคับบัญชาตามสมควร เพื่อเสริมสรางขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน

การบริหารงานเรือนจําเปนงานที่ยุงยากสลับซับซอน เนื่องจากตองเกี่ยวกับบุคลากรหลายฝาย และระบบงานที่มีหลายดานดวยกัน นอกจากนี้งานเรือนจํายังเกี่ยวของกับที่ดิน ทรัพยสินและอาคารสถานที่ของเรือนจําดวย ซึ่งอาจกอใหเกิดปญหาในการบริหารงานเรือนจําได ถาผูบริหารงานเรือนจําไมมีความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาวดีพอ

Page 131: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

120

ผนวก ข.

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย

เรื่อง ทรัพยากรการบริหารกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

คําชี้แจง

1. แบบสอบถามฉบับนี้ใชเพื่องานวิจัยประกอบการศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก

2. แบบสอบถามฉบับนี้ แบงออกเปน 3 สวน คือ สวนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม สวนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับทรัพยากรการบริหารในทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง

กรุงเทพมหานคร สวนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร ผูวิจัยขอความรวมมือจากทานตอบแบบสอบถามฉบับนี้ตามความเปนจริง และตอบ

แบบสอบถามใหครบถวนทุกขอ หากมีขอเสนอแนะใดๆ ที่คาดวาจะเปนประโยชนตอการวิจัย ทานสามารถเสนอความคิดเห็นของทานมาพรอมกับแบบสอบถามฉบับนี้ ทั้งนี้ขอมูลทั้งหมดที่รวบรวมไดจากแบบสอบถามจะเก็บเปนความลับ โดยผูวิจัยจะนําขอมูลที่ไดมาใชเพื่อประโยชนทางการวิจัยเทานั้น

ขอแสดงความนับถือ

นายเสกมนต สัมมาเพ็ชร

นักศึกษาปริญญาโท

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

Page 132: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

121

สวนที่ 1 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม

คําชี้แจง แบบสอบถามสวนที่ 1 มีทั้งหมด 6 ขอ กรุณาเติมคําชองวางและทําเครื่องหมาย √ ลงใน

หนาขอความที่ตรงกับสถานภาพสวนตัวของทานเพียงคําตอบเดียว

1. เพศ

ชาย หญิง

2. สถานภาพการสมรส

โสด สมรส หมาย/หยาราง แยกกันอยู

3. อายุ....................................ป

4. ระดับการศึกษา

ต่ํากวาปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี

5. ตําแหนง

เจาพนักงานราชทัณฑ เจาพนักงานอบรมและฝกวิชาชีพ

นักทัณฑวิทยา นักวิชาการอบรมและฝกวิชาชีพ

อื่นๆ (ระบุ) ............................................

6. ระยะเวลาการปฏิบัติงานที่ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง ................ ป (นับเฉพาะรอบปจจุบัน)

Page 133: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

122

สวนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับทรัพยากรการบริหาร

คําชี้แจง แบบสอบถามในสวนที่ 2 เปนการสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทรัพยากรการบริหาร

ขอใหทานทําเครื่องหมาย ลงในชองที่ทานพิจารณาวาตรงกับความคิดเห็นมากที่สุด

เ พี ย ง

ชองเดียวในแตละชองคําถาม

ระดับการดําเนินงานขอ ทรัพยากรการบริหาร มาก

ที่สุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ที่สุด1. ดานบริหารทรัพยากรมนุษย (Man)1. ทัณฑสถานฯ บรรจุแตงตั้งและใชบุคลากร

อยางเหมาะสมกับงานโดยวางตัวบุคลากรไดเหมาะสมกับตําแหนงหนาที่

2. ทัณฑสถานฯ เห็นความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพบุคลากร มีการฝกอบรมเปนประจํา

3. ทัณฑสถานฯ เชิญบุคคลภายนอก มาชวยการพัฒนาบุคลากร

4. ทัณฑสถานฯ เปลี่ยนหรือยืมตัวบุคลากรจากหนวยงานอื่นมาปฏิบัติหนาที่ตําแหนงงานที่จําเปน

5. ผูบริหารทัณฑสถานฯ ทําตัวเปนแบบอยางที่ดีดานการบริหารทรัพยากรมนุษย

2. การบริหารงบประมาณ (Money)6. ทัณฑสถานฯ ไดรับการจัดสรรงบประมาณ

เพียงพอแกการบริหารจัดการ7. ทัณฑสถานฯ มีการวางแผนการบริหาร

งบประมาณของหนวยงานถูกตองตามระเบียบ

Page 134: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

123

8. ทัณฑสถานฯ สนับสนุนใหตรวจสอบในดานงบประมาณอยางเขมงวด

ระดับการดําเนินงานขอ ทรัพยากรการบริหาร มาก

ที่สุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ที่สุด9. ทัณฑสถานฯ สนับสนุนใหหนวยงานภายนอก

เขามามีสวนรวมในการตรวจสอบงบประมาณ10. ทัณฑสถานฯ ใชจายงบประมาณอยางประหยัด

มีประสิทธิภาพ คุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด

3. ดานการบริหารงานทั่วไป (Management)11. ทัณฑสถานฯ วางแผน ปฏิบัติตามแผน และ

ประเมินผลอยางเปนระบบ12. ทัณฑสถานฯมีการบังคับบัญชาอยางเปน

เอกภาพ13. ทัณฑสถานฯ มีการแจงเวียนประกาศและคําสั่ง

ใหเจาหนาที่ผูเกี่ยวของอยางทั่วถึง14. ผูบริหารทัณฑสถานฯ มีภาวะผูนําสูง เชน

กลาตัดสินใจ กลาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง15. ผูบริหารทัณฑสถานฯ มีลักษณะเปนผูนํามือ

อาชีพ เชนมีวิสัยทัศน มีความคิดริเริ่ม ใชความรูในการปฏิบัติงาน

4. การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material)16. ทัณฑสถานฯ มีวัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพที่

ทันสมัยมาใชปฏิบัติงาน 17. ทัณฑสถานฯ มีวัสดุอุปกรณเพียงพอและมี

ประสิทธิภาพตอการปฏิบัติงาน เชน คอมพิวเตอร วิทยุสื่อสาร เครื่องตรวจโลหะ

Page 135: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

124

18. ทัณฑสถานฯ ปฏิบัติตามระเบียบการพัสดุอยางเครงครัด

19. ทัณฑสถานฯ มีการบํารุงรักษาและทดแทนวัสดุอุปกรณอยางมีระบบ

ระดับการดําเนินงานขอ ทรัพยากรการบริหาร มาก

ที่สุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ที่สุด5. การบริหารคุณธรรม (Morality)20. ผูบริหารทัณฑสถานฯ มีความคิดริเริ่มในการ

บริหารจัดการวัสดุอุปกรณที่ทันสมัยนํามาใชในหนวยงาน เชนการนําระบบ Expire day

21. ทัณฑสถานฯ นําหลักการบริหารคุณธรรม เชน ความซื่อสัตยสุจริตมาใชในการปฏิบัติงาน

22. บุคลากรทัณฑสถานฯ มีจิตสํานึกที่ดีงามในการปฏิบัติงานดวยความรับผิดชอบและเอาใจใสงานอยางสม่ําเสมอ

23. บุคลากรทัณฑสถานฯ มีความตั้งใจทุมเท อุทิศตนในการปฏิบัติตามกฎ ขอบังคับ ระเบียบ วินัย อยางเครงครัด

24. บุคลากรทัณฑสถานฯ ไมใชตําแหนงหรืออํานาจหนาที่แสวงหาผลประโยชนสวนตนหรือใหพวกพอง

25. บุคลากรทัณฑสถานฯ มีความเมตตากรุณาในการปฏิบัติตามกฎ ขอบังคับ ระเบียบ วินัย อยางเครงครัด

6. การใหบริการประชาชน

26. ทัณฑสถานฯ มีชองทางการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเพื่อปรับปรุงการบริการใหดี

Page 136: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

125

ยิ่งขึ้น

27. ทัณฑสถานฯ ใหบริการที่มุงตอบสนองความตองการของประชาชน

28. ทัณฑสถานฯ ดําเนินงานโดยยึดหลักดวยความรวดเร็วใหกับประชาชน

ระดับการดําเนินงานขอ ทรัพยากรการบริหาร มาก

ที่สุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ที่สุด7. การบริหารขาวสาร หรือขอมูลขาวสาร (Message)29. ทัณฑสถานฯ ใหขอมูลที่เที่ยงตรงและทันสมัย

เพื่อประชาสัมพันธใหกับประชาชน30. ทัณฑสถานฯ มีการประเมินผลความพึงพอใจ

ของประชาชน31. ทัณฑสถานฯ มีระบบการหาขาวสารที่มี

ประสิทธิภาพรวดเร็ว

32. ทัณฑสถานฯ มีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารเปนเครือขายและเปนระบบ

33. ระบบกลั่นกรองขอมูลขาวสารของทัณฑสถานฯ เชื่อถือได

34. ทัณฑสถานฯ มีระบบการควบคุมการตรวจสอบขอมูลขาวสารอยางมีมาตรฐาน

35. ทัณฑสถานฯ นําขอมูลขาวสารมาใชในการปฏิบัติงาน

8. วิธีการ ระเบียบ แบบแผน หรือเทคนิค (Method)36. ทัณฑสถานฯ บริหารจัดการบนพื้นฐานของ

กฎหมายหรือยึดถือหลักนิติธรรม37. ทัณฑสถานฯ มีวิธีการระเบียบแบบแผนหรือ

เทคนิคในการปฏิบัติงานอยางเปนมาตรฐาน

Page 137: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

126

38. ทัณฑสถานฯ มีการปรับปรุงวิธีการระเบียบแบบแผนหรือเทคนิคในการปฏิบัติงานอยูตลอดเวลา

39. ผูบริหารทัณฑสถานฯ สนับสนุนใหบุคลากรนําวิธีการและเทคนิคมาใชในการปฏิบัติงาน

ระดับการดําเนินงานขอ ทรัพยากรการบริหาร มาก

ที่สุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ที่สุด40. ทัณฑสถานฯ มีการฝกอบรมทําความเขาใจกับ

บุคลากรถึงวิธีการระเบียบแบบแผนหรือเทคนิคอยูเปนประจํา

9. การบริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน (Minute)41. ผูบริหาร ใหความสําคัญกับการบริหารเวลา

หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงาน42. ผูบริหาร มีนโยบายสนับสนุนการปฏิบัติงาน

ดวยความรวดเร็วและทันเวลา43. ทัณฑสถานฯ มีการประเมินกรอบเวลาใน

ปฏิบัติงานอยูสม่ําเสมอ44. ทัณฑสถานฯ มีการปรับปรุงกรอบเวลาในการ

ปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ45. บุคลากรทัณฑสถานฯ ใหความสําคัญกับการ

บริหารเวลา หรือกรอบเวลาในการปฏิบัติงานโดยไมมีขอตอรอง

10. การประสานงาน หรือการประนีประนอม (Mediation)46. ทัณฑถสานฯ มีการประชุมประสานงานหารือ

กับหนวยงานอื่นเพื่อจัดแบงหนาที่การปฏิบัติ งานหนาที่ใหชัดเจนและลดความซ้ําซอน

47. ทัณฑสถานฯ มีการประชุมตกลงเพื่อการประสานงานอยางสม่ําเสมอ

Page 138: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

127

48. ทัณฑสถานฯ มีการประชุมหนวยงานภายในเพื่อการประนีประนอมเปนประจําทุกครั้งเมื่อมีกรณีเกิดขึ้น

49. ทัณฑสถานฯ มีการประชุมกับหนวยงานภายนอกเพื่อการประสานงานระหวางหนวยงานเปนประจํา

ระดับการดําเนินงานขอ ทรัพยากรการบริหาร มาก

ที่สุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ที่สุด50. ทัณฑสถานฯ มีการประชุมเพื่อการ

ประนีประนอมกับหนวยงานภายนอกเปนประจําทุกครั้งเมื่อมีกรณีเกิดขึ้น

11. การวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Measurement)51. ผูบริหารทัณฑสถานฯ เห็นถึงความสําคัญและ

ความจําเปนของการวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงานภายในหนวยงาน

52. ผูบริหาร มีนโยบายการวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและไดมาตรฐาน

53. ทัณฑสถานฯ มีระบบการวัดผลหรือประเมินผลที่ตรงกับความตองการของเจาหนาที่โดยสามารถจูงใจใหเกิดการปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถ

54. ผูบริหาร เปดโอกาสใหประชาชนหรือหนวยงานภายนอกเขามามีสวนรวมในการวัดผล

55. ผูบริหาร มีการควบคุมตรวจสอบการวัดผล หรือการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรอยางเครงครัด

Page 139: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

128

สวนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถาน

บําบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร

คําชี้แจง แบบสอบถามในสวนที่ 3 เปนการสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณสถานบําบัดพิเศษกลาง ขอใหทานพิจารณาวาในแตละขอความตรงกับสภาพความเปนจริงในแตละขอคําถาม โดยทําเครื่องหมาย√ ลงในชองที่ทานที่สุดเพียงชองเดียว

ระดับความคิดเห็นขอ ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่

ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางมากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

1. ดานเสริมสรางประสิทธิภาพการควบคุมและการปฏิบัติตอผูตองขัง1. ทัณฑสถานฯ ผานเกณฑมาตรฐานเรือนจําดาน

การควบคุมและการรักษาความปลอดภัย

2. ผูตองขังในทัณฑสถานฯ ไดรับโอกาสการแกไขและพัฒนาพฤตินิสัย

3. ทัณฑสถานฯ มีการนําระบบพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการมาใชในการควบคุมผูตองขัง

4. ทัณฑสถานฯ มีการพัฒนาระบบสื่อสารและสารสนเทศอยางเพียงพอ

5. ทัณฑสถานฯ มีการปรับปรุงจัดเก็บฐานขอมูลเมื่อเกิดกรณีผูตองขังกระทําผิดวินัยผูตองขัง

6. โอกาสการหลบหนีของผูตองขังภายในทัณฑสถานฯ

Page 140: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

129

7. โอกาสการกอเหตุทะเลาะวิวาทระหวางผูตองขังในทัณฑสถานฯ

ระดับความคิดเห็นขอ ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่

ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางมากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

2. ดานรวมพลังแกไขปญหายาเสพติดใหไดผลอยางยั่งยืน8. ทัณฑสถานฯ มีการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพดาน

รางกายเพื่อผูตองขังในทัณฑสถานฯ เพื่อใหเลิกยุงเกี่ยวกับยาเสพติดอยางสม่ําเสมอ เชน กิจกรรมดานกีฬานันทนาการ และสันทนาการ

9. ทัณฑสถานฯ มีการประสานงานรวมกับเจาหนาที่หนวยงานภายในและหนวยงานภายนอกดานการขาวเกี่ยวกับปญหายาเสพติดภายในทัณฑสถานฯ อยางสม่ําเสมอ

10. ทัณฑสถานฯ มีแผนจูโจมตรวจคนหายาเสพติดโดยไดรับการรวมมือของเจาหนาที่ภายในทุกฝายอยางตอเนื่อง

11. ทัณฑสถานฯ มีการบําบัดฟนฟูดานจิตใจเพื่อใหเลิกยุงเกี่ยวกับยาเสพติดอยางสม่ําเสมอ เชน กิจกรรมศาสนาบําบัด

12. มีการสุมตรวจปสสาวะหาสารยาเสพติดกับผูตองขังตามเกณฑกําหนดเวลาของกรมราชทัณฑ

10. ทัณฑสถานฯ มีแผนจูโจมตรวจคนหายาเสพติดโดยไดรับการรวมมือของเจาหนาที่ภายในทุกฝายอยางตอเนื่อง

3. ดานพัฒนาความเปนมืออาชีพในงานราชทัณฑ

Page 141: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

130

13. ทัณฑสถานฯ มีการจัดทําขอตกลงเปาหมายผลการปฏิบัติงานที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรหลักของกรมราชทัณฑ

ระดับความคิดเห็นขอ ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่

ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลางมากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

14. ทัณฑสถานฯ มีการพัฒนาโครงสรางและกรอบอัตรากําลังใหเหมาะสมสอดคลองความเปนมืออาชีพ

15. ทัณฑสถานฯ มีการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ใหเปนมืออาชีพ

16. ทัณฑสถานฯ มีแผนพัฒนาบุคลากรเจาหนาที่เปนรายบุคคล

17. ทัณฑสถานฯ มีการสงเสริมความเสมอภาคระหวางขาราชการหญิง-ชาย

18. เจาหนาที่มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในการทํางาน

Page 142: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

131

Page 143: ทรัพยากรการบริหารกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Sekmon_Sammapetch.pdfบทท 5 บทสร ป อภ ปรายผลและข

131

ประวัติผูศึกษา

ชื่อ – สกุล นายเสกมนต สัมมาเพ็ชร

วัน เดือน ป เกิด 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2511

ภูมิลําเนา หมูบานพฤกษา 12 บานเลขที่ 31/1973 ตําบลคลองสาม อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี สาขาวิชารัฐศาสตรหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ประวัติการทํางาน ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง33/2 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900