ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 ·...

19
_______________________________________________________________________________________________ ลักษณนามภาษามือไทย: ทามือเดี่ยว ทามือสองมือคูขนาน และทามือสองมือแตกตาง 1 จิรภา นิวาตพันธุ 2 อภิลักษณ ธรรมทวีธิกุล 3 ฟลิปป ดิลล 4 Email address: [email protected] , [email protected] , [email protected] บทคัดยอ บทความนี้ศึกษาลักษณนามภาษามือไทยตามลักษณะโครงสรางของวากยสัมพันธและจัดประเภท ลักษณนามภาษามือไทยตามแนวการจัดประเภทลักษณนามสากลประเภทตางๆของ Aikenvald (2003) ตลอดจนศึกษาลักษณนามสามกลุจําแนกตามการใชทามือ: แบบทามือเดี่ยว ทามือสองมือคูขนาน และทา มือสองมือแตกตาง ผลการศึกษาใหความกระจางในคุณลักษณะ ประเภท ขอบขายของคํานามที่ครอบคลุม และโครงสรางวากยสัมพันธของลักษณนามภาษามือไทย ซึ่งจะชวยเสริมการสื่อสารระหวางคนหูหนวกและ คนหูดีใหสัมฤทธิ์ผลมากยิ่งขึ้น คําสําคัญ : ลักษณนามภาษามือไทย/ ทามือลักษณนาม/ ประเภทของลักษณนาม/ โครงสราง วากยสัมพันธของลักษณนาม/ ภาษามือไทย ____________________________________________ 1 บทความนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการวิจัยพจนานุกรมสารสนเทศภาษามือไทย (รศ. ดร. อภิลักษณ ธรรมทวีธิกุล หัวหนาโครงการ) โดยไดรับทุนอุดหนุนวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รหัส .. 4-50 และ บริษัท iGroup Press จํากัด (http://pirun.ku.ac.th/~fhumalt/THSL/THSL/THSLindex.html) 2 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล 3 อาจารยประจําภาควิชาภาษาศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 4 มูลนิธิภาษาศาสตรประยุกต เชียงใหม หนา 4 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ที5 ฉบับที1-2

Upload: others

Post on 09-Aug-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

ลักษณนามภาษามือไทย: ทามือเดี่ยว ทามือสองมือคูขนาน และทามอืสองมือแตกตาง1

จิรภา นวิาตพนัธุ 2 อภิลักษณ ธรรมทวีธิกลุ3 ฟลิปป ดิลล 4

Email address: [email protected], [email protected], [email protected] บทคัดยอ บทความนี้ศึกษาลักษณนามภาษามือไทยตามลักษณะโครงสรางของวากยสัมพันธและจัดประเภทลักษณนามภาษามือไทยตามแนวการจัดประเภทลักษณนามสากลประเภทตางๆของ Aikenvald (2003) ตลอดจนศึกษาลักษณนามสามกลุม จําแนกตามการใชทามือ: แบบทามือเดี่ยว ทามือสองมือคูขนาน และทามือสองมือแตกตาง ผลการศึกษาใหความกระจางในคุณลักษณะ ประเภท ขอบขายของคํานามที่ครอบคลุม และโครงสรางวากยสัมพันธของลักษณนามภาษามือไทย ซ่ึงจะชวยเสริมการสื่อสารระหวางคนหูหนวกและคนหูดีใหสัมฤทธิ์ผลมากยิ่งขึ้น คําสําคัญ : ลักษณนามภาษามือไทย/ ทามอืลักษณนาม/ ประเภทของลกัษณนาม/ โครงสราง วากยสัมพันธของลักษณนาม/ ภาษามือไทย ____________________________________________ 1 บทความนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการวิจัยพจนานุกรมสารสนเทศภาษามือไทย (รศ. ดร. อภิลักษณ ธรรมทวีธิกุล หัวหนาโครงการ) โดยไดรับทุนอุดหนุนวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รหัส อ.ช. 4-50 และ

บริษัท iGroup Press จํากัด (http://pirun.ku.ac.th/~fhumalt/THSL/THSL/THSLindex.html) 2 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล 3 อาจารยประจําภาควิชาภาษาศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 4 มูลนิธิภาษาศาสตรประยุกต เชียงใหม

หนา 4 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2

Page 2: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

Thai Sign Language Classifiers: Single hand shape, Parallel hand shapes and Different hand shapes

Chirapa Niwatapant, Apiluck Tumtavitikul, Philipp Dill Email address: [email protected], [email protected], [email protected]

Abstract This paper studies Thai Sign Language classifiers in their syntactic environments and categorizes the classifiers according to the classifier types proposed by Aikenvald (2003) for world languages. It further studies the three kinds of classifiers arranged by the use of hand shapes; single hand shape, two parallel hand shapes and two different hand shapes. The results enhance the understanding of the properties, types, ranges of referent nouns and syntactic environments of Thai Sign Language classifiers, which will help facilitate the communication between the Deaf and hearing people. Key words: Thai Sign Language classifiers/ Classifier hand shapes/ Classifier types/ Syntactic environments of classifiers/ Thai Sign Language

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2 หนา 5

Page 3: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

บทนํา ลักษณนามเปนหนวยวากยสัมพันธที่มีในแทบทุกภาษา ลักษณนามทําหนาที่บอกลักษณะสําคัญของคํานาม และใชจัดแบงคํานามเปนกลุมตามลักษณะ ขนาด รูปทรงทางกายภาพ หรือตามความหมายอรรถลักษณ หรือตามลักษณะการใช ฯลฯ (cf. Allan (1977)) ในการศึกษาสากลลักษณของ ลักษณนามในภาษาตางๆ กวา หารอยภาษา จากภาษาตระกูลตางๆทั่วโลก Aikenvald (2003) จัดประเภทของระบบลักษณนามเปน 8 ประเภทตามโครงสรางของหนวยคําและวากยสัมพันธ (morpho-syntactic structures) อันเปนบริบทของลักษณนามที่มีในภาษา ไดแก 1. ลักษณนามจํานวนนับ (Numeral Classifiers)

คือลักษณนามที่ เปนหนวยคําอิสระ หรือหนวยคําเติม ซ่ึงเกิดติดกับจํานวนนับ หรือตัวบงปริมาณ ลักษณนามจํานวนนับจะเกิดกอน หรือหลังจํานวนนับในนามวลี 2. ลักษณนามกริยา (Verbal Classifiers)

คือลักษณนามที่เปนหนวยคําเติมที่ผูกติดกับคํากริยา ลักษณนามกริยาอางถึงคุณลักษณะของคํานามซึ่งสัมพันธกับคํากริยาในดานความหมาย โดยทําหนาที่เปนประธานหรือกรรมของกริยานั้นๆ 3. ลักษณนามสัมพันธ (Relational Classifiers)

คือลักษณนามที่อางถึงหนาที่ของคํานามในสัมพันธภาพที่แสดงความเปนเจาของ โดยอางถึงลักษณะที่คํานามนั้นถูกครอบครอง หรือถูกกระทํา 4. ลักษณนามตัวบงบอก (Dietic Classifiers)

คือลักษณนามที่เปนหนวยคําเติมที่ผูกติดกับตัวบงบอกในนามวลี ลักษณนามตัวบงบอก บงบอกคุณลักษณะของคํานามดานทิศทางตําแหนงทีต่ัง้ 5. ลักษณนามคํานาม (Noun Classifiers)

คือลักษณนามที่เปนคํา หรือหนวยคําเติมที่เกิดติดกับคํานามในนามวลี ลักษณนามคํานามอางถึงคุณ ลักษณะของคํ านามที่ ลั กษณนามนั้ นๆเชื่อมโยงสัมพันธดวย 6. ลักษณนามสถานที่ (Locative Classifiers)

คือลักษณนามที่เกิดในบุพบทวลี ซ่ึงมีบุพบทนําหนานามวลีเพื่อขยายคํานามในนามวลีตามคุณลักษณะของคํานาม โดยบอกตําแหนง สถานที่ของคํานามนั้นๆ 7. ลักษณนามถูกครอบครอง(Possessed Classifiers)

คือลักษณนามที่จัดประเภทคํานามที่ ถูกครอบครองในนามวลีที่แสดงความเปนเจาของ โดยจัดประ เภทตามคุณ ลักษณะของคํ านามที่ ถู กครอบครองนั้นๆ 8. ลักษณนามผูครอบครอง (Possessor Classifiers) คือลักษณนามที่จัดประเภทคาํนามที่ครอบครองคํานามอื่นในนามวลีที่แสดงความเปนเจาของ โดยจัดประเภทตามคุณลักษณะของคํานามที่ครอบครองนั้นๆ ภาษาตางๆอาจมีระบบลักษณนามประเภทใดประเภทหนึ่ง ตามโครงสรางของหนวยคําและวากยสัมพันธอันเปนบริบทของลักษณนามในภาษา จากการศึกษาหารอยกวาภาษา

หนา 6 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2

Page 4: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

Aikenvald พบวาภาษาจํานวนมากมีลักษณนามที่เปนระบบผสมผสานก้ํากึ่งระหวางลักษณนามประเภทตางๆ โดยมีลักษณนามประเภทใดประเภทหนึ่งโดดเดนเปนพิเศษ ภาษาจํานวนมากมีลักษณน า ม ที่ เ ป น ร ะ บ บ พ หุ ลั ก ษ ณ น า ม (multiple classifiers) คือมีหลายๆประเภทของลักษณนามในภาษา ภาษาไทยเปนภาษาหนึ่งที่มีพหุลักษณนาม โดยมีลักษณนามจํานวนนับเดนที่สุด ซ่ึงจะเห็นไดจากโครงสรางวากยสัมพันธในภาษาไทยที่มีจํานวนนับวาจะตองปรากฎลักษณนามตามมาดวยเสมอ ตัวอยางเชน

(1) ขอดู นาฬิกา ๓ เรือนนี้ ไดไหม (2) *ขอดู นาฬิกา ๓ นี้ ไดไหม ประโยคขอ (2) เปนประโยคผิดไวยากรณเนื่องจากไมมีลักษณนาม ภาษามือไทย เปนภาษาที่มีการใชลักษณนามในประโยคตางๆ เชนกัน จากการศึกษาตําแหนงที่เกิดของลักษณนามภาษามือไทย Tumtavitikul, Niwatphant and Dill (2009) พบวา ลักษณนามภาษามือไทยสวนใหญ มีตําแหนงที่เกิดเปนหนวยคําที่ผนวกติดกับ (incorporated with) คํากริยาและทําหนาที่เปนกรรม หรือประธานของกริยานั้นๆ ซ่ึงสามารถจัดประเภทลักษณนามประเภทนี้เปนลักษณนามกริยา (verbal classifiers) ตามการจัดประเภทของ Aikenvald (2003) ดังตัวอยางตอไปนี้ (3) (ฉัน) ดื่มกาแฟ (4) (ฉัน) ดื่มน้ํา มีรูปแบบวากยสัมพันธเปนดังนี้ (5) [V-CLO]; V = กริยา CLO = ลักษณนาม

ซ่ึงอางถึงคํานามที่เปนกรรมโดยมีลักษณนามสําหรับ“ถวยกาแฟ” ผูกติดกับกริยาในขอ (3) และลักษณนามสําหรับ “แกวน้ํา” ผูกติดกับกริยาในขอ (4) Tumtavitikul, Niwatapant and Dill (2009) ยังพบวาลักษณนามภาษามือไทยมีคุณสมบัติที่เปนพหุลักษณนาม สามารถเกิดในปริบทวากยสัมพันธอ่ืนๆ ดังเชน ลักษณนามสถานที่ ลักษณนามจํานวนนับ ฯลฯ ไดดวย โดยมีคุณสมบัติที่เปนลักษณนามกริยาเดนที่สุด

ลักษณนามภาษามือไทย ลักษณนามภาษามือไทยในการศึกษาครั้งนี้

ไดจากการศึกษาคํานามจากศัพทตั้งในพจนานุกรมลักษณนามฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546) ประมาณหารอยศัพท (อภิลักษณ และคณะ 2552) โดยจําแนกลักษณนามภาษามือไทยเปนทามือสามกลุม คือ ทามือเดี่ยว ทามือสองมือคูขนาน และทามือสองมือแตกตาง พรอมคํานามที่ครอบคลุมและลักษณนามภาษาไทยที่สอดคลอง (ดูตารางที่1-3) ลําดับเลขที่ใชกํากับทามือนั้นใชแทนชื่อเรียกทามือการวิเคราะหทามือนี้เปนการวิเคราะหในแนวสัทศาสตรและสัทวิทยาภาษามือโดยใช “ ลักษณท ามือ” (Hand features) ในแนววิเคราะหของ Prillwitz, et el (1989) และสัทวิทยาภาษามื อไทย ดั งที่ นํ า เสนอใน Tumtavitikul, Niwatapant and Dill (2009) และอภิลักษณ และจิรภา (2551)

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2 หนา 7

Page 5: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

1. ทามือเดี่ยว คือทามือลักษณนามที่ใชมือขางเดียวตาม

ความถนัดของผูส่ือสาร ตารางที่ 1 แสดงลักษณนามภาษามือไทยทามือเดี่ยว 45 ทามือที่ใชกับคํานามอยางนอย 233 คํานามซึ่งสอดคลองกับลักษณนามในภาษาไทยรวมกันอยางนอย 95 ลักษณนาม 2. ทามือสองมือคูขนาน

คือทามือลักษณนามที่ใชมือสองขางในลักษณะรูปแบบมือที่เหมือนกัน ขนานกัน และมักจะมีการเคลื่อนมือในลักษณะที่ขนานกันดวย ตารางที่ 2 แสดงลักษณนามภาษามือไทย ทามือสองมือคูขนาน 36 ลักษณนามซึ่งครอบคลุม คํานามไมนอยกวา 276 คํารวมกันและสอดคลองกับลักษณนามในภาษาไทยอยางนอย102 จํานวน 36 ทามือลักษณนามนี้ มี 25 ทามือที่ใชเปนลักษณนามทามือเดี่ยวในตารางที่ 1 3. ทามือสองมือแตกตาง

คือทามือลักษณนามที่ใชมือสองขางในลักษณะรูปแบบมือที่แตกตางกัน โดยมักจะมีมือขางหนึ่งเปนทามือที่ มีการเคลื่อนมือ(Active hand) และมืออีกขางหนึ่งเปนฐาน (passive hand) ตารางที่ 3 แสดงลักษณนามภาษามือไทยทามือสองมือแตกตาง

ทั้งหมด 45 ลักษณนาม ครอบคลุม คํานามไมนอยกวา 76 คํารวมกันและสอดคลองกับลักษณนามในภาษาไทย อยางนอย 36 ลักษณนาม ลักษณนามภาษามือไทย 45 ลักษณนามนี้ประกอบดวยทามือทั้งหมดรวมกัน 28 ทามือ ในจํานวนนี้มีเพียง 5 ทามือที่ไมปรากฎเปนลักษณนามทามือเดี่ยว หรือทามือสองมือคูขนาน ตารางที่ 1 และ 2 ลักษณนาม

ภาษามือไทยที่แสดงใน ตารางที่ 1-3 มีทั้งหมด 126 ลักษณนาม สําหรับใชกับคํานามที่ศึกษากวาหารอยคํา (ดูรายการศัพทในพจนานุกรมสารสนเทศภาษามือไทย และอภิลักษณและคณะ 2552) ลักษณนามเหลานี้ ประกอบดวยทามือที่ไมซํ้ากันโดยใชเปนลักษณนามทามือเดี่ยว ทามือสองมือคูขนาน และทามือสองมือแตกตางรวมทั้งหมด 61 ทามือ ซ่ึงสอดคลองกับลักษณนามภาษาไทยอยางนอย 175 ลักษณนาม (ไมนับคําซ้ํา)

หนา 8 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2

Page 6: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

ตารางที่ 1 ลักษณนามภาษามือไทยทามือเดี่ยว และคํานามที่ครอบคลุมกับลักษณนามในภาษาไทยที่สอดคลอง

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2 หนา 9

Page 7: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

หนา 10 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2

Page 8: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2 หนา 11

Page 9: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

หนา 12 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2

Page 10: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

ตารางที่ 2 ลักษนามภาษามือไทย ทามือสองมือเหมือนกัน และคํานามที่ครอบคลุมกับลักษณนามในภาษาไทยที่สอดคลอง

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2 หนา 13

Page 11: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

หนา 14 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2

Page 12: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2 หนา 15

Page 13: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

หนา 16 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2

Page 14: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2 หนา 17

Page 15: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

ตารางที่ 3 ลักษณนามภาษามือไทย ทามือสองมือแตกตาง และคํานามที่ครอบคลุม และลักษณนามใน ภาษาไทยที่สอดคลอง

หนา 18 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2

Page 16: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2 หนา 19

Page 17: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

หนา 20 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2

Page 18: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

ตารางที่ 4 สรุปเปรียบเทียบลักษณนามภาษามือไทย กับลักษณนามภาษาไทยในดานประเภท วากยสัมพันธ และคํานามทีค่รอบคลุม

บทสรุป

ความแตกต างที่ ชัด เจนระหว างหนวยวากยสัมพันธที่เรียกวา “ลักษณนาม” ในภาษามือไทย เมื่อเปรียบเทียบกับภาษาไทย จากการศึกษาครั้งนี้ พอสรุปโดยสังเขปไดดังนี้ 1. ประเภทของลักษณนาม

ทั้งภาษามือไทยและภาษาไทย ตางมีลักษณนามหลายๆประเภทรวมกันในภาษา ซ่ึงตางก็สามารถจัดเปนภาษาที่มีลักษณนามประเภทพหุลักษณนามไดเชนกัน ในขณะที่ภาษามือไทยมีกริยาลักษณนามเปนลักษณนามเดน (ดู1.2) ภาษาไทยมีลักษณนามจํานวนนับเปนลักษณนามเดน (ดู1.1) 2. วากยสัมพันธ

ลักษณนามในภาษามือไทยสวนใหญเปน

หนวยคําเติมที่ผูกติดกับคํากริยาในกริยาวลี (ดู (3), (4) และ (5)) แตลักษณนามในภาษาไทยเปนหนวยคําอิสระ ซ่ึงมักจะเกิดติดกับจํานวนนับ หรือตัวบงปริมาณ โดยเกิดหลังจํานวนนับในนามวลีเปนสวนใหญ (ดู (1) และ (2)) 3. คํานามที่ครอบคลุม

จากตารางที่1-3 จะเห็นวากลุมคํานามที่แตละลักษณนามในภาษามือไทยครอบคลุมนั้นมักจะไมเหมือนกันทั้งหมดกับกลุมคํานามที่ครอบคลุมโดยลักษณนามในภาษาไทยที่สอดคลองกัน (ดู อภิลักษณและคณะ 2552) ตัวอยางเชน ลักษณนามทามือเดี่ยว #1 ครอบคลุมคํานาม 3คําในรายการศัพทที่ศึกษาครั้งนี้ ไดแก “เม็ดที่ขึ้นตามผิวหนัง”

ลักษณนาม ภาษามือไทย ภาษาไทย

ประเภท พหุลักษณนามที่มี กริยาลักษณนามเดนที่สุด

พหุลักษณนามที่มี ลักษณนามจํานวนนับเดนทีสุ่ด

วากยสัมพันธ เปนหนวยคําเติมที่ผูกติดกับ คํากริยาในกรยิาวลี เปนสวนใหญ

เปนหนวยคําอิสระ ซ่ึงมักจะเกิดติดกับจํานวนนับ หรือตัวบงปริมาณ โดยเกิดหลังจํานวนนบัในนามวลีเปนสวนใหญ

คํานามที่ครอบคลุม

ครอบคลุมกลุมคํานามที่ไมเหมือน กันทั้งหมดกับลักษณนามใน ภาษาไทยที่สอดคลองกัน

ครอบคลุมกลุมคํานามที่ไมเหมือนกนัทั้งหมดกับลักษณนามภาษามือไทยที่สอดคลองกัน

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2 หนา 21

Page 19: ลักษณนามภาษาม ือไทย ท ามือ ... · 2014-06-11 · ลักษณนามภาษาม ือไทย: ท ามือเดี่ยว

_______________________________________________________________________________________________

“แผลเปน”และ “เม็ดไฝตามขนาด” โดยที่คํานามทั้งสามนี้ ตางมีลักษณนามในภาษาไทยที่แตกตางกัน “ตุม” “แหง” และ “เม็ด” ตามลําดับ และหากคนหาลักษณนามภาษาไทยทั้งสามคํานี้ในตารางที่ 1-3 ในภาคผนวก ก็จะพบวา แตละลักษณนามเหลานี้สามารถใชไดกับกลุมคํานามที่แตกตางกันไป

ความแตกตางของลักษณนามในภาษาทั้งสองนี้ ใหขอคิดแกคนหูดีผูใชภาษามือไทยเปนภาษาที่สอง และคนหูหนวกผูใชภาษาไทยเปนภาษาที่สองที่จะตระหนักและพึงระวังในการใช ลักษณนามเพื่อการส่ือสารที่สัมฤทธิ์ผล

เอกสารอางอิง พจนานุกรมลักษณนาม ฉบบัราชบัณฑติยสถาน. พิมพครั้งที่ 6. (2546) กรุงเทพฯ:

ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมสารสนเทศภาษามือไทย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก

:http://pirun.ku.ac.th/~fhumalt/THSL/THSL/ THSLindex.html

อภิลักษณ ธรรมทวีธิกุล และจิรภา นวิาตพนัธุ. (2551) “พยางคและคําในภาษามือไทย”. (Syllables and Words in Thai Sign Language) วารสารวทิยาลัยราชสดุา ปที่ 4 ฉบับที่ 1 หนา 95-113. อภิลักษณ ธรรมทวีธิกุล, จิรภา นิวาตพนัธุ, ฟลิปป ดิลล และ จีรพรรณ พรหมประเสรฐิ. (2552) “ลักษณนามภาษาไทยกับภาษามือไทย”. Festschrift in Linguistics, Applied Linguistics, Languages and Literature in Honor of Prof. Dr. Udom Warotamasikhadit on his 75th Birthday. Aikhenval, Alexandra Y. (2003) Classifiers: A Typology of Noun Categorization Devices. New York : Oxford University. Allan, K. (1977) “Classifiers.” Language, 53:285-311. Prillwitz, Siegmund, Leven, R., Zienert, Heiko, and Hanke, Tom. (1989) Hamburg Notation System for Sign Languages: An introductory guide. International Studies on Sign Language and Communication of the Deaf, 5. Hamburg : Signum. Tumtavitikul, Apiluck, Niwataphant, Chirapa and Dill, Philipp. (2009) “Classifiers in Thai Sign Language.” SKASE Journal of Theoretical Linguistics. 6.1.27-44.

หนา 22 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 5 ฉบับที่ 1-2