การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน...

59
Ref. code: 25605902020089KLC การวัดคาผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟารมสุกรภายใตการลงทุน ในโครงการที่มีการพัฒนาอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด โดย นางสาวสุกานดา โพธิพิทักษ การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต สาขาบัญชี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปการศึกษา 2560 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Upload: others

Post on 06-Aug-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

การวัดคาผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟารมสกุรภายใตการลงทุน

ในโครงการท่ีมีการพัฒนาอยางย่ังยืน: กรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด

โดย

นางสาวสุกานดา โพธิพิทักษ

การคนควาอิสระน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตร

บัญชีมหาบัณฑิต

สาขาบัญชี

คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร

ปการศึกษา 2560

ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 2: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

การวัดคาผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟารมสกุรภายใตการลงทุน

ในโครงการท่ีมีการพัฒนาอยางย่ังยืน: กรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด

โดย

นางสาวสุกานดา โพธิพิทักษ

การคนควาอิสระน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตร

บัญชีมหาบัณฑิต

สาขาบัญชี

คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร

ปการศึกษา 2560

ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 3: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

SOCIAL RETURN ON INVESTMENT OF A PIG FARM

UNDER SUSTAINABLE DEVELOPMENT PROJECT:

A CASE OF A COMPANY LTD.

BY

MISS SUKANDA PHOTIPHITAK

AN INDEPENDENT STUDY SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF

THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF MASTER OF ACCOUNTING

FACULTY OF COMMERCE AND ACCOUNTANCY

THAMMASAT UNIVERSITY

ACADEMIC YEAR 2017

COPYRIGHT OF THAMMASAT UNIVERSITY

Page 4: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·
Page 5: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

(1)

หัวขอการคนควาอิสระ การวัดคาผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟารมสุกร

ภายใตการลงทนุในโครงการที่มีการพัฒนาอยางย่ังยืน:

กรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด

ชื่อผูเขียน นางสาวสุกานดา โพธิพิทักษ

ชื่อปรญิญา บัญชีมหาบัณฑิต

สาขาวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย บัญชี

พาณิชยศาสตรและการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ รองศาสตราจารย ดร. วัชนีพร เศรษฐสักโก

ปการศึกษา 2560

บทคัดยอ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟารมสุกรภายใต

การลงทุนในโครงการท่ีมีการพัฒนาอยางย่ังยืน โดยขอมูลที่ใชไดจากการสัมภาษณเชิงลึกกับผูบริหาร

ของบริษัท ผูจัดการฝายบัญชีของบริษัท ปศุสัตวอําเภอ ชาวบาน ประกอบกับเอกสารทางวิชาการ

และงานวิจัยที่เก่ียวของ

ผลการวิจัยแสดงใหเห็นวาบรษิัทสามารถไดรับผลตอบแทนทางสังคมที่คุมคาสําหรับการ

ลงทุนภายใตการลงทุนในโครงการที่มีการพัฒนาอยางย่ังยืน โดยอัตราผลตอบแทนทางสังคมสุทธิ

สําหรับการลงทุนในโครงการที่มีการพัฒนาอยางย่ังยืนกรณีที่มีการจัดทํากิจกรรมเพ่ือสังคมและ

สิ่งแวดลอม และอัตราผลตอบแทนทางสังคมสุทธิสําหรับผลประโยชนสวนเพ่ิมที่บริษัททําเพื่อสังคม

และสิ่งแวดลอมอยูที่ประมาณ 11.40 และ 11.73 ตามลําดับ อยางไรก็ตามผลการคนควาอิสระ

ดังกลาวไมสามารถเปนตัวแทนของประชากรได เนื่องจากเปนเพียงกรณีศึกษาบริษัทหนึ่งเทานั้น

ดังน้ัน งานวิจัยในอนาคตควรเพ่ิมจํานวนกรณีศึกษาเพื่อขอสรุปงานวิจัยท่ีเปนที่ยอมรับมากขึ้น

คําสําคัญ: ผลตอบแทนทางสังคม, การพัฒนาอยางย่ังยืน, ฟารมสุกร

Page 6: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

(2)

Independent Study Title SOCIAL RETURN ON INVESTMENT IN

SUSTAINABLE PIG PRODUCTION IN THAILAND:

A CASE OF A COMPANY LTD.

Author Miss Sukanda Photiphitak

Degree Master of Accounting

Department/Faculty/University Accounting

Commerce and Accountancy

Thammasat University

Independent Study Advisor Associate Professor Watchaneeporn

Setthasakko, Ph.D.

Academic Years 2017

ABSTRACT

This paper aimed to study social return on investment (SROI) for

sustainable pig production in Thailand was studied. Data was collected from in-depth

interviews with company management, a chief accountant, district livestock officer,

and villagers. The literature and onsite observations provided further data.

Results were that social benefits may be obtained from investment in

sustainable development. Net SROI for sustainable development projects with and

without social and environmental activities are about 11.73 and 11.40, respectively.

These findings would have more general significance if further research broadened the

sample population.

Keywords: Social return on investment, Sustainable development, Pig farm, Thai

animal agriculture

Page 7: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

(3)

กิตติกรรมประกาศ

รายงานการคนควาอิสระหัวขอ “การวัดคาผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟารม

สุกรภายใตการลงทุนในโครงการท่ีมีการพัฒนาอยางย่ังยืน: กรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด”สําเร็จได

ดวยความอนุเคราะหของบุคคลหลายฝายท่ีไดใหความชวยเหลือในการอนุเคราะหขอมูลที่เปน

ประโยชนในการจัดทํารายงานการคนควาอิสระฉบับนี้ ซ่ึงไมอาจนํามากลาวไดหมด จึงขอโอกาส ณ

ที่นี้ขอบคุณทุกทาน

รองศาสตราจารย ดร. วัชนีพร เศรษฐสักโก อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระท่ีได

ใหคําแนะนําในการคนควาขอมูล ความรูในดานตางๆ ทั้งในดานการจัดทํา การรวบรวมขอมูล

การสัมภาษณ อีกทั้งตรวจทาน และแกไขขอบกพรองตางๆ ดวยความเอาใจใสทุกข้ันตอน เพ่ือใหการ

เขียนรายงานการคนควาอิสระฉบับนี้สมบูรณ อีกท้ังยังชวยแกปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นระหวางการ

คนควาอีกดวย

ผูคนควาอิสระขอขอบพระคุณผูใหขอมูลทุกทาน รวมถึงหนวยงานที่ทานสังกัด ที่ได

ใหความอนุเคราะหและความรวมมือในการใหขอมูลในการทํางานคนควาอิสระครั้งนี้ ตลอดจน

ใหคําแนะนําในการคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจนทําใหรายงานการคนควาอิสระฉบับนี้สําเร็จไดดวยดี

ผูคนควาอิสระขอขอบพระคุณคณะอาจารย และเจาหนาท่ีโครงการปริญญาโททางการ

บัญชี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ท่ีไดใหความรู คําแนะนํา

และความชวยเหลือในการติดตอประสานงานการจัดทํารายงานจากการคนควาอิสระฉบับนี้ รวมทั้ง

เพื่อนนักศึกษาในโครงการท่ีเปนกําลังใจที่ดี คอยใหคําปรึกษาและความชวยเหลืออยูตลอดเวลา

สุดทายนี้ ผูคนควาอิสระขอขอบพระคุณสมาชิกในครอบครัวและญาติพี่นองทุกทาน

ที่คอยสนับสนุนใหคําปรึกษา ใหความเขาใจและเปนกําลังใจท่ีดีตลอดการจัดทํารายงานการคนควา

อิสระฉบับนี้

นางสาวสุกานดา โพธิพิทักษ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

พ.ศ. 2560

Page 8: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

(4)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย (1)

บทคัดยอภาษาอังกฤษ (2)

กิตติกรรมประกาศ (3)

สารบัญตาราง (7)

สารบัญภาพ (8)

รายการสัญลักษณและคํายอ (9)

บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1

1.2 คําถามงานวิจัย 3

1.3 วัตถุประสงคงานวิจัย 3

1.4 ขอบเขตของงานวิจัย 4

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 4

บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 5

2.1 แนวคิดเร่ืองการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) 5

2.2 ฟารมสุกรและผลกระทบตอส่ิงแวดลอม 7

Page 9: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

(5)

2.3 การวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนและงานวิจัยในอดีตเกี่ยวกับ 8

การวัดผลตอบแทนทางสังคมในประเทศไทย

2.4 เครื่องมือประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (Social Return on 10

Investment: SROI)

บทที่ 3 วิธีการวิจัย 13

3.1 การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อทําการศึกษา 13

3.1.1 การเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือทําการศึกษาการลงทุนทางการเงิน 14

ในธุรกิจฟารมสุกรที่มีแนวคิดการพัฒนาอยางย่ังยืน

3.1.2 การเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือทําการศึกษาการวัดมูลคาผลตอบแทน 16

ทางสังคมจากการลงทนุทางการเงินในธุรกิจฟารมสุกรที่มีแนวคิด

การพัฒนาอยางย่ังยืน

3.2 การวิเคราะหและสรุปผลการศึกษา 16

3.3 ประวัติและขอมูลทั่วไปของบริษัทที่สัมภาษณ 17

3.3.1 การดําเนินงานของบริษัท 17

3.3.2 นโยบายทางการเงินของบริษัท 18

3.3.3 สมมติฐานที่ใหในการพยากรณกระแสเงินสดสุทธิตลอดอายุโครงการ 18

บทที่ 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล 23

4.1 การมูลคาผลตอบแทนจากการลงทุนทางการเงินในธุรกิจฟารมสุกร 23

ท่ีมีแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืน

4.2 การวัดมูลคาผลตอบแทนทางสังคมในธุรกิจฟารมสุกรที่มีแนวคิด 24

การพัฒนาอยางยั่งยืน

4.2.1 การมีรายไดเพิ่มขึ้นจากการขายคารบอนเครดิต (Carbon Credit) 26

4.2.2 ประหยัดคาใชจายทางภาษีจากการเขารวมโครงการ 27

ขายคารบอนเครดติ (Carbon Credit)

4.2.3 ประหยัดคาใชจายสําหรบัคาไฟฟา 27

Page 10: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

(6)

4.2.4 การลดคาใชจายในการซ้ือปุยของเกษตรจากการใชปุยน้ํา 28

4.2.5 การลดคาใชจายของเกษตรจากการซื้อปุยมูลสัตว 28

4.3 การปรับปรุงผลกระทบที่เกิดข้ึนตอผลลัพธจากการดาํเนินกิจกรรม 28

4.4 การคาํนวณผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน 30

(Social Return on Investment: SROI) ของโครงการท่ีมีการพัฒนา

อยางยั่งยืนกรณีที่ไมมีการจัดทํากิจกรรมเพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอม

4.5 การคาํนวณผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน 31

(Social Return on Investment: SROI) ของโครงการท่ีมีการพัฒนา

อยางยั่งยืนกรณีที่มีการจัดทํากิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอม

4.6 การวิเคราะหความไว (Sensitivity Analysis) 32

บทที่ 5 สรปุผลการวิจัยและขอเสนอแนะ 33

5.1 สรุปผลการศึกษา 33

5.2 การนําไปใชประโยชน 34

5.3 ขอจํากัดของการศกึษา 34

5.4 ขอเสนอแนะ 35

รายการอางอิง 36

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก การคํานวณมูลคาท่ีไดรับจากการขายคารบอนเครดิต (Carbon Credit) 42

ภาคผนวก ข สมมติฐานที่ใชในการพยากรณงบกําไรขาดทุน 43

ประวัติผูเขียน 46

Page 11: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

(7)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

3.1 ตารางแสดงเงินลงทุนเร่ิมแรกในการดําเนินโครงการกลไกพัฒนาที่สะอาด 19

3.2 ตารางแสดงคาใชจายรายปในการดาํเนินโครงการกลไกพัฒนาที่สะอาด 20

4.1 การคํานวณการพยากรณงบกําไรขาดทุนในอีก 5 ปขางหนา 24

4.2 แผนที่ผลลัพธการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมของบริษัท เอ จํากัด 25

4.3 ตารางแสดงการคํานวณมูลคาท่ีไดจากการขายคารบอนเครดติตลอดระยะเวลา 5 ป 26

4.4 ตารางแสดงการคํานวณผลประโยชนภาษีที่กิจการจะไดรับตลอดระยะเวลา 5 ป 27

4.5 การกําหนด Deadweight และ Attribution ของผลลัพธที่เกิดขึ้น 29

จากการดําเนินกิจกรรมเพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอมของบริษัท

4.6 การคํานวณ SROI ของบริษัท เอ กําจัด กรณีท่ีไมมีการจัดทํากิจกรรมเพ่ือสังคม 30

และสิ่งแวดลอม

4.7 การคํานวณ SROI ของบริษัท เอ กําจัด กรณีท่ีมีการจัดทํากิจกรรมเพ่ือสังคม 31

และสิ่งแวดลอม

4.8 ผลการวิเคราะหความไวสําหรับ SROI ของบริษัท เอ กําจัด 32

Page 12: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

(8)

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา

ข.1 ราคาขายคารบอนเครดิตในรอบ 3 ป ตั้งแต 2554 - 2560 43

ข.2 การเปลี่ยนแปลงของคาไฟฟา 5 ป ตั้งแต 2556 - 2560 45

Page 13: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

(9)

รายการสัญลักษณและคํายอ

สัญลักษณ/คํายอ คําเต็ม/คําจํากัดความ

BOD

COD

Biological Oxygen Demand หมายถึง ปริมาณ

ออกซิเจนที่จุลินทรยีใชในการยอยสลายสารอินทรีย

ในน้ํา

Chemical Oxygen Demand หมายถึง คาที่บอก

คุณภาพของน้ํา แสดงความสกปรกของน้ําเสียจาก

บานเรือน หรือโรงงานอุตสาหกรรม

Page 14: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

1

บทท่ี 1

บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

กาซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) เปนกาซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความ

รอน หรือรังสีอินฟราเรดไดดี กาซเหลานี้มีความจําเปนตอการรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให

คงท่ี เน่ืองจากกาซเหลานี้ดูดคลื่นรังสีความรอนไวในเวลากลางวัน แลวคอยๆ แผรังสีความรอนออกมา

ในเวลากลางคืน ทําใหอุณหภูมิในบรรยากาศโลกไมเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลัน หากมีการเพ่ิมขึ้นของ

กาซเรือนกระจกมากเกินไปจะสงผลใหชั้นบรรยากาศมีความสามารถในการกักเก็บรังสีความรอน

ไดมากขึ้น ผลท่ีตามมาคืออุณหภูมิเฉลี่ยของชั้นบรรยากาศที่เพ่ิมขึ้นดวย นําไปสูภาวะเรือนกระจก

(Global Warming Potential: GWP) (องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน),

2559) นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศเกิดจากการปลอยมลพิษสูชั้นบรรยากาศรวม

ไปถึงการปลอยกาซเรือนกระจก ซึ่งมีสวนประกอบหลักคือกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) และ

กาซมีเทน (CH4) เปนสาเหตุหลักที่ทําใหโลกเผชิญปญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่สงผล

ใหเกิดภาวะโลกรอน (Global Warming) โดยคาดการณไววาอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพ่ิมสูงขึ้น

( Intergovernmental Panel on Climate Change, 2 0 0 1 ) โ ด ย เ ฉ พ า ะก า ร ป ล อ ย ก า ซ

คารบอนไดออกไซดจากการทําปศุสัตว หลายประเทศทั่วโลกตระหนักถึงความสําคัญของปญหาภาวะ

โลกรอนจึงรวมจัดทําอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United

Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือให

เกิดเสถียรภาพของชั้นบรรยากาศในระดับที่ชวยปองกันอันตรายจากกาซเรือนกระจก (United

Nations, 2014)

ประเทศไทยเปนอีกประเทศหนึ่งที่ตระหนักถึงปญหาภาวะโลกรอน หลายหนวยงาน

ทั้งภาครัฐและเอกชนหันมาใหความสนใจแกปญหากันมากขึ้น ไมเวนแมแตหนวยงานทางวิชาการ

สาขาตางๆ ไมวาจะเปนสาขาวิชาการสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาวิทยาศาสตร

สิ่งแวดลอม สาขาเศรษฐศาสตรสิ่งแวดลอม รวมถึงสาขาวิชาการบัญชี ก็ใหความสนใจดานสิ่งแวดลอม

ดวยเชนกัน โดยมีการศึกษาคนควาดานการบัญชีเพื่อสิ่งแวดลอม เพ่ือนําความรูดานการบัญชีมาชวย

หาแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางย่ิงส่ิงแวดลอมในชุมชนบริเวณ

ใกลเคียงที่อาจไดรับผลกระทบจากการประกอบกิจการของบริษัท เพื่อใหบริษัทสามารถอยูรวมกันกับ

Page 15: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

2

ชุมชนไดอยางยั่งยืน โดยการศึกษาผานธุรกิจฟารมสุกรขนาดใหญ เนื่องจากผลผลิตที่ไดจากฟารมสุกร

เชน มูลสุกรและเศษอาหารท่ีตกคางในฟารมสุกร น้ําลางฟารมสุกรและปสสาวะสุกรซึ่งจะกลายเปน

น้ําเสียสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและชุมชนใกลเคียงอยางชัดเจน ท้ังในดานกลิ่นและกาซที่เกิดจาก

การยอยสลายมูลสุกรภายใตสภาวะไรอากาศซึ่งเปนอันตรายตอสุขภาพมนุษยและสุกร อยางไรก็ตาม

ไดมีการนําเทคโนโลยีมาชวยในการพัฒนาและกําจัดของเสียจากฟารมสุกรโดยการนําไปผลิตกาซ

ชีวภาพ หรือนํามูลสุกรสดไปทําปุยอินทรียเพ่ือขายในชุมชนชวยลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด

และยังถือเปนคารบอนเครดิตที่สามารถนําไปจําหนายใหกับประเทศที่รับซื้อหากฟารมสุกรเขารวม

ลงทุนในโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism CDM)

การศึกษาขององคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) ในป 2555

พบวา ประเทศไทยมีการปลอยกาซเรือนกระจกสุทธิเทากับ 227.73 ลานตันคารบอนไดออกไซด

เทียบเทา โดยจําแนกออกเปน 4 ภาคหลัก คือภาคพลังงาน (Energy) ปลอยกาซเรือนกระจกมากที่สุด

เทากับ 256.44 ลานตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา หรือคิดเปนรอยละ 73.13 ของการปลอยกาซ

เรือนกระจกทั้งหมดของประเทศ ภาคการเกษตร ปาไม และการใชประโยชนที่ดิน (Agriculture,

Forestry and Other Land Use : AFOLU) ปลอยก าซ เ รือนกระจก เท า กับ 55 .71 ล านตัน

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา คิดเปนรอยละ 15.89 ของการปลอยกาซเรือนกระจกทั้งหมดของ

ประเทศ ภาคกระบวนการอุตสาหกรรมและการใชผลิตภัณฑ (Industrial Processes and Product

Use : IPPU) ปลอยกาซเรือนกระจกเทากับ 33.50 ลานตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา คิดเปนรอย

ละ 9.55 ของการปลอยกาซเรือนกระจกท้ังหมดของประเทศ และภาคการจัดการของเสีย (Waste)

ปลอยกาซเรือนกระจกเทากับ 5.03 ลานตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา หรือเทากับรอยละ 1.43

ของการปลอยกาซเรือนกระจกทั้งหมดของประเทศ

Page 16: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

3

โดยภาคเกษตร ปาไม และการใชประโยชนท่ีดิน (AFOLU) มีการปลอยกาซเรือนกระจก

คิดเปนรอยละ 15.89 ของการปลอยกาซเรือนกระจกทั้งหมด ทั้งนี้ ภาคเกษตร ปาไม และการใช

ประโยชนที่ดิน (AFOLU) สามารถแบงไดอีก 4 ประเภท คือ 1) ชีวมวล 2) ซากอินทรียวัตถุ 3) ดิน

และ 4) ปศุสัตว (Paustian et al., 2006) จากรายงานปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของโลกใน

ป 2010 จาก Vital Signs Online service ของ Worldwatch Institute พบวา ภาคเกษตรกรรม

มีการปลอยกาซเรือนกระจกทั้งสิ้น 4.69 พันลานตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก

ป 1990 รอยละ 13 เมื่อเปรียบเทียบปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคการขนสง 6.76

พันลานตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา และภาคการผลิตไฟฟาและความรอน 12.48 พันลานตัน

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา อีกทั้งกาซเรือนกระจกหลักที่ปลอยออกมาจากภาคเกษตรกรรม ไดแก

มีเทน ไนตรัสออกไซด และคารบอนไดออกไซด (Eric A Davidson, Institute of Physics, 2012)

ซึ่งสงผลเสียตอสภาพแวดลอมและสุขภาพของคน (Pirlo et al., 2016)

1.2 คําถามงานวิจัย

อัตราผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในธุรกิจฟารมสุกรภายใตการดําเนินงานตาม

แนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืนวามีจํานวนเทาใด

1.3 วัตถุประสงคงานวิจัย

1.3.1 เพ่ือศึกษาและวัดคาผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในธุรกิจฟารมสุกร

ภายใตการดําเนินงานตามแนวคดิการพัฒนาอยางย่ังยืน

1.3.2 เพื่อศึกษาและวัดผลลัพธเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นตอชุมชนใกลเคียงจากการท่ี

กิจการไดดําเนินงานภายใตกรอบแนวคิดการพัฒนาอยางย่ังยืน

Page 17: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

4

1.4 ขอบเขตของงานวิจัย

กรณีศกึษาของงานคนควาอิสระชิ้นนี้เปนการหาผลตอบแทนทางสังคมโครงการลงทุนใน

โครงการที่มีแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืนของกรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด ที่ตั้งอยูในเขตภาค

ตะวันออก รวมถึงศึกษาผลกระทบจากทางสังคมของการลงทุนในโครงการที่มีแนวคิดการพัฒนาอยาง

ยั่งยืนวามีผลกระทบตอผูมีสวนไดเสีย ซึ่งไดแก ผูบริหารของบริษัท ผูจัดการฝายบัญชีของบริษัท ปศุ

สัตวอําเภอ และชาวบานที่พักอาศัยในระยะ 1 กิโลเมตรจากบริษัท

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

การศึกษางานวิจัยเรื่อง “การวัดคาผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟารมสุกรภายใต

การลงทุนในโครงการที่มีการพัฒนาอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด” มีจุดมุงหมายเพื่อจะ

ไดรับประโยชนในดานตางๆ ดังตอไปนี้

1.5.1 เพ่ือใหทราบถึงมูลคาผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในธุรกิจฟารมสุกรที่มี

แนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืน

1.5.2 เพ่ือนํามูลคาผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในธุรกิจฟารมสุกรที่มีแนวคิด

การพัฒนาอยางยั่งยืนไปพัฒนาสําหรบัโครงการในอนาคตตอไป

1.5.3 เพ่ือเปนประโยชนแกบริษัทหรือกิจการอ่ืนสามารถนําโครงการที่มีแนวคิดการ

พัฒนาอยางยั่งยืนไปเปนตนแบบในการวัดคาผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในธุรกิจฟารมสุกร

ตอไป

1.5.4 เพ่ือเปนประโยชนในการศึกษาในอนาคตในการศึกษาดานการพัฒนาที่ยั่งยืนของ

ฟารมสุกรในประเทศไทย

Page 18: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

5

บทท่ี 2

วรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

2.1 แนวคดิเร่ืองการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development)

องคกรสหประชาชาติได ใหความสําคัญเรื่องการพัฒนาที่ยั่ งยืน (Sustainable

Development) มาตั้งแตป 2515 โดยไดจัดตั้งคณะกรรมาธิการโลกในเรื่องสิ่งแวดลอมและการ

พัฒนา (World Commission on Environment and Development : WCED) เพ่ือศึกษาเรื่อง

การสรางความสมดุลระหวางสิ่งแวดลอมกับการพัฒนา โดยการพัฒนาที่ยั่งยืนเปนการพัฒนา

ที่ตอบสนองความจําเปนของคนยุคปจจุบันโดยไมลดขีดความสามารถในการตอบสนองความจําเปน

ของคนยุคตอไป (สมพร, 2545; ขวัญฤดี, 2546; McBride et al, 2011) อยางไรก็ตาม องคกร

สหประชาชาติไดกําหนดเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals หรือ

SDGs) จํานวน 17 ขอ (United Nations, 2016) เพ่ือเปนแนวทางสําหรับประเทศสมาชิกในการ

นํามาปฏิบัติใช สําหรับประเทศไทยไดมีการกําหนดเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อใหสอดคลองกับ

เปาหมายทั้ง 17 ขอขององคกรสหประชาชาติ โดยเฉพาะเปาหมายในเรื่องการรับมือการเปลี่ยนแปลง

สภาพภูมิอากาศ โดยกําหนดใหเปนเรื่องท่ีตองดําเนินการอยางเรงดวนในการจํากัดการเพ่ิมขึ้นของ

อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกไดถึงสององศาเซลเซียสซ่ึงจํากัดไดมากกวากอนยุคอุตสาหกรรม (United

Nations Thailand, 2016)

ประเทศไทยมีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดเฉลี่ยตอหัวประชากรเฉลี่ยท่ีระดับ

3.87 ตันกาซคารบอนไดออกไซดตอคน เพิ่มขึ้นจากป 2557 เล็กนอย ซึ่งมีการปลอยกาซเฉลี่ยที่ระดับ

3.84 ตันกาซคารบอนไดออกไซดตอคน ในป 2554-2558 (สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน,

2559) พบวา การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดตอหัวประชากรมีแนวโนมเพิ่มขึ้น แสดงถึงสภาวะ

ความตองการ ใชพลั ง งานของประชากรที่ เ พ่ิม ข้ึน จึงมีการขยายตั วของการปลอยก าซ

คารบอนไดออกไซดตอหัวเพ่ิมขึ้น

Page 19: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

6

การเขารวมโครงการที่ลดการลดการปลอยกาซเรือนกระจก เชน โครงการกลไกการ

พัฒนาท่ีสะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) ที่เกิดจากความรวมมือกันระหวาง

ประเทศทั่วโลกเพ่ือการแกไขปญหาโลกรอน เปนที่มาของการจัดทําอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate

Change : UNFCCC) โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหเกิดเสถียรภาพของชั้นบรรยากาศในระดับที่ชวย

ปองกันอันตรายจากกาซเรือนกระจก (United Nations, 2014) โดยเฉพาะอยางย่ิงภาคปศุสัตวที่เริ่ม

ใหความสําคัญกับการปลอยมลภาวะสูชั้นบรรยากาศมากข้ึน ดังจะเห็นไดจากการไดรับการพิจารณา

ใหความเห็นชอบและไดรับหนังสือรับรองโครงการของโครงการฟารมสุกร ตําบลทามะนาว อําเภอ

ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ที่ลดความขัดแยงและเพิ่มความสามัคคีของคนในชุมชน เนื่องจากมลพิษดาน

กลิ่นที่เปนผลกระทบหลักจากฟารมสุกรลดลงจากมีการติดตั้งเคร่ืองกําจัดกลิ่น (Bio-scrubber)

ในระบบการผลิตกาซชีวภาพ และกาซชีวภาพที่ผลิตไดจะถูกนําไปใชเปนกาซหุงตมใหคนในชุมชนทั้ง

130 ครัวเรือน โดยปริมาณกาซเรือนกระจกที่ไดรบัการรบัรองไดมีจํานวน 309 ตันคารบอนไดออกไซด

เทียบเทา (องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน), 2559) สามารถนําไปขายใหกับ

ประเทศท่ีรับซื้อได เปนการเพ่ิมรายได ประหยัดคาใชจาย ท้ังยังสามารถอยูรวมกับคนในชุมชนไดอีก

ทางหนึ่ง

มีการศึกษาวาการลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกไดเปนความสําเร็จที่ย่ังยืนโดย

กรอบแนวคิดของการพัฒนาที่ยั่งยืนมี 3 สวนดวยกันคือ สิ่งแวดลอม สังคม และเศรษฐกิจ (I-Hsuan

Hong el at, 2015) ท่ีชี้ใหวาการลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกเปนตัววัดความสําเร็จของ

โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดซึ่งเปนวัตถุประสงคของความย่ังยืน ในทางการศึกษาเชื่อวาปริมาณ

กาซเรือกระจกที่ลดไดเปนตัววัดคาที่ดีของความยั่งยืน ความมีเสถียรภาพของภาวะโลกรอน และการ

ลดมลพิษ (Huge el at, 2010) สําหรบัเกณฑการพิจารณาการดาํเนินโครงการภายใตกลไกการพัฒนา

ที่สะอาดของประเทศไทยไดมีการจัดทําหลักเกณฑการพัฒนาที่ยังยืนทั้งหมด 4 ดาน ไดแก ดาน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดานสังคม ดานการพัฒนาและการถายทอดเทคโนโลยี และดาน

เศรษฐกิจ ซึ่งเปนเกณฑที่มีความเหมาะสมและเปนไปตามเงื่อนไขการใหการรับรองโครงการกลไกการ

พัฒนาที่สะอาด (องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน), 2553)

Page 20: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

7

2.2 ฟารมสุกรและผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

จากการศึกษาพบวา โรงเรือนเลี้ยงสัตว เปนสาเหตุสําคัญในการปลอยมลพิษ

สูบรรยากาศ เชน กาซแอมโมเนีย และกาซคารบอนไดออกไซด ฝุน จุลินทรีย และสารพิษที่กอใหเกิด

มลภาวะโลกรอน (S.C. Jarvis, B.F. Pain, J. Oosthoek, W.Kroodsma, P.Hoeksama, 1990)

การลดการปลอยมลพิษจึงเปนความทาทายอยางหน่ึงสําหรับฟารมสุกรทั่วโลก โดยการใชพลังงาน

ทดแทนสามารถชวยลดตนทุนและการปลอยกาซเรือนกระจกไดซึ่งเปนการสงเสริมภาพลักษณใหกับ

บรษิัทไดอีกทาง (LD. Jacobson, D.R. Schmidt, W.F. Lazaras, R. Koehler, 2014)

จากสถิติการเลี้ยงสุกรของประเทศไทยมีแนวโนมเพ่ิมสูงขึ้น โดยจากขอมูลสถิติของ

กรมปศุสัตวจํานวนสุกรตั้งแตป 2551 ถึง 2558 พบวา จํานวนสุกรเพิ่มขึ้นจาก 7,740,575 ตัว

เปน 9,886,897 ตัว และเพิ่มสูงขึ้นอีกในปงบประมาณ 2560 โดยแบงเปนสุกรพ้ืนเมืองจํานวน

650,972 ตัว สุกรพันธุจํานวน 935,046 ตัว และสุกรขุนจํานวน 8,605,766 ตัว รวมทั้งสิ้นจํานวน

10,191,784 ตัว นอกจากน้ีตลาดสุกรในประเทศไทย มีปริมาณการผลิตเนื้อสุกรป 2559 มีจํานวน

1.328 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากป 2558 คิดเปนรอยละ 4.40 ซึ่งเปนแรงจูงใจใหเกษตรกรมีการขยาย

ปริมาณการผลิตมากขึ้น (กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2559) ซึ่งเปนไปตามการคาดการณ

ขององคการเกษตรและอาหาร ที่ระบุไววาการบริโภคเนื้อสัตวมีโอกาสเพ่ิมข้ึน 73% ในป 2593

(Food and Agriculture Organization of the United Nations, 2011)

จากความตองการบริโภคเนื้อสุกรท่ีเพิ่มขึ้นผูประกอบการอาจไมใสใจในกระบวนการ

ผลิต (Susanne et al., 2005) โดยการปลอยมลพิษ รวมถึงของเสียที่เกิดจากการประกอบกิจการทํา

ใหเกิดผลเสียหายตอสิ่งแวดลอม ทั้ งนี้ภาคปศุสัตว ในภาพรวมของโลกมีการเติบโตเร็วกวา

ภาคเกษตรกรรมอื่นๆ รวมไปถึงการปลอยกาซเรือนกระจกสูงถึงรอยละ 40 ของภาคการเกษตร

ทั้งหมด (ดร. สมหมาย, 2009) อีกทั้งยังมีการคาดการณวาภาคปศุสัตวมีแนวโนมที่จะปลอยมลภาวะ

เพิ่มข้ึน 2 เทาภายในป ค.ศ. 2050 (Koneswaran & Nirrenberg, 2008) อยางไรก็ตาม

เมื่อเปรียบเทียบปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของภาคเกษตรไทยกับของโลกจากยุทธศาสตร

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศดานการเกษตรป 2556 - 2559 พบวา ประเทศไทยปลอยกาซเรือนกระจก

ในปริมาณรอยละ 0.8 ของปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกทั้งโลก ซึ่งยังถือเปนปริมาณท่ีนอยเมื่อ

เปรียบเทียบกับปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกท้ังโลก อยางไรก็ตามการปลอยกาซเรือนกระจก

ของประเทศไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้น จาก 22.1 ลานตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทาในป 2543

Page 21: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

8

เปน 331.45 ลานตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา ในป 2552 ซึ่งหากไมมีการดําเนินมาตรการเพื่อลด

กาซเรือนกระจกในป 2563 คาดการณวากาซเรือนกระจกของประเทศจะเพิ่มขึ้นเปน 498.7 ลานตัน

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา หรือประมาณ 2 เทาของป 2543 และเพิ่มเปน 715-764 ลานตัน

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา หรือประมาณ 3 เทา ในป 2573 สําหรับภาคเกษตรไทยในป 2563

และ 2573 คาดการณวาปริมาณกาซเรือนกระจกจะเพ่ิมเปน 67.72 และ 79.73 ลานตัน

คารบอนไดออกไซดเทียบเทา โดยมีการเพ่ิมขึ้นประมาณรอยละ 1.06 ตอป (กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ, 2555)

จากขอมูลดังกลาวขางตน เกษตรผูเลี้ยงสุกรของไทยสามารถเพ่ิมโอกาสในการลงทุนใน

โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด เพ่ือเพิ่มรายไดจากการขายคารบอนเครดิตใหกับประเทศท่ีรับซื้อ

เปนการสรางรายไดใหกับเกษตรผูเลี้ยงสุกร ท้ังยังเปนการชวยลดปริมาณกาซเรือนกระจก เพื่อให

ประเทศไทยบรรลุเปาหมายที่ตั้งไวจากการเขารวมการประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญา

สหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่กรุงปารีสวาจะลดการปลอยกาซเรือนกระจก

รอยละ 20-25 ภายในป 2573 และตองเปนการลงทุนเพ่ือความยั่งยืนทางการเงินของเกษตรผูเลี้ยง

สุกรดวย อีกทั้งลดความขัดแยงและเพ่ิมความสามัคคีของคนในชุมชนเนื่องจากมลพิษที่จะเปน

ผลกระทบหลักจากฟารมสุกรลดลง

2.3 การวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนและงานวิจัยในอดีตเกี่ยวกับการวัดผลตอบแทน

ทางสังคมในประเทศไทย

นอกจากการพัฒนาที่ยั่งยืนแลวการวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (Social

Return on Investment : SROI) ก็มีความสําคัญควบคูกัน โดยเนนการใหความสําคัญกับผลกระทบ

ของการดําเนินงานตอผูมีสวนไดเสีย (Gair, 2009; Mook et al., 2007) โดยการนําผลลัพธดานสังคม

ในดานตางๆ ท่ีบริษัทสรางมาคํานวณหามูลคาที่เปนตัวเงิน (Monetized value) (สฤณี, ภัทราพร,

2014) เพ่ือจัดทํารายงานและการเปดเผยขอมูลดานสังคมและสิ่งแวดลอม (Mook et al., 2007)

การทําความเขาใจในผูมีสวนไดเสียของบริษัทเปนสิ่งสําคัญ เนื่องจากจะตองคํานึงถึงผลกระทบตอ

ผูมีสวนไดเสียและสถานการณท่ีจะเกิดขึ้นถึงแมไมมีการจัดทําโครงการเพื่อสิ่งแวดลอม

Page 22: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

9

การศึกษาเรื่องผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (Social Return on Investment

: SROI) ในประเทศไทยมีเพิ่มมากขึ้น สังเกตไดจากการที่ผูทําวิจัยไดนําหลักการของ SROI ไปวัดคา

ผลตอบแทนทางสังคมในอุตสาหกรรมตางๆ ที่มองวาอาจจะมีผลกระทบตอชุมชนและสิ่งแวดลอม

อาทิเชน การวัดผลตอบแทนทางสังคมในอุตสาหกรรมการผลิต ไดแก การผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล

การผลิตอาหารสําเร็จรูป และการผลิตถุงพลาสติก โดยผลลัพธที่ไดนั้นนอกจากจะบงบอกถึงความ

รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมแลว ยังสามารถบอกไดวากิจการใดมีการลงทุนทางสังคมที่คุมคา

กวากัน และยังสามารถนําไปปรับใชเปนแผนการดําเนินงานสําหรับกรณีที่มูลคาผลตอบแทนที่วัดไดยัง

ไมอยูในระดับท่ีนาพึงพอใจ (จิตรบูลย, กรัณฑรัตน, เบญจวรรณ, 2557) การวัดผลตอบแทนทางสังคม

ในโรงพยาบาล เปนการศึกษาวาสถานพยาบาลที่ยกมาเปนกรณีศึกษานั้นมีความรับผิดชอบตอสังคม

และสิ่งแวดลอมเปนไปในทิศทางเดียวกันหรือไม และพบวาผลตอบแทนทางสังคมที่วัดไดนั้นไมได

ตางกันอยางมีนัยสําคัญ จึงสามารถกลาวไดวาในกรณีของโรงพยาบาลนั้น กิจกรรมตางๆ ลวนสงผลดี

ตอชุมชนและสิ่งแวดลอมโดยตรง แตอาจจะตางกันที่กิจกรรมพิเศษอ่ืนไดที่ทางโรงพยาบาลคิด

สรางสรรคออกมาเพื่อนํามาประยุกตใชกับชุมชนรอบขางและสิ่งแวดลอม (อรรฆพร สุขประสงค,

2557) การวัดผลตอบแทนทางสังคมในอุตสาหกรรมปาลมน้ํามัน ท่ีทําการเปรียบเทียบกิจการปาลม

น้ํามัน 2 กิจการ ถึงแมวาผลลัพธท่ีไดนั้นมีความแตกตางกัน แตสําหรับกิจการที่ไดผลตอบแทนทาง

สังคมนอยกวานั้น สามารถประยุกตใชแนวทางการดําเนินงานที่ผลดีตอชุมชนและสิ่งแวดลอม และ

พัฒนากรอบการดําเนินงานอยางยั่งยืนตอไปได (ปนประภา, 2557) การศึกษาสถานท่ีพักแรมโดย

เปรียบเทียบกันระหวางธุรกิจโรงแรมกับโอมสเตย หลังจากที่มีการหาขอมูลเงินลงทุนแลวไดมี

การศึกษาผลประโยชนสวนเพ่ิมจากประเด็นตอไปนี้ รายไดจากการขายขยะ การประหยัดคาใชจาย

ในการปรุงอาหาร การประหยัดคาใชจายจากกระดาษชําระ การประหยัดไฟฟาและน้ําประปา

การประหยัดคาใชจายผงซักฟอก และการประหยัดคาใชจายปุยเคมี เปนตน หลังจากการวิเคราะห

ตามกรอบแนวคิด SROI แลวพบวาธุรกิจโฮมสเตยและโรงแรมมีผลตอบแทนมากกวา 1 คอนขางมาก

นอกจากนี้ยังพบวาคา SROI ของโฮมสเตยมีมากกวาธุรกิจโรงแรมอยางนอย 5 เทา ดังนั้นจึงสามารถ

กลาวไดวาจากงานวิจัยชิ้นดังกลาวนี้ โฮมสเตยมีความสามารถในการสรางผลประโยชนตอสังคมและ

สิ่งแวดลอมไดดีกวาธุรกิจโรงแรม (อาภัสรา, วศิน, 2557)

Page 23: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

10

สําหรับประเทศไทยไดมีโครงการฟารมสุกรไดมีการเขารวมโครงการกลไกการพัฒนา

ที่สะอาดเพ่ือนํามาใชเพ่ิมคุณคาของพลังงานกาซชีวภาพโดยสถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน (สวพ.)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม (มช.) ไดดําเนินงานติดตั้งระบบกาซชีวภาพลดการปลอยกาซโลกรอนและ มี

ฟารมสุกรทั่วประเทศเขารวมจํานวน 36ฟารม คิดเปนสุกรประมาณ 600,000 ตัว ชวยลดการปลอย

กาซเรือนกระจกโดยรวมไดมากกวาปละ 240,000 ตัน ทําใหเกิดการไหลเขาของเงินตราตางประเทศ

จากการขายคารบอนเครดิตไดมากถึงปละ 115 ลานบาท และกอใหเกิดการผลิตไฟฟาจากพลังงาน

หมุนเวียนถึงปละ 30 ลานหนวย สามารถทดแทนการนําเขาน้ํามันดีเซลไดปละกวา 9 ลานลิตร

(จตุรงค, 2554)

จากการศึกษางานคนควาอิสระผลตอบแทนทางสังคมของสุกรทองฟารมซึ่งเปน

ฟารมสุกรขนาดเล็ก ขนาดน้ําหนักหนวยปศุสัตวรวม (นปส.) นอยกวา 60 หลังจากที่มีการหาขอมูล

เงินลงทุนแลว ไดมีการศึกษาผลประโยชนสวนเพ่ิมจากประเด็น รายไดจากการขายคารบอนเครดิต

ที่ไดจากการลดปริมาณกาซมีเทน และไดทําการวิเคราะหตามกรอบแนวคิด SROI แลวพบวา

มีคาผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนเทากับ 2.2 ซึ่งมากกวา 1 คอนขางมาก ดังน้ันจึงสามารถ

กลาวไดวาจากงานคนควาอิสระชิ้นดังกลาว มีความสามารถในการสรางผลประโยชนตอสังคมและ

สิ่งแวดลอมได (ปญญา ยุทธรักษานุกูล, 2553)

2.4 เคร่ืองมือประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (Social Return on Investment:

SROI)

การลงทุนในกิจกรรมเพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอมกําลังไดรับความสนใจจากหนวยงาน

ตางๆ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหผูบริโภครับรูและรูสึกดีกับกิจการ ถึงแมวากิจการจะทํากิจกรรมไป

มากมาย แตหากวาผลของการดําเนินกิจกรรมดังกลาวไมสามารถถูกวัดมูลคาออกมาเปนตัวเงินได

อยางชัดเจน ซึ่งผูบริโภคจะไมสามารถตระหนักถึงมูลคาเพิ่มจากกิจกรรมที่บริษัททําเพ่ือสังคมและ

สิ่งแวดลอมได ดังนั้นจึงตองอาศัยเคร่ืองมือการวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน ซึ่งหลักการนี้

เปนกรอบแนวคิด (SROI Framework) ของการวัดมูลคาและจัดการผลลัพธจากการทํากิจกรรมของ

องคกร โดยแนวคิด SROI มีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนการวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน

แบงไดเปน 2 ประเภทไดแก

Page 24: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

11

ประเภทท่ี 1 คือการประเมินมูลคาจากการใชขอมูลในอดีตที่เกิดข้ึนมาแลว

ประเภทท่ี 2 คือการพยากรณวามูลคาผลตอบแทนในอนาคต สมมติวาไดมีการดําเนิน

กิจกรรมตามแผนงานเรียบรอยแลว

แมวาผลลัพธทางสังคมจะไมไดออกมาในรูปของตัวเงิน แตผลท่ีไดมีประโยชนคลายกับ

การวิเคราะหทางการเงิน กิจการสามารถใชเปนเครื่องมือทบทวนประสิทธิภาพของกิจการเพื่อสังคม

เพื่อนํามาปรับปรุงรูปแบบของธุรกิจตอไป (Scholten et al, 2006) ขั้นตอนการวิเคราะห SROI

มี 6 ขั้นตอน คือ 1) กําหนดขอบเขตและระบุถึงผูมีสวนไดสวนเสียของโครงการ 2) สรางแผนภาพ

ผลลัพธ 3) รวบรวมขอมูลผลลัพธและประเมินมูลคาใหอยูในรูปของมูลคาทางการเงิน 4) รวบรวม

ผลกระทบที่เกิดข้ึน และทําการประเมินมูลคาออกมา 5) การคํานวณผลตอบแทนทางสังคมจาก

สมการ ดังนี้

ผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทนุ (SROI) = มูลคาของผลประโยชนตอสังคมและสิ่งแวดลอม

เงินลงทุน

และ 6) จัดทํารายงานเพื่อสรุปขอมูลและนําเสนอผลการวิเคราะหผลตอบแทนทาง

สังคม

SROI มีประโยชนตอการปรับปรุงการดําเนินงานของบริษัทในดานตางๆ เชน การทํา

ความเขาใจเก่ียวกับการสรางมูลคาตอบริษัท สังคม และสิ่งแวดลอมไปพรอมกัน การสรางทัศนคติที่ดี

ในการดําเนินงานโดยพยายามจัดการกับผลลัพธเชิงลบที่เกิดข้ึนใหลดลง การสรางความมีสวนรวมทั้ง

จากบริษัทและชุมชนใหดูแลกันไปอยางมั่นคง และการคนหาวิธีอ่ืนเพ่ิมเติมในการเก็บรวบรวมขอมูล

ที่มีประโยชนและขอมูลเชิงคุณภาพ พบวามีงานวิจัยท่ีมายืนยันวาการใช SROI เปนเครื่องมือในการ

วัดคาผลตอบแทนทางสังคมนั้น สามารถทําใหเกิดผลประโยชนตอบริษัทได แตตองตระหนักถึงความ

ออนไหวตอตัวแปรที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะตัวแปรทั้ง 3 ตัวแปร ไดแก อัตราคิดลดที่ตองสะทอนถึง

สภาวะตลาดในแตละชวงเวลา ตนทุนทางออมท่ีเกิดขึ้นเพื่อใหสามารถดําเนินงานไดอยางราบรื่น

จะตองถูกนํามารวมคํานวณหามูลคาปจจุบันของผลประโยชนที่ไดรับดวย ตัวอยางเชน คาโสหุย

เปนตน และประเด็นในการปรับปรุงการคํานวณโดยใชตัวแปร Deadweight และ Attribution

ซึ่งตองอาศยันักวิจัยที่มีความชํานาญ (Pathak & Dattani, 2014)

Page 25: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

12

บริษัทสามารถประยุกตและหาคา SROI ไดจากกิจกรรมที่ตองการวัดมูลคา ตัวอยางเชน

การวัดมูลคา SROI กับประเด็นดานสาธารณสุข แตเดิมเนนการใหความสําคัญเฉพาะกับผลลัพธ

ที่เกิดขึ้น ไดเปลี่ยนมาเปนการใหความสําคัญกับผลกระทบตอสังคมและสิ่งแวดลอมเปนหลัก รวมถึง

จากเดิมท่ีรูสึกแคอยากจะให ก็แปรเปลี่ยนมาเปนการใหอยางมีความรับผิดชอบ คือคํานึงถึงผลกระทบ

ที่จะตามมาจากการใหนั้นดวย (Banke-Thomas, A., et al, 2015) ตัวอยางตอไปน้ีเปนการวัดมูลคา

SROI จากโครงการรณรงคประหยัดพลังงานในประเทศเยอรมัน ทางหนวยงานของรัฐบาลให

ความสําคัญกับการลดการใชพลังงานในอาคารเกามากขึ้น และไดสนับสนุนเงินทุนในการดําเนินการ

ปรบัปรุงการใชพลังงานรวมถึงทาํการวัดมูลคาผลตอบแทนของโครงการตอสังคม ซึ่งพบวาผลที่เกิดขึ้น

นั้นคือการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพเพ่ิมมากขึ้น (Kuckshinrichs, W., et al, 2010)

Page 26: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

13

บทท่ี 3

วิธีการวิจัย

งานวิจัยนี้มุงศึกษาและวิเคราะหการวัดคาผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟารม

สุกรภายใตการลงทุนในโครงการที่มีการพัฒนาอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด โดยการ

คนควาอิสระคร้ังน้ีจะใชวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยอาศัยขอมูลจากการ

สัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) และสัมภาษณแบบก่ึงมีโครงสราง ควบคูกับการเก็บรวบรวม

ขอมูลจากเอกสารที่เก่ียวของ การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และนําเคร่ืองมือ SROI มาใช

ในการประเมินมูลคาทางสังคมของบริษัท โดยแบงข้ันตอนในการวิจัยตามลําดับ คือ 3.1 การเก็บ

รวบรวมขอมูลเพ่ือทําการศึกษา 3.2 การวิเคราะหและสรุปผลการศึกษา และ 3.3 ประวัติและขอมูล

ทั่วไปของบริษัทที่สัมภาษณ

3.1 การเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือทําการศกึษา

โครงการศึกษานี้อาศัยขอมูล 2 สวน ไดแก

ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data)

เปนขอมูลที่เก็บรวบรวมจากการสัมภาษณเชิงลึกกับผูบริหารของบริษัท เอ จํากัด

และสัมภาษณแบบก่ึงมีโครงสรางกับผูจัดการฝายบัญชีของบริษัท ในวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2560 เวลา

13.00-15.00 น. และทําการสัมภาษณแบบก่ึงมีโครงสรางกับปศุสัตวอําเภอ และชาวบานท่ีพักอาศัย

ในระยะ 1 กิโลเมตรจากบริษัท เพ่ือใหไดขอมูลเก่ียวกับการดําเนินงานและนโยบายของบริษัท

ที่ทําการศึกษา รวมถึงการสัมภาษณติดตามผลทางโทรศัพท เพ่ือสอบถามขอมูลเพิ่มเติม และมีการ

รวบรวมจากการสังเกตการณแบบไมมีสวนรวม (Non-Participation Observation) เพ่ือเก็บขอมูล

เกี่ยวกับสภาพแวดลอมทั่วไปของพื้นท่ีที่ทําการศึกษา และนํามาใชในการวิเคราะหในประเด็น

ที่เกี่ยวของกับการศึกษาควบคูไปกับการสัมภาษณเชิงลกึ

Page 27: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

14

ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)

เปนขอมูลท่ีไดจากเอกสารวิชาการ บทความ เอกสาร หนังสือ ขอมูลจากเว็บไซต

ตางๆ รวมถึงขอมูลผลการดําเนินงานของบริษัท เพ่ือนํามาใชประกอบการคํานวณผลตอบแทนทาง

สังคมจากการลงทุนของบริษัท

ขอมลูบางอยางท่ีนําไปใชเปนสมมติฐานในการประเมินผลลัพธเปนตัวเงิน เชน ราคา

ขายลูกสุกร อาศัยขอมูลราคาลูกสุกรจากสมาคมผูเลี้ยงสุกรแหงชาติ ณ วันที่ 11 ธันวาคม 2560 เปนตน

3.1.1 การเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือทําการศึกษาการลงทุนทางการเงินในธุรกิจ

ฟารมสุกรที่มีแนวคดิการพัฒนาอยางย่ังยืน

จากการศึกษาคนควาขอมูลจากแหลงตางๆ ทําใหทราบวาการจําหนายคารบอน

เครดติยังไมเปนที่แพรหลายมากนักในประเทศไทย ผูท่ีตองการจําหนายคารบอนเครดิตตองเขารวมใน

โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดท่ีระบุใหโครงการที่ดําเนินการจะตองมีสวนชวยในการพัฒนาอยาง

ยั่งยืนและจะตองดําเนินการเพื่อขอหนังสือใหคํารับรองโครงการวาเปนโครงการตามกลไกการพัฒนา

ที่สะอาด (Letter of Approval: LoA) จากหนวยงานกลางประสานการดําเนินงานตามกลไกการ

พัฒนาที่สะอาด (Designated National Authority: DNA) สําหรับประเทศไทย คือ องคการบริหาร

จัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) เพื่อยืนยันวาโครงการที่นําเสนอนั้น เปนโครงการ

ที่ดําเนินการโดยสมัครใจ และมีสวนชวยในการพัฒนาอยางยั่งยืนได โดยองคการบริหารจัดการกาซ

เรือนกระจก (องคการมหาชน) กําหนดหลักเกณฑการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development

Criteria: SD-Criteria) เพ่ือใชเปนหลักเกณฑในการพิจารณาใหคํารับรองโครงการตามกลไกการ

พัฒนาท่ี สะอาด หลักเกณฑการพัฒนาท่ียั่งยืนประกอบดวย 4 หมวด ไดแก ทรัพยากรสิ่งแวดลอม

สังคม การถายทอดเทคโนโลยี และเศรษฐกิจ

Page 28: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

15

(1) การคํานวณมูลคาที่ไดรับจากการขายคารบอนเครดิต (Carbon

Credit)

กาซเรือนกระจกที่ฟารมสุกรปลอยออกสูชั้นบรรยากาศของโลกมากท่ีสุด คอื

กาซมีเทน (CH4) หากกิจการสามารถลดปริมาณการปลอยกาซดังกลาวไดสูชั้นบรรยากาศได

จะสามารถนําคารบอนเครดิตมาขายใหกับประเทศที่รับซื้อได โดยปริมาณกาซมีเทนที่ลดไดสามารถ

คํานวณจากสูตรในอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United

Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) จากนั้นนําปริมาณกาซมีเทน

(CH4) ท่ีลดลงที่ไดจากการคํานวณมาแปลงเปนปริมาณเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซดที่ปลอยออก

สูชั้นบรรยากาศ ซึ่งนําไปใชในการคํานวณหามูลคาที่จะไดรับจากการขายคารบอนเครดิตไดโดยใช

สมการดังตอไปนี้

มูลคาที่ไดรับจากการขายคารบอนเครดิต

= ปริมาณเทียบเทากาซคารบอนไดออกไซด × มูลคาของ CERs

(2) การวิเคราะหความไวของโครงการ (Sensitivity Analysis)

การวิเคราะห โครงการลงทุน (Capital Budgeting Analysis) เปนการ

พยากรณสิ่งที่จะเกิดข้ึนในอนาคตจึงมีความไมแนนอนคอนขางสูงที่จะเกิดความคลาดเคลื่อน หรือผล

ที่ไดไมเปนไปตามที่คาดการณ ดังนั้น การวิเคราะหความไวของโครงการจึงมีความจําเปนตอการ

ตัดสินใจลงทุนอยางมาก เนื่องจากหากมีปจจัยใดปจจัยหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปทั้งทางที่ดีข้ึน (Best Case)

หรือแยลง (Worst Case) จากสถานการณเดิม (Base Case) อาจสงผลกระทบตอตัวเลขผลตอบแทน

จากโครงการลงทุน ปจจัยที่จะนํามาใชในการพิจารณา

Page 29: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

16

3.1.2 การเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือทําการศึกษาการวัดมูลคาผลตอบแทนทาง

สังคมจากการลงทุนทางการเงินในธุรกิจฟารมสุกรที่มีแนวคิดการพัฒนาอยางย่ังยืน

(1) การวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (Social Return on

Investment)

แนวคิดการวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนไดพัฒนามาจากการบัญชี

เพื่อความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคม (Accounting for Environmental and Social

Responsibility) และการวิเคราะหตนทุนและผลประโยชน (Cost-Benefit Analysis) ซึ่งใกลเคียงกับ

วิธีการคิดอัตราผลตอบแทนทางการเงิน อยางไรก็ตาม SROI จะประเมินผลประโยชนตอสังคมใหอยู

ในรูปตัวเงิน เพื่อใหสามารถเปรียบเทียบกับการลงทุนประเภทอ่ืนได โดยจะอยูในรูปของอัตราสวน

ผลประโยชนโดยรวมตอเงนิลงทุนในโครงการทั้งหมด

ขั้นตอนในวิเคราะหผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนตามคูมือ A Guide

to Social Return on Investment, Cabinet Office - Office of the Third Sector เ ร่ิมตนจาก

การกําหนดขอบเขตของกิจกรรมการลงทุนท่ีทําการวิเคราะหและระบุผูมีสวนไดเสียที่เก่ียวของกับ

กิจกรรมดังกลาว

ขอบเขตของโครงการลงทุน

โครงการการวัดคาผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟารมสุกรภายใตการ

ลงทุนในโครงการที่มีการพัฒนาอยางยั่งยืน: กรณศึีกษาบริษัท เอ จํากัด มีระยะเวลาในการลงทุน 5 ป

3.2 การวิเคราะหและสรุปผลการศกึษา

หลังจากไดขอมูลจากการสัมภาษณสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) จากการ

สัมภาษณเชิงลึกกับผูบริหารของบริษัท เอ จํากัด และสัมภาษณแบบกึ่งมีโครงสรางกับผูจัดการฝาย

บัญชีของบรษิัท ปศุสัตวอําเภอ และชาวบานท่ีพักอาศัยในระยะ 1 กิโลเมตรจากบริษัท ผูคนควาอิสระ

จะนําขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ มาทําการวิเคราะหความเปนไปไดทางการเงินของโครงการฟารม

สุกรภายใตการลงทุนในโครงการท่ีมีการพัฒนาอยางย่ังยืนตอไป

Page 30: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

17

3.3 ประวัติและขอมูลทั่วไปของบริษัทท่ีสัมภาษณ

การคนควาอิสระเรื่อง “การวัดคาผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟารมสุกร

ภายใตการลงทุนในโครงการที่มีการพัฒนาอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด” ไดเลือกบริษัท

เอ จํากัด เปนกรณีศึกษาเนื่องจากเปนบริษัทผลิตและจําหนายสุกรขนาดใหญ ดําเนินธุรกิจมากกวา

20 ป รายไดหลักมาจากการจําหนายลูกสุกร และมีผลประกอบการดีขึ้นอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม

ผูบริหารของบริษัทเล็งเห็นความสําคัญของการอยูรวมกันกับสิ่งแวดลอมและชุมชน จึงดําเนินนโยบาย

เพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืนตามแนวนโยบายของภาครัฐ โดยไดจัดทําโครงการระบบบําบัดน้ําเสียและการ

ผลิตกระแสไฟฟาจากของเสียในฟารม และสามารถนําไปปนไฟได นําไฟไปใชในฟารมไดประมาณ

50% ของความตองการในการใชไฟแตละฟารม และประหยัดคาไฟได 20-30% ตอป โดย

ผลประโยชนรวมของโครงการ (Co-benefits) คือ ลดความขัดแยงและเพิ่มความสามัคคีของคน

ในชุมชน เนื่องจากมลพิษดานกลิ่นที่มักจะเปนผลกระทบหลักจากฟารมสุกรลดลง เนื่องจากมีการ

ติดต้ังระบบการผลิตกาซชีวภาพ อีกทั้ง ยังมีผลประโยชนรวมทางสังคม ไดแก การจัดกิจกรรมการ

มีสวนรวมของชุมชน และจัดโครงการความรวมมือกับชุมชนในบริเวณใกลเคียง โดยนําปุยน้ําท่ีเปน

ผลพลอยไดจากการบําบัดนํ้าเสียจากฟารมและไมเปนมลพิษตอสิ่งแวดลอมไปใชในแปลงเกษตรของ

เกษตรกรในชุมชนเพ่ือใชเปนปุย ทั้งนี้ นํ้าเสียที่ไดจากบอไหลไปสูบอระบบบําบัดน้ําโดยบอน้ําสุดทาย

ต อ ง มี ค า BOD (Biological Oxygen Demand) แล ะ COD (Chemical Oxygen Demand) ไ ด

มาตรฐานการปลอยน้ําเสียออกภายนอกชุมชนและเกษตรกรในบริเวณใกลเคยีงสามารถนําน้ําหลังการ

บําบัดไปใชเปนปุยน้ําในแปลงเกษตรโดยใหชาวบานติดปมน้ําสูบน้ําเอาไปใชไดไมจํากัด อีกทั้งยังมีการ

ใหมูลสุกรกับเกษตรกรในทองท่ีใชโดยไมคิดมูลคา

3.3.1 การดําเนินงานของบริษัท

บริษัทมีสุกรจํานวน 18,005 ตัวตอฟารม แบงเปนสุกรพอพันธุแมพันธุรอยละ 27

และลูกสุกรรอยละ 73 โดยคาดวาจะเพ่ิมข้ึนโดยเฉลี่ยในอัตรารอยละ 2 ตอป และจํานวนพอพันธุและ

แมพันธุจําหนายไดคิดเปนรอยละ 10% เนื่องจากพอพันธุและแมพันธุอายุเฉลี่ย 1-3 ป จึงจะนําออก

ขาย สําหรบัลูกสุกรที่จําหนายไดคิดเปนรอยละ 90 ของจํานวนสุกรที่มีอยูท้ังหมด โรงเรือนที่ใชสําหรับ

เลี้ยงสุกรสามารถเลี้ยงสุกรไดทั้งหมด 144,040 ตัว ซึ่งจัดเปนฟารมสุกรขนาดใหญตามเกณฑกําหนด

มาตรฐานฟารมของสมาคมสัตวแพทยควบคุมฟารมสุกรไทยที่กําหนดขนาดของฟารมขนาดใหญไวที่

จํานวน 5,000 ตัว ขึ้นไป หรอืมีนํ้าหนักหนวยปศสุัตว (นปส.) ตั้งแต 600 หนวยปศุสัตว

Page 31: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

18

ปจจุบันบริษัทมีพนักงานจํานวน 80 คน ประกอบดวยพนักงานประจํา 20 คน และ

คนงานรายวันจํานวน 60 คน โดยกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําเปนเงินวันละ 308 บาท ซึ่งเปนไปตาม

ประกาศคณะกรรมการคาจาง เร่ือง อัตราคาจางขั้นต่ํา ฉบับที่ 8) ขอกําหนดในราชกิจจานุเบกษาที่

บังคับใชตั้งแต 1 มกราคม 2560

3.3.2 นโยบายทางการเงินของบริษัท

อัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมที่บริษัทไดรับจากทางธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ

การเกษตร (ธ.ก.ส.) หากบริษัทกูเงินเพื่อใชสําหรับการลงทุนเพ่ิมในโครงการเทากับรอยละ 5 ตอป

ทั้งนี้โครงสรางการจัดหาเงินทุนของบริษัทประกอบดวยสวนหนี้สินและสวนทุนของเจาของในสัดสวน

หนี้สินตอทุนเทากับ 20 : 80 ซึ่งเปนอัตราสวนทางการเงินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ที่ผูคนควาอิสระใชเปนปฐานในการคํานวณหามูลคาทางการเงินของบริษัท ผูบริหารของบริษัท

ตองการอัตราผลตอบแทนที่ตองการ (Required Rate of Return) ของโครงการลงทุนดังกลาวเทากับ

รอยละ 7 ตอป เนื่องจากตองการการลงทุนที่จะใหอัตราผลตอบแทนเกินกวาอัตราดอกเบี้ยเงินกู

ที่บริษัทมีอยู

3.3.3 สมมติฐานท่ีใหในการพยากรณกระแสเงินสดสุทธิตลอดอายุโครงการ

ขอมูลที่ใชประกอบการศึกษาเพ่ือวิเคราะหความเหมาะสมทางการเงินของโครงการ

เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในฟารมสุกร จะพิจารณาจากกระแสเงินสดสวนเพิ่ม (Incremental Cash

Flow) ที่เกิดจากการลงทุนในโครงการดังกลาวเทานั้น โดยแยกพิจารณาได 4 ขอหลัก คือ เงินลงทุน

เริ่มแรกของโครงการ กระแสเงินสดรับในแตละป กระแสเงินสดจายในแตละป กระแสเงินสดอิสระ

อ่ืนๆ และตัวแปรทางการเงินที่เก่ียวของ

Page 32: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

19

ก) เงินลงทุนเร่ิมแรกของโครงการ

เงินลงทุนเร่ิมแรกของโครงการ

เงินลงทุนเริ่มแรกในการดําเนินงานโครงการกลไกพัฒนาที่สะอาด ณ เปนปฐานคือป 2559

ตารางที่ 3.1

ตารางแสดงเงินลงทุนเร่ิมแรกในการดาํเนินโครงการกลไกพัฒนาท่ีสะอาด

ที่มา: องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน)

ข) กระแสเงินสดรับในแตละป

(1) มูลคาที่จะไดจากการขายคารบอนเครดิต

มูลคาที่จะไดจากการขายคารบอนเครดิตใหกับประเทศที่ รับซื้อสําหรับ

โครงการกลไกพัฒนาที่สะอาดจะไดจากการกําหนดราคาซื้อขายของ Certified Emission

Reduction หรอืเรียกโดยยอวา CERs ออกมาในรูปของสัญญาซื้อขายลวงหนา (Forward Contract)

โดยการศึกษาโครงการวิจัยนี้กําหนดสมมติฐานใหมูลคาของ CERs ลดลงปละ 1 ยูโรตอตันคารบอนตอ

ปตลอดอายุของโครงการ เนื่องจากสถานการณการคาคารบอนเครดิตคอนขางซบเซา และจากขอมูล

ในอดีตพบวาราคารับซื้อคารบอนเครดิตลดลงโดยเฉลี่ยปละ1 ยูโรตอตันคารบอน และมีอัตรา

แลกเปลี่ยนเฉลี่ยเงินสกุลบาทตอยูโร สําหรบัเงินลงทุนเริ่มแรกเทากับ 38.1974 บาทตอยูโร (ธนาคาร

แหงประเทศไทย, 2560) และมีสมมติฐานใหอัตราแลกเปลี่ยนลดลงในอัตรารอยละ 2 ตอปตลอดอายุ

โครงการ เพื่อใหสามารถวิเคราะหสถานการณท่ีแยที่สุดที่อาจเกิดขึ้นไดวาโครงการจะยังสามารถดํารง

อยูได

รายละเอียดเงินลงทุน จํานวนเงิน

(บาท)

คาใชจายในการจัดเตรียมเอกสารออกแบบโครงการ (Project Designed Document : PDD)

และคาใชจายในการจางบริษัท (Designated Operational Entity : DOE) 3,000,000

คาธรรมเนียมในออกหนังสือรับรองโครงการ (Letter of Approval : LoA) 150,000

คาขึ้นทะเบียนโครงการกลไกพัฒนาท่ีสะอาด 10,000

คาใชจายในการจัดการเอกสารดานกฎหมาย 800,000

รวมเงินลงทุนในโครงการกลไกพัฒนาท่ีสะอาด 3,960,000

Page 33: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

20

(2) ผลประโยชนทางภาษี

รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมโครงการกลไกพัฒนาที่สะอาดที่ดําเนินการ

โครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิในการ

ดําเนินการโครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในแตละโครงการเฉพาะสวนท่ีเกิดจากการจําหนาย

คารบอนเครดิตไมวาจะกระทําในหรือนอกประเทศเปนเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชีตอเนื่องกัน ซึ่งใน

กรณีศกึษานี้ปที่จะไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลคือ ป 2561 - 2563

ค) กระแสเงินสดจายในแตละป

คาใชจายรายปในการดําเนินโครงการกลไกพัฒนาที่สะอาด

ตารางที่ 3.2

ตารางแสดงคาใชจายรายปในการดําเนินโครงการกลไกพัฒนาที่สะอาด

ที่มา: องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก )องคการมหาชน(

รายละเอียดคาใชจาย จํานวนเงิน

(บาท)

คาติดตามประเมินการลดการปลอยกาซเรือนกระจก 250,000

คายืนยนัความถูกตองของการลดการปลอยกาซเรือนกระจก 1,000,000

คาธรรมเนียมเพ่ือสมทบกองทุนเพ่ือการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

(Adaption Fund) รอยละ 2 ของมูลคาท่ีขายได

Page 34: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

21

ง) กระแสเงินสดอิสระอื่นๆ และตัวแปรทางการเงินท่ีเกี่ยวของ

(1) กระแสเงินสดอิสระ

ดอกเบี้ยจาย

จากเงินลงทุนเริ่มแรกของโครงการรวมเทากับ 3,960,000 บาท และ

โครงสรางการจัดหาเงินทุนของบริษัทประกอบดวยอัตราสวนสินทรัพยรวมตอสวนของผูถือหุนเทากับ

20 : 80 หนี้สินในสัดสวน 0.20 เทาของเงินลงทุนทั้งหมด คิดเปน 792,000 บาท ซึ่งจะตองเสีย

ดอกเบี้ยเงินกูยืมในอัตรารอยละ 5 ตอป หากบริษัทกูยืมเงินจากธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ

การเกษตร (ธ.ก.ส.) คิดเปนดอกเบี้ย 39,600 บาทตอป

ภาษีเงินไดนิติบุคคล

อัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลของบริษัทคํานวณภาษีในอัตรารอยละ 20 ของ

กําไรสุทธิ ตามพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเตมิประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 42) พ.ศ. 2559

กระแสเงินสดรับจากการดําเนินงานสุทธิ

เปนกระแสเงินสดท่ีคํานวณโดยไมรวมตนทุนที่เกิดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

ลงทุน ไดจากกิจกรรมการดําเนินงาน (Operating Activity) เทานั้น

การพยากรณงบกําไรขาดทุน (Income Statement Forecast)

ในข้ันตอนของการวิเคราะหโครงการลงทุน (Capital Budgeting Analysis)

จําเปนตองมีการพยากรณงบกําไรขาดทุนในอีก 5 ปขางหนา โดยสมมติฐานท่ีใชตลอดระยะเวลาการ

ลงทุน (รายละเอียดของสมมติฐานที่ใชสามารถดูขอมูลไดจากภาคผนวก ข)

Page 35: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

22

สมมติฐานเก่ียวกับรายได

ราคาขายของสุกร: ราคาพอพันธุแมพันธุและลูกสุกรเพิ่มขึ้นรอยละ 1 ตอป

ราคาปุยน้ํา: 60 บาทตอลิตร เพิ่มขึ้นรอยละ 5 ตอป

ราคามูลสุกร: 2.25 บาทตอกิโลกรัม เพ่ิมข้ึนรอยละ 5 ตอป

สมมติฐานเก่ียวกับคาใชจาย

ราคาวัตถุดิบ: คิดเปนรอยละ 40 ของรายไดจากการขายสุกร

เงินเดือนพนักงาน: เพ่ิมขึ้นรอยละ 5 ตอป

คาวัคซนี: สุกรทุกตัวไดรับการฉีดวัคซีนทุกสัปดาห ราคา 10 บาท

ตอตัว เปนระยะเวลา 2 เดือน คิดเปนคาวัคซีน 80

บาท ตอตัว

คาสาธารณูปโภค: เพ่ิมข้ึนรอยละ 2.5 ตอป

Page 36: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

23

บทท่ี 4

ผลการวิจัยและอภิปรายผล

สําหรับบทนี้จะนําเสนอผลการวิจัย “การวัดคาผลตอบแทนทางสังคมของโครงการ

ฟารมสุกรภายใตการลงทุนในโครงการที่มีการพัฒนาอยางยั่งยืน: กรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด” ที่ได

สัมภาษณและการศึกษางานวิจัย หนังสือ ทฤษฎี และบทความตางๆ ที่เก่ียวของ (Literature

Review) ควบคูไปกับการวิเคราะหขอมูลตามลําดับของคาํถามวิจัยที่ไดตั้งไว ดังตอไปนี้

คําถามวิจัย “อัตราผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในธุรกิจฟารมสุกรภายใต

การดําเนินงานตามแนวคิดการพัฒนาอยางย่ังยืนวามีจํานวนเทาใด” ซึ่งแยกพิจารณาประเด็นตางๆ ที่

เกี่ยวของดังตอไปนี้

4.1 การมูลคาผลตอบแทนจากการลงทุนทางการเงินในธุรกิจฟารมสุกรที่มีแนวคิดการพัฒนา

อยางย่ังยืน

จากการวิเคราะหอัตราผลตอบแทนผลตอบแทนจากการลงทุนทางการเงินในธุรกิจ

ฟารมสุกรที่มีแนวคิดการพัฒนาอยางย่ังยืน โดยการคํานวณหามูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present

Value: NPV) และอัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return: IRR) โดยการคํานวณ

ดังกลาว ใหสมมติฐานของเงินลงทุนเร่ิมแรกอยูท่ี 15 ลานบาท ซึ่งเปนการลงทุนท่ีบริษัทจะตองจาย

หากมีการลงทุนในโครงการใดโครงการหนึ่ง จากนั้นจึงคํานวณหามูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) และอัตรา

ผลตอบแทนภายใน (IRR) พบวา มูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) ของการลงทุนทางการเงินในธุรกิจฟารม

สุกรที่มีแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืนเทากับ 3,653,902 บาท และอัตราผลตอบแทนภายในที่คํานวณ

ไดจากการจากพยากรณงบกําไรขาดทุนในอีก 5 ปขางหนา เทากับรอยละ 17 ตอป ซึ่งมากกวาอัตรา

ผลตอบแทนที่ตองการ (Required Rate of Return) ของโครงการลงทุนดังกลาวเทากับรอยละ 7 ตอป

และเม่ือนํามาเปรียบเทียบกับตนทุนทางการเงินของบริษัทที่ 5% พบวา อัตราผลตอบแทนภายในของ

บรษิัทมีแนวโนมคอนขางดี

Page 37: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

24

ตารางที่ 4.1

การคาํนวณการพยากรณงบกําไรขาดทุนในอีก 5 ปขางหนา

4.2 การวัดมูลคาผลตอบแทนทางสังคมในธุรกิจฟารมสุกรที่มีแนวคิดการพัฒนาอยางย่ังยืน

การประเมินมูลคาผลลัพธสําหรบัมูลคาผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในธุรกิจ

ฟารมสุกรท่ีมีแนวคิดการพัฒนาอยางย่ังยืน จัดทําเปนแผนที่ผลลัพธการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอม

ของบริษัท เอ จํากัด

ปท่ี 1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5

2560 2561 2562 2563 2564

จํานวนสุกรท้ังหมด 144,040 158,444 174,288 191,717 210,888

พอพันธุ-แมพันธุ 38,440 42,284 46,512 51,163 56,279

ลูกสุกร 105,600 116,160 127,776 140,554 154,609

รายได (บาท)

พอพันธุ-แมพันธุ 18,259,000 18,441,590 18,626,006 18,812,266 19,000,389

ลูกสุกร 114,048,000 115,188,480 116,340,365 117,503,769 118,678,807

รายไดจากการขาย 132,307,000 133,630,070 134,966,371 136,316,035 137,679,196

ตนทุน (บาท)

คาวัตถดิุบ 52,922,800 52,922,800 52,922,800 52,922,800 52,922,800

เงินเดือนพนักงาน 26,461,400 27,784,470 29,173,694 30,632,379 32,163,998

คาวัคซีน 11,523,200 12,675,520 13,943,040 15,337,360 16,871,040

คาสาธารณูโภค 15,876,840 16,273,761 16,680,605 17,097,620 17,525,061

คาเส่ือมราคา 9,613,529 9,853,867 10,100,214 10,352,719 10,611,537

คาใชจายเบ็ตเตล็ด 2,646,140 2,712,294 2,780,101 2,849,604 2,920,844

คาใชจายรายปในการดําเนินโครงการกลไกการัฒนาท่ีสะอาด3,896,140 3,922,601 3,949,327 3,976,321 4,003,584

ดอกเบ้ียจาย 39,600 40,392 41,200 42,024 42,864

รวมตนทุน 122,979,649 126,185,705 129,590,981 133,210,827 137,061,728

กําไรกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล 9,327,351 7,444,365 5,375,390 3,105,208 617,468

ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1,865,470 1,488,873 1,075,078 621,042 123,494

กําไรสุทธิ 7,461,881 5,955,492 4,300,312 2,484,166 493,974

เงินลงทุนเร่ิมแรก 15,000,000-

อัตราผลตอบแทนขั้นตํ่า 5%

มูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) 3,653,902

อัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) 17%

Page 38: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

25

ตารางที่ 4.2

แผนที่ผลลัพธการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมของบริษัท เอ จํากัด

ผูมีสวนไดเสีย กิจกรรม ผลผลิต ผลลัพธ

รายไดเพ่ิมขึ้นจากการขายคารบอนเครดิต (Carbon Credit)

ประหยัดภาษเีงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิในการ

ดําเนินการโครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในแตละ

โครงการเฉพาะสวนท่ีเกิดจากการจําหนายคารบอนเครดิตไม

วาจะกระทําในหรือนอกประเทศเปนเวลาสามรอบระยะเวลา

บัญชีตอเน่ืองกัน

ประหยัดคาใชจายสําหรับคาไฟฟา

ปุยนํ้า ลดคาใชจายในการซ้ือปุยนํ้า

มูลสุกร ลดคาใชจายในการซ้ือปุยมูลสัตว

ระบบการผลิตกาซ

ชวีภาพ

ลดปริมาณกาซมีเทน การรองเรียนจากผูเสียหายลดลง

ระบบบําบัดของเสีย

จากการเล้ียงสุกร

ลดกล่ินจากของเสีย

จากการเล้ียงสุกร

การรองเรียนจากผูเสียหายลดลง

ปศุสัตวอําเภอ

ลดปริมาณกาซมีเทนระบบการผลิตกาซ

ชวีภาพ

ฟารมสุกร

ชมุชน ระบบบําบัดของเสีย

จากการเล้ียงสุกร

Page 39: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

26

4.2.1 การมีรายไดเพิ่มขึ้นจากการขายคารบอนเครดิต (Carbon Credit)

การลงทุนในโครงการกลไกพัฒนาที่สะอาด ทําใหบริษัทสามารถนําคารบอนเครดิต

ที่เกิดจากการลดการปลอยกาซมีเทนออกสูชั้นบรรยากาศของโลกไปจําหนายใหกับธนาคารโลกได

ซึ่งปจจัยที่สงผลตอมูลคาของคารบอนเครดิตที่ขายได คือ ปริมาณกาซชีวภาพที่เกิดขึ้น และราคา

ตลาดของคารบอนเครดิตจากราคาขาย ณ วันที่ 11 ธันวาคม 2560 เทากับ 7.21 ยูโรตอตันคารบอน

(องคการมหาชน), 2560) โดยผูคนควาอิสระกําหนดสมมติฐานใหมูลคาของ CERs ลดลงปละ 1 ยูโร

ตอตันคารบอนตอปตลอดอายุของโครงการ เนื่องจากสถานการณการคาคารบอนเครดิตคอนขาง

ซบเซา และจากขอมูลในอดีตพบวาราคารับซื้อคารบอนเครดิตลดลงโดยเฉลี่ยปละ 1 ยูโรตอตัน

คารบอน และมีอัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยเงินสกุลบาทตอยูโร สําหรับเงินลงทุนเริ่มแรกเทากับ 38.1974

บาทตอยูโร (ธนาคารแหงประเทศไทย, 2560) และมีสมมติฐานใหอัตราแลกเปลี่ยนลดลงในอัตรา

รอยละ 2 ตอปตลอดอายุโครงการ เพื่อใหสามารถวิเคราะหสถานการณที่แยที่สุดที่อาจเกิดข้ึนไดวา

โครงการจะยังสามารถดํารงอยูได ดังนั้น มูลคาที่จะไดรับจากการขายคารบอนเครดิตตลอดระยะเวลา

ลงทุน 5 ป สามารถสรุปไดดังตารางที 4.3

ตารางที่ 4.3

ตารางแสดงการคํานวณมูลคาที่ไดจากการขายคารบอนเครดิตตลอดระยะเวลา 5 ป

รายการคํานวณ ปท่ี 1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5

2560 2561 2562 2563 2564

ปริมาณกาซมีเทน (ตันคารบอนตอป) 42,346 46,581 51,239 56,363 61,999

ราคาคารบอนเครดิต (ยูโรตอตันคารบอน) 6.21 5.21 4.21 3.21 2.21

มูลคาคารบอนเครดิตท่ีจําหนายได (บาท) 10,044,719 9,084,613 7,913,502 6,504,459 4,827,420

Page 40: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

27

4.2.2 ประหยัดคาใชจายทางภาษีจากการเขารวมโครงการขายคารบอนเครดิต

(Carbon Credit)

การวิเคราะหผลตอบแทนจากการลงทุนในโครงการพัฒนาท่ียั่งยืน สามารถลด

คาใชจายทางภาษีได เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายสงเสริมโครงการกลไกพัฒนาที่สะอาดที่ดําเนินการ

โครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิในการ

ดําเนินการโครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในแตละโครงการเฉพาะสวนท่ีเกิดจากการจําหนาย

คารบอนเครดิตไมวาจะกระทําในหรือนอกประเทศเปนเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชีตอเนื่องกัน ซึ่งใน

กรณีศกึษานี้ปที่จะไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลคือ ป 2560 - 2562 ดังตารางที่ 4.4

ตารางที่ 4.4

ตารางแสดงการคํานวณผลประโยชนภาษีที่กิจการจะไดรบัตลอดระยะเวลา 5 ป

4.2.3 ประหยัดคาใชจายสําหรับคาไฟฟา

คาไฟฟาที่ประหยัดไดจากการนํากาซชีวภาพที่ไดมาปนเปนไฟฟาใชภายในฟารมสุกร

โดยกาซมีเทนสามารถนําไปปนไฟ และนําไปใชในฟารมไดประมาณ 50% ของความตองการในการใช

ไฟฟาแตละฟารม สวนของสํานักงานจะเนนปดเคร่ืองใชไฟฟาไฟตอนพักเที่ยง ทําใหสามารถประหยัด

คาไฟฟาไดอีกทางหนึ่ง

รายการคํานวณ ปท่ี 1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5

2560 2561 2562 2563 2564

มูลคาคารบอนเครดิตท่ีจําหนายได (บาท) 10,044,719 9,084,613 7,913,502 6,504,459 4,827,420

ภาษีเงินไดนิติบุคคลที่ประหยัดได (บาท) 2,008,944 1,816,923 1,582,700 - -

Page 41: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

28

4.2.4 การลดคาใชจายในการซื้อปุยของเกษตรจากการใชปุยน้ํา

บริษัทรวมมือกับชุมชนใหเกษตรกรในบริเวณใกลเคียงสามารถนํานํ้าจากการเลี้ยง

สุกรหลังการบําบัดซึ่งจะอุดมไปดวยแรธาตุที่เปนประโยชนตอพืชผักไปใชเปนปุยน้ําในแปลงเกษตร

โดยใหชาวบานติดปมน้ําสูบนํ้าเอาไปใชไดไมจํากัด โดยบอพักน้ํามี 4 แหง แตละแหงมีเกษตรกรนําน้ํา

ไปใชประมาณ 1,000 ลิตรตอป เม่ือเทียบกับราคาปุยน้ําท่ีขายในทองตลาดแลวมีราคาประมาณ

60 บาทตอลิตร คํานวณการลดคาใชจายในการซื้อปุยของเกษตรจากการใชปุยน้ํา

4.2.5 การลดคาใชจายของเกษตรจากการซื้อปุยมูลสัตว

สําหรับมูลสุกรที่เหลือจากการทํากาซชีวภาพบริษัทจะติดตอแจงใหกับเกษตรกร

ในชุมชนทราบเพื่อมาติดตอและนํามูลสุกรไปใชเปนปุยสําหรับการเกษตร โดยไมคิดมูลคาเนื่องจาก

มูลสุกรดังกลาวเปนผลพลอยไดจากการทํากาซชีวภาพโดยมูลสุกรปริมาณที่ไดจึงมีไมมากเนื่องจาก

มูลสุกรจะถูกยอยสลายเปนกากภายใน 45-60 วัน จึงจะเปดบอกาซชีวภาพเพ่ือนําเศษมูลสุกรที่เหลือ

ออกมาใหเกษตรกรท่ีมาติดตอขอรับไป เศษมูลสุกรเฉลี่ยปละประมาณ 2 ตัน และเกษตรกร

จะประหยัดคาใชจายในการซื้อปุยไดประมาณ 2,250 บาทตอตัน

4.3 การปรับปรุงผลกระทบที่เกิดข้ึนตอผลลัพธจากการดําเนินกิจกรรม

ผูคนควา อิสระไดคา Deadweight และ Attribution จากการวิเคราะหและ

สัมภาษณจากผูมีสวนไดเสียตามท่ีระบุไวกอนหนาในบทท่ี 3 โดยตั้งอยูบนสมมติฐานวาจะมีโอกาส

เกิดผลลัพธรอยละเทาใดหากบริษัท เอ กําจัด ไมดําเนินงานตามนโยบายดานสิ่ งแวดลอม

(Deadweight) และผลลัพธเหลาน้ีเปนผลลัพธจากการดําเนินงานของบริษัท เอ กําจัด รอยละเทาใด

เมื่อพิจารณาวามีโอกาสที่ผลลัพธจะเกิดขึ้นจากปจจัยอื่นๆ ที่ไมใชการดําเนินงานของบริษัท เอ กําจัด

โดยแสดงคา Deadweight และ Attribution ในตารางที่ 4.5

Page 42: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

29

ตารางที่ 4.5

การกําหนด Deadweight และ Attribution ของผลลัพธที่เกิดขึ้นจากการดําเนินกิจกรรมเพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอมของบริษัท

ผูมีสวนไดเสีย ผลผลิต ผลลัพธ Deadweight ผลผลิต Attribution ผลผลิต

รายไดเพ่ิมขึ้นจากการขายคารบอนเครดิต (Carbon Credit) 0% 100%

ประหยัดภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิในการ

ดําเนินการโครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในแตละ

โครงการเฉพาะสวนที่เกิดจากการจําหนายคารบอนเครดิตไม

วาจะกระทาํในหรือนอกประเทศเปนเวลาสามรอบระยะเวลา

บัญชีตอเน่ืองกัน

0% 100%

ประหยัดคาใชจายสําหรับคาไฟฟา 0% 100%

ปุยนํ้า ลดคาใชจายในการซ้ือปุยนํ้า 0% 100%

มูลสุกร ลดคาใชจายในการซ้ือปุยมูลสัตว 0% 100%

ลดปริมาณกาซมีเทน การรองเรียนจากผูเสียหายลดลง 0% 100%

ลดกล่ินจากของเสีย

จากการเล้ียงสุกร

การรองเรียนจากผูเสียหายลดลง 0% 100%

ผลลัพธเหลาน้ี

เกิดข้ึนจากการ

ดําเนินโยบาย

ส่ิงแวดลอมของ

บริษัทเทาน้ัน หาก

ไมมีการดําเนิน

กิจกรรมดังกลาว

ผลลัพธเหลาน้ีจะไม

สามารถเกิดขึ้นเองได

ผลลัพธเหลาน้ี

เกิดข้ึนจากการ

ดําเนินโยบาย

ส่ิงแวดลอมของ

บริษัทเทาน้ัน หาก

ไมมีการดําเนิน

กิจกรรมดังกลาว

ผลลัพธเหลาน้ีจะไม

สามารถเกิดข้ึนเองได

ฟารมสุกร ลดปริมาณกาซมีเทน

ชุมชน

ปศุสัตวอําเภอ

Page 43: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

30

4.4 การคํานวณผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (Social Return on Investment : SROI)

ของโครงการที่มีการพัฒนาอยางย่ังยืนกรณีที่ไมมีการจัดทํากิจกรรมเพื่อสังคมและ

สิ่งแวดลอม

ในขั้นตอนน้ี จะพิจารณาเฉพาะสวนของโครงการที่มีการพัฒนาอยางยั่งยืนกรณีที่

ไมมีการจัดทํากิจกรรมเพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอม โดยการนําผลลัพธท่ีประเมินมูลคาเงินในหัวขอ 4.2

มาปรับดวยผลกระทบในหัวขอ 4.3 โดยนํา Deadweight มาคูณกับผลลัพธที่เปนมูลคาเงิน ผลลัพธ

ที่ไดนําไปหักออกจากผลลัพธที่เปนมูลคาเงินนั้น จากนั้นคูณดวย Attribution เพื่อใหเห็นผลลัพธ

เฉพาะที่เกิดข้ึนจากกิจกรรมของบริษัท เอ กําจัด เทานั้น ผลลัพธที่ไดจะเปนผลประโยชนที่ไดในแตละป

เพื่อเปรียบเทียบกับเงินลงทุนหากมีการลงทุนในโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean

Development Mechanism : CDM) ตลอดจนคิดลดกลับมาในอัตราคิดลดท่ีรอยละ 5 ซึ่งเปนอัตรา

ดอกเบี้ยที่บริษัทจะไดรับหากมีการกูยืมเงินจากธนาคารมาเพื่อลงทุนในโครงการ ตามที่อธิบายไวใน

บทที่ 2

ตารางที่ 4.6

การคํานวณ SROI ของบริษัท เอ กําจัด กรณทีี่ไมมีการจัดทํากิจกรรมเพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอม

รายการผลลัพธ ปท่ี 1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5

2560 2561 2562 2563 2564

รายไดเพ่ิมข้ึนจากการขายคารบอนเครดิต 10,044,719 9,084,613 7,913,502 6,504,459 4,827,420

ประหยัดภาษีเงินไดนิติบุคคล 2,008,944 1,816,923 1,582,700 - -

ประหยัดคาไฟฟา 2,540,294 2,278,327 2,335,285 2,393,667 2,453,509

ลดคาใชจายในการซ้ือปุยนํ้า - - - - -

ลดคาใชจายในการซ้ือปุยมูลสัตว - - - - -

รวม 14,593,957 13,179,863 11,831,487 8,898,126 7,280,929

อัตราคิดลด 5%

มูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) 45,139,323

เงินลงทนุ 3,960,000

SROI 11.40

Page 44: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

31

4.5 การคํานวณผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (Social Return on Investment : SROI)

ของโครงการท่ีมีการพัฒนาอยางย่ังยืนกรณีที่มีการจัดทํากิจกรรมเพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอม

ในขั้นตอนน้ี จะพิจารณาโดยรวมผลประโยชนสวนเพ่ิมที่ไดรับจากโครงการที่มีการ

พัฒนาอยางยั่งยืนกรณีที่มีการจัดทํากิจกรรมเพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอม เปนการนําผลลัพธที่ประเมิน

มูลคาเงินในหัวขอ 4.2 มาปรับดวยผลกระทบในหัวขอ 4.3 โดยนํา Deadweight มาคูณกับผลลัพธ

ที่เปนมูลคาเงิน ผลลัพธที่ไดนําไปหักออกจากผลลัพธท่ีเปนมูลคาเงินนั้น จากนั้นคูณดวย Attribution

เพื่อใหเห็นผลลัพธเฉพาะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมของบริษัท เอ กําจัด เทาน้ัน ผลลัพธท่ีไดจะเปน

ผลประโยชนที่ไดในแตละปเพ่ือเปรียบเทียบกับเงินลงทุนหากมีการลงทุนในโครงการกลไกการพัฒนา

ที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) ตลอดจนคิดลดกลับมาในอัตราคิดลดที่รอย

ละ 5 ซึ่งเปนอัตราดอกเบี้ยที่บริษัทจะไดรับหากมีการกูยืมเงินจากธนาคารมาเพ่ือลงทุนในโครงการ

ตามที่อธิบายไวในบทที่ 2

ตารางที่ 4.7

การคาํนวณ SROI ของบริษัท เอ กําจัด กรณีท่ีมีการจัดทํากิจกรรมเพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอม

รายการผลลัพธ ปท่ี 1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 ปท่ี 5

2560 2561 2562 2563 2564

รายไดเพ่ิมขึ้นจากการขายคารบอนเครดิต 10,044,719 9,084,613 7,913,502 6,504,459 4,827,420

ประหยัดภาษีเงินไดนิติบุคคล 2,008,944 1,816,923 1,582,700 - -

ประหยัดคาไฟฟา 2,540,294 2,278,327 2,335,285 2,393,667 2,453,509

ลดคาใชจายในการซ้ือปุยนํ้า 240,000 252,000 264,600 277,830 291,722

ลดคาใชจายในการซ้ือปุยมูลสัตว 36,000 37,800 39,690 41,675 43,759

รวม 14,869,957 13,469,663 12,135,777 9,217,631 7,616,410

อัตราคิดลด 5%

มูลคาปจจุบันสทุธิ (NPV) 46,453,610

เงินลงทุน 3,960,000

SROI 11.73

Page 45: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

32

4.6 การวิเคราะหความไว (Sensitivity Analysis)

ผูคนควาอิสระไดลองเปลี่ยนอัตราคิดลด (Discount rate) จาก 5% เปน 1% 3%

7% 15% และ 30% ทั้งในกรณีที่ไมมีการจัดทํากิจกรรมเพ่ือสังคมและส่ิงแวดลอม และกรณีท่ีมี

การจัดทํากิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอม เพ่ือทดสอบทั้งกรณีที่ดีและกรณีไมดีของโครงการที่มี

การพัฒนาอยางยั่งยืนอัตราสวน SROI มีการเปลี่ยนแปลงไปอยางไร โดยการเปล่ียนแปลงเปน

ดังตารางท่ี 4.8

ตารางที่ 4.8

ผลการวิเคราะหความไวสําหรับ SROI ของบริษัท เอ กําจัด

จากตารางจะเห็นไดวาหากบริษัทมีอัตราผลตอบแทนที่ผูลงทุนตองการเพ่ิมขึ้นถึง

รอยละ 30 บริษัทยังคงมีคาผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนเปนบวกทั้ง 2 กรณี

อัตราคิดลด

(%) ไมมีการจัดทาํกิจกรรมเพ่ือ

สังคมและส่ิงแวดลอม

มีการจัดทํากิจกรรมเพ่ือ

สังคมและส่ิงแวดลอม

1% 12.72 13.09

3% 12.03 12.38

5% 11.40 11.73

7% 10.82 11.13

15% 8.88 9.14

30% 6.45 6.63

SROI ของโครงการท่ีมีการพัฒนาอยางย่ังยืน

Page 46: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

33

บทท่ี 5

สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

สําหรบับทนี้จะนาํเสนอการสรุปผลการคนควาอิสระเรื่อง การวัดคาผลตอบแทนทาง

สังคมของโครงการฟารมสุกรภายใตการลงทุนในโครงการท่ีมีการพัฒนาอยางย่ังยืน: กรณีศึกษาบริษัท

เอ จํากัด ที่ไดนําวิธีการพัฒนาทางการเงินที่ยั่งยืนในธุรกิจฟารมสุกร และในขณะเดียวกันก็สามารถ

ลดปญหาสิ่ งแวดลอมไดอีกทาง คือ การนําการลงทุนในโครงการกลไกที่สะอาด (Clean

Development Mechanism: CDM) มาใชเปนการชวยสงเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศกําลัง

พัฒนา

งานคนควาอิสระนี้มุงศึกษาโครงการลงทุนทางการเงนิที่มีการพัฒนาที่ยั่งยืนในฟารม

สุกร โดยมีกรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด โดยการคนควาอิสระครั้งนี้จะใชวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ

(Qualitative Research) โดยอาศัยขอมูลจากการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) และ

สัมภาษณแบบก่ึงมีโครงสราง ควบคูกับการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารที่เก่ียวของ การวิเคราะห

เนื้อหา (Content Analysis) และนําเคร่ืองมือ SROI มาใชในการประเมินมูลคาทางสังคมของบริษัท

5.1 สรุปผลการศึกษา

จากการศึกษากรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด ที่เมื่อคํานวณอัตราผลตอบแทนทาง

การเงินผานการวิเคราะหโครงการลงทุน (Capital Budgeting Analysis) โดยใชเคร่ืองมือทางการเงิน

ในการคํานวณมูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) ได 3,653,902 บาท และอัตราผลตอบแทนภายใน (IRR)

เทากับรอยละ 17 ซึ่งเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับตนทุนทางการเงินของบริษัทรอยละ 5 พบวาบริษัท

ควรเลือกตัดสินใจลงทุนในโครงการกลไกที่สะอาด เนื่องจากอัตราผลตอบแทนภายในที่ไดคํานวณได

มีมูลคาสูงกวาตนทุนทางการเงนิของบรษิัท โดยขอสรุปงานคนควาอิสระท่ีวากิจการควรเลือกตัดสินใจ

ลงทุนในโครงการกลไกท่ีสะอาดนั้น สอดคลองกับงานคนควาอิสระของคุณปญญา ยุทธรักษานุกูล

คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ป 2553 ที่ทําการศึกษาความเปนไปได

ทางการเงินของการลงทุนในโครงการกลไกที่สะอาดของสุกรทองฟารม โดยผลท่ีไดคือกิจการควรเลือก

ตัดสินใจลงทุนในโครงการกลไกที่สะอาดเชนเดียวกัน

Page 47: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

34

ท้ังนี้การลงทุนในโครงการกลไกที่สะอาดถือเปนโครงการเพื่อความยั่งยืนที่สามารถ

วัดคาผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในโครงการดังกลาว โดยใหผลคุมคาไมวาจะเปนโครงการ

ที่รวมกิจกรรมสวนเพิ่มที่จะไดโครงการกลไกที่สะอาดหรือไมก็ตาม ดังจะเห็นไดจากตัวเลขคา

ผลตอบแทนทางสังคมที่คํานวณไดสําหรบัโครงการที่มีการพัฒนาอยางย่ังยืนท้ังกรณีที่ไมมีการจัดทํา

กิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมและกรณีที่มีการจัดทํากิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอม จะให

ผลตอบแทนทั้ง 2 กรณี เทากับ 11.40 และ 11.73 ซึ่งเปนคาบวก แสดงใหเห็นวากิจกรรมเพื่อสังคม

และสิ่งแวดลอมท่ีบริษัทดําเนินการอยูนั้นใหผลลัพธในทางที่ดีแกบริษัท ผูมีสวนไดเสียของบริษัท

ตระหนักถึงประโยชนสวนเพ่ิมของกิจกรรมท่ีบรษิัทลงทุนในโครงการเพ่ือความยั่งยืนของบริษัท

5.2 การนําไปใชประโยชน

จากกรณีศึกษาบริษัท เอ จํากัด ธุรกิจฟารมสุกรสามารถใชรูปแบบการดําเนินงาน

เพื่อความยั่งยืนที่สามารถสรางผลลัพธท่ีใหผลตอบแทนทางสังคมและสิ่งแวดลอมไดเชนกัน โดย

กิจกรรมตางๆ จะสรางผลลัพธที่ใหผลตอบแทนสูงหากใหเงินทุนคอนขางต่ํา เชน กิจกรรมการลดการ

ใชงาน หรือการใชทรัพยากรที่มีอยูเดิม ซึ่งใชเงินลงทุนนอยมาก แตใหผลตอบแทนกลับมาคอนขางสูง

การแบงคา SROI ใหกับผูมีสวนไดเสียที่เก่ียวของ ชี้ใหเห็นวาหากบริษัทใดมีกิจกรรม

ที่รวมมือกับผูมีสวนไดเสียภายนอก จะชวยใหผลตอบแทนทางสังคมกระจายตัวออกไปมากขึ้น ดังนั้น

ธุรกิจฟารมสุกรอาจจะเพ่ิมกิจกรรมท่ีมีการรวมมือกับผูมีสวนไดเสียรายอื่นมากขึ้น เชน การ

ประชาสัมพันธใหชาวบานในเขตชุมชนอื่นเขามาขอรับปุยน้ํา และมูลสุกรที่ไดจากกระบวนการกาซ

ชีวภาพไปใชไดดวย เพ่ือสรางการกระจายตัวของการลดตนทุนการลงทุนของเกษตรกรจากในเขตพื้นท่ี

อําเภอไปยังจังหวัดมากขึ้น เปนตน

5.3 ขอจํากัดของการศึกษา

งานคนควาอิสระชิ้นนี้ยังไมคํานึงถึงความเสี่ยงบางประการ อาทิเชน ความเสี่ยงจาก

การไมไดรับอนุมัติโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด หรืออาจเกิดความลาชา รวมไปถึงการพยากรณ

แนวโนมของปจจัยตางๆ อาจเกิดความคลาดเคลื่อนได เนื่องจากในอนาคตอาจเกิดปญหาภาวะ

เศรษฐกิจ ภัยธรรมชาติหรือโรคระบาดเกิดขึ้น

Page 48: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

35

อีกทั้ง อาจเกิดความไมแนนอนของราคาคารบอนเครดิตภายหลังป 2560 การ

ดําเนินการโครงการกลไกการพัฒนาท่ีสะอาดผูดําเนินงานตองคํานึงถึงความคุมคาทางเศรษฐกิจของ

โครงการ โดยพิจารณารายไดจากการขายคารบอนเครดิตเปนเพียงผลพลอยไดจากการดําเนิน

โครงการ

นอกจากนี้แตละกิจการอาจมีอัตราผลตอบแทนท่ีผูลงทุนตองการในอัตราท่ีแตกตาง

กันไป และเกณฑที่ใชในการพิจารณาตัดสินใจลงทุนในโครงการอาจแตกตางกันไป

5.4 ขอเสนอแนะ

ผูที่สนใจอาจนําแนวคิดจากการคนควาอิสระนี้ไปศึกษาเพ่ิมเติมกับกรณีศึกษา

ของฟารมสุกรที่มีขนาดกลาง หรือฟารมสุกรที่มีกิจกรรมสวนเพ่ิมเพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอมที่แตกตาง

ออกไป เพ่ือใหการวัดคาผลตอบแทนทางสังคมจากธุรกิจฟารมสุกรมีความนาเชื่อถือและแมนยํามาก

ยิ่งข้ึน ในทางกลับกันการพัฒนาโครงการใหมๆ อาจตองยอมรับความเสี่ยงมากขึ้นวาปกติเชนกัน

นอกจากนี้ยังสามารถนํางานคนควาอิสระนี้ไปเปนตนแบบในการเปรียบเทียบ

ผลที่ไดจากการศึกษากับธุรกิจฟารมสุกรอ่ืนๆ วาผลตอบแทนทางสังคมดังกลาวมีความสัมพันธกัน

หรอืไมอยางไร

Page 49: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

36

รายการอางอิง

กรัณฑรัตน ตอไมตรีจิตร (2557). การวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในธุรกิจโรงงาน

อุตสาหกรรมผลิตถุงพลาสติก: กรณศีกึษาโรงงานอุตสาหกรรมผลิตถุงพลาสติกในกรุงเทพ

และปริมณฑล, คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ, สรียา ชัยรัตนานนทและทิตยา วรานุสันติกุล, บทศกึษาจากอดีตสูอนาคต,

เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจําป เร่ือง อดีต อนาคตสิ่งแวดลอมไทย เมื่อ 17

พฤศจิกายน 2546 ณ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร, หนา 19-57

จิตรบูลย ทวีตั้งวรภัณ (2557). การวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโรงงานผลิตสุราและ

โรงงานผลิตเบียรในประเทศไทย, คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เบญจวรรณ พานทอง (2557). การวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน กรณีศุกษา: โรงงานหลวง

อาหารสําเร็จรูปที่ 1 (ฝาง), คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ปนประภา สีฉวน (2557). การวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในอุตสาหกรรมปาลมนํ้ามัน:

กรณีศึกษาบริษัท ตรังน้ํามันปาลม จํากัด และบริษัท ศรีเจริญปาลมออยล จํากัด, คณะ

พาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ปญญา ยุทธรักษานุกูล (2553). การวิเคราะหความเปนไปไดทางการเงนิในการจัดทําคารบอนเครดิต

เพื่อความยั่งยืนของฟารมสุกรในประเทศไทย: กรณีศึกษาสุกรทองฟารม, คณะ

พาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ดร.สมหมาย ฉัตรแสงอุทัย. (2552). สถานการณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการปศุสัตว ใน

ประเทศไทย, โครงการการจัดการของเสียในฟารมปศุสัตวในภาคพืนเอเชีย

วศิน อภิวงศปญญา (2556). การวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในธุรกิจสถานท่ีพักแรม:

กรณีศึกษาโรงแรมในกรงุเทพมหานครและวิสาหกิจชุมชนบางน้ําผึ้งโฮมสเตย, คณะ

พาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

สฤณ ีอาชวานันทกุล และ ภัทราพร แยมละออ. คูมือการประเมินผลลัพธทางสังคม (Social Impact

Assessment) และผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (Social Return on Investment:

SROI), ระบบบมเพาะธุรกิจเพ่ือสรางและพัฒนาผูประกอบการใหม คณะพาณิชยศาสตรและ

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 50: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

37

สมพร แสงชัย (2545). อุดมการณ การเมือง และการพัฒนาที่ย่ังยืน, โครงการบัณฑิตศึกษาการ

จัดการสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

อรรฆพร สุขประสงค (2557). การวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในสถานพยาบาล

กรณีศึกษา โรงพยาบาลในเขตภาคเหนือของไทย, คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

อาภัสรา เผาพงษคลาย (2557). การวัดผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในธุรกิจสถานที่พักแรม:

กรณีศึกษาโรงแรมหาดาวในอําเภอหัวหิน และวิสาหกิจชุมชนบานริมคลองโฮมสเตย, คณะ

พาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

อินโก พูล (2552). สมาคมแปงมันสําปะหลังไทย, บริษัท เซาทโพล คารบอน แอสเตท แมเนจเมนท

จํากัด.

Banke-Thomas & Madaj & Charles & Broek. (2015). Social Return on Investment (SROI)

methodology to account for value for money of public health interventions:

A systematic review.

Eric A Davidson (2012). Representative concentration pathways and mitigation

scenarios for nitrous oxide. Environmental Research Letters, 7(2).

doi:10.1088/1748-9326/7/2/024005

Gair, C. (2009). “SROI Act II: A Call to Action for Next Generation SROI.” Stepping Out

of the Maze Series, Vol. II. REDF. http://redf.org/wordpress/wp-

content/uploads/2013/10/REDF-Stepping-Out-of-the- Maze-Series-SROI-Vol-2-

A-Call-to-Action-for-Next-Generation-SROI-Paper-20091.pdf.

Huge, J., Le, H, Hoang, P. and Kuilman, J., (2010). “Sustainability indicators for clean

development mechanisms options theory,” Environ Dev Sustain, Vol. 12, No.

1, pp.561-571.

I-Hsuan, H., Rodriguez, G. N., Yi-Ju, C., & Gandajaya, L. (2015). ANALYSIS ON AFFECTING

THE CLEAN DEVELOPMENT MECHANISM (CDM): A REVIEW. International Journal

Of Electronic Business Management, 1345.

J. Oosthoek, W. Kroodsma, P. Hoeksma. (1990). Methods of reducing

ammoniaemissions from animal housing, in: J. Hartung, M. Paduch, S. Schirz,

H. Döhler,H. van den Weghe (Eds.), Ammoniak in der Umwelt, 29,

Landwirtschaftsverlag GmbH, Münster, Germany, pp. 1–23.

Page 51: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

38

Koneswaran, G., & Nierenberg, D. (2008). Global farm animal production and global

warming: impacting and mitigating climate change. Environ Health Perspect,

116(5), 578-582. doi:10.1289/ehp.11034

Kuckshinrichs & Kronenbergn & Hansen (2010). "The social return on investment in

the energy efficiency of buildings in Germany." Energy Policy 38(8): 4317-4329.

L.D. Jacobson, D.R. Schmidt, W.F. Lazarus, R. Koehler. Reducing theenvironmental

footprint of pig finishing barns. Available

from_http://www.mnpork.com/FileLibrary/States/MN/MPB%20Research/Jacob

songeothermal.pdf_ Retrieved on 12.11.14.

McBride, A. C., Dale, V. H., Baskaran, L. M., Downing, M. E., Eaton, L. M., Efroymson, R.

A.,. Storey, J. M. (2011). Indicators to support environmental sustainability of

bioenergy systems. Ecological Indicators, 11(5), 1277-1289.

doi:10.1016/j.ecolind.2011.01.010

Mook, L., J. Quarter, and B. J. Richmond. (2007). What Counts: Social Accounting for

Nonprofits and Cooperatives. Toronto: University of Toronto Press.

Paustian, K., Ravindranath, N. H. and A. van Amstel 2006. Agriculture, Forestry and

other land use (AFOLU), in Penman, J., Gytarsky M., Hiraishi, T., Irving, W. and

T. Krug: 2006 IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories,

Volume 4.

Pirlo, G., Care, S., Casa, G. D., Marchetti, R., Ponzoni, G., Faeti, V., . . . Falconi, F. (2016).

Environmental impact of heavy pig production in a sample of Italian farms. A

cradle to farm-gate analysis. Sci Total Environ, 565, 576-585.

doi:10.1016/j.scitotenv.2016.04.174

Susanne Stern, a., Ulf Sonesson, a., Stefan Gunnarsson, a., Ingrid Öborn, a., Karl-Ivar

Kumm, a., & Thomas Nybrant, a. (2005). Sustainable Development of Food

Production: A Case Study on Scenarios for Pig Production. Ambio, (4/5), 402.

S.C. Jarvis, B.F. Pain. (1990). Ammonia volatilisation from agricultural land,

in:Proceedings of the Fertiliser Society vol. 298, Greenhill House,

Peterborough, UK, p. 35.

Page 52: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

39

Weitzman, Martin, L.. (2001). “Gamma Discounting.” American Economic

Review, 91(1): 260-271.

กระทรวงเกษตรและสหกรณ (2555). ยุทธศาสตรการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศดานการเกษตร ป 2556

- 2559 สืบคนจาก http://www.greennet.or.th/library/book/climate-chage/1535

กระทรวงเกษตรและสหกรณ (2559). กระทรวงเกษตรฯ เผยสถานการณตนทุนการผลิตและ

การตลาดสุกรป 2559 สืบคนจาก

https://www2.moac.go.th/ewt_news.php?nid=18771&filename=index

จตุรงค กอบแกว, มูลนิธิจิตอาสา (2554). คารบอนเครดิต รายไดใหมของไทย สืบคนจาก

http://jitasa.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=151%3Aca

rbon-credit-trading-new-revenue-in-thailand&catid=52%3Aspecial-

report&lang=th

ธนาคารแหงประเทศไทย (2560). FM_FX_001_S3 อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยของธนาคารพาณิชยใน

กรุงเทพมหานคร (2545-ปจจุบัน) สืบคนจาก

http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=123&language=th

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (2559). การปลอย CO2 สืบคนจาก

http://www.eppo.go.th/index.php/th/energy-information/static-energy/static-

co2?orders[publishUp]=publishUp&issearch=1

สํานักงานปศุสัตวอําเภอ (2560). ขอมูลเกษตรกรผูเลี้ยงและสุกรรายภาค ปงบประมาณ 2560 สืบคน

จาก http://ict.dld.go.th/th2/index.php/th/report/529-report-thailand-

livestock/reportservey2560/1243-2560-prov

องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) (2553). คูมือการดําเนินโครงการกลไลการ

พัฒนาที่สะอาด ขอ 3.5.3 p.66 สืบคนจาก

www.tgo.or.th/2015/file/download/CDM/Final%20CDM%20Handbook%20TGO

%20August%202010.pdf

องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) (2555). การปลอยกาซเรอืนกระจกใน

ประเทศไทย สืบคนจาก www.environnet.in.th/archives/3779

องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) (2559). การปลอยกาซเรอืนกระจกใน

ประเทศไทย สืบคนจาก

http://www.tgo.or.th/2015/thai/content.php?s1=7&s2=18&sub3=sub3

Page 53: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

40

Food and Agriculture Organization of the United Nations. (2011). FAO คาดอัตราการ

บริโภคเนื้อสัตวเพ่ิม 73 % และนมเพ่ิมขึ้น 58 % ในป 2593... สืบคนจาก

http://www.acfs.go.th/warning/viewEarly.php?id=3686

Intergovernmental Panel on Climate Change (2001). Climate Change, Retrieved from

https://www.ipcc.ch/index.htm

United Nations (2014). Greenhouse Gas, Retrieved from

http://unfccc.int/ghg_data/items/3800.php

United Nations (2016). Sustainable Development Goals, Retrieved from

http://www.un.org/sustainabledevelopment/climate-change-2/

United Nations Thailand (2016). The Global Goals For Sustainable Development,

Retrieved from http://www.un.or.th/globalgoals/th/global-goals/climate-

action/

Page 54: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

ภาคผนวก

Page 55: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

42

ภาคผนวก ก

การคํานวณมูลคาท่ีไดรับจากการขายคารบอนเครดิต (Carbon Credit)

กาซเรือนกระจกที่ฟารมสุกรปลอยออกสูชั้นบรรยากาศของโลกมากที่สุด คือ กาซมีเทน

(CH4) หากกิจการสามารถลดปริมาณการปลอยกาซดังกลาวไดสูชั้นบรรยากาศได จะสามารถนํา

คารบอนเครดิตมาขายใหกับประเทศที่รับซื้อได โดยปริมาณกาซมีเทนท่ีลดไดสามารถคํานวณจากสูตร

ในอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework

Convention on Climate Change : UNFCCC) ดังนี้

𝐸 = 𝐺𝑊𝑃 × 𝐷 × 𝑈𝐹 ×𝑀𝐶𝐹 × 𝐵 × 𝑁 × 𝑉𝑆 ×𝑀𝑆%

โดย:

𝐸 คือ ปรมิาณกาซมีเทนท่ีถูกปลอย (ตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา/ป)

𝐺𝑊𝑃 คือ Global Warming Potential ของกาซมีเทน (มีคาเทากับ 21)

𝐷 คอื ความหนาแนนของกาซมีเทน (มีคาเทากับ 0.00067 ตัน/ลูกบาศกเมตร)

𝑈𝐹 คือ Model Correction Factor (มีคาเทากับ 0.94)*

𝑀𝐶𝐹 คือ Factor แปลงคาเปนกาซมีเทนสําหรับการจัดการของเสียชนิดตางๆ

(มีคาเทากับ 0.7)**

𝐵 คือ ศักยภาพการผลิตกาซมีเทนสูงสุดของสัตวแตละประเภท

(มีคาเทากับ 0.29 ลูกบาศกเมตรมีเทน/กิโลกรัมมูลแหง)

𝑁 คือ จํานวนสุกร (ตัว)

𝑉𝑆 คอื ของแข็งระเหยได (มีคาเทากับ 109.50 กิโลกรัมมูลแหง/จํานวนสุกรหนึ่งตัว/ป)**

𝑀𝑆% คือ สัดสวนการจัดการในระบบทั้งหมด

ที่มา: * FCCC/SBSTA/2003/10/Add.2

** สํานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินคาปศสุตัว กรมปศุสัตว

Page 56: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

43

ภาคผนวก ข

สมมติฐานท่ีใชในการพยากรณงบกําไรขาดทุน

1. ราคาขายสุกร

สมมติฐานของงานคนควาอิสระน้ี คือ มีอัตราการเพิ่มขึ้นของราคาขายสุกรเทากับรอยละ

1 ตอป ซึ่งพิจารณาจากการที่สุกรเปนสินคาเกษตรท่ีราคาเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล ประกอบกับอัตรา

เงินเฟอพ้ืนฐานเฉลี่ยจากประมาณการเศรษฐกิจและเงินเฟอป 2558 - 2560 อยูที่รอยละ 0.97 (ขอมูล

จากรายงานนโยบายการเงิน มีนาคม 2558) และน้ําหนักโดยเฉลี่ยตอตัวของสุกรพอพันธุ แมพันธุ

อยูท่ีประมาณ 90 - 110 กิโลกรัมตอตัว สําหรับสุกรอายุประมาณ 8 เดือน โดยราคาขายสุกรมีชีวิต

หนาฟารม ณ วันที่ 11 ธันวาคม 2560 อยูท่ี 50 - 52 บาทตอกิโลกรัม สําหรับลูกสุกรราคาขายอยูท่ี

1,200 บาทตอตัว

2. ราคาขายคารบอนเครดิต

สมมติฐานของงานคนควาอิสระนี้ คือ มูลคาท่ีจะไดจากการขายคารบอนเครดิตใหกับ

ประเทศท่ีรับซื้อสําหรับโครงการกลไกพัฒนาที่สะอาดคอนขางซบเซาในระยะ 3 ปที่ผานมา คือ

ป 2558 ป 2559 และป 2560 ราคาคอนขางทรงตัว และมีแนวโนมที่จะลดลงไดอีกในอนาคต ดังภาพ

ดานลาง

ภาพที่ ข.1

ราคาขายคารบอนเครดิตในรอบ 3 ป ตั้งแต 2554 - 2560

ที่มา: องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน)

Page 57: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

44

ดังนั้น ผูคนควาอิสระจึงกําหนดใหราคาขายคารบอนเครดิตมีแนวโนมที่จะลดลงเฉลี่ย

ปละ1 ยูโรตอตันคารบอนตลอดอายุของโครงการ เนื่องจากสถานการณการคาคารบอนเครดิต

คอนขางซบเซา โดยอนาคตของตลาดคารบอนท่ีเสนอโดยนายอินโก พูล บริษัท เซาท โพล คารบอน

แอสเซท แมเนจเมนท จํากัด ตีพิมพในหนังสือสมาคมแปงมันสําปะหลังไทยป 2552 ระบุวาโครงสราง

ของตลาดคารบอนอาจเปลี่ยนไป การซื้อขายคารบอนเครดิตอาจมีความซับซอนมากข้ึน โดยความ

เปนไปไดมีอยู 2 กรณี คือ ประเทศสวนใหญไมยอมรับขอตกลงที่จะลดการปลอยกาซเรือนกระจกตาม

ปริมาณที่กําหนด โดยประเทศมหาอํานาจทั้งในยุโรปและเอเชียอาจเปดตลาดซื้อขายคารบอนของ

ตัวเองโดยเฉพาะ ดังนั้นผูพัฒนาโครงการและผูขายตองพิจารณาตลาดอยางรอบคอบกอนการพัฒนา

โครงการภายใตกลไกตางๆ ที่อาจจะกําหนดขึ้นในอนาคต และประเทศสวนใหญจะยอมรับขอตกลง

ที่จะลดการปลอยกาซเรือนกระจกตามปริมาณที่กําหนดซึ่งอาจนําไปสูการเปลี่ยนแปลงอยางมาก

ในตลาดคารบอน

3. ราคาปุยน้ําและราคามูลสุกร

สมมติฐานของงานคนควาอิสระนี้ คือ ราคาปุยน้ําอยูท่ี 60 บาทตอลิตร และราคามูล

สุกรอยูที่ 2.25 บาทตอกิโลกรัม และอัตราการเพิ่มข้ึนของราคาปุยน้ําและราคามูลสุกรสดอยูที่รอยละ

5 ตอป เนื่องจากเปนกิจกรรมเพื่อสังคมที่บริษัทคิดขึ้นเพื่อชวยเหลือชาวบานในบริเวณใกลเคียง

โดยชาวบานสามารถมาขอรับปุยน้ําและมูลสุกรที่ไดจากการผลิตกาซชีวภาพซึ่งเปนกิจกรรมเพ่ือความ

ยั่งยืนของบริษัทและชุมชน ทําใหชาวบานสามารถประหยัดคาใชจายจากการซื้อปุยได โดยราคาของ

ปุยน้ําชีวมวลในตลาดอยูท่ีประมาณ 25 - 95 บาทตอลิตร ทั้งนี้ข้ึนอยูกับคุณภาพและกระบวนการ

ผลิต และราคามูลสุกรอยูที่กิโลกรมัละ 2.25 - 2.50 บาทตอกิโลกรมั

5. คาสาธารณูปโภค

สมมติฐานของงานคนควาอิสระนี้ คือ คาสาธารณูปโภคเปนเพียงคาไฟฟาเทาน้ัน

เนื่องจากน้ําท่ีใชภายในบริษัทเปนน้ําประปาทั้งหมด จึงไมมีมีสวนท่ีไดรับผลกระทบจากโครงการการ

ผลิตกาซชีวภาพแตอยางใด โดยสมมติฐานของงานคนควาอิสระนี้ คือ มีอัตราการเพ่ิมขึ้นของคาไฟฟา

เทากับรอยละ 2.5 ตอป ซึ่งวิเคราะหจากแนวโนมท่ีผานมาจากการประกาศของคณะกรรมการกํากับ

กิจการพลังงาน (กกพ.) และการไฟฟานครหลวงซึ่งมีแนวโนมลดลง อยางไรก็ตาม ผูคนควาอิสระให

Page 58: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

45

สมมติฐานในการวิจัยครั้งนี้เพิ่มข้ึนรอยละ 2.5 ตอป เนื่องจากคาดวาปริมาณการผลิตสุกรของบริษัท

จะเพ่ิมขึ้น ทําใหคาไฟฟาเพ่ิมขึ้นตาม

ภาพท่ี ข.2

การเปลี่ยนแปลงของคาไฟฟา 5 ป ตั้งแต 2556 - 2560

Page 59: การวัดค่าผลตอบแทนทางสังคมของโครงการฟาร์มสุกรภายใต้การลงทุน ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU... ·

Ref. code: 25605902020089KLC

46

ประวัติผูเขียน

ชื่อ นางสาวสุกานดา โพธิพิทักษ

วันเดอืนปเกิด 2 มกราคม 2524

วุฒิการศึกษา ปการศึกษา 2547: บัญชีบัณฑิต

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ตําแหนง ผูจัดการอาวุโส ฝายบริหารความเสี่ยง

บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด

ประสบการณทํางาน 2551-กรกฎาคม 2560: ผูจัดการอาวุโสดานการสอบบัญชี

บรษิัท ดีลอยท ทูช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จํากัด

สิงหาคม 2560-ปจจุบัน: ผูจัดการอาวุโส ฝายบริหารความเสี่ยง

บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด