ncd: สถานการณ มายาคติ 03 และความเป...

8
Fact Sheet NCD Network http://www.thaincdnet.com 03 NCD: สถานการณ มายาคติ และความเปนจริง นพ.ทักษพล ธรรมรังสี และ ภญ.อรทัย วลีวงศ แผนงานเครือขายควบคุมโรคไมติดตอ NCD วิกฤตโรค วิกฤตโลก “NCD” ยอมาจากคำวา Non-communicable diseases หมายถึง กลุมโรคไมติดตอ ที่ไมสามารถ แพรกระจายโรคจากคนสูคนได โดยทั่วไปอาจเรียกวา กลุมโรคเรื้อรัง (Chronic diseases) ซึ่งหมายถึงโรค ที่เกิดตอเนื ่องยาวนานและมีการดำเนินของโรคเปนไป อยางชาๆ ซึ่งแตกตางจากโรคติดเชื้อสวนใหญที่มักมี การดำเนินโรคอยางรวดเร็ว อยางไรก็ตาม โรค NCD อาจหมายรวมถึงโรค ที่มีลักษณะเฉียบพลัน เชน โรคหัวใจวายเฉียบพลัน หรือรวมถึงโรคที ่เกิดจากการติดเชื ้อบางโรคไดดวย เชน โรคมะเร็งตับที ่เกิดจากการติดเชื ้อไวรัสตับอักเสบ ดังนั ้น จึงเปนการยากหากแบงประเภทโรคตางๆ ออกเปนโรค แบบเรื้อรังหรือเฉียบพลันและโรคติดเชื้อหรือไมติดเชื้อ ดร.มากาเร็ต ชาน ผูอำนวยการใหญขององคการอนามัยโลก และนายบัน คี มุน เลขาธิการองคการสหประชาชาติ ประกาศให NCD เปนวาระระดับโลก ณ ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ 2554 กลุมโรค NCD ที่สำคัญประกอบดวยสี่กลุมไดแก กลุมโรคหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular diseases) เชน โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ อัมพาต กลุมโรคมะเร็ง กลุมโรคปอดเรื้อรัง เชน โรคปอด อุดกั้นเรื้อรัง และโรคถุงลมโปงพอง และโรคเบาหวาน “โรค NCD จัดเปนฆาตกรอันดับหนึ่งที่คราชีวิต ประชากรโลกมากกวาสาเหตุการตายอื่นๆ ทุกสาเหตุ รวมกัน” มากถึง 36.2 ลานคนตอป หรือคิดเปนรอยละ 66% ของการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมดในป 2554 1 ขณะที่ในประเทศไทย กลุมโรค NCD เปนสาเหตุการเสีย ชีวิตถึงประมาณ 3.1 แสนคน หรือ รอยละ 73 ของการ เสียชีวิตของประชากรไทยทั้งหมดในป 2552 2 นอกจากผลกระทบทางมิติสุขภาพแลว NCD ยังสงผลกระทบตอสังคม โดยมีขอมูลยืนยันวาเปนปญหา และอุปสรรคที่สำคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศและโลกอีกดวย โดยเฉพาะดานคุณภาพของ ทรัพยากรมนุษย โดย NCD ทำใหประชากรเสียชีวิตกอน วัยอันควร เกิดการสูญเสียศักยภาพและผลิตภาพในการ ประกอบอาชีพ และมีความทุกขทรมานจากการเจ็บปวย และโรคแทรกซอนโดยนอกจากจะเพิ่มภาระแกคนรอบขาง แลวยังสรางภาระแกสังคมโดยรวมดวย โดยเฉพาะอยางยิ่ง มูลคาของคาใชจายทางดานสุขภาพที ่มีมูลคามหาศาลตอป ดวยสถานการณและเหตุผลดังกลาว ในป 2554 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติจึงยกระดับปญหานี้เปน วาระสำคัญระดับโลกและมีการรับรอง “ปฏิญญาการเมืองวา ดวยการปองกันและควบคุมโรค NCD (Political Declaration on NCD Prevention and Control)” ที ่ผู นำประเทศตางๆ จะตองรวมมือกันชวยการจัดการและแกไขตอไป

Upload: others

Post on 27-Feb-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: NCD: สถานการณ มายาคติ 03 และความเป นจริงresource.thaihealth.or.th/system/files/documents/ncdsthaankaarn...diseases หมายถึง

Fact Sheet NCD Network

http://www.thaincdnet.com

03NCD: สถานการณ มายาคต ิและความเปนจริง นพ.ทักษพล ธรรมรังสี และ ภญ.อรทัย วลีวงศ

แผนงานเครือขายควบคุมโรคไมติดตอ

NCD วิกฤตโรค วิกฤตโลก “NCD” ยอมาจากคำวา Non-communicable diseases หมายถึง กลุมโรคไมติดตอ ที่ไมสามารถแพรกระจายโรคจากคนสูคนได โดยทั่วไปอาจเรียกวา กลุมโรคเรื้อรัง (Chronic diseases) ซึ่งหมายถึงโรคที่เกิดตอเน่ืองยาวนานและมีการดำเนินของโรคเปนไปอยางชาๆ ซึ่งแตกตางจากโรคติดเชื้อสวนใหญที่มักมีการดำเนินโรคอยางรวดเร็ว อยางไรก็ตาม โรค NCD อาจหมายรวมถึงโรคที่มีลักษณะเฉียบพลัน เชน โรคหัวใจวายเฉียบพลันหรือรวมถึงโรคท่ีเกิดจากการติดเช้ือบางโรคไดดวย เชนโรคมะเร็งตับท่ีเกิดจากการติดเช้ือไวรัสตับอักเสบ ดังน้ันจึงเปนการยากหากแบงประเภทโรคตางๆ ออกเปนโรคแบบเรื้อรังหรือเฉียบพลันและโรคติดเชื้อหรือไมติดเชื้อ

ดร.มากาเร็ต ชาน ผูอำนวยการใหญขององคการอนามัยโลกและนายบัน คี มุน เลขาธิการองคการสหประชาชาติ

ประกาศให NCD เปนวาระระดับโลก ณ ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ 2554

กลุมโรค NCD ที่สำคัญประกอบดวยสี่กลุมไดแกกลุมโรคหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular diseases) เชน โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ อัมพาต กลุมโรคมะเร็ง กลุมโรคปอดเรื้อรัง เชน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคถุงลมโปงพอง และโรคเบาหวาน “โรค NCD จัดเปนฆาตกรอันดับหนึ่งที่คราชีวิตประชากรโลกมากกวาสาเหตุการตายอื่นๆ ทุกสาเหตุรวมกัน” มากถึง 36.2 ลานคนตอป หรือคิดเปนรอยละ 66% ของการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมดในป 25541

ขณะที่ในประเทศไทย กลุมโรค NCD เปนสาเหตุการเสียชีวิตถึงประมาณ 3.1 แสนคน หรือ รอยละ 73 ของการเสียชีวิตของประชากรไทยทั้งหมดในป 25522 นอกจากผลกระทบทางมิติสุขภาพแลว NCD ยังสงผลกระทบตอสังคม โดยมีขอมูลยืนยันวาเปนปญหาและอุปสรรคที่สำคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและโลกอีกดวย โดยเฉพาะดานคุณภาพของทรัพยากรมนุษย โดย NCD ทำใหประชากรเสียชีวิตกอนวัยอันควร เกิดการสูญเสียศักยภาพและผลิตภาพในการประกอบอาชีพ และมีความทุกขทรมานจากการเจ็บปวยและโรคแทรกซอนโดยนอกจากจะเพิ่มภาระแกคนรอบขางแลวยังสรางภาระแกสังคมโดยรวมดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งมูลคาของคาใชจายทางดานสุขภาพท่ีมีมูลคามหาศาลตอป ดวยสถานการณและเหตุผลดังกลาว ในป 2554 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติจึงยกระดับปญหานี้เปนวาระสำคัญระดับโลกและมีการรับรอง “ปฏิญญาการเมืองวาดวยการปองกันและควบคุมโรค NCD (Political Declaration on NCD Prevention and Control)” ท่ีผูนำประเทศตางๆ จะตองรวมมือกันชวยการจัดการและแกไขตอไป

Page 2: NCD: สถานการณ มายาคติ 03 และความเป นจริงresource.thaihealth.or.th/system/files/documents/ncdsthaankaarn...diseases หมายถึง

01 โดยทั่วไป มักมีความเขาใจกันวาโรค NCD เปนโรคของผูสูงอายุแตจากขอมูลพบวา 9 ลานคนตอป หรือประมาณ 1 ใน 4 ของการเสียชีวิตของประชากรโลกจาก NCD เปนการเสียชีวิตกอนวัย 60 ป3 ในขณะท่ีขอมูลของไทย พบวา โรค NCD ทำใหประชากรไทยเสียชีวิตกอนวัยอันควรรวมกันถึง 4 ลานป หรือรอยละ 65 ของจำนวนปสะสม (ปท่ีสูญเสียจากการตายกอนวัยอันควร)2 นอกจากการเสียชีวิตตั้งแตอายุนอยแลว ผูปวยโรค NCD ยังอาจจะตองมีชีวิตอยูกับความบกพรองทางสุขภาพ อยูกับโรคและความพิการจากโรคแทรกซอนกอนการเสียชีวิตอีกชวงเวลาหนึ่ง โดยมีการวัดเปน “ปแหงความบกพรองทางสุขภาพ” (ปท่ีสูญเสียจากความเจ็บปวยหรือพิการ) พบวา โรค NCD ทำใหประชาชนไทยอยูกับความบกพรองนี้รวมกันถึง 3.5 ลานป ใน พ.ศ.25522 และเมื่อรวมประเภทความสูญเสียทั้งหมดจากการเสียชีวิตกอนวัยอันควรและการมีความบกพรองทางสุขภาพโดยวัดเปนหนวยของภาระโรค (Disability-adjusted Life Years/DALYs) จะพบวา โรค NCD กอความสูญเสียคิดเปนรอยละ 54 ของภาระโรคของโลกในป 25541 และรอยละ 73 ของภาระโรคของประเทศไทยในป 25522 ดังแสดงในตารางที่ 1 ซึ่งจะเห็นวาประเทศไทยมีวิกฤตปญหา NCD ในสัดสวนที่สูงกวาคาเฉลี่ยในภาพรวมของโลก

ความเชื่อที่ NCD โรคของคนแก

ประมาณ 1 ใน 4 ของการตายดวย NCD พบวาเปนการเสียชีวิต

กอนอายุ 60 ป.....อาการของโรคที่เกิดขึ้นตอนสูงอายุมักเกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงสะสม

ในชวงวัยหนุมสาว

““1

Page 3: NCD: สถานการณ มายาคติ 03 และความเป นจริงresource.thaihealth.or.th/system/files/documents/ncdsthaankaarn...diseases หมายถึง

เมื่อกลับมาดูที่สาเหตุของโรค NCD พบวามักเปนลักษณะของการสะสมความเสี่ยงตั้งแตตอนอายุยังนอย กอนจะเริ่มแสดงอาการเมื่ออายุมากขึ้น พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพดังกลาว เชน การไมไดรับนมแมในวัยแรกเกิด พฤติกรรมการบริโภคอาหารในวัยเด็ก การสูบบุหรี่และดื่มสุราในวัยหนุมสาว เปนตน ดังนั้น การควบคุมและปองกันโรค NCD เฉพาะในวัยสูงอายุจึงเปนแนวทางที่สายเกินไป นอกจากนี้ มีหลักฐานทางวิทยาศาสตรยืนยันวา หากมีการปรับพฤติกรรมตั้งแตชวงวัยเด็กและวัยหนุมสาวจะลดโอกาสในการเกิดโรค NCD ที่จะแสดงอาการตอนสูงอายุได

โลก1 ประเทศไทย2

จำนวน รอยละ* จำนวน รอยละ*การเสียชีวิตจาก NCD (ราย) 36 ลาน 66% 3.1 แสน 73 %จำนวนปสะสมที่เสียชีวิตกอนวัยอันควร (ป) 930 ลาน 46% 4.0 ลาน 65 %จำนวนปสะสมที่อยูกับการเจ็บปวย/พิการจาก NCD (ป) 556 ลาน 77% 3.5 ลาน 87 %ภาระโรคจาก NCD (DALYs) (ป) 1,487 ลาน 54% 7.5 ลาน 73 %

ที่มา (1) วิเคราะหโดยใชขอมูลป 2554, (2) วิเคราะหโดยใชขอมูลป 2552

ตารางที่ 1 แสดงภาระโรคและความสูญเสียจาก NCDs

*หมายเหตุ รอยละของภาระโรคในทุกสาเหตุรวมกัน เชน NCD, โรคติดตอ, การบาดเจ็บ

Page 4: NCD: สถานการณ มายาคติ 03 และความเป นจริงresource.thaihealth.or.th/system/files/documents/ncdsthaankaarn...diseases หมายถึง

02 เนื ่องจากสาเหตุของโรค NCD มักเกี ่ยวของกับการกินอยูและวิถีชีวิต สวนใหญจึงเชื่อวาโรคเหลานี้ เชน โรคหัวใจ โรคเบาหวาน มักเปนโรคของความอยูดีกินดีและมักเกิดขึ้นเฉพาะกับคนในสังคมเมืองหรือคนรวยเทานั้น ซ่ึงในความเปนจริง NCD น้ัน เปนท้ัง สาเหตุ ปจจัยและผลลัพธของความยากจนโดยขอมูลในระดับมหภาค พบวา ประมาณ 4 ใน 5 ของการเสียชีวิตของประชากรโลกจากโรค NCD น้ันเกิดในประเทศที่มีรายไดต่ำและปานกลาง3 นอกจากนี้ ประชากรที่มีเศรษฐานะยากจนกวามีแนวโนมที่จะมีพฤติกรรมเสี่ยงของ NCD มากกวาคนที่มีเศรษฐานะดี เชน คนจนหรือคนวางงานมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มากกวาคนรวย4 คนรายไดนอยมีพฤติกรรมการรับประทานผักและผลไมนอยกวาคนที่มีรายไดสูง โดยยังพบวาคนที่มีรายไดนอยมักมีอัตราการรูตนเองวามีความเสี่ยงและมีโรคต่ำกวาดวยสวนขอมูลในประเทศไทย พบวา กลุมประชากรที่มีรายไดต่ำกวามีความชุกของโรคความดันโลหิตสูงสูงกวาประชากรที่มีรายไดดีกวา5 (ภาพที่ 1) และประชากรที่มีรายไดต่ำมีความชุกของการสูบบุหรี่มากกวาผูที่มีรายไดสูง (ภาพที่ 2)

ความเชื่อที่ NCD โรคของคนรวย

คนจนเสี่ยงตอการเปน

โรค NCD มากกวาคนรวย เพราะมีพฤติกรรมสุขภาพที่เสี่ยงมากวา

...และที่สำคัญเมื่อเปนโรคแลว จะมีความสามารถในการดูแล

รักษาสุขภาพที่นอยกวา จึงเกิดโรคแทรกซอนตามมาไดมากกวา

2

Page 5: NCD: สถานการณ มายาคติ 03 และความเป นจริงresource.thaihealth.or.th/system/files/documents/ncdsthaankaarn...diseases หมายถึง

4035302520151050

< 1,00

0

1,00

0-4,99

9

5,00

0-9,99

9

10,000

-24,99

9

25,000

-49,99

9

> 50

,000

ชาย หญิง

ชาย หญิง

9080706050403020100

< 1,00

0

1,00

0-4,99

9

5,00

0-9,99

9

10,000

-24,99

9

25,000

-49,99

9

> 50

,000

“กลุมประชากรที่มีรายไดต่ำกวามีความชุกของโรคความดันโลหิตสูงสูงกวาประชากรที่มีรายไดดีกวา5

ภาพที่ 1 รอยละของประชากรที่เปนความดันโลหิตสูง

ตามรายไดเฉลี่ยตอเดือนของครัวเรือน (บาท)

ภาพที่ 2 รอยละของประชากรที่เคยสูบบุหรี่ตามรายได

เฉลี่ยตอเดือนของครัวเรือน (บาท) ““ประชากรที่มีรายไดต่ำมีความชุกของการสูบบุหรี่มากกวาผูที่มีรายไดสูง

(30)(25)

(21) (23)

(35)

(23)(18) (18)

(24) (20)

(26)

(16)

(16)

(77) (76)(68)

(80)

(8) (6) (6)

(60)

(7)

(59)

(8)

Page 6: NCD: สถานการณ มายาคติ 03 และความเป นจริงresource.thaihealth.or.th/system/files/documents/ncdsthaankaarn...diseases หมายถึง

03 เนื่องจาก NCD มีความสัมพันธกับพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพตาง ๆ เชน สูบบุหรี่ ดื่มสุรา รับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม และการขาดการออกกำลังกาย หลายภาคสวนจึงอาจมีแนวคิดวาการที่ประชาชนยังมีพฤติกรรมเสี่ยงดังกลาวอาจจะมาจากการขาดความรู ดังน้ัน จึงมองวารัฐควรเนนไปท่ีการใหความรู สุขศึกษาเพ่ือใหประชาชนตระหนักมากขึ้นและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเอง ทั้งที่ในความเปนจริง ความรูและความตระหนักเปนเพียงปจจัยสวนหนึ่งของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ที่อาจจะมีบทบาทนอยกวาอิทธิพลของสิ่งแวดลอมรอบตัวบุคคลนั้นๆ โดยมีการศึกษาพบวา มาตรการในการใหขอมูลและโนมนาว โดยเฉพาะในดานการใหสุขศึกษา เปนมาตรการที่ตองลงทุนสูงและมีประสิทธิผลในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมต่ำจึงไมคอยมีความคุมคา ดังน้ันมาตรการดังกลาวจึงควรเปนเพียงมาตรการเสริมหนึ่งในกรอบนโยบายในการจัดการวิกฤต NCD เทานั้น

ความเชื่อที่ NCD โรคของความไมรู และโรคจากการทำรายตัวเอง

องคการอนามัยโลกไดอธิบายถึงกลไกความสัมพันธระหวาง NCD กับความยากจน3 อยูสามประการไดแก (1) ประชาชนที่ฐานะยากจนมีสัดสวนคาใชจายของการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพมากกวากลุมที่มีฐานะร่ำรวย เชน คาใชจายสำหรับสุราและยาสูบ โดยขอมูลของไทย พบวา กลุมคนที่ยากจนที่สุดใชจายไปกับสุราในสัดสวนรอยละ 6.7 ของคาใชจายทั้งหมด สวนกลุมที่รวยที่สุดใชจายไปกับเรื่องดังกลาวเพียงรอยละ 3.6 เทานั้น และกลุมคนที่จนที่สุดมีคาใชจายในการซื้อบุหรี่คิดเปนรอยละ 27.4 ของรายไดสวนบุคคล สวนกลุมคนที่รวยที่สุดมีคาใชจายในการซื้อบุหรี่เพียง รอยละ 3.5 ของรายไดสวนบุคคล5 (2) เมื่อเกิดโรค NCD คนยากจนจะสูญเสียความสามารถในการหารายไดมากกวา โดยเฉพาะหากผูปวยเปนหัวหนาครัวเรือน (3) คนยากจนมีความสามารถในการจัดการปญหาที่จำกัดกวาคนรวย เชน ความสามารถในการจายคารักษาพยาบาลหรือคาใชจายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ดังนั้น เมื่อคนยากจนเจ็บปวยดวย NCD จึงมักควบคุมอาการไมไดและเกิดโรคแทรกซอนตามมาได

3

Page 7: NCD: สถานการณ มายาคติ 03 และความเป นจริงresource.thaihealth.or.th/system/files/documents/ncdsthaankaarn...diseases หมายถึง

03 สวนหน่ึงของสังคมอาจจะมีแนวคิดท่ีมองวาบุคคลท่ียังมีพฤติกรรมเส่ียงตางๆ อยูเปนเร่ืองสวนบุคคล โดยเปนสิทธิในการเลือกที่จะทำรายตนเอง หรือเกิดจากการไรความสามารถในการควบคุมตนเองที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังนั้น สังคมหรือรัฐไมควรเขาไปเกี่ยวของหรือจัดการ หรือควรจะลดการใหความชวยเหลือกลุมคนเหลานั้น อยางไรก็ตาม ทั้งโรค NCD และการมีพฤติกรรมเสี่ยงตางๆ นั้น ลวนตางก็สงผลกระทบเชิงลบภายนอกตอบุคคลรอบขางและสังคมโดยรวม และบางพฤติกรรมเส่ียงเปนไปเพราะฤทธ์ิเสพติด เชน เหลา บุหร่ี หรือเกิดจากอิทธิพลของเพ่ือน บุคคล และส่ิงแวดลอม ดังน้ัน การจัดการวิกฤต NCD และปจจัยเส่ียงหลักจึงเปนเร่ืองของทุกคนทุกภาคสวน และรัฐมีความชอบธรรมในการจัดการและควบคุมพฤติกรรมดังกลาวเพ่ือปกปองท้ังทรัพยากรบุคคลและสังคมจากโรค NCDและปญหาเก่ียวเน่ือง และรัฐควรมีหนาท่ีจัดการส่ิงแวดลอมในสังคมท้ังทางกายภาพและทางวัฒนธรรมเอ้ือตอการมีพฤติกรรมท่ีดีตอสุขภาพงายข้ึน เชน การควบคุมการขายและการทำการตลาดของสินคาทำลายสุขภาพ หรือ สรางสภาพแวดลอมที่สงเสริมการมีกิจกรรมทางกายมากขึ้น เปนตน

“พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ เชน การกินอาหารหวานมันเค็ม การสูบบุหรี่

การดื่มสุรา การขาดการออกกำลังกาย ที่เปนสาเหตุของ NCD นั้น

...สามารถแกไขไดดวยนโยบายสาธารณะที่ปรับหรือจัดการกับสิ่งแวดลอม ควบคูไปกับนโยบายใหความรู สุขศึกษา

Page 8: NCD: สถานการณ มายาคติ 03 และความเป นจริงresource.thaihealth.or.th/system/files/documents/ncdsthaankaarn...diseases หมายถึง

04 อาจจะเปนความจริงท่ีผูปวยโรค NCD จำนวนมากอาจจะไมสามารถรักษาใหหายขาดได ในขณะท่ีการปองกันและควบคุมโรค NCD ก็มีความซับซอนและยุงยากในการจัดการมากกวาปญหาสุขภาพอื่นๆ ทั้งจากความซับซอนในการเกิดปญหา การปรับเปล่ียนพฤติกรรม การมีความเก่ียวของกับผูเก่ียวของมากมาย ซ่ึงไมสามารถจัดการไดภายในขอบเขต

แนวทางการจัดการวิกฤตโรค NCD ที่มีประสิทธิผลและคุมคา คือ

การจัดการกับปจจัยเสี่ยงหลักทั้งสี่ โดยเฉพาะการลงทุน

กับมาตรการระดับประชากร เพื่อปรับเปลี่ยนสิ่งแวดลอมในสังคม

ความเชื่อที่ NCD วิกฤตที่ไมสามารถหลีกเลี่ยง

ของภาคสวนสุขภาพ แตทั้งนี้มิไดหมายความวา โรค NCD จะปองกันและควบคุมไมไดหรือไมมีทางเยียวยา รักษา ฟนฟู ผูท่ีปวยเปนโรค NCD แลว องคการอนามัยโลกไดสรุปวาแนวทางการจัดการวิกฤตโรค NCD ที่มีประสิทธิผลและคุมคา คือ การจัดการกับปจจัยเส่ียงหลักท้ังส่ี โดยเฉพาะการลงทุนกับมาตรการระดับประชากร เพื่อปรับเปลี่ยนสิ่งแวดลอมในสังคม โดยไดแนะนำใหประเทศตางๆ พัฒนากรอบนโยบายที่มีมาตรการหลากหลายโดยใหความสนใจกับกลุมมาตรการที่คุมคาที่สุด (Best Buys) และมาตรการที่คุมคา (Good Buys)3 ที่ไดรับการพิสูจนแลววามีประสิทธิผล มีความคุมคา และสามารถนำไปปฏิบัติไดในบริบทตางๆ ของโลก รวมถึงในประเทศกำลังพัฒนา ตัวอยางมาตรการดังกลาว เชน มาตรการทางดานภาษี การควบคุมการเขาถึง การควบคุมการทำกิจกรรมทางการตลาดและการโฆษณา มาตรการการใหความรูและการรณรงคสาธารณะ มาตรการในสถานที่ทำงานหรือสถานประกอบการ การจัดบริการสุขภาพท่ีเก่ียวของ เปนตน นอกจากน้ัน ยังไดมีการวิเคราะหอีกวา หากไมมีการจัดการ NCD ในวันน้ีอีก 10 ปขางหนาจะมีมูลคาการสูญเสียทั่วโลกถึง 7 ลานลานเหรียญสหรัฐ7 ในขณะที่หากมีการลงทุนตาม Best Buys คิดเปน 170 พันลานเหรียญสหรัฐ8 หรือคิดเปน 1.5 เหรียญสหรัฐตอหัวประชากรในกลุมประเทศรายไดต่ำถึงรายไดปานกลาง และยังสามารถลดอัตราการตายกอนวัยอันควรจากโรค NCD ไดถึง 2 ใน 3 จากมาตรการดังกลาว

““เอกสารอางอิง1. Disease Burden, Regional estimates for 2000-2011, Health statistics and health information systems, World Health Organization [สืบคนเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2557 จาก http://www.who.int/healthinfo/global_burden_disease/estimates_regional/en/index1.html] 2. รายงานการศึกษาภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2552, สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหวางประเทศ กระทรวงสาธารณสุข, 25553. Global status report on non-communicable diseases 2010, World Health Organization, 20114. Haustein KO., Smoking and poverty, European journal of cardiovascular prevention and rehabilitation , 2006.5. การทบทวนขอมูลปจจัยทางสังคมที่กระทบสุขภาพ, สำนักงานพัฒนาระบบขอมูลขาวสารสุขภาพ [สืบคนเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2557 จาก http://www.hiso.or.th/hiso5/analysis/analysis6_1.php?number=1 ]6. ภาวะสังคมไทยไตรมาสหนึ่ง ป 2556, สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2556 7. The Global Economic Burden of Non-communicable Diseases, Harvard School of Public Health, World Economic Forum, 2011.8. Scaling up action against noncommunicable diseases:How much will it cost?, World Health Organization, 2011

4

ขอมูลเพิ่มเติม: NCD Network อาคารคลังพัสดุ ชั้น 2 ซ.สาธารณสุข 6 กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000

เบอรโทรศัพท 02-590-2308 โทรสาร 02-590-2370