acid base1

33
สารละลายอิเล็กโตรไลต สารละลายอิเล็กโตรไลต คือ สารที่ละลายน้ํา หรือสารที่หลอมเหลวแลว สามารถนําไฟฟา ได เชน NaCl, KNO 3 และ HCl ดังนั้น สารทีไม นําไฟฟา จึงไมเปน อิเล็กโตรไลต เชน น้ําตาล และ ยูเรีย

Upload: benny-bc

Post on 22-Apr-2015

637 views

Category:

Documents


3 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: Acid base1

สารละลายอิเล็กโตรไลต

สารละลายอิเล็กโตรไลต คือ สารที่ละลายน้ํา

หรือสารที่หลอมเหลวแลว สามารถนําไฟฟา

ได เชน NaCl, KNO3 และ HCl

ดังนั้น สารที่ไมนําไฟฟา จึงไมเปน

อิเล็กโตรไลต เชน น้ําตาล และ ยูเรีย

Page 2: Acid base1

ตัวอยางสารละลายอิเล็กโตรไลต1) อิเล็กโตรไลตแก

กรด HCl HBrO3 HIO3 HClO4 HNO3 H2SO4

เกลือ เกลือสวนมาก

เบส LiOH NaOH Ba(OH)2 Ca(OH)2 Sr(OH)2

Page 3: Acid base1

2) อิเล็กโตรไลตออน

กรด HClO H2S HF H3PO4 H2CO3 HNO2

H2SO3

เบส NH3 และเบสอินทรีย

เกลือ เกลือเฮไลด ไซยาไนด และไทโอไซยาเนต

ของ Zn Cd และ Hg(II)

Page 4: Acid base1

1. นิยามของกรดและเบส

1.1 นิยามของอารเรเนียส

1.2 นิยามของบรอนสเตด-เสารี

1.3 นิยามของลิวอิส

1.4 นิยามระบบตัวทําละลาย

Presenter
Presentation Notes
กรดและเบสมีวิวัฒนาการโดยเริ่มจาก (1) ,(2)ม (3) และ (4) พบว่านิยามเหล่านี้มีความถูกต้องและใช้กันอยู่ในปัจจุบัน การเลือกใช้นิยามขึ้นอยู่กับสภาวการณ์ที่เหมาะสมกับนิยามนั้นๆ การศึกษาในระดับนี้ใช้น้ำเป็นตัวทำละลายมากที่สุด ดังนั้นจึงใช้ (2) มากที่สุด
Page 5: Acid base1

1.1 นิยามของอารเรเนียส

กรด คอื สารที่ละลายน้ํา แลว แตก

ตัวให H+ เชน

HCl H+ + Cl-

H2SO4 H+ + HSO4-

HCO3- H+ + CO3

2-

Page 6: Acid base1

เบส คือ สารที่ ละลายน้ํา แลวแตกตัวให

OH- เชน

NaOH Na+ + OH-

Ba(OH)2 Ba2+ + 2OH-

Ca(OH)2 Ca2+ + 2OH-

Page 7: Acid base1

กรดแก คอื กรดที่แตกตัวให H+ มาก

กรดออน คือ กรดที่แตกตัวให H+ นอย

เบสแก คอื เบสที่แตกตัวให OH- มาก

เบสออน คือ เบสที่แตกตัวให OH- นอย

ความแรงของกรดและเบส

Page 8: Acid base1

ปฏิกิริยาสะเทินของกรดและเบส

จะเปนปฏิกิริยาระหวาง H+ และ

OH- เกิดเปน น้ํา

Page 9: Acid base1

H+ + OH- H2O(l)

HCl + NaOH NaCl + H2O

กรด + เบส เกลือ + น้ํา

Page 10: Acid base1

ขอจํากัดของนิยามอารเรเนียส สารที่จะเปนกรดหรือเบสตองละลายนํ้าเทาน้ัน

สารที่ไมมี H+ หรือ OH- ในโมเลกุลไมจัดวาเปนกรด

หรือเบส เชน NH4Cl NH3 CH3COONa H+ จะอยูในรูป hydrate ion เสมอ เขียนแทนดวย H3O

+

เรียกวา ไฮโดรเนียมไอออน หรือ ไฮดรอกโซเนียมไอออน

Page 11: Acid base1

1.2 นิยามของบรอนสเตด-เลารี

กรด คอื สารที่ ให H+

เบส คือ สารที่ รับ H+

Page 12: Acid base1

ปฏิกิริยาระหวางกรดและเบส

เปนการเคลื่อนยายโปรตอนจาก

กรดไปยังเบส

Page 13: Acid base1

HCl(aq)+H2O(l) H3O+(aq) +Cl-(aq)

กรด1 เบส2 กรด2 เบส1

HCl และ Cl- เปน คูกรด-เบส คูที่ 1(conjugate acid-base)

H3O+ และ H2O เปน คูกรด-เบส คูที่ 2 (conjugate acid-base)

โดย

Cl- เปนคูเบส (conjugate base) ของกรด HCl

HCl เปนคูกรด (conjugate acid) ของ Cl-

และ

Page 14: Acid base1

CO32- + H2O OH- + HCO3

-

เบส1 กรด2กรด2 เบส2

NH3 + H2O NH4+ + OH-

เบส1 กรด2กรด2 เบส2

Page 15: Acid base1

H2O เปนไดทั้งกรดและเบส

สารที่เปนฝายใหและรับ H+ เรียกวา

แอมฟโปรติก (amphiprotic)

Page 16: Acid base1

ข้ึนอยูกับความสามารถในการใหและรับ H+

ความแรงของกรดและเบส

กรดแก คือ กรดที่ให H+ มาก

กรดออน คือ กรดที่ให H+ นอย

เบสแก คือ เบสที่รับ H+ มาก

เบสออน คือ เบสที่รับ H+ นอย

Page 17: Acid base1

ขอสังเกต1. สําหรับคูกรด-เบสคูหน่ึง ถากรดเปนกรดแก คูเบสจะเปน

เบสออน เชน HCl เปน กรดแก Cl- เปน เบสออน

NH3 เปน เบสออน NH4+ เปน กรดแก

2. กรดหรือเบสอาจเปนโมเลกุลหรือไอออนก็ได

3. โมเลกุลของนํ้าอาจเปนฝายใหหรือรับ H+ ก็ได

น่ันคือ นํ้าเปนแอมฟโปรติกหรือแอมโฟเทอริก

Page 18: Acid base1

คาคงที่ของสมดุล สมดุลของกรด

HA(aq)+H2O(l) H3O+(aq)+ A-(aq)

ถามี กรด HA ชนิดหน่ึง ซึ่งมีการแตกตัวดังสมการ

จะมีคาสมดุลดังน้ี

Ka = [H3O+][A-]

[HA]

เมื่อ Ka เปนคาคงทีข่องการแตกตัวของกรด

Page 19: Acid base1

สมดุลของเบส

B(aq) + H2O(l) BH+(aq) + OH-(aq)

ถามีเบส B ชนิดหน่ึง ซึ่งมีการแตกตัวดังสมการ

จะมีคาสมดุลดังน้ี

Kb = [BH+][OH-]

[B]

เมื่อ Kb เปนคาคงที่ของการแตกตัวของเบส

Page 20: Acid base1

ตัวอยางที่ 1 จงแสดงวาจากปฏิกิริยาตอไปน้ี สารใดเปนเบส

และกรดตามทฤษฎีบรอนสเตด-เลารี

KNH2+NH4Cl KCl+2NH3

จากสมการขางตนสามารถเขียนใหมในรูปสมการไอออนิก :

NH2- + NH4

+ 2NH3

เบส กรด

Page 21: Acid base1

ตัวอยางที่ 2 สารตอไปน้ี สารใดเปน กรดหรือเบสตามนิยาม

บรอนสเตด-เลารี

ก. HI ข. HNO2 ค. NH4+ ง. NH2

- จ. HCO3-

ก. HI เปน กรด

ข. HNO2 เปน กรด

ค. NH4+ เปน กรด

ง. NH2- เปน เบส

จ. HCO3- เปน กรดและเบส

Page 22: Acid base1

1.3 นิยามของลิวอิส

กรด คือ สารที่รับคู e- จากเบสได แลวเกิดพันธะโคเวเลนต

เบส คือ สารที่ใหคู e- ในการเกิดพันธะโคเวเลนต

H+ + :O-H - H-O-H....

..

..

H

H-N: + B-F H-N B-F

H

H

H

F

F

F

Fเบส กรด

Page 23: Acid base1

ส.ป.ก. ที่ธาตุมี V. e- < 8 หรือมีออรบิตอลวาง เชน BF3

AlCl3 จัดเปน กรดลิวอิส และเรียกธาตุน้ัน วา อิเล็กโตรไฟล

(Electrophile)

ส.ป.ก.หรือไอออนที่มีคู e- โดดเดีย่ว จัดเปน เบสลิวอิส

และเรียกอะตอมน้ันวา donor atom หรือนิวคลีโอไฟล

(Nucleophile) เชน O ใน OH-

N ใน NH3

Page 24: Acid base1

ในปฏิกิริยาสะเทินระหวางโลหะออกไซด เชน

:O:2- + S-O: :O S-O:..

....

..

O:

:O:

..

..

O:

:O:

..

..

2-

Page 25: Acid base1

ตัวอยางท่ี 3 สารตอไปน้ีสารใดเปนกรดตามนิยามของลิวอิส

NH4+ CH3

+ BCl3 Fe2+ H2S

ตอบ CH3+ BCl3 Fe2+

Page 26: Acid base1

1.4 นิยามระบบตวัทําละลายกรด คือ สารที่ใหไอออนบวกของตัวทําละลาย (ไอออนกรด)

เบส คือ สารที่ใหไอออนลบของตัวทําละลาย (ไอออนเบส)

กรด HCl ในตัวทําละลาย HC2H3O2:

HCl + HC2H3O2 H2C2H3O2+ + Cl-

กรด ตัวทําละลาย ไอออนกรดของ

ตัวทําละลาย

Page 27: Acid base1

NaC2H3O2 ในตัวทําละลาย HC2H3O2 :

NaC2H3O2+ HC2H3O2 C2H3O2-+ Na+ + HC2H3O2

เมื่อกรดและเบสทําปฏกิิริยากันใน HC2H3O2 :

H2C2H3O2+ + C2H3O2

- 2 HC2H3O2

Page 28: Acid base1

ตัวอยางตัวทําละลายที่ใชในระบบตัว

ทําละลาย เชน H2O NH3 HC2H3O2

SO2 เปนตน

Page 29: Acid base1

2. ปจจัยที่มีผลตอความแรงของกรดและเบส

กรดไฮโดร

- คาบเดียวกัน

ความแรง Z EN

เชน NH3> H2O> HF- หมูเดียวกัน

ความแรง Z

HF<HCl<HBr<HI

H2O<H2S<H2Se<H2Te

เชน

Page 30: Acid base1

กรดออกซี (H-O-Z) ความแรง ENZ

ถาเปนกรดออกซีของอโลหะตัวเดียวกัน :

ความแรง จํานวน O-atom Oxidation number

HClO<HClO2<HClO3<HClO4

Page 31: Acid base1

เบส- คาบเดียวกัน

ความแรง EN

เชน NH3 > H2O > HF

NH2- > OH-> F-

ความแรง จํานวนประจุ

เชน N3- > O2- > F-

N3- > NH2- > NH2- > NH3

Page 32: Acid base1

Leveling effectเปนปรากฏการณที่ตัวทําละลายบดบังความแรงของ

กรดและเบสตางๆ

HCl + H2O H3O+ + Cl-

HNO3 + H2O H3O+ + NO3

-

HClO4 + H2O H3O+ + ClO4

-

กรดในนํ้า :

Page 33: Acid base1

นั่นคือ เกิด leveling effect ของ น้ํา

น้ํา เปน leveling solvent