project approach หมายถึง … ·...

29
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง หลักการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงาน (Project Approach) หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่เปิดโอกาสได้ทาการศึกษาค้นคว้าและ ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถความถนัดและความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการต่าง ๆ ตามธรรมชาติของสาขาวิชาที่เรียนเพื่อศึกษาหาคาตอบในต่าง ๆที่สนใจเช่นโครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานอาชีพ โครงงานภาษาไทย โครงงาน คณิตศาสตร์ โครงงานภาษาอังกฤษ โครงงานคอมพิวเตอร์ นักเรียนจึงสามารถปฏิบัติ โครงงานได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ ที่นามาใช้ทาโครงงานมีทั้งทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการ แก้ปัญหาในการทางานกระบวนการสืบค้นหรือกระบวนการอื่น ใดที่ทาให้ได้คาตอบหรือผลงานตามวัตถุประสงค์ ของโครงงาน การทาโครงงานต่าง ๆของนักเรียนผู้ที่มีบทบาทสาคัญในการส่งเสริมให้การทาประสบผลสาเร็จคือ ครูที่ปรึกษาโครงงานซึงเป็นครูผู้สอนในรายวิชานั้น ๆนอกจากครูผู้สอนแล้วนักเรียนยังสามารถเชิญผู้รู้อื่น ๆ ในชุมชนหรือในท้องถิ่นที่มีความสนใจ ทั้งครูภูมิปัญญาและปราชญ์ชาวบ้านมาเป็นที่ปรึกษาเมื่อมีที่ปรึกษา โครงงานแล้ว หน้าที่ของนักเรียนคือ ขอคาปรึกษาตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษาวางแผนดาเนินการ กาหนด ขั้นตอนการดาเนินงานและการนาเสนอผลงาน การทาโครงงานอาจทาเป็นรายบุคคล ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคม และมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว เป็นเรื่องยากที่คอยติดตามความก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา การศึกษาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีขึ้น เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในวิทยาการคอมพิวเตอร์ และมีความสามารถในการพัฒนา โปรแกรมได้ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ทาให้ผู้เรียน สามารถบรรลุเป้าหมายนี้ได้อย่างสมบูรณ์ จุดมุ่งหมายที่สาคัญประการหนึ่งของการเรียน การสอน คอมพิวเตอร์ ในโรงเรียน คือการที่ผู้เรียนได้มีโอกาสนา ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเอง ซึ่ง วิธีการที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่งคือการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ในการศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อนาผลงานที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง หรือเพื่อใช้ช่วย สร้างสื่อเสริมการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ทีช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้งเครื่องมือต่าง ๆในการ แก้ปัญหา รวมท้งการพัฒนาเจตคติในการสร้างผลงาน โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ผู้เรียนสามารถ ศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่ต้องใช้ความรู้ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาผสมผสานกันซึ่งบางโครงงาน อาจต้องใช้ความรู้อื่น ๆ มาร่วมด้วย โดยผู้เรียนจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรมหรือ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน โครงงานบางเรื่องอาจต้องการวัสดุอุปกรณ์ นอกเหนือจากที่มีอยู่ ซึ่งผู้เรียนจะต้องพัฒนาขึ้น หรือดัดแปลงเพื่อให้ใช้งานได้ตรงกับความต้องการ โดยในการ พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์จะอยู่ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ

Upload: lytu

Post on 19-May-2018

225 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง หลักการท าโครงงานคอมพิวเตอร์

ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงาน (Project Approach) หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่เปิดโอกาสได้ท าการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิ บั ติ ด้ วยตน เองตามความสามารถความถนั ดและความสนใจ โดยอาศั ยกระบวนการต่ าง ๆ ตามธรรมชาติของสาขาวิชาที่เรียนเพ่ือศึกษาหาค าตอบในต่าง ๆที่สนใจเช่นโครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานอาชีพโครงงานภาษาไทย โครงงาน คณิตศาสตร์ โครงงานภาษาอังกฤษ โครงงานคอมพิวเตอร์ นักเรียนจึงสามารถปฏิบัติโครงงานได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ ที่น ามาใช้ท าโครงงานมีทั้ งทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการแก้ปัญหาในการท างานกระบวนการสืบค้นหรือกระบวนการอ่ืน ใดที่ท าให้ได้ค าตอบหรือผลงานตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน การท าโครงงานต่าง ๆของนักเรียนผู้ที่มีบทบาทส าคัญในการส่งเสริมให้การท าประสบผลส าเร็จคือ ครูที่ปรึกษาโครงงานซึงเป็นครูผู้สอนในรายวิชานั้น ๆนอกจากครูผู้สอนแล้วนักเรียนยังสามารถเชิญผู้รู้ อ่ืน ๆ ในชุมชนหรือในท้องถิ่นที่มีความสนใจ ทั้งครูภูมิปัญญาและปราชญ์ชาวบ้านมาเป็นที่ปรึกษาเมื่อมีที่ปรึกษาโครงงานแล้ว หน้าที่ของนักเรียนคือ ขอค าปรึกษาตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษาวางแผนด าเนินการ ก าหนดขั้นตอนการด าเนินงานและการน าเสนอผลงาน การท าโครงงานอาจท าเป็นรายบุคคล

ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคม และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เป็นเรื่องยากที่คอยติดตามความก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา การศึกษาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีขึ้น เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในวิทยาการคอมพิวเตอร์ และมีความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมได้ การจัดท าโครงงานคอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ท าให้ผู้เรียน สามารถบรรลุเป้าหมายนี้ได้อย่างสมบูรณ์ จุดมุ่งหมายที่ส าคัญประการหนึ่งของการเรียน การสอน คอมพิวเตอร์ ในโรงเรียน คือการที่ผู้เรียนได้มีโอกาสน าความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่งคือการท าโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อ่ืน ๆ ในการศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่าง ๆ เพ่ือน าผลงานที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง หรือเพ่ือใช้ช่วยสร้างสื่อเสริมการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้งเครื่องมือต่าง ๆในการแก้ปัญหา รวมทั้งการพัฒนาเจตคติในการสร้างผลงาน โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ผู้เรียนสามารถศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่ต้องใช้ความรู้ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาผสมผสานกันซึ่งบางโครงงานอาจต้องใช้ความรู้ อ่ืน ๆ มาร่วมด้วย โดยผู้เรียนจะต้องวางแผนการด าเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพ้ืนฐานในการพัฒนาโครงงาน โครงงานบางเรื่องอาจต้องการวัสดุอุปกรณ์นอกเหนือจากที่มีอยู่ ซึ่งผู้เรียนจะต้องพัฒนาขึ้น หรือดัดแปลงเพ่ือให้ใช้งานได้ตรงกับความต้องการ โดยในการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์จะอยู่ภายใต้การดูแลและให้ค าปรึกษาของผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ

โครงงานคอมพิวเตอร์ จึงหมายถึง กิจกรรมที่ผู้ เรียนศึกษาตามความสนใจ โดยใช้ทักษะและประสบการณ์ด้านคอมพิวเตอร์และการใช้ซอฟต์แวร์ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยนักเรียนต้อง วางแผนการ ด าเนินงาน ศึกษาและพัฒนาโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องเพ่ือให้ได้ค าตอบหรือผลงานตามต้องการอย่างมีขั้นตอน

โครงงานคอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา ควรเป็นประเด็นหรือปัญหาที่ผู้เรียนสนใจ และสามารถใช้ความรู้ ทักษะ ตลอดจนประสบการณ์ในระดับของผู้เรียน เพ่ือคิดแนวทางในการแก้ปัญหาและพัฒนาโปรแกรม อย่างไรก็ตาม เรื่องที่ผู้เรียนสนใจนั้นอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่ได้เคยค้นคว้าและพัฒนามาแล้ว แต่ผู้เรียนก็ยังสามารถท าโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ เพียงแต่คิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพ่ิมเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ กิจกรรมที่จัดว่าเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ควรมีองค์ประกอบหลักดังต่อไปนี้

1. เป็นกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับซอฟต์แวร์ และ / หรือ ฮาร์ดแวร์ 2. ผู้เรียนเป็นผู้ริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษา ค้นคว้า พัฒนา ด้วยตนเองตามความสนใจและระดับ

ความรู้ความสามารถ 3. ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า ตลอดจนการพัฒนา เก็บรวบรวมข้อมูล หรืประดิษฐ์คิดค้น

รวมทั้งการสรุปผล และการเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีผู้สอน ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้ค าปรึกษา

การท าโครงงานคอมพิวเตอร์ในแต่ละเรื่องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายในการพัฒนาไม่เท่ากัน ตั้งแต่เรื่องง่ายไปจนถึงเรื่องที่ยุ่งยากซับซ้อน ผู้เรียนจึงควรเลือกท าโครงงานที่เหมาะสมกับระดับความรู้ความสามารถความสนใจ และงบประมาณของผู้เรียน โดยทั่วไปการท าโครงงานคอมพิวเตอร์จัดเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ของทุกระดับการศึกษา โดยอาจจะท าเป็นกลุ่มหรือท าเป็นรายบุคคล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้เรียนแต่ละคนแต่ละกลุ่มเป็นส าคัญ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์มีความหลากหลายทั้ง ในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และประโยชน์หรือผลงานที่ได้ โครงงานคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ในทีน่ี้แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ

1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media Development) ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพ่ือการศึกษาโดย

การสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และค าถามค าตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพ่ือใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพ่ือการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่าง ๆ ที่มีผลต่อการช ากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่ส าคัญของประเทศไทย เป็นต้น

2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพ่ือพัฒนาเครื่องมือช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ใน

รูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็นต้น ส าหรับซอฟต์แวร์เพ่ือการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลค า ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์การวาดรูป พัฒนาขึ้นเพ่ืออ านวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปได้โดยง่าย ส าหรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้ส าหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์ค านวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ เพ่ือพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก

3. โครงงานจ าลองทฤษฎี (Theory Simulation) โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการจ าลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ

ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ท าต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจ าลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือค าอธิบาย พร้อมทั้งการจ าลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะท าให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การท าโครงงานประเภทนี้มีจุดส าคัญอยู่ที่ผู้ท าต้องมีความรู้ในเรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดีตัวอย่างโครงงานจ าลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น

4. โครงงานประยุกต์ใช้งาน (Application) โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพ่ือประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจ าวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์ส าหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์ส าหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์ส าหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วน าข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการท างานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ ผู้ เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง

5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) โครงงานพัฒนาเกมเป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพ่ือความรู้ และ ความเพลิดเพลิน เช่นเกมหมากรุก เกมทายค าศัพท์ และเกมการค านวณเลข เป็นต้น ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพ่ือฝึกความคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพ่ือให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ท าการส ารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ

เกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และน ามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพ่ือให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ

การจัดท าโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น ผู้เรียนควรมีความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการท างานของเครื่องคอมพิวเตอร์ หลักการที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรม และการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มท าโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ในโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยในการท าโครงงานผู้เรียนอาจจะมีโอกาสได้ท าความรู้จักกับความรู้ใหม่เพ่ิมเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design) และการสืบค้นข้อมูล (Information Retrieval) เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่ผู้เรียนเลือกท าโครงงาน

ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์

หัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่อาจนาไปสู่แนวคิดในการเลือกเรื่อง เพื่อจัดท าโครงงาน

คอมพิวเตอร์ การเลือกหัวข้อเรื่องโครงงานขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้เรียน การตั้งชื่อเรื่องต้องให้มีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่องและมีความเฉพาะเจาะจง ตัวอย่างหัวข้อโครงงานต่อไปนี้เป็นตัวอย่างที่ยกมาแสดงเพ่ือให้เห็นขอบข่ายของเรื่องต่าง ๆ ที่ผู้เรียนสามารถคิดทาโครงงานได ้

ตัวอย่างโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media Development) 1. สารานุกรมไทยฉบับมัลติมีเดีย 2. สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล 3. พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย 4. โปรแกรมช่วยสอนการถ่ายภาพ 5. 76 จังหวัดของไทย 6. โปรแกรมช่วยสอนการทางานของทรานซิสเตอร์ 7. คอมพิวเตอร์สอนพิมพ์ดีด 8. ยาไทยและยาจีน 9. สูตรขนมไทยอร่อยทั่วโลก

ตัวอย่างโครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) 1. โปรแกรมการค้นหาค าภาษาไทย 2. โปรแกรมอ่านอักษรไทย 3. โปรแกรมวาดภาพสามมิติ 4. โปรแกรมเข้าและถอดรหัสข้อมูล 5. โปรแกรมบีบอัดข้อมูล 6. โปรแกรมประมวลผลคาไทยบนระบบปฏิบัติการลีนุกซ์

7. โปรแกรมการออกแบบผังงาน 8. พอร์ตแบบขนานของไทย 9. การส่งสัญญาณควบคุมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

ตัวอย่างโครงงานจ าลองทฤษฎี (Theory Simulation) 1. การทดลองปัจจัยต่าง ๆ ในการเลี้ยงปลานิลด้วยคอมพิวเตอร์ 2. การทดลองปัจจัยต่าง ๆ ในการเพาะปลูกแก้วมังกรด้วยคอมพิวเตอร์ 3. การท านายอุณหภูมิจากข้อมูลที่ผ่านมา 4. การทดลองผสมสารเคมีต่าง ๆ ด้วยคอมพิวเตอร์ 5. ปัจจัยต่าง ๆ กับการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน 6. ผลการปลูกข้าวในสภาวะแวดล้อมท่ีต่างกัน 7. การเปรียบเทียบเทคนิคของการย่อขนาดแฟ้มข้อมูล 8. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดเบื้องต้น 9. โปรแกรมจาลองการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

ตัวอย่างโครงงานประยุกต์ใช้งาน (Application) 1. ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียนของโรงเรียน 2. ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่วนบุคคล 3. ระบบจองตั๋วรถไฟบนอินเทอร์เน็ต 4. ระบบแนะนาเส้นทางเดินรถประจ าทาง 5. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสาหรับคนตาบอดบนรถประจ าทาง 6. โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ 7. โฮมเพจส่วนบุคคล 8. โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ตัวอย่างโครงงานพัฒนาเกม (Game Development) 1. เกมผจญภัยกับพระอภัยมณี 2. เกมอักษรเขาวงกต 3. เกมเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4. เกมผจญภัยกับภาษาอังกฤษ 5. เกมหมากฮอส 6. เกมบวกลบเลขแสนสนุก 7. เกมศึกรามเกียรติ์ 8. เกมมวยไทย 9. เกมอักษรไขว้

ประโยชน์ของโครงงานคอมพิวเตอร์ การท าโครงงานและการจัดงานแสดงโครงงานคอมพิวเตอร์จะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้ผู้เรียนมีความรู้

ความช านาญ และมีทักษะในการน าระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองดังที่ได้กล่าวมาแล้ว และยังมีคุณค่าอ่ืน ๆ อีกดังต่อไปนี้

เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง

เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่ผู้เรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ

ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน

กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจในการศึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้

ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์

สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีที่เก่ียวข้องมากขึ้น

สร้างส านึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง

ช่วยให้สามารถน าความรู้ ความช านาญ และทักษะในการน าระบบคอมพิวเตอร์ไปในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น และแก้ปัญหาด้วยตนเอง

วิธีด าเนินการท าโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ต้องท าอย่างต่อเนื่องหลายขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนจะมี

ความส าคัญต่อโครงงานนั้น ๆ การแบ่งข้ันตอนของการท าโครงงานอาจแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงานและการวางแผนการท าโครงงาน ในที่นี้จะแบ่งการท าโครงงานออกเป็น 6 ขั้นตอนดังนี้

1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะท า โดยทั่วไปเรื่องท่ีจะน ามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา ค าถาม หรือความสนใจ

ในเรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ผู้เรียนสามารถจะศึกษาการได้มา ของเรื่องที่จะท าโครงงานจากตัวอย่างต่อไปนี้

สุดา ช่วยงานคุณพ่อซึ่งเป็นคุณหมอที่คลินิกรักษาโรคทั่วไป สังเกตเห็นว่าเมื่อคนไข้เก่ามาจะต้องมีการค้นหาประวัติคนไข้ ซึ่งเก็บไว้ในตู้เอกสารซึ่งมีปริมาณมาก ท าให้เสียเวลาค่อนข้างมาก กว่าจะหาพบ และตู้เอกสารยังใช้เนื้อที่ในร้านค่อนข้างมาก อีกด้วย ดังนั้นสุดาจึงเสนอท าโครงงาน "ระบบจัดการข้อมูลของคลินิกรักษาโรคทั่วไป" เพ่ือพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ในการจัดเก็บข้อมูลคนไข้ท้ังหมดไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพ่ือเป็นการประหยัดเนื้อที่ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล และประหยัดเวลาในการค้นหาข้อมูลคนไข้

สมานเป็นผู้เรียนที่ชอบวิชาฟิสิกส์เป็นอย่างมาก มักจะได้รับการขอร้องจากเพ่ือนๆ ให้ทบทวนเนื้อหาต่างๆ ให้เพ่ือนๆ ฟังอยู่เสมอ ซึ่งเมื่อสมานได้เรียนวิชาการเขียนโปรแกรมแล้ว เกิดความคิดขึ้นว่าถ้าเขาสร้างโปรแกรม ช่วยสอน

ส าหรับวิชาฟิสิกส์ขึ้นมา ให้เพ่ือนๆ ได้ใช้ คงจะเป็นเครื่องมือเป็นอย่างดีในการท าให้เพ่ือนๆ เข้าใจเนื้อหาได้ชัดเจนขึ้น ดังนั้นสมานจึงเสนอโครงงานเรื่อง "โปรแกรมช่วยสอนเรื่องการเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์"

จิราภรณ์, ทิพนาฎ และธิติกร ได้ทาโครงงานเรื่อง “โปรแกรมสร้างแบบทดสอบการเรียนการสอนบนอินเทอร์เน็ต” เกิดจากการที่ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทในวงการศึกษามากขึ้น ท าให้เกิด การเรียนรู้อันหลากหลาย ซึ่งไม่ได้จ ากัดอยู่เพียงห้องเรียน ไม่จ ากัดผู้เรียน กระบวนการเรียนรู้ใน บางเนื้อหาวิชามีความจ าเป็นที่จะต้องมีการทดสอบ กระบวนการวิเคราะห์ผลจึงควรจะต้องมี จึงได้คิดวิชาความรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตขึ้น

สังเกตได้ว่าเรื่องหรือปัญหาที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่าง ๆ กัน ดังนี้ ก. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่าง ๆ ข. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ ค. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความ

คิดเห็นระหว่างเพ่ือนผู้เรียนหรือกับบุคคลอื่น ๆ ง. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน จ. งานอดิเรกของผู้เรียน ฉ. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ อย่างไรก็ตาม ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะน ามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณา

องค์ประกอบส าคัญๆ ดังนี้ ก. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา ข. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เก่ียวข้องได้ ค. มแีหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา ง. มีเวลาเพียงพอ จ. มีงบประมาณเพียงพอ ฉ. มีความปลอดภัย

2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล

ซึ่งรวมถึงการขอค าปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการก าหนดขอบเขต ของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพ่ิมเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนด าเนินการท าโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระส าคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลที่ส าคัญอีกแหล่งหนึ่งคือ การศึกษาผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิ ท รรศการ ห รือจาก เอกสารราย งาน โครงงานคอม พิ ว เตอร์ ซึ่ งอ าจค้ นห าได้ จ าก เว็บ ไซต์ ต่ า งๆ ทั่วโลก จะช่วยเพ่ิมพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังท าให้เกิดแนวคิดท่ีจะดัดแปลงผลงานดังกล่าว มาจัดท าโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนสนใจด้วย ในการศึกษาและวิเคราะห์โครงงานคอมพิวเตอร์หรือปัญหาพิเศษต่าง ๆ มีประเด็นที่ต้องพิจารณา ดังนี้

ก. มูลเหตุจูงใจ และเป้าหมายในการท าโครงงาน ข. การด าเนินการพัฒนา

1) วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งรวมถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้ในการด าเนินการ และ ตัวแปลภาษา โปรแกรมท่ีต้องใช้

2) ความต้องการของผู้ใช้และคุณลักษณะของผลงาน (Requirement and Specification) 3) กลุ่มผู้ทดลองใช้โครงงานและวิธีการประเมินผล 4) วิธีการพัฒนา 5) ข้อสรุปของโครงงาน 6) ความแปลกใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ของผู้ท าโครงงาน 7) แนวทางในการปรับปรุงหรือขยายการทดลองจากงานเดิม

ผลที่ได้จากการดาเนินงานขั้นตอนนี้ จะช่วยให้ได้แนวคิดในการก าหนดขอบข่ายหรือเค้าโครงของเรื่องที่จะศึกษาชัดเจนว่า

จะท าอะไร

ท าไมต้องท า

ต้องการให้เกิดอะไร

ท าอย่างไร

ใช้ทรัพยากรอะไร

ท ากับใคร

เสนอผลอย่างไร 3. การจัดท าข้อเสนอโครงงาน

ในการท าโครงงานคอมพิวเตอร์ ผู้เรียนจ าเป็นต้องก าหนดกรอบแนวคิดและวางแผนการพัฒนาล่วงหน้า เพ่ือจะช่วยให้ สามารถคาดการณ์ความเป็นไปได้ของการท าโครงงานนั้น และสามารถนาไปขอค าปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง โดยทั่วไป

การท าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนที่ส าคัญดังนี้ 3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3.2 วิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือก าหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงานที่จะพัฒนา 3.3 ออกแบบการพัฒนา มีการก าหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษา โปรแกรม

และวัสดุต่าง ๆ ที่ต้องใช้ ก าหนดคุณลักษณะของผลงาน ระบุเทคนิคที่ใช้ในการพัฒนา พร้อมทั้งก าหนดตารางการปฏิบัติงาน

3.4 ท าการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพ่ือศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะท าการพัฒนาส่วน ย่อย ๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว น าผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ ในครั้งแรกให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น

3.5 จัดท าและเสนอข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพ่ือขอค าแนะน าและปรับปรุงแก้ไข ทั้งนี้เพราะในการวางแผนการศึกษาพัฒนา ผู้เรียนอาจจะคิดได้ไม่ครอบคลุมทุก ด้าน เนื่องจากยังมีประสบการณ์น้อย ดังนั้นผู้เรียนจึงควรถ่ายทอดความคิดของตนเองที่ได้ ศึกษาและบันทึกไว้ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาทราบ เพ่ืออาจารย์จะได้ แนะนาในส่วนที่ยังบกพร่องอยู่ ทั้งนี้เพ่ือให้ การวางแผนและดาเนินการท าโครงงาน เป็นไปอย่างเหมาะสมเป็นขั้นตอนตั้งแต่ เริ่มต้นจนโครงงานส าเร็จ

4. การลงมือท าโครงงาน เมื่อข้อเสนอโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดท าโครงงานได้

ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่า 50% ขั้นต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้ 4.1 การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอ่ืน ๆ ที่จะใช้ในการทดลอง พร้อม

ทั้งจัดเตรียมสถานที่ส าหรับใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ ส าหรับบันทึกการท ากิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างท าโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่าง ๆ ที่พบ

4.2 การลงมือพัฒนา - ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพ่ิมเติมได้ถ้าพบว่าจะ

ช่วยท าให้ผลงานดีขึ้น - จัดระบบการท างานโดยทาส่วนที่เป็นหลักส าคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยท าส่วนที่เป็น

ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพ่ือให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันท าให้ท าความตกลงในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย

- พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน - ค านึงถึงความประหยัด ความปลอดภัย และระยะเวลาในการทางาน

4.3 การตรวจสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจ าเป็น เพ่ือให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นท างานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และท าด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย

4.4 การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดท าสรุปด้วยข้อความที่สั้น กะทัดรัดอย่างครอบคลุมเพ่ือช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการท าโครงงาน และท าการอภิปรายผลด้วย เพ่ือพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับน าไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการน าหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย

4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อท าโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้เรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่ส าคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและ/หรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้

5. การเขียนรายงาน เมื่อท าโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและท าการวิเคราะห์ผล และสรุปผลแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่ต้องท าคือการจัดท ารายงาน ซึ่งจะรวมถึงรายละเอียดต่าง ๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งาน รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือให้ผู้อ่ืนได้เข้าใจแนวคิด วิธีด าเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่านและเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่าง ๆให้ครบถ้วนตามรูปแบบที่ก าหนด

6. การน าเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่ส าคัญ อีกขั้นตอนหนึ่งของการท าโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลของความคิด ความพยายามในการท างานที่ผู้ท าโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ท าให้ผู้อ่ืนได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจท าได้ในหลายรูปแบบต่าง ๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ การรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น

เรื่อง รูปแบบการท าโครงงานคอมพิวเตอร์

ส่วนประกอบ 1. ปกหน้า (สีเหลือง) สันปกสีด า 2. รองปก (กระดาษ A4) 3. เกี่ยวกับโครงงาน (ก) 4. กิตติกรรมประกาศ (ข) 5. บทคัดย่อ (ค) 6. สารบัญ 7. บทที่ 1 บทน า 8. บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เก่ียวข้อง (ให้สืบค้นจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต) 9. บทที่ 3 วิธีการจัดท าโครงงาน 10. บทที่ 4 ผลการศึกษา 11. บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ 12. บรรณานุกรม 13. ภาคผนวก 14. ข้อมูลผู้จัดท า (รูปภาพ , ชื่อ – นามสกุล , อายุ , ที่อยู่ , เบอร์โทรศัพท์) 15. กระดาษ A4 ติดซองใส่ CD โครงงาน 16. รองปกหลัง (กระดาษ A4) 17. ปกหลัง (สีเดียวกับปกหน้า)

โครงงานคอมพิวเตอร์

เรื่อง.......................................................

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

จัดท าโดย

1……………………………………………………………......................เลขที่.......... 2……………………………………………………………......................เลขที่.......... 3……………………………………………………………......................เลขที่.......... 4……………………………………………………………......................เลขที่..........

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่...............

เสนอ

นายฐปนวัฒน์ ชูกลิ่น

รายวิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น รหัสวิชา ง 23101

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช อ าเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12

เกี่ยวกับโครงงาน

โครงงานคอมพิวเตอร์

เรื่อง................................................................................................

กลุ่มสาระการเรียนรู้.........................................................................

ผู้จัดท า 1………………………………………………………………………………..เลขที่..............

2………………………………………………………………………………..เลขที่..............

3………………………………………………………………………………..เลขที่..............

ครูที่ปรึกษา 1………………………………………………………………………………..

สถานศึกษา โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12

ปีการศึกษา 2559

ตัวหนังสือ TH SarabunPSK ขนาด 16

กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้ส าเร็จได้

ด้วย……………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………… ท้ายสุดนี้ผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาการ……………………………….. ……………………..ของผู้สนใจต่อไป

คณะผู้จัดท า

บทคัดย่อ

การจัดท าโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1)………………………………………………………………………………

สร้าง………………………………………………………………(2) ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้าง.................................(3) ศึกษาการจัดท าโครงงานคอมพิวเตอร์ ผลการศึกษาและจัดท าโครงงานพบว่า……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

สารบัญ

เรื่อง หน้า เกี่ยวกบัโครงงาน ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดย่อ ค บทที่ 1 บทน า

- ที่มาและความส าคัญของโครงงาน - วัตถุประสงค์ - ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า

บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีการจัดท าโครงงาน

- วัสดุและอุปกรณ์ - วิธีการจัดท าโครงงาน

บทที่ 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ

- สรุปผลการศึกษา - ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน - ข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม ภาคผนวก ข้อมูลผู้จัดท า

บทที่ 1 บทน า

ที่มาและความส าคัญของโครงงาน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

วัตถุประสงค์ 1. สร้าง……………………………………………………………. 2. ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้าง……………………………. 3. ศึกษาการจัดท าโครงงานคอมพิวเตอร์

ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

บทที่ 2

เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดท าโครงงานคอมพิวเตอร์ กลุ่มของข้าพเจ้าได้…………………………..............................................

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เอกสารที่เกี่ยวข้อง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… โครงงานที่เก่ียวข้อง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(บทท่ี 2 อาจมีข้อมูลมากกว่า 20 หน้า)

บทที่ 3 วิธีการจัดท าโครงงาน

วัสดุและอุปกรณ์

วัสดุและอุปกรณ์ท่ีใช้ในการจัดท าโครงงานได้แก่ 1. 2. 3. 4. 5.

วิธีการจัดท าโครงงาน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

บทที่ 4 ผลการศึกษา

จากการศึกษาการสร้าง………………………………ในการจัดท าโครงงานครั้งนี้ ผู้จัดท าได้……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ

สรุปผลการศึกษา จากการจัดท าโครงงานพบว่า……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตัวอย่าง บรรณานุกรม

กฤษมันต ์ วัฒนาณรงค.์ การออกแบบบนจอภาพคอมพิวเตอร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พัฒนเทคนิคศึกษา,

2539. แมนสรวง แซ่ซิม้. ความรู้เกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม Macromedia Flash. (ออนไลน์).

แหล่งที่มา : http://mansuang1978.spaces.live.com. 2552. ____________. การสร้างสือ่การเรยีนรู้ด้วย Flash CS3. (ออนไลน์).

แหล่งที่มา : http://mansuang1978.spaces.live.com. 2552. ____________. การสรา้งแบบฝึกหัดแบบจับคู่. (ออนไลน์).

แหล่งที่มา : http://mansuang1978.spaces.live.com. 2552.

ภาคผนวก

ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ภูมิศาสตร์ และระบบจัดการร้านอาหาร (ภาษาอังกฤษ) Restaurant with Landscape สาขาของงานวิจัย โปรแกรมเพ่ือการประยุกต์ใช้งาน ชื่อผู้ท าโครงงาน

1. นายเบญจรงค์ กัลยานมิตตา 2. นางสาวธวัลรัตน์ อังคประเสริฐกุล โรงเรียนระยองวิทยาคม

ชื่ออาจารย์ท่ีปรึกษา นายชนารัตน์ ค าอ่อน ชื่ออาจารย์ท่ีปรึกษาร่วม นางอัจฉรา รัตนวงษ์ ระยะเวลาด าเนินงาน 4 เดือน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน

1. แนวคิด ที่มา และความส าคัญ การประกอบธุรกิจเป็นการหารายได้เลี้ยงชีพอย่างหนึ่ง ในบรรดาประเภทของธุรกิจทั้งหลายนั้น ธุรกิจ

ร้านอาหารเห็นจะมีความโดดเด่นพิเศษกว่าธุรกิจประเภทอ่ืน ๆ ด้วยรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ของอาหาร จึงท าให้ธุรกิจประเภทนี้มีการแข่งขันที่สูงมากไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันในด้านรสชาติ การบริการที่ประทับใจ บรรยากาศ ความสะดวกรวดเร็วในการบริการ ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการด าเนินธุรกิจร้านอาหารทั้งสิ้น ยิ่งเราก าลังอยู่ในยุคที่ เทคโนโลยี เจริญก้าวหน้า ยุคแห่ งข้อมูลข่าวสาร หากเราน าเทคโนโลยีที่ ถูกพัฒนาขึ้นบางตัว มาประยุกต์ใช้ให้ เข้ากับกิจการร้านอาหารของเรา ก็จะทาให้การจัดการในธุรกิจร้านอาห ารของเราดีขึ้น ซึ่งโปรแกรมนี้ ผู้ประกอบการ สามารถน าเข้าภาพที่ออกแบบรูปของสถานที่ร้านอาหารมาใช้ใน Programได้ รวมทั้งสามารถ เพ่ิม, ลด, แก้ไข ต าแหน่ง สี ขนาด จ านวนคน รูปร่าง ของโต๊ะในร้านอาหาร ทราบเมนูที่ลูกค้าสั่งและเสิร์ฟได้ถูกต้อง ทันตามความต้องการ ทั้งยังมีระบบการจัดการรายได้ เช่น สามารถตรวจสอบยอดเงินที่ต้องชาระของลูกค้าแต่ละโต๊ะได้อย่างรวดเร็ว และยังมีตารางข้อมูลรายได้ของยอดเงินในแต่ละวัน และรายชื่ออาหาร ซึ่งจะทาให้ การรวมยอดขายในแต่ละวันง่ายขึ้น มีความสะดวกสบายมากข้ึนในการรวมยอดขายในแต่ละวัน

2. วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือนาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน 2. เพ่ือให้การจัดการในร้านอาหารดีขึ้น 3. เพ่ือสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล 4. เพ่ือต้องการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้ประโยชน์ได้ในร้านอาหารอย่างมีคุณภาพ

3. หลักการและทฤษฎี ภูมิศาสตร์ และระบบจัดการร้านอาหาร” นี้มีโครงสร้างพ้ืนฐานเป็นโปรแกรม ซึ่งสามารถพัฒนาโดยใช้

โปรแกรม Delphi 7.0 เป็นหลักที่มีการประยุกต์เอาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Pascal ที่นามาสร้างเป็นระบบจัดการร้านอาหารที่มีคุณสมบัติในการช่วยงานในภัตตาคารอาหารได้ เช่น การวางโต๊ะอาหารในหน้าต่างด้านซ้ายของโปรแกรมที่เกี่ยวกับสถานที่ร้านอาหาร และแสดงสถานะของโต๊ะ รวมทั้งสรุปยอดเงิน จานวนโต๊ะในแต่ละวันทางหน้าต่างด้านซ้าย ทั้งยังมีปุ่มเชื่อมโยงไปยัง Form อีก Form ที่มีตารางบัญชีของทั้งในแต่ละวัน และแต่ละเดือนได้อีกด้วย

4. วิธีด าเนินงาน เทคโนโลยีที่ใช้ โปรแกรมนี้จะมี 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ

- Input ซึ่งรับค่ามาจาก mouse และ keyboard แล้วนามาประมวลผลส่งต่อไปยังตัวโปรแกรม - Output แสดงผลออกมาทางหน้าจอ monitor

เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา - Delphi 7.0 - Photoshop CS - Macromedia Flash MX

รายละเอียดของโปรแกรมท่ีพัฒนา “ภูมิศาสตร์ และระบบจัดการร้านอาหาร (Restaurant with Landscape)” จัดเป็นโปรแกรมในประเภท

โปรแกรมเพ่ือการประยุกต์ใช้งาน ซึ่งโปรแกรมนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ข้าง โดยข้างซ้ายที่มีขนาดใหญ่กว่าจะเป็น ภูมิศาสตร์ของร้านอาหารที่จะวาดด้วยโปรแกรมอะไรก็ได้แล้วจะมีปุ่มให้ Add ภาพลงไปได้ หรือจะถ่ายรูปจริง จากด้ า น บ น ที่ สู ง แ ล้ ว ต ก แ ต่ ง แ ล้ ว น า Add เข้ า ม า โด ย จ ะ ส ร้ า ง Component ที่ ส า ม า ร ถ ล าก โต๊ ะ มาวางบนหน้าจอได้ ทั้งยังเมื่อคลิกเข้าไปแล้วก็สามารถเข้าไปเปลี่ยนแปลงเบอร์โต๊ะ ขนาดโต๊ะ (ไม่จ าเป็นต้องใส่ตรงตามความจริงก็ได้ เพราะรูปที่น ามาใส่อาจจะไม่พอดีกับจานวนโต๊ะถ้าใส่ขนาดตามความจริง) สีโต๊ะ รูปร่างโต๊ะ(กลม กับ สี่เหลี่ยม) จ านวนคนนั่ง ฯลฯ ส่วนด้านซ้ายที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นหน้าต่างที่แสดงผลสถานะของโต๊ะที่กาลังรับประทานอาหาร หรือก าลังรอเงินทอน เป็นต้น ทั้งยังมีรวมยอดขาย รวมโต๊ะ ของวันนี้อีกด้วย Input/Output specification Input: การรับค่าจาก Mouse และ Keyboard ที่คลิกลงไปในส่วนต่างๆ ของโปรแกรม ที่นาไปประมวลผล ต่างๆ ภายในโปรแกรม Output: การแสดงผลออกทางหน้าจอ monitor

5. แผนปฏิบัติงาน

ล าดับ กิจกรรม เดือนที่ 1 เดือนที่ 2 เดือนที่ 3 เดือนที่ 4

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

1 ศึกษาระบบในร้านอาหาร

2 ออกแบบรายละเอียดของโปรแกรม 3 ศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยDelphi

4 ออกแบบโครงสร้างของซอฟต์แวร์ 5 พัฒนาซอฟต์แวร์

6 ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม

7 จัดทารายงาน และคู่มือการใช้โปรแกรม

6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • ซอฟต์แวร์โปรแกรมประยุกต์ระบบจัดการร้านอาหาร • ความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมด้วยซอฟต์แวร์ Delphi

7. เอกสารอ้างอิง • หนังสือเริ่มต้นอย่างมืออาชีพ Delphi 7 ฉบับสมบูรณ์ โดยสัจจะ จรัสรุ่งรวีวร จาก Dev Book • หนังสือการเขียนโปรแกรมภาษา Delphi จาก สยามคอมพิวเตอร์ • หนังสือเริ่มต้นอย่างมืออาชีพด้วย Delphi 5 ฉบับสมบูรณ์ โดยสัจจะ จรัสรุ่งรวีวร จาก Inf

กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความต้องการ ซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากทรัพยากรให้เป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์ ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยกระบวนทางเทคโนโลยีทั้งหมด 7 ขั้นตอน ได้แก่

1. ก าหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identification the problem, need or preference) เมื่อมนุษย์เกิดปัญหาหรือความต้องการ ขั้นแรกคือ การท าความเข้าใจปัญหานั้น ๆ อย่างละเอียด หรือก าหนดขอบเขตการแก้ปัญหา ระบุความต้องการให้ชัดเจนว่าต้องการอะไร โดยเขียนเป็นข้อความสั้น ๆให้ได้ใจความชัดเจน 2. รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Information) เมื่อก าหนดปัญหาหรือความต้องการแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ เก็บรวบรวมข้อมูลและความรู้ทุกด้านที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือความต้องการ เพ่ือหาวิธีการที่เหมาะสมส าหรับแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการที่ก าหนดไว้ ท าได้หลายวิธี เช่น • รวบรวมข้อมูลจากหนังสือ วารสารต่าง ๆ • ส ารวจตัวอย่างในท้องตลาด • สัมภาษณ์พูดคุยกับคนอ่ืน • ระดมสมองหาความคิด • สืบค้นจากอินเตอร์เน็ต และจากแผ่นซีดีเสริมความรู้ ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้จะน าไปสู่การได้วิธีการแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการในหลายแบบ ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ส าคัญมาก ซึ่งจะเป็นช่องทางที่สามารถใส่เนื้อหาที่เราต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้ และถือว่าเป็นช่องทางของการบูรณาการได้ดีท่ีสุด 3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of the best possible solution)

ในขั้นนี้ เป็นการตัดสินใจเลือกแนวคิดที่ดีที่สุดส าหรับแก้ปัญหา โดยน าข้อมูล และความรู้ที่รวบรวมได้มาประกอบกันจนได้ข้อสรุปว่า จะเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือวิธีการสนองความต้องการเป็นแบบใด โดยวิธีการที่เลือกอาจยึดแนวที่ ว่า เมื่อเลือกแล้วจะท าให้สิ่ งนั้นดีขึ้น (Better) สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น (Faster speed) ประหยัดขึ้น (Cheaper) รวมทั้งวิธีการเหล่านี้ จะต้องสอดคล้องกับทรัพยากร (Resource) ที่มีอยู่ 4. ออกแบบและปฏิบัติ (Design and making) ขั้นตอนนี้ต้องการให้นักเรียนรู้จักคิดออกแบบ ซึ่งไม่จ าเป็นต้องเป็นสิ่งของเครื่องใช้เสมอไป อาจเป็นวิธีการก็ได้ และการออกแบบไม่จ าเป็นต้องเขียนแบบเสมอไป อาจเป็นแค่ล าดับความคิด หรือจินตนาการให้เป็นขั้นตอนซึ่งรวมปฏิบัติการลงไปด้วย นั่นคือเมื่อออกแบบแล้วต้องลงมือท า และลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ออกแบบไว้

5. ทดสอบ (Testing to see if it works) เป็นการน าสิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการนั้นทดลองใช้เพ่ือทดสอบว่าใช้งานหรือท างาน ได้ หรือไม่มีข้อบกพร่องอย่างไร ถ้ายังไม่ได้ก็ไปสู่ขั้นตอนต่อไป คือ ปรับปรุง แก้ไข

6. การปรับปรุง (Modification and improvement) หลังจากการทดสอบผลแล้วพบว่า สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้น หรือวิธีการที่คิดข้ึนไม่ท างานมีข้อบกพร่อง ก็ท าการปรับปรุงแก้ไข โดยอาจเลือกวิธีการใหม่ก็ได้คือย้อนไปขั้นตอนที่ 3

7. ประเมินผล (Assessment) หลังจากปรับปรุงแก้ไขจนใช้งานได้ดีตามวิธีการที่ออกแบบแล้ว ก็น ามาประเมินผลโดยรวมโดยพิจารณาดังนี้ • สิ่งประดิษฐ์สามารถแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการที่ระบุไว้ได้หรือไม่ • สวยงาม ดึงดูดใจผู้ใช้หรือไม่ • แข็งแรงทนทานต่อการใช้งานหรือไม่ • ต้นทูนสูงเกินไปหรือไม่

ใบงานที่ 1 เรื่อง หลักการท าโครงงานคอมพิวเตอร์

ตอนที ่1 ค าสั่ง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี้ 1. จงบอกความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. นักเรียนคิดว่าการท าโครงงานคอมพิวเตอร์จะได้ประโยชน์อย่างไร ให้แสดงความคิดเห็น อย่างน้อย 3 ข้อ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. กิจกรรมที่จัดว่าเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ควรมีองค์ประกอบหลักอะไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ตอนที่ 2 ค าสั่ง ให้นักเรียนจับคู่ชื่อโครงงาน กับประเภทโครงงาน ที่สอดคล้องกัน ชื่อโครงงาน ประเภทโครงงาน ………………..1. ซอฟต์แวร์ช่วยในการพิมพ์งาน 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพ่ือการศึกษา ………………..2. แบบจ าลองทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ เรื่องการไหลของของเหลว 3. โครงงานจ าลองทฤษฎี ………………..3. เกมทายค าศัพท์ 4. โครงงานประยุกต์ใช้งาน ………………..4. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ 5. โครงงานพัฒนาเกม เรื่อง ความน่าจะเป็น ………………..5. ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุแบบสามมิติ ………………..6. ซอฟต์แวร์ควบคุมการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ ………………..7. ซอฟต์แวร์สร้างรูปแบบตัวอักษรไทยแบบใหม่ ………………..8. เกมทดสอบปัญญา ………………..9. การสร้างแบบจ าลองการทดลองด้วยคอมพิวเตอร์เรื่องแรงดัน ………………..10. โปรแกรมบทเรียนวิชาโครงสร้างข้อมูล