บทที่ 7

17
1 บทที7 สังคมวัฒนธรรม: มิติที่นักลงทุนไทยควรรูกอนตัดสินใจลงทุนในประเทศเมียนมาร ถึงแมวาประเทศไทยและ เมียนมารจะมีความใกลชิดกันทางภูมิศาสตร และมีความสัมพันธ ทางสังคม วัฒนธรรมเศรษฐกิจและการเมืองที่ แนบแนน แตหากวิเคราะหถึงปญหาในการทําการคากลับพบวา มีปญหา เกิดขึ้นมากมายจากหลายสาเหตุ อาทิ ความไมเขาใจใน บริบทวัฒนธรรมทางดานเศรษฐกิจของ นักลงทุนไทย ความผันผวน ทางการเมือง ความไมชัดเจน ในแงของกฎหมาย รวมถึงความผัน แปรของภาคการเงินการคลัง การศึกษาถึงวัฒนธรรมดานเศรษฐกิจที่แทจริงของเมียนมาร จึงมีความจําเปนอยางยิ่งตอนักลงทุนไทยที่จะใช เปนขอมูลในการวิเคราะหเพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจและการแสวงหาโอกาสในการลงทุนตลอดจนทําธุรกิจได อยางประสบความสําเร็จ แรงจูงใจสําคัญที่ทําใหนักธุรกิจเขาไปลงทุนในประเทศเมียนมาร คือ การเริ่มตนการเปลี่ยนแปลงทาง การเมืองที่ดีจนนําไปสูการปลอยตัวบุคคลสําคัญและจัดใหมีการเลือกตั้งที่เปนที่ยอมรับของนานาชาติ หลังจาก ประเทศเคยถูกปกครองดวยรัฐบาลทหารมายาวนานกวา 5 ทศวรรษ รัฐบาลเผด็จการทหาร ของเมียนมาร ได พยายามทําใหทั่วโลกเห็นวามีความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีเกิดขึ้นในประเทศเพื่อยุติการถูกโดดเดี่ยวจาก นานาชาติและสนับสนุนการลงทุนพัฒนาประเทศเพื่อสงเสริมการเขามาลงทุนจากนานาชาติ เชนเดียวกับกับนักลงทุนไทยที่มีความไดเปรียบในหลายๆดาน ไมวาจะเปนลักษณะทางภูมิศาสตรทีเอื้ออํานวยตอการลงทุนทั้งการคาชายแดน พรมแดนการคาที่กําลังไดรับการพัฒนาเพื่อเขาเปนประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน สามารถเชื่อมตอระบบเศรษฐกิจและสาธารณูปโภคเพื่อรองรับการขยายตัวของ ฐานเศรษฐกิจในอีกไมกี่ปขางหนา ในขณะเดียวกันนักลงทุนก็ควรตะหนักอยางสําคัญวา มิติสําคัญที่อาจสงผล ใหการลงทุนราบรื่นและเปนไปอยางมีประสิทธิภาพคือ การทําความเขาใจในความแตกตางทางสังคมและ วัฒนธรรมระหวางสองประเทศ เพราะหากนักลงทุนไทยสามารถที่จะเรียนรูในสิ่งเหลานี้ไดเสมือนเปนการเปด ใจยอมรับและทําความรูจักสังคมวัฒนธรรมเมียนมารที่เปนปราการสําคัญตอการขยายการลงทุน การสราง ธุรกิจและการขยายฐานการคาการลงทุนใหเติบโตไดดียิ่งขึ้น เมียนมารเปนเพียงประเทศเดียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่มีพรมแดนทางแผนดินติดตอกับ สองประเทศ ซึ่งเปนแหลงอารยธรรมที่ยิ่งใหญของโลก ไดแก จีน และอินเดีย ลักษณะทางภูมิศาสตรที่เปน ศูนยกลางทางการคาในแถบอินโดจีนจึงสงผลสําคัญตอการที่เมียนมารมีความพรอมตอการลงทุนจากนานาชาติ และพรอมรับการพัฒนาสาธารณูปโภค ปจจุบันประเทศเมียนมารมีการเปลี่ยนผานเขาสูยุคสมัยใหมแหงการเปดประเทศอยางเปนทางการ และประกาศตัวเปนประเทศประชาธิปไตยภายใตการปกครองประชาธิปไตยตัวแทนที่จัดใหมีการจัดการการ เลือกตั้งเมื่อป พ.. 2553 การเปดประเทศของเมียนมารไดดึงดูดเม็ดเงินลงทุนจากตางประเทศเขามาอยาง มากมาย เชนเดียวกับนักลงทุนไทยที่เขาไปแสวงหาผลประโยชน เมื่อทั้งสองประเทศจะเขาสูประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) รวมกันพรอมกับอีกหลายประเทศในภูมิภาคนี้ ในป พ.. 2558 โดยขอเท็จจริง เมียน มารเปนเพื่อนบานที่มีอาณาเขตติดตอกับไทยมากที่สุด ชายแดนฝงตะวันตกของไทยทั้งหมดตั้งแตภาคเหนือ จรดภาคใตมีพรมแดนทางธรรมชาติและพรมแดนรัฐชาติติดตอกัน ซึ่ง ปจจุบันไทยมีการติดตอกับ เมียนมารได หลากหลายชองทางและวิธีการมากขึ้น ทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคีไทย ปญหานั้นผูเขียนเห็นวามีเพียง ประเด็นของการดําเนินนโยบายการทูตทั้งสองระดับใหสอดคลองกันและเปนเอกภาพ รวมถึงการสรางทัศนคติ

Upload: teerachote

Post on 02-Nov-2014

657 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 7

1

บทท่ี 7

สังคมวัฒนธรรม: มิติท่ีนักลงทุนไทยควรรูกอนตัดสินใจลงทุนในประเทศเมียนมาร

ถึงแมวาประเทศไทยและ เมียนมาร จะมีความใกลชิดกันทางภูมิศาสตร และมีความสัมพันธ ทางสังคมวัฒนธรรมเศรษฐกิจและการเมืองท่ี แนบแนน แตหากวิเคราะหถึงปญหาในการทําการคากลับพบวา มีปญหาเกิดข้ึนมากมายจากหลายสาเหตุ อาทิ ความไมเขาใจใน บริบทวัฒนธรรมทางดานเศรษฐกิจของ นักลงทุนไทย ความผันผวน ทางการเมือง ความไมชัดเจน ในแงของกฎหมาย รวมถึงความผัน แปรของภาคการเงินการคลัง การศึกษาถึงวัฒนธรรมดานเศรษฐกิจท่ีแทจริงของเมียนมาร จึงมีความจําเปนอยางยิ่งตอนักลงทุนไทยท่ีจะใชเปนขอมูลในการวิเคราะหเพื่อลดความเส่ียงทางธุรกิจและการแสวงหาโอกาสในการลงทุนตลอดจนทําธุรกิจไดอยางประสบความสําเร็จ

แรงจูงใจสําคัญท่ีทําใหนักธุรกิจเขาไปลงทุนในประเทศเมียนมาร คือ การเริ่มตนการเปล่ียนแปลงทางการเมืองท่ีดีจนนําไปสูการปลอยตัวบุคคลสําคัญและจัดใหมีการเลือกต้ังท่ีเปนท่ียอมรับของนานาชาติ หลังจากประเทศเคยถูกปกครองดวยรัฐบาลทหารมายาวนานกวา 5 ทศวรรษ รัฐบาลเผด็จการทหาร ของเมียนมาร ไดพยายามทําใหท่ัวโลกเห็นวามีความเปล่ียนแปลงในทางท่ีดีเกิดข้ึนในประเทศเพื่อยุติการถูกโดดเด่ียวจากนานาชาติและสนับสนุนการลงทุนพัฒนาประเทศเพื่อสงเสริมการเขามาลงทุนจากนานาชาติ

เชนเดียวกับกับนักลงทุนไทยท่ีมีความไดเปรียบในหลายๆดาน ไมวาจะเปนลักษณะทางภูมิศาสตรท่ีเอ้ืออํานวยตอการลงทุนท้ังการคาชายแดน พรมแดนการคาท่ีกําลังไดรับการพัฒนาเพื่อเขาเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สามารถเช่ือมตอระบบเศรษฐกิจและสาธารณูปโภคเพื่อรองรับการขยายตัวของฐานเศรษฐกิจในอีกไมกี่ปขางหนา ในขณะเดียวกันนักลงทุนก็ควรตะหนักอยางสําคัญวา มิติสําคัญท่ีอาจสงผลใหการลงทุนราบรื่นและเปนไปอยางมีประสิทธิภาพคือ การทําความเขาใจในความแตกตางทางสังคมและวัฒนธรรมระหวางสองประเทศ เพราะหากนักลงทุนไทยสามารถท่ีจะเรียนรูในส่ิงเหลานี้ไดเสมือนเปนการเปดใจยอมรับและทําความรูจักสังคมวัฒนธรรมเมียนมารท่ีเปนปราการสําคัญตอการขยายการลงทุน การสรางธุรกิจและการขยายฐานการคาการลงทุนใหเติบโตไดดียิ่งข้ึน

เมียนมารเปนเพียงประเทศเดียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตท่ีมีพรมแดนทางแผนดินติดตอกับสองประเทศ ซึ่งเปนแหลงอารยธรรมท่ียิ่งใหญของโลก ไดแก จีน และอินเดีย ลักษณะทางภูมิศาสตรท่ีเปนศูนยกลางทางการคาในแถบอินโดจีนจึงสงผลสําคัญตอการท่ีเมียนมารมีความพรอมตอการลงทุนจากนานาชาติและพรอมรับการพัฒนาสาธารณูปโภค

ปจจุบันประเทศเมียนมารมีการเปล่ียนผานเขาสูยุคสมัยใหมแหงการเปดประเทศอยางเปนทางการ และประกาศตัวเปนประเทศประชาธิปไตยภายใตการปกครองประชาธิปไตยตัวแทนท่ีจัดใหมีการจัดการการเลือกต้ังเมื่อป พ.ศ. 2553 การเปดประเทศของเมียนมารไดดึงดูดเม็ดเงินลงทุนจากตางประเทศเขามาอยางมากมาย เชนเดียวกับนักลงทุนไทยท่ีเขาไปแสวงหาผลประโยชน เมื่อท้ังสองประเทศจะเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) รวมกันพรอมกับอีกหลายประเทศในภูมิภาคนี้ ในป พ.ศ. 2558 โดยขอเท็จจริง เมียนมารเปนเพื่อนบานท่ีมีอาณาเขตติดตอกับไทยมากท่ีสุด ชายแดนฝงตะวันตกของไทยท้ังหมดต้ังแตภาคเหนือจรดภาคใตมีพรมแดนทางธรรมชาติและพรมแดนรัฐชาติติดตอกัน ซึ่ง ปจจุบันไทยมีการติดตอกับ เมียนมาร ไดหลากหลายชองทางและวิธีการมากข้ึน ท้ังในระดับทวิภาคี และพหุภาคีไทย ปญหานั้นผูเขียนเห็นวามีเพียงประเด็นของการดําเนินนโยบายการทูตท้ังสองระดับใหสอดคลองกันและเปนเอกภาพ รวมถึงการสรางทัศนคติ

Page 2: บทที่ 7

2

ตอพมาในทางท่ีดีใหเกิดข้ึนกับคนไทย ซึ่งเปนเรื่องท่ีคนไทยตองใหความสนใจในการทําความเขาใจกับสังคมวัฒนธรรมเมียนมารเพราะความไดเปรียบดานศักยภาพในดานทรัพยากรสูงท่ีสามารถจะแสวงประโยชนรวมกับเพื่อนบานเชนไทย ผูมีพรมแดนติดตอเปนระยะทางยาวและตอเนื่อง

ประเด็นเรื่อง สังคมวัฒนธรรมเมียนมาร จึงเปนมิติสําคัญตอการทําความเขาใจเพื่อใหความรวมมือทางดานเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งการเขาไปลงทุนหรือขยายการลงทุนของนักลงทุนไทยในการตอนรับเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) และท่ีสําคัญคือ การคํานึงถึงความแตกตางทางสังคมวัฒนธรรมและปจจัยรอบดานอยางรอบคอบจะชวยใหการลงทุนไดอยางมีประสิทธิภาพและเติบโตไดอยางตอเนื่องสําหรับการพิจารณาเรื่องสังคมวัฒนธรรมจึงควรเริ่มตนดวยการทําความเขาใจภูมิหลังทางสังคมวัฒนธรรมของเมียนมาร

7.1 ภูมิสังคมวัฒนธรรมของมลฑลและรัฐตางๆในประเทศเมียนมาร

สําหรับการทําความเขาใจสังคมวัฒนธรรมของชาวเมียนมารควรเริ่มตนจากการทําความเขาใจขอมูลพื้นฐานในดานภูมิสังคมวัฒนธรรมของลักษณะทางภูมิศาสตรของพื้นท่ีในประเทศเมียนมาร ซึ่งเนนไปท่ีลักษณะพื้นท่ีท่ีเปนตัวกําหนดแบบแผนทางวัฒนธรรมและการดํารงชีวิตของผูคนในแตละรัฐเพื่อใหไดทําความเขาใจภูมิสังคมวัฒนธรรมโดยยอและนําไปสูการตัดสินใจเลือกพื้นท่ีเพื่อแสวงหาโอกาสในการลงทุนท่ีนาสนใจภายใตบริบทสังคมและวัฒนธรรมท่ีแตกตางกันออกไปตามแตละพื้นท่ีเปนสําคัญ สําหรับการปกครองในเมียนมารแบงออกเปนรัฐ 7 รัฐ และมณฑล 7 มณฑล รัฐท้ัง 7 สวนใหญเปนพื้นท่ีสูงรอบนอกท่ีชนสวนนอยเผาตางๆอาศัยอยู ไดแก รัฐกะฉ่ิน (Kachin State) รัฐคะยา (Kayah State) รัฐกะยีง หรือ รัฐกะเหรี่ยง ( Kayin State) รัฐชิน (Chin State) รัฐมอญ (Mon State) รัฐระไคน (ยะไข -รัฐอารากัน -Raknine State) รัฐฉาน (Shan State) ช่ือรัฐถูกกําหนดตามกลุมชาติพันธุท่ีเปนชนสวนใหญในแตละรัฐ สวน มณฑลท้ัง 7 นั้นเปนพื้นท่ีราบลุมท่ีชนชาติเมียนมารอาศัยอยูเปนสวนมาก ไดแก มณฑลสะกาย ( Sagaing Division) มณฑลตะนินตายี (ตะนาวศรี -Taninthayi Division) มณฑลพะโค หรือ บะโก ( Bago Division) มณฑลมะเกว ( Magway Division) มณฑลมัณฑะเล (Mandalay Division) มณฑลยางโกง-ยางกุง ( Yangon Division) มณฑลเอยาวดี (Ayeyawady Division)

7.2 เนปดอว: มหานครแหงใหมของเมียนมาร

รัฐบาลทหารของเมียนมารไดทุมงบมหาศาลเพื่อเนรมิตเมืองหลวงแหงใหมแทนเมืองหลวงเกาอยางนครยางกุงข้ึนมาช่ือวา “มหานครเนปดอว” ซึ่งถือเปนมหานครแหงใหมของประเทศเมียนมาร และกําลังจะกลายเปนเมืองศูนยกลางของประเทศ ศูนยกลางทางการเมืองการปกครอง ศูนยกลางทางราชการ

มหานครเนปดอว (Naypyidaw) มีความหมายวา “มหาราชธานี ” หรือ “ท่ีอยูของกษัตริย ” เปนเมืองศูนยกลางการบริหารของประเทศเมียนมาร ต้ังอยูในหมูบานจัตปแว (Kyatpyae) ทางทิศตะวันตกของตัวเมืองเปยงมนา (Pyinmana) ในเขตมัณฑะเล สภาพภูมิประเทศเปนภูเขาโดยรอบ เมืองนี้อยูหาง จากนครยางกุงไปทางเหนือประมาณ 320 กิโลเมตร มีพื้นท่ีท้ังหมดโดยประมาณ 7,054.37 ตารางกิโลเมตร และทําการกอสรางอาคารตางๆข้ึนมาใหมท้ังหมด ประกอบดวย ศูนยราชการ อาคารบานเรือน อาคารรัฐสภา สถานท่ีราชการ โรงพยาบาล โรงเรียน หางสรรพสินคา แตยังไมมีผูคนอาศัยเทาท่ีควร โดยพลเอกอาวุโสตาน ฉวย เปนผูริเริ่มความคิดท่ีจะยายเมืองหลวงจากนครยางกุงมายังสถานท่ีแหงใหมดวยเหตุผลเพื่อความสะดวกในการบริหารงาน เนื่องจากตําแหนงท่ีต้ังของกรุงเนปดอวนั้นต้ังอยูกลางประเทศพอดี และไดเริ่มสรางเมืองหลวงแหงใหมนี้ในป พ.ศ.2545 ตอมาในเดือนธันวาคม พ.ศ.2552 ไดมีการยายท่ีทําการรัฐบาลมายังเมืองหลวงใหมแหงนี้ เหลือเฉพาะสํานักคณะกรรมการกระทรวงยังคงอยูในนครยางกุง

Page 3: บทที่ 7

3

ปจจุบันมหานคร เนปดอวไดมีการพัฒนาถนนทางหลวงเพื่อเช่ือมตอกับ เมืองยางกุง มีโครงการสรางสถานีรถไฟข้ึนอีก 1 แหงในเนปดอว ถัดจากสถานีใน เปยงมนาท่ีสรางข้ึนในป พ.ศ.2549 มีการสราง มหาเจดียอุปปาตสันติ (Uppatasanti) ซึ่งจําลองแบบไปจาก มหาเจดียชเวดากอง ในกรุงยางกุง และทางการยัง ไดสรางสวนสาธารณะ น้ําพุ สวนสัตว สวนบริเวณใจกลางเมือง รวมถึงสนามกีฬาขนาดใหญเพื่อเตรียมการเปนเจาภาพการแขงขันกีฬาซีเกมสครั้งท่ี 27 ระหวางวันท่ี 11-22 ธันวาคมนี้ นอกจากนั้นยังไดสราง ศูนยการคาแหงใหมอีก 42 แหง โดยมีเปาหมายเพื่อดึงดูดนักทองเท่ียวใหมาเยือนเมืองหลวงแหงใหม นอกจากนี้ยังกอสรางอาคารทันสมัยตางๆ สําหรับหนวยงานรัฐ สวนท่ีพักอาศัย โรงพยาบาลเอกชน ธนาคาร อาคารสภาหอการคาและอุตสาหกรรมแหงสหภาพเมียนมาร (UMFCCI) และโครงการศูนยการคาระดับนานาชาติ โดยเปนโครงการท่ีจะดําเนินไปตลอดทศวรรษขางหนา เพื่อใหเปนสัญลักษณของความทันสมัยของเมืองหลวงในอนาคต

7.3 ประวัติศาสตรประเทศเมียนมาร

ประเทศ เมียนมาร เปนประเทศหนึ่งท่ีเต็มไปดวยกลุมคนหลาก ชาติพันธุ อยูในดินแดนของตนเองอยางไรก็ตามประวัติศาสตรวาดวยการสรางรัฐสรางชาติใน ชวงแรกนั้น ประวัติศาสตรการต้ังอาณาจักรในดินแดน เมียนมาร ปจจุบันเริ่มตนในพุทธศตวรรษท่ี 13 โดยกลุมชาติพันธุ หนึ่งท่ีเขามาเปนกลุมแรกคือ พยู(Pyu) พอมีสงครามจากชาวไท (Tai) ในยูนนาน พยูก็ลมสลายไป ชาวไทเขามาครอบครอง ดินแดนท่ีในปจจุบันเรียกวา รัฐฉาน (Shan State) ตอมาชาติพันธุเกาแกชาติหนึ่งในภูมิภาคนี้คือ มอญ ( Mon) ก็ไดอพยพมาจากอินเดียตะวันออกมาต้ังรกรากและรับวัฒนธรรมจากอินเดียและพุทธศาสนานิกายเถรวาท และมีพัฒนาการชวงชิงดินแดนและการทําสงครามภายในกลุมชาติพันธุตางๆท่ีอาศัยอยูภายในประเทศเมียนมารเองมาอยางตอเนื่อง นอกจากการชวงชิงดินแดนภายในอาณาจักรของตัวเองแลวประเทศเมียนมารยังเผชิญกับความทาทายจากอาณาจักรภายนอกท้ังการรุกรานดินแดนและการตองการประเทศเมียนมารเปนประเทศราชโดยเฉพาะราชอาณาจักรสยามสมัยนั้นท่ีเปนคูสงครามมายาวนานและตอเนื่องถึงปจจุบัน ในขณะท่ีประวัติศาสตรชวงทายของการปกครองโดยอาณานิคมอังกฤษจนกระท่ัง เมียนมาร ไดรับเอกราชนั้นกลับแสดงใหเห็นวากระบวนการจัดการของรัฐเมียนมาร ซึ่งนําโดยกลุมชนช้ันนําทางชาติพันธุนั้นปฏิเสธความหลากหลายทางชาติพันธุในดินแดนตนเอง

การกลาวถึงบริบทของการทําความเขาใจยุคสมัยทางประวัติศาสตรประเทศเมียนมาร มีนักวิชาการหลายคนท่ีแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรเมียนมาร ซึ่งหลักๆ สามารถ แบงประวัติศาสตร เมียนมาร ออกเปน 3 สมัย คือ สมัยโบราณ สมัยอาณานิคมอังกฤษ และสมัยเอกราช ซึ่งเปนการยึดประวัติศาสตรการเมืองเปนหลั ก เนื่องจากประวัติศาสตรของพมานั้นมีความยาวนานและซับซอน มีประชาชนหลาย กลุมชาติพันธุเคยอาศัยอยูในดินแดนแหงนี้ กลุมชาติพันธุเกาแกท่ีสุดท่ีปรากฏไดแก มอญ ตอมาราวพุทธศตวรรษท่ี 13 ชาวเมียนมาร ไดอพยพลงมาจากบริเวณพรมแดนระหวางจีนและทิเบตเขาสูท่ีราบลุมแมน้ําอิร ะวดีและไดกลายเปนชนเผาสวนใหญท่ีปกครองประเทศในเวลาตอมา ความซับซอนของประวัติศาสตรเมียนมาร มิไดเกิดข้ึนจากกลุมชนท่ีอาศัยอยูในดินแดนนี้เทานั้น แตเกิดจากความสัมพันธกับเพื่อนบานอันไดแก จีน อินเดีย บังกลาเทศ ลาว และไทยอีกดวย

Page 4: บทที่ 7

4

7.3.1 ประวัติศาสตรการเมืองเมียนมารสมัยโบราณ

การเมืองเมียนมารชวงต้ังแตราชวงศพุกาม ( Bagan Dynasty) จนถึงชวงสงครามกับ ประเทศอังกฤษ (พ.ศ.1587-2429) นั้น เปนการชวงชิงอํานาจของกลุมชาติพันธอยางนอย 4 กลุมท่ีอาศัยอยูใน เมียนมารสมัยใหมในปจจุบัน กลุมท่ีโดดเดนในการชิงอํานาจภายในก็คือกลุมเช้ือสายพมา ( Burman) กลุมมอญหรือตะเลง (Talaings) และกลุมชาวอาระกันหรือยะไข มีเพียงสามชวงเวลาท่ีการเมือง เมียนมาร มีความเปนหนึ่งเดียวกอนท่ีอังกฤษจะเขามา ชวงแรก คือ กษัตริยเมียนมาร ปกครองดินแดนเพื่อนบานสถาปนาราชอาณาจักรพุกามอยูสองศตวรรษกระท่ังกุบไลขานเขามายึดครองเมียนมาร แตตอมากษัตริยไทใหญก็ไดเขามาครอบครองอํานาจโดยการทําสงครามชวงชิงดินแดน ตอมาในชวงท่ีสองของความสงบคือ สมัยราชวงศตองอูท่ีกษัตริยพมาครองอํานาจอีกครั้งในชวง พ.ศ. 2029-2295 เปนชวงท่ี เมียนมาร สามารถมีชัยเหนือกลุมไทใหญได และชวงสุดทาย คือ ในสมัยราชวงศ คองบองหรือราชวงศอลองพญา ระหวาง พ.ศ.2295-2429 ซึ่งเปนราชวงศสุดทายของเมียนมาร กอนท่ีจะอยูภายใตการปกครองของอังกฤษ

7.3.2 ประวัติศาสตรการเมืองเมียนมารต้ังแตสมัยอาณานิคม

การครอบครองเมียนมารของอังกฤษในชวงปลายศตวรรษท่ี 19 นั้นเปนผลมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมใหมท่ีตองการแสวงหาแหลงปอนวัตถุดิบเพื่อตอบสนองตออุตสาหกรรมในชาติตะวันตก หลังจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมท่ีเริ่มตนในอังกฤษชวงศตวรรษท่ี 18 และเพื่อรองรับการลงทุนในภูมิภาค อังกฤษนั้นไดแยงชิงกับโปรตุเกสเพื่อแผอํานาจในอินเดียดวยการต้ังสถานีการคาในอินเดียตะวันตกเฉียงเหนือ แลวคอยๆ แยงเมืองทาสําคัญของโปรตุเกสท้ังในอาวเปอรเซียและอินเดียไป อังกฤษต้ังจุดยุทธศาสตรสําคัญของตนไวในอินเดีย 3 แหง คือ มัทราช (เชนไน) ในป พ.ศ.2182 บอมเบย (มุมใบ) พ.ศ.2204 และกัลกัตตา (โกลยันตา) พ.ศ.2222

1) การทําสงครามระหวางเมียนมาร กับอังกฤษ

อังกฤษยกทัพเรือของตนพรอมดวยทหาร 11,000 คน เขาโจมตีเมืองยางกุง เปนระยะ เวลา 6 เดือนถึงตีเมืองได สงครามยืดเยื้ออยูถึง 2 ป อังกฤษยกพลมาเพิ่มเติมทางบกและรุกไลเขาไปถึงเมืองแปร จนทําใหเมียนมารยอมสงบศึกและตกลงทําสนธิสัญญากันเมื่อตนป พ.ศ.2369

ภายหลังจากท่ี อังกฤษยึด เมียนมาร ไดท้ังหมดในป พ.ศ. 2428 ไดผนวกเอาเมียนมาร ไปเปนสวนหนึ่งของอินเดีย นโยบายท่ีอังกฤษใชปกครองเมียนมารท่ีเรียกวาแบงแยกและปกครองไดเพิ่มความแตกแยกภายในเมียนมาร กลาวคืออังกฤษแบงเมียนมารออก เปนสองสวนคือ เมียนมาร แท (Proper Burma) ใชการปกครองโดยตรง สวนชาวเมียนมารท่ีอยูบริเวณภูเขาและกลุมชาติพันธุอื่นๆ หรือเขตชายแดนใชการปกครองโดยออม

อังกฤษดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจในการท่ีจะผลิตขาวใหไดจํานวนมาก โดย อาศัยดินแดนเมียนมารตอนลางเปนแหลงผลิตขาวเพื่อหลอเล้ียงอาณานิคมอินเดีย ซึ่งมีประชากรเพิ่มข้ึนมากในขณะนั้น ทําใหการเปล่ียนแปลง ทางสังคมเศรษฐกิจ เมียนมารเกิดข้ึนพรอมกัน เมียนมาร ไดเปล่ียนจากเศรษฐกิจแบบพอเล้ียงตัวเอง กลายเปนเนนการผลิตเพื่อสงออกตามแบบทุนนิยมของอังกฤษ อยางไรก็ตาม ระบบเศรษฐกิจดังกลาวไดสงผลกระทบใหชาวนาสวนใหญปรับตัวไมทัน มีหนี้สินจากการกูยืมมาทําทุนในการเพาะปลูกตอมาชาวนาก็ถูกยึดท่ีทํากิน อันเปนสาเหตุหนึ่งท่ีทําใหคนเมียนมารเกลียดชังชาวตางชาติมาก ซึ่งส่ิงเหลานี้เปนแรง กระตุนใหเกิดความรูสึกชาตินิยมตอตานอังกฤษ

Page 5: บทที่ 7

5

2) ขบวนการชาตินิยมและพระสงฆ

ขบวนการชาตินิยมในเมียนมารเปนปรากฏการณของขบวนการในอุษาคเนยท่ีตอตานอํานาจเจาอาณานิคม เพื่อปลดปลอยตนเองเปนเอกราช เมื่อแรกเริ่มขบวนการใน เมียนมาร ไดอิทธิพลจากท้ังพระพุทธศาสนาและขบวนการสมัยใหม โดยเมื่ออังกฤษเขามามีอํานาจนั้นไมไดใหความสนใจตอสถาบันทางศาสนาตอมาพระสงฆไดมีบทบาททางการเมืองมากข้ึน อันเนื่องมาจากการท่ีระบบกษัตริยถูกทําลายไป สถาบันทางศาสนาและพระสงฆจึงกลายเปนสถาบันแหงจิตวิญญาณและเปนผูนําทางความคิดกลุมเดียวท่ีเหลืออยู ในการพยายามปลดปลอยตนเองสูความเปนอิสระ

3) YMBA ถึง GCBA

YMBA (Young Men Buddhist Association) ไดเปล่ียนรูปแบบเปนองคกรทางการเมือง โดยใชช่ือวา General Council of Burmese Associations (GCBA) ซึ่งมีสาขาอยูท่ัวประเทศ ซึ่งไมไดยึดติดอยูกับศาสนาใด ในป พ.ศ.2463 นักศึกษามหาวิทยาลัยไดเรียกรองใหมีการประทวงนโยบายอังกฤษท่ัวเมียนมาร การประทวงนี้ถือเปนสัญลักษณเริ่มตนของการท่ีนักศึกษาเขารวมในกิจกรรมทางการเมืองของประเทศ

สถานการณนอกประเทศก็มีสวนทําใหขบวนการชาตินิยม เมียนมาร เขมแข็งข้ึน นั่นคือ เมื่อญี่ปุนรบชนะรัสเซีย ทําใหญี่ปุนกาวข้ึนมาเปนชาติมหาอํานาจ และกลายเปนแรงบันดาลใจของชาวเอเชียในการเอาชนะฝรั่ง ในชวงสงครามโลกครั้งท่ี 1 ชาวเมียนมารไดเห็นความแตกแยกกันในหมูฝรั่ง อีกท้ังชาวเมียนมาร ท่ีมีการศึกษาสนใจตอความเปล่ียนแปลงทางการเมืองในอินเดีย เนื่องจากอังกฤษตองการความชวยเหลือจากอาณานิคมอินเดียในการทําสงคราม จึงเอาใจอินเดียดวยการใหอินเดียปกครองตนเอง ขาวนี้ไดแพรไปใน เมียนมารและเกิดการประทวงอยางแพรหลาย รวมท้ังเกิดการกอตัวข้ึนของ GCBA ขางตน ท่ีเนนการปฏิบัติการทางการเมืองโดยตรง ไมจํากัดเฉพาะคนหนุมท่ีมีการศึกษาแบบตะวันตกเทานั้น

4) กบฏซายา ซาน: การลุกฮือของชาวนา

กบฏซายา ซาน นี้มีลักษณะของการลุกฮือของชาวนา โดยไดอิทธิพลจากพุทธศาสนาในรูปแบบขบวนการพระศรีอาริย โดยเปนไปอยางกวางขวางและรุนแรงมาก จากเมียนมารตอนลางถึงตอนบนและเขาไปถึงรัฐฉานดวย อังกฤษใชทหารและอาวุธทันสมัยปราบอยู 2 ปจึงราบคาบ ชาว เมียนมาร ในชนบทคือพวกชาวนาตกอยูในสภาพแรนแคนถูกเอารัดเอาเปรียบ มีหนี้สินมาก และความไมพอใจตอสภาพชีวิตของตนไดปะทุอยางรุนแรง

ในเมืองใหญๆ อาทิ กรุงยางกุง เมืองมัณฑะเล เมืองอิระวดี เปนตน ไดมี ผูนํารุนใหมท่ีไดรับการศึกษาแบบตะวันตก ไดรวมตัวกันกอต้ังกลุมตางๆ เชน YMBA, GCBA และสมาคมเราชาวพมา โดยมีจุดมุงหมายในการกอบกูเอกราชของตนเอง ความเปล่ียนแปลงนี้กลายเปนพลังสําคัญและผลักดันการปลดปลอยประเทศ ใหเปนอิสระในท่ีสุด

7.3.4 การเมือง เมียนมาร ต้ังแตการประทวงเรียกรองประชาธิปไตยเม่ือ พ.ศ.2531 (เหตุการณ 1988)

ชวงเวลาสามเดือน นับต้ังแตกรกฎาคม –กันยายน พ.ศ.2531 เปนชวงเหตุการณประวัติศาสตรครั้งสําคัญของเมียนมาร ซึ่งท้ังผูเช่ียวชาญและผูศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง เมียนมาร ถือเปนหมายเหตุของการเมือง เมียนมารยุคใหม นักศึกษา เมียนมาร มีบทบาทอีกครั้งหลังจากการเรียกรองเอกราช ในการนําท้ังพระสงฆ และประชาชนลุกข้ึนมาประทวงตอตานระบบทหารของนายพลเนวิน และเรียกรองให เมียนมาร เปล่ียนแปลงสูการ

Page 6: บทที่ 7

6

ปกครองในระบอบประชาธิปไตย การประทวงใหญเมื่อวันท่ี 8 สิงหาคม (และ 8 กันยายน) ป พ.ศ.2531 มีคนเขารวมขบวนนับเปนลานคน เพื่อบีบใหนายพลเนวินยอมรับความผิดพลาดในการบริหารประเทศท่ีเขาครองอํานาจมาถึง 26 ป ทําใหเมียนมารซึ่งเคยเปนประเทศท่ีร่ํารวยดวยทรัพยากร ตองกลายเปน 1 ใน 10 ประเทศท่ียากจนท่ีสุดขององคการสหประชาชาติ มีรายไดเฉล่ียตอหัวเพียง 200 ดอลลารสหรัฐตอป ในขณะท่ี ประเทศไทยซึ่งมีพรมแดนติดกันมีรายไดเฉล่ียตอหัวเทากับ 1 พันดอลลารสหรัฐ ในป พ.ศ.2531

นายพลเนวินตองลาออกจากตําแหนงประธานพรรคโครงการสังคมนิยมพมาพรอมๆ กับการลาออกของประธานาธิบดีซันยุ จากนั้นบรรดาผูนํานักศึกษากอการประทวงอีกในวันท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ.2531 จนทําใหรัฐบาลเสงลวินลมลง ตอจากนั้นหมองหมอง นักกฎหมายในสายของเนวิน ถูกเสนอข้ึนมาเปนประธานาธิบดี แตก็ยังมีการประทวงรุนแรงและตอเนื่อง ในวันท่ี 18 กันยายนพ.ศ.2531 นายพลซอหมอง อดีตรัฐมนตรีชวยกระทรวงกลาโหมก็ทํารัฐประหาร ทําใหเหตุการณใน ครั้งนั้นจบลงดวย “รัฐอาชญากรรม ” (State Crime) มีนักศึกษาถูกยิงเสียชีวิตไปอีก กวา 1,000 คน หลังจากนั้นยังมีการจับและปราบปราม และปลดขาราชการท่ีมีสวนสนับสนุนการประทวงและการหยุดงานใน 3 เดือนของการเรียกรองประชาธิปไตย

วันท่ี 18 กันยายน พ.ศ.2531 ไดมีการจัดต้ัง State Law and Order Restoration Council (SLORC) ภายใตการนําของนายพลอาวุโสซอหมอง ( Senior General Saw Maung) การครองอํานาจของทหารไมไดสงผลใหเกิดสันติภาพ รัฐบาลทหาร เมียนมารจึง เปนตัวอยางในการไมรักษาสัญญาและกุมอํานาจเบ็ดเสร็จนับแตนั้นมา การรัฐประหารป พ.ศ.2531 ไดทําลายการกอรูปของประชาธิปไตยลง รวมท้ังระบบสหพันธรัฐและเสรีภาพของส่ือ

หลังจากนั้นผูนําทางการเมืองและนักเคล่ือนไหวตองหลบหนีเขาไปอยูในปาเขตชนกลุมนอย โดยเฉพาะในเขตของ Karen National Union (KNU)ของนายพลโบเมี๊ยะในขณะนั้น จนปจจุบัน KNU เปนกองกําลังชนกลุมนอยท่ีตอสูกับรัฐบาลพมามายาวนานถึง 60 ป โดยมีฐานท่ีมั่นอยูใกลชายแดน ประเทศไทย ตรงขามอําเภอพบพระและอําเภอแมสอด จังหวัดตาก บางสวนไปเขากับคอมมิวนิสตพมาแถบตะวันออกเฉียงเหนือใกลพรมแดน ประเทศ จีน สวนหนึ่งหนีไปพึ่งมอญแถบดานเจดียสามองค จังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 600 คนไดไปอาศัยอยูกับ New Mon State Party: NMSP ของรองประธานพรรคนายโนนลา อีกสวนลงมายังเกาะสอง หรือวิคตอเรียพอยต ตรงขามจังหวัดระนอง การเรียกรองประชาธิปไตยกลายเปน “สงครามกลางเมือง” อันยืดยาวและเจ็บปวด

แมวา SLORC จะทําตามสัญญาในการจัดการเลือกต้ังในป พ.ศ.2533 แตก็พยายามใชกลยุทธตางๆ เพื่อทําลายโอกาสในการชนะเลือกต้ังของพรรคฝายคาน ในวันท่ี 20 กรกฎาคม พ.ศ.2534 นางดอร ซูจี ถูกจับกุมและคุมขังภายในบานของเธอ โดยไมมีการต้ังขอหา นอกจากนั้นผูนําฝายคานท่ีสําคัญคนอื่นๆ ก็ถูกจับกุมและคุมขังดวย อยางไรก็ตาม ในวันท่ี 27 พฤษภาคม พ.ศ.2533มีการเลือกต้ังท่ัวไปตามท่ีรัฐบาลสัญญาไว แตชัยชนะอยางลนหลามกลับเปนของฝายคานคือพรรค สันนิบาตแหงชาติเพื่อประชาธิปไตย ( National League for Democracy:NLD) ซึ่งไดท่ีนั่งท้ังหมดถึง รอยละ 81 คือ 392 ท่ีนั่งจาก 492 ท่ีนั่งในสภา แตรัฐบาลก็กลับลําโดยไมรับรองผลการเลือกต้ัง และจับกุมนักการเมืองฝายตรงขามมากข้ึนเรื่อยๆ สงผลใหนักการเมืองฝายคานและนักเคล่ือนไหวเพื่อประชาธิปไตยหนีการจับกุมมายังชายแดนประเทศเพื่อนบาน โดยเฉพาะประเทศไทยมากข้ึน

Page 7: บทที่ 7

7

จากเหตุการณขางตนทําใหประชาคมโลกประณามการกระทําของรัฐบาล เมียนมาร ประเทศตะวันตกดําเนินนโยบายคว่ําบาตรและตัดความชวยเหลือตางๆ ผูแทนท่ีไดรับการเลือกต้ัง แตไมมีโอกาสจัดต้ังรัฐบาลพลเรือนหลายคนไดหนีออกมาและจัดต้ังรัฐบาลพลัดถ่ิน ( The National Coalition of the Union of Burma: NCGUB) โดยมีเซิน วิน (Dr.Sein Win) ซึ่งเปนญาติกับนางดอร ซูจี เปนนายกรัฐมนตรี

ในป พ.ศ.2532 รัฐบาลเปล่ียนช่ือประเทศจาก พมา (Burma) เปนเมียนมาร ( Myanmar) โดยอางวา คําวาพมาท่ีมีความหมายแคชนเช้ือชาติพมาท่ีมีแตคนเช้ือชาติพมา จึงไมสมควรใชคํานั้น เนื่องจากใน เมียนมารประกอบดวยชนเผาตางๆ มากมาย แตอันท่ีจริงแลว เปนการเปล่ียนคําภาษาอังกฤษใหตรงกับภาษาพมาคือ Burma (พมา) เปน Myanmar (เมียนมาร) ซึ่งหมายถึงชาวพมานั่นเอง และเปล่ียนช่ือเมือง Rangoon เปน Yangon ตรงกับเสียงในภาษาพมาอันถือเปนการปฏิเสธสิทธิข้ันพื้นฐานทางดานการเมืองและวัฒนธรรมชนกลุมนอย ใน เมียนมาร นางดอร ซูจี ดําเนินการตอสูดวยแนวทางสันติวิธี โดยการใชวิธีเขียนจดหมาย เขียนหนังสือ บันทึกวีดีโอเทป เพื่อสงผานขอเรียกรองของเธอ ตอรัฐบาลทหาร ออกมาสูประชาคมโลกอยางตอเนื่อง ตราบเทาท่ีสามารถทําได อยางไรก็ตามความขัดแยงของพรรค NLD กับรัฐบาลเมียนมาร ก็ไมมีทีทาวาจะตกลงกันได และรัฐบาลเองก็ยังใชวิธีการแบบเผด็จการในการจับกุม คุมขัง และละเมิดสิทธิมนุษยชนตางๆ ในการควบคุมผูท่ีไมเห็นดวย

ในป พ.ศ.2532นายพลอาวุโสตาน ฉวย ( Than Shwe) ข้ึนครองอํานาจตอจากนายพลซอ หมองท่ีลาจากการเปนประธาน SLORC เนื่องจากปญหาสุขภาพ นับแตนั้นมา นายพลตาน ฉวย ไดนํานโยบายใหมๆ มาใช เชน การปลอยตัวนักโทษการเมืองหลายคนยกเวนนางดอร ซูจี มีการจัดประชุมเพื่อรางรัฐธรรมนูญใหม เปดมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาช้ันสูงใหม ยกเลิกประกาศกฎอัยการศึกเปนตน แตอยางไรก็ตาม สถานการณในเรื่องการคอรัปช่ันและการละเมิดสิทธิมนุษยชนก็ยังคงเปนปญหาใหญของการเมืองในเมียนมาร

ในสวนของเมียนมารเองก็มีการเปล่ียนแปลงครั้งสําคัญอีกครั้งในเดือนมีนาคม พ.ศ.2549 เมื่อรัฐบาลประกาศยายเมืองหลวงจากกรุงยางกุงไปยังเมืองปนมานา (Pyinmana) ท่ีตอมาถูกเปล่ียนช่ืออีกครั้งเปนกรุงเนปดอว (Naypyidaw) ทามกลางสายตาแหงความสงสัยของนานาประเทศ แมกระท่ังในกลุมประเทศ ASEAN ดวยกันท่ีไมไดรับการแจงอยางเปนทางการมากอน แตศูนยกลางธุรกิจในปจจุบันก็ยังอยูท่ีกรุงยางกุงเหมือนเดิม เนื่องจากสาธารณูปโภคและโครงสรางพื้นฐานตางๆ ในเมืองหลวงใหมยังตองไดรับการพัฒนาอีกมาก นอกจากนั้นปญหากับชนกลุมนอยก็ยังไมส้ินสุด โดยเฉพาะปญหาผูล้ีภัยอันเกิดจากการหนีภัยสงครามกับกองกําลังติดอาวุธและการละเมิดสิทธิมนุษยชนในเมียนมารท่ีสงผลกระทบกับประเทศเพื่อนบาน

7.3.5 สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมารยุคประชาธิปไตย

ลาสุดประเทศเมียนมารไดจัดการเลือกต้ังท่ัวไปข้ึนในวันท่ี 7 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 แมวาในระหวางนั้นจะมีเหตุการณท่ีเปนอุปสรรคตางๆ นานาเกิดข้ึน เชน การคว่ําบาตรการเลือกต้ังของพรรคสันนิบาตแหงชาติเพื่อประชาธิปไตย หรือ NLD (National League for Democracy) นําโดยนางออง ซานซูจี จนนําไปสูการถูกยุบพรรคหรือการวิพากษวิจารณของส่ือตะวันตกถึงความไมโปรงใสและไมเช่ือใจการเลือกต้ังในเมียนมาร อยางไรก็ตาม ในวันท่ี 30 มีนาคม พ.ศ.2553 คณะรัฐบาลชุดแรกของเมียนมารนําโดยพลเอกเต็งเสง ในฐานะประธานาธิบดีก็ไดทําการสาบานตนเขารับตําแหนง ณ เมืองเนปดอว เมืองหลวงแหงใหมของเมียนมาร

อยางไรก็ตาม อนาคตของการเมือง เมียนมาร ก็ยังยากจะคาดเดาเพราะถึงแมกลุมอํานาจเกายังคงมีอํานาจอยูเบ้ืองหลังรัฐบาลยุคปจจุบัน หรือแมแตการท่ีรัฐบาลปจจุบันเริ่มท่ีจะเปดประเทศและดําเนินการเอื้อตอการลงทุนจากตางประเทศท่ีอาจจะพึงพอใจกับการติดตอเจรจากับรัฐบาลชุดปจจุบัน แตการเปน

Page 8: บทที่ 7

8

ประชาธิปไตยในหมูประชาชนเมียนมารนั้นก็ไมสามารถมองขามได การเมืองแบบประชาธิปไตยของ เมียนมารยังคงจะตองพบเจออุปสรรคอีกมาก ท้ังนี้ภาพตางๆในเรื่องการเมืองของเมียนมารนาจะชัดเจนข้ึนหลังจากการเลือกท่ัวไปหรือการเลือกต้ังใหญในป พ.ศ.2558 ท่ีทุกฝายยังคงจับตามอง ฉะนั้นการเมืองเรื่อง เมียนมาร นั้นยังคงนาติดตาม และศึกษาวิเคราะหตอไปเพราะในฐานะประเทศเพื่อนบานและคู คาสําคัญอยางประเทศไทย เหตุการณทางการเมืองในเมียนมารนั้นสงผลตอประเทศไทยไมทางใดก็ทางหนึ่งอยางหลีกเล่ียงไมได

7.4 สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร: การเมือง เสถียรภาพและความม่ันคงในปจจุบัน

แมวาปจจุบันเมียนมาร มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยมีประธานาธิบดีเปนประมุขและเปนหัวหนารัฐบาล ประธานาธิบดีคนปจจุบัน คือ นายเต็ง เสง ดํารงตําแหนงต้ังแตวันท่ี 30 มีนาคม พ.ศ. 2554 แตเมียนมารก็ยังคงอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีคาทางเศรษฐกิจมากมายหลายชนิดท่ีสําคัญ เชน แกสธรรมชาติ อัญมณี แรธาตุ ไมสัก และยางพารา ซึ่งประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม เม่ือรัฐบาลท่ีมาจากการเลือกต้ังไดเขามาปกครองไดนําเอามาตรการฟนฟูเศรษฐกิจมาใชหลายประการ ไดแก การปฏิรูปภาคเกษตร การสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศ การผอนปรนกฎเกณฑดานการทองเท่ียว การเปดเสรีทางการเงิน การธนาคาร การแปรรูปรัฐวิสาหกิจเพื่อใหเอกชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาประเทศเพิ่มข้ึน การจัดระเบียบการคาชายแดนกับประเทศเพื่อนบาน เปนตน ก็นับเปนจุดเริ่มตนของการเปล่ียนแปลงเพื่อสรางเสถียรภาพและความมั่นคงทางการเมืองและทางเศรษฐกิจใหมีข้ึนในประเทศเมียนมาร อยางไรก็ตาม จากการท่ีเมียนมารกําลังเปดประเทศจึงจําเปนท่ีจะตองขอความชวยเหลือจากตางประเทศโดยเฉพาะเงินทุนท่ีจะนํามาใชในการพัฒนาประเทศ การรวมกลุมทางเศรษฐกิจกับประเทศตางๆ จะชวยเพิ่มอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจและผลประโยชนทางการคา การขยายตัวทางเศรษฐกิจของเมียนมารในอนาคตจึงนาจะมีเสถียรภาพมากกวาท่ีเปนอยูในปจจุบันท่ีสําคัญคือมองดูถึงเสถียรภาพและความมั่นคงทางการเมืองอันเปนปจจัยสําคัญท่ีจะนํามาสูการสนับสนุนการลงทุน การขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจภายในประเทศดวย แตถึงกระนั้นเมียนมาร ใหความสําคัญอยางยิ่งตอหลักการไมแทรกแซงกิจการภายใน และยึดมั่นท่ีจะดําเนินการทางการเมืองตามแนวทางของตน โดยไมใหฝายใดเขามากาวกายกิจการภายใน ขณะเดียวกันก็พยายามรักษาความสัมพันธท่ีดีกับประเทศท่ีจะเอื้อประโยชนตอเมียนมารโดยเฉพาะประเทศในภูมิภาค

7.4.1 วาดวยสังคมและวัฒนธรรมของชาวเมียนมาร

เมียนมารเปนดินแดน หนึ่ง ท่ีมีความเจริญรุงเรืองทางดานวัฒนธรรมมายาวนานนับต้ังแตยุคกอนประวัติศาสตรจนกระท่ังเขาสูยุคสมัยปจจุบัน และเปนประเทศท่ีมีความโดดเดนทางเอกลักษณวัฒนธรรม จากลักษณะทางดานภูมิศาสตรของประเทศเมียนมารนั้นเปนจุดยุทธศาสตรท่ีมีความสําคัญแหงหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตท่ีเปนจุดเช่ือมตอระหวางมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟกท้ังยังเปนดินแดนอันเกาแกของมนุษยท่ีมีความหลากหลายทางดานเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม ดํารงอยูรวมกันบนผืนแผนดินท่ีรุมรวยดวยทรัพยากรธรรมชาติแหงนี้ และไดหลอหลอมใหเมียนมารมีความเจริญรุงเรืองทางดานวัฒนธรรม รูปแบบสถาปตยกรรม ประเพณีวิถีชีวิต สภาพสังคมอันเปนเอกลักษณของตนเองมาชานาน

Page 9: บทที่ 7

9

7.5 สถานการณทางสังคมและวัฒนธรรมของสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร

ตามท่ีไดกลาวมาสหภาพเมียนมารมีพื้นท่ีทอดยาวจากเหนือลงมาทางใต เปนผืนแผกวางในตอนกลาง เรียวแหลมไปทางเหนือและใต ภูมิประเทศของสหภาพเมียนมาร แวดลอมดวยเนินเขาและพื้นท่ีสูง สลับดวยท่ีราบลุมน้ํา แมน้ําสําคัญท่ีหลอเล้ียงผืนแผนดินเมียนมาร ไดแก แมน้ําชินด วิน แมน้ําอิระวดี แมน้ําพะโค และแมน้ําสาละ วิน ทางตอนลาง ของสหภาพเมียนมาร มีชายฝงทะเลเหยียดยาวจากอาว เบงกอลทางทิศตะวันตกเฉียงใต แลวคอยออมมาทางดานตะวันออกเรื่อยลงไปทางดานใตทางฟากทะเลอันดามัน

ประเทศเมียนมารอุดมดวยทรัพยากรธรรมชาติท้ังบนดิน ใตดิน และในทะเล อาทิ ปาไม อัญมณี แรธาตุ น้ํามัน และแหลงอาหาร เมียนมารยังคงสภาพผืนปาธรรมชาติไวถึงครึ่งหนึ่งของพื้นท่ีประเทศ และเปนแผนดินท่ีอุดมดวยทับทิม หยก และพลอย มีโลหะมีคา อาทิ ทอง เงิน เหล็ก ตะกั่ว ทองแดง ดีบุก และสังกะสี มีแหลงพลังงาน อาทิ น้ํามัน กาซ และถานหิน ในน้ําอุดมดวยกุงและปลานานาชนิด ผืนแผนดินเมียนมารจึงมีสภาพแวดลอมและทรัพยากรท่ีออกจะสมบูรณอยูภายในตัว

นอกจากนี้ เมียนมาร เปนแผนดินแหงชาติพันธุ ระบุวามีจํานวนท้ังหมด 135 เผาพันธุ ตัวเลขนี้เปนขอมูลจากผลการสํารวจคราวๆโดยจําแนกพื้นท่ีตามรัฐและมณฑลตางๆท้ัง 14 แหง อยางไรก็ตามจํานวนกลุมชาติพันธุดังกลาวชวยทําใหเห็นภาพการกระจายตัวของกลุมวัฒนธรรมตางๆในประเทศเมียนมาร กลุมชนท่ีมีจํานวนประชากรคอนขางมากและมีความเปนมาทางประวัติศาสตรเดนชัดมีเพียง 8 กลุม คือ เมียนมาร ระไคน มอญ ฉาน กะฉ่ิน กะเหรี่ยง ชิน และคะยา แตละกลุมมีภาษาและเอกลักษณทางวัฒนธรรมเฉพาะกลุม และแมประเทศเมียนมารจะมีภาษาทองถ่ินมากมาย แตภาษาเมียนมารของคนพื้นราบถือเปนภาษาราชการและเปนภาษากลางของคนทุกเผาพันธุ เมียนมารมองวาความแตกตางหลากหลายของประชากรในประเทศเปนเพียงความแตกตางทางวัฒนธรรม แตทุกเผาพันธุตางมีสายเลือดเดียวกันและตางถือเปนพันธมิตรรวมแผนดิน

รัฐบาลเมียนมารปจจุบันถือวาอุดมการณชาตินิยมเปนพลังสําคัญท่ีชวยใหเมียนมาร ไดรับเอกราช และกองทัพเปนสถาบันหลักในการนําพาประเทศตลอดมา และไมวาระบอบการปกครองหรือระบบเศรษฐกิจจะปรับเปล่ียนไปในรูปใดก็ตาม รัฐบาลเมียนมารมักกลาวเสมอวาประชาชนจะขาดกองทัพไมได อยางไรก็ตาม แมเมียนมารจะปกครองในเชิงอํานาจ แตในสังคมเมียนมารท่ัวไปกลับพบวามีความสงบ และประชาชนสวนใหญมีวิถีชีวิตท่ีเรียบงาย พุทธศาสนานับวามีอิทธิพลตอโลกทัศนของชาวเมียนมาร และถือเปนแมแบบทางวัฒนธรรมและการดําเนินชีวิต การดํารงความเปน พุทธนิยมบนฐานประชาชนและชาตินิยมภายใตกองทัพแหงชาติยังเปนแนวทางท่ี รัฐบาลเมียนมารใชสรางความเขมแข็งใหกับการปกครองและสังคมเมียนมารจนถึงปจจุบัน

เมียนมารเปนประเทศท่ีมีศักยภาพสูงท้ังในดานการคาและการลงทุน เนื่องจากมีทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเปนปจจัยการผลิตสําคัญ อาทิ น้ํามัน กาซธรรมชาติ แรโลหะตางๆ อุดมสมบูรณ ประกอบกับรัฐบาลเมียนมารมีนโยบายสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศ โดยเฉพาะในสาขาการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ขณะท่ีความตองการบริโภคสินคาและบริการในประเทศเพิ่มข้ึนเปนลําดับ ซึ่งลวนเปนปจจัยเกื้อหนุนใหเศรษฐกิจเมียนมารขยายตัวอยางตอเนื่อง ทําใหผูสงออกและนักลงทุนจากท่ัวทุกมุมโลกเตรียมขยายโอกาสการคาการลงทุนกับเมียนมาร

Page 10: บทที่ 7

10

7.6 ชนกลุมนอยในเมียนมาร

การทําความเขาใจถึงปญหาของชนกลุมนอยในประเทศเมียนมาร มีความจําเปนอยางยิ่ง กลาวโดยสัดสวนแลวคนพมามีจํานวน 68% ในขณะท่ีชนกลุมนอยท้ังหมดในประเทศมีจํานวนรวมถึง 32% บรรดาชนกลุมนอย แยกออกเปน ไทใหญ ประมาณ 9% ,กะเหรี่ยง 7%, อาระกัน 4% ,คะฉ่ินและจีน 3%, อินเดีย 2%, มอญ 2%, กลุมอื่นๆ 5 % ฉะนั้นการทําความเขาใจความสัมพันธ ของกลุมท้ังสองนี้จะชวยทําใหมองเห็นความสัมพันธท้ังทางสังคมและเศษฐกิจของกลุมชาติพันธุตางๆในประเทศเมียนมาร ซึ่งจะเปนประโยชนตอการ ทําการคาและการลงทุนเปนอยางยิ่ง เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติจํานวนมาก อยูในเขตพื้นท่ีของกลุมชาติพันธุตางๆ และความขัดแยงหรือความสัมพันธ อันดีระหวางกลุมตางๆยอมมีผลกระทบโดยตรงกับการคาและการลงทุนอยางหลีกเล่ียงไมได

ประเทศเมียนมารเปนประเทศท่ีมีความหลากหลายทางชาติพันธุมากท่ีสุดแหงหนึ่งในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะภาษาพูดมีอยูถึง 100 ภาษา และในปจจุบันรัฐบาลไดแบงเขตปกครองออกเปนรัฐ 7 รัฐ ตามประชากรของกลุมชาติพันธุหลักของพื้นท่ีคือ กะฉ่ิน , ไทใหญ (ฉาน) ,ชิน,คะยา (กะเหรี่ยงแดง) ,กะเหรี่ยง ,อาระกัน (ยะไข) และมอญ อยางไรก็ตามในแตละรัฐประกอบดวยกลุมชาติพันธุหรือชนกลุมนอยอาศัยอยูอีกเปนจํานวนมาก ดังนั้นการท่ีอังกฤษไดพยายามรวบรวมดินแดน แหงความหลากหลายใหกลายเปนหนวยการเมืองหนึ่งเดียวภายใตอาณานิคม ในสมัยศตวรรษท่ี 19 พรอมกับดําเนินนโยบาย “แบงแยกแลวปกครอง” จึงกลายมาเปนตนเหตุของความขัดแยงท่ีรัฐบาลเมียนมารทุกยุคตองเผชิญ และพยายามแกปญหา รวมถึงรัฐบาลยุคปจจุบันท่ีพยายามใชวิถีทางตางๆ ในการแกปญหาความขัดแยงนี้ เพื่อท่ีจะไดเดินหนาการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจอยางเต็มท่ีตอไป

7.7 สถานการณปญหาชนกลุมนอยในปจจุบัน

ในขณะปญหาความขัดแยงของรัฐบาลกับชนกลุมนอยในพื้นท่ีตางๆของประเทศเริ่มคล่ีคลายลง เนื่องจากการลงนามยุติการสูรบกับชนกลุมนอยกลุมตางๆ ซึ่งสงผลดีตอความเช่ือมั่นของตางชาติในการคาและการลงทุน แตขณะเดียวกันการขยายตัวของการคาและการลงทุนกลับสงผลกระทบใหความสัมพันธระหวางรัฐบาลและชนกลุมนอยในพื้นท่ีของการคาและการลงทุนปะทุข้ึนในหลายพื้นท่ี

ปญหาความขัดแยงระหวางรัฐบาลเมียนมารและชนกลุมนอยเปนปญหาท่ีสืบเนื่องมายาวนาน เนื่องมาต้ังแตครั้งเมื่อตกเปนอาณานิคมของอังกฤษ มีปจจัยท่ีมีสวนสนับสนุนอยู 3 ประการคือ ปจจัยทางภูมิศาสตร ปจจัยทางประวัติศาสตของชนชาติพมาและกลุมชาติพันธุตางๆ และปจจัยทางการเมืองและการปกครอง

ส่ิงท่ีนักลงทุนตองคํานึงถึงประเด็นปญหาของชนกลุมนอยของประเทศเมียนมารในสถานการณปจจุบันก็คือ การคาและการลงทุนในพื้นท่ีตางๆท่ีมีชนกลุมนอยอยูในพื้นท่ีนั้น จําเปนตองพิจารณาถึงผลกระทบท่ีมีตอกลุมคนดังกลาวดวย เนื่องจากวารัฐบาลยังไมสามารถท่ีจะจัดการความสัมพันธและผลประโยชนไดอยางลงตัว

ปญหาความขัดแยงระหวางรัฐบาลและชนกลุมนอย ไมเพียงแตจะสรางปญหาข้ึนภายในเทานั้น ความขัดแยงระหวางกัน ไดขยายตัวลุกลามเช่ือมโยงไปถึงประเทศเพื่อนบานโดยเฉพาะประเทศไทย ซึ่งตองรับภาระของการดูแลผูอพยพภัยสงครามระหวางกลุมชนตลอดเสนเขตแดนระหวางรัฐ ขณะเดียวกันผลจากความขัดแยงดังกลาวยังสงผลกระทบโดยตรงตอการคาการลงทุนของผูลงทุนชาวไทย ดวยเหตุนี้การทําความเขาใจปญหาของความขัดแยงชนกลุมนอยในประเทศ เมียนมารจึงมีความจําเปนท่ีจะตองติดตามความเปล่ียนแปลงอยางใกลชิด

Page 11: บทที่ 7

11

7.8 ขอควรรูเก่ียวกับวัฒนธรรมการติดตอธุรกิจกับชาวเมียนมาร

ในบรรดาผูประกอบการตางชาติท้ังหลาย ผูประกอบการไทยมีความไดเปรียบในการทําการคา การลงทุนกับเมียนมารจากทําเลท่ีต้ังซึ่งมีพรมแดนติดตอกับเมียนมารเปนระยะทางถึง 2 ,401 กิโลเมตร สงผลเกื้อหนุนใหมูลคาการคาชายแดนระหวางไทยกับเมียนมารมีสัดสวนสูงถึงเกือบรอยละ 90 ของมูลคาการคาระหวางไทยกับเมียนมารท้ังหมด ขณะท่ีมูลคาการลงทุนสะสมของไทยในเมียนมารสูงเปนอันดับ 2 รองจากจีน ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงโอกาสของผูประกอบการไทยในการขยายการคาการลงทุนในเมียนมารวายังมีอีกมาก สําหรับธรรมเนียมในการติดตอธุรกิจกับชาวเมียนมารท่ีนารูเพื่อใหการเจรจาธุรกิจเปนไปอยางราบรื่นมีดังนี้

1) ภาษาท่ีใชในการเจรจาธุรกิจ เมียนมารมีภาษาทองถ่ินท่ีแตกตางกันมากกวา 100 ภาษา และใชภาษาเมียนมาร (Burmese หรือ Myanmar) เปนภาษาราชการ

2) การแตงกาย ในการเจรจาธุรกิจควรแตงกายสุภาพและภูมิฐาน โดยสุภาพบุรุษควรสวมเส้ือเช้ิต ผูกเนคไท และสวมสูท สําหรับสุภาพสตรีควรสวมเส้ือแบบสุภาพ (เส้ือมีแขนและเนื้อผาไมบางจนเกินไป) และกระโปรงยาวคลุมเขา รวมท้ังควรหลีกเล่ียงการสวมเส้ือผาสีจัด เชน สีแดงและสีแสด ท้ังนี้โดยท่ัวไปชาวเมียนมารนิยมสวมชุดสากลในการเจรจาธุรกิจ

3) การทักทาย ชาวเมียนมารทักทายกันโดยกลาวคําวา “มิงกะลาบา” (มาจากคําวา มงคล) แทนคําวา “สวัสดี” ซึ่งสามารถใชไดตลอดท้ังวัน สุภาพบุรุษอาจทักทายกันตามแบบสากลดวยการสัมผัสมือพรอมกับยิ้ม อยางไรก็ตาม การทักทายดวยการแตะตองและยื่นมือไปหาสุภาพสตรีถือวาไมสุภาพ จึงอาจทักทายดวยการโคงตัวเล็กนอยแทน สําหรับการเอยช่ือคูเจรจาชาวเมียนมารควรเรียกช่ือเต็ม

4) การติดตอและนัดหมาย ชาวเมียนมารยังไมนิยมใช E-mail อยางแพรหลาย ในการติดตอและนัดหมายทางธุรกิจ ดังนั้น ควรติดตอผานโทรสาร โทรศัพทหรือนัดพบปะเพื่อพูดคุยกัน ซึ่งควรมีการนัดหมายลวงหนาและไปตรงตามเวลานัดหมาย นอกจากนี้อาจนําของขวัญเล็กๆ นอยๆ ติดตัวไปมอบใหคูเจรจาเพื่อแสดงความขอบคุณ

5) การเจรจาและทํางานรวมกัน ในการเจรจาธุรกิจครั้งแรกกับชาวเมียนมาร ชาวเมียนมารสวนใหญไมนิยมกลาวถึงเรื่องธุรกิจอยางลึกซึ้ง แตจะใชเวลาสอบถามและเรียนรูลักษณะนิสัยของคูเจรจา รวมถึงจุดแข็งและจุดออนของธุรกิจของคูเจรจาอยางคราวๆ ท้ังนี้ชาวเมียนมารใหความเคารพผูอาวุโสกวาอยางมากเชนเดียวกับชาวเอเชียชาติอื่นๆ

6) การรวมรับประทานอาหาร สําหรับการรับประทานอาหารรวมกันท่ีบานของชาวเมียนมาร จะนิยมนั่งรับประทานอาหารรวมกันบนเส่ือ แตหากรับประทานบนโตะ อาหารเมียนมารมีขาวเปนอาหารหลักและจะเสิรฟพรอมกันเปนสํารับเหมือนอาหารไทยโดยวางตรงกลางสําหรับรับประทานรวมกัน ชาวเมียนมารยังมีธรรมเนียมในการใชมือซายในการใชชอนกลางและนิยมรับประทานอาหารดวยชอนกับสอมโดยไมใชมีด นอกจากนี้ชาวเมียนมารไมด่ืมเครื่องด่ืมท่ีมีมีแอลกอฮอลระหวางรับประทานอาหาร

Page 12: บทที่ 7

12

7.9 เมียนมารมองไทย ไทยมองเมียนมาร

ความสัมพันธระหวางประเทศไทยและสหภาพเมียนมาร เปนความสัมพันธท่ีพัฒนามาจาก “ความทรงจํา” ในอดีตเปนหลัก สืบเนื่องมาจากความขัดแยงและสงคราม ท่ีเกิดข้ึนในยุครัฐจารีตสมัยอยุธยา ผนวกกับองคความรู “ชีวประวัติของชาติไทย ” ท่ีพัฒนามาควบคูกับการสถาปนารัฐชาติ ( Nation State) โดยผานแบบเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ รวมถึงการนําเสนอของส่ือตางๆของไทย เชน ขาวหนังสือพิมพ ละคร หรือภาพยนตร ไดชวยปรุงแตงภาพลักษณของประเทศพมา จนเกิดเปนทัศนคติท่ีเปนปรปกษระหวางกันมาเปนระยะเวลายาวนาน ภาพของ “พมา” จึงเปนศัตรูคูแคนท่ีเผาทําลายอาณาจักรอยุธยาไปถึงสองครั้ง และยังนําเอาทองคําและความมั่งค่ังของอยุธยากลับไปดวย

ทัศนะท่ีมีตอชนชาติอื่น ๆ ของชาวพมานั้นมองวา อังกฤษคือเจาอาณานิคมท่ีมากอบโกยผลประโยชนเอารัดเอาเปรียบและกีดกันชนพื้นเมือง คนพมาถูกกีดกันจากอังกฤษท้ังในทางการศึกษาและอาชีพรวมถึงละเลยไมสนับสนุนพุทธศาสนาและภูมิปญญาทองถ่ิน สวนญี่ปุนเปนพวกท่ีทําลายเศรษฐกิจและสังคมพมา ชาวเมียนมารยอมรับเช้ือสายมอญและอารยธรรมมอญ มองไทใหญวาเปนภัยตอประเทศ การเรียกรองของไทใหญเพื่อใหมีการปกครองแบบสหพันธรัฐนั้นทําใหประเทศพมาเกือบลมสลาย มองกะเหรี่ยงวาเปนสมุนของอังกฤษ มองยะไขวาเปนเมืองท่ีตองยึดใหอยูในอํานาจและมองแขกวาเปนพวกนายทุนเงินกูท่ีทําลายวิถีชีวิตของชาวนาพมา นอกจากนั้นยังมองจีนวาเปนผูรุกราน

ในกรณีของไทยนั้น เดิมทีประเทศเมียนมารไมไดมองวาเปนคูอริสําคัญท่ีตองตอตานเชนอังกฤษและญี่ปุน หากพบการอางถึงอยูบางในนิยายอิงประวัติศาสตรท่ีใหภาพไทยเปน “ผูรุกราน” และ “ผูไรสัจจะ” แตภาพลักษณของไทยเพิ่งไดรับการสรางภาพใหมในทางลบอยางจริงจัง เมื่อไมนานมานี้เองโดยผานแบบเรียนระดับช้ันมัธยม เนื้อหาในแบบเรียนดังกลาวใหความสําคัญตอความรุงเรืองของประเทศในอดีตและช้ีใหเห็นภัยคุกคามจากภายนอกเพื่อกระตุนความรักชาติ มีการเนนวีรกรรมของกษัตริยและนักรบพมา ในการสรางเอกราช เอกภาพและอธิปไตย รวมถึงยืนยันในความดีงามของจารีตประเพณีชาวพุทธ นอกจากนี้ยังปลูกฝงใหเยาวชนตอตานชาติตะวันตกและโลกทุนนิยม

นาสนใจวาภาพลักษณดานลบของไทย ท่ีเพิ่งปรากฏอยูในแบบเรียนใหมนั้น สะทอนใหเห็นรูปแบบ ความสัมพันธระหวางไทยและประเทศเมียนมารแตกตางไปจากเดิมอยางมาก ภาพลักษณเชนเดียวกันนี้ ไดรับการขยายความและเนนย้ําผานส่ือของรัฐบาล ดังท่ีปรากฏในหนังสือพิมพพมา ฉบับภาษาอังกฤษ The New Light of Myanmar ชวงเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2545 ซึ่งถือเปนกระบอกเสียงสําคัญของรัฐบาล ทาทีของประเทศเมียนมารในลักษณะดังกลาวนี้ เปนเรื่องท่ีนักลงทุนไทยจําเปนตองใหความสําคัญ เพราะแสดงใหเห็นวา ภาพลักษณท่ีประเทศไทยและคนไทยท่ีมีตอประเทศเมียนมารมาแตเดิมนั้น กําลังไดรับการตีโตตอบกลับในลักษณะเดียวกัน และทาทีเชนนี้เปนส่ิงท่ีจะเปนปญหาและอุปสรรคสําคัญระหวางประเทศตอไป

Page 13: บทที่ 7

13

7.10 เมืองท่ีนาลงทุนในสหภาพเมียนมาร: มุมมองจากการศึกษาสังคมวัฒนธรรม

จากการพิจารณาขอมูลทางสังคมและวัฒนธรรมของสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร เปนประเทศเพื่อนบานท่ีไทยมีความสัมพันธทางการคาและการลงทุนมานานโดยพมาก็มีการนําเขาสินคาจากไทยเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง กระนั้นก็ดี ธุรกิจไทยท่ีรูจักและทําการคากับพมาก็ยังคอนขางจํากัดอยูในบางพื้นท่ีและบางกลุมธุรกิจเทานั้น แตนับจากพมามีการเปล่ียนแปลงทางการเมืองภายในประเทศในทิศทางท่ีเสรียิ่งข้ึนและไดรับการยอมรับจากนานาชาติเพิ่มข้ึนจนไดรับการผอนคลายการคว่ําบาตรจากประเทศตางๆ โดยเฉพาะสหรัฐฯและสหภาพยุโรป ไดสงผลตอทิศทางเศรษฐกิจเมียนมารคอนขางมาก ดังนั้น ไทยในฐานะท่ีเปนท้ังสมาชิกอาเซียนเชนเดียวกับเมียนมาร และยังเปนประเทศเพื่อนบาน ท่ีมีพรมแดนติดตอกันเปนระยะทางยาวสุดในบรรดาประเทศเพื่อนบานถึง 2,401 กิโลเมตร จึงไมควรพลาดจังหวะเวลาสําคัญท่ีจะขยายตลาดการคาการลงทุนในเมียนมารกอนคูแขงจากตลาดโลก โดยเฉพาะประเทศในกลุมอาเซียนดวยกัน จะเขาครองสวนแบงตลาดในเมียนมารไป เราจะพบวาในพื้นท่ีของประเทศเมียนมารนั้นมีความแตกตางทางดานสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและการเมืองเปนอยางมาก เมือง จึงเปนส่ิงจําเปนท่ีผูสนใจทําธุรกิจในตลาดเมียนมารควรรูจักเพื่อใหกาวสูตลาดประเทศเมียนมารไดอยางเหมาะสมท้ังในแงการคาและการลงทุนท่ีสําคัญอาทิ แตพื้นท่ีสําคัญท่ีนาจับตามองตอการลงทุนประกอบดวย

1) นครเนปดอว (Nay Pyi Daw): เมืองหลวงและศูนยราชการ

นครเนปดอว ต้ังอยูบนพื้นท่ีราว 7 พันตารางกิโลเมตร (กวา 4 เทาของพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร) ซึ่งไดรับการประกาศใหเปนเมืองหลวงใหมของเมียนมาร เมื่อป 2548 ไดรับการวางผังเมืองเปน 4 โซนหลัก คือ โซนราชการ โซนทหาร โซนโรงแรม และโซนอุตสาหกรรม ปจจุบันนครเนปดอว มีบทบาทเปนศูนยกลางราชการและงานบริหารประเทศและเปนท่ีต้ังหนวยงานของกองทัพทหาร และเปนพื้นท่ีท่ีอยูภายใตการบริหารของประธานาธิบดีของเมียนมารโดยตรง และมีประชากรอยูราว 9 แสนคน

2) กรุงยางโกง-ยางกุง (Yangon): ศูนยกลางทางเศรษฐกิจของประเทศเมียนมาร

กรุงยางโกงเปนเมืองหลวงเกาของเมียนมารท่ีต้ังข้ึนเมื่อครั้งยังอยูภายใตปกครองของสหราชอาณาจักร แมปจจุบันเมียนมารไดยายเมืองหลวงไปอยูนครเนปดอวแลว แตกรุงยางโกงยังคงมีบทบาทเปนศูนยกลางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การคา การลงทุน และเปนศูนยกลางกระจายสินคาของประเทศเมียนมาร เนื่องจากกรุงยางโกงมีความพรอมดานระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานและการคมนาคมรองรับท้ังทางบก (ถนนและรถไฟ) ทางน้ํา (มีแมน้ําอิรวดีเปนเสนทางขนสงในประเทศ) และมีทาเรือน้ําลึกขนาดใหญท่ีสุดของประเทศรองรับการขนสงระหวางประเทศ และทางอากาศ (มีสนามบินนานาชาติยางโกงรองรับสายการบินภายในประเทศและระหวางประเทศ โดยสามารถรองรับผูโดยสารไดราว 2.7 ลานคน) ปจจุบันยางโกงมีประชากรมากท่ีสุดในประเทศเปนจํานวนราว 5.4 ลานคน

3) เมืองมัณฑะเล (Mandalay): ศูนยกลางเศรษฐกิจตอนบนของเมียนมาร

เมืองมัณฑะเลเปนเมืองเอกและเปนเมืองสําคัญอันดับ 2 ของเมียนมาร และมีประชากรราว 1 ลานคน มีบทบาทเปนศูนยกลางเศรษฐกิจ ทางตอนบนของประเทศและเปนเสนทางผานสินคาชายแดนของเมียนมารกับประเทศอินเดียและจีน ท้ังยังเปนฐานการผลิตสินคาอุปโภคบริโภคและสินคาทุนท่ีสําคัญของเมียนมาร นอกจากนี้ เมืองมัณฑะเลยังเปนศูนยกลางศาสนาและวัฒนธรรมท่ีสําคัญของเมียนมาร เปนแหลงเพาะปลูกฝาย ยาสูบ และ ธัญพืชตางๆ นอกจากนี้ รัฐบาลยังใหการสงเสริมเปนศูนยกลางพัฒนาดานเทคโนโลยีของประเทศ โดยมีการจัดต้ัง Cyber city ท่ีเมือง Yatanarpon (Yatanarpon Cyber City) ในความรับผิดชอบ

Page 14: บทที่ 7

14

ของกระทรวงการส่ือสารและไปรษณีย ( Ministry of Communications, Posts and Telegraphs) ของเมียนมาร ท้ังนี้ เมืองมัณฑะเล มีทาอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลซึ่งเปนทาอากาศยานท่ีใหญท่ีสุดและทันสมัยท่ีสุดของเมียนมาร สามารถรองรับผูโดยสารไดมากกวา 3 ลานคนตอป สวนใหญรองรับนักทองเท่ียวตางชาติและนักธุรกิจท่ีเขามาทําธุรกิจในเมียนมาร นอกจากนี้ เมืองมัณฑะเลยังเปนจุดเช่ือมตอเสนทางรถไฟระหวางตอนลางและตอนบนของประเทศ ท้ังยังสามารถเช่ือมไปยังเสนทางรถไฟในยุโรปและเอเชียใตไดดวย

ในขณะท่ีเมื่อเปรียบเทียบในแงศักยภาพการกระจายสินคาของกรุงยางโกงและเมืองมัณฑะเล จะเห็นวา กรุงยางโกงมีท่ีต้ังอันเปนยุทธศาสตรอันเอื้อตอศักยภาพดานการกระจายสินคาของประเทศเมียนมารชัดเจนกวา โดยกรุงยางโกงสามารถพัฒนาโครงขายการกระจายสินคาไดครบวงจรกวา ท้ังการขนสงทางอากาศผานทาอากาศยานนานาชาติ ยางโกงการขนสงทางทะเลผานทาเรือน้ําลึกยางโกงและทาเรือทิวาลาท่ีอยูระหวางดําเนินการกอสราง การขนสงทางน้ําภายในประเทศโดยมีแมน้ําหลายสายไหลมาบรรจบลงทะเลท่ีกรุงยางโกง รวมถึงการขนสงทางถนนซึ่งสามารถเช่ือมโยงไปยังพื้นท่ีเศรษฐกิจตางๆ ของประเทศเมียนมารไดอยางท่ัวถึง

7.11 สถานการณทางการเมืองในเมียนมารปจจุบัน: ความขัดแยงและการเปลี่ยนแปลง

ในขณะท่ีเมียนมารกําลังถูกจับตามองจากนานาชาติ เนื่องจากกระบวนการการเปนประชาธิปไตยในประเทศกําลังดําเนินไปอยาง มีพลวัตร ท้ังการเลือกต้ัง บทบาทของนางออง ซาน ซูจี ในฐานะผูนําฝายคาน และการเดินทางไปประเทศตางๆ เพื่อสรางความมั่นใจใหแกนานาชาติถึงแนวทางการสรางประชาธิปไตยภายหลังการปกครองโดยรัฐบาลทหารมายาวนานหลายสิบป ประเทศเมียนมารจึง เปนท่ีสนใจจากประเทศตางๆ เพราะหมายถึงแหลงการลงทุนท่ีสําคัญท่ีมีความอุดมสมบูรณทางทรัพยากรและตลาดแรงงานราคา แมวาสถานการณทางการเมืองรายวัน จะมีความรุนแรงนอยลง แตอีกดานหนึ่ง เมียนมาร ยังคงเผชิญหนาภัยความทาทายในเรื่องปญหาของชนกลุมนอยหรือกลุมชาติพันธุท่ีมีความหลากหลายในประเทศ และมีรากฐานความขัดแยงมาเปนระยะเวลายาวนาน ความแตกตางทางชาติพันธุและศาสนาเปนปญหาท่ีฝงรากลึก ยากท่ีจะแกไขดวยความเปล่ียนแปลงเพียง ชวงระยะเวลา ส้ันๆ เชน เหตุรุนแรงท่ีเกิดข้ึนท่ีรัฐ ระไคนทางตะวันตกของเมียนมาร ระหวาง เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2555-มีนาคม พ.ศ. 2556 ไดขยายความรุนแรงไปเรื่อยๆ กลายเปนความขัดแยงทางศาสนาท่ีรุนแรงในรอบหลายประหวาง “ชาวพุทธ ” และ “ชาวมุสลิม ” (โรฮิงญา ) ซึ่งเหตุการณรุนแรงดังกลาว ถูกจับตามองจากประเทศมหาอํานาจ และกลุมสิทธิมนุษยชน ท่ีกังวลวาจะเปนตนเหตุใหรัฐบาล เมียนมาร ใชเปนขออางในการนํากําลังทหารกลับเขามายึดอํานาจ และควบคุมสถานการณท้ังหมดในประเทศอีกครั้ง ซึ่งจะสงผลใหสถานการณเลวรายลงกวาเดิม และทําลายกระบวนการ เปล่ียนแปลงประเทศสูวิถีเสรีประชาธิปไตย

เปนท่ีทราบกันวารัฐบาลเมียนมารมีแนวทางการแกปญหาชนกลุมนอยในภาพรวม 3 ข้ันตอนท่ีสําคัญ ไดแก การเจรจาทําขอตกลงหยุดยิงกับกองกําลังชนกลุมนอย การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อสรางงานสรางรายไดใหกับคนในพื้นท่ี และในทายท่ีสุดก็คือ การหาทางออกระยะยาวโดยการผลักดันใหเกิดการจัดต้ังพรรคการเมืองของชนกลุมนอยและรวมกันแสวงหาแนวทางแกปญหาในรัฐสภาท่ีผานมา จากปญหาความขัดแยงอันเนื่องมาจากความแตกตางทางชาติพันธุและศาสนาดังกลาว สะทอนใหเห็นปญหาในหลายระดับ กลาวคือสวนหนึ่งเกิดมาจากความแตกตางทางเช้ือชาติและศาสนา แตในอีกดานหนึ่งสะทอนใหเห็นวาเปนผลมาจากความขัดแยงในทางเศรษฐกิจของกลุมเช้ือชาติท่ีมีอํานาจทางเศรษฐกิจท่ีไมเทาเทียมกัน ซึ่งปญหาดังกลาว สงผลใหนักลงทุนตางชาติยังคงกังวลถึงความเส่ียงท่ีอาจเกิดข้ึนกับธุรกิจอันเนื่องมาจากเสถียรภาพท่ีไมมั่นคงเพียงพอท่ีจะสรางความเช่ือมั่นใหนักลงทุนได

Page 15: บทที่ 7

15

7.12 ไทย-เมียนมาร: สถานการณความสัมพันธระหวางประเทศ

ความสัมพันธระหวางประเทศ โดยภาพรวม กับประเทศไทย เมียนมาร มีทาทีตอบสนองการดําเนินนโยบายของไทยมากข้ึนจากในอดีต โดยเฉพาะในประเด็นท่ีกําลังสงผล ดีตอโครงสรางทางเศรษฐกิจและสังคมของเมียนมารเอง เนื่องจากเมียนมารอยูในระหวางการปฏิรูปประเทศเพื่อการพัฒนาในดานตางๆ การเขาไปลงทุนของรัฐบาลไทยจึงมีความสําคัญอยางยิ่งท่ีจะชวยสรางความสัมพันธระหวางประเทศ และการสงวนทาทีทางการทหารท่ีแข็งกราวของรัฐบาลเมียนมารเชนในอดีต จึงไดมีการทําขอตกลงตางๆรวมกั นเพิ่มข้ึน เพื่อกระชับความสัมพันธทางเศรษฐกิจท้ังสองประเทศและพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ตลอดจนเปนการชวยสรางรายไดใหแกประชาชนบริเวณชายแดนของท้ังสองประเทศและนํารายไดเขาสูประเทศ เชน โครงการทาเรือขนสงทางเศรษฐกิจทวาย หรือโครงการพัฒนาแหลงไฟฟาพลังงานทางเลือก โครงการทางดานการศึกษาและการสาธารณสุข และโครงการอื่น ความสัมพันธระหวางประเทศในดานตางๆท่ีกลาวมาในโครงการเหลานี้ระหวางไทยกับเมียนมารในปจจุบันถือวาชวยเพิ่ม ศักยภาพทางเศรษฐกิจ ของเมียนมารไปพรอมๆกับ ไทย แตขณะเดียวกัน ยังคงมีความหวาดระแวงตอการดําเนินนโยบายตางๆของไทยอยู โดยเฉพาะการใหความชวยเหลือ รวมท้ังนโยบายสงเสริมการคาการลงทุนของไทย นอกจากนี้ยังคงปกปองความเปราะบางของสถาบันการเมืองไวอยางเหนียวแนนทามกลางการปะทะประสานกันระหวางแนวคิดการพัฒนาท่ีแตกตางกันระหวางสองข้ัวคือประชาธิปไตยและเผด็จการ นาสนใจท่ีเมียนมาร มีทาทีปฏิเสธอยางส้ินเชิงตอบทบาทของไทยในกระบวนการพัฒนาการเมืองภายในของเมียนมาร ขณะเดียวกันกลับรับเอาการพัฒนาดานนโยบายทางเศรษฐกิจจากประเทศไทยโดยเฉพาะอยางยิ่ง การตัดสินใจมารวมการประชุม World Economic Forum 2012 ท่ีผานมา ไมเพียงทําใหการประชุมทางดานเศรษฐกิจและธุรกิจมีสีสันข้ึนมาอยางมากเทานั้น หากแตชวยใหการปฏิรูปทางการเมืองเพื่อประชาธิปไตยและการปรองดองแหงชาติในพมาจะหยั่งรากฐานท่ีมั่นคง และความสัมพันธระหวางประเทศในฐานะเพื่อนบานและสมาชิกอาเซียนรวมกัน ชวยเสริมสรางใหสถานการณความสัมพันธระหวางไทยกับเมียนมารยิ่งข้ึนและเปนไปในทิศทางท่ีดีตราบใดท่ีรัฐบาลของท้ังสองประเทศยังคงใหความสัมพันธกับเรื่องระหวางประเทศและการพัฒนาประเทศคูการคา-เจรจา

7.13 มองเมียนมารในปจจุบัน: เสถียรภาพ ความม่ันคงและการเมือง

ในปจจุบัน สถานการณทางการเมืองในประเทศเมียนมาร ยังไมเปนท่ีไววางในตอนักลงทุนมากนัก รัฐบาล เมียนมาร ยังคง ดําเนิน นโยบาย แข็งกราวตอ ผูท่ีมีความเห็นตางทางดานการเมืองอยูอยางตอเนื่องโดยเฉพาะในประเด็นของความขัดแยงท่ีเนื่องมาจากศาสนาและชาติพันธุ โดยเฉพาะเหตุการณการปราบปรามชนกลุมนอยโรฮิงญาในรัฐระไคนซึ่งเปนชาวมุสลิม เหตุการณท่ีเมืองมิถิลา หรือกรณีท่ีรัฐคะฉ่ิน ซึ่งหากรัฐบาลยังคงดําเนินนโยบายแข็งกราวนี้ตอไป จะทําใหการขับเคล่ือนในทางการเมืองและเศรษฐกิจลาชามากข้ึน

ความทาทายครั้งใหมของ เมียนมาร ในปจจุบันคือ จะกาวเดินอยางไรในการ ปรับเปล่ียนทิศทางของพัฒนาประเทศ การเปดประเทศสูความเปนทุนนิยมเสรีมากข้ึน ปมปญหาทางศาสนาและ ชาติพันธุความยากจน และปญหา ความสัมพันธกับนานาประเทศ ขณะท่ีการพิจารณาเขาไปลงทุนของคนไทยในเมียนมาร จําเปน ตองพิจารณาใหรอบดาน ท้ังในทาง การเมือง เศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรม ซึ่งปจจัยดังกลาวจะมีผลกระทบระหวางกันอยางหลีกเล่ียงไมได

Page 16: บทที่ 7

16

7.11 บทสรุป

เมียนมารมีตลาดในประเทศขนาดใหญ เนื่องจากมีจํานวนประชากรมากถึง 57 ลานคน และยังมีความตองการสินคาคอนขางมากหลังจากการเปดประเทศ โดยเฉพาะสินคาทุนและสินคาอุปโภคบริโภค ดังนั้น การเขารวมเปนสมาชิกอาเซียนของเมียนมาร จะทําใหเมียนมารมีการคาระหวางประเทศเพิ่มมากข้ึน นโยบายภาครัฐท่ีสงเสริมใหมีการลงทุนในสาขาผลิตตาง ๆ โดยพยายามลดบทบาทภาครัฐในการดําเนินการผลิตผานการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ รวมท้ังการเปดเสรีในการลงทุนมากข้ึน

การพิจารณาถึงลักษณะทางวัฒนธรรมและสังคมเฉพาะบางประการจึงเปนโอกาสหนึ่งในการทําความเขาใจประเทศเมียนมารใหมากข้ึน การเรียนรูสภาพสังคมและวัฒนธรรมของชาวเมียนมารจึงเปนโอกาสอันดีใหนักลงทุนสามารถท่ีเขาไปลงทุนไดประสบความสําเร็จ โดยคํานึงถึงตนทุนความเส่ียงดานสังคมและวัฒนธรรมอันเปนผลใหการลงทุนไมประสบความสําเร็จไดเปนอยางดี หลักเกณฑ ขอหามตาง ๆ ประวัติศาสตรบาดแผลและความบอบชํ้าทางการเมืองท่ีทําใหเปนชนวนเหตุใหการเจรจาการคาและธุรกิจไมประสบผลสําเร็จและราบรื่น รวมไปถึงการทําความเขาใจวิถีชีวิตของผูคนท่ีแตกตางกันไปตามลักษณะทางภูมิศาสตร ภูมิสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้น นักลงทุนจึงควรเรียนรูลักษณะเฉพาะ เชน รสนิยม พฤติกรรมการบริโภค ลักษณะทางภูมิศาสตรของแตละพื้นท่ีซึ่งส่ิงเหลานี้เปนปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีสําคัญตอการเอื้ออํานวยใหภาคอุตสาหกรรมไทยประสบความสําเร็จในสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร

อยางไรก็ตาม ขอท่ีควรคํานึงถึงอยางสําคัญสําหรับนักลงทุนก็คือ ทัศนคติท่ีมีตอคนกลุมตาง ๆ ในประเทศเมียนมารท่ีควรหลีกเล่ียงการใหภาพเหมารวมกับคนกลุมตาง ๆ เชน นักลงทุนหลายราย ใหภาพวาลูกจางชาวพมาหรือชนกลุมนอย “ข้ีเกียจ” “ไมซื่อสัตย” “เรียนรูชา” “ชอบโกหก” ซึ่งเปนทัศนคติในแบบเดียวกับท่ีชาติตะวันตกมองกลุมคนพื้นเมืองชาติตะวันออกโดยเฉพาะในประเทศแถบเอเชีย ในฐานะท่ีเปนนักลงทุนไทยเอง ยอมตระหนักดีวา ภาพเหมารวมดังกลาวมิไดสะทอนขอเท็จจริงอยางแมนตรง และดวยความมุงมั่นท่ีทําความเขาใจระหวางสังคมและวัฒนธรรมท่ีแตกตางกันดวยทัศนคติท่ีมองคนอื่น ๆ วามีความเทาเทียมกับตนเทานั้น จึงจะเปนทางท่ีจะประสบผลสําเร็จในการคาและการลงทุนในประเทศเมียนมาร

Page 17: บทที่ 7

17