ป จจัยที่มีอิทธิพลต...

107
ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ของ ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดย นางสาววรรณภรณ สินาเจริญ การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปการศึกษา 2558 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Upload: others

Post on 21-Jul-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปรมิณฑล

โดย

นางสาววรรณภรณ สินาเจริญ

การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ปการศึกษา 2558

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 2: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปรมิณฑล

โดย

นางสาววรรณภรณ สินาเจริญ

การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ปการศึกษา 2558

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 3: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

FACTORS AFFECTING CUSTOMER DECISION ON BUYING ADIDAS

SPORT SHOES IN BANGKOK AND METROPOLITIAN AREA

BY

MISS WANNAPORN SINACHAROEN

AN INDEPENDENT STUDY SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF

THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF

MASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION

FACULTY OF COMMERCE AND ACCOUNTANCY

THAMMASAT UNIVERSITY

ACADEMIC YEAR 2015

COPYRIGHT OF THAMMASAT UNIVERSITY

Page 4: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·
Page 5: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(1)

หัวขอการคนควาอิสระ ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(ADIDAS) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และ

ปริมณฑล

ชื่อผูเขียน นางสาววรรณภรณ สินาเจริญ

ชื่อปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

อาจารยท่ีปรึกษาคนควาอิสระ รองศาสตราจารย ดร.มนวิกา ผดุงสิทธิ์

ปการศึกษา 2558

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่อง ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล มีวัตถุประสงคเพ่ือสํารวจพฤติกรรมการซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส รวมถึงศึกษาถึงความสัมพันธระหวางปจจัยสวนประสมทางการตลาด ประกอบดวย

ปจจัยดานผลิตภัณฑ (Product) ปจจัยดานราคา (Price) ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย (Place)

ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด (Promotion) ปจจัยดานบุคคล (People) ปจจัยดานกระบวนการ

(Process) และปจจัยดานกายภาพ (Physical Evidence) และปจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร

ดานเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดตอเดือน ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และ

ปริมณฑล การศึกษางานวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยแบบการสํารวจ (Survey Research) โดยประชากรท่ี

ทําการศึกษา คือ ผูบริโภคท่ีเคยซ้ือรองเทากีฬา ยี่หออาดิดาส (Adidas) ท่ีอาศัยอยูในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยทําการสํารวจผานแบบสอบถาม (Questionnaire) และไดรับ

ขอมูลแบบสอบถามตอบกลับท่ีมีความสมบูรณรวมท้ังสิ้น 407 ชุด

ผลการวิจัย พบวา ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS)

มีจํานวน 4 ปจจัย โดยเรียงตามลําดับจากมากไปนอย ไดแก ปจจัยดานตราสินคาของผลิตภัณฑ ,

ปจจัยดานกระบวนการ , ปจจัยดานผลิตภัณฑ และ ปจจัยดานบุคคลและลักษณะกายภาพ

ในสวนของลักษณะทางประชากรศาสตร ผลการวิจัยพบวา การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล มีความแตกตางกันในดาน

อายุ ระดับการศึกษาและรายไดตอเดือนท่ีแตกตางกัน โดยกลุมตัวอยางท่ีมีชวงอายุมากกวา 30 ปข้ึน

ไป มีการตัดสินใจซ้ือมากกวาชวงอายุนอยกวาหรือเทากับ 30 ป นอกจากนี้ระดับการศึกษาปริญญาโท

Page 6: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(2)

หรือสูงกวามีการตัดสินใจซ้ือมากกวาระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทาปริญญาตรี และ

ระดับรายไดตอเดือน ในชวง 30,001- 40,000 บาท มีการตัดสินใจซ้ือมากท่ีสุด

ผลการศึกษาดังกลาว จะเปนแนวทางใหผูผลิต ผูประกอบการ สามารถนํา

ผลการวิจัยไปทําการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ รวมถึงวิเคราะหและพัฒนาแผนการตลาด วาง

นโยบายการตลาดของตนใหสอดคลอง และเหมาะสมกับความตองการท่ีแทจริงของผูบริโภครองเทา

กีฬา ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เพ่ิมมากยิ่งข้ึน

คําสําคัญ: รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas)

Page 7: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(3)

Independent Study Title FACTORS AFFECTING CUSTOMER DECISION ON

BUYING ADIDAS SPORT SHOES IN BANGKOK

AND METROPOLITIAN AREA

Author MISS. WANNAPORN SINACHAROEN

Degree Master of Business Administration

Faculty/University Commerce and Accountancy

Thammasat University

Independent study Advisor Associate Professor Monvika Phadoongsitthi,

Ph.D.

Academic Years 2015

ABSTRACT

The 7P’s marketing mix - people, product, price, promotion, place,

process and physical evidence – was used to study consumer decision on buying

Adidas sport shoes in the Bangkok metropolitan area. Demography, including gender,

age, education, occupation, and income level – was also taken into account. As a

survey, 407 questionnaires were filled out by Adidas customers living in the Bangkok

metropolitan area.

Results were that purchases were influenced by brand, process, product,

and people and physical evidence, in decreasing order.

Demographically, customers with different ages, education and income

levels had different buying behaviors. Those older than 30 tended to buy more than

younger consumers. Shoppers with master’s degrees or higher educational level

tended to buy more than those with bachelor’s degrees or less. Consumers earning

30,001 – 40,000 baht monthly tended to buy more than customer in other income

ranges.

This research can be used as a guideline for sport shoes business or

researchers who interested in this field including for analysis, marketing plan,

Page 8: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(4)

marketing policy according to the Bangkok and metropolitian customer sport shoes

customer behavior.

Keywords: Adidas sport shoes , sports footwear in Thailand.

Page 9: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(5)

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยฉบับนี้สามารถสําเร็จลุลวงและประสบความสําเร็จไดดวยดี เนื่องจากไดรับ

ความอนุเคราะหจากรองศาสตราจารย ดร.มนวิกา ผดุงสิทธิ์ อาจารยท่ีปรึกษางานวิจัย ท่ีไดกรุณาสละ

เวลาใหคําปรึกษาและขอแนะนํา ซ่ึงเปนประโยชนอยางยิ่งตอการศึกษาวิจัย รวมถึงรองศาสตราจารย

ดร.นภดล รมโพธิ์ ท่ีไดใหเกียรติเปนกรรมการ ซ่ึงไดใหคําแนะนําและขอเสนอแนะเพ่ิมเติมท่ีเปน

ประโยชน สงผลใหงานวิจยัฉบับนี้มีความสมบูรณมากยิ่งข้ึน

นอกจากนี้ผูวิจัยขอขอบพระคุณคณาจารยของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรทุกทานท่ีไดให

ความรูตางๆ ซ่ึงผูวิจัยไดนํามาใชในงานวิจัยฉบับนี้ ขอขอบคุณผูตอบแบบสอบถามทุกทานท่ีไดสละ

เวลาในการตอบแบบสอบถามสําหรับงานวิจัยนี้ รวมถึงกําลังใจและความชวยเหลือตางๆ จาก

ครอบครัว รุนพ่ี รุนนอง และเพ่ือนๆ ทุกคน ตลอดจนพ่ีๆ เจาหนาท่ีโครงการทุกทาน ในหลักสูตร

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สงผลให

งานวิจัยฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

ผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวางานวิจัยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอผูประกอบการและผูท่ีมีสวน

เก่ียวของกับธุรกิจรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ตลอดจนบุคคลอ่ืนๆ ท่ีสนใจ อนึ่งหากงานวิจัยฉบับ

นี้มีขอบกพรองประการใด ผูวิจัยตองขออภัยมา ณ ท่ีนี้

นางสาววรรณภรณ สินาเจริญ

Page 10: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(6)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย .......................................................................................................................... (1)

บทคัดยอภาษาอังกฤษ ..................................................................................................................... (3)

กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................... (5)

สารบัญตาราง ................................................................................................................................ (10)

สารบัญภาพ .................................................................................................................................. (12)

บทท่ี 1 บทนํา ................................................................................................................................... 1

1.1 ท่ีมาและความสําคัญของปญหา .................................................................................... 1

1.2 คําถามวิจัย .................................................................................................................... 6

1.3 วัตถุประสงคของงานวิจัย .............................................................................................. 6

1.4 ขอบเขตงานวิจัย ........................................................................................................... 6

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ............................................................................................ 7

1.6 นิยามศัพท .................................................................................................................... 7

บทท่ี 2 วรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ....................................................................................... 8

2.1 ขอมูลท่ัวไปเก่ียวกับรองเทากีฬา .................................................................................... 8

2.1.1 ประวัติรองเทากีฬา ............................................................................................... 8

2.1.2 ความสําคัญและประเภทของรองเทากีฬา ............................................................. 9

2.1.2.1 รองเทาวิ่ง (Running Shoes) ................................................................... 9

Page 11: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(7)

2.1.2.2 รองเทากีฬาประเภทคอรท (Court Shoes) .............................................. 9

2.1.2.3 รองเทากีฬาประเภทสนาม (Field Shoes) ............................................. 10

2.2 แนวคิดและทฤษฎีในการวิจัย ...................................................................................... 10

2.2.1 แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค (Model of Consumer Behavior) .................. 10

2.2.1.1 สิ่งกระตุน (Stimulus) ............................................................................ 11

2.2.1.2 ความรูสึกนึกคิดของผูบริโภคหรือกลองดํา ............................................... 12

2.2.1.3 การตอบสนองของผูบริโภค (Customer’ response) ........................... 13

2.2.2 ทฤษฎีสวนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) ............................................ 13

2.2.2.1 ผลิตภัณฑ (Product) .............................................................................. 15

2.2.2.2 ราคา (Price) ........................................................................................... 15

2.2.2.3 ชองทางการจัดจําหนาย (Place) ............................................................. 15

2.2.2.4 การสงเสริมการตลาด (Promotion) ....................................................... 16

2.2.2.5 บุคลากร (People) ................................................................................. 17

2.2.2.6 ลักษณะทางกายภาพ (Physical Environment) .................................... 17

2.2.2.7 กระบวนการ (Process) .......................................................................... 18

2.3 การทบทวนงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ................................................................................... 18

2.3.1 ผลิตภัณฑ (Product) ......................................................................................... 18

2.3.2 ราคา (Price) ...................................................................................................... 19

2.3.3 ชองทางการจัดจําหนาย (Place) ........................................................................ 20

2.3.4 การสงเสริมการตลาด (Promotion)................................................................... 21

2.3.5 บุคลากร (People) ............................................................................................. 22

2.3.6 การสรางและการนําเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical Environment) ....... 22

2.3.7 กระบวนการ (Process)...................................................................................... 23

2.3.8 เพศ (Sex) .......................................................................................................... 23

2.3.9 อายุ (Age) .......................................................................................................... 24

2.3.10 ระดับการศึกษา (Education) .......................................................................... 25

2.3.11 อาชีพ (Occupation) ....................................................................................... 25

2.3.12 รายได (Income) ............................................................................................. 25

2.4 สรุปกรอบแนวคิดในการวิจัย ....................................................................................... 26

Page 12: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(8)

บทท่ี 3 วิธีการวิจัย .......................................................................................................................... 28

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง .......................................................................................... 28

3.1.1 ประชากร ........................................................................................................... 28

3.1.2 กลุมตัวอยาง ....................................................................................................... 28

3.2 ตัวแปรท่ีใชในศึกษา .................................................................................................... 29

3.2.1 ตัวแปรอิสระ ....................................................................................................... 29

3.2.1.1 ปจจัยดานลักษณะประชากรศาสตร ........................................................ 29

3.2.1.2 ปจจัยสวนประสมทางการตลาด .............................................................. 29

3.2.2 ตัวแปรตาม ......................................................................................................... 30

3.3 สมมติฐานการวิจัย ...................................................................................................... 30

3.3.1 สมมติฐานดานลักษณะประชากรศาสตร ............................................................. 30

3.3.2 สมมติฐานดานสวนประสมทางการตลาด ............................................................ 30

3.4 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย .............................................................................................. 31

3.5 การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ................................................................................ 33

3.6 การเก็บรวบรวมขอมูล ................................................................................................. 33

3.7 การวิเคราะหขอมูล ..................................................................................................... 34

3.7.1 การวิเคราะหขอมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) .................................. 34

3.7.2 การวิเคราะหขอมูลเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ..................................... 34

บทท่ี 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล ............................................................................................... 35

4.1 ขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง................................................... 36

4.2 ขอมูลเก่ียวกับพฤติกรรมการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส .................................................. 38

4.3 คะแนนเฉลี่ยระดับความคิดเห็นตอตัววัดของตัวแปรอิสระท่ีมี ................... 43

อิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

4.4 การวิเคราะหปจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร ........................................... 47

กับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

4.4.1 การศึกษาความสัมพันธระหวางเพศกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ...... 47

Page 13: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(9)

4.4.2 การศึกษาความสัมพันธระหวางอายุกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ...... 49

4.4.3 การศึกษาความสัมพันธระหวางระดับการศึกษากับการตัดสินใจ ............ 51

ซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

4.4.4 การศึกษาความสัมพันธระหวางอาชีพกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส.... 52

4.4.5 การศึกษาความสัมพันธระหวางรายไดตอเดือนกับการตัดสินใจ ........... 53

ซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

4.5 การวิเคราะหปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ............... 56

4.5.1 การวิเคราะหความเหมาะสมตัวแปรอิสระโดยใชวิธีการวิเคราะหปจจัย ............... 56

4.5.2 การกําหนดกลุมปจจัย ........................................................................................ 57

4.5.3 การวิเคราะหสมการถดถอยเชิงเสน .................................................................... 61

บทท่ี 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ ........................................................................................ 70

5.1 สรุปผลการวิจัย ........................................................................................................... 70

5.1.1 ขอมูลลักษณะประชากรศาสตรตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ............. 70

5.1.2 ขอมูลท่ีเก่ียวกับพฤติกรรมตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ..................... 71

5.1.3 ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ................................... 71

5.2 ขอเสนอแนะสําหรับผูประกอบการ ............................................................................. 73

5.3 ขอจํากัดงานวิจัย ......................................................................................................... 74

5.4 ขอเสนอแนะงานวิจัยตอเนื่อง ...................................................................................... 75

รายการอางอิง ................................................................................................................................. 76

ภาคผนวก.......................................................................................................................................... 0

ภาคผนวก ก แบบสอบถาม ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ...... 79

ภาคผนวก ข รายละเอียดผลการวิเคราะหจากโปรแกรมสาเร็จรูป SPSS ........................... 86

ประวัติผูเขียน .................................................................................................................................. 90

Page 14: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(10)

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา

1.1 มูลคาตลาดอุปกรณกีฬาป 2552 – 2557 2

1.2 อัตราการเติบโตของตลาดรองเทากีฬาป 2552 – 2557 3

1.3 สวนแบงทางการตลาดของอุปกรณกีฬาแบรนดตางๆ 4

3.1 เกณฑในการกําหนดคาน้ําหนักคะแนนสําหรับความคิดเห็นในการตอบแบบสอบถาม 32

3.2 เกณฑการแปลผลของคาเฉลี่ยคะแนนในระดับตางๆ 32

4.1 ขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง 36

4.2 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแตละตัววัด 43

4.3 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการตัดสินใจ 46

4.4 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 47

จําแนกตามเพศ

4.5 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของระดับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 48

จําแนกตามเพศ (Independent Samples Test)

4.6 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 49

จําแนกตามอายุ

4.7 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของระดับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 50

จําแนกตามอายุ (Independent Samples Test)

4.8 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 51

จําแนกตามระดับการศึกษา

4.9 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 52

จําแนกตามอาชีพ

4.10 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 53

จําแนกตามรายไดตอเดือน

4.11 เปรียบเทียบความแตกตางกันภายในกลุม (LSD) จําแนกตามรายไดตอเดือน 55

4.12 แสดง KMO และ Bartlett's Test ของตัวแปรอิสระ 57

4.13 เปรียบเทียบปจจัยจากการทบทวนวรรณกรรมและจากผลการวิเคราะหปจจัย 58

4.14 ประสิทธิภาพของสมการถดถอยตามวิธี Enter Regression ในการวิเคราะห 62

การถดถอยระหวางการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสและกลุมปจจัยท้ัง 8 ปจจัย

Page 15: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(11)

4.15 ผลการวิเคราะหสมมติฐานในภาพรวมของสมการถดถอยตามวิธี Enter Regression 62

4.16 สมการถดถอยท่ีไดในแตละข้ันตอนตามวิธี Enter Regression 63

Page 16: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

(12)

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา

1.1 สัดสวนระหวางสินคาอุปกรณกีฬาอ่ืนๆ และสินคารองเทากีฬา ในป 2557 3

1.2 สัดสวนสวนแบงทางการตลาดของอุปกรณกีฬาแบรนดตางๆ ป 2557 5

2.1 โมเดลพฤติกรรมผูบริโภค (Customer behavior model) 11

2.2 องคประกอบของสวนประสมทางการตลาด (7P’s Marketing Mix) 14

2.3 กรอบแนวคิดงานวิจัย 27

4.1 บุคคลท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 38

4.2 ชองทางในการรับขอมูลของรองเทากีฬาอาดิดาส 39

4.3 ความถ่ีในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 39

4.4 คาใชจายโดยเฉลี่ยในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ตอรองเทา 1 คู 40

4.5 รานคาท่ีนิยมซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 40

4.6 วัตถุประสงคในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 41

4.7 เหตุผลสําคัญในการเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส 41

Page 17: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

1

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ท่ีมาและความสําคัญของปญหา

ในปจจุบัน กระแสการดูแลรักษาสุขภาพกําลังเปนท่ีนิยมอยางมาก ไมวาจะเปนการดูแล

รักษาสุขภาพจากภายในและภายนอก อาทิ การดูแลในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกําลังกาย

เปนตน ซ่ึงการออกกําลังกายในปจจุบันมีรูปแบบท่ีหลากหลาย เชน การวิ่ง การฟตเนส แบดมินตัน

รวมถึงกีฬาประเภทอ่ืนๆ โดยท่ีกิจกรรมตางๆ เหลานี้ตองมีการใชอุปกรณกีฬาใหเหมาะสมกับ

ประเภทของกีฬาและลักษณะทางกายภาพของนักกีฬาแตละคน ยกตัวอยางเชน รองเทากีฬาควรใส

ใหเหมาะสมกับเทาของตัวเอง เพราะจะชวยลดความเสี่ยงในการบาดเจ็บและเพ่ิมประสิทธิภาพในการ

ออกกําลังกายใหรูสึกราบรื่น เบาสบาย จนรูสึกวาไดรับประโยชนจากการออกกําลังกายอยางเต็มท่ี

ภาพรวมของตลาดอุปกรณกีฬาในป พ.ศ. 2557 ไดรับผลกระทบทางลบจากปญหา

ทางดานการเมือง กลาวคือ ปจจุบันการเมืองในประเทศไทยยังคงอยูในภาวะท่ีมีการเปลี่ยนแปลงและ

ไมมีเสถียรภาพ ทําใหผูบริโภคมีมุมมองเก่ียวกับสถานการณการเมืองในอนาคตอยางไมม่ันคง และใน

ดานเศรษฐกิจของประเทศไทยก็ไดรับผลกระทบจากสถานการณการเมืองท่ีไมม่ันคงดังกลาวเชนกัน

สงผลใหนักลงทุนชาวตางชาติเริ่มไมม่ันใจท่ีจะลงทุนในประเทศไทยโดยเฉพาะในกลุมทองเท่ียว ยิ่งไป

กวานั้น เศรษฐกิจโลกกําลังมีปญหาโดยเฉพาะในยุโรป ดังนั้น สิ่งเหลานี้จึงเปนปจจัยทางลบท่ีสงผลตอ

ภาพรวมธุรกิจไทย รวมถึงภาพรวมของตลาดอุปกรณกีฬาอีกดวย

อยางไรก็ตาม ตลาดอุปกรณกีฬาในป พ.ศ. 2557 ยังคงเติบโตจากปกอนหนา

เนื่องจากไดรับปจจัยสนับสนุนจากกระแสฟุตบอลไทยท่ีกําลังเปนท่ีนิยมอยางกวางขวางและเปนท่ีรูจัก

ในตางประเทศ อีกท้ังยังมีกีฬาอ่ืนๆ ท่ีไดรับความนิยมเพ่ิมข้ึน เชน วอลเลยบอลหญิง และมวยไทย

นอกจากนี้ ยังมีองคกรและบริษัทชั้นนําหลายแหง ไมวาจะเปนองคกรปกครองสวน

ทองถ่ิน ธนาคารสแตนดารดชารเตอรดไทย ฯลฯ นิยมจัดกิจกรรมวิ่งมาราธอนเพ่ือสนับสนุนใหคนไทย

ไดมีโอกาสออกกําลังกาย ซ่ึงพบวากิจกรรมดังกลาวไดรับการตอบรับท่ีดีจากประชาชน อีกท้ังในป

2557 ทางกรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดเริ่มตนแผนการพัฒนาอุตสาหกรรม

แฟชั่นข้ึนในป 2557 เพ่ือใหประเทศไทยเปนศูนยกลางแฟชั่นของ ASEAN ซ่ึงในป 2557 นี้ กรม

สงเสริมอุตสาหกรรมไดใหการสนับสนุนใน 3 ดานไดแก การพัฒนาแรงงาน การพัฒนาธุรกิจ และการ

พัฒนาทีม โดยเริ่มจากการฝกอบรมแรงงานประมาณ 2,200 คน เก่ียวกับความรูตางๆ ทฤษฎีท่ี

เก่ียวของ และแฟชั่น ซ่ึงถือเปนปจจัยบวกตอตลาดอุปกรณกีฬา

Page 18: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

2

ตลาดอุปกรณกีฬาในป พ.ศ. 2557 รานคาท่ัวไปยังคงมีสวนแบงตลาดมากกวารานคา

ออนไลน โดยในป พ.ศ. 2557 มีลูกคาซ้ือสินคากับรานคาท่ัวไปถึง 99% เนื่องจากลูกคายังคงคุนเคย

กับการเขาไปเลือกซ้ือสินคา หยิบสินคามาทดลองในรานคา อยางไรก็ตาม รานคาออนไลนก็เริ่มไดรับ

ความนิยมมากข้ึน โดยเฉพาะสําหรับผูท่ีอาศัยอยูไกลจากรานคา ผูท่ีมีชีวิตรีบเรง หรือผูท่ีรักความ

สะดวกสบาย ดังนั้น Facebook และ Instagram จึงเปนชองทางท่ีไดรับความนิยมมากในการ

เผยแพรขาวสารเก่ียวกับโปรโมชั่นตางๆ Website และ Application ในโทรศัพทมือถือสามารถชวย

เพ่ิมยอดขายใหแบรนดตางๆ ไดอยางมาก โดยในท่ีนี้ Zalora.com ไดรับความนิยมมากท่ีสุด

เนื่องจากลูกคาสามารถเลือกสินคา apparel and footwear ซ่ึงมีการออกแบบท่ีสวยงามทันสมัย

และยังไดรับโปรโมชั่นสวนลดตางๆ อีกดวย และเว็บไซต Pomelo ก็ไดรับความนิยมเชนกัน ซ่ึงเปน

เว็บไซตขายสินคาแบรนดเกาหลี

จากปจจัยขางตน สงผลใหตลาดอุปกรณกีฬาในประเทศไทยในป พ.ศ. 2557 มีความ

นาสนใจ ตลาดมีการเติบโตจากปกอนหนา 9.03% หากพิจารณา 6 ปลาสุดตั้งแตป

พ.ศ. 2552 – 2557 พบวาอัตราเติบโตคอนขางมีเสถียรภาพคืออยูในชวง 6.86% – 9.42% ดังขอมูล

แสดงตามตารางท่ี 1.1

ตารางท่ี 1.1

มูลคาตลาดอุปกรณกีฬาป 2552 – 2557

หนวย : ลานบาท

ป 2552 2553 2554 2555 2556 2557

อุปกรณกีฬาอ่ืน 15,952.10 17,253.10 18,652.10 20,310.30 22,551.90 24,979.40

รองเทากีฬา 6,933.40 7,609.80 8,426.50 9,319.80 9,818.30 10,313.30

รวมอุปกรณกีฬา 22,885.50 24,862.90 27,078.60 29,630.10 32,370.20 35,292.70

อัตราการเติบโต 6.86% 8.64% 8.91% 9.42% 9.25% 9.03%

ท่ีมา : Sportswear In Thailand. http://www.euromonitor.com (สืบคนขอมูล ณ วันท่ี 15

มกราคม 2559)

Page 19: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

3

ภาพท่ี 1.1 สัดสวนระหวางสินคาอุปกรณกีฬาอ่ืนๆ และสินคารองเทากีฬา ในป 2557

ท่ีมา : Sportswear In Thailand. http://www.euromonitor.com (สืบคนขอมูล ณ 15 มกราคม

2559)

จากภาพท่ี 1.1 ตลาดอุปกรณกีฬา แบงสินคาออกเปน 2 ประเภท คือ สินคาอุปกรณ

กีฬาอ่ืน และสินคารองเทากีฬา ซ่ึงในป 2557 สัดสวนสินคาท้ัง 2 กลุมในตลาด พบวาอุปกรณกีฬาอ่ืน

มีสัดสวน 70.78% และรองเทากีฬามีสัดสวน 29.22% และหากพิจารณาเฉพาะในสวนของรองเทา

กีฬา พบวาในป 2557 มูลคาตลาดรองเทากีฬามีอัตราเติบโต 5.04% จากปกอนหนา ซ่ึงถาพิจารณา

6 ปลาสุดตั้ งแตป 2552 – 2557 พบวามีอัตราเติบโตอยางตอเนื่องทุกป ดั งขอมูล

แสดงตามตารางท่ี 1.2

ตารางท่ี 1.2

อัตราการเติบโตของตลาดรองเทากีฬาป 2552 – 2557

หนวย : ลานบาท

ป 2552 2553 2554 2555 2556 2557

รองเทากีฬา 6,933.40 7,609.80 8,426.50 9,319.80 9,818.30 10,313.30

อัตราการเติบโต 6.43% 9.76% 10.73% 10.60% 5.35% 5.04%

ท่ีมา : Sportswear In Thailand. http://www.euromonitor.com (สืบคนขอมูล ณ 15 มกราคม

2559)

อุปกรณกีฬาอ่ืน

70.78%

รองเทากีฬา

29.22%

มูลคาตลาดอุปกรณกีฬา ป 2557

Page 20: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

4

แนวโนมของตลาดอุปกรณกีฬาในป 2559 ไดรับการคาดการณจากนักวิเคราะหตางชาติ

วาจะมี CAGR (Compound Annual Growth Rate) หรือ อัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมตอปเทากับ

4% ระหวางชวงป 2557 – 2562 โดยคาดวาในป 2562 ตลาดมียอดขายรวมท้ังสิ้นประมาณ 43,787

ลานบาท โดยมีกระแสสุขภาพเปนตัวผลักดันเนื่องจากคนไทยเริ่มใหความสําคัญในเรื่องสุขภาพมาก

ข้ึน ท้ังการออกกําลังกายและการลดความอวน โดยสินคาอุปกรณกีฬาจะเนนในเรื่องของความ

สะดวกสบาย ความยืดหยุน และการออกแบบท่ีทันสมัยตามกระแสแฟชั่น

ผูวิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาถึงปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิ

ดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เนื่องจากอาดิดาส (Adidas)

เปนตราสินคาท่ีคนไทยนิยมมากท่ีสุด อีกท้ังผลิตภัณฑกีฬาของอาดิดาส มีหลายประเภท เชน รองเทา

กีฬา เครื่องแตงกาย อุปกรณกีฬาอ่ืนๆ โดยในภาพรวมอาดิดาสมีสวนแบงทางการตลาดมากเปน

อันดับท่ี 1 เปนระยะเวลา 5 ป ติดตอกัน ซ่ึงในป 2553 – 2555 มีสวนแบงทางการตลาดเพ่ิมข้ึน

ตามลําดับ และมีการปรับตัวลดลงในป 2556 - 2557 ดังขอมูลแสดงตามตารางท่ี 1.3

ตารางท่ี 1.3

สวนแบงทางการตลาดของอุปกรณกีฬาแบรนดตางๆ

สวนแบงทางการตลาด 2553 2554 2555 2556 2557

adidas 6.80% 7.30% 7.80% 7.70% 6.10%

Lacoste 6.40% 6.40% 6.30% 6.10% 6.10%

Nanyang 6.40% 6.00% 5.70% 5.50% 4.90%

Nike 5.30% 5.30% 5.30% 5.10% 5.00%

Reebok 3.30% 3.20% 3.10% 3.00% 3.00%

Jantzen 1.40% 1.50% 1.50% 1.50% 1.40%

Puma 1.20% 1.30% 1.40% 1.30% 1.40%

Others 69.20% 69.00% 68.90% 69.80% 72.10%

รวม 100% 100% 100% 100% 100%

ท่ีมา : Sportswear In Thailand. http://www.euromonitor.com (สืบคนขอมูล ณ 17 กันยายน

2558)

Page 21: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

5

ภาพท่ี 1.2 สัดสวนสวนแบงทางการตลาดของอุปกรณกีฬาแบรนดตางๆ ป 2557

ท่ีมา : Sportswear In Thailand. http://www.euromonitor.com (สืบคนขอมูล ณ 15 มกราคม

2559)

ท้ังนี้ จากขอมูลดังกลาวจะพบปญหาท่ีสําคัญสําหรับอาดิดาสมีอยู 2 ประเด็น คือ 1.

สวนแบงทางการตลาดท่ีเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่องในป 2553 – 2555 แตกลับเริ่มลดลงในป 2556 - 2557

ซ่ึงการลดลงดังกลาวอาจเนื่องมาจากผูบริโภคเริ่มหันไปทดลองใชตราสินคาอ่ืนๆ มากข้ึน เปนสัญญาณ

ท่ีไมดีของอาดิดาส และ 2. การท่ีอาดิดาสมีสวนแบงทางการตลาดอันดับ 1 เปนเวลา 4 ปติดตอกัน

แตหากพิจารณาภาพรวมแลวพบวา สวนแบงทางการตลาดมีการกระจายตัวคอนขางมาก โดยจะเห็น

วามีตราสินคาอ่ืนๆ (Others) คิดเปนสวนแบงทางการตลาดในป 2557 มากถึง 72.10% ในขณะท่ีอดิ

ดาสมีสวนแบงทางการตลาดเพียง 6.10% เทานั้น และคูแขงของอดิดาส เชน ลาคอสต (Lacoste)

นันยาง (Nanyang) และไนก้ี (Nike) ก็มีสวนแบงทางการตลาดท่ีใกลเคียงกับอาดิดาส แสดงใหเห็นถึง

ความเสี่ยงท่ีคูแขงจะสามารถเพ่ิมสวนแบงทางการตลาดและเปนผูนําทางการตลาดแทนอดิดาสไดใน

อนาคต

ดังนั้น การศึกษาถึงปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas)

ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จะชวยใหผูผลิตสามารถนําผลการวิจัยไปทําการ

ปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ รวมถึงวิเคราะหและพัฒนาแผนการตลาด เพ่ือตอบสนองความตองการ

ท่ีแทจริงของผูบริโภคเพ่ิมมากยิ่งข้ึน

adidas 6%

Lacoste 6%

Nanyang 5%

Nike 5%

Reebok 3%

Jantzen 2%

Puma 1%

Others 72%

สวนแบงทางการตลาดอุปกรณกีฬา ป 2557

Page 22: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

6

1.2 คําถามวิจัย

1. ปจจัยสวนประสมทางการตลาดใดบาง ท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

2. ปจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร (เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได

ตอเดือน) มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลหรือไม

1.3 วัตถุประสงคของงานวิจัย

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคในการศึกษา ดังนี้

1. เพ่ือสํารวจพฤติกรรมการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

2. เพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร ดานเพศ อายุ

ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดตอเดือน กับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

3. เพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวาง ปจจัยสวนประสมทางการตลาด ซ่ึงประกอบดวย

ปจจัยดานผลิตภัณฑ (Product) ปจจัยดานราคา (Price) ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย (Place)

ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด (Promotion) ปจจัยดานบุคคล (People) ปจจัยดานกระบวนการ

(Process) และปจจัยดานกายภาพ (Physical Evidence) กับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

1.4 ขอบเขตงานวิจัย

งานวิจัยนี้ศึกษาปจจัยสวนประสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยมุงเนนศึกษาปจจัย

สวนประสมทางการตลาด ซ่ึงประกอบดวย ปจจัยดานผลิตภัณฑ (Product) ปจจัยดานราคา (Price)

ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย (Place) ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด (Promotion) ปจจัย

ดานบุคคล (People) ปจจัยดานกระบวนการ (Process) และปจจัยดานกายภาพ

Page 23: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

7

(Physical Evidence) รวมไปถึงปจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร (เพศ อายุ ระดับการศึกษา

อาชีพ และรายไดตอเดือน) ท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

ประชากรท่ีใชในการศึกษา คือ ผูบริโภคท่ีเคยซ้ือรองเทากีฬา ยี่หออาดิดาส

(Adidas) โดยศึกษาประชากรท่ีอาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

การเก็บขอมูลจะใชแบบสอบถาม โดยชวงเวลาท่ีทําการศึกษาวิจัย คือ เดือน

กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 – มีนาคม พ.ศ. 2559

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

ผลจากการวิจัยนี้จะชวยใหทราบวา ปจจัยใดบางท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส (Adidas) ของกลุมตัวอยาง เพ่ือใหผูประกอบการสามารถนําขอมูลพฤติกรรมสวนบุคคล

ของผูบริโภค ขอมูลปจจัยทางการตลาด มาใชในการวางแผนสงเสริมกลยุทธทางการตลาดและ

กิจกรรมทางการตลาด เพ่ือตอบสนองใหตรงกับความตองการของผูบริโภค จะทําใหเกิดการกระตุน

การซ้ือใหเพ่ิมมากข้ึน

1.6 นิยามศัพท

อาดิดาส (Adidas) หมายถึง ตราสินคาของผลิตภัณฑดานกีฬา โดยสินคาของอาดิดาส

จะประกอบไปดวยรองเทา เครื่องแตงกาย อุปกรณกีฬา และเครื่องประดับตกแตงสําหรับกีฬาทุก

ประเภท

รองเทากีฬา (Sport Footwear) หมายถึง รองเทาท่ีออกแบบมาสําหรับการเลนกีฬา

สวมใสเพ่ือหอหุมปองกันเทาจากการเกิดบาดแผลและการบาดเจ็บตางๆ จากการเลนกีฬา สวมใส

เพ่ือแฟชั่นความสวยงาม การแตงกายลําลอง สวมใสเพ่ือกิจกรรมตางๆในชีวิตประจําวัน หรือใชในการ

ทํางานและเขาสังคมในโอกาสตางๆ

Page 24: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

8

บทที่ 2

วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

งานวิจัยนี้ ผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควาขอมูล แนวคิด ทฤษฏีและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

เพ่ือใชเปนแนวทางและกรอบในการศึกษาเก่ียวกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ดังรายละเอียด ตอไปนี้

2.1 ขอมูลท่ัวไปเก่ียวกับรองเทากีฬา

2.1.1 ประวัติรองเทากีฬา

2.1.2 ความสําคัญและประเภทของรองเทากีฬา

2.2 แนวคิดและทฤษฎีในการวิจัย

2.2.1 แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค (Model of Consumer Behavior)

2.2.2 ทฤษฎีสวนประสมทางการตลาด (Marketing Mix)

2.3 การทบทวนงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

2.4 สรุปกรอบแนวคิดในการวิจัย

2.1 ขอมูลท่ัวไปเกี่ยวกับรองเทากีฬา

2.1.1 ประวัติรองเทากีฬา

ในสมัยกอนรูปแบบของรองเทามีความแตกตางกันตามสภาพอากาศและ

ขนบธรรมเนียม โดยแตละชนชาติก็มีวัสดุในการทํารองเทาท่ีแตกตางกัน เชน รองเทาของชาวจีนทํา

จากผา รองเทาของชาวฮอลแลนดทําจากไม รองเทาของชาวอเมริกันและอินเดียทําจากหนังสัตว

เปนตน สวนรองเทากีฬาคูแรกถูกคนพบโดยชารลส กูดเยียร ในป ค.ศ. 1830 จากการทํางานวิจัย

เรื่องยาง โดยไดคนพบกระบวนการอบยางข้ึนโดยบังเอิญ ซ่ึงเม่ือหยดสวนผสมของยางกับกํามะถันใน

เตาท่ีมีความรอน จึงทําใหสวนผสมนั้นแข็งตัวและยืดหยุนได หลังจากนั้น ในตนศตวรรษท่ี 19 ไดมี

การพัฒนาจากการตัดเย็บดวยมือมาเปนเครื่องจักร จนเกิดเปนอุตสาหกรรมรองเทากีฬา

สําหรับรองเทากีฬาแบรนดระดับโลกอยาง "อาดิดาส" มีจุดกําเนิดมาจาก อดอลฟ

"อาดี" ดาสเลอร โดยในป ค.ศ. 1920 อาดี ดาสเลอร (อายุเพียง 20 ป) เริ่มตนทํารองเทาดวยฝมือ

ตัวเองคูแรก ดวยเปาหมายท่ีวา จะทําใหนักกีฬาทุกคนไดสวมใสรองเทาท่ีดีสุดลงสนามแขงขัน ใน

การเริ่มตนทํารองเทากีฬา อาดี ดาสเลอร ไดรับการสนับสนุนจากหลายคน อาทิ คริสโตฟ (บิดา) ซ่ึง

Page 25: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

9

ทํางานในโรงงานทํารองเทา พ่ีนองตระกูลเซหไลน ชางเหล็กท่ีผลิตปุมสนรองเทา รวมถึงรูดอลฟ

(พ่ีชาย) ท่ีเขามารวมหุนดวย (Siamsport, 2554)

2.1.2 ความสําคัญและประเภทของรองเทากีฬา

เนื่องจาก “เทา” เปนอวัยวะท่ีสําคัญและเปนรากฐานของมนุษย ซ่ึงพฤติกรรมใน

การใชเทา ไมวาจะเปนการเดิน การยืน การวิ่ง การกระโดด ของแตละบุคคล พบวามีจังหวะและการ

รับน้ําหนักท่ีแตกตางกัน ดังนั้น ในการเลือกรองเทากีฬาใหเหมาะสมจะเปนการปองกันเทาจากการ

เกิดบาดแผลและการบาดเจ็บตางๆ จากการใชงาน อีกท้ังการเลือกประเภทของรองเทากีฬาให

เหมาะสมกับการใชงานก็มีความสําคัญเชนกัน ดังนั้น รองเทากีฬาสมารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท

ดังนี้ (Thairunning, 2546)

2.1.2.1 รองเทาว่ิง (Running Shoes) จากการศึกษาพบวารอยละ 50 - 70

ของนักวิ่งไดรับบาดเจ็บจากการวิ่ง เพราะในขณะท่ีวิ่ง จะมีน้ําหนัก 2 - 3 เทาของน้ําหนักตัวกดลง

บริเวณสนเทาหรือปลายเทาสําหรับนักวิ่งเร็วระยะสั้น ดังนั้น รองเทาท่ีใชสวมใสในการวิ่งจึงมี

ความสําคัญและควรมีลักษณะดังตอไปนี้

- ชวยรับและกระจายน้ําหนัก ซ่ึงวัสดุท่ีดีจะมีคุณสมบัติพิเศษในการกระจาย

แรงกระแทกไปสูสวนตางๆ รวมท้ังถายเทน้ําหนักลงสูพ้ืน

- ปองกันการเกิดการบาดเจ็บขณะท่ีกําลังวิ่ง สวนพ้ืนรองเทาชั้นนอก

โดยเฉพาะบริเวณสนเทาจะมีลักษณะบานกวางออก เพ่ือชวยเพ่ิมความม่ันคงและทรงตัวในแตละกาว

ท่ีวิ่งไป

- ชวยเพ่ิมความสามารถในการวิ่ง ลดปริมาณการใชงานของกลามเนื้อนอง

และเขา

2.1.2.2 รองเทากีฬาประเภทคอรท (Court Shoes) กีฬาประเภทคอรท เชน

แบดมินตัน เทนนิส บาสเกตบอล เปนตน เปนกีฬาท่ีมีลักษณะการเคลื่อนไหวเฉพาะตัวท่ีแตกตางจาก

กีฬาประเภทอ่ืน ยกตัวอยางเชน ในการยืนทาเตรียมพรอมสําหรับกีฬาประเภทคอรท จะมีน้ําหนักกด

ลงบริเวณปลายเทา มีการเคลื่อนไหวท้ังในแนวหนาหลังและดานขาง เปนไปอยางรวดเร็วและหยุด

กะทันหัน รวมถึงมีการกระโดดดวย ดังนั้นรองเทาท่ีใชควรมีลักษณะดังตอไปนี้

- ชวยรับและกระจายน้ําหนัก วัสดุท่ีใชโดยเฉพาะบริเวณฝาเทาสวนหนา

และสนเทาจะมีคุณสมบัติในการรับและถายเทแรงท่ีมาจากทิศทางตางๆ ไดเปนอยางดี และชวยลด

ปริมาณการใชงานของกลามเนื้อ

Page 26: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

10

- ปองกันการเกิดการบาดเจ็บ วัสดุท่ีใชมีความแข็งแรงทนทาน และกระชับ

บริเวณฝาเทา และสนเทาเพ่ือรองรับการเคลื่อนไหวในทิศทางตางๆ และชวยประคองขอเทาสําหรับ

รองเทาชนิดหุมขอ

- ลวดลายรูปแบบของพ้ืนดานนอก (tread pattern) จะมีลักษณะพิเศษซ่ึง

จะมีผลตอความยืดหยุน ความลื่น และเปนจุดหมุนของรองเทา

- ขอบพ้ืนรองเทาชั้นนอกจะหนา เพ่ือปองกันการสึกของขอบพ้ืนรองเทาจาก

การเคลื่อนไหว และการลากเทาในทิศทางตางๆ

2.1.2.3 รองเทากีฬาประเภทสนาม (Field Shoes) เปนรองเทากีฬาท่ีตอง

รองรับการเคลื่อนไหวในทุกทิศทางอยางรวดเร็วและรองรับการหยุดกะทันหัน รวมถึงการกระโดด

และอาจมีการใชเทาในการเตะบอล ดังนั้นรองเทาท่ีใชควรมีลักษณะดังตอไปนี้

- กระชับกับรูปเทาและมีความยืดหยุนไดดี อีกท้ังวัสดุท่ีใชตองสามารถ

ปองกันการเกิดอาการเทาบาดเจ็บไดดวย

- บริเวณพ้ืนรองเทาจะมีปุมเพ่ือชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการยึดเกาะกับพ้ืน

สนาม และปองกันการลื่นลม

2.2 แนวคิดและทฤษฎีในการวิจัย

2.2.1 แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค (Model of Consumer Behavior)

แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค ของ Kotler (2012) เปนการศึกษาถึงเหตุจูงใจท่ี

ทําใหเกิดการตัดสินใจบริโภคสินคาและบริการ โดยมีจุดเริ่มตนจากการท่ีเกิดสิ่งกระตุน (Stimulus)

สงผลทําใหเกิดความตองการ สิ่งกระตุนผานเขามาในความรูสึกนึกคิดของผูบริโภค (Customer’s

black box) ซ่ึงเปรียบเสมือนกลองดําท่ีผูผลิตหรือผูขายไมสามารถคาดการณได ทําใหไดรับอิทธิพล

จากคุณลักษณะตางๆ ของผูบริโภค ซ่ึงสงผลตอกระบวนการในการตัดสินใจ แลวทําใหเกิดการ

ตอบสนองของผูบริโภค (Customer’ response) ซ่ึงนําไปสูการตัดสินใจของผูบริโภค (Customer’

purchase decision) ดังแสดงใน ภาพท่ี 2.1

Page 27: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

11

ภาพท่ี 2.1 โมเดลพฤติกรรมผูบริโภค (Customer behavior model)

ท่ีมา: Kotler and Keller (2012, p. 183)

โดย Kotler (2012) ไดอธิบายองคประกอบของโมเดลผูบริโภค มีรายละเอียด ดังนี้

2.2.1.1 ส่ิงกระตุน (Stimulus) สิ่งกระตุนอาจเกิดข้ึนเองจากภายในรางกายและ

สิ่งกระตุนจากภายนอก นักการตลาดจะตองสนใจและจัดการสิ่งกระตุนภายนอก เพ่ือใหผูบริโภคเกิด

ความตองการผลิตภัณฑ สิ่งกระตุนถือวาเปนเหตุจูงใจท่ีทําใหเกิดการซ้ือสินคาซ่ึงอาจใชเหตุจูงใจซ้ือ

ดานเหตุผล และใชเหตุจูงใจซ้ือดานจิตวิทยา (อารมณ) ก็ได สิ่งกระตุนภายนอกประกอบดวย 2 สวน

คือ

Page 28: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

12

(1) สิ่งกระตุนทางการตลาด (Marketing stimulus) เปนสิ่งกระตุนท่ีสามารถ

ควบคุมและจัดใหมีข้ึนได ซ่ึงเปนสิ่งกระตุนท่ีเก่ียวของกับสวนประสมทางการตลาด (Marketing mix)

ประกอบดวย

- ปจจัยดานผลิตภัณฑ (Product) เชน ตัวสินคาหรือบริการ คุณภาพ

การออกแบบ เปนตน

- ปจจัยดานราคา (Price) เชน การกําหนดราคาใหเหมาะสมกับ

ผลิตภัณฑ

- ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย (Place) เชน การจัดจําหนาย

ผลิตภัณฑใหท่ัวถึงเพ่ือใหเกิดความสะดวกแกผูบริโภคถือวาเปนการกระตุนความตองการซ้ืออีกทาง

หนึ่ง

- ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด (Promotion) เชน การโฆษณา การ

ใชความพยายามของพนักงานขายในการขายสินคา การลดราคาสินคา เปนตน

(2) สิ่งกระตุนอ่ืนๆ (Other stimulus) เปนสิ่งกระตุนความตองการของผูซ้ือ

ท่ีอยูภายนอก ไมสามารถควบคุมได ประกอบไปดวย

- สิ่งกระตุนทางเศรษฐกิจ (Economic) เชน ภาวะเศรษฐกิจ อัตราเงิน

เฟอ ซ่ึงมีผลตอความตองการซ้ือของผูบริโภค

- สิ่งกระตุนทางกฎหมาย (Law and political) เชน การลดหรือเพ่ิม

ภาษี ซ่ึงมีผลตอการใชจายและความตองการซ้ือของผูบริโภค

- สิ่งกระตุนทางเทคโนโลยี (Technological) เชน เทคโนโลยีมีการ

เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและทันสมัยมากข้ึน

- สิ่งกระตุนทางวัฒนธรรม (Cultural) เชน ขนบธรรมเนียมประเพณี

ตางๆ

2.2.1.2 ความรูสึกนึกคิดของผูบริโภคหรือกลองดํา (Customer’s black box)

เปนความรูสึกนึกคิดของผูบริโภคเปรียบเสมือนกลองดําซ่ึงผูผลิตไมสามารถทราบหรือคาดคะเนได จึง

ตองพยายามคนหาความรูสึกนึกคิดของผูบริโภค ซ่ึงไดรับอิทธิพลจากลักษณะตางๆ ของผูบริโภคและ

กระบวนการตัดสินใจของผูบริโภค อันไดแก

(1) ลักษณะของผูบริโภค (Consumer’s characteristics) มีอิทธิพลจาก

ปจจัยตางๆ ดังนี้

- ปจจัยทางวัฒนธรรม ประกอบดวย วัฒนธรรมพ้ืนฐาน วัฒนธรรม

ยอย ชั้นทางสังคม

Page 29: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

13

- ปจจัยทางสังคม ประกอบดวย กลุมอางอิง ครอบครัว บทบาทและ

สถานะ

- ปจจัยสวนบุคคล ประกอบดวย อายุ วงจรชีวิตครอบครัว อาชีพ

โอกาสทางเศรษฐกิจหรือรายได และคานิยมและรูปแบบการดํารงชีวิต

- ปจจัยทางจิตวิทยา ประกอบดวย การจูงใจ การรับรู การเรียนรู ความ

เชื่อถือ ทัศนคติ บุคลิกภาพ และแนวคิดของตน

(2) กระบวนการตัดสินใจของผูบริโภค (Consumer’s decision process)

ประกอบดวย 5 ข้ันตอน ดังนี้

1. การรับรูปญหา

2. การคนหาขอมูล

3. การประเมินทางเลือก

4. การตัดสินใจซ้ือ

5. พฤติกรรมหลังการซ้ือ

2.2.1.3 การตอบสนองของผูบริโภค (Customer’ response) ผูบริโภคจะมี

การตัดสินใจในประเด็นตางๆ ดังนี้

1. การเลือกดานประเภทผลิตภัณฑ

2. การเลือกดานตรายี่หอ

3. การเลือกดานผูขาย

4. การเลือกดานเวลาในการซ้ือ

5. การเลือกดานปริมาณการซ้ือ

2.2.2 ทฤษฎีสวนประสมทางการตลาด (Marketing Mix)

สวนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) หมายถึง การมีสินคาท่ีตอบสนอง

ความตองการของลูกคากลุมเปาหมายได ขายในราคาท่ีผูบริโภคยอมรับได และผูบริโภคยินดีจาย

เพราะเห็นวาคุม รวมถึงมีการจัดจําหนายกระจายสินคาใหสอดคลองกับพฤติกรรมการซ้ือหาเพ่ือความ

สะดวกแกลูกคา ดวยความพยายามจูงใจใหเกิดความชอบในสินคาและเกิดพฤติกรรมอยางถูกตอง

(เสรี วงษมณฑา, 2542, น.11)

Kotler (1997, p. 92) ไดกลาววา สวนประสมทางการตลาด (Marketing Mix)

หมายถึง เครื่องมือทางการตลาดท่ีสามารถควบคุมได ซ่ึงบริษัทนํามาใชรวมกันเพ่ือตอบสนองความพึง

พอใจของลูกคากลุมเปาหมาย โดยสวนประสมทางการตลาดเปนแนวคิดท่ีสําคัญทางการตลาด

สมัยใหม เม่ือกิจการผสมผสานเครื่องมือเหลานี้ถือวาเปนการรวมการตัดสินใจทางการตลาดท้ังหมด

Page 30: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

14

เพ่ือนํามาใชในการดําเนินงาน สวนประสมทางการตลาดแบงออกเปนกลุมได 7 กลุม ดังท่ีเรียกกันวา

“7Ps” ไดแก ผลิตภัณฑ (Product) ราคา (Price) ชองทางการจัดจําหนาย (Place) การสงเสริม

การตลาด (Promotion) บุคลากร (People) ลักษณะทางกายภาพ (Physical Environment) และ

กระบวนการ (Process) จะทําหนาท่ีในการสื่อสารขาวสารทางการตลาดใหแกผูรับสารอยางมี

ประสิทธิภาพ ดังภาพท่ี 2.2

ภาพท่ี 2.2 องคประกอบของสวนประสมทางการตลาด (7P’s Marketing Mix).

ท่ีมา: www.smartdraw.com (สืบคนขอมูล ณ วันท่ี 23 มกราคม 2559)

จากภาพ 2.2 สามารถอธิบายองคประกอบของสวนประสมทางการตลาด (7P’s

Marketing Mix) ซ่ึงมีรายละเอียด ดังตอไปนี้ (Kotler, 1997, p. 92)

Page 31: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

15

2.2.2.1 ผลิตภัณฑ (Product) เปนสิ่งท่ีสนองความจําเปนและความตองการ

ใหกับลูกคา สิ่งท่ีผูขายตองมอบใหแกลูกคาและลูกคาจะไดรับผลประโยชนและคุณคาของผลิตภัณฑ

นั้น ๆ รวมถึงทําใหลูกคาเกิดความพึงพอใจ ซ่ึงโดยท่ัวไปแลว ผลิตภัณฑแบงเปน 2 ลักษณะ คือ

ผลิตภัณฑท่ีอาจจับตองได และ ผลิตภัณฑท่ีจับตองไมได เชน ราคา คุณภาพ ตราสินคา บริการ และ

ชื่อเสียงของผูขาย เปนตน ซ่ึงในการกําหนดกลยุทธดานผลิตภัณฑตองคํานึงถึงปจจัยตอไปนี้

1. ความแตกตางของผลิตภัณฑ (Product Differentiation) และความ

แตกตางทางการแขงขัน (Competitive Differentiation)

2. องคประกอบหรือคุณสมบัติของผลิตภัณฑ (Product Component) เชน

ประโยชน พ้ืนฐาน รูปลักษณ คุณภาพ การบรรจุภัณฑ ตราสินคา ฯลฯ

3. การกําหนดตําแหนงผลิตภัณฑ (Product Positioning) เปนการออกแบบ

ผลิตภัณฑของบริษัทเพ่ือแสดงตําแหนงท่ีแตกตางและมีคุณคาในจิตใจของลูกคาเปาหมาย

4. การพัฒนาผลิตภัณฑ (Product Development) เพ่ือใหผลิตภัณฑมี

ลักษณะใหม และปรับปรุงใหดีข้ึน (New and Improved) ซ่ึงตองคํานึงถึงความสามารถในการ

ตอบสนองความตองการของลูกคาไดดีมากข้ึน

5. กลยุทธเก่ียวกับสวนประสมผลิตภัณฑ (Product Mix) และสายผลิตภัณฑ

(Product Line)

2.2.2.2 ราคา (Price) หมายถึง จํานวนเงินท่ีตองจายเพ่ือใหไดผลิตภัณฑหรือ

บริการ หรือเปนคุณคาท้ังหมดท่ีผูบริโภครับรูเพ่ือใหไดผลประโยชนจากการใชผลิตภัณฑหรือบริการ

คุมคากับเงินท่ีจายไป (Armstrong and Kotler, 2009, p.616) หรืออาจสรุปไดวา ราคาเปนสิ่งท่ี

กําหนดรายไดของบริษัท ลูกคาจะเปรียบเทียบระหวางคุณคา (Value) ของผลิตภัณฑหรือบริการ

กับราคา (Price) ของผลิตภัณฑหรือบริการนั้นๆ ถาคุณคาสูงกวาราคาลูกคาจะตัดสินใจซ้ือ ดังนั้นใน

การกําหนดกลยุทธดานราคา ตองคํานึงถึงปจจัยตอไปนี้

1. คุณคาท่ีรับรู (Perceived Value) ในสายตาของลูกคา

2. ตนทุนสินคาและคาใชจายท่ีเก่ียวของ

3. การแขงขัน

4. ปจจัยอ่ืนๆ

2.2.2.3 ชองทางการจัดจําหนาย (Place) เปนกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับการนํา

สินคาจากผูผลิตไปยังผูบริโภคผานชองทางตางๆ สวนกิจกรรมท่ีชวยในการกระจายตัวสินคา

ประกอบดวย การขนสง การคลังสินคา และการเก็บรักษาสินคาคงคลัง การจัดจําหนายจึง

ประกอบดวย 2 สวน ดังนี้

Page 32: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

16

(1) ชองทางการจัดจําหนาย (Channel of Distribution) หมายถึง กลุมของ

บุคคลหรือธุรกิจท่ีมีความเก่ียวของกับการเคลื่อนยายผลิตภัณฑหรือบริการสําหรับการใชหรือบริโภค

(Etzel, Walker & Stanton), 2001, p.3) หรือหมายถึง เสนทางท่ีผลิตภัณฑและกรรมสิทธิ์ท่ี

ผลิตภัณฑถูกเปลี่ยนมือไปยังตลาด ในระบบชองทางการจัดจําหนายจึงประกอบดวย ผูผลิต คนกลาง

ผูบริโภค หรือผูใชทางอุตสาหกรรม ซ่ึงอาจจะใชชองทางตรง (Direct channel) จากผูผลิตไปยัง

ผูบริโภคโดยตรงก็ได

(2) การกระจายตัวสินคา หรือการสนับสนุนการกระจายตัวสินคาสูตลาด

(Physical Distribution หรือ Market logistics) งานท่ีเก่ียวของกับการวางแผน การปฏิบัติการตาม

แผน และการควบคุมการเคลื่อนยายวัตถุดิบ ปจจัยการผลิต และสินคาสําเร็จรูปจากจุดเริ่มตนไปยัง

จุดสุดทายในการบริโภคเพ่ือตอบสนองความตองการของผูบริโภคโดยมุงหวังกําไร (Kotler and

Keller, 2009, อางถึงใน ศิริวรรณ เสรีรัตนและคณะ, 2552, น.81)

2.2.2.4 การสงเสริมการตลาด (Promotion) เปนเครื่องมือหนึ่งท่ีมีความสําคัญใน

การติดตอสื่อสารกับผูบริโภค โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือสรางแรงจูงใจใหเกิดความตองการในการซ้ือ

สินคา แนะนําสินคาใหมท่ีพ่ึงออกสูตลาด รวมถึงเพ่ือเตือนความทรงจํา (Remind) ในอิทธิพลตอ

ความรูสึก ความเชื่อ และพฤติกรรมการซ้ือ ท้ังนี้เครื่องมือในการติดตอสื่อสารมีหลายวิธี ซ่ึงอาจจะใช

เพียงหนึ่งวิธี หรือหลายวิธีรวมกันก็ได โดยมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

(1) การขายโดยใชพนักงานขาย (Personal selling) เปนการสื่อสาร

ระหวางบุคคลกับบุคคลเพ่ือพยายามจูงใจใหผูซ้ือท่ีเปนกลุมเปาหมายใหซ้ือผลิตภัณฑหรือบริการดวย

การขายแบบเผชิญหนาโดยตรง (Belch, 2001, p. 9) ซ่ึงทางดานการขายโดยใชพนักงานจะเก่ียวของ

กับ

- กลยุทธการขายโดยใชพนักงานขาย (Personal Selling Strategy)

- การบริหารหนวยงานขาย (Salesforce Management)

(2) การโฆษณา (Advertising) เปนกิจกรรมในการเสนอขาวสารเก่ียวกับ

องคกร และสงเสริมการตลาดเก่ียวกับผลิตภัณฑ บริการ หรือความคิด ท่ีตองมีการจายเงินโดยผู

อุปถัมภรายการ (Armstrong and Kotler, 2009, p. 33) ซ่ึงทางดานการโฆษณาจะเก่ียวของกับ

- กลยุทธการสรางสรรคโฆษณา (Creative Strategy)

- กลยุทธวิธีการโฆษณา (Advertising Tactics)

- กลยุทธสื่อ (Media Strategy)

(3) การใหขาวและประชาสัมพันธ (Publicity and Public Relations) มี

ความหมาย ดังตอไปนี้

Page 33: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

17

- การใหขาว (Publicity) เปนการเสนอขาวเก่ียวกับผลิตภัณฑหรือ

บริการ ตราสินคาบริษัท โดยผานสื่อกระจายเสียง หรือสื่อสิ่งพิมพ (Allen, 2002 , p. 17) ซ่ึงเปน

กิจกรรมหนึ่งของการประชาสัมพันธ

- ประชาสัมพันธ (Public relations) หมายถึง ความพยายามในการ

สื่อสารท่ีมีการวางแผนโดยองคกรหนึ่งเพ่ือสรางทัศนคติท่ีดีตอองคการ ตอผลิตภัณฑ หรือตอนโยบาย

ใหเกิดกับกลุมใดกลุมหนึ่ง (Etzel, Walker and Stanton, 2007, อางถึงในศิริวรรณ เสรีรัตนและ

คณะ, 2552, น. 80)

(4) การสงเสริมการขาย (Sales promotion) เปนสิ่งจูงใจระยะสั้นท่ีกระตุน

ใหเกิดการซ้ือหรือขายผลิตภัณฑหรือบริการ (Armstrong and Kotler, 2009, p. 617) ซ่ึงสามารถ

กระตุนความสนใจ การทดลองใช หรือการซ้ือโดยลูกคาคนสุดทายหรือบุคคลอ่ืนในชองทางการจัด

จําหนาย การกระตุนการสงเสริมการขาย มี 3 รูปแบบ คือ

- การกระตุนผูบริโภค เรียกวา การสงเสริมการขายท่ีมุงสูผูบริโภค

(Consumer Promotion)

- การกระตุนคนกลาง เรียกวา การสงเสริมการขายท่ีมุงสูคนกลาง

(Trade Promotion)

- การกระตุนพนักงานขาย เรียกวา การสงเสริมการขายท่ีมุงพนักงาน

(Sales Force Promotion)

2.2.2.5 บุคลากร (People) ประกอบดวยบุคคลท้ังหมดในองคกร ไมวาจะเปน

เจาของบริษัท ผูบริหาร พนักงานทุกระดับ ซ่ึงบุคคลดังกลาวท้ังหมดมีผลตอคุณภาพของผลิตภัณฑ

เจาของบริษัทและผูบริหารมีสวนสําคัญอยางยิ่งในการกําหนดนโยบายในการดําเนินกิจการ การ

กําหนดอํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบของพนักงานในทุกระดับ กระบวนการในการทํางาน รวมถึง

การแกไขปรับปรุงการทํางานตางๆ ซ่ึงบุคลากรเหลานี้ตองอาศัยการคัดเลือก การฝกอบรม การจูงใจ

เพ่ือใหสามารถสรางความพึงพอใจใหกับลูกคาไดแตกตางเหนือคูแขงขัน มีทัศนคติท่ีดีสามารถ

ตอบสนองตอลูกคา มีความคิดริเริ่ม มีความสามารถในการแกปญหาและสามารถสรางคานิยมใหกับ

องคกร

2.2.2.6 ลักษณะทางกายภาพ (Physical Environment) เปนการสรางและ

นําเสนอลักษณะทางกายภาพใหกับลูกคา โดยพยายามสรางคุณภาพโดยรวม ท้ังทางดานกายภาพ

และรูปแบบการใหบริการเพ่ือสรางคุณคาใหกับลูกคา รวมถึงท้ังดานปรับปรุงคุณภาพทางกายภาพ

อ่ืนๆ อีกดวย ไมวาจะเปนดานการแตงกายสะอาดเรียบรอย การเจรจาตองสุภาพออนโยน และการ

ใหบริการท่ีรวดเร็ว หรือการสรางบรรยากาศและตกแตงรานใหทันสมัย

Page 34: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

18

2.2.2.7 กระบวนการ (Process) เปนกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับระเบียบวิธีการและ

งานปฏิบัติในดานการบริการ ท่ีนําเสนอใหกับผูใชบริการเพ่ือมอบการใหบริการอยางมีคุณภาพ

ถูกตอง รวดเร็ว และทําใหผูใชบริการเกิดความประทับใจและความภักดีในตัวสินคา โดยการบริการ

โดยท่ัวไป อาทิ การตอนรับ การสอบถามขอมูลเบื้องตน การใหบริการตามความตองการ การชําระ

เงิน เปนตน ซ่ึงในแตละข้ันตอนตองประสานเชื่อมโยงกันอยางดี หากมีข้ันตอนใดไมดีแมแตข้ันตอน

เดียวยอมทําใหการบริการไมเปนท่ีประทับใจแกลูกคา

2.3 การทบทวนงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

2.3.1 ผลิตภัณฑ (Product)

ชฏาพร อรชุน (2557) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับความคาดหวังในองคประกอบของ

ผลิตภัณฑท่ีสงผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ซ่ึงผล

การศึกษาพบวา ผูบริโภคใหความสําคัญในดานประโยชนพ้ืนฐานหรือประโยชนหลัก เชน การรองรับ

การกระแทก การกระจายน้ําหนักไปสูสวนตางๆ ของรางกาย การหอหุมเทาเพ่ือปองกันการบาดเจ็บ

และการเพ่ิมสมรรถนะอ่ืนๆ ในการออกกําลังกายในระดับมากท่ีสุด และดานรูปลักษณผลิตภัณฑซ่ึง

ประกอบดวยการใชวัสดุท่ีนุม มีหลากหลายรูปแบบใหเลือกซ่ึงผูบริโภคใหความสําคัญในระดับมาก

ท่ีสุดเชนกัน สองคลองกับ นัคมน ภูทอง (2550) ท่ีไดทําการศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬายี่หอไนก้ีของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ปจจัยดานผลิตภัณฑใน

เรื่องประโยชนหลักของผลิตภัณฑ (เชน การปองกันการเกิดอุบัติเหตุ ชวยรับและกระจายแรงกระแทก

ลดปริมาณใชงานของกลามเนื้อ และชวยเพ่ิมความม่ันคงในการเคลื่อนไหว) ตราสินคาของรองเทา

กีฬา (ความมีชื่อเสียงของตราสินคา คุณภาพตราสินคา อิทธิพลตราสินคาตอการตัดสินใจ) รูปแบบ

ของรองเทากีฬา (ความหลากหลายของรองเทากีฬา สีสัน ลวดลายรองเทากีฬา) คุณภาพของรองเทา

กีฬา (ความทนทานในการใชงานและวัตถุดิบท่ีใชในการผลิตรองเทา วัตถุดิบท่ีใชในการผลิตรองเทา

การระบายอากาศภายในรองเทา) สงผลตอการตัดสินใจซ้ือ เชนเดียวกับงานวิจัยของ อธิพร หวังเสรี

กุล (2554) ท่ีไดทําการศึกษาเก่ียวกับการวิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของ

ผูบริโภค ในอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย พบวา ผูบริโภคมักเลือกซ้ือรองเทากีฬาท่ีสวมใสสบาย

กระชับเทา คุณภาพของรองเทา และความคงทนของรองเทา เปนอันดับแรก รองลงมาจะคํานึงถึง

เรื่องรูปแบบของรองเทากีฬา สีสัน ชื่อเสียงของตราสินคา คุณสมบัติการระบายอากาศ การปองกัน

การบาดเจ็บ และน้ําหนักของรองเทากีฬา รวมท้ังสอดคลองกับศุภฤกษ ทิมอน (2550) ซ่ึงได

ทําการศึกษาถึงพฤติกรรมการเลือกซ้ือรองเทาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา สําหรับ

Page 35: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

19

ปจจัยดานผลิตภัณฑ กลุมตัวอยางใหความสําคัญกับรูปแบบ รูปทรงของรองเทา ในการเลือกซ้ือ

รองเทามากท่ีสุด รองลงมา คือ ราคาตองเหมาะสมกับคุณภาพ ใสแลวกระชับ มีความนุมเทา และธีระ

ศักด์ิ สุดโต (2540) ท่ีไดทําการศึกษาปจจัยทางดานวิถีชีวิตและลักษณะทางประชากรศาสตรท่ีมี

อิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวาผูบริโภคให

ความสําคัญในดานคุณลักษณะของผลิตภัณฑ เชน การระบายอากาศ น้ําหนักเบา และความสามารถ

ในการรองรับการกระแทก

พรจันทร อินจันสุข (2548) ไดทําการศึกษาถึงพฤติกรรมและปจจัยทางการตลาด

ท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ผูบริโภคให

ความเห็นวาปจจัยดานคุณภาพสินคาสงผลตอการตัดสินใจซ้ือสินคาในระดับมาก และเม่ือพิจารณา

รายละเอียด พบวาผูบริโภคใหความสนใจในดานความทนทานและอายุการใชงานของสินคามากท่ีสุด

รองลงมาคือการออกแบบท่ีสวยงาม/น้ําหนักเบา สอดคลองกับกาญจนา สมสินสวัสดิ์ (2549) ท่ีได

ศึกษาเก่ียวกับการเปดรับเครื่องมือการสื่อสารการตลาดของรองเทากีฬาไนก้ีและการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ปจจัยดานผลิตภัณฑมีความสําคัญอยางยิ่งตอ

การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา คือ คุณสมบัติตรงตามความตองการ รองลงมา คือ นวัตกรรมปองกัน

การบาดเจ็บ และรูปแบบสวยงามถูกใจ และศันสนีย บุญยง (2550) ท่ีไดทําการศึกษาปจจัยท่ีมี

อิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ปจจัยดาน

ผลิตภัณฑในเรื่องความสวมใสสบายและกระชับ มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอยูในระดับ

มาก รองลงมาคือ ความคงทนรูปแบบท่ีสวยงามและคุณสมบัติการระบายอากาศของรองเทากีฬา

นอกจากนี้ รุงอรุณ ศรธนู (2553) ไดทําการศึกษาปจจัยดานประชากรศาสตรท่ี

สงผลตอสวนประสมทางการตลาดผูซ้ือรองเทาในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ผูบริโภคใหความสําคัญ

กับปจจัยในดานผลิตภัณฑในระดับมาก โดยผูบริโภคใหความสนใจเรื่องความหลากหลายของรูปแบบ

มากท่ีสุด รองลงมาคือเรื่องของการพัฒนาปรับปรุงใหผลิตภัณฑมีความทันตอสมัยนิยม ความ

หลากหลายของสีสันลวดลาย วัสดุท่ีใชทํารองเทา และยี่หอหรือตราสินคา ตามลําดับ สอดคลองกับ

สุรสิทธิ์ ปราชญสุชนัย (2546) ท่ีศึกษาเก่ียวกับปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการเลือกซ้ือ

รองเทาผาใบของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวาผูบริโภคใหความสําคัญในดานผลิตภัณฑนั้น

ผูบริโภคใหความสนใจในเรื่องของตรายี่หอและประเภทของรองเทาผาใบ โดยปจจัยดังกลาวสงผลตอ

การตัดสินใจซ้ือสินคาของผูบริโภค ณ ระดับความเชื่อม่ันท่ี 99%

2.3.2 ราคา (Price)

ชฏาพร อรชุน (2557) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับความคาดหวังในองคประกอบของ

ผลิตภัณฑท่ีสงผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี

Page 36: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

20

พบวา ผูบริโภคใหความสําคัญกับปจจัยดานราคาอยูในระดับมาก โดยสวนใหญจะใหความสนใจดาน

ความคุมคาระหวางราคาและคุณภาพของสินคา สอดคลองกับรุงอรุณ ศรธนู (2553) ท่ีได

ทําการศึกษาปจจัยดานประชากรศาสตรท่ีสงผลตอสวนประสมทางการตลาดผูซ้ือรองเทาในเขต

กรุงเทพมหานคร ซ่ึงผลการศึกษาพบวา ผูบริโภคใหความสําคัญกับปจจัยในดานราคาในระดับมาก

ผูบริโภคใหความสนใจถึงเรื่องความเหมาะสมระหวางราคากับคุณภาพมากท่ีสุด รองลงมาคือเรื่องของ

ความเหมาะสมระหวางราคากับรายไดผูซ้ือ ความเหมาะสมระหวางราคากับตรายี่หอ ราคาตองถูกกวา

ตรายี่หออ่ืนท่ีมีลักษณะใกลเคียงกัน และราคาสินคาแพงกวายี่หออ่ืนเพราะคุณภาพดีกวาแมจะมี

รูปแบบใกลเคียงกัน ตามลําดับ เชนเดียวกับพรจันทร อินจันสุข (2548) ซ่ึงทําการศึกษาถึงพฤติกรรม

และปจจัยทางการตลาดท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร

พบวาผูบริโภคใหความเห็นวาปจจัยดานราคาสินคาสงผลตอการตัดสินใจซ้ือสินคาในระดับมาก และ

เม่ือพิจารณารายละเอียด พบวาผูบริโภคใหความสนใจในดานความเหมาะสมระหวางราคาและ

คุณภาพของสินคาเปนอันดับแรก รองลงมาคือราคาสูงเพ่ือความภูมิใจ

อธิพร หวังเสรีกุล (2554) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการวิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอ

การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภค ในอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ซ่ึงผลการศึกษาพบวา

ผูบริโภคมีการตัดสินใจซ้ือโดยคํานึงถึงปจจัยดานราคาในระดับดี โดยผูบริโภคใหความสําคัญในเรื่อง

ของความเหมาะสมระหวางราคาและคุณภาพผลิตภัณฑเปนอันดับแรก รองลงมาคือดานความ

เหมาะสมระหวางราคาและตราสินคา ความเหมาะสมระหวางราคากับรายได และการท่ีราคาถูกกวา

ตราสินคาอ่ืน ตามลําดับ เชนเดียวกับกาญจนา สมสินสวัสดิ์ (2549) ซ่ึงไดทําการศึกษาเก่ียวกับการ

เปดรับเครื่องมือการสื่อสารการตลาดของรองเทากีฬาไนก้ีและการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ปจจัยดานราคามีความสําคัญอยางยิ่งตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬา คือ ราคาท่ีเหมาะสมกับคุณภาพ และ สุรสิทธิ์ ปราชญสุชนัย (2546) ไดทําการศึกษา

ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการเลือกซ้ือรองเทาผาใบของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ซ่ึง

ผลการศึกษาพบวา ปจจัยดานราคาของรองเทาผาใบ มีผลตอการตัดสินใจซ้ือสินคาของผูบริโภค ณ

ระดับความเชื่อม่ันท่ี 99%

2.3.3 ชองทางการจัดจําหนาย (Place)

รุงอรุณ ศรธนู (2553) ไดทําการศึกษาปจจัยดานประชากรศาสตรท่ีสงผลตอสวน

ประสมทางการตลาดผู ซ้ือรองเทาในเขตกรุงเทพมหานคร ซ่ึงผลการศึกษาพบวา ผูบริโภคให

ความสําคัญกับปจจัยในดานชองทางการจัดจําหนายในระดับมาก ผูบริโภคใหความสนใจในดาน

สถานท่ีจําหนายท่ีอยูใกลท่ีทํางานหรือสถานศึกษา สอดคลองกับพรจันทร อินจันสุข (2548) ได

ทําการศึกษาถึงพฤติกรรมและปจจัยทางการตลาดท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภค

Page 37: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

21

ในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ผูบริโภคใหความเห็นวาปจจัยดานสถานท่ีจัดจําหนายสินคาสงผลตอ

การตัดสินใจซ้ือสินคาในระดับมาก โดยมีการพิจารณาดานความสะดวกในการเดินทาง เชนเดียวกับ

กาญจนา สมสินสวัสดิ์ (2549) ท่ีไดทําการศึกษาเก่ียวกับการเปดรับเครื่องมือการสื่อสารการตลาดของ

รองเทากีฬาไนก้ีและการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ปจจัย

ดานชองทางการจัดจําหนายมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา คือ ความสะดวกในการหา

ซ้ือสินคา และ สุรสิทธิ์ ปราชญสุชนัย (2546) ไดทําการศึกษาปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการ

เลือกซ้ือรองเทาผาใบของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ซ่ึงผลการศึกษาพบวา ปจจัยดานชอง

ทางการจัดจําหนายรองเทาผาใบ มีผลตอการตัดสินใจซ้ือสินคาของผูบริโภค ณ ระดับความเชื่อม่ันท่ี

99%

นอกจานั้น อธิพร หวังเสรีกุล (2554) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการวิเคราะหปจจัย

ท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภค ในอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ซ่ึงผลการศึกษา

พบวา ผูบริโภคมีการตัดสินใจซ้ือโดยคํานึงถึงปจจัยดานชองทางการจัดจําหนายในระดับปานกลาง

โดยผูบริโภคมักเลือกซ้ือกับรานท่ีอยูใกลบาน ท่ีทํางาน หรือสถานศึกษา

2.3.4 การสงเสริมการตลาด (Promotion)

รุงอรุณ ศรธนู (2553) ไดทําการศึกษาปจจัยดานประชากรศาสตรท่ีสงผลตอสวน

ประสมทางการตลาดผู ซ้ือรองเทาในเขตกรุงเทพมหานคร ซ่ึงผลการศึกษาพบวา ผูบริโภคให

ความสําคัญกับปจจัยในดานการสงเสริมการตลาดในระดับมาก ผูบริโภคใหความสนใจถึงเรื่องการมี

ตัวอยางสินคาใหทดลองสวมใสมากเปนอันดับแรก รองลงมาคือการรับประกันความพอใจและสามารถ

เปลี่ยนสินคาไดภายในระยะเวลาท่ีกําหนด การมีสวนลดราคาเม่ือมีการซ้ือสินคาจํานวนมาก และการ

แถมสินคาเม่ือมีการซ้ือสินคาจํานวนมาก ตามลําดับ สองคลองกับพรจันทร อินจันสุข (2548) ท่ีได

ทําการศึกษาถึงพฤติกรรมและปจจัยทางการตลาดท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภค

ในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ผูบริโภคใหความเห็นวาปจจัยดานกิจกรรมสงเสริมการตลาดสงผลตอ

การตัดสินใจซ้ือสินคาในระดับมาก และเม่ือพิจารณารายละเอียด พบวาผูบริโภคใหความสนใจในดาน

การลดราคาสินคามากท่ีสุด รองลงมาคือดานการรับประกันสินคา ซ่ึงเปนไปในทิศทางเดียวกับชฏาพร

อรชุน (2557) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับความคาดหวังในองคประกอบของผลิตภัณฑท่ีสงผลตอการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ซ่ึงผลการศึกษาพบวา

ผูบริโภคใหความสําคัญกับดานการสงเสริมการตลาดในระดับมาก โดยผูบริโภคใหความสําคัญในเรื่อง

การเปลี่ยนคืนรองเทากีฬาในระยะเวลาท่ีกําหนด การแถมของแถมเม่ือซ้ือสินคาในปริมาณมาก และ

การลดราคาเม่ือซ้ือสินคาในปริมาณมาก

Page 38: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

22

อธิพร หวังเสรีกุล (2554) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการวิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอ

การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภค ในอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ซ่ึงผลการศึกษาพบวา

ผูบริโภคมีการตัดสินใจซ้ือโดยคํานึงถึงปจจัยดานการสงเสริมการตลาดในระดับดี โดยผูบริโภคมัก

พิจารณาจากการลดราคามากท่ีสุด รองลงมาจะเปนดานบริการหลังการขาย การมีพนักงานแนะนํา

สินคา การใหของแถม และการซ้ือหนึ่งแถมหนึ่ง นอกจากนี้ ยังพบวาการโฆษณาท่ีนาสนใจ จะสงผล

กระทบตอการตัดสินใจซ้ือในระดับปานกลางเทานั้น สอดคลองกับศุภฤกษ ทิมอน (2550) ซ่ึงได

ทําการศึกษาถึงพฤติกรรมการเลือกซ้ือรองเทาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ปจจัยดาน

การสงเสริมการตลาดมีอิทธิพลตอการเลือกซ้ือรองเทา คือ การลดราคาของสินคา และมีการ

รับประกันความพึงพอใจใหกับผูซ้ือ และกาญจนา สมสินสวัสดิ์ (2549) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการ

เปดรับเครื่องมือการสื่อสารการตลาดของรองเทากีฬาไนก้ีและการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ปจจัยดานการสงเสริมการตลาดมีความสําคัญตอการตัดสินใจ

ซ้ือรองเทากีฬา คือ รายการสงเสริมการขาย และการมีพนักงานขายแนะนําสินคา

2.3.5 บุคลากร (People)

ศุภฤกษ ทิมอน (2550) ไดทําการศึกษาถึงพฤติกรรมการเลือกซ้ือรองเทาของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ปจจัยดานบุคลากรมีอิทธิพลตอการเลือกซ้ือรองเทา คือ ความ

สุภาพของพนักงานขาย สอดคลองกับนนทพร จุติมานนท (2552) ซ่ึงไดศึกษาพฤติกรรมการซ้ือ

รองเทามือสองของวัยรุนในจังหวัดเชียงใหม พบวา ปจจัยดานบุคคลากรสงผลตอพฤติกรรมการ

รองเทาของวัยรุนในระดับมาก โดยใหความสนใจตอมนุษยสัมพันธของผูขาย ความเอาใจใสในการ

บริการ และความเต็มใจในการใหขอมูลของสินคา และชานนท อันสมศรี (2556) ศึกษาถึงปจจัยท่ีมี

ความสัมพันธในการเลือกซ้ือรองเทากีฬาแบดมินตันในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ปจจัยดานบุคคล

หรือพนักงานมีความสําคัญในระดับมาก โดยเนนไปท่ีความมีมนุษยสัมพันธท่ีดีและการใหคําแนะนําใน

เรื่องผลิตภัณฑจากพนักงาน

2.3.6 การสรางและการนําเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical Environment)

รุงอรุณ ศรธนู (2553) ไดทําการศึกษาปจจัยดานประชากรศาสตรท่ีสงผลตอสวน

ประสมทางการตลาดผูซ้ือรองเทาในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ผูบริโภคใหความสําคัญกับปจจัยใน

ดานการสรางและการนําเสนอลักษณะทางกายภาพในระดับมาก โดยผูบริโภคใหความสนใจถึงเรื่อง

การจัดเรียงสินคาใหมีความสะดวกในการหยิบลอง รองลงมาคือเรื่องความสวยงามในการตกแตงราน

สอดคลองกับผลวิจัยของชฏาพร อรชุน (2557) ซ่ึงไดทําการศึกษาเก่ียวกับ ความคาดหวังใน

องคประกอบของผลิตภัณฑท่ีสงผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตอําเภอเมือง

จังหวัดนนทบุรี ซ่ึงผลการศึกษาพบวา ผูบริโภคใหความสําคัญกับดานการสรางและการนําเสนอ

Page 39: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

23

ลักษณะทางกายภาพในระดับมาก โดยใหความสําคัญในเรื่องการจัดเรียงสินคาใหสวยงามและงายตอ

การเลือก

นอกจากนั้น อธิพร หวังเสรีกุล (2554) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการวิเคราะหปจจัย

ท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภค ในอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ซ่ึงผลการศึกษา

พบวา ผูบริโภคมีการตัดสินใจซ้ือโดยคํานึงถึงปจจัยดานการสรางและการนําเสนอลักษณะทาง

กายภาพในระดับดี โดยผูบริโภคมักเลือกซ้ือกับรานท่ีมีความสะอาดมากท่ีสุด รองลงมาคือดานความ

นาดึงดูดในการจัดราน การรูจักรานคามานาน และการมีสถานท่ีจอดรถท่ีสะดวก ตามลําดับ

2.3.7 กระบวนการ (Process)

ชฏาพร อรชุน (2557) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับความคาดหวังในองคประกอบของ

ผลิตภัณฑท่ีสงผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ซ่ึงผล

การศึกษาพบวาผูบริโภคใหความสําคัญกับดานกระบวนการบริการในระดับมาก โดยผูบริโภคใหความ

สนใจในเรื่องของทางเลือกในการชําระเงินท่ีเพ่ิมข้ึน เชน บัตรเครดิตและบัตรเดบิต อีกท้ังผูบริโภค

ยังใหความสําคัญในดานบริการหลังการขายในระดับมาก อาทิ การบริการซอมฟรี หรือการมีพ้ืน

รองเทาและเชือกรองเทาสํารองให สอดคลองกับงานวิจัยของชานนท อันสมศรี (2556) ซ่ึงศึกษาถึง

ปจจัยท่ีมีความสัมพันธในการเลือกซ้ือรองเทากีฬาแบดมินตันในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ปจจัย

ดานกระบวนการมีความสําคัญในระดับมาก โดยใหความสําคัญในเรื่องความหลากหลายของวิธีการ

ชําระเงินเปนสําคัญ เชน การชําระเงินผานเครดิต

2.3.8 เพศ (Sex)

นัคมน ภูทอง (2550) ไดทําการศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการตัดสินใจ

ซ้ือรองเทากีฬายี่หอไนก้ีของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา เพศท่ีแตกตางกันมีความสําคัญ

ตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาแตกตางกัน

อธิพร หวังเสรีกุล (2554) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการวิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอ

การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภค ในอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย พบวา ผูบริโภคเพศหญิง

จะมีแนวโนมท่ีจะตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาโดยไมเจาะจงตราสินคา ในขณะท่ีผูบริโภคเพศชาย จะมี

แนวโนมท่ีจะตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาโดยเจาะจงเฉพาะตราสินคาท่ีตนเองสนใจเทานั้น ในดาน

ผลิตภัณฑ พบวาผูบริโภคเพศชายจะใหความสําคัญในเรื่องของชื่อเสียงของตราสินคา ในขณะท่ี

ผูบริโภคเพศหญิงจะใหความสําคัญกับดานการปองกันกลิ่นอับเปนอันดับแรก ในขณะท่ีกาญจนา สม

สินสวัสดิ์ (2549) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการเปดรับเครื่องมือการสื่อสารการตลาดของรองเทากีฬาไน

ก้ีและการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ความแตกตางของเพศมี

ความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาท่ีแตกตางกัน โดยในการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาเพศหญิง

Page 40: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

24

ตองการความสะดวกในการหาซ้ือสินคาสูงกวาเพศชาย ซ่ึงแตกตางจากผลการศึกษาของศันสนีย บุญ

ยง (2550) โดยไดทําการศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร พบวา ความแตกตางของเพศมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาท่ีแตกตาง

กัน โดยเพศชายใหความสําคัญกับคุณสมบัติการระบายอากาศของรองเทากีฬา สวนเพศหญิงให

ความสําคัญกับรูปแบบรองเทาท่ีสวยงาม

2.3.9 อายุ (Age)

พรจันทร อินจันสุข (2548) ไดทําการศึกษาถึงพฤติกรรมและปจจัยทางการตลาด

ท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ซ่ึงผลการศึกษาพบวาชวง

อายุท่ีตางกันมีผลตอจุดประสงคในการเลือกซ้ือรองเทา โดยผูบริโภคในวัยหนุม – สาว จะนิยมซ้ือ

รองเทากีฬาเพ่ือเลนกีฬาและออกกําลังกาย ในขณะท่ีวัยทํางาน – วัยสูงอายุ มักจะซ้ือรองเทากีฬา

เพ่ือทองเท่ียวและทํางาน ในขณะท่ีอธิพร หวังเสรีกุล (2554) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการวิเคราะห

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภค ในอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ซ่ึงผล

การศึกษาพบวา ผูบริโภคท่ียิ่งมีอายุมากข้ึน จะมีโอกาสซ้ือรองเทากีฬาเพ่ือสวมใสในโอกาสตางๆ

ลดลง ในดานผลิตภัณฑจะพบวาผูบริโภคท่ีมีชวงอายุ 15 – 44 ป จะพิจารณาจากความสบายในการ

สวมใสมากเปนอันดับแรก ผูบริโภคท่ีมีชวงอายุ45 – 54 ป จะพิจารณาจากนวัตกรรมการปองกันการ

บาดเจ็บมาเปนอันดับแรก สวนผูบริโภคท่ีมีชวงอายุมากกวา 55 ปข้ึนไป จะพิจารณาจาก

ความสามารถในการระบายอากาศมากเปนอันดับแรก

นอกจากนี้ กาญจนา สมสินสวัสดิ์ (2549) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการเปดรับ

เครื่องมือการสื่อสารการตลาดของรองเทากีฬาไนก้ีและการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคใน

เขตกรุงเทพมหานคร พบวา ความแตกตางของอายุมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาท่ี

แตกตางกัน โดยในการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาผูท่ีมีอายุระหวาง 31 ปข้ึนไป มีการตัดสินใจซ้ือโดย

คํานึงถึงคุณภาพตรงตามความตองการและนวัตกรรมปองกันการบาดเจ็บ แตผูท่ีมีอายุอยูในชวง 15-

30 ป ตัดสินใจจากปจจัยดานรูปแบบสวยงามเปนหลัก ในขณะท่ีศันสนีย บุญยง (2550) ได

ทําการศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร

พบวา ความแตกตางของอายุมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาท่ีแตกตางกัน เนื่องจากกลุม

ท่ีอายุนอยกวา 45 ป ใหความสําคัญกับปจจัยดานความสวมใสสบายและกระชับ รูปแบบรองเทาท่ี

สวยงาม และความคงทนของรองเทากีฬา ขณะท่ีกลุมท่ีมีอายุ 46 ปข้ึนไป นอกจากจะใหความสนใจ

กับปจจัยดานการสวมใสสบายและกระชับแลว ยังสนใจดานการท่ีรองเทามีนวัตกรรมปองกันการ

บาดเจ็บอีกดวย ซ่ึงแตกตางจากผลการศึกษาของนัคมน ภูทอง (2550) โดยไดทําการศึกษาปจจัยท่ีมี

อิทธิพลตอพฤติกรรมการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬายี่หอไนก้ีของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา

Page 41: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

25

ความแตกตางของอายุมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาท่ีแตกตางกัน เนื่องจากผูบริโภคท่ี

มีอายุอยูระหวางอายุ 31 - 40 ป มีแนวโนมท่ีจะซ้ือรองเทากีฬามากกวาชวงอ่ืน

2.3.10 ระดับการศึกษา (Education)

ศันสนีย บุญยง (2550) ศึกษาเก่ียวกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ระดับการศึกษาท่ีแตกตางกันของกลุมผูบริโภค ทําให

พฤติกรรมการซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคแตกตางกัน โดยพบวาผูบริโภคท่ีมีการศึกษาระดับปริญญา

ตรีข้ึนไป มีแนวโนมในการซ้ือรองเทากีฬามากกวาผูบริโภคท่ีมีระดับการศึกษาในระดับท่ีต่ํากวา

อยางไรก็ตาม กาญจนา สมสินสวัสดิ์ (2549) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการเปดรับ

เครื่องมือการสื่อสารการตลาดของรองเทากีฬาไนก้ีและการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคใน

เขตกรุงเทพมหานคร พบวา ระดับการศึกษาท่ีแตกตางกันมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาไมแตกตางกัน ซ่ึงเปนไปในทิศทางเดียวกับนัคมน ภูทอง (2550) โดยไดทําการศึกษาปจจัยท่ีมี

อิทธิพลตอพฤติกรรมการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬายี่หอไนก้ีของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา

ระดับการศึกษาท่ีแตกตางกันมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาไมแตกตางกัน

2.3.11 อาชีพ (Occupation)

กาญจนา สมสินสวัสดิ์ (2549) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการเปดรับเครื่องมือการ

สื่อสารการตลาดของรองเทากีฬาไนก้ีและการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร พบวา ความแตกตางของอาชีพมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาท่ี

แตกตางกัน โดยในการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาผูท่ีมีอาชีพประกอบกิจการสวนตัว มีการตัดสินใจซ้ือ

โดยคํานึงถึงราคาเหมาะสมกับคุณภาพนอยกวากลุมอาชีพอ่ืนๆ สอดคลองกับนัคมน ภูทอง (2550)

ไดทําการศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬายี่หอไนก้ีของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร พบวา ความแตกตางของอาชีพมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาท่ี

แตกตางกัน เนื่องจากผูบริโภคท่ีมีอาชีพประกอบธุรกิจสวนตัวมีแนวโนมท่ีจะซ้ือรองเทากีฬามากกวา

อาชีพอ่ืน

2.3.12 รายได (Income)

อธิพร หวังเสรีกุล (2554) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการวิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอ

การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภค ในอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย พบวา ในดานผลิตภัณฑ

นั้น ผูบริโภคทุกกลุมรายไดจะใหความสําคัญกับความสามารถในการระบายอากาศในระดับดี ยกเวน

กลุมผูบริโภคท่ีมีรายไดอยูในชวง 23,501 – 29,000 บาท ท่ีจะใหความสําคัญกับความสามารถในการ

ระบายอากาศในระดับดีมาก สวนในดานราคา พบวาผูบริโภคสวนใหญมีการตัดสินใจซ้ือโดยคํานึงถึง

ความเหมาะสมระหว างราคากับรายไดมากท่ีสุด ยกเวนกลุ มผูบริ โภคท่ี มีรายได ในชวง

Page 42: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

26

7,001 – 12,500 บาท และ มากกวา 29,001 บาท จะคํานึงถึงเรื่องความเหมาะสมระหวางราคาและ

คุณภาพมากเปนอันดับแรก และงานวิจัยของ นัคมน ภูทอง (2550) ไดทําการศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพล

ตอพฤติกรรมการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬายี่หอไนก้ีของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ความ

แตกตางของรายไดมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาท่ีแตกตางกัน เนื่องจากผูบริโภคท่ีมี

รายไดเฉลี่ยตอเดือนระหวาง 20,001 – 30,000 บาท มีแนวโนมท่ีจะซ้ือรองเทากีฬามากกวาชวง

รายไดอ่ืน

อยางไรก็ตาม กาญจนา สมสินสวัสดิ์ (2549) ไดทําการศึกษาเก่ียวกับการเปดรับ

เครื่องมือการสื่อสารการตลาดของรองเทากีฬาไนก้ีและการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคใน

เขตกรุงเทพมหานคร พบวา รายไดท่ีแตกตางกันมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาไม

แตกตางกัน

2.4 สรุปกรอบแนวคิดในการวิจัย

จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีในการวิจัย อาทิเชน แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค

(Model of Consumer Behavior) ทฤษฎีสวนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) รวมถึงการ

การทบทวนงานวิจัยท่ีเก่ียวของ จึงเขียนกรอบการวิจัยได ดังนี้

Page 43: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

27

ภาพท่ี 2.3 กรอบแนวคิดงานวิจัยการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

ปจจัยสวนประสมทางการตลาด

• ผลิตภัณฑ (Product)

• ราคา (Price)

• ชองทางการจัดจําหนาย (Place)

• การสงเสริมการตลาด (Promotion)

• บุคลากร (People)

• การสรางและการนําเสนอลักษณะทาง

กายภาพ (Physical Environment)

• กระบวนการ (Process)

ปจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร

• เพศ (Sex)

• อายุ (Age)

• ระดับการศึกษา (Education)

• อาชีพ (Occupation)

การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

Page 44: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

28

บทที่ 3

วิธีการวิจัย

การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใชวิธีการวิจัยแบบ

การสํารวจ (Survey Research) ผานการเก็บขอมูลทางแบบสอบถาม (Questionnaire) และทําการ

วิเคราะหขอมูลทางสถิติโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป เพ่ือศึกษาการวิจัยเรื่อง ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยท่ี

ทางคณะผูวิจัยไดทําการศึกษาตามข้ันตอนดังตอไปนี้

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

3.2 ตัวแปรท่ีใชในศึกษา

3.3 สมมติฐานการวิจัย

3.4 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

3.5 การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

3.6 การเก็บรวบรวมขอมูล

3.7 การวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

3.1.1 ประชากร

ประชากรท่ีใชในการศึกษา คือ ผูบริโภคท่ีเคยซ้ือรองเทากีฬา ยี่หออาดิดาส

(Adidas) โดยศึกษาประชากรท่ีอาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

3.1.2 กลุมตัวอยาง

โดยเลือกกลุมตัวอยางท่ีเปนผูบริโภคท่ีเคยซ้ือรองเทากีฬา ยี่หออาดิดาส (Adidas)

ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซ่ึงถือไดวามีจํานวนประชากรขนาดใหญ ทําใหไมสามารถทราบ

จํานวนประชากรท่ีแนนอน ผูวิจัยจึงไดอางอิงสูตรของ Taro Yamane ดวยสมมติฐานท่ีกําหนดวา

ขอมูลมีการกระจายตัวแบบปกติ (Normal Distribution) และไดวัดระดับความเชื่อม่ันเทากับรอยละ

95 คาความคลาดเคลื่อนท่ียอมรับไดไมเกินรอยละ 5 หรือท่ีระดับนัยสําคัญ 0.05 สามารถคํานวณได

ดังนี้

n = Z2

4E2

Page 45: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

29

โดยท่ี

n = ขนาดของกลุมตัวอยาง

Z = ระดับความเชื่อม่ันท่ีระดับ 95% (Z มีคาเปน 1.96 เปนคาท่ีไดจากตารางการ

แจกแจงแบบปกติมาตรฐาน)

E = ความคลาดเคลื่อนในการประมาณสัดสวนประชากรท้ังหมดท่ียอมรับได (E มีคา

เทากับ 0.05)

และเม่ือแทนคาจะไดวา

n = 1.962

4(0.05)2

n = 384.16

จากการคํานวณขางตนพบวา ในกรณีไมทราบจํานวนประชากรท่ีแนนอน ณ ระดับ

ความเชื่อม่ันท่ี 95% จะไดจํานวนกลุมตัวอยางท่ีเหมาะสมสําหรับการวิจัยครั้งนี้เทากับ 385 ตัวอยาง

อยางไรก็ตาม เพ่ือปองกันความผิดพลาดตางๆ ท่ีเกิดข้ึนจากการตอบแบบสอบถาม ผูวิจัยไดกําหนด

ขนาดตัวอยาง จัดทําแบบสอบถามสําหรับงานวิจัยครั้งนี้เพ่ิมข้ึนอีก 5% รวมเปน 405 ตัวอยาง

3.2 ตัวแปรท่ีใชในศึกษา

ตัวแปรท่ีใชในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ แบงออกเปนตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ซ่ึงมี

รายละเอียด ดังนี้

3.2.1 ตัวแปรอิสระ 3.2.1.1 ปจจัยดานลักษณะประชากรศาสตร

1. เพศ (Sex)

2. อายุ (Age)

3. ระดับการศึกษา (Education)

4. อาชีพ (Occupation)

5. รายได (Income)

3.2.1.2 ปจจัยสวนประสมทางการตลาด

1. ปจจัยดานผลิตภัณฑ (Product)

2. ปจจัยดานราคา (Price)

3. ปจจัยดานชองทางการจัดจาหนาย (Place)

Page 46: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

30

4. ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด (Promotion)

5. ปจจัยดานบุคลากร (People)

6. ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ (Physical Environment)

7. ปจจัยดานกระบวนการ (Process)

3.2.2 ตัวแปรตาม

ตัวแปรตาม คือ การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคใน

เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

3.3 สมมติฐานการวิจัย

งานวิจัยเรื่องปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล มีสมมติฐานดังนี้

3.3.1 สมมติฐานดานลักษณะประชากรศาสตร

สมมติฐานท่ี 1 ปจจัยดานเพศท่ีแตกตางกัน มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แตกตางกัน

สมมติฐานท่ี 2 ปจจัยดานอายุท่ีแตกตางกัน มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แตกตางกัน

สมมติฐานท่ี 3 ปจจัยดานระดับการศึกษาท่ีแตกตางกัน มีอิทธิพลตอการตัดสินใจ

ซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แตกตางกัน

สมมติฐานท่ี 4 ปจจัยดานอาชีพท่ีแตกตางกัน มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แตกตางกัน

สมมติฐานท่ี 5 ปจจัยดานรายไดท่ีแตกตางกัน มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แตกตางกัน

3.3.2 สมมติฐานดานสวนประสมทางการตลาด

สมมติฐานท่ี 1 ปจจัยดานผลิตภัณฑ (Product) มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 2 ปจจัยดานราคา (Price) มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 3 ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย (Place) มีอิทธิพลตอการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

Page 47: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

31

สมมติฐานท่ี 4 ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด (Promotion) มีอิทธิพลตอการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 5 ปจจัยดานบุคลากร (People) มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 6 ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ (Physical Environment) มี

อิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และ

ปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 7 ปจจัยดานกระบวนการ (Process) มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

3.4 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

งานวิจัยนี้ เปนการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใชแบบสอบถาม

(Questionnaire) เรื่อง ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล มีการแบง

แบบสอบถาม ออกเปน 3 สวน ดังนี้

สวนท่ี 1 เปนคําถามคัดกรองเบื้องตนของผูตอบแบบสอบถาม และคําถามเก่ียวกับ

พฤติกรรมท่ัวไปในการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas)

สวนท่ี 2 แบบสอบถามขอมูลท่ีเก่ียวกับสวนประสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลตอการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของกลุมผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

โดยใชเครื่องมือประเภทมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ซ่ึงมีเกณฑในการกําหนดคาน้ําหนัก

ของการประเมินเปน 5 ระดับตามวิธีของลิเคิรท (Likert Scale) ดังแสดงในตารางท่ี 3.1

Page 48: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

32

ตารางท่ี 3.1

เกณฑในการกําหนดคาน้ําหนักคะแนนสําหรับความคิดเห็นในการตอบแบบสอบถาม

ระดับความคิดเห็น / ระดับการตัดสินใจ ระดับคะแนน

มากท่ีสุด / ซ้ืออยางแนนอน 5 คะแนน

มาก / นาจะซ้ือ 4 คะแนน

ปานกลาง / ไมแนใจ 3 คะแนน

นอย / ไมนาจะซ้ือ 2 คะแนน

นอยท่ีสุด / ไมซ้ืออยางแนนอน 1 คะแนน

ไมสามารถประเมินได 0 คะแนน

เกณฑการแปลความหมายเพ่ือจัดระดับคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นหรือการตัดสินใจซ้ือ

ผูวิจัยใชเกณฑคาเฉลี่ยในการแปลผล ซ่ึงผลจากการคํานวณโดยใชสูตรการหาความกวางอันตรภาคชั้น

เปนดังนี้

ความกวางของอันตรภาคช้ัน = พิสัย/จํานวนช้ัน

= 5 - 1

5

= 0.8

จึงไดเกณฑการแปลคาเฉลี่ยความเห็นดังแสดงในตารางท่ี 3.2

ตารางท่ี 3.2

เกณฑการแปลผลของคาเฉลี่ยคะแนนในระดับตางๆ

ระดับความคิดเห็น / ระดับการตัดสินใจ ระดับคะแนน

มากท่ีสุด / ซ้ืออยางแนนอน 4.21 – 5.00

มาก / นาจะซ้ือ 3.41 – 4.20

ปานกลาง / ไมแนใจ 2.61 – 3.40

นอย / ไมนาจะซ้ือ 1.81 – 2.60

นอยท่ีสุด / ไมซ้ืออยางแนนอน 1.00 – 1.80

Page 49: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

33

สวนท่ี 3 ขอมูลดานประชากรศาสตรของผูตอบแบบสอบถาม เปนแบบสอบถามใน

ลักษณะตรวจสอบรายการ (Checklist)

ท้ังนี้ ผูวิจัยไดมีการประเมินความเท่ียงตรง (Validity) และความนาเชื่อถือ

(Reliability) ของแบบสอบถาม โดยนําแบบสอบถามใหอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระวิจารณและ

ใหขอเสนอแนะ เพ่ือใหครอบคลุมและสอดคลองกับวัตถุประสงคในการวิจัย เม่ือไดรับการตรวจสอบ

แลว จะนํามาพิจารณา แกไขตามขอแนะนํา เพ่ือใหเกิดความเท่ียงตรง ในสวนของความนาเชื่อถือ

เพ่ือตรวจสอบความถูกตองและความเขาใจของผูตอบแบบสอบถามกอนทําการเก็บขอมูลจริง

3.5 การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย คือ การสรางแบบสอบถาม โดยมีข้ันตอนการสราง

ดังตอไปนี้

1. ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวของตางๆ จากเอกสาร ตํารา หนังสือ เว็บไซต

และงานวิจัย ท่ีเก่ียวของกับตัวแปรท่ีจะศึกษา

2. รวบรวมสาระและเนื้อหาตางๆ ท่ีไดจากเอกสาร งานวิจัย และการสัมภาษณ เพ่ือ

นํามาสรางแบบสอบถามเก่ียวกับการศึกษาถึงปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

3. ตรวจสอบความเท่ียงตรงของเนื้อหา (Content Validity) ของแบบสอบถามโดยนํา

แบบสอบถามท่ีไดเสนอตออาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระเพ่ือพิจารณาตรวจสอบความถูกตอง

และเสนอแนะเพ่ิมเติมเพ่ือนํามาแกไข

3.6 การเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัยในหัวขอเรื่อง ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เปนการเก็บ

รวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลปฐมภูมิ (Primary data) ซ่ึงเปนขอมูลท่ีไดจากการตอบแบบสอบถาม

จากกลุมตัวอยางจํานวน 405 ตัวอยาง โดยใหกลุมตัวอยางทําแบบสอบถามผานทางอินเตอรเน็ต

(Google Docs)

Page 50: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

34

3.7 การวิเคราะหขอมูล

หลังจากรวบรวมแบบสอบถามท่ีไดรับการตอบครบถวนสมบูรณแลว จึงทําการ

ประมวลผลผานวิธีการทางสถิติ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล ดังนี้

3.7.1 การวิเคราะหขอมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic)

เปนการอธิบายขอมูลลักษณะทางดานประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง โดย

อธิบายและนําเสนอในรูปแบบตางๆ เชน รูปตารางแจกแจงความถ่ี (Frequency) คารอยละ

(Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แผนภูมิวงกลม

(Pie chart) และแผนภูมิแทง

3.7.2 การวิเคราะหขอมูลเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)

3.7.2.1 การวิเคราะหปจจัย (Factor Analysis) เปนการจัดกลุมตัวแปรท่ีมี

ความสัมพันธกันในแตละปจจัยใหเปนองคประกอบเดียวกัน

3.7.2.2 การวิเคราะหสมการถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Linear Regression)

เปนการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรในปจจัยตางๆ ท่ีสงผลตอตัวแปรอิสระ เพ่ือทดสอบ

สมมติฐานของงานวิจัย

3.7.2.3 การวิเคราะห Independent-Sample T Test เปนการทดสอบความ

แตกตางระหวางกลุมตัวอยาง 2 กลุม ท่ีเปนอิสระตอกัน

3.7.2.4 การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) เปนการ

ทดสอบความแตกตางระหวางกลุมตัวอยางมากกวา 2 กลุม

Page 51: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

35

บทที่ 4

ผลการวิจัยและอภิปรายผล

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยประชากรเปาหมายใน

การศึกษา คือ ผูบริโภคท่ีเคยซ้ือรองเทากีฬา ยี่หออาดิดาส (Adidas) ท่ีอาศัยอยูในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล สวนปจจัยท่ีใชในการศึกษา ไดแก ปจจัยสวนประสมทางการตลาด

และปจจัยดานลักษณะประชากรศาสตร ซ่ึงจากการคํานวณขนาดของกลุมตัวอยางในบทท่ี 3 ในกรณี

ไมทราบจํานวนประชากรท่ีแนนอน ณ ระดับความเชื่อม่ันเทากับรอยละ 95 จะไดกลุมตัวอยางท่ี

เหมาะสมเทากับ 385 ตัวอยาง หลังจากผูวิจัยไดดําเนินการเก็บขอมูลจากแบบสอบถามผานทาง

อินเตอรเน็ต (Google Docs) โดยไดรับขอมูลแบบสอบถามตอบกลับมารวมท้ังสิ้น 479 ชุด จากนั้น

ไดมีการตรวจสอบความถูกตองและความครบถวนของขอมูลท่ีจําเปนตอการวิเคราะห โดยผูวิจัยไดทํา

การตัดแบบสอบถามท่ีเลือกตอบวา “ไมเคยซ้ือรองเทากีฬา ยี่หออาดิดาส (Adidas) และ ไมไดศึกษา

ทํางาน หรืออาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ออกจํานวน 72 ชุด ดังนั้น จึงมี

แบบสอบถามตอบกลับท่ีมีความสมบูรณรวม 407 ชุด ซ่ึงมากกวาคาท่ีคํานวณได ทําใหคาความ

คลาดเคลื่อนของงานวิจัยลดลงเปน 4.85% ในข้ันตอนตอไปผูวิจัยไดนําขอมูลท่ีรวบรวมมาทําการ

ประมวลผล และวิเคราะหคาทางสถิติตามวัตถุประสงคของงานวิจัย โดยแบงผลการวิเคราะหออกเปน

สวนตางๆ ดังนี้

4.1 ขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง

4.2 ขอมูลเก่ียวกับพฤติกรรมการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

4.3 คะแนนเฉลี่ยระดับความคิดเห็นตอตัววัดของตัวแปรอิสระท่ีมีอิทธิพลตอการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

4.4 การวิเคราะหปจจัยลักษณะทางประชากรศาสตรกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

4.5 การวิเคราะหปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

Page 52: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

36

4.1 ขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง

การเก็บรวบรวมขอมูลในงานวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดรับแบบสอบถามท่ีมีความสมบูรณ

ครบถวนกลับมาท้ังสิ้น 407 ตัวอยาง โดยในงานวิจัยครั้งนี้ขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของ

กลุมตัวอยางท่ีจะพิจารณา ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดเฉลี่ยตอเดือน

ดังรายละเอียดในตารางท่ี 4.1

ตารางท่ี 4.1

ขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง

ลักษณะประชากรศาสตร จํานวน (คน) สัดสวน (%)

1. เพศ

ชาย 229 56.3%

หญิง 178 43.7%

รวม 407 100.0%

2. อายุ

ต่ํากวา 20 ป 21 5.2%

20 - 30 ป 320 78.6%

31 - 40 ป 51 12.5%

41 - 50 ป 10 2.5%

มากกวา 50 ป 5 1.2%

รวม 407 100.0%

3. ระดับการศึกษาข้ันสูงสุด

ต่ํากวาปริญญาตรี 48 11.8%

ปริญญาตร ีหรือเทียบเทา 260 63.9%

ปริญญาโท หรือเทียบเทา 97 23.8%

สูงกวาปริญญาโท 2 0.5%

รวม 407 100.0%

Page 53: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

37

ตารางท่ี 4.1

ขอมูลลักษณะทางประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง (ตอ)

ลักษณะประชากรศาสตร จํานวน (คน) สัดสวน (%)

4. อาชีพ

นักเรียน / นักศึกษา 63 15.5%

รับราชการ 40 9.8%

พนักงานรัฐวิสาหกิจ 20 4.9%

พนักงานบริษัท 176 43.2%

ธุรกิจสวนตวั 51 12.5%

อาชีพอิสระ 49 12.0%

แมบาน 4 1.0%

อ่ืนๆ เชน ครู พยาบาล 4 1.0%

รวม 407 100.0%

5. รายไดเฉล่ียตอเดือน

นอยกวา 10,000 บาท 44 10.8%

10,000 - 20,000 บาท 152 37.3%

20,001 - 30,000 บาท 109 26.8%

30,001 - 40,000 บาท 46 11.3%

40,001 - 50,000 บาท 18 4.4%

มากกวา 50,000 บาทข้ึนไป 38 9.3%

รวม 407 100.0%

จากตารางท่ี 4.1 พบวา ในจํานวนผูตอบแบบสอบถามท้ัง 407 คน แบงเปนชาย 229

คนคิดเปนรอยละ 56.3 และหญิง 178 คน คิดเปนรอยละ 43.7 โดยสวนใหญมีอายุระหวาง

20 – 30 ป จํานวน 320 คน คิดเปน 78.6% ในขณะท่ีระดับการศึกษาของผูท่ีตอบแบบสอบถามนั้น

สวนใหญเปนนักศึกษาระดับปริญญาตรีจํานวน 260 คน คิดเปนรอยละ 63.90 โดยเปนกลุมพนักงาน

บริษัท จํานวน 176 คน คิดเปนรอยละ 43.2 ของกลุมตัวอยาง ท้ังนี้ กลุมตัวอยางสวนใหญมีรายไดอยู

ท่ีระหวาง 10,000 - 20,000บาท จํานวน 152 คน คิดเปนรอยละ 37.3 ของกลุมตัวอยาง

Page 54: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

38

4.2 ขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

ขอมูลเก่ียวกับพฤติกรรมการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ในงานวิจัยครั้งนี้ประกอบดวย บุคคลท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ

เลือกซ้ือ ชองทางในการไดรับขอมูล ความถ่ีในการซ้ือ คาใชจายโดยเฉลี่ยในการซ้ือ รานคาท่ีนิยมซ้ือ

วัตถุประสงคในการซ้ือ และเหตุผลสําคัญในการเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ดังรายละเอียดตอไปนี้

ภาพท่ี 4.1 บุคคลท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

เพ่ือน

11%

บุคคลในครอบครัว

7%

แฟน

13%

พนักงานขายใน

รานคา

2%

ตัดสินใจดวยตนเอง

67%

อ่ืน ๆ

0.5%

บุคคลท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

Page 55: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

39

ภาพท่ี 4.2 ชองทางในการรับขอมูลของรองเทากีฬาอาดิดาส

ภาพท่ี 4.3 ความถ่ีในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

พนักงานขายใน

รานคา

10%

นิตยสาร

13%

อินเตอรเน็ต/

เว็บไซต

50%

โปสเตอร/ แผนพับ/

เอกสารแจก

5%

วิทยุ 0.2%

การบอกกลาวจาก

ผูอ่ืน

12%

โทรทัศน

10%

ชองทางในการรับขอมูลของรองเทากีฬาอาดิดาส

ต่ํากวา 3 เดือนตอคู

3 - 6 เดือน ตอคู

7 – 9 เดือน ตอคู

10 – 12 เดือน ตอคู

2 ป ตอคู

มากกวา 2 ป ตอคู

13

20

77

152

77

68

ความถี่ในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

Page 56: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

40

ภาพท่ี 4.4 คาใชจายโดยเฉลี่ยในการซ้ือ รองเทากีฬาอาดิดาส ตอรองเทา 1 คู

ภาพท่ี 4.5 รานคาท่ีนิยมซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

นอยกวา 1,000 บาท

1,000 – 1,500 บาท

1,501 – 2,000 บาท

2,001 – 2,500 บาท

2,501 – 3,000 บาท

3,001 – 3,500 บาท

มากกวา 3,500 บาท

6

25

83

108

95

47

43

คาใชจายโดยเฉล่ียในการซ้ือ รองเทากีฬาอาดิดาส ตอรองเทา 1 คู

แผนกกีฬาใน

หางสรรพสินคา เชน

แผนก Supersports

56%

รานขายรองเทา (นอก

หางสรรพสินคา)

5%

รานขายเคร่ืองแตงกาย

ทั่วไป (นอก

หางสรรพสินคา)

2%

รานขายอุปกรณกีฬา

(นอกหางสรรพสินคา)

6%

รานคาออนไลน

5%

รานเฉพาะแบรนดอาดิ

ดาส (ADIDAS)

26%

รานคาท่ีนิยมซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

Page 57: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

41

ภาพท่ี 4.6 วัตถุประสงคในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

ภาพท่ี 4.7 เหตุผลสําคัญในการเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

เพ่ือเลนกีฬา / ออก

กําลังกาย

56%

เพ่ือไปเท่ียว / เดิน

เลน

27%

เพ่ือไปเรียน / ไป

ทํางาน

12%

ใสทุกครั้งท่ีออกจาก

บาน

5%

วัตถุประสงคในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

ความคงทน แข็งแรง

สวมใสกระชับ

รูปแบบทันสมัย

ความสวยงาม

ราคาเหมาะสม

รายการสงเสริมการขาย เชน สวนลด

หาซ้ือไดงาย

รูปแบบไมเหมือนใคร

ชื่นชอบตราสินคา

278

240

211

248

125

97

68

57

151

เหตุผลสําคัญในการเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

Page 58: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

42

จากขอมูลเก่ียวกับพฤติกรรมการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ดังแสดงในภาพท่ี 4.1 ถึงภาพท่ี 4.7 ขางตน สามารถสรุปพฤติกรรม

ของกลุมตัวอยางได ดังนี้

ภาพท่ี 4.1 บุคคลท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสของกลุม

ตัวอยางมากท่ีสุด คือ การตัดสินใจซ้ือดวยตนเอง จํานวน 272 คน คิดเปนรอยละ 67 รองลงมาคือ

แฟน จํานวน 52 คน คิดเปนรอยละ 13 และลําดับสามเปนเพ่ือน จํานวน 46 คน คิดเปนรอยละ 11

ตามลําดับ

ภาพท่ี 4.2 กลุมตัวอยางสวนใหญมีชองทางในการรับขอมูลของรองเทากีฬาอาดิดาส

จากอินเตอรเน็ต/เว็บไซต จํานวน 203 คน คิดเปนรอยละ 50 รองลงมาคือ นิตยสาร จํานวน 55 คน

คิดเปนรอยละ 13 และลําดับสามเปนการบอกกลาวจากคนอ่ืน จํานวน 49 คน คิดเปนรอยละ 12

ตามลําดับ

ภาพท่ี 4.3 ความถ่ีในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสของกลุมตัวอยาง สวนใหญประมาณ

10 – 12 เดือนตอคู คิดเปนรอยละ 37 รองลงมาคือ 7 – 9 เดือนตอคู และ 2 ปตอคู คิดเปนรอยละ

19 เทากันตามลําดับ

ภาพท่ี 4.4 คาใชจายโดยเฉลี่ยในการซ้ือ รองเทากีฬาอาดิดาส ตอรองเทา 1 คู ของกลุม

ตัวอยางมากท่ีสุด 3 อันดับแรกคือ 2,001 – 2,500 บาท คิดเปนรอยละ 26.5 รองลงมาคือ

2,501 – 3,000 บาท คิดเปนรอยละ 23.3 และ 1,501 – 2,000 บาท คิดเปนรอยละ 20.4 ตามลําดับ

ภาพท่ี 4.5 รานคาท่ีนิยมซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ท่ีกลุมตัวอยางนิยมซ้ืออันดับแรก คือ

แผนกกีฬาในหางสรรพสินคา เชน แผนก Supersports คิดเปนรอยละ 56.3 รองลงมา คือ ราน

เฉพาะแบรนดอาดิดาส (Adidas) คิดเปนรอยละ 26 และรานขายอุปกรณกีฬา (นอกหางสรรพสินคา)

คิดเปนรอยละ 5.4 ตามลําดับ

ภาพท่ี 4.6 วัตถุประสงคในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสของกลุมตัวอยาง สวนใหญเพ่ือ

เลนกีฬา / ออกกําลังกาย คิดเปนรอยละ 55.8 เพ่ือไปเท่ียว / เดินเลน คิดเปนรอยละ 27.3 เพ่ือไป

เรียน / ไปทํางาน คิดเปนรอยละ 12.0 ตามลําดับ

ภาพท่ี 4.7 กลุมตัวอยางสวนใหญมีเหตุผลสําคัญในการเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

มากท่ีสุด 3 อันดับแรกคือ ความคงทน แข็งแรง คิดเปนรอยละ 68.3 รองลงมาคือ ความสวยงาม

คิดเปนรอยละ 60.9 และสวมใสกระชับ คิดเปนรอยละ 59 ตามลําดับ

Page 59: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

43

4.3 คะแนนเฉล่ียระดับความคิดเห็นตอตัววัดของตัวแปรอิสระท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส

คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัววัดตัวแปรอิสระ มีรายละเอียด ดังนี้

ตารางท่ี 4.2

คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแตละตัววัด

ตัวแปรอิสระ คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

การแปล

คา

1. ปจจัยดานผลิตภัณฑ

1.1 ตราสินคามีชื่อเสียง 4.29 0.69 มากท่ีสุด

1.2 มีคุณภาพ มีความทนทาน 4.18 0.53 มาก

1.3 มีรูปแบบใหเลือกท่ีหลากหลาย 4.06 0.68 มาก

1.4 มีสีสัน ลวดลายและรูปลักษณภายนอกท่ีสวยงาม 4.10 0.65 มาก

1.5 วัสดุท่ีใชทํารองเทามีคุณภาพดี 4.25 0.55 มากท่ีสุด

1.6 มีความทันสมัย 4.11 0.65 มาก

1.7 มีน้ําหนักเบา 4.19 0.74 มาก

1.8 สวมใสสบายกระชับเทา 4.25 0.63 มากท่ีสุด

1.9 มีการระบายอากาศไดดี 3.88 0.83 มาก

1.10 มีนวัตกรรมการปองกันการบาดเจ็บ 3.56 1.01 มาก

2. ปจจัยดานราคา

2.1 ราคามีความเหมาะสมกับคุณภาพ 3.99 0.71 มาก

2.2 ราคามีความเหมาะสมกับรายไดผูซ้ือ 3.69 0.85 มาก

Page 60: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

44

ตารางท่ี 4.2

คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแตละตัววัด (ตอ)

ตัวแปรอิสระ คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

การแปล

คา

2.3 ราคามีความเหมาะสมกับยี่หอ 3.99 0.67 มาก

2.4 ราคาถูกกวาตรายี่หออ่ืนท่ีมีลักษณะใกลเคียงกัน 3.38 1.00 ปานกลาง

3. ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย

3.1 สถานท่ีจัดจําหนายอยูใกล 3.95 0.75 มาก

3.2 มีความสะดวกในการเดินทางไปซ้ือสินคา 4.07 0.69 มาก

3.3 มีสถานท่ีจัดจําหนายกระจายอยูจํานวนมาก 4.08 0.74 มาก

4. ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด

4.1 มีกิจกรรมสงเสริมการขายอยางสมํ่าเสมอ เชน

การลด แลก แจก แถม 3.56 0.86 มาก

4.2 มีตัวอยางสินคาใหทดลองสวมใสจํานวนมาก 3.73 0.94 มาก

4.3 มีการรับประกันความพอใจและสามารถเปลี่ยน

สินคาไดโดยไมมีเง่ือนไข 3.16 1.31 ปานกลาง

4.4 มีการโฆษณาท่ีนาสนใจ 3.53 0.89 มาก

4.5 มีพนักงานขายแนะนําสินคาอยางสมํ่าเสมอ 3.74 0.83 มาก

4.6 มีบริการหลังการขายท่ีนาพอใจ 3.61 0.87 มาก

4.7 มีการขายโดยผูกกับสโมสรกีฬาชื่อดัง 3.88 1.08 มาก

4.8 มี Presenter ท่ีนาสนใจ 3.39 1.01 ปานกลาง

Page 61: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

45

ตารางท่ี 4.2

คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแตละตัววัด (ตอ)

ตัวแปรอิสระ คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

การแปล

คา

5. ปจจัยดานบุคคล

5.1 พนักงานมีความรูและแนะนําสินคาไดดี 3.82 0.81 มาก

5.2 พนักงานมีความรวดเร็วในการใหบริการ 3.86 0.77 มาก

5.3 พนักงานขายมีความสุภาพและมนุษยสัมพันธดี 4.00 0.78 มาก

6. ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ

6.1 มีการตกแตงรานท่ีสวยงาม 3.83 0.75 มาก

6.2 มีการจัดเรียงสินคาอยางเปนระเบียบและงายตอ

การเลือก 3.99 0.66 มาก

6.3 มีรูปแบบการจัดรานท่ีสะอาด เรียบรอย 4.03 0.67 มาก

6.4 มีสถานท่ีจอดรถท่ีสะดวก 3.54 0.94 มาก

7. ปจจัยดานกระบวนการ

7.1 มีชองทางการชําระเงินท่ีหลากหลาย 4.07 0.68 มาก

7.2 ข้ันตอนการชําระเงินมีความสะดวก 4.15 0.64 มาก

จากตารางท่ี 4.2 เม่ือพิจารณาปจจัยยอยท้ัง 34 ปจจัย พบวา ปจจัยอิสระท่ีมีคาเฉลี่ย

ของระดับความคิดเห็นสูงสุด 5 อันดับแรก โดยเรียงลําดับมากไปนอย ไดแก ปจจัยดานผลิตภัณฑใน

เรื่องตราสินคามีชื่อเสียง (คาเฉลี่ย 4.29: เห็นดวยมากท่ีสุด) รองลงมาเปนปจจัยดานผลิตภัณฑใน

เรื่องวัสดุท่ีใชทํารองเทามีคุณภาพดี และสวมใสสบายกระชับเทา มีความคิดเห็นเทากัน (คาเฉลี่ย

4.25: เห็นดวยมากท่ีสุด) ปจจัยดานผลิตภัณฑในเรื่องมีน้ําหนักเบา (คาเฉลี่ย 4.19: เห็นดวยมาก)

และปจจัยดานผลิตภัณฑในเรื่องมีคุณภาพ มีความทนทาน (คาเฉลี่ย 4.18: เห็นดวยมาก)

นอกจากนี้เม่ือพิจารณาในแตละปจจัย 7Ps สามารถสรุปผลการศึกษาของแตละปจจัย

ไดดังนี้

Page 62: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

46

ปจจัยดานผลิตภัณฑ กลุมตัวอยางมีคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นในเรื่องตราสินคามี

ชื่อเสียง (คาเฉลี่ย 4.29: เห็นดวยมากท่ีสุด) รองลงมา คือ วัสดุท่ีใชทํารองเทามีคุณภาพดี และสวมใส

สบายกระชับเทา (คาเฉลี่ย 4.25: เห็นดวยมากท่ีสุด)

ปจจัยดานราคา กลุมตัวอยางมีคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นในเรื่องราคามีความ

เหมาะสมกับคุณภาพ และราคามีความเหมาะสมกับยี่หอมากท่ีสุด มีความคิดเห็นเทากัน (คาเฉลี่ย

3.99: เห็นดวยมาก)

ปจจัยดานชองทางจัดจําหนาย กลุมตัวอยางมีคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นในเรื่อง

มีสถานท่ีจัดจําหนายกระจายอยูจํานวนมากมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย 4.08: เห็นดวยมาก) รองลงมาคือ มี

ความสะดวกในการเดินทางไปซ้ือสินคา (คาเฉลี่ย 4.07: เห็นดวยมาก)

ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด กลุมตัวอยางมีคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นใน

เรื่องมีการขายโดยผูกกับสโมสรกีฬาชื่อดังมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย 3.88: เห็นดวยมาก) รองลงมา คือ

มีพนักงานขายแนะนําสินคาอยางสมํ่าเสมอ (คาเฉลี่ย 3.74: เห็นดวยมาก)

ปจจัยดานบุคคล กลุมตัวอยางมีคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นในเรื่องพนักงานขายมี

ความสุภาพและมนุษยสัมพันธดีมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย 4.00: เห็นดวยมาก) รองลงมา คือ พนักงานมี

ความรวดเร็วในการใหบริการ (คาเฉลี่ย 3.86: เห็นดวยมาก)

ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ กลุมตัวอยางมีคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นในเรื่อง

มีรูปแบบการจัดรานท่ีสะอาด เรียบรอยมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย 4.03: เห็นดวยมาก) รองลงมา คือ มีการ

จัดเรียงสินคาอยางเปนระเบียบและงายตอการเลือก (คาเฉลี่ย 3.99: เห็นดวยมาก)

ปจจัยดานกระบวนการ กลุมตัวอยางมีคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นในเรื่องข้ันตอน

การชําระเงินมีความสะดวกมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย 4.15: เห็นดวยมาก) รองลงมา คือมีชองทางการชําระ

เงินท่ีหลากหลาย (คาเฉลี่ย 4.07: เห็นดวยมาก)

ตารางท่ี 4.3

คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการตัดสินใจ

ตัวแปรตาม คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน การแปลคา

การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) 4.37 0.62 ซ้ือแนนอน

Page 63: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

47

จากตารางท่ี 4.3 พบวา กลุมตัวอยางมีระดับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลอยูในระดับท่ีซ้ืออยางแนนอน โดยมี

คาเฉลี่ยเทากับ 4.37

4.4 การวิเคราะหปจจัยลักษณะทางประชากรศาสตรกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

วัตถุประสงคหนึ่งของงานวิจัยนี้ คือ เพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยลักษณะทาง

ประชากรศาสตร ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดตอเดือน ท่ีแตกตางกัน วามีผล

ตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

แตกตางกันหรือไม อยางไร ซ่ึงจากการทดสอบสมมติฐานของงานวิจัยสวนนี้ใชการวิเคราะห

Independent Sample T Test สําหรับการทดสอบลักษณะทางประชากรศาสตรของกลุมตัวอยางท่ี

แตกตางกันดานเพศ และดานอายุ และใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-Way

ANOVA) สําหรับการทดสอบลักษณะทางประชากรศาสตรของกลุมตัวอยางท่ีแตกตางกันดานระดับ

การศึกษา ดานอาชีพ และดานรายไดตอเดือน

4.4.1 การศึกษาความสัมพันธระหวางเพศกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

สมมติฐานท่ี 1 ปจจัยดานเพศท่ีแตกตางกัน มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แตกตางกัน

ตารางท่ี 4.4

คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส จําแนกตามเพศ

เพศ N คาเฉล่ีย

(Mean)

คาสวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน (Std. Deviation) Sig.

ชาย 229 4.39 0.650 0.454

หญิง 178 4.34 0.583

Page 64: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

48

ตารางท่ี 4.5

คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของระดับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส จําแนกตามเพศ

(Independent Samples Test)

Independent Samples Test

การตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬา

อาดิดาส

Levene's Test

for Equality of

Variances

t-test for Equality of Means

F Sig. t df Sig. (2-

tailed)

Mean

Difference

Std. Error

Difference

95%

Confidence

Interval of

the

Difference

Lower Upper

Equal

variances

assumed

4.405 0.036 0.740 405 0.460 0.046 0.062 -0.076 0.168

Equal

variances not

assumed

0.750 396.852 0.454 0.046 0.061 -0.075 0.166

จากตาราง 4.5 คา F Test มีคา sig 0.036 ซ่ึงมีคานอยกวาระดับนัยสําคัญ 0.05 จึง

ปฏิเสธ H0 แสดงวาคาความแปรปรวนของประชากรท้ังสองกลุมไมเทากัน ดังนั้นการทดสอบคาเฉลี่ย

ของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ของเพศชายและหญิงตองใชคาของบรรทัด Equal

variances not assumed

กําหนดสมมติฐานเพ่ือทดสอบวา เพศมีผลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

ท่ีแตกตางกันหรือไม ดังนี้

H0 : µ1 = µ2 คือ เพศไมไดสงผลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

H1 : µ1 ≠ µ2 คือ เพศสงผลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

จากการทดสอบดวย Independent Sample T Test พบวาคา T Test ท่ีคํานวณของ

มีคา sig เทากับ 0.454 ซ่ึงมากกวาระดับนัยสําคัญในการทดสอบท่ี α= 0.05 จึงยอมรับ H0 แสดงวา

เพศท่ีแตกตางกันไมมีผลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส กลาวคือ เพศชายและเพศหญิง

Page 65: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

49

มีการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสไมแตกตางกัน อาจเนื่องมาจาก ปจจุบันกระแสการดูแล

รักษาสุขภาพท่ีกําลังเปนท่ีนิยมในทุกเพศ อีกท้ังรองเทากีฬาก็มีการแบงออกเปนรองเทากีฬาสําหรับ

ผูหญิงและรองเทากีฬาสําหรับผูชาย ดังนั้น ในการเลือกรองเทากีฬาจะข้ึนอยูกับคุณสมบัติและ

ประเภทกีฬาของรองเทานั้นๆ จึงเปนไปไดวา เพศไมมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

4.4.2 การศึกษาความสัมพันธระหวางอายุกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

สมมติฐานท่ี 2 ปจจัยดานอายุท่ีแตกตางกัน มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แตกตางกัน

ตารางท่ี 4.6

คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส จําแนกตามอายุ

อายุ N คาเฉล่ีย

(Mean)

คาสวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน (Std. Deviation) Sig.

นอยกวาหรือเทากับ 30 ป 341 4.34 0.624 0.021

มากกวา 30 ปข้ึนไป 66 4.53 0.588

Page 66: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

50

ตารางท่ี 4.7

คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของระดับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส จําแนกตามอายุ

(Independent Samples Test)

Independent Samples Test

การ

ตัดสินใจซ้ือ

รองเทา

กีฬา

อาดิดาส

Levene's Test

for Equality

of Variances

t-test for Equality of Means

F Sig. t df Sig. (2-

tailed)

Mean

Differe

nce

Std.

Error

Differenc

e

95%

Confidence

Interval of the

Difference

Lower Upper

Equal

variances

assumed

0.007 0.932 -2.323 405.000 0.021 -0.193 0.083 -0.356 -0.030

Equal

variances

not

assumed

-2.419 95.564 0.017 -0.193 0.080 -0.352 -0.035

จากตาราง 4.7 คา F Test มีคา sig 0.932 ซ่ึงมีคามากกวาระดับนัยสําคัญ 0.05 จึง

ยอมรับ H0 แสดงวาคาความแปรปรวนของประชากรท้ังสองกลุมเทากัน ดังนั้นการทดสอบคาเฉลี่ย

ของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ของชวงอายุตองใชคาของบรรทัด Equal variances

assumed

กําหนดสมมติฐานเพ่ือทดสอบวา ชวงอายุมีผลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาสท่ีแตกตางกันหรือไม ดังนี้

H0 : µ1 = µ2 คือ ชวงอายุไมไดสงผลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

H1 : µ1 ≠ µ2 คือ ชวงอายุสงผลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

จากการทดสอบดวย Independent Sample T Test พบวาคา T Test ท่ีคํานวณมี

คา sig เทากับ 0.021 ซ่ึงมีคานอยกวาระดับนัยสําคัญในการทดสอบท่ี α = 0.05 จึงปฏิเสธ H0 แสดง

Page 67: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

51

วา ชวงอายุท่ีแตกตางกันมีผลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส เนื่องจากชวงอายุท่ี

แตกตางกันจะมีรสนิยม ความชอบ ในการซ้ือรองเทากีฬาท่ีแตกตางกันได รวมถึงชวงอายุยัง

สอดคลองกับรายไดและความสามารถในการซ้ือรองเทาอีกดวย โดยเม่ือพิจารณาคาเฉลี่ย ตามตาราง

4.6 พบวา ชวงอายุมากกวา 30 ปข้ึนไป มีคาเฉลี่ยในการตัดสินใจซ้ือมากกวาชวงอายุนอยกวาหรือ

เทากับ 30 ป ซ่ึงอาจเปนไปไดวา คนอายุมากข้ึนก็จะใหความสําคัญกับสุขภาพมากข้ึน ออกกําลังมาก

ข้ึน แลวการวิ่งในปจจุบันก็เปนท่ีนิยม อยางเชน การวิ่งมาราธอน อีกท้ังการท่ีมีอายุมากข้ึน โดยปกติ

แลวจะยอมมีรายไดเพ่ิมข้ึนอีกดวย ทําใหมีทางเลือกในการซ้ือรองเทาท่ีมากข้ึน ซ่ึงสอดคลองกับ

งานวิจัยในอดีตท่ีไดกลาวไวในบทท่ี 2 ไดแก งานวิจัยของนัคมน ภูทอง (2550) ท่ีพบวา ความ

แตกตางของอายุมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาท่ีแตกตางกัน เนื่องจากผูบริโภคท่ีมีอายุ

อยูระหวางอายุ 31 - 40 ป มีแนวโนมท่ีจะซ้ือรองเทากีฬามากกวาชวงอ่ืน

4.4.3 การศึกษาความสัมพันธระหวางระดับการศึกษากับการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส

สมมติฐานท่ี 3 ปจจัยดานระดับการศึกษาท่ีแตกตางกัน มีอิทธิพลตอการตัดสินใจ

ซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แตกตางกัน

ตารางท่ี 4.8

คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส จําแนกตามระดับ

การศึกษา

ระดับการศึกษา N Mean Std.

Deviation

Std.

Error F Sig.

ต่ํากวาปริญญาตร ี 48 4.375 0.672 0.097 6.42 0.00

ปริญญาตร ี 260 4.296 0.584 0.036

ปริญญาโท หรือสูงกวา 99 4.556 0.658 0.066

จากตาราง 4.8 ทดสอบปจจัยดานระดับการศึกษากับระดับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส ดวยการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) คาสถิติ F Test มีคา Sig.

เทากับ 0.00 ซ่ึงนอยกวาระดับนัยสําคัญในการทดสอบท่ี α= 0.05 จึงปฏิเสธ H0 แสดงวาระดับ

Page 68: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

52

การศึกษาท่ีแตกตางกันมีผลตอระดับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลแตกตางกัน เนื่องจากผูบริโภคมีการรับรูขอมูลขาวสาร ทัศนคติและ

พฤติกรรมท่ีแตกตางกัน โดยเม่ือพิจารณาคาเฉลี่ย ตามตาราง 4.8 พบวา ระดับการศึกษาปริญญาโท

หรือสูงกวา มีคาเฉลี่ยในการตัดสินใจซ้ือมากกวาระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรีและปริญญาตรี

อีกท้ังเม่ือพิจารณาเปนรายคู พบวา ผูท่ีมีการศึกษาระดับปริญญาโท หรือสูงกวา มีการตัดสินใจซ้ือท่ี

แตกตางกัน เนื่องจาก การศึกษาระดับปริญญาโท หรือสูงกวา จะมีกําลังในการซ้ือมากกวาระดับ

ปริญญาตรี (เนื่องจากรายไดท่ีตางกันตามระดับการศึกษา) ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยในอดีตท่ีไดกลาว

ไวในบทท่ี 2 ไดแก งานวิจัยของศันสนีย บุญยง (2550) ท่ีพบวา ระดับการศึกษาท่ีแตกตางกันของ

กลุมผูบริโภค ทําใหพฤติกรรมการซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคแตกตางกัน กลาวคือ ผูบริโภคท่ีมี

การศึกษาระดับสูง เชน ปริญญาตรีข้ึนไป มีแนวโนมในการซ้ือรองเทากีฬามากกวาผูบริโภคท่ีมีระดับ

การศึกษาในระดับท่ีต่ํากวา

4.4.4 การศึกษาความสัมพันธระหวางอาชีพกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

สมมติฐานท่ี 4 ปจจัยดานอาชีพท่ีแตกตางกัน มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แตกตางกัน

ตารางท่ี 4.9

คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส จําแนกตามอาชีพ

อาชีพ N Mean Std.

Deviation Std. Error F Sig.

นักเรียน/ นักศึกษา 63 4.333 0.622 0.078 1.118 0.347

ราชการหรือรัฐวิสาหกิจ 60 4.400 0.616 0.080

พนักงานบริษัท 176 4.313 0.613 0.046

ธุรกิจสวนตัว 51 4.490 0.644 0.090

อาชีพอิสระและอ่ืนๆ 57 4.439 0.627 0.083

Page 69: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

53

จากตาราง 4.9 ทดสอบปจจัยดานอาชีพกับระดับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

ดวยการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) คาสถิติ F Test มีคา Sig. เทากับ

0.347 ซ่ึงมากกวาระดับนัยสําคัญในการทดสอบท่ี α= 0.05 จึงยอมรับ H0 แสดงวาอาชีพท่ีแตกตาง

กันไมมีผลตอระดับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และ

ปริมณฑล แมวาผูท่ีมีอาชีพตางกัน จะมีแนวคิด รูปแบบการดําเนินชีวิต ความสนใจ ความตองการ

แรงจูงใจและคานิยมในการซ้ือท่ีแตกตางกัน แตแบรนดอาดิดาสมีรองเทาหลากหลายประเภท

สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาไดทุกอาชีพ ดังนั้น อาชีพจึงไมมีผลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส

4.4.5 การศึกษาความสัมพันธระหวางรายไดตอเดือนกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส

สมมติฐานท่ี 5 ปจจัยดานรายไดท่ีแตกตางกัน มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แตกตางกัน

ตารางท่ี 4.10

คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส จําแนกตามรายไดตอ

เดือน

รายไดตอเดือน N Mean Std.

Deviation

Std.

Error F Sig.

นอยกวา 10,000 บาท 44 4.227 0.642 0.097 3.108 0.015

10,000 - 20,000 บาท 152 4.283 0.569 0.046

20,001 - 30,000 บาท 109 4.422 0.598 0.057

30,001- 40,000 บาท 46 4.587 0.652 0.096

มากกวา 40,000 บาท ข้ึนไป 56 4.429 0.710 0.095

จากตาราง 4.10 ทดสอบปจจัยดานรายไดตอเดือนกับระดับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส ดวยการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) คาสถิติ F Test มีคา Sig.

เทากับ 0.015 ซ่ึงนอยกวาระดับนัยสําคัญในการทดสอบท่ี α= 0.05 จึงปฏิเสธ H0 แสดงวารายไดตอ

Page 70: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

54

เดือนท่ีแตกตางกันมีผลตอระดับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสของผูบริ โภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เนื่องจากรองเทากีฬาอาดิดาสมีหลากหลายราคา หลากหลายแบบ

ดังนั้นหากผูบริโภคมีระดับรายไดตอเดือนมากข้ึน สงผลใหสามารถตอบสนองความตองการซ้ือไดมาก

ข้ึน โดยเม่ือพิจารณาคาเฉลี่ย ตามตาราง 4.12 พบวา ระดับรายไดตอเดือน ในชวง 30,001- 40,000

บาท มีคาเฉลี่ยในการตัดสินใจซ้ือมากท่ีสุด รองลงมา คือรายไดตอเดือน มากกวา 40,000 บาท ข้ึน

ไป สวนผูท่ีมีรายไดเฉลี่ยตอเดือน นอยกวา 10,000 บาท มีคาเฉลี่ยการตัดสินใจซ้ือนอยท่ีสุด

Page 71: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

55

ตารางท่ี 4.11

เปรียบเทียบความแตกตางกันภายในกลุม (LSD) จําแนกตามรายไดตอเดือน

รายไดเฉลี่ยตอเดือน

Mean

Difference

(I-J)

Std.

Error Sig.

95% Confidence

Interval

Lower

Bound

Upper

Bound

นอยกวา 10,000 บาท

10,000 - 20,000 บาท -.056 .105 .598 -.26 .15

20,001 - 30,000 บาท -.195 .110 .077 -.41 .02

30,001- 40,000 บาท -.360* .130 .006 -.61 -.10

มากกวา 40,000 บาท ข้ึนไป -.201 .124 .105 -.44 .04

10,000 - 20,000 บาท

นอยกวา 10,000 บาท .056 .105 .598 -.15 .26

20,001 - 30,000 บาท -.139 .077 .072 -.29 .01

30,001- 40,000 บาท -.304* .103 .003 -.51 -.10

มากกวา 40,000 บาท ข้ึนไป -.146 .096 .130 -.33 .04

20,001 - 30,000 บาท

นอยกวา 10,000 บาท .195 .110 .077 -.02 .41

10,000 - 20,000 บาท .139 .077 .072 -.01 .29

30,001- 40,000 บาท -.165 .108 .128 -.38 .05

มากกวา 40,000 บาท ข้ึนไป -.007 .101 .948 -.21 .19

30,001- 40,000 บาท

นอยกวา 10,000 บาท .360* .130 .006 .10 .61

10,000 - 20,000 บาท .304* .103 .003 .10 .51

20,001 - 30,000 บาท .165 .108 .128 -.05 .38

มากกวา 40,000 บาท ข้ึนไป .158 .122 .196 -.08 .40

จากตาราง 4.11 เม่ือพิจารณาเปนรายคู พบวา ผูท่ีมีรายไดเฉลี่ยตอเดือนอยูในชวง

30,001- 40,000 บาท กับ ผูท่ีมีรายไดเฉลี่ยตอเดือนอยูในชวงนอยกวา 20,000 บาท มีการตัดสินใจ

Page 72: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

56

ซ้ือท่ีแตกตางกัน เนื่องจาก ราคาของรองเทากีฬาอาดิดาสมีราคาคอนขางสูง และรองเทากีฬาก็ไมใช

ปจจัย 4 ในการดํารงชีวิต ดังนั้น หากผูบริโภคตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส จะตองมีรายไดเฉลี่ย

ตอเดือนคอนขางสูงพอสมควร ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยในอดีตท่ีไดกลาวไวในบทท่ี 2 ไดแก งานวิจัย

ของนัคมน ภูทอง (2550) ท่ีพบวา ความแตกตางของรายไดมีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาท่ีแตกตางกัน

4.5 การวิเคราะหปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

จากการทบทวนวรรณกรรม ทําใหไดขอมูลในการออกแบบแบบสอบถาม และผูวิจัย

สามารถกําหนดปจจัยทางการตลาดเบื้องตนได 7 ปจจัย (7Ps) ซ่ึงหลังจากการเก็บรวบรวมและ

ตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถามท่ีไดรับจากลุมตัวอยางแลว ผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะห

ความเหมาะสมของปจจัย และตัววัดเหลานั้นอีกครั้งกอนนําไปวิเคราะหทางสถิติตอไป เพ่ือใหไดขอมูล

ท่ีเหมาะสมและเกิดความถูกตองของผลการวิเคราะหมากยิ่งข้ึน เนื่องจากผลท่ีไดรับจากการตอบ

แบบสอบถามของปจจัย และตัววัดเบื้องตนนั้นอาจมีความสัมพันธกันเองหรือมีแนวโนมของขอมูลไป

ในทิศทางเดียวกัน ซ่ึงความสัมพันธดังกลาวอาจจะสงผลตอการวิเคราะหสมการถดถอย ซ่ึงสามารถ

รวบรวมและกําหนดเปนปจจัยใหมท่ีมีความเหมาะสมยิ่งข้ึน

4.5.1 การวิเคราะหความเหมาะสมตัวแปรอิสระโดยใชวิธีการวิเคราะหปจจัย

เบื้องตนผูวิจัยไดทําการวิเคราะหสหสัมพันธ (Correlation) เพ่ือพิจารณา

ความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระตางๆ ท้ังสิ้น 34 ตัวแปร ท่ีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบวา มีตัวแปร

อิสระหลายตัวท่ีมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญ ความสัมพันธดังกลาวมีอิทธิพลตอการวิเคราะห

สมการถดถอยเชิงเสน (Regression Analysis) ดังนั้น ผูวิจัยจึงไดนําตัวแปรอิสระเหลานั้น ไปทําการ

วิเคราะหและสกัดปจจัย

ผูวิจัยไดใชวิธีการวิเคราะหปจจัย คือ KMO (Kaiser-Meyer-Olkin) และ

Barlett’s Test of Sphericity ในการทดสอบความเหมาะสมของตัวแปรอิสระวามีความเหมาะสมท่ี

จะทําการสกัดปจจัยหรือไม ซ่ึง KMO (Kaiser-Meyer-Olkin) เปนคาท่ีใชวัดความเหมาะสมของตัว

แปรตางๆ ท่ีจะนํามาวิเคราะหโดยเทคนิคการวิเคราะหปจจัย (Factor Analysis) หากคา KMO มีคา

สูง (คาอยูระหวาง 0.5-1) แสดงวาสามารถใชเทคนิคการวิเคราะหปจจัยในการแบงกลุมตัวแปรได

แตถาคา KMO มีคาต่ํา (คาต่ํากวา 0.5) แสดงวาไมสมควรนําเทคนิคการวิเคราะหปจจัยมาใช

และสําหรับการทดสอบแบบ Barlett’s Test of Sphericity เปนการทดสอบวาตัวแปรตางๆ

Page 73: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

57

มีความสัมพันธระหวางกันหรือไม ขอมูลท่ีเหมาะสมจะตองมีคา Sig. นอยกวาระดับนัยสําคัญท่ี

กําหนด (ปฏเิสธ H0) โดยการวิจัยครั้งนี้ไดกําหนดระดับนัยสําคัญเทากับ 0.05 และไดตั้งสมมติฐานคือ

H0 : ตัวแปรไมมีความสัมพันธระหวางกัน และ

H1 : ตัวแปรมีความสัมพันธระหวางกัน

ตารางท่ี 4.12

แสดง KMO และ Bartlett's Test ของตัวแปรอิสระ

KMO and Bartlett's Test

Kaiser-Meyer-Olkin Measure of Sampling Adequacy. (KMO) 0.907

Bartlett's Test of Sphericity

Approx. Chi-Square 8898.102

df 561.000

Sig. 0.000

จากตารางท่ี 4.11 พบวา มีคา KMO เทากับ 0.907 ซ่ึงมีคาสูง แสดงวาสามารถ

ใชเทคนิคการวิเคราะหปจจัยในการแบงกลุมตัวแปรได และผลจากการทดสอบ Barlett’s Test of

Sphericity พบวา มีคา Sig. เทากับ 0.000 ซ่ึงมีคานอยกวาระดับนัยสําคัญ 0.05 จึงปฏิเสธ H0 นั่น

หมายความวา ตัวแปรมีความสัมพันธระหวางกัน ซ่ึงจากผลวิเคราะหสถิติทดสอบท้ังสองวิธีขางตน

สามารถสรุปไดวา ตัวแปรตางๆ ดังกลาวมีความเหมาะสมท่ีจะใชเทคนิคการวิเคราะหปจจัย

4.5.2 การกําหนดกลุมปจจัย

จากการทดสอบขางตน สามารถสรุปไดวา ตัวแปรดังกลาวมีความเหมาะสมท่ีจะใช

เทคนิคการวิเคราะหปจจัย (Factor Analysis) ในข้ันตอนตอมา ผูวิจัยไดทําการสกัดปจจัย

(Extraction) แบบ Principal Component Analysis (PCA) และเพ่ือใหน้ําหนักขององคประกอบท่ี

สกัดไดมีความชัดเจนมากข้ึน จึงใชวิธีการหมุนแกนแบบ Varimax โดยใชเกณฑในการตัดสินจํานวน

ปจจัยท่ีเหมาะสมจากการพิจารณาคา Eigenvalue ท่ีมากกวา 1 และคา Factor Loading ของตัววัด

ในปจจัยตองไมนอยกวา 0.33 อีกท้ังตัววัดแตละตัวจะตองไมมีคา Factor Loading สูงใกลเคียงกัน

มากกวา 1 ปจจัย

เม่ือทําการสกัดปจจัยโดยวิธี Principal Component Analysis (PCA) พบวา คาของ

Initial Eigenvalues (Initial Eigenvalues หมายถึง ความแปรปรวนท้ังหมดในตัวแปรเดิมท่ีสามารถ

Page 74: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

58

อธิบายได) ท่ีมากกวา 1 โดยมีตัวแปรอิสระท้ังสิ้น 34 ตัวแปร สามารถจัดกลุมปจจัยใหมไดท้ังหมด 8

กลุมปจจัย โดยกลุมปจจัยดังกลาวนี้สามารถอธิบายความแปรปรวน ไดเทากับ 70.618%

(รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ข) โดยผูวิจัยไดนํามาตั้งชื่อกลุมปจจัยจากการจัดกลุมตัวแปรใหมท่ีได

จากการวิเคราะห พรอมท้ังแสดงการเปรียบเทียบปจจัยและตัวแปรท่ีไดจากการทบทวนวรรณกรรม

และการทําการวิเคราะหปจจัย ดังตารางท่ี 4.15

ตารางท่ี 4.13

เปรียบเทียบปจจัยและตัววัดจากการทบทวนวรรณกรรมและจากผลการวิเคราะหปจจัย

ปจจัยท่ีไดจากการทบทวนวรรณกรรม ปจจัยท่ีไดจากการวิเคราะหปจจัย

กลุมท่ี 1 : ปจจัยดานผลิตภัณฑ

1. ตราสินคามีชื่อเสียง

2. มีคุณภาพ มีความทนทาน

3. มีรูปแบบใหเลือกท่ีหลากหลาย

4. มีสีสัน ลวดลายและรูปลักษณภายนอกท่ี

สวยงาม

5. วัสดุท่ีใชทํารองเทามีคุณภาพดี

6. มีความทันสมัย

7. มีน้ําหนักเบา

8. สวมใสสบายกระชับเทา

9. มีการระบายอากาศไดดี

10. มีนวัตกรรมการปองกันการบาดเจ็บ

กลุมท่ี 1 : ปจจัยดานผลิตภัณฑ

1. มีคุณภาพ มีความทนทาน

2. มีรูปแบบใหเลือกท่ีหลากหลาย

3. มีสีสัน ลวดลายและรูปลักษณภายนอกท่ี

สวยงาม

4. วัสดุท่ีใชทํารองเทามีคุณภาพดี

5. มีความทันสมัย

6. มีน้ําหนักเบา

7. สวมใสสบายกระชับเทา

8. มีการระบายอากาศไดดี

Page 75: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

59

ตารางท่ี 4.13

เปรียบเทียบปจจัยและตัววัดจากการทบทวนวรรณกรรมและจากผลการวิเคราะหปจจัย (ตอ)

ปจจัยท่ีไดจากการทบทวนวรรณกรรม ปจจัยท่ีไดจากการวิเคราะหปจจัย

กลุมท่ี 2 : ปจจัยดานราคา

1. ราคามีความเหมาะสมกับคุณภาพ

2. ราคามีความเหมาะสมกับรายไดผูซ้ือ

3. ราคามีความเหมาะสมกับยี่หอ

4. ราคาถูกกวาตรายี่หออ่ืนท่ีมีลักษณะ

ใกลเคียงกัน

กลุมท่ี 2 : ปจจัยดานราคา

1. ราคามีความเหมาะสมกับคุณภาพ

2. ราคามีความเหมาะสมกับรายไดผูซ้ือ

3. ราคามีความเหมาะสมกับยี่หอ

กลุมท่ี 3 : ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย

1. สถานท่ีจัดจําหนายอยูใกล

2. มีความสะดวกในการเดินทางไปซ้ือสินคา

3. มีสถานท่ีจัดจําหนายกระจายอยูจํานวนมาก

กลุมท่ี 3 : ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย

1. สถานท่ีจัดจําหนายอยูใกล

2. มีความสะดวกในการเดินทางไปซ้ือสินคา

3. มีสถานท่ีจัดจําหนายกระจายอยูจํานวนมาก

กลุมท่ี 4 : ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด

1. มีกิจกรรมสงเสริมการขายอยางสมํ่าเสมอ

เชน การลด แลก แจก แถม

2. มีตัวอยางสินคาใหทดลองสวมใสจํานวน

มาก

3. มีการรับประกันความพอใจและสามารถ

เปลี่ยนสินคาไดโดยไมมีเง่ือนไข

4. มีการโฆษณาท่ีนาสนใจ

5. มีพนักงานขายแนะนําสินคาอยางสมํ่าเสมอ

6. มีบริการหลังการขายท่ีนาพอใจ

7. มีการขายโดยผูกกับสโมสรกีฬาชื่อดัง

8. มี Presenter ท่ีนาสนใจ

กลุมท่ี 4 : ปจจัยดานการสงเสริมความพึง

พอใจของลูกคา

1. มีกิจกรรมสงเสริมการขายอยางสมํ่าเสมอ

เชน การลด แลก แจก แถม

2. มีตัวอยางสินคาใหทดลองสวมใสจํานวน

มาก

3. มีการรับประกันความพอใจและสามารถ

เปลี่ยนสินคาไดโดยไมมีเง่ือนไข

4. มีนวัตกรรมการปองกันการบาดเจ็บ

5. ราคาถูกกวาตรายี่หออ่ืนท่ีมีลักษณะ

ใกลเคียงกัน

Page 76: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

60

ตารางท่ี 4.13

เปรียบเทียบปจจัยและตัววัดจากการทบทวนวรรณกรรมและจากผลการวิเคราะหปจจัย (ตอ)

ปจจัยท่ีไดจากการทบทวนวรรณกรรม ปจจัยท่ีไดจากการวิเคราะหปจจัย

กลุมท่ี 5 : ปจจัยดานบุคคล

1. พนักงานมีความรูและแนะนําสินคาไดดี

2. พนักงานมีความรวดเร็วในการใหบริการ

3. พนักงานขายมีความสุภาพและมนุษย

สัมพันธดี

กลุมท่ี 5 : ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด

1. มีการโฆษณาท่ีนาสนใจ

2. มีพนักงานขายแนะนําสินคาอยางสมํ่าเสมอ

3. มีบริการหลังการขายท่ีนาพอใจ

4. มีการขายโดยผูกกับสโมสรกีฬาชื่อดัง

5. มี Presenter ท่ีนาสนใจ

กลุมท่ี 6 : ปจจัยดานบุคคลและลักษณะ

กายภาพ

1. พนักงานมีความรูและแนะนําสินคาไดดี

2. พนักงานมีความรวดเร็วในการใหบริการ

3. พนักงานขายมีความสุภาพและมนุษย

สัมพันธดี

4. มีการตกแตงรานท่ีสวยงาม

5. มีการจัดเรียงสินคาอยางเปนระเบียบและ

งายตอการเลือก

6. มีรูปแบบการจัดรานท่ีสะอาด เรียบรอย

7. มีสถานท่ีจอดรถท่ีสะดวก

กลุมท่ี 6 : ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ

1. มีการตกแตงรานท่ีสวยงาม

2. มีการจัดเรียงสินคาอยางเปนระเบียบและ

งายตอการเลือก

3. มีรูปแบบการจัดรานท่ีสะอาด เรียบรอย

4. มีสถานท่ีจอดรถท่ีสะดวก

กลุมท่ี 7 : ปจจัยดานกระบวนการ

1. มีชองทางการชําระเงินท่ีหลากหลาย

2. ข้ันตอนการชําระเงินมีความสะดวก

กลุมท่ี 7 : ปจจัยดานกระบวนการ

1. มีชองทางการชําระเงินท่ีหลากหลาย

2. ข้ันตอนการชําระเงินมีความสะดวก

กลุมท่ี 8 : ปจจัยดานตราสินคาของผลิตภัณฑ

1. ตราสินคามีชื่อเสียง

Page 77: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

61

จากการวิเคราะหปจจัย ทําใหไดมาซ่ึงปจจัยใหมจํานวน 8 ปจจัยขางตน ทําใหผูวิจัย

ตองปรับเปลี่ยนสมมติฐานการวิจัย เพ่ือใหสอดคลองกับผลท่ีไดจากการจัดกลุมปจจัย ดังนี้

สมมติฐานท่ี 1 ปจจัยดานผลิตภัณฑมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 2 ปจจัยดานราคามีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 3 ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนายมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 4 ปจจัยดานการสงเสริมความพึงพอใจของลูกคามีอิทธิพลตอการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 5 ปจจัยดานการสงเสริมการตลาดมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 6 ปจจัยดานบุคคลและลักษณะกายภาพมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ

ซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 7 ปจจัยดานกระบวนการมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สมมติฐานท่ี 8 ปจจัยดานตราสินคาของผลิตภัณฑมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

4.5.3 การวิเคราะหสมการถดถอยเชิงเสน

ผูวิจัยใชการวิเคราะหสมการถดถอยเชิงเสน (Linear Regression Analysis) แบบ

Enter Multiple Regression เพ่ือหาความสัมพันธระหวางปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ซ่ึงใช

แบบสอบถามท่ีไดตรวจสอบความสมบูรณของขอมูลครบถวนท้ังหมดจํานวน 407 ชุด ท่ีระดับ

นัยสําคัญ 0.05 ไดผลสรุปของการวิเคราะห ดังแสดงในตารางท่ี 4.13

Page 78: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

62

ตารางท่ี 4.14

ประสิทธิภาพของสมการถดถอยตามวิธี Enter Regression ในการวิเคราะหการถดถอยระหวางการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสและกลุมปจจัยท้ัง 8 ปจจัย

Model R R Square Adjusted R

Square

Std. Error of the

Estimate

1 0.534a 0.285 0.271 0.530

a. Predictors: (Constant), Group8, Group7, Group2, Group5, Group3, Group6, Group1, Group4

จากตารางท่ี 4.13 พบวาตัวแปรอิสระมีคาความผิดพลาดมาตรฐานต่ําสุดเทากับ

0.530 และมีคาสัมประสิทธิ์ตัวกําหนด (R Square) สูงสุด คือ 0.285 หมายความวา ปจจัยท้ัง 8

ปจจัยสามารถอธิบายการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ไดรอยละ 28.5 สวนท่ีเหลืออีกรอยละ 71.5 เกิดจากอิทธิพลของตัว

แปรอ่ืนๆ

ตารางท่ี 4.15

ผลการวิเคราะหสมมติฐานในภาพรวมของสมการถดถอยตามวิธี Enter Regression ในการวิเคราะห

การถดถอยระหวางการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสและกลุมปจจัยท้ัง 8 ปจจัย

ANOVAa

Model Sum of Squares df Mean Square F Sig.

1

Regression 44.741 8 5.593 19.878 .000b

Residual 111.977 398 .281

Total 156.717 406

การวิเคราะหผลจากตารางท่ี 4.14 มีการตั้งสมมติฐาน คือ

H0 : ตัวแปรอิสระทุกปจจัยไมสามารถนํามาใชในการพิจารณาการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลได

Page 79: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

63

H1: ตัวแปรอิสระอยางนอย 1 ปจจัย สามารถนํามาใชในการพิจารณาการตัดสินใจ

ซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลได

จากตารางท่ี 4.14 พบวาคาสถิติ F-Test มีคา Sig. เปน 0.00 ซ่ึงมีคานอยกวาคา

ระดับนับสําคัญท่ีกําหนดไว (α = 0.05) ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0 แสดงวา มีตัวแปรอิสระอยางนอย 1

ปจจัย สามารถนํามาใชในการพิจารณาการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคใน

เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลได

ตารางท่ี 4.16

สมการถดถอยท่ีไดในแตละข้ันตอนตามวิธี Enter Regression ในการวิเคราะหการถดถอยระหวาง

การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส และปจจัยท้ัง 8 ตัว

Coefficientsa

Model

Unstandardized

Coefficients

Standardized

Coefficients t Sig.

Collinearity

Statistics

B Std. Error Beta VIF

(Constant) 1.169 0.290

4.031 0.000

ปจจัยดานผลิตภัณฑ 0.026 0.009 0.160 2.764 0.006 1.876

ปจจัยดานราคา 0.020 0.020 0.062 1.037 0.301 1.968

ปจจัยดานชอง

ทางการจัดจําหนาย -0.013 0.017 -0.040 -0.787 0.432 1.473

ปจจัยดานการ

สงเสริมความพึง

พอใจของลูกคา

0.004 0.011 0.026 0.381 0.703 2.565

ปจจัยดานการ

สงเสริมการตลาด 0.012 0.010 0.071 1.303 0.193 1.661

ปจจัยดานบุคคลและ

ลักษณะกายภาพ 0.025 0.008 0.173 3.202 0.001 1.624

ปจจัยดาน

กระบวนการ 0.074 0.025 0.150 2.966 0.003 1.431

Page 80: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

64

ตารางท่ี 4.16

สมการถดถอยท่ีไดในแตละข้ันตอนตามวิธี Enter Regression ในการวิเคราะหการถดถอยระหวาง

การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส และปจจัยท้ัง 8 ตัว (ตอ)

Coefficientsa

Model

Unstandardized

Coefficients

Standardized

Coefficients t Sig.

Collinearity

Statistics

B Std. Error Beta VIF

ปจจัยดานตราสินคา

ของผลิตภัณฑ 0.158 0.044 0.174 3.596 0.000 1.305

พบวาคาสถิติ F-Test มีคา Sig. เปน 0.00 ซ่ึงมีคานอยกวาคาระดับนัยสําคัญท่ี

กําหนดไว (α = 0.05) ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0 แสดงวา มีตัวแปรอิสระอยางนอย 1 ปจจัย สามารถ

นํามาใชในการพิจารณาการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลได

จากตารางท่ี 4.15 พิจารณาจาก คา VIF เห็นไดวาทุกปจจัยมีคานอยกวา 5 แสดง

วากลุมปจจัยไมเกิดปญหา Multicollinearity และตัวแปรอิสระท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลได พบวาคาสถิติ T-Test

มีคา Sig. นอยกวาคาระดับนัยสําคัญท่ีกําหนดไว (α = 0.05) มีจํานวน 4 ปจจัย และจากผลของการ

วิเคราะหแตละตัวแปรจะไดคาสัมประสิทธิ์ของสมการถดถอย (Beta Coefficient) ซ่ึงเปนคาท่ีแสดง

ถึงความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ถาตัวแปรอิสระตัวใดมีคา Beta Coefficient

สูง แสดงวาตัวแปรอิสระตัวนั้นสงผลตอตัวแปรตามสูง ซ่ึงผลจากการวิเคราะหสามารถเรียงลําดับจาก

มากไปนอย คือ ปจจัยดานตราสินคาของผลิตภัณฑ ปจจัยดานกระบวนการ ปจจัยดานผลิตภัณฑ

และ ปจจัยดานบุคคลและลักษณะกายภาพ สวนปจจัยท่ีเหลืออีก 4 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานราคา

ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย ปจจัยดานการสงเสริมความพึงพอใจของลูกคา และปจจัยดานการ

สงเสริมการตลาด ไมมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลได เนื่องจากคา Sig. มากกวาคาระดับนัยสําคัญท่ีกําหนดไว

(α = 0.05)

โดยผลท่ีไดจากการวิเคราะหสมการถดถอย สามารถตอบสมมติฐานของงานวิจัยได ดังนี้

Page 81: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

65

สมมติฐานท่ี 1 ปจจัยดานผลิตภัณฑมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (ADIDAS) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

จากผลการวิจัย พบวา คาสถิติ T-Test มีคา Sig. เทากับ 0.006 ซ่ึงมีคานอยกวา

ระดับนัยสําคัญท่ีกําหนดไว (α = 0.05) จึงยอมรับสมมติฐานท่ี 1 ซ่ึงสามารถตีความไดวา ปจจัยดาน

ผลิตภัณฑมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เนื่องจากผูบริโภคยอมคํานึงถึงประโยชนทางดานผลิตภัณฑเปน

หลัก เชนคุณภาพของสินคา รองเทากีฬาท่ีซ้ือตองมีความทนทานมีอายุการใชงานท่ีนาน ไม

เสื่อมสภาพไดงาย อีกท้ังการท่ีอาดิดาสมีรูปแบบรองเทากีฬาท่ีสวนใหญมีความทันสมัย มีสีสัน

ลวดลายและรูปแบบท่ีหลากหลายใหผูบริโภคเลือก ทําใหรูปลักษณของสินคามีโอกาสตอบสนองความ

ตองการของผูบริโภคซ่ึงมีลักษณะความชอบท่ีแตกตางกันไดมากข้ึน นอกจากนี้ ผูบริโภคยังใหความ

สนใจวัสดุท่ีใชทํารองเทากีฬาอีกดวย โดยวัสดุท่ีใชตองเปนวัสดุท่ีมีคุณภาพ มีคุณลักษณะตางๆ เชนทํา

ใหรองเทากีฬามีน้ําหนักเบา มีการระบายอากาศไดดี ทําใหการเดินหรือวิ่งมีความสบายมากข้ึน อีกท้ัง

นวัตกรรมการปองกันการบาดเจ็บก็เปนอีกหนึ่งปจจัยท่ีผูบริโภคใหความสนใจ เนื่องจากปจจุบัน

กระแสรักสุขภาพกําลังเปนท่ีนิยม นวัตกรรมดังกลาวสามารถเพ่ิมความปลอดภัยในการออกกําลังกาย

ไดดียิ่งข้ึน ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยในอดีตท่ีไดกลาวไวในบทท่ี 2 เชน งานวิจัยของชฏาพร อรชุน

(2557) ท่ีพบวา ดานรูปลักษณผลิตภัณฑซ่ึงประกอบดวยการใชวัสดุท่ีนุม มีหลากหลายรูปแบบให

เลือก มีความสําคัญกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา ตรงกับงานวิจัยของอธิพร หวังเสรีกุล (2554) ท่ี

พบวา ผูบริโภคมักเลือกซ้ือรองเทากีฬาท่ีสวมใสสบายกระชับเทา คุณภาพของรองเทา และความ

คงทนของรองเทา เปนอันดับแรก รองลงมาจะคํานึงถึงเรื่องรูปแบบของรองเทากีฬา สีสัน คุณสมบัติ

การระบายอากาศ และการปองกันการบาดเจ็บ รวมถึงงานวิจัยของรุงอรุณ ศรธนู (2553) ท่ีพบวา ใน

เรื่องความหลากหลายของรูปแบบ ผลิตภัณฑมีความทันตอสมัยนิยม ความหลากหลายของสีสัน

ลวดลาย และวัสดุท่ีใชทํารองเทา มีความสําคัญกับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา และงานวิจัยของนัค

มน ภูทอง (2550) ท่ีพบวา ปจจัยดานผลิตภัณฑในเรื่องประโยชนหลักของผลิตภัณฑ รูปแบบของ

รองเทากีฬา และคุณภาพของรองเทากีฬา มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

สมมติฐานท่ี 2 ปจจัยดานราคามีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (ADIDAS) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

จากผลการวิจัย พบวา คาสถิติ T-Test มีคา Sig. เทากับ 0.301 ซ่ึงมีคามากกวา

ระดับนัยสําคัญท่ีกําหนดไว (α = 0.05) จึงปฏิเสธสมมติฐานท่ี 2 ซ่ึงสามารถตีความไดวา ปจจัยดาน

ราคาไมมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

Page 82: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

66

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เนื่องจากการท่ีผูบริโภคมองวารองเทากีฬาอาดิดาสมีคุณภาพ

ผูบริโภคจึงไมสนใจเรื่องความเหมาะสมระหวางราคากับคุณภาพมากนัก อีกท้ังรองเทากีฬาเปนสินคา

ท่ีผูบริโภคไมมีความจําเปนตองซ้ือเปนประจํา ความถ่ีในการซ้ือนอย รวมถึงการเลือกซ้ือรองเทากีฬา

ในราคาท่ีเหมาะสมกับรายไดผูซ้ือ หรือราคาเหมาะสมกับยี่หอ เหลานี้ไมมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส จะสังเกตไดวา ราคาของรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) มีมาตรฐานใกลเคียงกัน

กับยี่หอรองเทากีฬาอ่ืนๆ ท่ีอยูระดับเดียวกัน จึงสงผลใหผูบริโภคใหความสําคัญกับปจจัยทางดาน

ราคาเหลานี้นอย

สมมติฐานท่ี 3 ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนายมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

จากผลการวิจัย พบวา คาสถิติ T-Test มีคา Sig. เทากับ 0.432 ซ่ึงมีคามากกวา

ระดับนัยสําคัญท่ีกําหนดไว (α = 0.05) จึงปฏิเสธสมมติฐานท่ี 3 ซ่ึงสามารถตีความไดวา ปจจัยดาน

ชองทางการจัดจําหนายไมมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคใน

เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เนื่องจากปจจุบันผูบริโภคสามารถเลือกชองทางในการซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาสไดหลากหลายและสะดวกมากข้ึน เชน แผนกกีฬาในหางสรรพสินคา รานขาย

รองเทา รานขายเครื่องแตงกายท่ัวไป รานขายอุปกรณกีฬา หรือแมกระท่ังรานคาออนไลน ซ่ึงตรา

ยี่หออ่ืนท่ีใกลเคียงกับอาดิดาสก็มีชองทางการจัดจําหนายท่ีมีลักษณะเดียวกัน อีกท้ังการคมนาคมท่ี

สะดวกยิ่งข้ึน ทําใหการเดินทางไปยังรานคามีความสะดวกสบาย ใชเวลาไมมาก ดังนั้น การมีสถานท่ี

จัดจําหนายอยูใกล มีความสะดวกในการเดินทางไปซ้ือสินคา และมีสถานท่ีจัดจําหนายกระจายอยู

จํานวนมาก เหลานี้จึงไมมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

สมมติฐานท่ี 4 ปจจัยดานการสงเสริมความพึงพอใจของลูกคามีอิทธิพลตอการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

จากผลการวิจัย พบวา คาสถิติ T-Test มีคา Sig. เทากับ 0.703 ซ่ึงมีคามากกวา

ระดับนัยสําคัญท่ีกําหนดไว (α = 0.05) จึงปฏิเสธสมมติฐานท่ี 4 ซ่ึงสามารถตีความไดวา ปจจัยดาน

การสงเสริมความพึงพอใจของลูกคาไมมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas)

ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เนื่องจากผูบริโภคใหความสําคัญกับปจจัยดาน

ผลิตภัณฑมาก และคํานึงเรื่องปจจัยดานราคานอย (จากสมมติฐานท่ี 1 และ 2) ดังนั้นการมีกิจกรรม

สงเสริมการขาย เชน การลด แลก แจก แถม จึงไมมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

สวนการท่ีรองเทาอาดิดาสมีนวัตกรรมปองกันการบาดเจ็บอาจเปนนวัตกรรมท่ีไมแตกตางกับตรายี่หอ

อ่ืน ผูบริโภคจึงไมเห็นถึงความแตกตาง อีกท้ังการมีตัวอยางสินคาใหทดลอง และการรับประกันความ

Page 83: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

67

พอใจและสามารถเปลี่ยนสินคาได ถือเปนบริการท่ีเปนมาตรฐานท่ีตรายี่หออ่ืนๆ สวนใหญใหบริการใน

ลักษณะท่ีไมแตกตางกัน ดังนั้นบริการเหลานี้จึงไมทําใหลูกคาเกิดความพึงพอใจเพ่ิมข้ึนมากนัก และ

ปจจุบันรองเทากีฬาอาดิดาสมีระดับราคาท่ีใกลเคียงกับตรายี่หออ่ืนท่ีมีลักษณะใกลเคียงกันอยูแลว

ดังนั้นผูบริโภคจึงไมสนใจในการเปรียบเทียบราคา สิ่งเหลานี้จึงไมมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส

สมมติฐานท่ี 5 ปจจัยดานการสงเสริมการตลาดมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

จากผลการวิจัย พบวา คาสถิติ T-Test มีคา Sig. เทากับ 0.193 ซ่ึงมีคามากกวา

ระดับนัยสําคัญท่ีกําหนดไว (α = 0.05) จึงปฏิเสธสมมติฐานท่ี 5 ซ่ึงสามารถตีความไดวา ปจจัยดาน

การสงเสริมการตลาดไมมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคใน

เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เนื่องจาก ผูบริโภคมักใหความสนใจในลักษณะตัวสินคาและ

ประโยชนการใชงานมากกวา การมีโฆษณาท่ีนาสนใจ การขายสินคาโดยผูกกับสโมสรกีฬาชื่อดัง และ

การมี Presenter ท่ีนาสนใจ จึงมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสนอย อีกท้ังการมี

พนักงานขายแนะนําสินคาอยางสมํ่าเสมอและมีบริการหลังการขายท่ีนาพอใจเปนบริการท่ีข้ึนอยูกับ

บริการของแตละรานซ่ึงมีลักษณะไมแตกตางกันมากนัก ดังนั้น สําหรับรานท่ีจําหนายรองเทากีฬาท่ีมี

หลากหลายตราสินคาจะทําใหผูบริโภคมองไมเห็นความแตกตางในเรื่องของการบริการระหวางตรา

สินคาอาดิดาสและตราสินคาอ่ืนไดชัดเจน ผูบริโภคจึงไมใหความสําคัญกับปจจัยดังกลาว ดังนั้น

ปจจัยเหลานี้จึงไมมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

สมมติฐานท่ี 6 ปจจัยดานบุคคลและลักษณะกายภาพมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ

ซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

จากผลการวิจัย พบวา คาสถิติ T-Test มีคา Sig. เทากับ 0.001 ซ่ึงมีคานอยกวา

ระดับนัยสําคัญท่ีกําหนดไว (α = 0.05) จึงยอมรับสมมติฐานท่ี 6 ซ่ึงสามารถตีความไดวา ปจจัยดาน

ดานบุคคลและลักษณะกายภาพมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เนื่องจากในดานบุคคล พนักงานมีสวนสําคัญในการ

ใหขอมูลเก่ียวกับผลิตภัณฑในดานตางๆ แกผูบริโภค พนักงานท่ีมีความรูเก่ียวกับลักษณะผลิตภัณฑ

สามารถอธิบายหรือตอบขอสงสัยเก่ียวกับรองเทากีฬาท่ีหลากหลายได ยอมสรางความนาเชื่อถือใน

มุมมองของผูบริโภค อีกท้ังการท่ีพนักงานมีความรวดเร็วในการใหบริการ มีความสุภาพและ

มนุษยสัมพันธดียอมทําใหผูบริโภคเกิดความม่ันใจ สงผลใหปจจัยดังกลาวมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ

สวนในดานปจจัยลักษณะกายภาพ เชน มีการตกแตงรานท่ีสวยงาม มีการจัดเรียงสินคาอยางเปน

Page 84: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

68

ระเบียบและงายตอการเลือก มีรูปแบบการจัดรานท่ีสะอาดเรียบรอย และมีสถานท่ีจอดรถท่ีสะดวก

ลวนเปนปจจัยเชิงบวกท่ีดึงดูดใหผูบริโภคเกิดความสนใจสินคาในเบื้องตน ดังนั้นสิ่งเหลานี้มีอิทธิพลตอ

การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยในอดีตท่ีไดกลาวไวในบทท่ี 2 เชน

ศุภฤกษ ทิมอน (2550) และนนทพร จุติมานนท (2552) ท่ีพบวา ความสุภาพและมนุษยสัมพันธของ

พนักงานขาย ความเอาใจใสในการบริการ และความเต็มใจในการใหขอมูลของสินคา มีอิทธิพลตอการ

เลือกซ้ือรองเทา ตรงกับงานวิจัยชานนท อันสมศรี (2556) ท่ีพบวา การมีมนุษยสัมพันธท่ีดีและการให

คําแนะนําในเรื่องผลิตภัณฑจากพนักงาน มีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา รวมถึงงานวิจัยของ

รุงอรุณ ศรธนู (2553) ท่ีพบวา การจัดเรียงสินคาใหมีความสะดวกในการหยิบลอง ความสวยงามใน

การตกแตงราน มีความสําคัญตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา และงานวิจัยของอธิพร หวังเสรีกุล (2554) ท่ี

พบวา ความสะอาดของราน ความนาดึงดูดในการจัดราน การรูจักรานคามานาน และการมีสถานท่ี

จอดรถท่ีสะดวก มีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

สมมติฐานท่ี 7 ปจจัยดานกระบวนการมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (ADIDAS) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

จากผลการวิจัย พบวา คาสถิติ T-Test มีคา Sig. เทากับ 0.003 ซ่ึงมีคานอยกวา

ระดับนัยสําคัญท่ีกําหนดไว (α = 0.05) จึงยอมรับสมมติฐานท่ี 7 ซ่ึงสามารถตีความไดวา ปจจัยดาน

กระบวนการมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เนื่องจากรองเทากีฬาเปนสินคาท่ีมีระดับราคาท่ีหลากหลาย บาง

ชนิดมีราคาคอนขางสูง และปจจุบันมีบริการทางการเงินหลายชองทางท่ีทําใหผูบริโภคมีพฤติกรรม

การพกเงินสดท่ีนอยลง ดังนั้น การท่ีรานคามีชองทางการชําระเงินท่ีหลากหลาย และข้ันตอนการ

ชําระเงินมีความสะดวกยอมทําใหลูกคาเกิดความพึงพอใจ สงผลใหปจจัยดังกลาวมีอิทธิพลตอการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยในอดีตท่ีไดกลาวไวในบทท่ี 2 เชน งานวิจัย

ของ ชฏาพร อรชุน (2557) ท่ีพบวา ผูบริโภคใหความสําคัญกับดานกระบวนการบริการ โดยผูบริโภค

ใหความสนใจในเรื่องของทางเลือกในการชําระเงินท่ีเพ่ิมข้ึน เชน บัตรเครดิตและบัตรเดบิต อีกท้ัง

ผูบริโภคยังใหความสําคัญในดานบริการหลังการขายในระดับมาก อาทิ การบริการซอมฟรี หรือการมี

พ้ืนรองเทาและเชือกรองเทาสํารองให และงานวิจัยของชานนท อันสมศรี (2556) ท่ีพบวา ความ

หลากหลายของวิธีการชําระเงินเปนสําคัญ เชน การชําระเงินผานเครดิต มีความสําคัญในในการเลือก

ซ้ือรองเทา

Page 85: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

69

สมมติฐานท่ี 8 ปจจัยดานตราสินคาของผลิตภัณฑมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

จากผลการวิจัย พบวา คาสถิติ T-Test มีคา Sig. เทากับ 0.000 ซ่ึงมีคานอยกวา

ระดับนัยสําคัญท่ีกําหนดไว (α = 0.05) จึงยอมรับสมมติฐานท่ี 8 ซ่ึงสามารถตีความไดวา ปจจัยดาน

ตราสินคาของผลิตภัณฑมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคใน

เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เนื่องจากภาพลักษณของตราสินคาสงผลตอภาพลักษณสวนตัว

ของผูบริโภคท่ีใชสินคาดวย ดังนั้นการท่ีตราสินคามีชื่อเสียงจะทําใหผูบริโภคยินดีท่ีจะซ้ือสินคามาใช

งาน อีกท้ังยังทําใหผูบริโภคเกิดความจงรักภักดีตอตัวสินคา และตัดสินใจซ้ือสินคานั้นๆ ซ่ึงสอดคลอง

กับงานวิจัยในอดีตท่ีไดกลาวไวในบทท่ี 2 เชน งานวิจัยของนัคมน ภูทอง (2550) ท่ีพบวา ตราสินคา

ของรองเทากีฬา เชน ความมีชื่อเสียงของตราสินคา คุณภาพตราสินคา มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬา ตรงกับงานวิจัยของ อธิพร หวังเสรีกุล (2554) ท่ีพบวา ผูบริโภคมักเลือกซ้ือรองเทากีฬา

จากชื่อเสียงของตราสินคา รวมถึงงานวิจัยของรุงอรุณ ศรธนู (2553) ท่ีพบวา ยี่หอหรือตราสินคา มี

ความสําคัญกับการตัดสินใจซ้ือรองเทา และงานวิจัยของสุรสิทธิ์ ปราชญสุชนัย (2546) ท่ีพบวา

ผูบริโภคใหความสนใจในเรื่องของตรายี่หอสินคา

Page 86: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

70

บทที่ 5

สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล มีวัตถุประสงคเพ่ือสํารวจพฤติกรรมการซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส รวมถึงศึกษาถึงความสัมพันธระหวางปจจัยสวนประสมทางการตลาด และปจจัย

ลักษณะทางประชากรศาสตร ดานเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดตอเดือน ซ่ึงประชากร

ท่ีใชในการศึกษา คือ ผูบริโภคท่ีเคยซ้ือรองเทากีฬา ยี่หออาดิดาส (Adidas) โดยศึกษาประชากรท่ี

อาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยเลือกใช

แบบสอบถามในการเก็บขอมูล โดยชวงเวลาท่ีทําการศึกษาวิจัย คือ เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2559 –

มีนาคม พ.ศ. 2559 ท้ังนี้ผูวิจัยไดรับขอมูลแบบสอบถามตอบกลับมารวมท้ังสิ้น 479 ชุด โดยผูวิจัยได

ทําการตัดแบบสอบถามท่ีเลือกตอบวา “ไมเคยซ้ือรองเทากีฬา ยี่หออาดิดาส (Adidas) และ ไมได

ศึกษา ทํางาน หรืออาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ออกจํานวน 72 ชุด ดังนั้น จึงมี

แบบสอบถามตอบกลับท่ีมีความสมบูรณรวม 407 ชุด จากการวิเคราะหผลวิจัยสามารถสรุป

ผลการวิจัย ดังนี้

5.1 สรุปผลการวิจัย

5.1.1 ขอมูลลักษณะประชากรศาสตรตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

ลักษณะทางประชากรศาสตรของกลุมตัวอยางสามารถแบงออกเปนเพศชาย

56.3% และเพศหญิง 43.7% โดยมีชวงอายุตั้งแตต่ํากวา 20 ป ไปจนถึงชวงอายุมากกวา 50 ปข้ึนไป

โดยสวนใหญมีอายุระหวาง 20 - 30 ป คิดเปน 78.6% ท้ังนี้กลุมตัวอยางมีระดับการศึกษามีตั้งแต

ระดับต่ํากวาปริญญาตรีไปจนถึงสูงกวาปริญญาโท โดยระดับการศึกษาสวนใหญของกลุมตัวอยาง คือ

ปริญญาตรีหรือเทียบเทา คิดเปน 63.9% อาชีพสวนใหญของกลุมตัวอยาง คือ พนักงานบริษัท คิด

เปน 43.2% และระดับรายไดของกลุมตัวอยาง พบวา สวนใหญอยูในชวงระดับ 10,000 - 20,000

บาท คิดเปน 37.3%

Page 87: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

71

5.1.2 ขอมูลท่ีเกี่ยวกับพฤติกรรมตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

พฤติกรรมท่ัวไปในการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคใน

เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล สามารถสรุปพฤติกรรมของกลุมตัวอยางโดยสรุปคือ บุคคลท่ีมี

อิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสของกลุมตัวอยางสวนใหญ คือ การตัดสินใจซ้ือ

ดวยตนเอง คิดเปน 67% รองลงมาคือ แฟน คิดเปน 13% และลําดับสามเปนเพ่ือน คิดเปน 11%

สวนชองทางในการรับขอมูลของรองเทากีฬาอาดิดาสของกลุมตัวอยางสวนใหญ คือ อินเตอรเน็ต/

เว็บไซต คิดเปน 50% กลุมตัวอยางสวนใหญมีความถ่ีในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส สวนใหญ

ประมาณ 10 – 12 เดือนตอคู คิดเปน 37% คาใชจายโดยเฉลี่ยในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ตอ

รองเทา 1 คู ของกลุมตัวอยางสวนใหญ คือ 2,001 – 2,500 บาท คิดเปน 26.5% รองลงมาคือ

2,501 – 3,000 บาท คิดเปน 23.3% และ 1,501 – 2,000 บาท คิดเปน 20.4% สวนรานคาท่ีนิยม

ซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส ท่ีกลุมตัวอยางนิยมซ้ืออันดับแรก คือ แผนกกีฬาในหางสรรพสินคา เชน

แผนก Supersports คิดเปน 56.3% วัตถุประสงคในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสของกลุมตัวอยาง

สวนใหญเพ่ือเลนกีฬา / ออกกําลังกาย คิดเปน 55.8% ท้ังนี้กลุมตัวอยางสวนใหญมีเหตุผลสําคัญใน

การเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาสสวนใหญ คือ ความคงทน แข็งแรง คิดเปน 68.3%

5.1.3 ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

ผลการวิเคราะหปจจัย (Factor Analysis) ท้ังหมด 34 ตัวแปร โดยใชวิธีการหมุน

แกนแบบ Varimax พบวา สามารถจัดเปนกลุมปจจัยใหมไดจํานวน 8 กลุมปจจัย และเม่ือนําปจจัย

ท้ัง 8 กลุมปจจัยดังกลาวมาทําการวิเคราะหทางสถิติดวยการวิเคราะหสมการถดถอยเชิงเสน

(Regression Analysis) เพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัย พบวา ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล มี

จํานวน 4 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย คือ ปจจัยดานตราสินคาของผลิตภัณฑ ปจจัยดาน

กระบวนการ ปจจัยดานผลิตภัณฑ และ ปจจัยดานบุคคลและลักษณะกายภาพ สวนปจจัยท่ีเหลืออีก

4 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานราคา ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย ปจจัยดานการสงเสริมความพึง

พอใจของลูกคา และปจจัยดานการสงเสริมการตลาด ไมมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิ

ดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยตัวแบบดังกลาวขางตน

สามารถอธิบายการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร

และปริมณฑล ของกลุมตัวอยางไดรอยละ 28.5 ซ่ึงแตละปจจัยมีรายละเอียดดังนี้

5.1.3.1 ปจจัยดานตราสินคามีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล มากท่ีสุด แสดงใหเห็นวา ภาพลักษณ

Page 88: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

72

ของตราสินคาสงผลตอภาพลักษณสวนตัวของผูบริโภคท่ีใชสินคาดวย ดังนั้น การท่ีตราสินคามีชื่อเสียง

จะทําใหผูบริโภคยินดีท่ีจะซ้ือสินคามาใชงาน อีกท้ังยังทําใหผูบริโภคเกิดความจงรักภักดีตอตัวสินคา

และตัดสินใจซ้ือสินคานั้นๆ

5.1.3.2 ปจจัยดานกระบวนการมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เปนอันดับ 2 แสดงใหเห็นวา การท่ี

รานคามีชองทางการชําระเงินท่ีหลากหลาย และข้ันตอนการชําระเงินมีความสะดวกยอมทําใหลูกคา

เกิดความพึงพอใจ และตัดสินใจซ้ือสินคาในท่ีสุด

5.1.3.3 ปจจัยดานผลิตภัณฑมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เปนอันดับ 3 แสดงใหเห็นวา ผูบริโภค

ยอมคํานึงถึงประโยชนทางดานผลิตภัณฑเปนหลัก เชน คุณภาพของสินคา รองเทากีฬาท่ีซ้ือตองมี

ความทนทานมีอายุการใชงานท่ีนาน ไมเสื่อมสภาพไดงาย อีกท้ังการท่ีอาดิดาสมีรูปแบบรองเทากีฬาท่ี

สวนใหญมีความทันสมัย มีสีสัน ลวดลายและรูปแบบท่ีหลากหลายใหผูบริโภคเลือก ทําใหรูปลักษณ

ของสินคามีโอกาสตอบสนองความตองการของผูบริโภคซ่ึงมีลักษณะความชอบท่ีแตกตางกันไดมากข้ึน

นอกจากนี้ผูบริโภคยังใหความสนใจวัสดุท่ีใชทํารองเทากีฬาอีกดวย โดยวัสดุท่ีใชตองเปนวัสดุท่ีมี

คุณภาพ มีคุณลักษณะตางๆ เชนทําใหรองเทากีฬามีน้ําหนักเบา มีการระบายอากาศไดดี ทําใหการ

เดินหรือวิ่งมีความสบายมากข้ึน อีกท้ังนวัตกรรมการปองกันการบาดเจ็บก็เปนอีกหนึ่งปจจัยท่ีผูบริโภค

ใหความสนใจ เนื่องจากปจจุบันกระแสรักสุขภาพกําลังเปนท่ีนิยม นวัตกรรมดังกลาวสามารถเพ่ิม

ความปลอดภัยในการออกกําลังกายไดดียิ่งข้ึน

5.1.3.4 ปจจัยดานบุคคลและลักษณะกายภาพมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เปนอันดับสุดทาย แสดง

ใหเห็นวา พนักงานมีสวนสําคัญในการใหขอมูลเก่ียวกับผลิตภัณฑในดานตางๆ แกผูบริโภค พนักงานท่ี

มีความรูเ ก่ียวกับลักษณะผลิตภัณฑ สามารถอธิบายหรือตอบขอสงสัยเก่ียวกับรองเทากีฬาท่ี

หลากหลายได ยอมสรางความนาเชื่อถือในมุมมองของผูบริโภค อีกท้ังการท่ีพนักงานมีความรวดเร็วใน

การใหบริการ มีความสุภาพและมนุษยสัมพันธดียอมทําใหผูบริโภคเกิดความม่ันใจ สงผลใหปจจัย

ดังกลาวมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ สวนในดานปจจัยลักษณะกายภาพ เชน มีการตกแตงรานท่ีสวยงาม

มีการจัดเรียงสินคาอยางเปนระเบียบและงายตอการเลือก มีรูปแบบการจัดรานท่ีสะอาดเรียบรอย

และมีสถานท่ีจอดรถท่ีสะดวกลวนเปนปจจัยเชิงบวกท่ีดึงดูดใหผูบริโภคเกิดความสนใจสินคาใน

เบื้องตน

Page 89: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

73

ในสวนการทดสอบสมมติฐานเก่ียวกับลักษณะทางประชากรศาสตรท่ีแตกตางกันในดาน

เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดตอเดือน กับการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ผลการวิจัย พบวา การตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล มีความแตกตาง

กันในดานอายุ ระดับการศึกษาและรายไดตอเดือนท่ีแตกตางกัน โดยกลุมตัวอยางท่ีมีชวงอายุมากกวา

30 ปข้ึนไป มีคาเฉลี่ยในการตัดสินใจซ้ือมากกวาชวงอายุนอยกวาหรือเทากับ 30 ป นอกจากนี้ ระดับ

การศึกษาปริญญาโท หรือสูงกวา มีคาเฉลี่ยในการตัดสินใจซ้ือมากกวาระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญา

ตรีหรือเทียบเทาปริญญาตรี และระดับรายไดตอเดือน ในชวง 30,001- 40,000 บาท มีคาเฉลี่ยใน

การตัดสินใจซ้ือมากท่ีสุด

5.2 ขอเสนอแนะสําหรับผูประกอบการ

จากการศึกษาการวิจัยนี้ทําใหทราบปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล รวมไปถึงพฤติกรรมการซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล สามารถชวยให

ผูประกอบการนําขอมูลพฤติกรรมสวนบุคคลของผูบริโภค ขอมูลปจจัยทางการตลาด มาใชในการ

วางแผนสงเสริมกลยุทธทางการตลาดและกิจกรรมทางการตลาด เพ่ือตอบสนองใหตรงกับความ

ตองการของผูบริโภค จะทําใหเกิดการกระตุนการซ้ือใหเพ่ิมมากข้ึน

ผูวิจัยจึงสรุปขอเสนอแนะตอผูประกอบการตามปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และขอมูลตางๆ

ท่ีไดจากการวิจัย เปนหัวขอ ดังนี้

5.2.1 ปจจัยดานตราสินคา ผูประกอบการควรใหความสําคัญกับการสรางภาพลักษณ

ของตราสินคาอาดิดาส (Adidas) เนื่องจากตราสินคาเปรียบเสมือนสัญลักษณหรือตัวแทนของสินคา

นั้นๆ ดังนั้น การท่ีตราสินคามีชื่อเสียงจะทําใหผูบริโภคยินดีท่ีจะซ้ือสินคามาใชงาน อีกท้ังยังทําให

ผูบริโภคเกิดความจงรักภักดีตอตัวสินคาอีกดวย

5.2.2 ปจจัยดานกระบวนการ ผูประกอบการควรใหความสําคัญกับกระบวนการในการ

ซ้ือสินคา เชน ข้ันตอนการชําระเงิน ควรมีชองทางการชําระเงินท่ีหลากหลาย และข้ันตอนการชําระท่ี

สะดวก รวดเร็ว

Page 90: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

74

5.2.3 ปจจัยดานผลิตภัณฑ ผูประกอบการควรใหความสําคัญกับการรักษามาตรฐาน

คุณภาพสินคา จําหนายสินคาท่ีมีคุณภาพ ทันสมัย สีสัน ลวดลายและรูปแบบท่ีหลากหลาย อีกท้ังยัง

ควรใหความสําคัญกับวัสดุท่ีใชทํารองเทากีฬา และลักษณะของรองเทากีฬา ท่ีมีน้ําหนักเบา มีการ

ระบายอากาศไดดี และมีนวัตกรรมการปองกันการบาดเจ็บ

5.2.4 ปจจัยดานบุคคลและลักษณะกายภาพ ผูประกอบการควรใหความสําคัญการ

บริการของพนักงาน เนื่องจากพนักงานเปนผูท่ีสัมผัสลูกคาโดยตรง จะตองมีความสุภาพ มนุษย

สัมพันธดี และการบริการท่ีรวดเร็ว รวมถึงการใหขอมูลและคําแนะนําในตัวสินคา นอกจากนี้ การ

สรางความประทับใจใหแกลูกคาควรทําควบคูกับการสรางบรรยากาศท่ีดีใหกับราน ไมวาจะเปนการ

ตกแตงรานท่ีสวยงาม มีการจัดเรียงสินคาอยางเปนระเบียบและงายตอการเลือก มีรูปแบบการจัดราน

ท่ีสะอาดเรียบรอย และมีสถานท่ีจอดรถท่ีสะดวก

5.2.5 ผูประกอบการธุรกิจรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ควรใหความสําคัญกับกลุม

ผูบริโภคเฉพาะกลุมเพ่ิมมากข้ึน โดยเฉพาะกลุมผูบริโภคท่ีมีชวงอายุนอยกวาหรือเทากับ 30 ป มี

ระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทาปริญญาตรี และมีระดับรายไดตอเดือน ต่ํากวา

30,000 บาท เนื่องจากผูบริโภคกลุมดังกลาวมีการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) นอย

กวาผูบริโภคท่ีมีชวงอายุมากกวา 30 ปข้ึนไป มีระดับการศึกษาปริญญาโทหรือสูงกวา และมีระดับ

รายไดตอเดือน ในชวง 30,001- 40,000 บาท ดังนั้นผูประกอบการธุรกิจรองเทากีฬาอาดิดาส

(Adidas) ควรออกกลยุทธทางการตลาดตางๆ ใหมีความสอดคลองกับความตองการของ

กลุมเปาหมายนี้เพ่ิมมากยิ่งข้ึน

5.3 ขอจํากัดงานวิจัย

ขอมูลท่ีเก็บไดจากกลุมตัวอยาง เปนขอมูลท่ีรวบรวมจากแบบสอบถามซ่ึงผูวิจัยได

ตรวจสอบความถูกตองและความนาเชื่อถือ เพ่ือใหไดคําถามท่ีครอบคลุมวัตถุประสงคของงานวิจัย แต

ขอมูลท่ีไดรับอาจะไมครบถวน เนื่องจากจํากัดอยูแคในแบบสอบถามเทานั้น ท้ังนี้ขอมูลสําคัญ

บางอยางอาจตองอาศัยขอมูลเชิงลึกจากการสัมภาษณหรือการสังเกตเพ่ิมเติม นอกจากนี้ขอมูล

ดังกลาวมีระยะเวลาการเก็บแบบสอบถามคอนขางจํากัด คือประมาณ 1 เดือน (ระหวางเดือน

กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 – เดือนมีนาคม พ.ศ. 2559) จึงอาจทําใหคลาดเคลื่อนในการนําไปอางอิงกลุม

ประชากรได เนื่องจากกลุมตัวอยางไมกระจายตัวเทาท่ีควร ดังนั้นผูท่ีจะนําขอมูลวิจัยชุดนี้ไปใช ควร

Page 91: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

75

ระมัดระวังในการนําขอมูลทางดานประชากรศาสตรในการนําไปประยุกตใช เนื่องจากขอมูลท่ี

เชื่อมโยงปจจัยตางๆ อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปตามชวงระยะเวลาได

5.4 ขอเสนอแนะงานวิจัยตอเนื่อง

ในงานวิจัยนี้มีขอเสนอแนะ ดังตอไปนี้

5.4.1 ควรขยายขอบเขตงานวิจัยใหกวางมากยิ่งข้ึน โดยมิไดจํากัดผูบริโภคอยูในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลเทานั้น แตเพ่ิมกลุมตัวอยางไปยังตางจังหวัดหรือครอบคลุมท่ัว

ประเทศ เพ่ือใหครอบคลุมประชากรผูซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (Adidas) ไดมากข้ึน

5.4.2 นอกจากการเก็บรวบรวมขอมูลจากการตอบแบบสอบถาม ควรเพ่ิมเครื่องมือใน

การเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัยอ่ืนๆ เชน การสัมภาษณเจาะลึก (In-depth Interview) การสนทนา

กลุม (Focus Group) เพ่ือใหไดขอมูลท่ีหลากหลายหรือเฉพาะเจาะจงมากยิ่งข้ึน

5.4.3 ควรมีการศึกษาถึงแรงจูงใจและแรงกระตุนท่ีสงผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

อาดิดาส (Adidas) เพ่ือใหทราบถึง ปจจัยท่ีสําคัญในการตัดสินใจซ้ือเพ่ือตอบสนองความตองการและ

ความปารถนาตางๆ ของผูบริโภค

5.4.4 ควรศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬายี่หออ่ืนๆ รวมดวย

เพ่ือหาความแตกตาง และเปนการสรางความไดเปรียบในการแขงขัน อีกท้ังยังเปนการประเมิน

ความสามารถในการแขงขันของธุรกิจไดอีกดวย

Page 92: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

76

รายการอางอิง

หนังสือและบทความในหนังสือ

เสรี วงษมนฑา. (2542). การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : ธีระฟลมและไซเท็กซ.

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2552). การบริหารการตลาดยุคใหม. กรุงเทพฯ: เพชรจรัสแสงแหงโลก

ธุรกิจ.

วิทยานิพนธ ภาคนิพนธ สารนิพนธ และงานคนควาอิสระ

รุงอรุณ ศรธนู. (2553). ปจจัยดานประชากรศาสตรท่ีสงผลตอสวนประสมทางการตลาดผูซ้ือรองเทา

ในเขตกรุงเทพมหานคร. (การคนควาอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตธุรกิจระหวาง

ประเทศ คณะบริหารธุรกิจ). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

พรจันทร อินจันสุข. (2548). พฤติกรรมและปจจัยทางการตลาดท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (การคนควาอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต).

มหาวิทยาลัยหอการคาไทย.

ชฏาพร อรชุน. (2557). ความคาดหวังในองคประกอบของผลิตภัณฑท่ีสงผลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี. (การคนควาอิสระบริหารธุรกิจ

มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ธีระศักดิ์ สุดโต. (2540). ปจจัยทางดานวิถีชีวิตและลักษณะทางประชากรศาสตรท่ีมีอิทธิพลตอการ

ตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธปริญญา

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย, สาขาบริหารธุรกิจ.

สุรสิทธิ์ ปราชญสุชนัย. (2546). ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการเลือกซ้ือรองเทาผาใบของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนคริ

นทรวิโรฒ, สาขาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย

อธิพร หวังเสรีกุล. (2554). การวิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภค ใน

อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย. (การคนควาอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต).

มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง,สาขาวิชาบริหารธุรกิจ.

Page 93: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

77

กาญจนา สมสินสวัสดิ์. (2549). การเปดรับเครื่องมือการสื่อสารการตลาดของรองเทากีฬาไนก้ีและ

การตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธปริญญา

วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะวารสารศาสตร

และสื่อสารมวลชน.

ศันสนีย บุญยง. (2550). ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาของผูบริโภคในเขต

กรุงเทพมหานคร. (งานวิจัยปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตรธุรกิจ)).

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะเศรษฐศาสตร.

ศุภฤกษ ทิมอน. (2550). พฤติกรรมการเลือกซ้ือรองเทาของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร.

(วิทยานิพนธปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต) . มหาวิทยาลัยรามคําแหง , คณะ

เศรษฐศาสตร.

นัคมน ภูทอง. (2550). ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬายี่หอไนก้ีของ

ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ, สาขาวิชาการจัดการ.

ส่ืออิเล็กทรอนิกส

Sportswear In Thailand. (15 มกราคม 2559). สืบคนจาก http://www.euromonitor.com.

รุงอรุณ ศรธนู. (2553). ปจจัยดานประชากรศาสตรท่ีสงผลตอสวนประสมทางการตลาดผูซ้ือรองเทา

ในเขตกรุงเทพมหานคร. สืบคนจาก

http://www.repository.rmutt.ac.th/handle/123456789/567.

พรจันทร อินจันสุข. (2548). พฤติกรรมและปจจัยทางการตลาดท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬา

ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สืบคนจาก

http://eprints.utcc.ac.th/3589/1/199798.pdf.

ชฏาพร อรชุน. (2557). ความคาดหวังในองคประกอบของผลิตภัณฑท่ีสงผลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาของผูบริโภคในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี. สืบคนจาก

http://dspace.bu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/1315/1/Chadaporn_Orac.pd

f.

THESISAVENUE. (22 มกราคม 2559). สวนประสมทางการตลาดสําหรับธุรกิจบริการ (Marketing

Mix '7Ps). สืบคนจาก http://thesisavenue.blogspot.com/2008/09/marketing-mix-

7ps.html.

Page 94: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

78

MBAMarketing. (22 มกราคม 2559). แนวคิด สวนประสมทางการตลาดแบบ 7Ps. สืบคนจาก

http://mbamk.blogspot.com/2013/07/7ps.html.

Thairunning. (22 มกราคม 2559). ประวัติรองเทากีฬาคูแรก. สืบคนจาก

http://www.thairunning.com/firstshoe_histry.htm.

นารซีสซัส. (2554). อาดี ดาสเลอร ชายผูใหกําเนิด อาดิดาส. สืบคนจาก

http://www.siamsport.co.th/Column/100726_089.html.

อ .พญ. กุลภา ศรี ส วั สดิ์ . ( 2553) . รอง เท า กีฬา คว าม เห มือน ท่ี แตกต า ง . สืบค นจาก

http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=491.

Books & Articles

Kotler, P. (1997). Marketing Management (9th ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall

Kotler, P., & Keller, K. L. (2012). Marketing Management (14th ed.). Englewood Cliffs,

NJ: Prentice-Hall

Armstrong, Gary and Kotler, Philip. (2009). Marketing An Introduction. 9th Edition.

N J: Pearson Education.

Etzel, M. J., Walker, B. J., & Stanton, W. J. (2001). Marketing. (12th ed.). Boston:

McGraw-Hill.

Page 95: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

ภาคผนวก

Page 96: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

79

ภาคผนวก ก

แบบสอบถาม

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS)

ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

คําช้ีแจง

แบบสอบถามนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาการคนควาอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาปจจัยท่ีมี

อิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และ

ปริมณฑล ขอมูลสวนบุคคลท่ีไดรับจากแบบสอบถามนั้นจะถูกเก็บรักษาเปนความลับ ซ่ึงการนําเสนอ

ขอมูลจะถูกนําเสนอในรูปของบทสรุปภาพรวมโดยไมมีการเปดเผยขอมูลสวนบุคคลแตอยางใด จึงใคร

ขอความรวมมือในการตอบแบบสอบถามนี้ตามความเปนจริงและครบถวนเพ่ือเปนประโยชนตอ

งานวิจัย และขอขอบพระคุณท่ีทานใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม มา ณ โอกาสนี้ดวย

แบบสอบถามแบงออกเปน 3 สวน ดังนี้

สวนท่ี 1 : แบบสอบถามเก่ียวกับพฤติกรรมการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS)

สวนท่ี 2 : แบบสอบถามขอมูลท่ีเก่ียวกับสวนประสมทางการตลาดท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทา

กีฬาอาดิดาส (ADIDAS)

สวนท่ี 3 : ขอมูลดานประชากรศาสตรของผูตอบแบบสอบถาม

สวนท่ี 1 แบบสอบถามเก่ียวกับพฤติกรรมการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS)

คําช้ีแจง กรุณาทําเครื่องหมาย () ลงในชองท่ีตรงกับขอมูลสวนตัวของทานมากท่ีสุด

(เลือกตอบเพียง 1 ขอ)

1. ทานผูตอบแบบสอบถามเคยซ้ือรองเทากีฬา ยี่หออาดิดาส (ADIDAS) ใชหรือไม

ใช ไม (จบแบบสอบถาม)

Page 97: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

80

2. ทานผูตอบแบบสอบถาม ศึกษา ทํางาน หรืออาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ใช

หรือไม

ใช ไม (จบแบบสอบถาม)

3. บุคคลท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ของทานมากท่ีสุด

เพ่ือน บุคคลในครอบครัว

แฟน พนักงานขายในรานคา

ตัดสินใจดวยตนเอง อ่ืน ๆ โปรดระบุ ...................

4. ทานไดรับขอมูลของรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ผานชองทางใดบอยท่ีสุด

พนักงานขายในรานคา นิตยสาร

อินเตอรเน็ต/ เว็บไซต โปสเตอร/ แผนพับ/ เอกสารแจก

วิทย ุ การบอกกลาวจากผูอ่ืน

โทรทัศน อ่ืน ๆ โปรดระบุ...................

5. ความถ่ีในการซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) บอยเพียงใด

ต่ํากวา 3 เดือนตอคู 3 - 6 เดือน ตอคู

7 – 9 เดือน ตอคู 10 – 12 เดือน ตอคู

2 ป ตอคู มากกวา 2 ป ตอคู

6. คาใชจายโดยเฉลี่ยในการซ้ือ รองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ตอรองเทา 1 คู

นอยกวา 1,000 บาท 1,000 – 1,500 บาท

1,501 – 2,000 บาท 2,001 – 2,500 บาท

2,501 – 3,000 บาท 3,001 – 3,500 บาท

มากกวา 3,500 บาท

7. ทานนิยมซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) จากรานคาประเภทใดมากท่ีสุด (โปรดระบุเพียง 1

ขอ)

แผนกกีฬาในหางสรรพสินคา เชน แผนก Supersports

รานขายรองเทา (นอกหางสรรพสินคา)

รานขายเครื่องแตงกายท่ัวไป (นอกหางสรรพสินคา)

รานขายอุปกรณกีฬา (นอกหางสรรพสินคา)

รานคาออนไลน

รานเฉพาะแบรนดอาดิดาส (ADIDAS)

อ่ืนๆ โปรดระบุ...................

Page 98: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

81

8. ทานซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) เพ่ือวัตถุประสงคใดมากท่ีสุด (โปรดระบุเพียง 1 ขอ)

เพ่ือเลนกีฬา / ออกกําลังกาย เพ่ือไปเท่ียว / เดินเลน

เพ่ือไปเรียน / ไปทํางาน ใสทุกครั้งท่ีออกจากบาน

อ่ืน ๆ โปรดระบุ...................

9. เหตุผลสําคัญท่ีทานเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) คือขอใด (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

ความคงทน แข็งแรง สวมใสกระชับ

รูปแบบทันสมัย ความสวยงาม

ราคาเหมาะสม รายการสงเสริมการขาย เชน สวนลด

หาซ้ือไดงาย รูปแบบไมเหมือนใคร

ชื่นชอบตราสินคา อ่ืนๆ โปรดระบุ...................

Page 99: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

82

สวนท่ี 2 ขอมูลเก่ียวกับปจจัยสวนประสมทางการตลาดท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(ADIDAS)

คําช้ีแจง ใหทานเลือกประเมินรองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS) ที่ทานซื้อลาสุด ตามปจจัยตางๆ

ตอไปนี้ วาทานเห็นดวยกับขอความตอไปนี้มากนอยเพียงใด โดยทําเครื่องหมาย () ลงในชอง

ท่ีตรงกับความเห็นของทานมากท่ีสุด

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS)

ระดับความเห็น

5

มากท่ีสุด

4

มาก

3

ปานกลาง

2

นอย

1

นอยท่ีสุด

ประเมิน

ไมได

1. ปจจัยดานผลิตภัณฑ

1.1 ตราสินคามีชื่อเสียง

1.2 มีคุณภาพ มีความทนทาน

1.3 มีรูปแบบใหเลือกท่ีหลากหลาย

1.4 มีสีสัน ลวดลายและรูปลักษณ

ภายนอกท่ีสวยงาม

1.5 วัสดุท่ีใชทํารองเทามีคุณภาพดี

1.6 มีความทันสมัย

1.7 มีน้ําหนักเบา

1.8 สวมใสสบายกระชับเทา

1.9 มีการระบายอากาศไดดี

1.10 มีนวัตกรรมการปองกันการ

บาดเจ็บ

2. ปจจัยดานราคา

2.1 ราคามีความเหมาะสมกับ

คุณภาพ

2.2 ราคามีความเหมาะสมกับรายไดผู

ซ้ือ

2.3 ราคามีความเหมาะสมกับยี่หอ

2.4 ราคาถูกกวาตรายี่หออ่ืนท่ีมี

ลักษณะใกลเคียงกัน

Page 100: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

83

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS)

ระดับความเห็น

5

มากท่ีสุด

4

มาก

3

ปานกลาง

2

นอย

1

นอยท่ีสุด

ประเมิน

ไมได

3. ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย

3.1 สถานท่ีจัดจําหนายอยูใกล

3.2 มีความสะดวกในการเดินทางไป

ซ้ือสินคา

3.3 มีสถานท่ีจัดจําหนายกระจายอยู

จํานวนมาก

4. ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด

4.1 มีกิจกรรมสงเสริมการขายอยาง

สมํ่าเสมอ เชน การลด แลก แจก

แถม

4.2 มีตัวอยางสินคาใหทดลองสวมใส

จํานวนมาก

4.3 มีการรับประกันความพอใจและ

สามารถเปลี่ยนสินคาไดโดยไมมี

เง่ือนไข

4.4 มีการโฆษณาท่ีนาสนใจ

4.5 มีพนักงานขายแนะนําสินคาอยาง

สมํ่าเสมอ

4.6 มีบริการหลังการขายท่ีนาพอใจ

4.7 มีการขายโดยผูกกับสโมสรกีฬา

ชื่อดัง

4.8 มี Presenter ท่ีนาสนใจ

5. ปจจัยดานดานบุคคล

5.1 พนักงานมีความรูและแนะนํา

สินคาไดดี

5.2 พนักงานมีความรวดเร็วในการ

ใหบริการ

Page 101: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

84

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจซ้ือ

รองเทากีฬาอาดิดาส (ADIDAS)

ระดับความเห็น

5

มากท่ีสุด

4

มาก

3

ปานกลาง

2

นอย

1

นอยท่ีสุด

ประเมิน

ไมได

5.3 พนักงานขายมีความสุภาพและ

มนุษยสัมพันธดี

6. ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ

6.1 มีการตกแตงรานท่ีสวยงาม

6.2 มีการจัดเรียงสินคาอยางเปน

ระเบียบและงายตอการเลือก

6.3 มีรูปแบบการจัดรานท่ีสะอาด

เรียบรอย

6.4 มีสถานท่ีจอดรถท่ีสะดวก

7. ปจจัยดานกระบวนการ

7.1 มีชองทางการชําระเงินท่ี

หลากหลาย

7.2 ข้ันตอนการชําระเงินมีความ

สะดวก

ระดับการตัดสินใจ

5

ซ้ือ

แนนอน

4

อาจจะซ้ือ

3

ไมแนใจ

2

อาจจะไมซ้ือ

1

ไมซ้ือ

แนนอน

8. ในการตัดสินใจซ้ือครั้งตอไป ทาน

จะเลือกซ้ือรองเทากีฬาอาดิดาส

(ADIDAS) หรือไม

ขอเสนอแนะของผูตอบแบบสอบถาม

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

Page 102: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

85

สวนท่ี 3 ขอมูลดานประชากรศาสตรของผูตอบแบบสอบถาม

คําช้ีแจง กรุณาทําเครื่องหมาย () ลงในชองท่ีตรงกับขอมูลสวนตัวของทานมากท่ีสุด

(เลือกตอบเพียง 1 ขอ)

18. เพศ

ชาย หญิง

19. อายุ

ต่ํากวา 20 ป 20 - 30 ป

31 - 40 ป 41 - 50 ป

มากกวา 50 ป

20. ระดับการศึกษาข้ันสูงสุด

ต่ํากวาปริญญาตรี ปริญญาตรี

ปริญญาโท หรือเทียบเทา สูงกวาปริญญาโท

21. อาชีพ

นักเรียน/ นักศึกษา รับราชการ

พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัท

ธุรกิจสวนตัว อาชีพอิสระ

แมบาน อ่ืนๆ โปรดระบุ…………………

22. รายไดเฉลี่ยตอเดือน

นอยกวา 10,000 บาท 10,000 - 20,000 บาท

20,001 - 30,000 บาท 30,001- 40,000 บาท

40,001 - 50,000 บาท มากกวา 50,000 บาท ข้ึนไป

-- ขอขอบพระคุณอยางสูงท่ีกรุณาสละเวลารวมมือในการตอบแบบสอบ --

Page 103: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

86

ภาคผนวก ข

รายละเอียดผลการวิเคราะหจากโปรแกรมสาเร็จรูป SPSS

ตารางท่ี ข.1

จํานวนปจจัยท่ีสกัดไดจากการวิเคราะหปจจัยและคาความแปรปรวนของตัวแปร อิสระท่ีสามารถ

อธิบายได

Com

pone

nt Initial Eigenvalues

Extraction Sums of Squared

Loadings

Rotation Sums of Squared

Loadings

Total % of

Variance

Cumulative

% Total

% of

Variance

Cumulative

% Total

% of

Variance

Cumulative

%

1 11.511 33.856 33.856 11.511 33.856 33.856 4.665 13.721 13.721

2 3.321 9.768 43.625 3.321 9.768 43.625 4.377 12.873 26.594

3 2.282 6.712 50.337 2.282 6.712 50.337 4.113 12.098 38.692

4 2.032 5.978 56.314 2.032 5.978 56.314 2.574 7.571 46.262

5 1.554 4.571 60.885 1.554 4.571 60.885 2.414 7.099 53.361

6 1.187 3.491 64.376 1.187 3.491 64.376 2.409 7.084 60.446

7 1.105 3.251 67.627 1.105 3.251 67.627 1.932 5.682 66.127

8 1.017 2.991 70.618 1.017 2.991 70.618 1.527 4.490 70.618

9 .900 2.646 73.264

10 .762 2.243 75.507

11 .716 2.105 77.612

12 .625 1.839 79.450

13 .596 1.753 81.203

14 .556 1.634 82.837

15 .496 1.459 84.296

16 .479 1.408 85.704

Page 104: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

87

ตารางท่ี ข.1

จํานวนปจจัยท่ีสกัดไดจากการวิเคราะหปจจัยและคาความแปรปรวนของตัวแปร อิสระท่ีสามารถ

อธิบายได (ตอ)

Com

pone

nt Initial Eigenvalues

Extraction Sums of Squared

Loadings

Rotation Sums of Squared

Loadings

Total % of

Variance

Cumulative

% Total

% of

Variance

Cumulative

% Total

% of

Variance

Cumulative

%

17 .451 1.327 87.031

18 .410 1.206 88.237

19 .404 1.187 89.424

20 .373 1.098 90.522

21 .337 .993 91.515

22 .327 .961 92.476

23 .309 .908 93.384

24 .292 .860 94.244

25 .266 .781 95.025

26 .242 .712 95.737

27 .229 .673 96.410

28 .209 .615 97.025

29 .202 .593 97.617

30 .194 .571 98.189

31 .180 .530 98.718

32 .173 .508 99.226

33 .156 .458 99.684

34 .107 .316 100.000

Extraction Method: Principal Component Analysis.

Page 105: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

88

ตารางท่ี ข.2

ปจจัยท่ีไดจากการวิเคราะหปจจัยและหมุนแกนแลว (Rotated Component Matrix)

Rotated Component Matrixa

Component

1 2 3 4 5 6 7 8

มีรูปแบบการจัดรานทีส่ะอาด เรียบรอย .839

มีการจัดเรียงสินคาอยางเปนระเบียบและ

งายตอการเลือก

.813

พนักงานมีความรวดเร็วในการใหบริการ .755

พนักงานขายมีความสุภาพและมนุษย

สัมพันธด ี

.735

มีการตกแตงรานที่สวยงาม .718

พนักงานมีความรูและแนะนําสนิคาไดด ี .715 .380

มีสถานที่จอดรถที่สะดวก .618 .360

สวมใสสบายกระชบัเทา .783

มีน้ําหนักเบา .747

วัสดุที่ใชทาํรองเทามีคุณภาพด ี .733

มีการระบายอากาศไดด ี .671 .439

มีคุณภาพ มีความทนทาน .622

มีรูปแบบใหเลือกที่หลากหลาย .592

มีความทันสมัย .539

มีสีสัน ลวดลาย .497 .350 .367

มีการรับประกันความพอใจและสามารถ

เปลี่ยนสนิคาไดโดยไมมีเงื่อนไข

.776

มีกิจกรรมสงเสริมการขายอยางสม่ําเสมอ .728

มีตัวอยางสนิคาใหทดลองสวมใสจํานวน

มาก

.694

Page 106: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

89

ตารางท่ี ข.2

ปจจัยท่ีไดจากการวิเคราะหปจจัยและหมุนแกนแลว (Rotated Component Matrix) (ตอ)

Rotated Component Matrixa

Component

1 2 3 4 5 6 7 8

มีนวัตกรรมการปองกันการบาดเจ็บ .474 .550

ราคาถูกกวาตรายี่หออ่ืนที่มีลักษณะ

ใกลเคียงกัน

.540 .448

สถานที่จดัจําหนายอยูใกล .818

มีสถานที่จดัจําหนายกระจายอยูจํานวน

มาก

.813

มีความสะดวกในการเดินทางไปซื้อสินคา .809

ราคามีความเหมาะสมกับยี่หอ .782

ราคามีความเหมาะสมกับคุณภาพ .700

ราคามีความเหมาะสมกับรายไดผูซื้อ .513 .589

มีการขายโดยผูกกับสโมสรกีฬาชื่อดัง .838

มี Presenter ที่นาสนใจ .728

มีบริการหลังการขายทีน่าพอใจ .388 .563

มีการโฆษณาทีน่าสนใจ .508 .519

มีพนักงานขายแนะนาํสนิคาอยาง

สม่ําเสมอ

.348 .448 .474

ข้ันตอนการชําระเงินมีความสะดวก .863

มีชองทางการชําระเงนิที่หลากหลาย .854

ตราสินคามีชื่อเสียง .651

Extraction Method: Principal Component Analysis.

Rotation Method: Varimax with Kaiser Normalization.

a. Rotation converged in 7 iterations.

Page 107: ป จจัยที่มีอิทธิพลต อการตัดสินใจซื้อรองเท ากีฬาอาดิดาส ...ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU... ·

90

ประวัติผูเขียน

ชื่อ นางสาววรรณภรณ สินาเจริญ

วันเดือนปเกิด 23 ตุลาคม 2532

วุฒิการศึกษา ปการศึกษา 2553 : บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการ)

เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน

ตําแหนงงาน Relation Manager บริษัท พอสสิเบิ้ลเวลท แอดไวเซอ

รี่ เซอรวิส จํากัด

ประสบการณทํางาน

ป 2558 – ปจจุบัน : Relation Manager บริษัท พอสสิ

เบิ้ลเวลท แอดไวเซอรี่ เซอรวิส จํากัด

ป 2557 – 2558 : Senior Consultant บริษัท ทีจีเอส

เอนไลทเทน บิซิเนส คอนซัลท จํากัด

ป 2553 – 2557 : ผูสอบทานสินทรัพยเสี่ยง (RAR)

ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)