รายงาน การติดต่อหา distributor...

15
1 หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนี (Finding your distributor in Germany) สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กรุงเบอร์ลิน ธันวาคม 2558 สถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน แม้ว่าเศรษฐกิจโลกจะดำาเนินไปอย่างยากลำาบากในปัจจุบัน และประเทศเยอรมนีประสบปัญหา เรื่อง ผู้อพยพลี้ภัย อีกทั้งเรื่องน่าอับอายของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ชื่อดัง Volkswagen หรือที่คนไทยรู้จัก กันดีในนาม รถโฟล์ค จากกรณีการผลิตรถยนต์ที่มีการติดตั้งซอฟท์แวร์ เพื่อโกงระดับควันพิษที่ปล่อย ออกมาของเครื่องยนต์ดีเซลซึ่งยังคงต้องรอติดตามสถานการณ์ต่อไป เพราะทางบริษัทอาจจะต้องจ่ายค่า ปรับสูงถึง 540,000 ล้านบาท 1 และก่อนหน้านี้ดัชนีการดำาเนินธุรกิจ Ifo ลดลงติดต่อกันหลายเดือน แต่ ในช่วงครึ่งปีหลังเศรษฐกิจของประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้นอีกครั้งในสามเดือนที่ผ่านมาและล่าสุดขึ้นมาอยู่ที108.5 จุด โดยมีปัจจัยหลัก 3 ปัจจัย ที่มาส่งเสริมการขยายตัว คือ 1) ราคาน้ำามันที่ต่ำาลงส่งผลผู้บริโภค มีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น 2) ค่าเงินยูโรที่อ่อนตัวลง ทำาให้บริษัทส่งออกต่างมีรายได้มากขึ้น และ 3) การเริ่มต้นใช้ค่าแรงขั้นต่ำาซึ่งทำาให้ประชากรส่วนหนึ่งของประเทศมีรายได้สูงขึ้น ทางรัฐบาลก็ เก็บภาษีรายได้มากขึ้นโดยอัตโนมัติ โดยมีการคาดการณ์ว่า รายได้ของครัวเรือนจะขยายตัวขึ้นร้อยละ 3.7 (2014: +2.7%) ทั้งนี้รัฐบาลเยอรมนีได้มีการลดค่าประเมิน GDP ของประเทศลงจาก +1.8% เป็น +1.7% และอัตราเงินเฟ้อของเดือนที่ผ่านมาจะอยู่ที่ 0% แต่รัฐบาลก็ยังเชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจไม่ถึงขั้นน่าเป็นห่วง เพราะดัชนีการจ้างงานล่าสุดสูงเป็นประวัติการณ์ และหลายสถาบันคาดการณ์ว่าการประกอบธุรกิจ ของเยอรมนี กับ EU และสหรัฐอเมริกาจะส่งผลให้เศรษฐกิจเยอรมนีแข็งแกร่งขึ้น ดังนั้น การส่งสินค้า ไทยออกมายังเยอรมนี ถึงแม้จะมีอัตราลดลง แต่ก็ยังเป็นตลาดใหญ่ที่น่าสนใจที่สุดแห่งหนึ่งในสหภาพ ยุโรป การส่งออกทำาได้ด้วยวิธีการต่างๆ กัน รวมถึงการหาตัวแทนจำาหน่าย หรือ distributor ในประเทศ เยอรมนี สมาคมตัวแทนจำาหน่ายของเยอรมนีได้จัดทำาคู่มือการหาตัวแทนจำาหน่ายในเยอรมนี ซึ่งผูประกอบการไทยสามารถศึกษาเพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ดังนีรายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนี 1 http://www.unlockmen.com/vw-clean-diesel-cheat/

Upload: others

Post on 23-Jan-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

1

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนี

(Finding your distributor in Germany)

สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กรุงเบอร์ลิน

ธันวาคม 2558

สถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน

แม้ว่าเศรษฐกิจโลกจะดำาเนินไปอย่างยากลำาบากในปัจจุบันและประเทศเยอรมนีประสบปัญหา

เรื่องผู้อพยพลี้ภัยอีกทั้งเรื่องน่าอับอายของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ชื่อดังVolkswagenหรือที่คนไทยรู้จัก

กันดีในนามรถโฟล์คจากกรณีการผลิตรถยนต์ที่มีการติดตั้งซอฟท์แวร์เพื่อโกงระดับควันพิษที่ปล่อย

ออกมาของเครื่องยนต์ดีเซลซึ่งยังคงต้องรอติดตามสถานการณ์ต่อไปเพราะทางบริษัทอาจจะต้องจ่ายค่า

ปรับสูงถึง540,000ล้านบาท1และก่อนหน้านี้ดัชนีการดำาเนินธุรกิจIfoลดลงติดต่อกันหลายเดือนแต่

ในช่วงครึ่งปีหลังเศรษฐกิจของประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้นอีกครั้งในสามเดือนที่ผ่านมาและล่าสุดขึ้นมาอยู่ที่

108.5จุดโดยมีปัจจัยหลัก3ปัจจัยที่มาส่งเสริมการขยายตัวคือ1)ราคาน้ำามันที่ต่ำาลงส่งผลผู้บริโภค

มีเงินเหลือเพื่อจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น2)ค่าเงินยูโรที่อ่อนตัวลงทำาให้บริษัทส่งออกต่างมีรายได้มากขึ้น

และ3)การเริ่มต้นใช้ค่าแรงขั้นต่ำาซึ่งทำาให้ประชากรส่วนหนึ่งของประเทศมีรายได้สูงขึ้นทางรัฐบาลก็

เก็บภาษีรายได้มากขึ้นโดยอัตโนมัติโดยมีการคาดการณ์ว่ารายได้ของครัวเรือนจะขยายตัวขึ้นร้อยละ

3.7(2014:+2.7%)

ทั้งนี้รัฐบาลเยอรมนีได้มีการลดค่าประเมินGDPของประเทศลงจาก+1.8%เป็น+1.7%

และอัตราเงินเฟ้อของเดือนที่ผ่านมาจะอยู่ที่0%แต่รัฐบาลก็ยังเชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจไม่ถึงขั้นน่าเป็นห่วง

เพราะดัชนีการจ้างงานล่าสุดสูงเป็นประวัติการณ์และหลายสถาบันคาดการณ์ว่าการประกอบธุรกิจ

ของเยอรมนีกับEUและสหรัฐอเมริกาจะส่งผลให้เศรษฐกิจเยอรมนีแข็งแกร่งขึ้นดังนั้นการส่งสินค้า

ไทยออกมายังเยอรมนีถึงแม้จะมีอัตราลดลงแต่ก็ยังเป็นตลาดใหญ่ที่น่าสนใจที่สุดแห่งหนึ่งในสหภาพ

ยุโรปการส่งออกทำาได้ด้วยวิธีการต่างๆกันรวมถึงการหาตัวแทนจำาหน่ายหรือdistributorในประเทศ

เยอรมนี

สมาคมตัวแทนจำาหน่ายของเยอรมนีได้จัดทำาคู่มือการหาตัวแทนจำาหน่ายในเยอรมนีซึ่งผู้

ประกอบการไทยสามารถศึกษาเพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไปดังนี้

รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีี

1http://www.unlockmen.com/vw-clean-diesel-cheat/

Page 2: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

2

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

ช่องทางการติดต่อหาบริษัทคู่ค้า

การติดต่อหาบริษัทคู่ค้าหรือตัวแทนจำาหน่ายที่เหมาะสมสามารถสรรหาได้หลายช่องทางเช่น

1.ค้นหาบริษัทตัวแทนจำาหน่ายหรือ/และประกาศโฆษณาในสิ่งพิมพ์หรือนิตยสารด้านธุรกิจ

เช่นH&VJournalที่ตีพิมพ์10ฉบับในหนี่งรอบปีเป็นต้น

2.ติดต่อผ่านทางฐานเว็บไซต์ที่www.handelsvertreter.deมีฐานข้อมูลของ6,678ตัวแทน

จำาหน่ายในประเทศเยอรมันและ5,775ตัวแทนจำาหน่ายในประเทศอื่นๆ2

3.ประสานงานไปยังCDHRegionalAssociationsที่มีสำานักงานถึง17แห่งทั่วประเทศและ

เว็บไซต์ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเฉพาะเจาะจงไปตามภูมิภาคของประเทศเยอรมนี

4.พบปะบริษัทตัวแทนจำาหน่ายที่งานแสดงสินค้าต่างๆเช่นงานAnugaที่เป็นงานแสดงสินค้า

ของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มระดับโลกมีผู้ร่วมแสดงสินค้ามากกว่า7,000รายและคู่ค้าเข้าชม

งานมากถึง154.462คนในปี20133

สรุปข้อมูลจากCDH

CentralvereinigungDeutscherWirtschaftsverbändefürHandelsvermittlungund

Vertriebe.V.หรือCDHคือสมาคมการค้ากลางของเยอรมนีที่มีสมาชิกเป็นตัวแทนการค้าและการจัด

จำาหน่ายก่อตั้งขึ้นในปีค.ศ.1902ตัวแทนการค้ามากกว่า48,000หน่วยงานและมีสมาชิกจากทุกกลุ่ม

การค้า

2http://www.handelsvertreter.de/en/index.html

3http://www.anuga.com/anuga/the-fair/facts-and-figures/index.php

Page 3: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

3

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

1. ความสำาคัญของตัวแทนการค้า (Commercial Agent)

ตัวแทนการค้าคือบริษัทอิสระที่มีความรู้เฉพาะทางด้านการขายและการจัดจำาหน่ายสินค้าทำา

หน้าที่แทนบริษัทคู่ค้าโดยได้รับมอบอำานาจจากคู่ค้าให้ทำาหน้าที่แทนตนในทุกขั้นตอนการขายทั้งหมด

เช่นระหว่างภาคอุตสาหกรรมกับภาคการค้าหรือระหว่างบริษัทใหญ่กับภาคค้าส่งหรือค้าปลีกเป็นต้น

ในเยอรมนียอดขายของตัวแทนจำาหน่ายรวมทั้งการขายในอุตสาหกรรมเดียวกันและการขายระหว่าง

อุตสาหกรรมมียอดรวมกันถึง180,000ล้านยูโรต่อปีโดย1ใน3ของการติดต่อทางธุรกิจของสินค้าใน

เยอรมันนีดำาเนินการผ่านบริษัทตัวแทนจำาหน่ายโดยเฉลี่ยแล้วแต่ละตัวแทนจำาหน่ายทำาหน้าที่แทน5.4

บริษัทคู่ค้าและ47%ของบริษัทตัวแทนการค้าของเยอรมนีทำาหน้าที่เป็นตัวแทนของบริษัทต่างชาติที่มี

ความสำาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ

ตัวแทนการค้าทำาหน้าที่ให้บริการด้านต่างๆแก่ลูกค้าดังต่อไปนี้

•พัฒนาตลาดสินค้าและบริการ

•ติดตามสถานการณ์ของตลาดและข้อมูลในภาคเศรษฐกิจ

•ให้คำาปรึกษาและฝึกอบรม

•บริการลูกค้า

•บริการเบ็ดเตล็ดเช่นเป็นตัวแทนในงานแสดงสินค้าและนิทรรศการต่างๆจัดทำาโครงการพิเศษ

เพื่อโฆษณาสินค้าจัดการข้อร้องเรียนจากลูกค้าและการบำารุงรักษาชั้นวางขายสินค้า

•การจัดเก็บสินค้าโลจิสติกส์และอื่นๆ

ดังนั้นตัวแทนการค้าสามารถช่วยผู้ผลิตได้ดังนี้

•เพิ่มศักยภาพทางการตลาดให้แก่ผู้ประกอบการ

•ขยายสู่ช่องทางตลาดใหม่ๆ

•ใช้ประโยชน์จากข้อมูลแนวโน้มการตลาดและภาวะการแข่งขัน

•ประหยัดต้นทุนคงที่ของการขาย(fixedsellingcosts)

•ใช้ประโยชน์จากบริการการกระจายสินค้า

•นำาแผนกลยุทธ์ทางการตลาดมาดำาเนินการกับผู้ซื้อ

•ชี้แจงรายละเอียดของสินค้าที่ต้องการคำาอธิบาย

•รักษาความสัมพันธ์กับลูกค้า

•เป็นหุ้นส่วนที่สามารถช่วยพัฒนาความคิดริเริ่มใหม่ๆและมีคำามั่นสัญญาที่ชัดเจน

Page 4: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

4

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

ข้อดีของการมีตัวแทนการค้า

I.ตัวแทนการค้ามีช่องทางการติดต่อทางการค้าทั้งในประเทศและระดับนานาชาติ

II.ตัวแทนการค้าให้การสนับสนุนและช่วยเหลือแก่ผู้ว่าจ้างที่ต้องการขยายธุรกิจสู่ตลาดใหม่ๆ

III.ตัวแทนการค้าให้บริการครบวงจร:ตั้งแต่ติดต่อหาลูกค้าดูแลลูกค้าและตอบคำาถามทางอีเมล

โทรศัพท์และที่งานแสดงสินค้าทั้งหมดพิจารณาและตอบรับข้อเสนอการค้าประสานงานเรื่อง

ธุรกรรมการขายติดตามสถานการณ์ของตลาดและคอยปรับปรุงข้อมูลเกี่ยวกับสาขาดูแลเรื่อง

การตลาดและการโฆษณาและอื่นๆ

IV.ตัวแทนการค้าไม่ได้รับเงินเดือนเหมือนพนักงานทั่วไปแต่จะได้เงินจากค่าคอมมิชชั่นจากการ

ขายที่ตกลงกันไว้ในสัญญาเพราะฉะนั้นตัวแทนการค้าทำาทุกอย่างเพื่อให้คุณประสบความสำาเร็จ

ซึ่งหมายความว่าตัวแทนการค้าจะได้รับค่าตอบแทนมากขึ้นตามลำาดับ“Yoursuccessismy

success”

2. หลักพื้นฐานทางกฎหมาย

ในมาตราที่84–92cของกฎหมายพาณิชย์ในประเทศเยอรมนี(Handelsgesetzbuchหรือ

HGB)ได้ครอบคลุมถึงสิทธิและหน้าที่ของบริษัทตัวแทนการค้าและตัวแทนการค้ารวมถึงเรื่องของสิทธิ์

ค่าตอบแทนของนายหน้าให้ตัวแทนการค้าตามหลักกฎหมายการยกเลิกสัญญากับบริษัทตัวแทนการค้า

สิทธิ์การร้องขอค่าชดเชยการเลิกจ้างและสิ่งเกี่ยวข้องอื่นๆทั้งนี้กฎหมายในประเทศเยอรมนีนั้นมีการ

วางพื้นฐานมาจากกฎระเบียบสหภาพยุโรป(ECRegulation)86/653/EWGซึ่งสอดคล้องกับกฎหมาย

15,7 

7,3 

16,9 

6,6 7,5 

21,2 

18,6 

6,2 

สัดส่วนของตัวแทนการค้าในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศเยอรมนี 

การก่อสร้าง  ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์, การรักษาสุขภาพ 

แฟชั่น, การกีฬา, อุปกรณ์  อาหาร, ไวน์, สุรา 

กระดาษ, บรรจุภัณฑ์, สำนักงาน  วัตถุดิบและชิ้นส่วนเพื่อการผลิต 

บ้านและของใช้ในบ้าน  เบ็ดเตล็ด 

บริษัทตัวแทนจำาหน่าย

ในประเทศสมาชิกใน

ยุโรปแต่รายละเอียด

ปลีกย่อยอาจจะต่างกัน

ในบางส่วน

Page 5: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

5

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

3. คำาจำากัดความในเชิงกฎหมาย

CommercialAgent:ตัวแทนการค้าคือตัวกลางที่มีอิสระและอำานาจในการเจรจาตัดสินใจ

เรื่องการติดต่อทางธุรกิจแทนบริษัทว่าจ้างซึ่งตัวกลางมีอิสระในการวางแผนและจัดตารางการทำางาน

เองตัวแทนการค้าไม่ได้จำากัดแค่บุคคลแต่รวมถึงบริษัทเอกชนต่างๆเช่นห้างหุ้นส่วนทั่วไป(OHG)ห้าง

หุ้นส่วนจำากัด(KG)บริษัทจำากัด(GmbH)บริษัทมหาชนจำากัด(AG)และลูกค้าในกรณีนี้คือผู้จัดซื้อทาง

พาณิชย์ไม่ใช่ผู้บริโภคโดยตรง

•Regionalagent:ในกรณีส่วนมากตัวแทนการค้าจะทำาหน้าที่เป็นตัวแทนระดับภูมิภาคด้วย

โดยตัวแทนระดับภูมิภาคมีหน้าที่พัฒนาดูแลและคอยให้ความสนับสนุนฐานลูกค้าในพื้นที่เฉพาะ

หรือกลุ่มลูกค้าเฉพาะที่ทำาการตกลงกันโดยได้รับค่าตอบแทนจากค่าคอมมิชชั่นจากธุรกรรมการ

ขายที่เกิดขึ้นในภูมิภาคถึงแม้ว่าตัวแทนระดับภูมิภาคอาจจะไม่ได้เกี่ยวข้องในการทำาธุรกรรม

โดยตรง(ตามมาตรา87ย่อหน้าที่2GermanCommercialCode(HGB))

•Soleagent:ตัวแทนการค้าที่ได้รับมอบอำานาจจากบริษัทว่าจ้างแต่เพียงผู้เดียวโดยบริษัทผู้ว่า

จ้างไม่สามารถดำาเนินการเองหรือมอบอำานาจให้การขายให้บุคคลหรือบริษัทอื่นในพื้นที่ที่ให้Sole

Agentได้

•Multiple-firmagent/one-firmagent:ตามทฤษฎีแล้วนั้นตัวแทนการค้าสามารถทำาหน้าที่

แทนบริษัทว่าจ้างหลายบริษัทได้(ตัวแทนหลายบริษัท)ทั้งนี่ทั้งนั้นตัวแทนการค้าไม่สามารถทำา

หน้าที่แทนบริษัทคู่แข่งที่มีผลประโยชน์ทางการค้าร่วมกันได้ยกเว้นกรณีที่มีการตกลงอนุญาตใน

สัญญาว่าจ้างอย่างไรก็ตามมีตัวแทนการค้าที่ทำาหน้าที่แทนบริษัทว่าจ้างที่เดียวเช่นกัน(ตัวแทน

ของหนึ่งบริษัท)

•Subagent:ตัวแทนการค้าย่อยในมาตราที่84ย่อหน้าที่3ของGermanCommercial

Code(HGB)ตัวแทนการค้าสามารถมอบอำานาจต่อให้แก่ผู้แทนการค้าย่อย(subagent)ให้

ดำาเนินการขายแทนตนได้

บริษัทว่าจ้าง 

(Principal) 

ตัวแทนการค้า 

(Commercial Agent) 

ลูกค้า 

(Customer) 

ตัวแทนการค้าย่อยคือตัวกลางอิสระที่ทำาหน้าที่เหมือนกับตัวแทนการค้าทั่วไป

Page 6: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

6

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

ตัวแทนการขายประเภทอื่น(SalesAgent)มีความแตกต่างจากตัวแทนการค้าดังนี้

นายหน้าซื้อขาย(CommercialBroker):ต่างกันที่นายหน้าจะจัดการเรื่องธุรกรรมการขาย

เฉพาะกิจและนายหน้าไม่มีความสัมพันธ์ทางสัญญากับผู้ประกอบการรายอื่นแต่ตัวแทนการค้า

จัดการทุกอย่างให้บริษัทว่าจ้าง

ผู้ค้าส่ง(Wholesaler):ต่างกันที่ผู้ค้าส่งซื้อสินค้าในนามและบัญชีของตนเองเพื่อที่จะขาย

สินค้าให้กับผู้ประกอบการอื่นๆแต่ตัวแทนการค้าดำาเนินการในนามและบัญชีของคนอื่นและเพื่อ

ขายให้อีกคนผู้ค้าส่งแตกต่างจากappointeddealerคือผู้ค้าส่งไม่จำาเป็นต้องผูกติดกับผู้ผลิต

เจ้าเดียว

ตัวแทนจำาหน่ายที่ได้รับเลือก(AppointedDealer):ต่างกันที่ตัวแทนจำาหน่ายทำาการขาย

ในนามของตนเองและเพื่อบัญชีของตนเองแม้ในบางกรณีตัวแทนจำาหน่ายจะมีสิทธิ์ตามกฎหมาย

เหมือนตัวแทนการค้าแต่ถ้ามีสัญญาผูกมัดที่ระบุว่าต้องรายงานชื่อของลูกค้าประจำาให้แก่ผู้ผลิต

สินค้าสิทธิ์ทางกฎหมายจะถือเป็นโมฆะ

พนักงานขายสัญจรที่ได้รับเงินเดือน(TravellingSalespersoninSalaried

Employment):ต่างกันที่พนักงานขายได้รับเงินเดือนและค่าคอมมิชชั่นเพิ่มเติมแต่ไม่มีอิสระ

ในการวางแผนและจัดตารางการทำางานเองเหมือนตัวแทนการค้าโดยพนักงานขายมีสิทธิ์ทาง

กฎหมายในการรับค่าคอมมิชชั่นเช่นเดียวกับตัวแทนการค้าแต่ไม่มีสิทธิ์ในการขอค่าชดเชย

ตัวแทนซื้อขาย(CommissionMerchant):ต่างกันที่ตัวแทนซื้อขายดำาเนินการต่อรองซื้อ

ขายในนามของตนเองเพื่อบัญชีซื้อขายของคนอื่นโดยทำาตามคำาสั่งของผู้อื่นเป็นครั้งๆไป(ตาม

กฎหมายมาตรา84ย่อหน้าที่2HGB)ตัวแทนซื้อขายทำาหน้าที่และตัดสินใจแทนบริษัทว่าจ้าง

ตามคำาสั่งซื้อโดยหลักการแล้วตัวแทนซื้อขายมีหน้าที่ดำาเนินการเพื่อค่าคอมมิชชั่นและสามารถ

ขยายความสัมพันธ์กับบริษัทว่าจ้างที่เป็นไปในลักษณะเดียวกับตัวแทนการค้าได้ในกรณ้นี้ก็ถือว่า

มีสิทธิทางกฎหมายเหมือนตัวแทนการค้ารวมถึงสิทธิ์ในการขอค่าชดเชยอีกด้วย(ตามกฎหมาย

มาตรา89bHGB)

แฟรนไชส์(Franchising):เป็นลักษณะการให้สัมปทานจากFranchiseeในรูปแบบสัญญา

ระยะยาวที่ผ็รับสัมปทานในแบบFranchiseหรือFranchiseeยังมีสถานะที่เป็นอิสระทาง

กฎหมายFranchiseeจะได้รับมอบอำานาจจากFranchiserในการทำาการตลาดและส่งมอบ

สินค้า/บริการโดยใช้ชื่อของFranchiserเครื่องหมายการค้าการออกแบบบรรจุภัณฑ์สิทธิความ

คุ้มครองต่างๆรวมทั้งวิธีการบริหารจัดการวิธีการด้านเทคนิคเฉพาะทางทั้งนี้ในกรณีมีข้อผูกมัด

ทางสัญญาคล้ายกับความสัมพันธ์ของตัวแทนการค้าผู้รับสิทธิการจำาหน่ายแต่ผู้เดียวมีสิทธิทั่วไป

และสามารถขอค่าชดเชยเหมือนกับตัวแทนการค้าตามกฎหมายมาตรา89bHGB

Page 7: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

7

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

4. หน้าที่ในการขึ้นทะเบียน

ตามกฎหมายมาตรา86aของGermanCommercialCodeตัวแทนการค้ามีหน้าที่ไปขึ้น

ทะเบียนที่สถานที่ราชการส่วนท้องถิ่น/หน่วยงานที่ดูแลด้านการค้าที่ตนพักอาศัยอยู่เพื่อรายงานการ

เคลื่อนไหวทางการค้าและอาจจะต้องจดทะเบียนการค้าเฉพาะกรณีที่ยอดรวมของธุรกรรมการขายถึง

เกณฑ์ที่กำาหนดทั้งนี้ขึ้นอยู่กับมูลค่าการซื้อขายสินค้าระดับของค่าคอมมิชชั่นและอื่นๆเป็นต้น

5. แบบฟอร์มการทำาสัญญา

สัญญาจ้างไม่มีแบบฟอร์มตายตัวซึ่งหมายความว่าอาจจะเป็นสัญญาปากเปล่าจดหมาย

โต้ตอบหรือแม้แต่การปิดการซื้อขาย(เช่นหลังจากมีการซื้อซ้ำา)นำามาใช้เป็นข้อสรุปสุดท้ายอย่างไร

ก็ตามคู่สัญญาสามารถเรียกร้องให้มีการบันทึกรายละเอียดเป็นลายลักษณ์อักษรและลงนามจากอีกผ่าย

ได้(มาตราที่85HGB)ถึงจะมีเสรีในการร่างข้อตกลงกับตัวแทนการค้าแต่กฎหมายพาณิชย์ในประเทศ

เยอรมนีปกป้องสิทธิ์ของผู้แทนการค้าและไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้คือ

มาตราที่ 85 สิทธิ์ในการขอสัญญาจ้างเป็นลายลักษณ์อักษร

มาตราที่ 86 ย่อหน้า 1-2

ภาระหน้าที่ของตัวแทนการค้าในการรายงานผู้ว่าจ้างและส่งเสริมสิ่งที ่ ผู้ว่าจ้างต้องการ

มาตราที่ 86 a ย่อหน้า 1-2

ภาระหน้าที่ของบริษัทผู้ว่าจ้างในการรายงาน และให้ความสนับสนุนแก่ตัวแทนการค้า

มาตราที่ 86 b ย่อหน้า 1

สิทธิ์ของตัวแทนการค้าในการรับค่าคอมมิชชั่น และเรียกร้องที่จะมีข้อตกลงเรื่องการจ่ายเงินเป็นลายลักษณ์อักษร

มาตราที่ 87 a ย่อหน้า 1

สิทธิ์ในการเบิกค่าใช้จ่ายล่วงหน้าและค่าคอมมิชชั่นบางส่วน

มาตราที่ 87 a ย่อหน้า 2

การเสียค่าคอมมิชชั่นในกรณีที่บุคคลที่สามไม่ปฏิบัติตามสัญญา

มาตราที่ 87 a ย่อหน้า 3

สิทธิ์ในการรับค่าคอมมิชชั่นแม้ในกรณีที่ไม่มีการซื้อขาย

มาตราที่ 87 a ย่อหน้า 4

วันครบกําหนดของสิทธิ์การรับค่าคอมมิชชั่น

มาตราที่ 87 c สิทธิ์ในการรับใบแจ้งยอดคอมมิชชั่น ใบแจ้งยอดในบัญชี ข้อมูลและการตรวจบันทึกบัญช ี

มาตราที่ 88 a การขอสละสิทธิต์ามกฎหมายในการไม่ทําการค้า โดยต้องแจ้งล่วงหน้า

มาตราที่ 89 ย่อหน้า 1

ระยะเวลาขั้นต่ําในการยกเลิกสัญญา

มาตราที่ 89 ย่อหน้า 2

การไม่ยอมรับการบอกยกเลิกสัญญาในระยะเวลาที่กระชั้นเกินไปจากผู้จ้าง

มาตราที่ 89 a การไม่ยอมรับการจํากัดสิทธิ์หรือการไม่ให้สิทธิ์ในการยกเลิกสัญญาจากบริษัทผู้ว่าจ้าง

มาตราที่ 89 b การขอค่าชดเชย

มาตราที่ 90 a กฎระเบียบเพิ่มเตมิเกี่ยวกับข้อตกลงเรื่องการแขง่ขัน

มาตราที่ 92 a ข้อจํากัดขั้นต่ําในสัญญาด้านบทบาทหน้าที่ของผู้ว่าจ้างที่มีต่อตัวแทนการค้าหนึ่งบริษัท

Page 8: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

8

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

มาตราที่ 85 สิทธิ์ในการขอสัญญาจ้างเป็นลายลักษณ์อักษร

มาตราที่ 86 ย่อหน้า 1-2

ภาระหน้าที่ของตัวแทนการค้าในการรายงานผู้ว่าจ้างและส่งเสริมสิ่งที ่ ผู้ว่าจ้างต้องการ

มาตราที่ 86 a ย่อหน้า 1-2

ภาระหน้าที่ของบริษัทผู้ว่าจ้างในการรายงาน และให้ความสนับสนุนแก่ตัวแทนการค้า

มาตราที่ 86 b ย่อหน้า 1

สิทธิ์ของตัวแทนการค้าในการรับค่าคอมมิชชั่น และเรียกร้องที่จะมีข้อตกลงเรื่องการจ่ายเงินเป็นลายลักษณ์อักษร

มาตราที่ 87 a ย่อหน้า 1

สิทธิ์ในการเบิกค่าใช้จ่ายล่วงหน้าและค่าคอมมิชชั่นบางส่วน

มาตราที่ 87 a ย่อหน้า 2

การเสียค่าคอมมิชชั่นในกรณีที่บุคคลที่สามไม่ปฏิบัติตามสัญญา

มาตราที่ 87 a ย่อหน้า 3

สิทธิ์ในการรับค่าคอมมิชชั่นแม้ในกรณีที่ไม่มีการซื้อขาย

มาตราที่ 87 a ย่อหน้า 4

วันครบกําหนดของสิทธิ์การรับค่าคอมมิชชั่น

มาตราที่ 87 c สิทธิ์ในการรับใบแจ้งยอดคอมมิชชั่น ใบแจ้งยอดในบัญชี ข้อมูลและการตรวจบันทึกบัญช ี

มาตราที่ 88 a การขอสละสิทธิต์ามกฎหมายในการไม่ทําการค้า โดยต้องแจ้งล่วงหน้า

มาตราที่ 89 ย่อหน้า 1

ระยะเวลาขั้นต่ําในการยกเลิกสัญญา

มาตราที่ 89 ย่อหน้า 2

การไม่ยอมรับการบอกยกเลิกสัญญาในระยะเวลาที่กระชั้นเกินไปจากผู้จ้าง

มาตราที่ 89 a การไม่ยอมรับการจํากัดสิทธิ์หรือการไม่ให้สิทธิ์ในการยกเลิกสัญญาจากบริษัทผู้ว่าจ้าง

มาตราที่ 89 b การขอค่าชดเชย

มาตราที่ 90 a กฎระเบียบเพิ่มเตมิเกี่ยวกับข้อตกลงเรื่องการแขง่ขัน

มาตราที่ 92 a ข้อจํากัดขั้นต่ําในสัญญาด้านบทบาทหน้าที่ของผู้ว่าจ้างที่มีต่อตัวแทนการค้าหนึ่งบริษัท

ดังนั้นหากมีการนำาสัญญามาตรฐานมาใช้เช่นสัญญาสองภาษาที่ตีพิมพ์โดยสมาคมวิชาชีพ

เป็นต้นจะต้องตรวจสอบให้สอดคล้องกับมาตรา305–310ของประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมันซึ่งมี

ใจความเกี่ยวกับการร่างสัญญาทางธุรกิจโดยเฉพาะ

สัญญามาตรฐาน2ภาษาเช่นภาษาอังกฤษ-เยอรมันฝรั่งเศส-เยอรมันอิตาเลี่ยน-เยอรมันที่

เป็นไปตามกฎหมายล่าสุดสามารถเข้าไปดูได้ในwww.shop.cdh24.de

6.บทบาทหน้าที่ของตัวแทนการค้า

ภาระหน้าที่ของตัวแทนการค้าได้ถูกกำาหนดไว้ในกฎหมายมาตราที่86HGBคือการติดต่อ

จัดหาผู้ซื้อตัดสินใจในเรื่องธุรกิจปกป้องผลประโยชน์ของบริษัทผู้ว่าจ้างและสื่อสารข้อมูลที่จำาเป็นกับ

บริษัทผู้ว่าจ้างรวมถึงภาระหน้าที่ซึ่งต่อยอดมาจากการปกป้องผลประโยชน์ของบริษัทผู้ว่าจ้างเช่นการ

เก็บรักษาข้อมูลเป็นความลับการจำากัดการแข่งขันและการสร้างความน่าเชื่อถือเป็นต้น

7. บทบาทหน้าที่ของบริษัทว่าจ้าง

ตามกฎหมายมาตราที่86aHGBบริษัทว่าจ้างก็มีภาระหน้าที่มากมายเช่นเรื่องการจ่ายค่า

ตอบแทนให้แก่ตัวแทนการค้าอย่างเหมาะสมการมอบหมายเอกสารที่จำาเป็นในการทำาการขายให้แก่

ตัวแทนการค้าบริษัทว่าจ้างก็มีหน้าที่ดูแลผลประโยชน์โดยการให้ความสนับสนุนตัวแทนการค้าในการ

ทำาธุรกิจถึงแม้จะเป็นงานที่มอบหมายให้ทำาเป็นพิเศษและต้องปล่อยวางทุกเรื่องที่อาจจำากัดการทำางาน

ของตัวแทนการค้า

Page 9: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

9

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

8. ค่าคอมมิชชั่น

โดยปกติแล้วตัวแทนการค้าจะได้รับค่าตอบแทนจากการเป็นบุคคลกลางติดต่อธุรกิจให้บริษัท

ว่าจ้างกับลูกค้าสำาเร็จเช่นเป็นอัตราร้อยละจากยอดการขายเป็นต้นโดยกฎหมายมาตรา87ย่อหน้า

ที่1HGBได้ระบุว่าต้องมีการจ่ายค่าคอมมิชชั่นในกรณีที่ตัวแทนการค้าดำาเนินการสำาเร็จทั้งนี้ค่า

คอมมิชชั่นถือเป็นต้นทุนแปรผันของบริษัทผู้ว่าจ้างขึ้นอยู่กับยอดขายเมื่อเปรียบเทียบกับการขายรูป

แบบอื่นบริษัทต้องจ่ายต้นทุนคงที่ของการขายแม้จะดำาเนินการขายไม่สำาเร็จ

อย่างไรก็ตามตัวแทนการค้าจะได้รับค่าคอมมิชชั่นต่อเมื่อบริษัทผู้ว่าจ้างรับการสั่งซื้อสินค้า

ในกรณีที่บริษัทว่าจ้างไม่สามารถดำาเนินการขายตามที่ได้ตกลงกันไว้เนื่องมาจากเหตุที่บริษัทว่าจ้างไม่

สามารถควบคุมได้จะส่งผลให้สิทธิ์ในการรับค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้าถือเป็นโมฆะ

ในกรณีที่บริษัทผู้ว่าจ้างมีการซื้อขายกับลูกค้าที่ตัวแทนการขายเคยเป็นคนติดต่อให้หลังจากการ

ซื้อขายครั้งแรกแล้วนั้นบริษัทว่าจ้างยังคงต้องจ่ายค่าคอมมิชชั่นซ้ำาให้แก่ตัวแทนการขายและตัวแทน

การขายมีสิทธิ์ในการรับค่าคอมมิชชั่นจากการขายจากบริษัทที่ได้รับมอบหมายหรือที่อยู่ในภูมิภาคถึง

แม้ว่าจะไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการขายโดยตรงก็ตาม

ส่วนในเรื่องของค่าคอมมิชชั่นนั้นไม่มีอัตราตายตัวขึ้นอยู่กับการเจรจาระหว่างบุคคลแต่ใน

กรณีที่ไม่ได้มีการตกลงกันไว้ก่อนตามที่กฎหมายมาตรา87bย่อหน้าที่1HGBอัตราปกติจะถูกนำามา

ใช้เป็นข้อสรุปแทนอย่างไรก็ตามตัวแทนการค้าอาจจะได้รับเงินค่าจ้างประจำาหรือค่าตอบแทนอื่นๆเพิ่ม

เติมจากค่าคอมมิชชั่นขึ้นอยู่กับข้อตกลงที่ทำาไว้ด้วยก็ได้

9. เงื่อนไขการทำาสัญญา

การจัดการเรื่องการประสานงานระบุอยู่ในสัญญารวมถึงรายละเอียดเรื่องปลีกย่อยเช่นภูมิภาค

ของกลุ่มลูกค้าที่ต้องการพัฒนาอัตราค่าคอมมิชชั่นหน้าที่ความรับผิดชอบของตัวแทนการค้าเป็นต้น

โดยมีกฎหมายพาณิชย์ในประเทศเยอรมนีกำาหนดและปกป้องสิทธิเรื่องการยกเลิกสัญญาและการขอค่า

ชดเชย

10. การยกเลิกสัญญา

สัญญาจะถูกยกเลิกต่อเมื่อ

•สัญญาครบกำาหนด

•บริษัทว่าจ้างล้มละลาย(แต่ไม่ถูกยกเลิกในกรณีที่ตัวแทนการค้าล้มละลาย)

•ทั้งสองฝ่ายตกลงกันที่จะยกเลิกสัญญา

Page 10: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

10

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

•โดยมีการแจ้งให้ทราบล่วงหน้าตามกฎหมายเพราะในกรณีที่ไม่มีกำาหนดยุติสัญญาตาม

กฎหมายมาตราที่89ย่อหน้า1HGBได้กำาหนดเวลาไว้ดังนี้

oระหว่างปีที่1ของปีสัญญา ต้องแจ้งล่วงหน้าก่อน1เดือน

oระหว่างปีที่2ของปีสัญญา ต้องแจ้งล่วงหน้าก่อน2เดือน

oระหว่างปีที่3ของปีสัญญา ต้องแจ้งล่วงหน้าก่อน3เดือน

oตั้งแต่ปีที่6ของปีสัญญา ต้องแจ้งล่วงหน้าก่อน6เดือน

การแจ้งความประสงค์ที่จะยุติสัญญาต้องส่งตอนสิ้นเดือนปฏิทินเท่านั้นอาจจะมีการต่อเวลา

ยกเลิกสัญญาได้แต่เวลาแจ้งของบริษัทว่าจ้างต้องไม่สั้นกว่าเวลาของตัวแทนการค้า

•การยกเลิกสัญญาโดยไม่แจ้งล่วงหน้ากรณีที่มีเหตุอันสมควร(อ้างอิงถึงกฎหมายมาตรา89a

HGB)ในกรณีนี้คู่สัญญาไม่ต้องรอจนกว่าสัญญาจะหมดอายุ

•ตัวแทนการค้าเสียชีวิตในกรณีที่ตัวแทนการค้าเป็นรูปแบบบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนจะไม่ถือว่า

เป็นการยกเลิกสัญญาเพราะการตายของผู้ถือหุ้นคนใดคนหนึ่งจะไม่มีผลต่อการยุติสัญญาจ้าง

เช่นเดียวกับกรณีที่บริษัทว่าจ้างเสียชีวิตสัญญาจะไม่ถูกยกเลิกโดยอัตโนมัติ

11. การเรียกร้องค่าชดเชย

เมื่อความสัมพันธ์ตามสัญญาสิ้นสุดลงตัวแทนการค้าสามารถยื่นเรียกร้องค่าชดเชยได้ตาม

กฎหมายมาตราที่89bHGBซึ่งเป็นค่าชดเชยสำาหรับฐานลูกค้าและเครือข่ายที่ตัวแทนการค้าเป็นผู้

สร้างขึ้นมาและเมื่อหมดสัญญาก็จะตกเป็นของบริษัทว่าจ้างซึ่งต้องมีเงื่อนไขครบดังนี้

• การยกเลิกสัญญา

ต้องมีการยกเลิกสัญญาแม้สาเหตุของการยกเลิกสัญญานั้นไม่สมเหตุผลดังนั้นการยกเลิกสัญญา

โดยถ้าทั้งสองฝ่ายยินยอมหรือตัวแทนการค้าเสียชีวิตลงทำาให้ให้มีสิทธิ์เรียกร้องค่าชดเชยและใน

กรณีหลังนี้สิทธิ์จะตกเป็นของทายาทของตัวแทนการค้า

อย่างไรก็ตามตัวแทนการค้าจะไม่มีสิทธิ์เรียกร้องค่าชดเชยถ้าเขาเป็นคนขอยกเลิกสัญญาเอง

ยกเว้นกรณีที่บริษัทว่าจ้างเป็นต้นเหตุ(เช่นบริษัทว่าจ้างลดเขตการทำาธุรกิจของตัวแทนการค้า

หรือบริษัทว่าจ้างจ่ายค่าคอมมิชชั่นช้าเป็นประจำา)แต่สิทธ์เรียกร้องค่าชดเชยจะคงอยู่ถ้าตัวแทน

การค้ามีเหตุขอยกเลิกสัญญาเนื่องมาจากการเกษียณอายุ(ตั้งแต่65ปีขึ้นไป)หรือปัญหาทาง

สุขภาพทั้งนี้ตัวแทนการค้าจะไม่ได้รับสิทธิเรียกร้องค่าชดเฉยในกรณีที่บริษัทว่าจ้างมีเหตุผลอัน

สมควรในการยกเลิกสัญญา(เช่นตัวแทนการค้าไปเป็นตัวแทนจำาหน่ายสินค้าของคู่แข่ง)

ตามมาตรา89bย่อหน้าที่3ลำาดับที่3HGBระบุว่าไม่มีการชดเชยค่าเสียหายถ้าบุคคลที่3

Page 11: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

11

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

ซึ่งเป็นผู้สืบตำาแหน่งตัวแทนการค้าถือเอาสิทธิทางสัญญาและความรับผิดชอบของตัวแทนการ

ค้าแทนจากข้อตกลงระหว่างบริษัทว่าจ้างและตัวแทนการค้าที่เกษียนแล้วโดยไม่สามารถทำาข้อ

ตกลงนี้ก่อนจะยกเลิกสัญญา

• ข้อได้เปรียบของบริษัทว่าจ้าง

โดยหลังจากการยกเลิกสัญญาบริษัทว่าจ้างจะต้องมีการได้รับผลประโยชน์จากลูกค้าจากเครือ

ค่ายที่ตัวแทนการค้าได้เคยติดต่อไว้ดังนั้นผลประโยชน์ที่บริษัทว่าจ้างได้รับเป็นองค์ประกอบ

สำาคัญของเกณฑ์การคำานวณค่าชดเชย

ดังนั้นต้องถือรวมผลประโยชน์ที่บริษัทว่าจ้างได้รับจากกำาไรของผู้ประกอบการที่เพิ่มขึ้นในทุกๆ

ด้านซึ่งหมายถึงการเพิ่มมูลค่าของทุนที่บริษัทว่าจ้างสามารถคาดการณ์ได้เนื่องจากเครือค่าย

ธุรกิจที่ตัวแทนการค้าได้สร้างไว้มาเป็นเกณฑ์การคำานวณค่าชดเชยและให้ถือว่ามีการทำาธุรกิจ

กับลูกค้าใหม่ๆซึ่งหมายความว่าต้องมีการจัดทำาพยากรณ์ธุรกิจเพื่อที่จะได้ดูภาพรวมของผล

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการสั่งซื้อสินค้าซ้ำาและติดตามการสั่งซื้อของฐานลูกค้าที่ตัวแทน

การค้าได้สร้างไว้

ในที่นี้ลูกค้าใหม่หมายถึงลูกค้าที่ไม่เคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทว่าจ้างมาก่อนที่

ตัวแทนการค้าจะเริ่มทำากิจกรรมและลูกค้าที่ตัวแทนการค้ารับมอบต่อมาอีกทีแต่ได้ประสานงาน

และพัฒนาขยายความสัมพันธ์ทางการค้าด้วย

• ความเที่ยงธรรม โดยเฉพาะการสูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้า

การจ่ายค่าชดเชยเป็นไปตามหลักการของความเที่ยงธรรมโดยคำานึงถึงสถานการณ์ต่างๆการ

สูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้านับเป็นหนึ่งจากหลายๆมุมมองของการคิดพิจารณาเรื่อง

ความเที่ยงธรรมและปัจจัยเหล่านี้ไม่ใช่เงื่อนไขความจำาเป็นพื้นฐาน

ดังนั้นยอดค่าชดเชยอาจจะสูงกว่าค่าเสียหายจากการสูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้า

จากกรณีที่มีการยกเลิกสัญญาซึ่งปัจจัยนี้สำาคัญมากสำาหรับตัวแทนการค้าที่มีรายได้จากระบบ

คอมมิชชั่นอย่างในกรณีที่ตามสัญญาระบุว่าตัวแทนการค้าจะได้รับค่าคอมมิชชั่นจากการซื้อขาย

ครั้งแรกเพียงครั้งเดียวหรือกรณีที่อัตราค่าคอมมิชชั่นจากการสั่งซื้อสินค้ารอบต่อๆไปต่ำาลงกว่า

อัตราเดิมเพราะฉะนั้นจะต้องมีการถือรวมค่าเสียหายนี้ในค่าชดเชยด้วย

นอกจากนี้ยังมีมุมมองประการอื่นๆซึ่งอาจจะทำาให้มีสิทธิ์ในการรับค่าชดเชยสูงขึ้นหรือลดลง

ปัจจัยอื่นๆที่ส่งผลให้มีโอกาสลดลงเช่นแผนเงินบำานาญจากบริษัทผู้ว่าจ้างการกระทำาที่ละเมิด

สัญญาของตัวแทนการค้าเงื่อนไขสัญญาที่อำานวยประโยชน์หรือค่าใช้จ่ายในการโฆษณาสินค้า

Page 12: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

12

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

ของบริษัทว่าจ้างที่สูงส่วนปัจจัยอื่นๆที่ส่งผลให้มีโอกาสในการรับค่าชดเชยมากขึ้นเช่นค่าใช้

จ่ายในการนำาเสนอสินค้าสูงขึ้นพฤติกรรมของบริษัทว่าจ้างที่ขัดกับสัญญาหรือค่าเฉลี่ยย่อยของ

คอมมิชชั่น

การคำานวณค่าชดเชย

☞ ขั้นแรก–ค่าชดเชยมวลรวม(GrossIndemnity)

การคำานวณค่าชดเชยมวลรวมมี3ขั้นตอนแล้วต้องมีปัจจัยเงื่อนไขตามที่ได้กล่าวไว้ขั้นต้นคือ

การยกเลิกสัญญาผลประโยชน์จำานวณหนึ่งแก่บริษัทว่าจ้างและความเที่ยงธรรม

1)หลักการคำานวณค่าชดเชยมวลรวมจะนำาค่าคอมมิชชั่นที่ตัวแทนการค้าได้รับใน12เดือนที่ผ่าน

มาเป็นพื้นฐานโดยค่าคอมมิชชั่นนี้มาจากการกำาหนดสั่งซื้อสินค้าและการซื้อขายสินค้าที่สมบูรณ์

แล้วเท่านั้นตราบใดที่ค่าคอมมิชชั่นส่วนนี้มาจากฐานลูกค้าใหม่หรือลูกค้าเก่าที่ตัวแทนการค้า

พัฒนาสัมพันธ์ทางการค้าอย่างแน่นแฟ้นด้วย

2)หลังจากการคำานวณค่าชดเชยมวลรวมเสร็จก็ต้องมีการกำาหนดกรอบเวลาที่ตัวแทนการค้าควร

จะได้รับผลประโยชน์จากลูกค้าที่เขาเป็นคนประสานไว้โดยปกติแล้วจะอยู่ในระยะเวลา3-5ปี

3)ต้องมีการคิดพิจารณาถึงระดับจำานวนลูกค้าที่อาจผันแปรดังนั้นจึงต้องมีการถือรวมอัตราส่วน

ของลูกค้าที่เลิกใช้บริการ(ChurnRate)ด้วย

จากหลักการนี้สามารถคิดคำานวณค่าเสียหายจากการสูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้าดังนี้

ค่าเสียหายจากการสูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้า 

หลังจากการยกเลิกสัญญาในปีแรก 

รายได้จากค่าคอมมิชชั่นทั้งหมดที่ตัวแทนการค้าได้รับภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา หักอัตราส่วนของลูกค้าที่เลิกใช้

บริการ 

ค่าเสียหายจากการสูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้า 

หลังจากการยกเลิกสัญญาในปีที่ 2  

ยอดค่าเสียหายจากการสูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้า 

หลังจากการยกเลิกสัญญาในปีแรก หักอัตราส่วนของลูกค้าที่เลิกใช้บริการ 

ค่าเสียหายจากการสูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้า 

หลังจากการยกเลิกสัญญาในปีที่ 3 และปีต่อๆไป  

ยอดค่าเสียหายในปีก่อนหน้านี้ หักอัตราส่วนของลูกค้าที่เลิกใช้บริการ 

Page 13: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

13

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

ค่าเสียหายจากการสูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้า 

หลังจากการยกเลิกสัญญาในปีแรก 

รายได้จากค่าคอมมิชชั่นทั้งหมดที่ตัวแทนการค้าได้รับภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา หักอัตราส่วนของลูกค้าที่เลิกใช้

บริการ 

ค่าเสียหายจากการสูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้า 

หลังจากการยกเลิกสัญญาในปีที่ 2  

ยอดค่าเสียหายจากการสูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้า 

หลังจากการยกเลิกสัญญาในปีแรก หักอัตราส่วนของลูกค้าที่เลิกใช้บริการ 

ค่าเสียหายจากการสูญเสียค่าคอมมิชชั่นของตัวแทนการค้า 

หลังจากการยกเลิกสัญญาในปีที่ 3 และปีต่อๆไป  

ยอดค่าเสียหายในปีก่อนหน้านี้ หักอัตราส่วนของลูกค้าที่เลิกใช้บริการ 

ตัวอย่าง:

กรณีค่าคอมมิชชั่นในปีสุดท้ายของสัญญาว่าจ้าง=€50,000

ปีที่1หลังจากการยกเลิกสัญญา €50,000x20% = €40,000

ปีที่2หลังจากการยกเลิกสัญญา €40,000x20% = €32,000

ปีที่3หลังจากการยกเลิกสัญญา €32,000x20% = €25,600

ปีที่4หลังจากการยกเลิกสัญญา €25,600x20% = €20,480

ปีที่5หลังจากการยกเลิกสัญญา €20,480x20% = €16,384

รวมทั้ง5ปี = €134,464

ส่วนลดอัตราคงที่x10% = €13,446

รวมทั้งสิ้น = €121,018

☞ขั้นที่สอง–ยอดชดเชยสูงสุด(MaximumAccount)

อย่างไรก็ตามจำานวณเงินค่าชดเชยนั้นมีขีดจำากัดยอดรวมค่าชดเชยจะต้องไม่สูงกว่าค่า

คอมมิชชั่นเฉลี่ยรายปีซึ่งคำานวณจากค่าคอมมิชชั่นเฉลี่ยของตัวแทนการค้าภายใน5ปีที่ผ่านมาหรือใน

กรณีที่สัญญาจ้างสั้นกว่านั้นก็คำานวณจากค่าคอมมิชชั่นเฉลี่ยของทุกปีรวมกันทั้งนี้ต้องมีการคิดรวมค่า

ตอบแทนในรูปแบบอื่นๆที่ตัวแทนการค้าได้รับมาคำานวณในยอดชดเชยสูงสุดด้วย(เช่นค่าคอมมิชชั่น

อื่นๆการถือหุ้นหรือการบริการหลังการขาย)นอกจากนี้จะไม่มีการแยกค่าคอมมิชชั่นเป็นหมวดย่อย

เช่นค่าคอมมิชชั่นที่ได้มาจากบัญชีของลูกค้าใหม่จากบัญชีของลูกค่าเก่าหรือยอดจากการซื้อขายใน

ภูมิภาคที่ตัวแทนการค้าไม่มีส่วนร่วมโดยตรงทั้งหมดนี้ถือรวมเป็นค่าคอมมิชชั่นทั้งหมด

Page 14: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

14

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

ตัวอย่าง:

ยอดรวมค่าคอมมิชชั่นรายปี5ปีที่แล้ว = €40,000

ยอดรวมค่าคอมมิชชั่นรายปี4ปีที่แล้ว = €75,000

ยอดรวมค่าคอมมิชชั่นรายปี3ปีที่แล้ว = €100,000

ยอดรวมค่าคอมมิชชั่นรายปี2ปีที่แล้ว = €75,000

ยอดรวมค่าคอมมิชชั่นรายปีของปีสัญญาล่าสุด = €85,000

รวมทั้ง5ปี = €375,000

ค่าคอมมิชชั่นเฉลี่ยรายปี÷5 = €75,000

ยอดชดเชยสูงสุด = €75,000

ผลลัพธ์

ในกรณีที่ค่าชดเชยมวลรวมสูงกว่ายอดชดเชยสูงสุดบริษัทว่าจ้างจะต้องจ่ายแค่ค่าชดเชยสูงสุด

ในทางกลับกันบริษัทว่าจ้างต้องจ่ายเพียงค่าชดเชยมวลรวมกรณีที่ค่าชดเชยมวลรวมต่ำากว่ายอดชดเชย

สูงสุด

ตัวอย่าง:

ค่าชดเชยมวลรวม = €121,098

ยอดชดเชยสูงสุด = €75,000

เพราะฉะนั้นค่าชดเชยที่จะต้องจ่ายคือ€75,000

การยื่นเรียกร้องสิทธิ

การยื่นเรียกร้องค่าชดเชยต้องยื่นภายใน1ปีหลังจากที่สัญญาหมดอายุและไม่จำาเป็นต้อง

คำานวณค่าชดเชยเมื่อยื่นคำาร้อง

12. ข้อจำากัดของระยะเวลา

ในกรณีที่ไม่มีกฎระเบียบพิเศษของเยอรมันเรื่องตัวแทนการค้าข้อจำากัดของอายุความจะเป็นไป

ตามกฎหมายแพ่งของเยอรมันมาตราที่194-218

การเรียกร้องสิทธิจากความสัมพันธ์ทางสัญญามีสภาพบังคับตามกฎหมายภายใน3ปีหลัง

จากยื่นข้อเรียกร้อง(กฎหมายแพ่งของเยอรมันมาตราที่195)โดยจะเริ่มนับตั้งแต่สิ้นปีของการยื่นข้อ

เรียกร้องและเจ้าหนี้ได้รับแจ้งถึงสถานการณ์การเรียกร้องสิทธิ(กฎหมายแพ่งของเยอรมันมาตราที่199

ย่อหน้าที่1)ในกรณีที่เจ้าหนี้ไม่ได้รับแจ้งเรื่องการเรียกร้องสิทธิซึ่งไม่ได้เกิดจากเพิกเฉยการเรียกร้อง

Page 15: รายงาน การติดต่อหา Distributor ในประเทศเยอรมนีีditp.go.th/contents_attach/139392/139392.pdf · สรุปข้อมูลจาก

15

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

Mr. Thanit Hirungitrungsri / นาย ธนิต หิรัญกิจรังษีInternational Trade Officer and Press Agent Ms. Salin Tansrisakul / นางสาว สลิล ตันศรีสกุลGraduate Student InternOffice of Commercial Affairs - Royal Thai EmbassyPetzowerstr. 1, 14109 Berlin, Germanyemail - [email protected]

สิทธิมีสภาพบังคับตามกฎหมายภายใน10ปีหลังจากการยื่นข้อเรียกร้อง(กฎหมายแพ่งของเยอรมัน

มาตราที่199ย่อหน้าที่3ลำาดับที่1)

13.ข้อมูลข้างต้นแปลจากคู่มือสมาคมการค้ากลางของเยอรมนี(CDH)หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม

สามารถติดต่อตัวแทนการค้าได้ที่

CentralvereinigungDeutscherWirtschaftsverbändefürHandelsvermittlungund

Vertriebe.V.AmWeidendamm1A,10117Berlin,Germany

Phone: 0049-30-72625600Fax:0049-30-72625699

E-Mail: [email protected]