2553 - silpakorn universityเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา...

156
การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั ้นพื้นฐาน สังกัดเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม โดย นายวสันต์ ปรีดานันต์ การค้นคว้าอิสระนี ้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2553 ลิขสิทธิ ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร หอ

Upload: others

Post on 26-Feb-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • การบริหารงานวชิาการของสถานศึกษาขั้นพืน้ฐาน สังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม

    จังหวดัสมุทรสงคราม

    โดย

    นายวสันต์ ปรีดานันต์

    การค้นคว้าอสิระนีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

    สาขาวชิาการบริหารการศึกษา

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    ปีการศึกษา 2553

    ลขิสิทธ์ิของบณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • การบริหารงานวชิาการของสถานศึกษาขั้นพืน้ฐาน สังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม

    จังหวดัสมุทรสงคราม

    โดย

    นายวสันต์ ปรีดานันต์

    การค้นคว้าอสิระนีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

    สาขาวชิาการบริหารการศึกษา

    ภาควชิาการบริหารการศึกษา

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    ปีการศึกษา 2553

    ลขิสิทธ์ิของบณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ACADEMIC ADMINISTRATION OF BASIC EDUCATIONAL SCHOOLS

    IN TOWN MUNICIPALITY, SAMUT SONGKHRAM

    By

    Wasan Preedanan

    An Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

    MASTER OF EDUCATION

    Department of Educational Administration

    Graduate School

    SILPAKORN UNIVERSITY

    2010

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร อนุมติัใหก้ารคน้ควา้อิสระเร่ือง “ การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม ” เสนอ

    โดย นายวสนัต ์ ปรีดานนัต ์ เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต

    สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

    ……...........................................................

    (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ปานใจ ธารทศันวงศ)์

    คณบดีบณัฑิตวิทยาลยั

    วนัท่ี..........เดือน.................... พ.ศ...........

    อาจารยท่ี์ปรึกษาการคน้ควา้อิสระ

    ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ ์

    คณะกรรมการตรวจสอบการคน้ควา้อิสระ

    .................................................... ประธานกรรมการ

    (อาจารย ์ดร.สาํเริง อ่อนสมัพนัธ์ุ)

    ............/......................../..............

    .................................................... กรรมการ

    (อาจารย ์ดร.มทันา วงัถนอมศกัด์ิ)

    ............/......................../..............

    .................................................... กรรมการ

    (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ)์

    ............/......................../..............

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 51252406 : สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

    คาํสาํคญั : การบริหารงานวชิาการของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

    วสันต ์ ปรีดานนัต ์ : การบริหารงานวชิาการของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม.อาจารยท่ี์ปรึกษาการคน้ควา้อิสระ : ผศ.ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ.์ 143 หนา้.

    การวิจยัคร้ังน้ีมีจุดประสงคเ์พ่ือทราบ 1) การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม 2) แนวทางพฒันาการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา

    ขั้นพ้ืนฐาน สังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม โดยใชส้ถานศึกษาเป็นหน่วยวิเคราะห์(unit

    of analysis) ประชากรคือ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จาํนวน5 โรงเรียน ผูใ้หข้อ้มูล

    ประกอบดว้ยผูอ้าํนวยการสถานศึกษา จาํนวน 5 คน รองผูอ้าํนวยการฝ่ายวิชาการหรือหัวหนา้ฝ่ายวิชาการ จาํนวน

    5 คน หวัหนา้กลุ่มสาระการเรียนรู้ จาํนวน 30 คน ครูปฏิบติัการสอน จาํนวน 30 คน รวมจาํนวน 70 คน เคร่ืองมือ

    ท่ีใชใ้นการวิจยัเป็นแบบสอบถามเก่ียวกบัการบริหารงานวิชาการ ตามกรอบแนวทางคู่มือการบริหารสถานศึกษา

    ขั้นพ้ืนฐานท่ีเป็นนิติบุคคล กระทรวงศึกษาธิการ สถิติท่ีใชใ้นการวิเคราะห์ คือ ค่าความถ่ี(frequency) ค่าร้อยละ

    (percentage) ค่าเฉล่ีย (µ) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (σ) และการวเิคราะห์เน้ือหา(content analysis) ผลการวจิยัพบวา่

    1. การบริหารงานวชิาการของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดั สมุทรสงคราม โดยภาพรวมอยู่ในระดบัมาก เม่ือพิจารณารายดา้น พบว่า อยู่ในระดบัมาก 7 ดา้น โดยเรียงลาํดบั

    ค่าเฉล่ีย จากมากไปนอ้ย คือ การพฒันากระบวนการเรียนรู้ การวดัผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียน การ

    พฒันาหลกัสูตรสถานศึกษา การพฒันาระบบประกนัคุณภาพภายในสถานศึกษา การพฒันาส่ือ นวตักรรมและ

    เทคโนโลยเีพ่ือการศึกษา การพฒันาแหล่งเรียนรู้ และการแนะแนวการศึกษา และอยูใ่นระดบัปานกลาง 5 ดา้น โดย

    เรียงลาํดบัค่าเฉล่ีย จากมากไปนอ้ย คือ การประสานความร่วมมือในการพฒันางานวิชาการกบัสถานศึกษาอ่ืน การวิจยั

    เพ่ือพฒันาคุณภาพการศึกษา การนิเทศการศึกษา การส่งเสริมและสนบัสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องคก์ร

    หน่วยงานและสถาบนัอ่ืนท่ีจดัการศึกษา และการส่งเสริมความรู้ดา้นวชิาการแก่ชุมชน

    2. แนวทางพฒันาการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม ควรดาํเนินการดงัน้ี ควรมีการวางแผนพฒันาหลกัสูตรโดยให้ชุมชนและทอ้งถ่ินเขา้มามีส่วน

    ร่วม ส่งเสริมใหค้รูจดักระบวนการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกบัผูเ้รียน นาํภูมิปัญญาทอ้งถ่ินเขา้มาช่วยในการจดัการเรียนการ

    สอน ส่งเสริมใหค้รูมีการวดัผล ประเมินผลตามสภาพจริง ทาํวิจยัในชั้นเรียนเพ่ือพฒันาคุณภาพผูเ้รียนและนาํเผยแพร่

    ให้กบัองคก์รอ่ืน จดัหาส่ือ นวตักรรมและเทคโนโลยีท่ีทนัสมยัตรงกบัความตอ้งการของครูผูส้อน ควรสร้างเครือข่าย

    แห่งการเรียนรู้ระหวา่งโรงเรียนและชุมชน ปฏิบติัการนิเทศภายในโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่ายอยา่งต่อเน่ือง

    วางแผนการแนะแนวจากการร่วมมือระหวา่งครูและผูป้กครอง ควรมีแผนพฒันาปรับปรุงการประกนัคุณภาพภายใน

    ควรมีศูนยบ์ริการทางวิชาการให้แก่ชุมชน และควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือดา้นวิชาการทั้งภายในประเทศและ

    ต่างประเทศ เพ่ือแลกเปล่ียนการบริการทางวชิาการซ่ึงกนัและกนั

    ภาควชิาการบริหารการศึกษา บณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร ปีการศึกษา 2553

    ลายมือช่ือนกัศึกษา........................................ ลายมือช่ืออาจารยท่ี์ปรึกษาการคน้ควา้อิสระ ................................................

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 51252406 : MAJOR : EDUCATIONAL ADMINISTRATION KEY WORD : ACADEMIC ADMINISTRATION OF BASIC EDUCATIONAL SCHOOLS WASAN PREEDANAN : ACADEMIC ADMINISTRATION OF BASIC EDUCATIONAL SCHOOLS IN TOWN MUNICIPALITY , SAMUT SONGKHRAM. INDEPENDENT STUDY ADVISORS : ASST. PROF. PRASERT INTARAK, Ed.D. . 143 pp.

    The purposes of this study were to know 1) Academic administration of basic educational schools in Town Municipality, Samut Songkhram and 2) the guidelines for academic administration of basic educational schools in Town Municipality, Samut Songkhram. The populations of this study were the basic educational schools in Town Municipality, Samut Songkhram. The respondents were 5 administrators, 5 assistant academic administrators or the head of academic administrators, 30 the head of academic disciplines and 30 teachers totally 70 respondents. The instrument was a questionnaire about the academic administration formulated base on framework of the basic education administration, Ministry of Education. The statistics used in data analysis were frequency(f), percentage(%), mean(µ) ,standard deviation(σ) and content analysis. The findings of this study were as follows:

    1) Academic administration of basic educational schools in Town Municipality,Samut Songkhram in overall was rated at a high level, when considered in each aspects, it found out that there were seven aspects rated at a high level, such as: learning process development, measurement and evaluation and transfer of equivalent grades, school curriculum development, quality assurance system development in school, the development of instructional media innovation and technology, learning source development, and educational counseling respectively. Five aspects were rated at a moderate level, such as: cooperate in academic development with other school, research for educational quality development, school supervision, academic promotion and support for individual families organizations and work units and related institutions, and academic promotion for the community. 2) The guidelines for academic administration development of basic educational schools in Town Municipality, Samut Songkhram were : it should have a plan for curriculum development based on community participation; encouraging the teacher to teach with the appropriate learning process and used of local wisdom; encouraging the teacher to use an authentic evaluation; support the teacher to have a classroom research for improving students’ quality and also publish to the other organization; providing educational media and innovations appropriate with teacher’s need; it should develop school and community network; it should have participate supervision from all faculty with continuously; it should have a cooperate plan for guidance; it should have a plan for improving internal quality assessment; it should have academic center to serve the community; and it should formulate academic network both of local and international to exchange knowledge and academic together. Department of Educational Administration Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2010

    Student's signature ........................................

    Independent Study Advisor’s signature.............................

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • กติติกรรมประกาศ

    การคน้ควา้อิสระฉบบัน้ีสาํเร็จไดด้ว้ยความกรุณาจาก ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ์ ประธานผูค้วบคุมสารนิพนธ์ อาจารย ์ดร.มทันา วงัถนอมศกัด์ิ ผูค้วบคุมร่วม และ

    อาจารย ์ดร.สาํเริง อ่อนสัมพนัธ์ ประธานกรรมการสอบการคน้ควา้อิสระ ท่ีไดก้รุณาให้คาํปรึกษา

    แนะนําช่วยเหลือ ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนสําเร็จลุล่วงด้วยดี ผู ้วิจัยขอกราบ

    ขอบพระคุณเป็นอยา่งสูงไว ้ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณผูบ้ริหารเทศบาลเมืองสมุทรสงครามท่ีพิจารณาให้ทุนในการศึกษาต่อ

    คร้ังน้ีและขอขอบพระคุณ นายจิรศกัด์ิ ธรรมสุจริต ผูอ้าํนวยการโรงเรียนเทศบาลวดัประทุมคณา

    วาส เทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม นายไชยากาล เพชรชดั และนางสาวพชัรี

    ยนัตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานครปฐม เขต 2 จงัหวดันครปฐม ท่ีกรุณา

    ตรวจสอบ แกไ้ขเคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวิจยัใหถู้กตอ้งสมบูรณ์ยิง่ข้ึน ขอขอบพระคุณผูบ้ริหารและครู

    ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกดัเทศบาลตาํบลอมัพวา และเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดั

    สมุทรสงคราม ท่ีไดอ้าํนวยความสะดวกและใหข้อ้มูลในการศึกษาวิจยัในคร้ังน้ีเป็นอยา่งดี

    ขอขอบพระคุณคณาจารยภ์าควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั

    ศิลปากรทุกท่านท่ีให้ความรู้และแนวทางในการศึกษาวิจยัคร้ังน้ี ขอขอบคุณเพื่อนนักศึกษาภาค

    วิชาการบริหารการศึกษา รุ่นท่ี 28 ทุกคนท่ีให้ความช่วยเหลือ และเป็นกาํลงัใจในการศึกษาวิจยั

    ดว้ยดีตลอดมา

    คุณประโยชน์ของการคน้ควา้อิสระฉบับน้ี ขอน้อมเป็นเคร่ืองบูชาพระคุณแด่บิดา

    มารดา คณาจารยแ์ละผูมี้พระคุณทุกท่าน และขอมอบแด่ครอบครัวปรีดานนัต ์ครอบครัวนุชอนงค์

    และครอบครัวกงัวาลไกรทุกคน อีกทั้งเป็นเคร่ืองหมายแห่งความรักแด่นายวงศกร – เด็กหญิงกชพร

    ปรีดานนัต ์ผูซ่ึ้งเป็นความหวงั อนาคตทั้งมวลของผูว้ิจยั

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญ

    หนา้

    บทคดัยอ่ภาษาไทย................................................................................................................... ง

    บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ.............................................................................................................. จ

    กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................... ฉ

    สารบญัตาราง.......................................................................................................................... ญ

    สารบญัแผนภูมิ....................................................................................................................... ฏ

    บทท่ี

    1 บทนาํ................................................................................................................... 1

    ความสาํคญัและความเป็นมาของปัญหา....................................................... 2

    ปัญหาของการวิจยั....................................................................................... 4

    วตัถุประสงคใ์นการวจิยั............................................................................... 8

    ขอ้คาํถามในการวิจยั.................................................................................... 9

    สมมติฐานในการวิจยั................................................................................... 9

    ขอบข่ายในการวิจยั...................................................................................... 9

    ขอบเขตของการวิจยั.................................................................................... 12

    นิยามศพัทเ์ฉพาะ.......................................................................................... 13

    2 วรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ง.......................................................................................... 14

    การบริหารงานวิชาการ................................................................................ 14

    ขอบข่ายการบริหารงานวิชาการ........................................................ 14

    การพฒันาหลกัสูตรสถานศึกษา........................................................ 20

    การพฒันากระบวนการเรียนรู้........................................................... 24

    การวดัผล ประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียน........................ 25

    การวิจยัเพื่อพฒันาคุณภาพการศึกษา................................................ 27

    การพฒันาส่ือ นวตักรรมและเทคโนโลยเีพื่อการศึกษา.................... 31

    การพฒันาแหล่งเรียนรู้...................................................................... 35

    การนิเทศการศึกษา............................................................................ 37

    การแนะแนวการศึกษา...................................................................... 40

    การพฒันาระบบประกนัคุณภาพภายในสถานศึกษา......................... 43

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทท่ี หนา้

    การส่งเสริมความรู้ดา้นวิชาการแก่ชุมชน.......................................... 45

    การประสานความร่วมมือในการพฒันางานวิชาการกบัสถานศึกษา

    อ่ืน..................................................................................................... 48

    การส่งเสริมและสนบัสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องคก์ร

    หน่วยงาน และสถาบนัอ่ืนท่ีจดัการศึกษา.......................................... 50

    ขอ้มูลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม.......... 54

    งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง ....................................................................................... 58

    งานวิจยัในประเทศ............................................................................ 58

    งานวิจยัต่างประเทศ........................................................................... 62

    สรุป.............................................................................................................. 64

    3 วิธีดาํเนินการวิจยั.................................................................................................. 65

    ขั้นตอนการดาํเนินการวิจยั........................................................................... 65

    ระเบียบวิธีวิจยั.............................................................................................. 66

    แผนแบบการวิจยั............................................................................... 66

    ประชากร........................................................................................... 66

    ตวัแปรท่ีศึกษา................................................................................... 67

    เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวิจยั................................................................... 70

    การสร้างเคร่ืองมือ............................................................................. 71

    การเกบ็รวบรวมขอ้มูล....................................................................... 72

    การวิเคราะห์ขอ้มูลและสถิติท่ีใชใ้นการวิจยั...................................... 72

    สรุป.............................................................................................................. 73

    4 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูล.................. ....................................................................... 74

    ตอนท่ี 1 สถานภาพส่วนตวัของผูต้อบแบบสอบถาม................................... 74

    ตอนท่ี 2 การบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

    สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม............. 76

    ตอนท่ี 3 แนวทางพฒันาการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา

    ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม

    จงัหวดัสมุทรสงคราม.................................................................... 90

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทท่ี หนา้

    5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผลและขอ้เสนอแนะ................................................... 93

    สรุปผลการวิจยั............................................................................................ 93

    การอภิปรายผลการวิจยั................................................................................ 95

    ขอ้เสนอแนะทัว่ไป...................................................................................... 112

    ขอ้เสนอแนะในการวจิยัคร้ังต่อไป.............................................................. 114

    บรรณานุกรม........................................................................................................................... 115

    ภาคผนวก................................................................................................................................ 120

    ภาคผนวก ก สาํเนาหนงัสือขออนุญาตตรวจสอบเคร่ืองมือ

    ทดลองเคร่ืองมือ และเกบ็รวบรวมขอ้มูล........................................ 121

    ภาคผนวก ข รายช่ือผูเ้ช่ียวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือ

    และรายช่ือโรงเรียนท่ีใชใ้นการทดลองเคร่ืองมือ............................ 125

    ภาคผนวก ค ค่าความเช่ือมัน่ของแบบสอบถาม................................................... 127

    ภาคผนวก ง แบบสอบถามเพื่อการวิจยั................................................................ 130

    ประวติัผูว้จิยั............................................................................................................................ 143

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญตาราง

    ตารางท่ี หนา้

    1 ขอ้มูลผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนเฉล่ียชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานสงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ปีการศึกษา 2551....................................................................................... 6

    2 ขอ้มูลผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนเฉล่ียชั้นมธัยมศึกษาปีท่ี 3 ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานสงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ปีการศึกษา 2551....................................................................................... 7

    3 ขอ้มูลทางการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมือง สมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม........................................................ 56

    4 ขอ้มูลทางการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมือง สมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม ปีการศึกษา 2552.......................... 57

    5 ผูใ้หข้อ้มูลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม............................................................................... 67

    6 สถานภาพส่วนตวัของผูต้อบแบบสอบถามของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม........................ 75

    7 การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม โดยภาพรวม... 77

    8 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการพฒันาหลกัสูตรสถานศึกษา........................................................ 78

    9 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการพฒันากระบวนการเรียนรู้....................................................... 79

    10 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการวดัผล ประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียน................... 80

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ตารางท่ี หนา้

    11 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการวิจยัเพื่อพฒันาคุณภาพการศึกษา............................................ 81

    12 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการพฒันาส่ือ นวตักรรมและเทคโนโลยเีพื่อการศึกษา................ 82

    13 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการพฒันาแหล่งเรียนรู้................................................................. 83

    14 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการนิเทศการศึกษา....................................................................... 84

    15 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการแนะแนวการศึกษา................................................................. 85

    16 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการพฒันาระบบประกนัคุณภาพภายในสถานศึกษา.................... 86

    17 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการส่งเสริมความรู้ดา้นวิชาการแก่ชุมชน.................................... 87

    18 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการประสานความร่วมมือในการพฒันางานวิชาการกบัสถานศึกษาอ่ืน 88

    19 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม

    ดา้นการส่งเสริมและสนบัสนุนงานวิชาการแก่ครอบครัว องคก์ร หน่วย

    งานและสถาบนัอ่ืนท่ีจดัการศึกษา........................................................... 89

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญแผนภูมิ

    แผนภูมิท่ี หนา้

    1 ขอบข่ายของการวิจยั........................................................................................ 11

    2 ขอบเขตของการวิจยั............................................................................................ 12

    3 การพฒันาหลกัสูตรในระดบัโรงเรียน.................................................................. 22

    4 การใชก้ารวจิยัเพื่อพฒันาการเรียนรู้..................................................................... 30

    5 ขั้นตอนการนิเทศตามกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา............................... 39

    6 ความสมัพนัธ์ของบริการแนะแนวทั้ง 5 บริการ............................................... 42

    7 โรงเรียนหลายวิทยาเขต.................................................................................... 49

    8 เครือข่ายผูจ้ดัการศึกษาท่ีหลากหลาย................................................................... 51

    9 เครือข่ายแหล่งเรียนรู้ท่ีร่วมจดัการศึกษา.............................................................. 51

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 1

    บทที ่1

    บทนํา

    การศึกษาเป็นกระบวนการพฒันาคนตลอดชีวิตให้เป็นผูท่ี้มีความรู้ความสามารถทาง

    วิชาการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช 2550 ในมาตรา 8 (3) ไดก้าํหนด

    แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ในนโยบายดา้นการศึกษาท่ีรัฐตอ้งพฒันาคุณภาพและมาตรฐานการจดั

    การศึกษาในทุกระดบั และทุกรูปแบบให้สอดคลอ้งกบัความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม

    จดัใหมี้แผนการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพ่ือพฒันาการศึกษาของชาติ จดัใหมี้การพฒันาคุณภาพครู

    และบุคลากรทางการศึกษาใหก้า้วหนา้ทนัการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก รวมทั้งปลูกฝังให้ผูเ้รียน

    มีจิตสาํนึกของความเป็นไทย มีระเบียบวินยั คาํนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม และยดึมัน่ในการปกครอง

    ระบอบประชาธิปไตยอนัมีพระมหากษตัริยเ์ป็นประมุข1 การศึกษาจึงเป็นกระบวนการท่ีช่วยใหค้น

    ไดพ้ฒันาศกัยภาพและขีดความสามารถในดา้นต่าง ๆ ตลอดชีวิตตั้งแต่การวางรากฐานพฒันาการ

    ของชีวิตตั้งแต่แรกเกิด การพฒันาศกัยภาพและขีดความสามารถด้านต่าง ๆ ท่ีจะดาํรงชีพและ

    ประกอบชีวิตไดอ้ย่างมีความสุขรู้เท่าทนั สอดคลอ้งกบัแผนพฒันาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

    ฉบบัท่ี 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนของสังคมเขา้มาส่วนร่วมในการจดัทาํ

    แผนพฒันา เน้นคนเป็นศูนยก์ลางในการพฒันาให้มีคุณธรรม และมีความรอบรู้อย่างเท่าทนัให้มี

    ความพร้อมทั้งดา้นร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถกา้วทนัการเปล่ียนแปลง เพื่อ

    นาํไปสู่ฐานความรู้ไดอ้ย่างมัน่คง แนวทางการพฒันาคนดงักล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มี

    พื้นฐานจิตใจท่ีดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทกัษะและความรู้พ้ืนฐานท่ีจาํเป็นในการ

    ดาํรงชีวิต น้อมนาํแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดาํรงชีวิต เพ่ือให้เกิดภูมิคุม้กนัและ

    สามารถรู้เท่าทนัการเปล่ียนแปลงของสงัคมโลก อนัจะส่งผลต่อการพฒันาประเทศแบบยัง่ยนื2

    ดงันั้น เพื่อให้กรอบของการศึกษาเป็นไปเพ่ือช่วยพฒันาคนให้มีศกัยภาพ พระราชบญัญติั

    การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ขเพิ่มเติม ( ฉบบัท่ี 2 ) พ.ศ.2545 ไดใ้ห้ความความหมาย

    1สถาบนัพระปกเกลา้, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พทุธศกัราช 2550 พิมพค์ร้ังท่ี 2

    (กรุงเทพฯ : สาํนกัพิมพค์ณะรัฐมนตรีและราชกิจานุเบกษา, 2552), 50. 2สํานักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพฒันาเศรษฐกิจ

    และสังคมแห่งชาติ ฉบบัท่ี ๑๐(พ.ศ.2550-2554) (กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการพฒันาการ

    เศรษฐกิจและสงัคมแห่งชาติ, 2545), 3. 1

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 2

    ของการศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอด

    ความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานวฒันธรรม การสร้างสรรคจ์รรโลงความกา้วหนา้ทางวิชาการ

    การสร้างองคค์วามรู้อนัเกิดจากสภาพแวดลอ้ม สังคม การเรียนรู้และปัจจยัเก้ือหนุนใหบุ้คคลเรียนรู้

    อยา่งต่อเน่ืองตลอดชีวิต3 โดยความมุ่งหมายและหลกัการจดัการศึกษาตอ้งเป็นไปเพื่อพฒันาคนไทย

    ให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้ งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและ

    วฒันธรรมในการดาํรงชีวิต สามารถอยูร่่วมกบัผูอ่ื้นไดอ้ย่างมีความสุข4 ตรงตามวิสัยทศัน์ของ

    หลกัสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุธศกัราช 2551 ท่ีมุ่งพฒันาผูเ้รียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาํลงัของ

    ชาติใหเ้ป็นมนุษยท่ี์มีความสมดุลทั้งดา้นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสาํนึกในความเป็นพลเมืองไทย

    และเป็นพลโลก ยึดมัน่ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนัมีพระมหากษตัริยท์รงเป็นประมุข

    มีความรู้และทกัษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ท่ีจาํเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษา

    ตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผูเ้รียนเป็นสาํคญับนพื้นฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพฒันา

    ตนเองไดเ้ตม็ตามศกัยภาพ5

    ความเป็นมาและความสําคญัของปัญหา

    พระราชบญัญติัการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ขเพิ่มเติม ( ฉบบัท่ี 2 ) พ.ศ.2545

    กาํหนดขอบข่ายการบริหารงานในสถานศึกษาไว ้4 ดา้น คือ 1) การบริหารงานวิชาการ 2) การ

    บริหารงานงบประมาณ 3) การบริหารงานบุคคล และ4) การบริหารงานทั่วไป6 ซ่ึงในการ

    บริหารงานด้านต่าง ๆ นั้น ถือว่าเป็นหน้าท่ีท่ีผูบ้ริหารตอ้งรับผิดชอบโดยตรง ผูบ้ริหารตอ้งให้

    ความสาํคญักบัการบริหารงานใหม้ากข้ึน โดยเฉพาะการบริหารงานวิชาการ ซ่ึงถือว่าเป็นหวัใจหรือ

    ภารกิจหลัก ส่วนงานบริหารงานอ่ืน ๆ เป็นงานสนับสนุนวิชาการ สอดคล้องกับสํานักงาน

    คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ท่ีใหง้านวิชาการเป็นหัวใจสาํคญัในการ

    ปฏิรูปการศึกษา ซ่ึงจะตอ้งขบัเคล่ือนลงสู่สถานศึกษาอย่างทนัที มีแนวทางในการนิเทศติดตาม

    3กระทรวงศึกษาธิการ, พระราชบญัญติัการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแกไ้ขเพิ่มเติม

    (ฉบบัท่ี 2 ) พ.ศ.2545 (กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์งคก์ารรับส่งสินคา้และพสัดุภณัฑ ์(ร.ส.พ.), 2546), 2. 4เร่ืองเดียวกนั, 5. 5กระทรวงศึกษาธิการ, หลกัสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุธศกัราช 2551

    (กรุงเทพฯ:โรงพิมพชุ์มนมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จาํกดั, 2551), 4. 6กระทรวงศึกษาธิการ, คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ีเป็นนิติบุคคล (กรุงเทพฯ

    : โรงพิมพอ์งคก์ารรับส่งสินคา้และพสัดุภณัฑ ์(ร.ส.พ.), 2546), 32.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 3

    ส่งเสริม สนบัสนุนประสิทธิภาพในการทาํงานทั้งในดา้นคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระบบ

    ประกนัคุณภาพการปฏิรูปหลกัสูตร ปฏิรูปการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ท่ีดี วิทยากรทอ้งถ่ิน นโยบายท่ี

    สาํคญัเก่ียวกบัยาเสพติด การส่งเสริมการอ่าน การวิเคราะห์และสาํรวจช่วยเหลือโรงเรียนท่ีมีปัญหา

    ดา้นขอ้มูลส่ือสารทางคอมพิวเตอร์และวสัดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อสร้างความเขม้แขง็ของสถานศึกษา

    อยา่งต่อเน่ือง7

    งานวิชาการเป็นภารกิจหลกัของสถานศึกษาท่ี พระราชบญัญติัการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.

    2542 และท่ีแกไ้ขเพิ่มเติม (ฉบบัท่ี 2) พ.ศ.2545 มุ่งให้กระจายอาํนาจในการบริหารจดัการไปให้

    สถานศึกษาใหม้ากท่ีสุดดว้ยเจตนารมณ์ท่ีจะใหส้ถานศึกษาดาํเนินการไดโ้ดยอิสระ คล่องตวัรวดเร็ว

    สอดคลอ้งกบัความตอ้งการของผูเ้รียน สถานศึกษา ชุมชน ทอ้งถ่ิน และ การมีส่วนร่วมจากผูท่ี้มี

    ส่วนไดเ้สียทุกฝ่าย ซ่ึงจะเป็นปัจจยัสําคญัทาํให้สถานศึกษามีความเขม้แข็งในการบริหารจดัการ

    สามารถพฒันาหลกัสูตร และกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการวดัผล ประเมินผล รวมทั้งวดัปัจจยั

    เก้ือหนุน การพฒันาคุณภาพนักเรียน ชุมชน ทอ้งถ่ินได้อย่างมีคุณภาพ และ มีประสิทธิภาพ

    กระทรวงศึกษาธิการไดจ้าํแนกงานในการบริหารงานวิชาการออกเป็น 12 ดา้น คือ 1) การพฒันา

    หลกัสูตรสถานศึกษา 2) การพฒันากระบวนการเรียนรู้ 3) การวดัผล ประเมินผลและเทียบโอน

    ผลการเรียน 4) การวิจยัเพื่อพฒันาคุณภาพการศึกษา 5) การพฒันาส่ือ นวตักรรมและเทคโนโลย ี

    6) การพฒันาแหล่งการเรียนรู้ 7) การนิเทศการศึกษา 8) การแนะแนวการศึกษา 9) การพฒันา

    ระบบประกนัคุณภาพภายในสถานศึกษา 10) การส่งเสริมความรู้ดา้นวิชาการแก่ชุมชน 11) การ

    ประสานความร่วมมือในการพฒันาวิชาการกบัสถานศึกษาอ่ืน และ12) การส่งเสริมและสนบัสนุน

    งานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องคก์ร หน่วยงานและสถาบนัอ่ืนท่ีจดัการศึกษา8

    อน่ึง พระราชบญัญติัการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ขเพิ่มเติม (ฉบบัท่ี 2) พ.ศ.

    2545 หมวด 3 กาํหนดให้การจดัการจดัการศึกษามีสามรูปแบบ คือการศึกษาในระบบ การศึกษา

    นอกระบบ และการศึกษาตามอธัยาศัย โดยท่ีการศึกษาในระบบมีสองระดับ คือการศึกษาขั้น

    พื้นฐานและการศึกษาระดบัอุดมศึกษา ซ่ึงรัฐบาลไดอ้อกกฎกระทรวงว่าดว้ยการแบ่งระดบัและ

    ประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546 ไดแ้บ่งการศึกษาขั้นพื้นฐานออกเป็นสามระดบั คือ

    ระดบัก่อนประถมศึกษา ระดบัประถมศึกษาและระดบัมธัยมศึกษา (ระดบัมธัยมศึกษาตอนตน้และ

    ระดบัมธัยมศึกษาตอนปลาย)9 อีกทั้งกาํหนดให้องคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ินมีสิทธิจดัการศึกษาใน

    7สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ, เอกสาร

    ประชาสมัพนัธ์เพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุ์รุสภาลาดพร้าว, 2546), 6. 8กระทรวงศึกษาธิการ, คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีเป็นนิติบุคคล, 32.

    9เร่ืองเดียวกนั, 39.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 4

    ระดบัใดระดบัหน่ึงหรือทุกระดบัตามความพร้อม ความเหมาะสมและความตอ้งการของทอ้งถ่ิน10

    ตามแนวนโยบาย เป้าหมายและยทุธศาสตร์การดาํเนินงานของแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2545-

    2559) ในแนวนโยบาย การพฒันาทุกคนตั้งแต่แรกเกิดจนตลอดชีวิตให้มีโอกาสเขา้ถึงการเรียนรู้ มี

    ยทุธศาสตร์การดาํเนินงานใหอ้งคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ินสนบัสนุนสถานศึกษาในสังกดัใหมี้ความ

    พร้อมในการจดัการศึกษา ในรูปแบบท่ีหลากหลาย และจดัสรรงบประมาณให้อย่างเพียงพอ 11

    สถานศึกษาในสังกดัองคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ิน จึงมีภารกิจการจดัการศึกษาทอ้งถ่ิน ในการจดั

    การศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีเป็นการจดัการศึกษาท่ีมุ่งพฒันาและวางรากฐานชีวิตการเตรียมความพร้อม

    ของเด็กทั้ งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ บุคลิกภาพและสังคม ให้ผูเ้ รียนได้พัฒนา

    คุณลกัษณะอนัพึงประสงค ์ ดา้นคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถขั้นพื้นฐาน รวมทั้งให้

    สามารถคน้พบความตอ้งการ ความสนใจ ความถนดัของตนเองดา้นวิชาการ วิชาชีพ ความสามารถ

    ในการประกอบการงานอาชีพและทกัษะทางสังคม โดยให้ผูเ้รียนมีความรู้ คู่คุณธรรมและมีความ

    สาํนึกในความเป็นไทย12 ตามแนวนโยบายการจดัการศึกษาในองคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ิน พ.ศ.

    2545 – 2559 ซ่ึงสอดคลอ้งกบัหลกัสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกัราช 2551 และ

    พระราชบญัญติัการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ขเพิ่มเติม (ฉบบัท่ี 2) พ.ศ.2545 ดงันั้น

    การบริหารงานวิชาการจึงถือว่ามีความสําคญัในการจดัการศึกษาเพ่ือเป็นไปตามท่ีรัฐธรรมนูญ

    แห่งราชอาณาจกัรไทย พทุธศกัราช 2550 กาํหนดไว ้

    ปัญหาของการวจัิย

    การจดัการศึกษาขององคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ิน มีวตัถุประสงคเ์พื่อให้เด็กท่ีมีอายุอยู่ใน

    เกณฑ์การศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคนในเขตความรับผิดชอบขององคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ิน ไดรั้บ

    การบริการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครบตามหลกัสูตรอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกนั เพื่อพฒันาการ

    ดาํเนินการจดัการศึกษาขั้นพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนทอ้งถ่ินให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ

    บรรลุเป้าหมาย วตัถุประสงค์ เป็นไปตามมาตรฐานท่ีรัฐกาํหนดและตรงตามความตอ้งการของ

    ประชาชนในทอ้งถ่ิน โดยมุ่งพฒันาใหเ้กิดความสมดุลทั้งทางดา้นปัญญา จิตใจ ร่างกาย สังคม และ

    ความคิด ค่านิยม และพฤติกรรม ซ่ึงเน้นวิธีการจดักระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและให้ผูเ้รียน

    10เร่ืองเดียวกนั, 21. 11กระทรวงมหาดไทย, ประมวลสาระสําคัญจากยุทธศาสตร์การศึกษาชาติสู่การจัด

    การศึกษาทอ้งถ่ิน (กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย , 2544), 14. 12กระทรวงศึกษาธิการ, คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีเป็นนิติบุคคล, 30.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 5

    เป็นสําคญั 13 เทศบาลเมืองสมุทรสงครามได้ตระหนักในวตัถุประสงค์ดังกล่าวและเพื่อพฒันา

    คุณภาพทางการศึกษาของนักเรียนในเขตเทศบาลและใกลเ้คียง จึงกาํหนดวิสัยทศัน์ในการจัด

    การศึกษาไวใ้นแผนพฒันาการศึกษาสามปี(พ.ศ. 2552-พ.ศ.2554) คือ เทศบาลเมืองสมุทรสงคราม

    มีความมุ่งหวงัท่ีจะให้โรงเรียนมีมาตรฐานบริหารด้านการศึกษาได้อย่างเสมอภาคและทั่วถึง

    นักเรียนมีคุณภาพและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ครูมีจรรยาบรรณ สร้างสรรค์ศิลปวฒัธรรม

    สืบสานงานประเพณีและภูมิปัญญาทอ้งถ่ิน ชุมชน เยาวชนดี มีส่วนร่วมในกิจกรรมนาํเทคโนโลยี

    สารสนเทศ อีกทั้งไดก้าํหนดยทุธศาสตร์สร้างโอกาสทางการศึกษาช่วงชั้นท่ี 4 และอาชีวศึกษาแก่

    ผูเ้รียน โดยจดัการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่นอ้ยกว่า 12 ปี ใหก้บัเด็กและเยาวชนในทอ้งถ่ินเทศบาลเมือง

    สมุทรสงคราม โดยเปิดขยายชั้นเรียนระดบัมธัยมศึกษาตอนปลายให้นักเรียนท่ีสําเร็จการศึกษา

    ระดับมธัยมศึกษาตอนปลายได้วุฒิสายสามญั(ม.6) และประกาศนียบตัรวิชาชีพ(ปวช.) นั่นคือ

    สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม ได้เปิดทาํการสอนในระดับก่อน

    ประถมศึกษา ระดบัประถมศึกษา และระดบัมธัยมศึกษา (ระดบัมธัยมศึกษาตอนตน้ และระดบั

    มธัยมศึกษาตอนปลาย) ซ่ึงเป็นการจดัการศึกษาขั้นพื้นฐานครบทั้ง 3 ระดับ ทาํให้มีความ

    หลากหลายในทางปฏิบติัในการบริหารงานวิชาการ ในเร่ืองของการพฒันาหลกัสูตรสถานศึกษา

    การพฒันากระบวนการเรียนรู้ การวดัผล ประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน การวิจยัเพื่อพฒันา

    คุณภาพการศึกษา การพฒันาส่ือนวตักรรมและเทคโนโลยี การพฒันาแหล่งการเรียนรู้ การนิเทศ

    การศึกษา การแนะแนวการศึกษา การพฒันาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การ

    ส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน การประสานความร่วมมือในการพฒันาวิชาการกับ

    สถานศึกษาอ่ืน และการส่งเสริมและสนบัสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องคก์ร หน่วยงาน

    และสถาบันอ่ืนท่ีจัดการศึกษา โดยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นขอ้มูลหน่ึงท่ีแสดงให้เห็นถึง

    ประสิทธิภาพของการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษา

    ระดบัชาติ ปีการศึกษา 2551 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมธัยมศึกษาปีท่ี 3 พบว่าผลสัมฤทธ์ิ

    ทางการศึกษาเฉล่ียของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จังหวัด

    สมุทรสงคราม มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียระดบัจงัหวดัและระดบัประเทศ

    รายละเอียดผลสมัฤทธ์ิทางการเรียน ดงัตารางท่ี 1-2

    13กระทรวงมหาดไทย, ประมวลสาระสําคัญจากยุทธศาสตร์การศึกษาชาติสู่การจัด

    การศึกษาทอ้งถ่ิน (กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย, 2544), 31.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 6

    ตารางท่ี 1 ขอ้มูลผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนเฉล่ียชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

    สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม ปีการศึกษา 2551

    กลุ่มสาระการเรียนรู้ เฉล่ีย

    สงักดั

    เฉล่ีย

    จงัหวดั

    เฉล่ีย

    ประเทศ

    สรุปผลต่างเทียบ

    กบัเฉล่ียจงัหวดั

    สรุปผลต่างเทียบ

    กบัเฉล่ียประเทศ

    ภาษาไทย 40.79 45.01 42.02 -4.22 -1.23

    คณิตศาสตร์ 42.57 47.00 43.76 -4.43 -1.19

    วทิยาศาสตร์ 49.88 56.29 51.68 -6.41 -1.80

    ท่ีมา : กองการศึกษาเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม, รายงานผลสมัฤทธ์ิของสถานศึกษาสงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2551 (ม.ป.ท.,ม.ป.ป.).(อดัสาํเนา)

    จากตารางท่ี 1 ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาเฉล่ียชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ของสถานศึกษาขั้น

    พื้นฐานสังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

    มีผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของสถานศึกษาในสังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงครามตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของ

    จงัหวดั อยู ่4.22 และตํ่ากวา่ผลสมัฤทธ์ิเฉล่ียของประเทศ อยู ่1.23 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

    มีผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของสถานศึกษาในสังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงครามตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของ

    จงัหวดั อยู่ 4.43 และตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของประเทศ อยู่ 1.19 และกลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ มีผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลเมืองสมุทรสงครามตํ่ากว่า

    ผลสมัฤทธ์ิเฉล่ียของจงัหวดั อยู ่6.41และตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของประเทศ อยู ่1.80 นัน่คือ กลุ่ม

    สาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มี

    ผลสัมฤทธ์ิท่ีตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียระดับจงัหวดัและระดับประเทศ โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ มีผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลเมืองสมุทรสงครามตํ่ากว่า

    ผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของจงัหวดัและระดบัประเทศ มากท่ีสุด ซ่ึงผลสัมฤทธ์ิดงักล่าวอาจเป็นเคร่ืองช้ีวดั

    ไดว้่าการบริหารงานวิชาการในระดบัชั้นประถมศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกดัเทศบาล

    เมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม ยงัไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 7

    ตารางท่ี 2 ขอ้มูลผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนเฉล่ียชั้นมธัยมศึกษาปีท่ี 3 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

    สงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จงัหวดัสมุทรสงคราม ปีการศึกษา 2551

    กลุ่มสาระการเรียนรู้ เฉล่ีย

    สงักดั

    เฉล่ีย

    จงัหวดั

    เฉล่ีย

    ประเทศ

    สรุปผลต่างเทียบ

    กบัเฉล่ียจงัหวดั

    สรุปผลต่างเทียบ

    กบัเฉล่ียประเทศ

    ภาษาไทย 41.00 43.35 41.09 -2.35 -0.09

    คณิตศาสตร์ 32.56 34.35 32.66 -1.79 -0.10

    วิทยาศาสตร์ 39.29 42.51 39.44 -3.22 -0.15

    สงัคมศึกษาฯ 41.44 44.06 41.42 -2.62 +0.02

    ภาษาต่างประเทศ 31.92 34.25 32.42 -2.33 -0.50

    ท่ีมา : กองการศึกษาเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม, รายงานผลสมัฤทธ์ิของสถานศึกษาสงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม ชั้นมธัยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2551 (ม.ป.ท.,ม.ป.ป.).(อดัสาํเนา)

    จากตารางท่ี 2 ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาเฉล่ียชั้นมธัยมศึกษาปีท่ี 3 ของสถานศึกษา

    ขั้นพื้นฐานสังกัดเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จังหวดัสมุทรสงคราม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้

    ภาษาไทย มีผลสมัฤทธ์ิเฉล่ียของสถานศึกษาในสังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงครามตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิ

    เฉล่ียของจงัหวดั อยู ่2.35 และตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของประเทศ อยู ่0.09 กลุ่มสาระการเรียนรู้

    คณิตศาสตร์ มีผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลเมืองสมุทรสงครามตํ่ากว่า

    ผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของจงัหวดั อยู ่1.79 และตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของประเทศ อยู ่0.01 กลุ่มสาระ

    การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของสถานศึกษาในสังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม

    ตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของจงัหวดั อยู่ 3.22 และตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของประเทศ อยู่ 0.15

    กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯมีผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลเมือง

    สมุทรสงครามตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของจงัหวดั อยู ่2.62 และสูงกว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของประเทศ

    อยู่ 0.02 และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของสถานศึกษาในสังกดั

    เทศบาลเมืองสมุทรสงครามตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของจงัหวดั อยู ่2.33 และตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ีย

    ของประเทศ อยู่ 0.50 นั่นคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

    กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯและกลุ่มสาระการเรียนรู้

    ภาษาต่างประเทศมีผลสัมฤทธ์ิท่ีตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียระดับจงัหวดัและ กลุ่มสาระการเรียนรู้

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 8

    ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และกลุ่มสาระ

    การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีผลสัมฤทธ์ิท่ีตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียระดบัประเทศ โดยกลุ่มสาระการ

    เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียของสถานศึกษาในสังกดัเทศบาลเมืองสมุทรสงครามตํ่ากว่า

    ผลสมัฤทธ์ิเฉล่ียของจงัหวดั มากท่ีสุด และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีผลสัมฤทธ์ิเฉล่ีย

    ของสถานศึกษาในสงักดัเทศบาลเมืองสมุทรสงครามตํ่ากว่าผลสัมฤทธ์ิเฉล่ียระดบัประเทศมากท่ีสุด

    ซ่ึงผลสัมฤทธ์ิดงักล่าวอาจเป็นเคร่ืองช้ีวดัไดว้่าการบริหารงานวิชาการในระดบัชั้นมธัยมศึกษาของ

    สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จังหวดัสมุทรสงคราม ยงัไม่มี

    ประสิทธิภาพและประสิทธิผล จากความเป็นมา และปั