2557 - silpakorn university · 2016-02-26 · เพลงโคราชแบบดั:...

138
แนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูภูมิปัญญาการแสดงเพลงโคราชแบบดั ้งเดิมของจังหวัดนครราชสีมา โดย นางสาวเบญจพร เจ๊กจันทึก วิทยานิพนธ์นี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2557 ลิขสิทธิ ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 27-Jul-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • แนวทางการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูภูมิปัญญาการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิมของจังหวดันครราชสีมา

    โดย นางสาวเบญจพร เจ๊กจันทกึ

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการจัดการทรัพยากรวฒันธรรม

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2557

    ลขิสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิยาลัยศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • แนวทางการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูภูมิปัญญาการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิมของจังหวดันครราชสีมา

    โดย นางสาวเบญจพร เจ๊กจันทกึ

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการจัดการทรัพยากรวฒันธรรม

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2557

    ลขิสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิยาลัยศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • GUIDELINE FOR THE MANAGEMENT AND REVITALIZATION OF KORAT SONG PERFORMANCE IN NAKHON RATCHASIMA

    By Miss Benjaporn Jexjuntuk

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Arts Program in Cultural Resource Management

    Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2014

    Copyright of Graduate School, Silpakorn University

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร อนุมติัให้วิทยานิพนธ์เร่ือง “แนวทางการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูภูมิปัญญาการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิมของจงัหวดันครราชสีมา” เสนอโดยนางสาวเบญจพร เจ๊กจันทึก เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการจดัการทรัพยากรวฒันธรรม

    ……......................................................... (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. ปานใจ ธารทศันวงศ)์ คณบดีบณัฑิตวทิยาลยั วนัท่ี..........เดือน........................พ.ศ...........

    อาจารยท่ี์ปรึกษาวทิยานิพนธ์ รองศาสตราจารย ์ดร. ธนิก เลิศชาญฤทธ์

    คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ์ .................................................... ประธานกรรมการ (ศาสตราจารยพ์ิเศษ ดร. พิสิฐ เจริญวงศ)์ ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (ศาสตราจารยส์ายนัต ์ไพรชาญจิตร์) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารย ์ดร. ธนิก เลิศชาญฤทธ์) ............/......................../..............

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 53112307: สาขาวชิาการจดัการทรัพยากรวฒันธรรม ค าส าคญั: เพลงโคราชแบบดั้งเดิม / การอนุรักษแ์ละฟ้ืนฟู เบญจพร เจ๊กจนัทึก: แนวทางการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูภูมิปัญญาการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิมของจงัหวดันครราชสีมา. อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์: รศ.ดร.ธนิก เลิศชาญฤทธ์. 127 หนา้. การศึกษาภูมิปัญญาการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิมของจงัหวดันครราชสีมา ผูศึ้กษา มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาประวติัความเป็นมาของการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม และวิเคราะห์สภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึน และเสนอแนวทางทางการอนุรักษแ์ละฟ้ืนฟูภูมิปัญหาการแสดงเพลงโคราชแบบดั้ งเดิมของจังหวดันครราชสีมาโดยผู ้ศึกษาใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ท าการเก็บขอ้มูลภาคสนามโดยผูศึ้กษาทาการเก็บขอ้มูลจากการสัมภาษณ์ (Interview) การสังเกตการณ์พบว่า พบว่ามีปัจจยัหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านข้อจ ากัดของภาษาในการชม การแสดงเพลงโคราชแบบดั้ งเดิมด้านมุมมองท่ีเปล่ียนไปในการรับชมการแสดงเพลงโคราช แบบ ดั้งเดิมดา้นการสืบทอดและผูรั้บการสืบทอดเพลงโคราชแบบดั้งเดิมนั้นมีน้อยลงผลกระทบจากกระแสโลกาภิวตัน์และความเจริญทางด้านเทคโนโลยี และขาดการส่งเสริมสนับสนับสนุน จากหน่วยงานภาครัฐเพลงโคราชแบบดั้ งเดิมนั้นนับได้ว่าเป็นมรดกทางวฒันธรรมอนัยิ่งใหญ่ ของชาวจังหวดันครราชสีมาซ่ึงสะท้อนให้เห็นขนบธรรมเนียมประเพณี วฒันธรรมของคน ในทอ้งถ่ินเป็นส่ิงจรรโลงใจแก่ผูช้มผูฟั้ง เรียกได้ว่าเป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษท่ีรังสรรค์มา เพื่อความบนัเทิงสนุกสนานแลว้ยงัสอดแทรกแง่คิดคติธรรม สะทอ้นให้เห็นมุมมองการด ารงชีวิต ของคนในท้องถ่ินของจังหวัดนครราชสีมา ดังนั้ นจึงควรท่ีจะตระหนักถึงคุณค่า แนวทาง การอนุรักษ์และฟ้ืนฟูการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิมควรจะรับความร่วมมือจากผูท่ี้เก่ียวขอ้ง ไม่วา่จะเป็นครูเพลงและคณะหมอเพลงโคราช ประชาชนในพื้นท่ี องคก์รเอกชน รวมถึงหน่วยงานจากภาครัฐ ควรมีการรณรงค์ประชาสัมพนัธ์ สร้างทศันคติความเขา้ใจท่ีถูกตอ้งเพื่อให้ประชาชนคนในท้องถ่ินตระหนักถึงความส าคัญของมรดกทางว ัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถ่ินอันมีค่า และอนุรักษฟ้ื์นฟูใหอ้ยูสื่บไป

    สาขาวชิาการจดัการทรัพยากรวฒันธรรม บณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร ลายมือช่ือนกัศึกษา .................................................... ปีการศึกษา 2557 ลายมือช่ืออาจารยท่ี์ปรึกษาวทิยานิพนธ์ ...............................

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 53112307: MAJOR: CULTURAL RESOURCE MANAGEMENT KEY WORD: KORAT TRADITIONAL SONG / PRESERVATION AND REHABILITATION. BENJAPORN JEXJUNTUK: GUIDELINE FOR THE MANAGEMENT AND REVITALIZATION OF KORAT SONG PERFORMANCE IN NAKHON RATCHASIMA. THESIS ADVISOR: ASSOC. PROF. THANIK LERTCHARNRIT, Ph.D. 127 pp.

    The study of wisdom of the Korat traditional song performance in Nakhon Ratchasima Province. The researcher aim to study history of wisdom in the Korat traditional song performance, analysis of the problem and propose guideline for preservation and rehabilitation in the Korat traditional song performance in Nakhon Ratchasima Province. By using qualitative research and data collection by depth interview. The result of this study signifies that the problem situation consist of the limitation of language in the Korat traditional song performance and the shift in viewpoint away from appreciation in the performance. Moreover lack of an inheritance and heir of the Korat traditional song because effects of globalization and modern technology including lack of support from government organization. The Korat traditional song is the sophisticated cultural heritage of local people that represent tradition, custom and local culture. The audiences were well nourished that the ancestor invented the Korat traditional song for entertainment, tacit moral teaching and reflection in way of life of local people in Nakhon Ratchasima Province. This study therefor proposes to realize of value and guideline for preservation and rehabilitation of the Korat traditional song performance should be brought seriously participation from participant consist of the wisdom teachers, theatre groups, local people, private organizations, and government agencies, particularly should be publicized, creating attitude for precise comprehension and consciousness of uniqueness value for the continued preservation.

    Program of Cultural Resource Management Graduate School, Silpakorn University Student’s signature…………………….…. Academic Year 2014 Thesis Advisor’s signature………………..

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • กติติกรรมประกาศ นับว่าเป็นโอกาสดีท่ีได้เขา้มาศึกษาในสาขาการจดัการทรัพยากรวฒันธรรม ซ่ึงได้รับความรู้และประสบการณ์ท่ีดี รวมไปถึงองค์ความรู้ท่ีสามารถน าไปพฒันาตนเองในดา้นต่างๆไดม้ากยิ่งข้ึน ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิก เลิศชาญฤทธ์ ผู ้เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาวทิยานิพนธ์ท่ีเมตตา แนะน า ช่วยปรับปรุงแกไ้ข เป็นผลให้วิทยานิพนธ์เล่มน้ีส าเร็จลุล่วงได ้ขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย ์พิสิฐ เจริญวงศ์ และ ศาสตราจารย ์สายนัต์ ไพรชาญจิตร์ ท่ีไดส้ละเวลามาเป็นกรรมการสอบวทิยานิพนธ์ในคร้ังน้ี กราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ผูท่ี้ให้ก าเนิด รวมไปถึงคุณตาและคุณยาย ท่ีช่วยกนัอบรมเล้ียงดูสั่งสอนให้เติบใหญ่ไดศึ้กษาเล่าเรียนจนมีความรู้ ขอบคุณน้องชายท่ีคอยช่วยเหลือในทุกๆ ดา้นรวบไปถึงการเก็บข้อมูลในการท าวิทยานิพนธ์ด้วย ขอบคุณเพื่อนๆ สาขาวิชาการจดัการทรัพยากรวฒันธรรม รุ่น 3 มหาวิทยาลยัศิลปากร ท่ีคอยเป็นก าลงัใจและแนะน าขอ้มูลความรู้ท่ีเป็นประโยชน์ในการศึกษา และเพื่อนๆ ทั้งจากท่ีมหาวิทยาลยัมหาสารคาม โรงเรียนสีกนั บริษทั i-mobile 3 gx และเพื่อนสนิททุกท่านท่ีคอยเติมเตม็ก าลงัใจเร่ือยมา กราบขอบพระคุณคณะเพลงโคราชทุกคณะ หมอเพลงทุกท่าน ประชาชน นักเรียน ในจงัหวดันครราชสีมา นักศึกษาและอาจารย์มหาวิทยาลยัราชภฎันครราชสีมา อาจารยก์ าป่ัน บา้นแท่น ท่ีใหค้วามช่วยเหลือในทุกเร่ือง โดยเฉพาะอยา่งยิ่งในการเก็บขอ้มูล งานวิทยานิพนธ์คร้ังน้ีคงไม่ส าเร็จหากไม่ไดค้วามร่วมมือและเมตตาจากทุกท่านท่ีกล่าวไวเ้บ้ืองตน้ คุณค่าและประโยชน์ท่ีเกิดจากวทิยานิพนธ์เล่มน้ี ขออุทิศให้กบั นายสมหมาย สังขก์ระจาย และพ.จ.อ. หญิง สมจิตต์ เจ๊กจนัทึก ผูเ้ป็นตาและแม่ ซ่ึงเป็นผูส้นับสนุนและส่งเสียในการศึกษาต่อ ในระดบัมหาบณัฑิต แต่ทั้งสองท่านไม่มีโอกาสได้เห็นความส าเร็จในคร้ังน้ี ตลอดจนขอน้อมคารวะ ครูเพลง หมอเพลงโคราช ในอดีตทุกท่าน ทา้ยท่ีสุดขอให้ผลการศึกษาน้ี จงเป็นประโยชน์ด้านการอนุรักษแ์ละฟ้ืนฟูการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิมต่อไป

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญ หนา้ บทคดัยอ่ภาษาไทย ................................................................................................................... ง บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ .............................................................................................................. จ กิตติกรรมประกาศ .................................................................................................................... ฉ สารบญัภาพ .............................................................................................................................. ญ บทท่ี 1 บทน า ............................................................................................................................. 1 ท่ีมาและความส าคญัของปัญหา ............................................................................. 1 วตัถุประสงคข์องการศึกษา .................................................................................... 4 ขอบเขตของการศึกษา ........................................................................................ 4 นิยามค าศพัทเ์ฉพาะ ............................................................................................. 4 ประโยชน์ท่ีคาดวา่จะไดรั้บ .................................................................................. 5 2 แนวคิดเก่ียวกบัการอนุรักษแ์ละฟ้ืนฟูทรัพยากรวฒันธรรม ......................................... 6 แนวคิดทางวฒันธรรม ......................................................................................... 6

    ลกัษณะของวฒันธรรม ........................................................................................ 7 ประเภทของวฒันธรรม ........................................................................................ 7 ทรัพยากรวฒันธรรม ............................................................................................ 8 การอนุรักษท์รัพยากรวฒันธรรม ......................................................................... 11 การจดัการทรัพยากรวฒันธรรม ........................................................................... 11 แนวคิดภูมิปัญญาทอ้งถ่ิน ..................................................................................... 13 แนวคิดเก่ียวกบัเพลงพื้นบา้นในสังคมไทย .......................................................... 15 เพลงโคราชในบริบทสังคมสมยัใหม่ ................................................................... 25

    3 ระเบียบวธีิการศึกษา .................................................................................................... 29 วธีิการด าเนินการวิจยั ................................................................................... 29 วธีิการด าเนินการศึกษา ................................................................................ 29 ขอบเขตการศึกษา ....................................................................................... 30 เคร่ืองมือท่ีใชก้ารวจิยัและเก็บรวบรวมขอ้มูล .............................................. 31

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทท่ี หนา้ แบบสังเกตการณ์ ......................................................................................... 33 4 ขอ้มูลพื้นท่ีศึกษา ........................................................................................................... 33 ขอ้มูลพื้นฐานของจงัหวดันครราชสีมา ................................................................ 33 ขอ้มูลเก่ียวกบัอ าเภอเมืองนครราชสีมา ................................................................ 39 5 ผลการศึกษา ................................................................................................................ 55 ประวติัความเป็นมาและรูปแบบการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ...................... 55 ประวติัความเป็นมาของเพลงโคราช ............................................................ 55 ประเภทของเพลงโคราช .............................................................................. 61 เพลงโคราชแบบดั้งเดิม .................................................................. 61 เพลงโคราชแกบ้น .......................................................................... 63 เพลงโคราชซ่ิงหรือเพลงโคราชประยกุต ์....................................... 67 เน้ือหาของกลอนเพลงโคราชแบบดั้งเดิม .................................................... 69 การเขียนกลอนเพลงโคราช ......................................................................... 70 รูปแบบและวธีิการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ........................................ 74 ความเช่ือและพิธีกรรมในการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ........................ 76 การแต่งกายในการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ......................................... 76 ลกัษณะเวทีเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ............................................................. 78 ท่าร าของเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ................................................................... 78 การฝึกเพลงโคราช ....................................................................................... 80

    คณะเพลงโคราช .......................................................................................... 81 คณะเพลงก าป่ัน บา้นแท่น ........................................................................... 82 คณะเพลงโคราชติมหลอด ท่ากระทุ่ม ......................................................... 86 คณะเพลงโคราชแสงสมชิด ......................................................................... 87 คณะหวานนอ้ย หนองบุนนาก .................................................................... 89

    สภาพเพลงโคราชและปัญหาท่ีเกิดข้ึนกบัการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ........ 90 สภาพทัว่ไปของการแสดงเพลงโคราช ........................................................ 90 สภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนกบัการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ......................... 96 แนวทางการอนุรักษแ์ละฟ้ืนฟูการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ......................... 100

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทท่ี หนา้ แนวทางการสร้างทศันคติและความเขา้ใจเพื่อใหเ้ห็นถึงคุณค่า และความส าคญั ............................................................................. 101 แนวทางการจดัตั้งองคก์รหรือหน่วยงานท่ีมีส่วนเก่ียวขอ้ง และการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อเขา้มาอนุรักษแ์ละฟ้ืนฟู ............. 102 แนวทางดา้นการใชส่ื้อเทคโนโลยใีนการประชาสัมพนัธ์เผยแพร่ ............... 104 แนวทางการจดัตั้งศูนยก์ารเรียนรู้ชุมชนเพื่อศึกษาเพลงโคราช แบบดั้งเดิม ..................................................................................... 106 6 สรุปผลการศึกษาและขอ้เสนอแนะ.............................................................................. 108 สรุปผลการศึกษา ................................................................................................. 108 ขอ้เสนอแนะ ........................................................................................................ 118 รายการอา้งอิง…………………………………………………………………... .................. 119 ภาคผนวก…………………………………………………………………... ........................ 123 ประวติัผูท้ าวิจยั…………………………………………………………………... ................ 127

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา้ 1 แผนท่ีจงัหวดันครราชสีมา ..................................................................................... 36 2 แผนท่ีต าบลในเขตอ าเภอเมืองนครราชสีมาทั้งหมด ............................................... 41 3 การแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ........................................................................... 62 4 การแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ........................................................................... 63 5 การแสดงเพลงโคราชแกบ้น ................................................................................... 65 6 การแสดงเพลงโคราชแกบ้น ................................................................................... 66 7 ภาพการแสดงเพลงโคราชแบบประยกุต ์................................................................ 68 8 ภาพการแสดงเพลงโคราชแบบประยกุต ์................................................................ 68 9 ภาพตวัอยา่งการแต่งกายของผูแ้สดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ................................. 77

    10 ภาพตวัอยา่งการแต่งกายของผูแ้สดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ................................. 77 11 ภาพหมอเพลงก าป่ัน บา้นแท่นและหมอเพลง กาเหวา่ โชคชยัแสดงท่าร า ในการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ........................................................... 79 12 ภาพหมอเพลงก าป่ัน บา้นแท่นและหมอเพลง กาเหวา่ โชคชยัแสดงท่าร า ในการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม .......................................................... 80 13 นายก าป่ัน ข่อยนอก หวัหนา้คณะเพลงโคราชก าป่ัน บา้นแท่น .............................. 83 14 นายก าป่ัน ข่อยนอก หวัหนา้คณะเพลงโคราชก าป่ัน บา้นแท่น .............................. 83

    15 นายหลอด เชยสูงเนินหวัหนา้คณะเพลงโคราชติมหลอด ท่ากระทุ่ม ...................... 87 16 นายแสนปรีดา บุญหาญณรงคแ์ละนางสมชิด หินโคนดง เจา้ของคณะ เพลงโคราชแสงสมชิดภาพตวัอยา่งการแต่งกายของผูแ้สดง เพลงโคราชแบบดั้งเดิมเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ....................................... 88

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 1

    บทที ่1 บทน า

    1. ทีม่าและความส าคัญของปัญหา

    ศิลปะการแสดงเพลงพื้นบ้านเป็นส่วนหน่ึงของวฒันธรรม เป็นสัญลักษณ์ของการแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด รวมไปถึงความเช่ือและความศรัทธาศิลปะการแสดงเพลงพื้นบา้นมีมากมายหลากหลายรูปแบบ ข้ึนอยูก่บัลกัษณะวฒันธรรม ความเช่ือ ความนบัถือของกลุ่มคนในแต่ละพื้นท่ี ศิลปะการแสดงของไทยนั้นมีอยูห่ลายประเภทซ่ึงลว้นแตกต่างกนัออกไปตามภูมิภาคทอ้งถ่ินก่อให้เกิดเอกลกัษณ์ท่ีชดัเจนแสดงออกถึงตวัตนวิถีชีวิตของคนในทอ้งถ่ินนั้นหน่ึงในนั้นคือเพลงพื้นบา้น ซ่ึงในประเทศไทยเรานั้นมีเพลงพื้นบา้นอยูจ่ านวนมาก

    การแสดงเพลงเพลงพื้นบา้นคือถอ้ยค าการร้องและท านองท่ีชาวบา้นนั้นใชส่ื้อความคิด ท่ีร้องสืบทอดกนัมาโดยการร้องปากเปล่า เพลงพื้นบา้นบางชนิดเป็นเพลงร้องตอบโตข้องหนุ่มสาวเป็นการดน้กลอนสดท่ีอาศยัปฏิภาณและไหวพริบ เพลงพื้นบา้นนั้นเป็นส่ิงท่ีสะทอ้นให้เห็นถึงความคิดอิสระแสดงให้เห็นถึงมุมมองการใชชี้วิตของชาวบา้นในแต่ละทอ้งถ่ิน (สุกญัญา สุจฉายา, 2543)

    เพลงพื้นบา้นแสดงถึงภูมิปัญญาของคนไทยท่ีสั่งสมกนัมาตั้งแต่สมยัอดีต ศาสตราจารย ์ดร.สัญญา สัญญาววิตัน์ ไดใ้หค้ าจ ากดัความของภูมิปัญญา (wisdom) วา่เป็นความคิดทางสังคม มีสองลกัษณะคือ รูปธรรมไดแ้ก่วตัถุและการกระท าทั้งหลาย และนามธรรมคือความรู้ ความสามารถ ความเช่ือ (สัญญา สัญญาวิวตัน์, 2538) ส่วนภูมิปัญญาทอ้งถ่ินนั้นก็เป็นเสมือนปัญญาท่ีสะสมข้ึนมาจากประสบการณ์ของสังคม ชีวิต และในสภาพ แวดลอ้มท่ีแตกต่างกนั และถ่ายทอดสืบต่อกนัมาเป็นวฒันธรรม (ประเวศ วะสี, 2535: 41) ภูมิปัญญาทอ้งถ่ินหรือเรียกอีกอยา่งว่าภูมิปัญญาชาวบา้น ก็คือ ความรู้ ความคิด ประสบการณ์รวมไปถึงงานสร้างสรรค์ต่างๆท่ีบรรพบุรุษไดส้ั่งสมถ่ายทอดกนัมาเป็นมรดกตกทอดถึงลูกหลาน เพื่อใชใ้นการด ารงชีวติใหอ้ยูร่อดอยา่งมีความสุข

    โดยศิลปะการแสดงเพลงพื้นบา้นในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่จะเป็นการขบัร้องท่ีมีดนตรีบรรเลงประกอบ โดยสามารถแสดงไดท้ัว่ไป มกัไม่ค่อยจ ากดัเทศกาล แต่จะนิยมแสดงกนัมากในงานมงคล งานร่ืนเริง งานเฉลิมฉลองมีทั้งการร้องเด่ียว ร้องหมู่ และร้องตอบโต ้ ซ่ึงเพลงพื้นบา้นของภาคตะวนัออกเฉียงเหนือจะมีลกัษณะคลา้ยกบักบัการแสดงเพลงพื้นบา้นของทางภาคเหนือ

    เน่ืองจากจงัหวดันครราชสีมาตั้งอยู่บริเวณท่ีราบสูงโคราช อาจกล่าวไดว้่าเป็นแหล่งอารยธรรมท่ีเก่าแก่ และมีประวติัยาวนาน เน่ืองจากพื้นท่ีน้ีเป็นท่ีอยู่อาศยัของหลายกลุ่มชาติพนัธ์ุ

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 2

    เช่น ไทเบิ้ง ไทด า ไทยวน เอกลกัษณ์ท่ีสะทอ้นใหเ้ห็นถึงวฒันธรรมของชาวไทยโคราชคือ ภาษาถ่ินโคราช โดยชาวไทยโคราชส่วนใหญ่ก็จะส่ือสารกนัดว้ยภาษาโคราช ดงันั้นรูปแบบการละเล่น หรือศิลปะการแสดงเพลงพื้นบา้นจะมีเอกลกัษณ์ท่ีเด่นชดั (ของดีโคราชเล่ม4, 2538: 9)

    ส าหรับการแสดงเพลงโคราชแบบดั้ งเดิมนั้นเป็นเพลงพื้นบ้านจดัอยู่ในประเภทเพลงพื้นบ้านท่ีเป็นการแสดง หมายถึง เพลงพื้นบ้านท่ีมีลักษณะการร้องเล่นเป็นการแสดง (เครือจิต ศรีบุนนาค, 2545: 41) มีการสมมติบทบาทผูกเร่ืองเป็นชุด ดังนั้ นผูร้้องจ าเป็นจะต้องเป็นคนท่ีมีความสามารถพิเศษ คือมีความจ าดี มีไหวพริบมีความสามารถในการสร้างสรรคเ์น้ือร้อง

    เพลงโคราชเป็นศิลปะการแสดงเพลงพื้นบา้นของชาวโคราชมายาวนาน แต่ก็ไม่ไดมี้หลักฐานท่ีแน่ชัดว่าเร่ิมเล่นกันมาตั้งแต่เม่ือใด มีเพียงแต่ค าบอกเล่ากนัมาว่า สมยัท่ีท้าวสุรนารี (ย่าโม) ท่านยงัมีชีวิตอยู่นั้นท่านโปรดปรานการแสดงเพลงโคราชเป็นอย่างมาก และเม่ือจงัหวดัมีการจดังานประจ าปีเพื่อระลึกถึงท่านมหรสพท่ีจะขาดไม่ไดน้ัน่คือ เพลงโคราช (เนตร นิมิต, 2537: 73)

    เพลงโคราชแบบดั้งเดิม เป็นศิลปะการแสดงพื้นบา้นท่ีไดสื้บทอดกนัมาเป็นเวลายาวนาน เพลงโคราชดั้งเดิมนั้นเป็นผลงานสร้างสรรค์ท่ีเกิดจากภูมิปัญญาของคนในทอ้งถ่ิน ซ่ึงสืบทอดกนัมาหลายชัว่อายคุน เพลงโคราชสมยัก่อนเป็นท่ีนิยมกนัมากเน่ืองจากไม่มีขอ้จ ากดัในโอกาสท่ีเล่นสามารถเล่นไดใ้นงานทุกชนิด ทุกเทศกาลโดยเพลงโคราชนั้นมีเอกลกัษณ์การแสดงท่ีเฉพาะตวั ไดแ้ก่ การใช้ภาษา รูปแบบ เน้ือหาของกลอนเพลง ท่วงท านองของบทเพลง ตลอดจนการเล่นเพลงโดยไม่มีเคร่ืองดนตรีหรือเคร่ืองประกอบจงัหวะการบรรเลงประกอบ ใช้เพียงการตบมือละร่ายร า ร าไปตามจงัหวะของกลอนเพลงเท่านั้น (กาญจนา เธียรกุลไพบูลย,์ 2547) เป็นเพลงท่ีร้องโตต้อบชาย – หญิงท่ีใชไ้หวพริบปฏิภาณ และความรู้ความสามารถของหมอเพลงในการดน้เพลงแกก้นัในเร่ืองราวต่าง ๆ ของวิถีชีวติท่ีมีท่วงท านอง และการขบัร้องเป็นส าเนียงภาษาไทยถ่ินโคราช (จนัทร หลา้เพชร, 2546)

    เน้ือหาท่ีใช้ร้องในการแสดงก็จะสะทอ้นภาพวฒันธรรมและโลกทศัน์ของชาวไทยโคราชไดอ้ยา่งชดัเจนอีกทั้งยงัสะทอ้งใหเ้ห็นความเช่ือจากศาสนาและความเช่ือดั้งเดิม รวมทั้งสภาพความเป็นอยู ่การท ามาหาเล้ียงชีพ ตลอดถึงค่านิยมต่าง ๆ ท่ีสามารถใชเ้ป็นส่ือในการสอนใจคน

    เพลงโคราชในอดีตนั้นนอกจากจะเป็นมหรสพท่ีใช้แสดงเพื่อความบนัเทิงแล้วเพลงโคราชยงัเป็นส่ิงท่ีส่ือถึงความคิด การกระท า การแสดงออกของคนโคราชในเวลานั้นดว้ย โดยเน้ือหาของเพลงโคราชแต่ละบทกลอนนั้นก็จะมีการพูดและกล่าวถึงในเร่ืองต่าง ๆ ไม่วา่จะเป็นการสอนหญิงการสอนเด็ก การใช้หลกัธรรมมาเป็นตวัช้ีถึงสัจธรรมของโลกการครองเรือนฯลฯ (ถาวร สุบงกช, 2536) ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีลว้นสะทอ้นใหเ้ห็นถึงภูมิปัญญาของผูแ้ต่งและผูร้้องเพลงโคราชท่ีตอ้งการจะส่ือหรือให้ขอ้คิดแก่ผูช้มการแสดงซ่ึงถือว่าเป็นการสอดแทรกแง่คิดไปในความบนัเทิงอย่างแยบยลเพราะในอดีตเวลามีงานสมโภชหรืองานวดัต่าง ๆ ผูค้นก็มกัจะไปรอชมมหรสพต่าง ๆ กัน อย่าง

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

    http://202.28.32.94/search*tha/a%7b736%7d%7b676%7d%7b707%7d%7b727%7d%7b717%7d%7b680%7d%7b724%7d%7b693%7d+%7b712%7d/a|a4e0c3d7cda8d4b5+c8c3d5bad8b9b9d2a4/-3,-1,0,B/browsehttp://202.28.32.94/search*tha/a%7b736%7d%7b676%7d%7b707%7d%7b727%7d%7b717%7d%7b680%7d%7b724%7d%7b693%7d+%7b712%7d/a|a4e0c3d7cda8d4b5+c8c3d5bad8b9b9d2a4/-3,-1,0,B/browsehttp://202.28.32.94/search*tha/a%7b680%7d%7b721%7d%7b697%7d%7b695%7d%7b707%7d+%7b715%7d%7b709%7d%7b745%7d%7b722%7d/a|a8d1b9b7c3+cbc5e9d2bee0aac3/-3,-1,0,B/browse

  • 3

    มากมายไม่ว่าจะเป็นลิเก วงป่ีพาทย ์แต่ส าหรับชาวโคราชในอดีตนั้นส่ิงท่ีรอคอยชมกนัมากท่ีสุดก็เห็นจะหนีไม่พน้เพลงโคราชเพราะนอกจากจะสนุกสนานกบัการแสดงแลว้ ผูช้มยงัตอ้งคอยลุน้กนัวา่หมอเพลงจะงดัเอาค าร้องมาร้องต่อกนัไดห้รือไม่ เพราะในการแสดงบางคร้ังก็มีการเก้ียวพาราสีกนัหรือไม่ก็จะมีการร้องถกเถียงเอาชนะกนั หรือในบางคร้ังก็ไดมี้การหยิบยกเอาเร่ืองการเมืองมาร้องลอ้เลียนดว้ยเช่นกนั (ทวาย เกร่ินกระโทก, 2554)

    หลงัจากช่วงการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดความเปล่ียนแปลงดา้นต่าง ๆข้ึนทั้งดา้นสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ท าใหบ้ทบาทการแสดงเพลงโคราชเปล่ียนแลงไปจากเดิมโดยมีเหตุปัจจยัท่ีส าคญัคือ ความเจริญดา้นเทคโนโลย ีดา้นการส่ือสาร ส่ือบนัเทิง และดา้นคมนาคม คนในจงัหวดันครราชสีมานิยมฟังเพลงโคราชน้อยลงมาก (วีระ เลิศจนัทึก, 2541) เพราะมีส่ือบนัเทิงอ่ืนๆเขา้มาอยา่งแพร่หลายอาทิเช่น ภาพยนตร์ เพลงสากล เพลงลูกทุ่ง ฯลฯ ดงันั้น เม่ือมีการจดังานฉลองสมโภชก็มกัจะมีมหรสพอ่ืนๆเขา้มาเป็นคู่แข่ง โดยเฉพาะ ลิเก หมอล า ภาพยนตร์มวย เพลงลูกทุ่ง และร าวง ท าใหผู้ฟั้งเพลงโคราชเหลือแต่พวกผูเ้ฒ่าผูแ้ก่ท่ียงัช่ืนชอบ (ห่าม ข่อยนอก, 2554) ท าใหก้ลุ่มคนรุ่นใหม่ไม่ไดส้นใจหรือละเลยศิลปะการแสดงเพลงโคราช

    ดงันั้นการแสดงเพลงโคราชตอ้งเปล่ียนแปลงรูปแบบวิธีการแสดงเพื่อเอาใจผูช้มมากข้ึน โดยเพลงโคราชท่ีถูกปรับเปล่ียนในรูปแบบใหม่น้ีเรียกว่า เพลงโคราชประยุกต์หรือเพลงโคราช ซ่ึงโดยเพลงโคราชประยุกตมี์การน าดนตรีเขา้มาผสมผสานกบัเน้ือร้องให้มีลกัษณะคลา้ยกบัเพลงลูกทุ่ง จนบางคร้ังจึงท าให้เน้ือหาค าร้องท่ีแสดงออกถึงไหวพริบปฏิภาณได้หายไป มีการเล่นเพลงโคราชประยุกต์ เล่นเพลงหมอล า น าหางเคร่ืองเขา้มาเตน้ประกอบและมีเพลงประดิษฐ์แต่งเติมให้มากข้ึนกวา่เดิม น าเอาดนตรีสากลเขา้มาประกอบแบบการเล่นล าเพลินของชาวอีสาน (วิเชียร โตพิมาย, 2521) ซ่ึงจะเห็นไดจ้ากการท่ีนกัร้องลูกทุ่งช่ือดงัทั้งหลายไดน้ าการร้องเอ้ือน และรูปแบบการล ากลอนไปประยุกต์ข้ึนมาใหม่ตวัอย่างเช่น ตัก๊แตน ชลลดา มีการน าเพลงโคราชไปประยุกต์กบัเพลงลูกทุ่งเช่น เพลงจิรักหรือจิหลอก ส่วนสนุ๊ก สิงหมาตย์ ก็เป็นนักร้องลูกทุ่งอีกคนท่ีมีการน าเพลงโคราชไปประยกุต ์เช่นเพลง ลูกเทวดา (แสง ข่อยนอก, 2554)

    เพลงโคราชโดยเฉพาะเพลงโคราชแบบดั้ งเดิมนั้นนับได้ว่าเป็นมรดกทางวฒันธรรมส าคญัของชาวจงัหวดันครราชสีมาซ่ึงสะทอ้นให้เห็นขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒันธรรมของคนในทอ้งถ่ิน เป็นส่ิงจรรโลงใจแก่ผูช้มผูฟั้ง เรียกไดว้า่เป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษท่ีรังสรรคม์าเพื่อความบนัเทิงสนุกสนานแลว้ยงัสอดแทรกแง่คิดคติธรรม สะทอ้นให้เห็นมุมมอง การด ารงชีวิตของคนในทอ้งถ่ินของจงัหวดันครราชสีมา ดงันั้นคนรุ่นหลงัควรตระหนกัในคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน และร่วมกนัเผยแพร่ให้แก่คนรุ่นต่อไปอย่างไรก็ตามพบว่าเพลงโคราชได้รับความนิยมลดนอ้ยลงอีกทั้งเร่ิมสูญหายไปจากวฒันธรรมโคราช ขณะท่ีหมอเพลงก็มีจ านวนน้อยลงเน่ืองจากวิถี

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 4

    ชีวิตของผูค้นในสังคมเปล่ียนไป ระบบความสัมพนัธ์ของผูค้นก็เปล่ียนไป โอกาสท่ีจะแสดงเพลงโคราชน้อยลง โอกาสท่ีจะฝึกฝนทกัษะพฒันาและสืบทอดก็ลดลงดว้ย แมใ้นปัจจุบนัการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิมนั้นยงัมีการแสดงอยู่ แต่ก็ไม่ได้รับความนิยมดงัเช่นในอดีต จ านวนหมอเพลงและคณะท่ีท าการแสดงก็ลดลงอยา่งเห็นไดช้ดั ซ่ึงภาพลกัษณ์ของการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิมนั้นกลายเป็นส่ิงท่ีลา้หลงัไม่ทนัสมยั บางคนนั้นไม่รู้จกัดว้ยซ ้ า เพลงโคราชถูกมองวา่เป็นการแสดงท่ีใช้เพียงเพื่อแก้บนให้กบัย่าโมเท่านั้น ส่วนเพลงโคราชในแบบประยุกต์นั้นก็ถือได้ว่ายงัไดรั้บความนิยมอยูเ่น่ืองจากเป็นการแสดงท่ีหลากหลายทั้งดนตรี หมอล า และเพลงโคราช

    ดงันั้นผูศึ้กษาจึงสนใจศึกษาภูมิปัญญาการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิมเพื่อหาแนวทางการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูเพลงโคราช แบบดั้งเดิม ท่ีเป็นมรดกทางวฒันธรรมท่ีมีคุณค่าของชาวโคราช สะทอ้นให้เห็นถึง วฒันธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในทอ้งถ่ิน และหวงัว่าจะแรงผลกัดนัใหค้นรุ่นใหม่มองเห็นถึงคุณค่าความส าคญั ในการท่ีจะอนุรักษพ์ฒันาให้เพลงโคราชคงอยูเ่ป็นวฒันธรรมการแสดงพื้นบา้นของจงัหวดันครราชสีมา สืบไป

    2. วตัถุประสงค์ของการศึกษา

    2.1 ศึกษาเพื่อเสนอแนวทางการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูภูมิปัญหาการแสดงเพลงโคราช แบบดั้งเดิมของจงัหวดันครราชสีมา

    3. ขอบเขตของการศึกษา

    ศึกษาถึงความเป็นมา ลกัษณะการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม รวมไปถึงภูมิปัญญาองคค์วามรู้โดยการส ารวจจากขอ้มูลรายงานวิจยัท่ีผ่านมา เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางการอนุรักษฟ้ื์นฟูและจดัการท่ีเหมาะสมกบัการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม โดยจะศึกษาเฉพาะพื้นท่ีอ าเภอเมือง จงัหวดันครราชสีมาเป็นพื้นท่ีในการศึกษา

    4. นิยามค าศัพท์เฉพาะ

    4.1 เพลงโคราชดั้งเดิม หมายถึง เพลงโตต้อบชาย หญิง เป็นเพลงพื้นบา้นชนิดหน่ึงของชาวไทโคราช มีรูปแบบ เน้ือหา และการเล่นเพลง เป็นเอกลกัษณ์อนัสะทอ้นให้เห็นโลกทศัน์ ค่านิยม และวฒันธรรมบางประการของชาวไทยโคราชเป็นเพลงโคราช ท่ียงัคงเอกลกัษณ์ดั้งเดิมในการเล่นเพลง เช่น รูปแบบ เน้ือหาของกลอนเพลงการแต่งกายของหมอเพลง โรงเพลง ท่าร า ตลอดจนขนบในการเล่นเพลง เป็นตน้

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 5

    4.2 เพลงโคราชแก้บน หมายถึง เพลงโคราชท่ีเล่นประกอบพิธีกรรมแกบ้นถวายแด่ทา้วสุรนารี มีรูปแบบทัว่ไปเช่นเดียวกบัเพลงโคราชแบบดั้งเดิมแต่ลดขั้นตอนบางอยา่งลง เพื่อความเหมาะสมกบัสถานท่ีเล่นเพลง เพลงโคราชแกบ้นมีเน้ือหาท่ีสะทอ้นความเช่ือในการบนบานศาลกล่าวทา้วสุรนารี และความส าเร็จในการบนนั้นเน้ือหาของเพลง จึงเป็นการกล่าวถึงความศกัด์ิสิทธ์ิของทา้วสุรนารีเหตุท่ีหาเพลงมาเล่น และความส าเร็จจากการบนดว้ยเพลงโครา

    4.3 เพลงโคราชประยุกต์ หรือเพลงโคราชซ่ิง หมายถึงเพลงโคราชท่ีประยุกต์ทั้ งรูปแบบและเน้ือหาของการเล่นเพลง กลอนเพลงเขา้กบัปัจจุบนัเพื่อตอบสนองความตอ้งการของผูฟั้ง เพลงโคราชประยุกตมี์ลกัษณะใกลเ้คียงกบัการแสดงเพลงลูกทุ่งของไทย นิยมน าเคร่ืองดนตรีสากลมาเล่นประกอบการร้องเพลง และมีหางเคร่ืองตน้ประกอบเพลง

    4.4 หมอเพลง หมายถึง นักร้องเพลงโคราช ในอดีตหมอเพลงจะตอ้งเป็นผูมี้ความรู้ ความสามารถในการเล่นเพลงอยา่งมากจึงจะเรียกเป็นหมอเพลงไดปั้จจุบนั หมอเพลง นิยมใชเ้รียกผู ้ท่ีประกอบอาชีพนกัร้องเพลงโคราช ซ่ึงอาจจะมีหรือไม่มีความสามารถในการร้องเพลงก็ได ้

    4.5 โรงเพลง หมายถึง เวทีชั่วคราวท่ีใช้ในการเล่นเพลงปกติสร้างข้ึนเม่ือมีการเล่นเพลงเท่านั้น

    4.6 กลอนเพลง หมายถึง ค าประพนัธ์ของเพลงโคราชเป็นร้อยกรองทอ้งถ่ินท่ีเรียบง่าย มีลกัษณะเด่นท่ีการใชภ้าษาไทยถ่ินโคราช และมีการเล่นสัมผสัใน 5. ประโยชน์ทีค่าดว่าจะได้รับ

    5.1 ประชาชนและบุคคลในพื้นท่ีได้รับทราบและตระหนักถึงความส าคัญของ การแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม เช่ือมโยงไปสู่การอนุรักษแ์ละฟ้ืนฟูใหค้งอยูสื่บไป

    5.2 ภูมิปัญญาการแสดงเพลงโคราชแบบดั้งเดิม ได้รับการพฒันาต่อยอดเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 6

    บทที ่2 แนวคิดเกีย่วกบัการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรวฒันธรรม

    1. แนวคิดทางวฒันธรรม

    ค าว่า “วฒันธรรม” ในทางภาษาเป็นคาท่ีมาจากภาษาบาลีและสันสกฤตโดยคาว่า “วฒันธรรม” เป็นภาษาบาลีแปลว่าส่ิงท่ีเจริญงอกงามความกา้วหนา้ส่วนค าวา่ “ธรรม” เป็นภาษาสันสกฤตหมายถึงคุณความดีเม่ือนามารวมกนัจึงหมายถึงคุณธรรมหรือลกัษณะท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงามตรงกบัภาษาองักฤษวา่ “Culture” มีรากศพัทม์าจากภาษาลาติน “Cultura” หมายถึงการเพาะปลูกหรือการปลูกฝังเป็นการอธิบายไดว้า่มนุษยเ์ป็นผูป้ลูกฝังอบรมบ่มนิสัยให้เกิดความเจริญงอกงามวฒันธรรมจึงเป็นตวัก าหนดพฤติกรรมหรือความประพฤติของมนุษยใ์นแต่ละสังคมส่วนความหมายในทางมานุษยวทิยานกัวชิาการไดใ้หค้วามหมายของวฒันธรรมไวด้งัน้ี

    เอ่ียม ทองดี (2548: 139) ไดใ้ห้ความหมายของวฒันธรรมไวว้่าเป็นส่ิงต่างๆท่ีมนุษย์สร้างข้ึนกระท าข้ึนเพื่อใช้ในวิถีชีวิตหรือการดารงชีพซ่ึงประกอบดว้ยภูมิปัญญาเง่ือนไขแรงจูงใจแบบแผนพฤติกรรมองคก์รองคก์ารองคว์ตัถุประเพณีและพิธีกรรมต่างๆเพื่อใชเ้ป็นเคร่ืองมือในการจดัการระหวา่งมนุษยก์บัมนุษยแ์ละมนุษยก์บัธรรมชาติต่างๆเพื่อบรรลุวตัถุประสงคข์องตนๆซ่ึงจะแตกต่างกนัไปตามกลุ่มเวลาสถานท่ี

    พระราชบญัญติัวฒันธรรมแห่งชาติปีพุทธศกัราช 2485 (2540: 9) ไดใ้ห้ความหมายวฒันธรรมไวว้่าลักษณะท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงามความเป็นระเบียบร้อยความกลมเกลียวกา้วหนา้ของชาติและศีลธรรมอนัดีของประชาชน

    นิธิ เอียวศรีวงศ์ (2536: 14) ไดส้รุปวา่วฒันธรรมหมายถึงระบบความสัมพนัธ์ของคนกบัคน คนกบัธรรมชาติระบบความสัมพนัธ์น้ีมนุษยไ์ม่ไดส้ร้างข้ึนใหม่ทุกชัว่อายุคนแต่จะรับระบบความสัมพนัธ์ท่ีตกทอดกันมาจากอดีตมีความซับซ้อนมากต้องอาศัยการถ่ายทอดปลูกฝังเป็นเวลานาน

    สรุปไดว้า่วฒันธรรมหมายถึงทุกส่ิงทุกอย่างท่ีมนุษยส์ร้างข้ึนเพื่อสนองความตอ้งการของมนุษยแ์ละไดเ้ปล่ียนแปลงปรับปรุงจากการเรียนรู้ของพฤติกรรมมนุษยท่ี์ไดรั้บการถ่ายทอดสืบต่อกนัมาเป็นแบบแผนประเพณีหรือความคิดเห็นความรู้สึกความประพฤติและกิริยาอาการหรือการกระท าใดๆของมนุษยจ์นมีการยอมรับปฏิบติักนัมาเป็นวิธีการและมีการอบรมถ่ายทอดไปสู่สมาชิกรุ่นต่อมาเพื่อปรับปรุงใหเ้ขา้กบัสภาพส่ิงแวดลอ้มของมนุษย ์

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 7

    2. ลกัษณะของวฒันธรรม ลักษณะของวฒันธรรมเป็นส่ิงท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงามและเป็นส่ิงท่ีมนุษย์

    พยายามน ามาแกไ้ขปัญหาในชีวิตประวนัจนทาให้เกิดลกัษณะเฉพาะกลุ่มชาติพนัธ์จนกลายเป็นแบบแผนชีวิตลกัษณะพื้นฐานของวฒันธรรมแบ่งออกได ้4 ประการ (สุพตัรา, สุภาพ, 2543: 108-109) ดงัน้ี

    1. เป็นส่ิงท่ีไดม้าจากการเรียนรู้การเรียนรู้น้ีตอ้งเรียนรู้จากมนุษยด์ว้ยกนัโดยเฉพาะจากกลุ่มท่ีบุคคลนั้นเป็นสมาชิกอยู่เช่นหุงข้าว ทอดไข่ แต่งกาย การนั่งการเดินร้องเพลงการใช้พลงังานจากดวงอาทิตยเ์ป็นตน้ ส่ิงเหล่าน้ีตอ้งรับการเรียนรู้มาก่อนเป็นส่ิงท่ีไมไดม้าโดยกรรมพนัธ์ุแต่เราเรียนส่ิงท่ีใช้อยู่ในสังคมท่ีเราเป็นสมาชิกอยู่เช่นเรียนรู้วิธีด านา หว่านขา้ว อ่านหนังสือเพราะว่าสังคมดังกล่าวมีอยู่แล้วดังนั้ นว ัฒนธรรมจึงเป็นการถ่ายทอดโดยการเรียนรู้ไม่ใช่ การถ่ายทอดทางชีวภาพหรือทางพนัธุกรรมดังกล่าวมาและเรียนรู้ย่อมท าให้เกิดปฏิกิริยาโต้ตอบสัมพนัธ์กนั

    2. เป็นมรดกทางสังคมวฒันธรรมจะตอ้งมีการเรียนรู้ไม่วา่จะเป็นการเรียนแบบไม่รู้ตวัก็ตามวฒันธรรมจะตอ้งมีการสอนแมจ้ะไม่จงใจก็ตามถ้าวฒันธรรมตอ้งส้ินสุดหรือสูญหายไปก็แสดงวา่คนรุ่นก่อนไม่ไดถ่้ายทอดให้แก่คนรุ่นต่อมาเช่น ยากลางบา้นบางชนิดไม่มีใครรู้ส่วนผสมดงันั้นคนต่อมาอาจจะตอ้งคิดคน้วฒันธรรมข้ึนใหม่

    3. เป็นวิถีชีวิตแบบของการด ารงชีวิตความคิดในเร่ืองวฒันธรรมท าให้สามารถจ าแนกวฒันธรรมของสังคมหน่ึงจากอีกสังคมหน่ึงเป็นวฒันธรรมเฉพาะอยา่งเพราะบุคคลเกิดในสังคมใดก็เรียนรู้วฒันธรรมของสังคมนั้นเช่นวฒันธรรมชาวเขาต่างกบัวฒันธรรมของคนในเมืองวฒันธรรมของชาวไทยอิสลามก็ต่างกบัวฒันธรรมของชาวไทยท่ีนบัถือพุทธศาสนาไม่จาเป็นตอ้งเหมือนกนัทุกชาติหรือทุกยุคสมยัเป็นการสอนให้มนุษยเ์ขา้ใจสภาพการณ์ต่างๆท่ีท าให้เกิดความแตกต่างระหวา่งกลุ่มต่างๆท่ีแตกต่างกนั

    4. เป็นส่ิงท่ีไม่คงท่ีเพราะมนุษยมี์การคิดคน้ส่ิงใหม่ๆหรือปรับปรุงของเดิมให้เหมาะกบัสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไปจึงทาให้วฒันธรรมมีการเปล่ียนแปลงอยูเ่สมอการเปล่ียนแปลงน้ีอาจจะมีความคิดแบบเก่าๆคดัคา้นกนับา้งซ่ึงเป็นธรรมดาของสังคมท่ีกาลงัพฒันาหรือพฒันาท่ีไม่จ าเป็นตอ้งเปล่ียนเหมือนกนัหมดทุกคนเรียกวา่ Cultural lag ซ่ึงถา้เราเขา้ใจของขอ้ขดักนัน้ีก็จะเป็นแนวทางในการสร้างวฒันธรรมท่ีเป็นประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่ไดม้าก

    3. ประเภทของวฒันธรรม เฌอมาลย ์ ราชภณัฑารักษ ์(2541: 16) ไดจ้ าแนกวฒันธรรมเป็น 2 ประเภทสรุปไดด้งัน้ี

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 8

    1. วฒันธรรมทางวตัถุได้แก่วิธีการต่างๆท่ีมนุษย์คิดข้ึนมาสามารถสร้างท าให้เห็น เป็นรูปร่างข้ึนมาได ้เช่น อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศยั ยารักษาโรค รถยนต์ เคร่ืองบิน เคร่ืองใช้ต่าง ๆ เป็นตน้ การถ่ายทอดวฒันธรรมทางวตัถุเป็นการถ่ายทอดวิธีการทาอาหารการตดัเยบ็เส้ือผา้วิธีการสร้างบา้น วิธีการประดิษฐ์เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ ทั้งน้ีเพราะวตัถุทั้งหลายย่อมเส่ือมสลายไป จะเหลืออยูก่็เพียงรูปแบบและวธีิการประดิษฐซ่ึ์งจะถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นต่อไป

    2. วฒันธรรมท่ีไม่ใช่วตัถุได้แก่ วิธีการคิดและแบบแผนพฤติกรรมท่ีมนุษย์คิดข้ึนมาแลว้ไม่สามารถสร้างท าให้เห็นเป็นรูปร่างได้ เช่น ขนมธรรมเนียมประเพณี ศาสนา ความเช่ือค่านิยม ศีลธรรม จริยธรรม กฎหมาย เป็นตน้ การถ่ายทอดวฒันธรรมท่ีไม่ใช่วตัถุเป็นการถ่ายทอดแนวทางแห่งความคิดและระบบอยา่งการปฏิบติั 4. ทรัพยากรวฒันธรรม

    จากการทบทวนเอกสารท่ีเก่ียวกับทรัพยากรวัฒนธรรมพบว่าคาว่า “ทรัพยากรวฒันธรรม” และการจดัการทรัพยากรวฒันธรรมเป็นค าท่ีถูกคิดคน้ข้ึนโดยนกัโบราณคดีรวมไปถึงนกัประวติัศาสตร์ในช่วงปีคริสตศ์กัราช 1970 โดยแนวคิดเดียวกบัการจดัการทรัพยากรธรรมชาติโดยมีท่ีมาท่ีไปจากความต้องการในการอนุรักษ์หรือสงวนรักษาอาคารและโครงสร้างด้านสถาปัตยกรรมท่ีมีคุณค่าทางประวติัศาสตร์หลงัช่วงสงครามกลางเมืองนกัวิชาการอเมริกนัในช่วงคริสตว์รรษท่ี 18 น าไปสู่การเขียนจดหมายเพื่อการอนุรักษว์ตัถุโบราณขององคก์รท่ีทาการจดัการในเวลาต่อมาคือกฎหมาย The Antique Act of 1906 ซ่ึงหา้มไม่ใหมี้การลกัลอบขดุหาโบราณวตัถุในพื้นดินสาธารณะโดยปราศจากการไดรั้บการอนุญาตจากองคก์รท่ีเก่ียวขอ้งเด็ดขาดและหลงัจากนั้นก็เกิดองค์การท่ีมีบทบาทอยา่งมากในการจดัการอนุรักษท์รัพยากรท่ีเก่ียวขอ้งกบัโบราณคดีในช่วงหลังสงครามโลกค ร้ัง ท่ี 2 คือ National Park Service (NPS) ท าหน้า ท่ี ในการสงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติและวฒันธรรมโดยเฉพาะการจดัการในรูปแบบของการศึกษาเพื่อบนัทึกความรู้เก่ียวกบัแหล่งโบราณคดีท่ีถูกท าลายโดยโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานเช่นเข่ือนและถนนหนทางในสังคมอเมริกนัต่อมาจนกระทัง่ถึงช่วงปีคริสตศ์กัราช 1970 จึงคน้พบคาวา่ “การจดัการทรัพยากรวฒันธรรม” ข้ึนมาใชใ้นการอธิบายการจดัการอนุรักษท์างโบราณคดีจากการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในขา้งตน้ดว้ยเหตุน้ีทาให้การนิยามความหมายของทรัพยากรวฒันธรรมในช่วงแรกเร่ิมมีความหมายท่ีจ ากดัซ่ึงหมายถึงทรัพยากรทางประวติัศาสตร์และโบราณคดีในความหมายของส่ิงท่ีตอ้งศึกษาหาความรู้และอนุรักษไ์ม่ให้ถูกท าลายจากการเปล่ียนแปลงทางสังคมและต่อมาจึงไดข้ยายขอบเขตใหก้วา้งขวางข้ึนมีความหมายถึงวฒันธรรมของมนุษยทุ์กสังคมทุกยุค

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 9

    ทุกสมยัซ่ึงนอกจากจะมีรูปแบบการจดัการในการอนุรักษ์แลว้ยงัสามารถประยุคใชป้ระโยชน์จากการพฒันาคุณภาพชีวติของคนในปัจจุบนัไดด้ว้ย โดยในอนุสัญญาวา่ดว้ยการคุม้ครองมรดกทางวฒันธรรมและธรรมชาติปีพุทธศกัราช 2514 ได้ให้ความหมายของทรัพยากรวฒันธรรมรวมถึงมรดกทางวฒันธรรมประกอบไปด้วยอนุสรณ์สถานกลุ่มอาคารแหล่งโดยทั้ง 3 ส่วนจะตอ้งมีความส าคญัดา้นประวติัศาสตร์มีเอกลกัษณ์เป็นสากลดงันั้นทรัพยากรทางวฒันธรรมในช่วงปีคริสตศ์กัราช 1970ตอนตน้ถึงคริสตศ์กัราช 1980 หมายถึงวฒันธรรมประเภทท่ีเป็นวตัถุหรือจบัตอ้งและมองเห็นไดโ้ดยเฉพาะอย่างยิ่งวตัถุประเภทส่ิงก่อสร้างหรือสถานท่ีในการท ากิจกรรมของมนุษยใ์นอดีตท่ีมีคุณค่าทางประวติัศาสตร์เก่ียวกบัความเป็นอยู่การด ารงชีวิตของมนุษยต่์อมา โธมสั เอฟคิง (King, 200: 12) ไดร้ะบุถึงทรัพยากรวฒันธรรมซ่ึงแบ่งเป็น 2 ประเภทไดด้งัน้ี

    1. ทรัพยากรท่ีจับต้องเป็นรูปธรรมหรือทรัพยากรท่ีมีลักษณะเป็นกายภาพ เช่นทรัพยสิ์นทางประวติัศาสตร์ โบราณวตัถุ ส่ิงประดิษฐ์ เอกสารโบราณ ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ีเก่ียวขอ้งกบัวฒันธรรม

    2. ทรัพยากรท่ีเป็นนามธรรมคือ มรดกวฒันธรรมท่ีจบัตอ้งไม่ไดใ้นช่วงปีคริสตศ์กัราช 2003 ในการประชุมทัว่ไปขององค์การยูเนสโกโกท่ี้จดัข้ึนท่ีกรุงปารีสประเทศฝร่ังเศสมีการเสนอวาระเพื่อให้พิจารณาแนวทางในการดูแลและก าหนดทรัพยากรวฒันธรรมท่ีจบัต้องไม่ได้โดยก าหนดมาตรการคุ้มครองป้องกันและดูแลทรัพยากรท่ีจับต้องไม่ได้ทั้ งหมด 40 มาตราภายใต้สนธิสัญญา Convention for Safeguarding Intangible Cultural Heritage 2003 ในมาตรท่ี 2 ของสนธิสัญญาดังกล่าวมีการกล่าวถึงทรัพยากรมรดกวฒันธรรมท่ีจับต้องไม่ได้ว่าหมายถึง การแสดงออกการปฏิบติัการน าเสนอความรู้ทกัษะรวมทั้งอุปกรณ์ส่ิงประดิษฐแ์ละพื้นท่ีเก่ียวขอ้งซ่ึงชุมชนกลุ่มคนทรัพยากรวฒันธรรมท่ีจบัตอ้งไม่ไดเ้หล่าน้ีถูกส่งผ่านหรือถ่ายทอดจากคนรุ่นหน่ึง สู่คนรุ่นหน่ึงและมนุษย์ยงัมีการผลิตซ ้ าและสร้างทรัพยากรประเภทน้ีข้ึนใหม่อยู่เสมอ เพื่อตอบสนองสภาพแวดล้อมและเพื่อสร้างอตัลักษณ์ของตนเองให้ย ัง่ยืนยาวนานจากสนธิสัญญาดงักล่าว จึงพอก าหนดประเภทดงัน้ี ประเพณี ภาษา ศิลปะการแสดง ขอ้ปฏิบติั กฎระเบียบทางสังคม พิธีกรรมความรู้ และการปฏิบติัท่ีเก่ียวเน่ืองกบัธรรมชาติและจกัรวาล ทกัษะทางฝีมือเชิงช่าง รวมถึงคติชาวบ้าน เพลงและการแสดงพื้นบ้าน ได้แก่แบบแผนการด ารงชีวิตแบบแผนพฤติกรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยม ความเช่ือแบบแผนปฏิสัมพนัธ์ในชุมชนเป็นตน้

    นอกจากนั้นยงัได้กล่าวถึงทรัพยากรทางวฒันธรรมท่ีมีความซับซ้อนมีหลายส่วนท่ีพวัพนักบัส่ิงต่าง ๆ เช่นสถาบนัคุณค่าความเช่ือประเพณีสัญลกัษณ์รวมไปถึงโครงสร้างทางสังคมดงันั้นทรัพยากรทางวฒันธรรมจึงเป็นมากกว่าเร่ืองโบราณคดีหรือประวติัศาสตร์สถาปัตยกรรม

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 10

    นอกจากนั้นทรัพยากรวฒันธรรมแต่ละประเภทจะมีความแตกต่างกนัดว้ยลกัษณะทางวฒันธรรมท่ีเป็นนามธรรมแล้วยงัมีความแตกต่างในแง่ยุคสมยักล่าวคือวฒันธรรมท่ีสืบทอดมาจากอดีตและวฒันธรรมท่ีถูกสร้างสรรคข้ึ์นในช่วงระยะเวลาใด เวลาหน่ึง

    โดยขอ้ความน้ีสอดคลอ้งกบัท่ีพิสิฐ เจริญวงศ์, (2542 อา้งถึงในสายนัต์ ไพรชาญจิตร์, 2550: 13) กล่าววา่ทรัพยากรมีทั้งประเภทท่ีเป็นมรดกจากอดีตทั้งวฒันธรรมท่ีส้ินสุดแลว้ในอดีตท่ีสืบทอดมายงัคนรุ่นปัจจุบนัและวฒันธรรมส่ิงท่ีสร้างสรรคใ์หม่โดยมีประเภทต่�