รายงานการประเมินตนเองที่เป...

206
(SAR) www.facebook.com/hbsru 2013 รายงานการประเมินตนเอง ที่เปนรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 2556 - 31 พฤษภาคม 2557) ¤ ³ Ð มนุษยศาสตรศาสตรและสังคมศาสตร (HU) Annual Report & Self Assessment Report 2013

Upload: others

Post on 05-Aug-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • (SAR)

    ww

    w.fa

    cebo

    ok.c

    om/h

    bsru

    2013

    รายงานการประเมินตนเอง

    ที่เปนรายงานการประเมินคุณภาพ

    ภายใน

    ปการศึกษา 2556

    (1 มิถุนายน 2556 - 31

    พฤษภาคม 2557)

    ¤ ³ Ðมนุษยศาสตรศาสตรและสังคมศาสตร (HU)

    Annual Report & Self Assessment Report 2013

  • (1)

    รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจ าปีการศึกษา 2556 (SAR 2013) คณะมนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

    คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ได้จัดท า รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจ าปีการศึกษา 2556 ซึ่งเป็นการรายงานผลการด าเนินงานในรอบปีการศึกษา 2556 และในรอบปีงบประมาณ 2556-2557 ครอบคลุมพันธกิจด้านต่างๆ ของคณะ

    ในปีการศึกษานี้ คณะมีการด าเนินงานตามองค์ประกอบทั้งสิ้น 11 ด้าน คือ ด้านการวางแผนและการพัฒนา ด้านการผลิตบัณฑิตหรือการเรียนการสอน ด้านการพัฒนานิสิตนักศึกษา ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ด้านการบริหารจัดการ ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านการด าเนินการตามอัตลักษณ์ และด้านการปฏิบัติราชการ (ก.พ.ร.) โดยที่คณะได้ด าเนินการและใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพการศึกษาท่ีปฏิบัติสืบเนื่องมาทุกปี

    การน าเสนอ รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน จ าแนกออกเป็น 3 บท คือ บทที่ 1 ส่วนน า เป็นการน าเสนอข้อมูลพื้นฐานของคณะ บทที่ 2 รายงานผลการด าเนินงาน เป็นการรายงานผลการด าเนินงานตามองค์ประกอบและตัวบ่งช้ีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ สกอ. จ านวน 23 ตัวบ่งช้ี ตัวบ่งช้ีของ สมศ.จ านวน 13 ตัวบ่งช้ี ตัวบ่งช้ีอัตลักษณ์ของคณะ 1 ตัวบ่งช้ี และตัวบ่งช้ีส านักงาน กพร. 1 ตัวบ่งช้ี รวมเป็น 41 ตัวบ่งช้ี และ บทที่ 3 สรุปผลการประเมินตนเองและแนวทางการพัฒนา รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ฉบับนี้ส าเร็จลุล่วงลงได้ด้วยความร่วมมือด้วยดีจากคณะกรรมการแกนน าเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกันคุณภาพ ซึ่งประกอบด้วย คณบดี รองคณบดี หัวหน้าภาค ประธานสาขาวิชา และอาจารย์ผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพประจ าสาขาวิชา รวมถึง คณาจารย์ นิสิตนักศึกษา บุคลากร ที่เกี่ยวข้องทุกท่าน ผู้จัดท าหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นเอกสารส าคัญส าหรับการอ้างอิงข้อมูลผลการด าเนินงานเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาในอนาคตต่อไปตามสมควร และสุดท้ายนี้ขอขอบพระคุณคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาทุกท่านที่ให้ข้อเสนอแนะทีเ่ป็นประโยชน์อย่างเป็นกัลยาณมิตร ท าให้การด าเนินงานประกันคุณภาพของคณะบรรลุผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ทุกประการ

    คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

    กรกฎาคม 2557

    ค าน า

  • (2)

    รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจ าปีการศึกษา 2556 (SAR 2013) คณะมนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

    สารบัญ หน้า ค าน า (1) สารบัญ (2) บทสรุปส าหรับผู้บริหาร (4) บทท่ี 1 ส่วนน า 1 ช่ือหน่วยงาน ที่ตั้ง 1 ตราสัญลักษณ์และสีประจ าคณะ 1 ประวัติความเป็นมา 1 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ 3 โครงสร้างองค์กรและโครงสร้างการบริหาร 3 บทบาทหน้าท่ีของผู้บริหารประจ าหน่วยงาน 5 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร กรรมการประจ าคณะ และบุคลากรฝ่ายสนับสนุน 7 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน 9 จ านวนนักศึกษา 10 จ านวนอาจารย์และบุคลากร 10 ข้อมูลพื้นฐานด้านงบประมาณ 13 ข้อมูลพื้นฐานด้านอาคารสถานท่ี 13 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรม อัตลักษณ์ 13 ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา 14 บทท่ี 2 รายงานผลการด าเนินงาน 20 องค์ประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และ แผนด าเนินการ 22 องค์ประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต 25 องค์ประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา 68 องค์ประกอบท่ี 4 การวิจัย 79 องค์ประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม 104 องค์ประกอบท่ี 6 การท านุบ ารุง ศิลปวัฒนธรรม 130 องค์ประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ 142 องค์ประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ 156 องค์ประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 160 องค์ประกอบท่ี 97 องค์ประกอบตามอัตลักษณ์ 166 องค์ประกอบท่ี 98 องค์ประกอบส านักงาน กพร. 179 บทท่ี 3 สรุปผลการประเมินตนเองและแนวทางการพัฒนา 181 สรุปผลการประเมินตนเอง 181 ตาราง ส 1 สรุปผลการประเมินรายตัวบ่งช้ีตามองค์ประกอบคุณภาพ 182 ตาราง ส 2 ก ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ 185

  • (3)

    รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจ าปีการศึกษา 2556 (SAR 2013) คณะมนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

    สารบัญ ตาราง ส 2 ข ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ 185 ตาราง ส 2 ค ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ 186 ตาราง ส 3 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการอุดมศึกษา 187 ตาราง ส 4 ผลการประเมินตนเองตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ 187 ตาราง ส 5 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา 188 ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก ของ สมศ. 189 ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามองค์ประกอบอัตลักษณ์ 190 ตารางสรุปผลการประเมินตามองค์ประกอบของส านักงาน ก.พ.ร. 190 แนวทางการพัฒนา 191 องค์ประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และ แผนด าเนินการ 191 องค์ประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต 191 องค์ประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา 192 องค์ประกอบท่ี 4 การวิจัย 193 องค์ประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม 193 องค์ประกอบท่ี 6 การท านุบ ารุง ศิลปวัฒนธรรม 194 องค์ประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ 194 องค์ประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ 195 องค์ประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 195 องค์ประกอบท่ี 97 องค์ประกอบตามอัตลักษณ์ 196 องค์ประกอบท่ี 98 องค์ประกอบส านักงาน กพร. 196 ภาคผนวก 197 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน 197

    รายชื่อคณะกรรมการจดัท ารายงานประจ าปีท่ีเป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน (SAR) 203

    ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการแกนน าเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการประกันคณุภาพการศึกษา

    205

    แต่งตั้งคณะกรรมการรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ 207

    ก าหนดการประเมินคุณภาพการศกึษาภายในระดับคณะ 210

  • (4)

    รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจ าปีการศึกษา 2556 (SAR 2013) คณะมนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

    คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (Faculty of Humanities and Social Science) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (Bansomdejchaopraya Rajabhat University : BSRU) มีอาคารส านักงานตั้งอยู่ที่ อาคารพระยาสีหราชเดโชชัย (อาคาร 27 ช้ัน 3 และ ช้ัน 4) โดยมีพัฒนาการในการก่อตั้งมายาวนานพร้อมๆ กับการก่อตั้งมหาวิทยาลัย โดยได้เปิดสอน ในนามของคณะอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ.2518 เมื่อ รัฐบาลได้ตราพระราชบัญญัติวิทยาลัยครูและเปลี่ยนช่ือเป็นวิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ท่ีมีศักยภาพสามารถเปิดสอนจนถึงระดับปริญญา

    คณะก าหนดปรัชญาไว้ว่า “มนุษย์ย่อมมุ่งไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ด้วยศาสตร์ ศิลป์ และคุณธรรม” โดยมีปณิธานว่า “คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มุ่งมั่นที่จะเป็นแหล่งค้นคว้า สะสม พัฒนาองค์ความรู้ ท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เพียบพร้อมด้วยศาสตร์ ศิลป์ และคุณธรรม” และวิสัยทัศน์ว่า “คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีศักยภาพทางวิชาการเป็นที่ยอมรับของสังคม มุ่งมั่นพัฒนาบัณฑิตให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ เป็นเลิศด้านภาษา เติมเต็มคุณค่าจริยธรรม น้อมน าจิตส านึกให้ตระหนักถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย”

    ในส่วนของพันธกิจได้ก าหนดไว้ 5 ประการ ดังน้ี 1) ผลิตบัณฑิตด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่สมบูรณ์พร้อมออกไปสร้างสรรค์สังคมและ ประเทศชาติ 2) สร้างและพัฒนาหลักสูตรที่ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น 3) บริการสรรพวิชาการที่มีประโยชน์และมีคุณค่าในรูปแบบต่างๆ แก่ท้องถิ่นและชุมชน 4) สนับสนุนการสร้างงานวิจัยและสร้างความเป็นผู้น าด้านวิชาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน 5) ท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม และสืบทอดความเป็นไทยให้ด ารงอยู่ตลอดไป

    ในส่วนของวัตถุประสงค์ได้ก าหนดไว้ 4 ประการ ดังน้ี 1) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพด้านวิชาชีพ เชี่ยวชาญเชิงภาษาและเติมเต็มคุณค่าด้านคุณธรรม 2) เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม อย่างทั่วถงึ 3) เพื่อท านุบ ารุง อนุรักษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย 4) เพื่อเป็นฐานหลักแห่งการเรียนรู้ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

    คณะมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี ดังนี้ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตจ านวน 9 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ สาขาวิชาดนตรีตะวันตก สาขาวิชาดนตรีไทยเพื่อการอาชีพ สาขาวิชาภาษาจีน สาขาวิชาภาษาไทย สาขาวิชาภาษาอังกฤษ สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา สาขาวิชาธุรกิจอิสลามศึกษา และสาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิตมีจ านวน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ และสาขาวิชานาฏยศิลป์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตจ านวน 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ และหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตจ านวน 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชานิติศาสตร์ รวมจ านวนทั้งสิ้น 13 สาขาวิชา

    นอกจากน้ีคณะยังมหีลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จ าแนกเป็นระดับปริญญาโท 3 หลักสูตร คือ หลักสูตรศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีตะวันตก หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาศิลปกรรม หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการสมัยใหม่ และ ก าลังพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาเอกจ านวน 1 หลักสูตร คือหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (จะเปดิสอนในปีการศึกษาท่ี 1/2557)

    คณะมีบุคลากรจ าแนกเป็น นักศึกษาระดับปริญญาตรีจ านวน 4,991 คน อาจารย์จ านวน 120 คน เจ้าหน้าที่จ านวน 13 คน โดยมีงบประมาณในการด าเนินงานจ าแนกเป็นงบประมาณแผ่นดินจ านวน 5,006,327บาท และงบบ ารุงการศึกษาจ านวน 16,816,850 บาท รวมงบประมาณทั้งสิ้น 21,823,177บาท

    คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีเอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมที่โดดเด่นในด้าน “ทวิลักษณ์” ซึ่งด ารงอยู่คู่ขนานกันอย่างไม่อาจแบ่งแยกออกจากกันได้อย่างสิ้นเชิง ลักษณ์แรกคือลักษณ์เชิง “มนุษยศาสตร์” ที่ประกอบด้วยศาสตร์แห่งความสุนทรีย์ที่มวลมนุษยชาติพึงมีเพื่อจรรโลงโลกไว้ให้งดงาม ลักษณ์ที่สองคือลักษณ์เชิง “สังคมศาสตร์” ที่ประกอบด้วยศาสตร์

    บทสรุปส าหรับผู้บริหาร

  • (5)

    รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจ าปีการศึกษา 2556 (SAR 2013) คณะมนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

    แห่งกฎเกณฑ์ของการด ารงอยู่ในสังคมตามครรลองของสังคมไทยและสังคมโลก และมีเอกลักษณ์ คือ เช่ียวชาญในศาสตร์ เปรื่องปราดภาษา มีน้ าใจนักกีฬา รักศิลปะ ดนตรี และ มีธรรมาภิบาล

    คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีอัตลักษณ์ คือ บัณฑิตคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพ มีทักษะการสื่อสารและการใช้ภาษา มีจิตสาธารณะ

    จากผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งช้ี สามารถสรุปผลการประเมินโดยในภาพรวมโดยจ าแนกออกเป็น 5 มิติ ประกอบด้วย มิติที ่1 ผลการประเมินรายตัวบ่งช้ีตามองค์ประกอบคุณภาพ มิติที่ 2 ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ มิติที่ 3 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการอุดมศึกษา มิติที่ 4 ผลการประเมินตนเองตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ และ มิติที่ 5 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา นอกจากนี้ยังมีมิติด้านตัวบ่งช้ี ของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) มิติด้านตัวบ่งช้ีอัตลักษณ์ และมิติองค์ประกอบของส านักงาน ก.พ.ร. พอสรุปได้ดังนี้

    มิติท่ี 1 ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ ผลการประเมินรายตัวบ่งช้ีตามองค์ประกอบคุณภาพ 11 องค์ประกอบ จ านวน 42 ตัวบ่งช้ี พบว่า ผลการประเมิน

    ตนเองโดยภาพรวมมีผลการด าเนินงานในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย 4.64) เมื่อพิจารณาตามระดับผลการประเมินตนเองอาจจ าแนกออกได้เป็น 4 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มที่มีการด าเนินงานในระดับดีมาก กลุ่มที่มีการด าเนินงานในระดับดี กลุ่มที่มีการด าเนินงานในระดับพอใช้ และกลุ่มที่มีการด าเนินงานในระดับต้องปรับปรุง ดังรายละเอียดต่อไปนี้

    1. กลุ่ มที่มี การด า เนินงานในระดับดีมาก มีจ านวนทั้ งสิ้น 33 ตั วบ่ ง ช้ี คือ ตัวบ่ ง ช้ีที่ 1 .1 กระบวนการพัฒนาแผน ตัวบ่งช้ีที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ตัวบ่งช้ีที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ตัวบ่งช้ีที ่2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ตัวบ่งช้ีที ่2.8 ระดับความส าเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา ตัวบ่งช้ีที ่2.9 บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานท าหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (สมศ. 1) ตัวบ่งช้ีที่ 2.11ผลงานของผู้ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (สมศ.3) ตัวบ่งช้ีที่ 3.1 ระบบและกลไกการให้ค าปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร ตัวบ่งช้ีที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ตัวบ่งช้ีที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งช้ีที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งช้ีที่ 4.4 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (สมศ.5) ตัวบ่งช้ีที่ 4.5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่น าไปใช้ประโยชน์ (สมศ.6) ตัวบ่งช้ีที่ 4.6 ผลงานวิชาการที่รับการรับรองคุณภาพ (สมศ. 7) ตัวบ่งช้ีที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม ตัวบ่งช้ีที่ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ตัวบ่งช้ีที่ 5.3 ผลการน าความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย (สมศ. 8) ตัวบ่งช้ีที่ 5.4 การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก (สมศ. 9) ตัวบ่งช้ีที่ 5.5 ผลการชี้น า ป้องกันหรือแก้ปัญหา ของสังคมในด้านต่างๆ ภายในสถาบัน : การส่งเสริมจิต สาธารณะของนิสิต (สมศ. 18.1) ตัวบ่งช้ีที่ 5.6 ผลการช้ีน า ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ ภายนอกสถาบัน : การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (สมศ. 18.2) ตัวบ่งช้ีที ่6.1 ระบบและกลไกการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งช้ีที่ 6.2 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม (สมศ. 10) ตัวบ่งช้ีที่ 6.2 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม (สมศ. 10) ตัวบ่งช้ีที ่6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม (สมศ.11) ตัวบ่งช้ีที ่7.1 ภาวะผู้น าของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ตัวบ่งช้ีที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ตัวบ่งช้ีที ่7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ตัวบ่งช้ีที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งช้ีที่ 7.6 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ีของผู้บริหารสถาบัน (สมศ.13) ตัวบ่งช้ีที ่8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ตัวบ่งช้ีที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตัวบ่งช้ีที่ 97.1 ผลการพัฒนาสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ :ทักษะ ภาษา การสื่อสารและจิตสาธารณะ (สมศ. 16.1) ตัวบ่งช้ีที่ 97.3 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ของสถาบัน : เชี่ยวชาญในศาสตร์ เปรื่องปราดภาษา กีฬา ดนตรี และมีธรรมาภิบาล (สมศ. 17) และ 33) ตัวบ่งช้ีที่ 97.4 ระบบและกลไกการสร้างเครือข่ายในต่างประเทศ : การสร้างองค์ความรู้ระดับสากลเพื่อเป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพสากลช้ันน า (อัตลักษณ์)

    2. กลุ่มที่มีการด าเนินงานในระดับดี มีจ านวนทั้งสิ้น 5 ตัวบ่งช้ี คือ ตัวบ่งช้ีที่ 2.2 อาจารย์ประจ าที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ตัวบ่งช้ีที่ 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ตัวบ่งช้ีที่ 2.6 ระบบและ

  • (6)

    รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจ าปีการศึกษา 2556 (SAR 2013) คณะมนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

    กลไกการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งช้ีที่ 2.10 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอกตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (สมศ.2) และตัวบ่งช้ีที่ 97.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ (การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม) (สมศ16.2)

    3. กลุ่มที่มีการด าเนินงานในระดับพอใช้ มีจ านวนทั้งสิ้น 2 ตัวบ่งช้ี คือ ตัวบ่งช้ีที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจ านวนอาจารย์ประจ าและนักวิจัย และตัวบ่งช้ีที่ 98.1 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ความสามารถด้านภาษาต่างประเทศ (ก.พ.ร.)

    4. กลุ่มที่มีการด าเนินงานในระดับต้องปรับปรุง มีจ านวนทั้งสิ้น 2 ตัวบ่งช้ี คือ ตัวบ่งช้ีที่ 2.3 อาจารย์ประจ าที่ด ารงต าแหน่งทางวิชาการ และ ตัวบ่งช้ีที ่2.13 การพัฒนาคณาจารย์ (สมศ.14)

    มิติท่ี 2 ผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ จ าแนกผลการประเมินออกเป็น 3 รูปแบบ คือ ผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพเฉพาะตัวบ่งช้ีของ สกอ.

    ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งช้ี สกอ. และ สมศ. และผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพรวมทุกตัวบ่งช้ี ดังนี ้

    1. ผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพเฉพาะตัวบ่งชี้ของ สกอ. จ านวนทั้งสิ้น 9 องค์ประกอบ พบว่า ผลการด าเนินงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (คะแนน 4.62) และเมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบ พบว่า มีผลการด าเนินงานในระดับดีมาก 7องค์ประกอบ องค์ประกอบที่มีผลการด าเนินงานในระดับเต็ม 5.00 คะแนนมีจ านวนทั้งสิ้น 7 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบท่ี 1 ด้านปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนด าเนินการ องค์ประกอบที่ 3 ด้านกิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา องค์ประกอบที่ 5 ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 6 ด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 ด้านการบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 8 ด้านการเงินและงบประมาณ และองค์ประกอบที่ 9 ด้านระบบและกลไกการประกันคุณภาพ และองค์ประกอบที่ 97 องค์ประกอบตามอัตลักษณ์ ส่วนองค์ประกอบที่มีผลการด าเนินงานในระดับดี มีจ านวน 2 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 4 ด้านการวิจัย (คะแนนเฉลี่ย 4.37) และองค์ประกอบท่ี 2 ด้านการผลิตบัณฑิต (คะแนนเฉลี่ย 4.15)

    2. ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งชี้ สกอ . และ สมศ. จ านวนทั้งสิ้น 9 องค์ประกอบ พบว่า ผลการด าเนินงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (คะแนน 4.67) และเมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบ พบว่า มีผลการด าเนินงานในระดับดีมาก 8 องค์ประกอบ องค์ประกอบที่มีผลการด าเนินงานในระดับเต็ม 5.00 คะแนนมีจ านวนทั้งสิ้น 6 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบท่ี 1 ด้านปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนด าเนินการ องค์ประกอบที่ 3 ด้านกิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา องค์ประกอบที่ 5 ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 6 ด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบท่ี 8 ด้านการเงินและงบประมาณ และองค์ประกอบที่ 9 ด้านระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องค์ประกอบท่ีมีผลการด าเนินงานในระดับดีมากแต่มีค่าเฉลี่ยในระดับต่ าลงมาคือองค์ประกอบที่ 7 ด้านการบริหารและการจัดการ (คะแนนเฉลี่ย 4.95) องค์ประกอบท่ี 4 ด้านการวิจัย (คะแนนเฉลี่ย 4.68) ส่วนองค์ประกอบท่ี 2 ด้านการผลิตบัณฑิตมีผลการด าเนินงานอยู่ในระดับดี (คะแนนเฉลี่ย 4.16)

    3. ผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพรวมทุกตัวบ่งชี้ จ านวนทั้งสิ้น 11 องค์ประกอบ 42 ตัวบ่งช้ี พบว่า ผลการด าเนินงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (คะแนน 4.64) และเมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบ พบว่า มีผลการด าเนินงานในระดับดีมาก 9 องค์ประกอบ องค์ประกอบที่มีผลการด าเนินงานในระดับเต็ม 5.00 คะแนนมีจ านวนทั้งสิ้น 6 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบท่ี 1 ด้านปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนด าเนินการ องค์ประกอบที่ 3 ด้านกิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา องค์ประกอบที่ 5 ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 6 ด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 8 ด้านการเงินและงบประมาณ และองค์ประกอบที่ 9 ด้านระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องค์ประกอบท่ีมีผลการด าเนินงานในระดับดีมากแต่มีค่าเฉลี่ยในระดับต่ าลงมาคือ องค์ประกอบที่ 7 ด้านการบริหารและการจัดการ (คะแนนเฉลี่ย 4.95) องค์ประกอบท่ี 97 องค์ประกอบตามอัตลักษณ์ (คะแนนเฉลี่ย 4.82) และองค์ประกอบที่ 4 ด้านการวิจัย (คะแนนเฉลี่ย 4.68) ส่วนองค์ประกอบท่ี 2 ด้านการผลิตบัณฑิตมีผลการด าเนินงานอยู่ในระดับดี (คะแนนเฉลี่ย 4.61) และองค์ประกอบท่ี 98 และองค์ประกอบส านักงาน ก.พ.ร. มีผลการด าเนินงานอยู่ในระดับพอใช้ (คะแนนเฉลี่ย 3.00)

    มิติท่ี 3 ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา 3 มาตรฐาน พบว่า ผลการด าเนินงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก

    (ค่าเฉลี่ย 4.67) และเมื่อพิจารณาในแต่ละมาตรฐาน พบว่ามีผลการด าเนินงานในระดับดีมากทุกมาตรฐานเช่นกัน โดยที่

  • (7)

    รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจ าปีการศึกษา 2556 (SAR 2013) คณะมนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

    มาตรฐานที่ 3 ด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ มีคะแนนเต็ม 5 คะแนน ส่วนมาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพบัณฑิต มีคะแนนรองลงมาคือ 4.83 และมาตรฐานที่ 2 ด้านการบริหารจัดการอุดมศึกษา มีคะแนน 4.70 ตามล าดับ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อในมาตรฐานที่ 2 พบว่า ข้อ 2 ก ด้านธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษาคะแนนมีเฉลี่ย 4.97 และข้อ 2 ข ด้านพันธกิจของการบริหารการอุดมศึกษามีคะแนนเฉลี่ย 4.43

    มิติท่ี 4 ผลการประเมินตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ ผลการประเมินตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ 4 ด้าน ผลการด าเนินงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับที่ดีมาก

    (คะแนนเฉลี่ย 4.67) เมื่อพิจารณาในมุมมองด้านต่างๆ พบว่ามีผลการด าเนินงานในระดับดีมาก 2 ด้าน คือ ด้านกระบวนการภายใน (คะแนนเฉลี่ย 4.90) และด้านนักศึกษาและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (คะแนนเฉลี่ย 4.88) และมีผลการด าเนินงานในระดับดี 2 ด้าน คือ ด้านบุคลากรการเรียนรู้และนวัตกรรม (คะแนนเฉลี่ย 4.07) และด้านการเงิน (คะแนนเฉลี่ย 4.05)

    มิติท่ี 5 ผลการประเมินตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ผลการประเมินตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา 2 มาตรฐาน พบว่า โดยภาพรวมมีผลการด าเนินงานอยู่ในระดับดี

    มาก (คะแนนเฉลี่ย 4.67) เมื่อพิจารณาในแต่ละมาตรฐาน พบว่า มาตรฐานที่ 2 ด้านการด าเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา มีผลการด าเนินงานในระดับดีมาก (คะแนนเฉลี่ย 4.88) ส่วนมาตรฐานที่ 1 ด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา มีผลการด าเนินงานในระดับดี (คะแนนเฉลี่ย 4.36)

    เมื่อพิจารณารายตัวบ่งช้ีในแต่ละมาตรฐาน พบว่า มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา จากตัวบ่งช้ี 4 ด้าน พบว่ามีผลการด าเนินงานในระดับดีมาก 2 ด้าน คือ ด้านการเงิน และด้านการบริหารจัดการ (คะแนนเฉลี่ย 5.00 และ 4.96 ตามล าดับ) และมีผลการด าเนินงานในระดับดี 2 ด้าน ด้านกายภาพ (คะแนนเฉลี่ย 4.00) และ ด้านวิชาการ (คะแนนเฉลี่ย 3.60) มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการด าเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา จากตัวบ่งช้ี 4 ด้าน พบว่า มีผลการด าเนินงานในระดับดีมากทุกด้านเรียงตามล าดับคะแนนเฉลี่ยดังนี้ คือ ด้านการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม (คะแนนเฉลี่ย 5.00 เท่ากัน) ส่วนด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัยมีคะแนนเฉลี่ยรองลงมา (คะแนนเฉลี่ย 4.90 และ 4.68 ตามล าดับ)

    จากมิติที่ 2 ถึงมิติที่ 5 เมื่อพิจารณาตามปัจจัยน าเข้า (I : Input) กระบวนการ (P : Process) และผลผลิตหรือผลลัพธ์ (O : Output) พบว่า ด้านกระบวนการและด้านผลผลิตหรือผลลัพธ์มีผลการด าเนินงานในระดับดีมาก (คะแนนเฉลี่ย 4.94 และ 4.76 ตามล าดับ) ส่วนด้านปัจจัยน าเข้ามีผลการด าเนินงานในระดับพอใช้ (คะแนนเฉลี่ย 3.08)

    มิติด้านตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกของ สมศ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ

    มหาชน) (สมศ.) จ านวนทั้งสิ้น 16 ตัวบ่งช้ี พบว่าโดยภาพรวมมีผลการด าเนินงานในระดับดีมาก (คะแนนเฉลี่ย 4.76) เมื่อพิจารณาตามกลุ่มตัวบ่งช้ี 3 กลุ่ม พบว่า อยู่ในระดับดีมากทุกกลุ่มตัวบ่งช้ีเช่นกันเรียงตามล าดับคะแนนดังนี้ กลุ่มตัวบ่งช้ีมาตรการส่งเสริม (คะแนนเฉลี่ย 5.00) กลุ่มตัวบ่งช้ีอัตลักษณ์ (คะแนนเฉลี่ย 4.76) และกลุ่มตัวบ่งช้ีพื้นฐาน (คะแนนเฉลี่ย 4.72)

    มิติด้านตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งช้ีอัตลักษณ์ ในองค์ประกอบที่ 97 ตัวบ่งช้ีที่ 97.4 พบว่าโดยภาพรวมมี

    ผลการด าเนินงานในระดับดีมาก (คะแนนเฉลี่ย 5.00) เมื่อพิจารณาเป็นรายตัวบ่งช้ีพบว่าทุกตัวบ่งช้ีมีผลการด าเนินงานในระดับดีมากด้วยคะแนนเฉลี่ย 5.00 เช่นกัน

    มิติองค์ประกอบของส านักงาน ก.พ.ร. ผลการประเมินตามองค์ประกอบของส านักงาน ก.พ.ร. ตัวบ่งช้ีที่ 98.1 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านเกณฑ์การ

    ทดสอบความรู้ความ สามารถด้านภาษาต่างประเทศ (ก.พ.ร.) พบว่าคณะมีผลการด าเนินงานตามเป้าหมายร้อยละ 60 ได้รับผลการประเมิน (คะแนนเฉลี่ย 3.00)

    ********************************************

  • 1

    1. ชื่อหน่วยงาน ที่ต้ัง และประวัติความเป็นมา ชื่อหน่วยงาน

    คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (Faculty of Humanities and Social Science) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (Bansomdejchaopraya Rajabhat University : BSRU)

    ที่ตั้ง อาคารพระยาสีหราชเดโชชัย (อาคาร 27) เลขที่ 1061 ถนนอิสรภาพ ซอย 15 แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพ 10600 โทรศัพท์ 02-473-7000 ต่อ 2000 เว็บไซต์ : http://www.bsru.ac.th/~human/

    ตราสัญลักษณ์และสีประจ าคณะ ความหมาย : จังหวะและความงามแห่งการร่วมมือกันระหว่างมนุษย์• เพื่อสร้างสรรค์ศาสตร์และศิลป์แห่งการพัฒนามนุษย์และสังคมอย่างเป็นเอกภาพ องค์ประกอบ : วงรีแทนตราพระราชลัญจกรมหาวิทยาลัยราชภัฏ สีม่วง คือสีประจ ามหาวิทยาลัย สีเขียว คือ สีประจ าคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

    ประวัติความเป็นมา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีพัฒนาการมายาวนานพร้อมๆกับการก่อตั้งมหาวิทยาลัย เริ่มจากการเป็นโรงเรียน

    ฝึกหัดครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีการบริหารงานวิชาการแบ่งเป็นหมวดวิชาต่างๆได้แก่ หมวดวิชาภาษาไทย หมวดวิชาภาษาอังกฤษ เป็นต้น ขึ้นตรงต่อรองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ หลังจากนั้นจึงได้มีพัฒนามาตามล าดับดังนี้

    ปี พ.ศ.2518 รัฐบาลได้ตราพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู จึงได้เปลี่ยนช่ือเป็นวิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ที่มีศักยภาพและเปิดสอนจนถึงระดับปริญญาตรี มีการพัฒนาหมวดวิชามาเป็นคณะวิชาประกอบด้วย 3 คณะคือ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะครุศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้ผลิตบัณฑิตร่วมกับคณะครุศาสตร์ ได้แก่ วิชาเอกภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ดนตรีศึกษา นาฏศิลป์ ศิลปศึกษา บรรณารักษศาสตร์ มีหัวหน้าภาควิชาเป็นผู้บริหารในเบื้องต้นขึ้นตรงต่อหัวหน้าคณะวิชาภายใต้ก ากับดูแลของรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

    ปีการศึกษา 2538 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” และตราพระราชลัญจกรประจ าพระองค์ให้ใช้เป็นสัญลักษณ์ของสถาบัน ตาม พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 มีศักดิ์และสิทธิ์ที่จะประสาธน์ปริญญาได้ถึงระดับดุษฎีบัณฑิต คณะวิชาต่างๆ จึงได้พัฒนามาเป็นคณะในระบบมหาวิทยาลัยและเปิดสอนเป็น 4 คณะคือ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะวิทยาการจัดการ บริหารงานในรูปของโปรแกรมวิชา ภายใต้การก ากับดูแลของประธานโปรแกรมวิชา คณบดี และรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการตามล าดับ

    ปีการศึกษา 2547 คณะรัฐบาลได้มีการตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 และประกาศใช้เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ในระยะแรกมีการแบ่งส่วนราชการออกเป็น 9 หน่วยงาน และต่อมาได้ขยายการบริหารงานออกเป็น 14 หน่วยงานหลักในปัจจุบัน โดยที่คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็น 1 ใน 14 หน่วยงานหลักดังกล่าว มีการแบ่ง

    บทที่ 1 ส่วนน า

    http://www.bsru.ac.th/~human/

  • 2

    รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจ าปีการศึกษา 2556 (SAR 2013) คณะมนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

    โครงสร้างการบริหารโดยแบ่งส่วนราชการออกเป็น 3 ส่วนคือ 1) ส านักงานคณบดี 2) ภาควิชามนุษยศาสตร์และศิลปกรรม และ 3) ภาควิชาสังคมศาสตร์ มุ่งเน้นการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม และรับนโยบายจากอธิการบดีและรองอธิการบดีฝ่ายต่างๆ ทั้งนี้การบริหารงานของคณะอยู่ภายใต้คณะกรรมการบริหารคณะที่ขึ้นตรงต่อคณบดี และมีภาควิชาท าหน้าที่ในการก ากับดูแลสาขาวิชาตามล าดับ

    ด้านการพัฒนาหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้ให้ความส าคัญอย่างยิ่งในพันธกิจด้านนี้ โดยมีการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องทั้งในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทเพื่อให้สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 การพัฒนาหลักสูตรในระดับปริญญาตรีมีการด าเนินการโดยล าดับดังนี้

    ปีการศึกษา 2549 สาขาวิชาที่ได้พัฒนาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548และเริ่มเปิดรับนิสิตนักศึกษามีจ านวน 2 สาขาวิชา คือ สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา และรัฐประศาสนศาสตร์

    ปีการศึกษา 2550 สาขาวิชาที่ได้พัฒนาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 และเริ่มเปิดรับนิสิตนักศึกษามีจ านวน 7 สาขาวิชา คือ ดนตรีไทย ดนตรีสากล ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ออกแบบนิเทศศิลป์ และ ออกแบบประยุกต์ศิลป์ ส่วนสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นไม่เปิดรับนิสิตใหม่เนื่องจากไม่ได้พัฒนาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 แต่ยังคงมีนิสิตชั้นปีที่ 2-4 ศึกษาอยู ่

    ปีการศึกษา 2551 สาขาวิชาที่ได้พัฒนาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 เพิ่มเติมและเริ่มเปิดรับนิสิตนักศึกษามีจ านวน 2 สาขาวิชา คือ นาฏศิลป์และการแสดง และ ภาษาจีน

    ปีการศึกษา 2552 สาขาวิชาที่ได้พัฒนาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 เพิ่มเติมและเริ่มเปิดรับนิสิตนักศึกษามีจ านวน 2 สาขาวิชา คือ นิติศาสตร์ และ อิสลามศึกษา และมีสาขาที่แจ้งปิดหลักสูตรตามระบบกลไกการปิดหลักสูตร คือ ออกแบบประยุกต์ศิลป์

    ปีการศึกษา 2553 สาขาอิสลามศึกษาได้ปรับปรุงหลักสูตรและปรับช่ือสาขาเป็น ธุรกิจอิสลามศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ในสังคมและความต้องการของตลาดแรงงาน

    เมื่อส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศใช้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (Thai Qualification Framework for Higher Education : TQF : HEd.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้ตระหนักถึงความส าคัญและมีการด าเนินการเพื่อสนองนโยบายดังกล่าวอย่างจริงจัง โดยมีการจัดการประชุม สัมมนา เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติให้แก่คณาจารย์ทุกคนในคณะ โดยในขั้นต้น คณะร่วมกับมหาวิทยาลัยได้ด าเนินการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาศึกษาทั่วไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติเป็นเบื้องแรก และเมื่อพัฒนาหลักสูตรรายวิชาศึกษาทั่วเสร็จสิ้นแล้ว คณะได้ด าเนินการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาแกนเป็นล าดับต่อมา และในช่วงตลอดปีการศึกษา 2553 ทุกสาขาวิชาก าลังด าเนินการพัฒนาหลักสูตรตามขั้นตอนมาตรฐานของการพัฒนาหลักสูตร และจัดท ารายละเอียดของรายวิชา (มคอ.2) โดยการพัฒนาปรับปรุงจากหลักสูตรเดิมที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องเหมาะสมกับยุคสมัยปัจจุบัน

    ปีการศึกษา 2554 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้พัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 เสร็จสิ้นและได้รับการอนุมัติเห็นชอบหลักสูตรจากสภาวิชาการ และสภามหาวิทยาลัย จ านวนทั้งสิ้น 13 สาขาวิชา ประกอบด้วย สาขาวิชา การจัดการสารสนเทศ ดนตรีไทยเพื่อการอาชีพ ดนตรีตะวันตก ภาษาจีน ภาษาไทย ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษ นาฏยศิลป์ นิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา ออกแบบนิเทศศิลป์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา ส่วนสาขาวิชาธุรกิจอิสลามศึกษาอยู่ในระหว่างการด าเนินการพัฒนาปรับปรุง

    ในส่วนของการพัฒนาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ก่อนการประกาศใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาโทจ านวน 3 หลักสูตร คือ บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนา และพัฒนาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ในล าดับต่อมา เมื่อมีการประกาศใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 บางสาขาวิชามีการเปลี่ยนแปลงศักยภาพของบุคลากรท าให้ไม่สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรจึงได้ด าเนินการปิดหลักสูตรตามระบบกลไกการปิดหลักสูตร และมีบางสาขาวิชาที่พัฒนาขึ้นใหม่ตามความต้องการของสังคมและด าเนินการอย่างต่อเนื่อง

    ปีการศึกษา 2553 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาจ านวน 4 สาขา คือ รัฐประศาสนศาสตร์ ดนตรีศึกษา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และ ศิลปกรรม ในปีการศึกษา 2553 ทุกสาขาวิชาในระดับ

  • 3

    รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจ าปีการศึกษา 2556 (SAR 2013) คณะมนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

    บัณฑิตศึกษาก าลังด าเนินการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ .ศ. 2552 เช่นเดียวกับหลักสูตรระดับปริญญาตรี

    ปีการศึกษา 2554 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้พัฒนาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาตามกรอบมาตรฐานคณุวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 เสร็จสิ้นแล้วโดยจ าแนกเป็นระดับปริญญาโท จ านวน 3 สาขาวิชา ประกอบด้วย สาขาวิชา ดนตรีศึกษา ศิลปกรรม และ รัฐประศาสนศาสตร์ และระดับปริญญาเอก จ านวน 1 สาขาวิชา คือ รัฐประศาสนศาสตร์

    ปีการศึกษา 2555 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้เริ่มเปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่เป็นไปเกณฑ์มาตรฐานกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2552 จ านวน 12 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ ดนตรีตะวันตก ดนตรีไทยเพื่อการอาชีพ นาฏยศิลป์ นิติศาสตร์ ภาษาจีน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ รัฐประศาสนศาสตร์ สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา ออกแบบนิเทศศิลป์ และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยกเว้นสาขาวิชาธุรกิจอิสลามศึกษาที่ยังคงใช้หลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 และก าลังปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2552 ซึ่งคาดว่าจะสามารถใช้หลักสูตรได้ในปีการศึกษา 2556

    ปีการศึกษา 2555 การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในระดับปริญญาโทที่เป็นไปเกณฑ์มาตรฐานกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2552 มีจ านวน 3 สาขาวิชา คือ ดนตรีตะวันตก ศิลปกรรม และ นโยบายสาธารณะและการจัดการสมัยใหม่ และก าลังพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาเอกอีก 1 สาขาวิชา คือ รัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งคาดว่าจะเปิดสอนได้ในปีการศึกษา 2556

    ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและวัตถุประสงค์

    ปรัชญา มนุษย์ย่อมมุ่งไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ด้วยศาสตร์ ศิลป์ และคุณธรรม

    ปณิธาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มุ่งมั่นท่ีจะเป็นแหล่งค้นคว้า สะสม พัฒนาองค์ความรู้ ท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม

    เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เพียบพร้อมด้วยศาสตร์ ศิลป์ และคุณธรรม วิสัยทัศน์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีศักยภาพทางวิชาการเป็นที่ยอมรับของสังคม มุ่งมั่นพัฒนาบัณฑิตให้มีความ

    เช่ียวชาญทางวิชาชีพ เป็นเลิศด้านภาษา เติมเต็มคุณค่าจริยธรรม น้อมน าจิตส านึกให้ตระหนักถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย

    พันธกิจ 1) ผลิตบัณฑิตด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่สมบูรณ์พร้อมออกไปสร้างสรรค์สังคมและ ประเทศชาติ 2) สร้างและพัฒนาหลักสูตรที่ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น 3) บริการสรรพวิชาการที่มีประโยชน์และมีคุณค่าในรูปแบบต่างๆ แก่ท้องถิ่นและชุมชน 4) สนับสนุนการสร้างงานวิจัยและสร้างความเป็นผู้น าด้านวิชาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน 5) ท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม และสืบทอดความเป็นไทยให้ด ารงอยู่ตลอดไป

    เป้าหมายและวัตถุประสงค์ 1) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพด้านวิชาชีพ เชี่ยวชาญเชิงภาษาและเติมเต็มคุณค่าด้านคุณธรรม 2) เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม อย่างทั่วถงึ 3) เพื่อท านุบ ารุง อนุรักษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย 4) เพื่อเป็นฐานหลักแห่งการเรียนรู้ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

    โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร

    1. โครงสร้างองค์กร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มีการจ าแนกโครงสร้าง

    องค์กรออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ส านักงานคณบดี ภาควิชามนุษยศาสตร์และศิลปกรรม และ ภาควิชาสังคมศาสตร์ ดังแผนภูมิต่อไปนี ้

  • 4

    รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ประจ าปีการศึกษา 2556 (SAR 2013) คณะมนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

    แผนภาพที่ 1 โครงสร้างองค์กรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2. โครงสร้างการบริหารงาน

    คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มีการจ าแนกโครงสร้างการบริหารงานออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ส านักงานคณบดี ภาควิชามนุษยศาสตร์และศิลปกรรม และ ภาควิชาสังคมศาสตร์ นอกจากนี้ ยังมีคณะกรรมการที่ท าหน้าที่ในด้านการก าหนดนโยบายการบริหารงาน ประกอบด้วย คณะกรรมการประจ าคณะ และคณะกรรมการบริหารคณะ ซึ่งแต่ละฝ่ายมีบุคลากรในสังกัด ดังนี้

    1) ส านักงานคณบดี จ าแนกบุคลากรออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายสนับสนุน ฝ่ายบริหารประกอบด้วยคณบดี และมีรองคณบดีท าหน้าที่ด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านการบริหาร ด้านวิชาการ ด้านการวางแผนและพัฒนา ด้านกิจการนิสิตนักศึกษา ด้านการวิจัย ด้านวิเทศสัมพันธ์ และด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ส่วนฝ่ายสนับสนุน ประกอบด้วย หัวหน้าส านักงานคณะ นักวิชาการการเงินและบัญชี นักวิชาการศึกษา นักวิชาการพัสดุ นักวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป และ พนักงานฝ่ายอาคารสถานที ่

    2) ภาควิชามนุษยศาสตร์และศิลปกรรม ประกอบด้วยสาขาวิชา ดังนี้ การจัดการสารสนเทศ ดนตรีตะวันตกดนตรีไทยเพื่อการอาชีพ นาฏยศิลป์ ภาษาจีน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และออกแบบนิเทศศิลป์

    3) ภาควิชาสังคมศาสตร์ ประกอบด้วยสาขาวิชา ดังนี้ ธุรกิจอิสลามศึกษา นิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา

    4) คณะกรรมการประจ าคณะ ประกอบด้วย คณบดีท าหน้าที่ เป็นประธานกรรมการโดยต าแหน่ง คณะกรรมการประกอบด้วย รองคณบดี ผู้ทรงคุณ�