2556 ิทยาลยศิั - silpakorn university...the real site was also studied using...

151
การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จังหวัดสมุทรสงคราม โดย นางสาวฑิฆัมพร เด็ดขุนทด วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 25-Jul-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน จังหวัดสมุทรสงคราม

โดย นางสาวฑิฆัมพร เด็ดขุนทด

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปการศึกษา 2556 ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน จังหวัดสมุทรสงคราม

โดย นางสาวฑิฆัมพร เด็ดขุนทด

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปการศึกษา 2556 ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 3: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

THE STUDY OF LIVELIHOOD WITH LAND USE CHANGE,

SAMUT SONGKHARM PROVINCE

By

Miss Thikhumpon Dedkhuntod

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

Master of Arts Program in Public and Private Management

Program of public and private management

Graduate School, Silpakorn University

Academic Year 2013

Copyright of Graduate School, Silpakorn University

Page 4: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง “ การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จังหวัดสมุทรสงคราม ” เสนอโดย นางสาวฑิฆัมพร เด็ดขุนทด เปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน

……........................................................... (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันที่..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ อาจารย ดร.สวรรยา ธรรมอภิพล คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (อาจารย ดร.วิโรจน เจษฎาลักษณ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (อาจารย ดร.สุทิศา ลุมบุตร) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (อาจารย ดร.สวรรยา ธรรมอภิพล) ............/......................../..............

Page 5: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

54601306 : สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน คําสําคัญ : วิถีชีวิตชุมชน/การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน/ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS)/สมุทรสงคราม ฑิฆัมพร เด็ดขุนทด : การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จงัหวัดสมุทรสงคราม. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : อ.ดร.สวรรยา ธรรมอภิพล. 139 หนา.

การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จังหวัดสมุทรสงคราม ดําเนินการศึกษาโดยใชระเบียบวิธีเชิงคุณภาพ รวมกับการวิเคราะหดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information Systems: GIS) จากการแปลภาพถายดาวเทียมของกรมพัฒนาที่ดิน ป พ.ศ.2543 ป พ.ศ.2549 และป พ.ศ.2554 เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากพ้ืนที่เกษตรกรรม เปนพ้ืนที่เมืองและส่ิงปลูกสราง และคัดเลือกพ้ืนที่ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอยางเดนชัดเพ่ือเปนตัวแทนในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน และศึกษาพ้ืนที่จริงโดยใชวิธีการสังเกตและการสัมภาษณเชิงลึกกลุมผูใหขอมูลหลัก รวมทั้งส้ิน 15 ราย ใน 4 ดาน คือ ดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และนําขอมูลท่ีไดมาตรวจสอบความครบถวนและความถูกตองของขอมูลแบบสามเสา วิเคราะหเนื้อหา สรุปผลการศึกษาและนําเสนอผลการศึกษาในรูปแบบการพรรณนาความ เพื่อหาแนวทางการจัดการการใชประโยชนที่ดินที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตชุมชนตอไป

ผลการศึกษาการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงครามในป พ.ศ.2543 – 2554 พบวา จังหวัดสมุทรสงครามมีการใชประโยชนที่ดินประเภทเกษตรกรรมมากท่ีสุด แตมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง ในขณะที่การใชประโยชนที่ดินประเภทเมืองและสิ่งปลูกสรางมีแนวโนมขยายตัวมากขึ้น โดยพบวามีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากพ้ืนที่เกษตรกรรมเปนพ้ืนท่ีเมืองและส่ิงปลูกสรางมากท่ีสุดในตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม รองลงมาคือตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา และตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที ตามลําดับ

ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ในดานกายภาพ พบวานับจากป พ.ศ.2549 เปนตนมา ทั้ง 3 พ้ืนที่กิดการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของพ้ืนที่เกษตรกรรม โดยพบวาตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองฯ พ้ืนที่เกษตรกรรมลดลง คือ สวนมะพราว และนาเกลือ ในขณะท่ีที่อยูอาศัยและโรงงานอุตสาหกรรมเพ่ิมจํานวนขึ้น สวนตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา และตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที พ้ืนที่เกษตรกรรมลดลงเชนกัน คือ สวนผลไมตาง ๆ และพบวามีการเพ่ิมจํานวนของที่พักเชิงพาณิชยทั้งรีสอรทและโฮมสเตยหลายแหง ในดานเศรษฐกิจ พบวาชาวสมุทรสงครามสวนใหญยังคงประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนหลัก แตมีแนวโนมในการเปลี่ยนไปประกอบอาชีพอ่ืนที่ใหคาตอบแทนคุมคามากกวา เชน การทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม และการเปนผูประกอบการที่พักเชิงพาณิชย ในดานสังคม พบวาชาวสมุทรสงครามวัยหนุมสาวที่ไดรับการศึกษาสูงจะประกอบอาชีพหรือศึกษาตอตามเมืองใหญ และสวนใหญจะเปนผูประกอบการที่พักเชิงพาณิชยในพื้นท่ี โดยไมไดสืบทอดการทําเกษตรกรรม เกษตรกรสวนใหญจึงเปนวัยกลางคนจนถึงสูงอายุ และมีการเขารวมในกลุมเกษตรกรตาง ๆ มากกวาคนวัยหนุมสาวท่ีประกอบอาชีพอ่ืน ๆ และในดานวัฒนธรรม พบวาเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะความเชื่อ พิธีกรรม และภูมิปญญาที่เกี่ยวของกับการทําการเกษตร เนื่องมาจากอาชีพเกษตรกรไมไดรับการสืบทอด รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของศิลปกรรมดานท่ีอยูอาศัยท่ีมีรูปแบบทันสมัยขึ้น เพ่ือใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการใชประโยชนที่ดิน คือการรองรับการขยายตัวของการทองเท่ียว โดยเฉพาะการทองเท่ียวตลาดนํ้าอัมพวา

จากผลการศึกษานี้ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการวางแผนการใชประโยชนที่ดินใหสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม โดยการกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดิน (Zoning) ตามความเหมาะสมของพ้ืนที่ เพ่ือรองรับการขยายตัวของเมือง พ้ืนที่อุตสาหกรรม ตลอดจนการขยายตัวดานการทองเที่ยว รวมถึงการควบคุมการใชประโยชนที่ดินใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดิน ทั้งน้ี ตองเปดโอกาสใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและประชาชนในพ้ืนท่ีมีสวนรวมในการวางแผนการกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินและการควบคุมการใชประโยชนที่ดิน ตลอดจนการแกไขปญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยมีหนวยงานท่ีเกี่ยวของใหการสนับสนุนและกํากับดูแลใหเปนไปตากฎหมายและขอบัญญัติตาง ๆ

สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือชื่อนักศึกษา........................................ ปการศึกษา 2556 ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ........................................

Page 6: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

54601306 : MAJOR : PUBLIC AND PRIVATE MANAGEMENT KEY WORD : LIVELIHOOD/LAND USE CHANGE/GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEMS (GIS)/SAMUT SONGKHRAM

THIKHUMPON DEDKHUNTOD : THE STUDY OF LIVELIHOOD WITH LAND USE CHANGE, SAMUT SONGKHARM PROVINCE. THESIS ADVISOR : SAWANYA THAMMA - APIPON, Ph.D. 139 pp.

The study of livelihood with land use change, Samut Songkhram province was conducted using quantitative research and Geographic Information Systems (GIS) to interpret satellite imageries produced by the Land Development Department of Thailand in the year 2000, 2006 and 2011. It aimed to study land use change from agricultural to urban uses and to select areas with dramatic changes to be a subject of study in livelihood change resulted from land use change. The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical, economic, social and cultural aspects. The data collected was examined, and triangulation Data was checked for accuracy. Contents was then analyzed and the result of study was concluded and presented in descriptive manner to consequently find land use management solutions suitable for local livelihood.

The study of land use in Samut Songkhram province from 2000 to 2011 found that agricultural use of land had the highest but rapidly falling proportion, while urban or built-up area uses possessed an increasing trend. The change from agricultural to Urban or built-up area uses occurred most in Ladyai Umphur Muang Samut Songkhram, Suanluang Umphur Amphawa, and Kradangnga Umphur Bangkonti respectively.

In physical aspects, the study of livelihood change resulted from land use change showed that from 2006, the three areas had experienced land use change with a highlight on agricultural use. Ladyai Umphur muang Samut Songkhram experienced a decrease in coconut farmland and salt farmland along with an increase in Urban or built-up area. In Suanluang Umphur Amphawa, and Kradangnga umphur Bangkonti, agricultural area such as fruit farms also decreased in conjunction with an increase in commercial residences such as resorts and home-stays. Economically, most residents of Samut Songkhram still depended on agriculture for sustenance, however; there is an increasing popularity of jobs with higher pay such as factory workers or home-stay provider. Socially, educated adolescence of Samut Songkhram would work in big cities or operate commercial residences in the area without succeeding agriculture. Accordingly, most farmers were middle-aged or elderly joining different farmers’ groups. In cultural aspects, there were changes in believes, rituals and conventional wisdoms in agriculture because agricultural occupations were not succeeded. There were also changes in architecture to be more modernized to correspond to new objectives of land use which include responding to expansion of tourism in the area especially in Amphawa floating market.

From this study, I have a few policy suggestions for land use management planning to be in accordant with Samut Songkhram province development strategies by zoning according to suitable use of land to respond to expansion of urban area, industrial area and tourism. This also includes land use control to coincide with zoning objectives while providing opportunities for local administrations and residents to participate in developing and solving problems in zoning and land use control plans, with supports from related organizations to ensure legitimacy of the plan.

Program of Public and Private Management Graduate School, Silpakorn University Student's signature ........................................ Academic Year 2013 Thesis Advisor's signature ........................................

Page 7: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 8: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 9: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 10: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 11: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 12: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 13: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 14: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 15: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 16: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 17: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 18: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 19: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

7

บทท่ี 2

วรรณกรรมท่ีเก่ียวของ

การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จังหวัดสมุทรสงคราม ผูวิจัยไดดําเนินการศึกษาหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวของ จากเอกสาร ตํารา งานวิจัยและระบบสืบคนทางอินเตอรเน็ต เพื่อนํามากําหนดกรอบแนวคิดและวิธีการในการศึกษาในประเด็นตอไปน้ี

1.แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับชุมชน 1.1 ความหมายของชุมชน

1.2 แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเกิดชุมชน

1.3 องคประกอบของความเปนชุมชน

1.4 หนาที่ตามประเภทและลักษณะของชุมชน 1.5 การดํารงอยูของชุมชน

2.การเปล่ียนแปลงชุมชม

2.1 ความหมายของการเปลี่ยนแปลง

2.2 ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของชุมชน

2.3 ทฤษฎีการเปล่ียนแปลงของชุมชน

2.4 ปจจัยที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของชุมชน

2.5 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของชุมชน

3.วิถีชีวิตชุมชน

3.1 ความหมายของวิถีชีวิตชุมชน

3.2 องคประกอบของวิถีชีวิตชุมชนและการดํารงชีวิต

4.การใชประโยชนที่ดนิ

4.1 ความหมายของท่ีดินและการใชประโยชนที่ดิน 4.2 รูปแบบการใชประโยชนที่ดิน

4.3 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน

4.4 ทฤษฎีการเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดิน 4.5 สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน

5.พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสงคราม

5.1 ประวัติความเปนมาของจังหวัดสมุทรสงคราม 5.2 สภาพทั่วไปของจังหวัดสมุทรสงคราม

7

Page 20: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

8

5.3 วิถีชีวิตชุมชนจังหวัดสมุทรสงคราม 5.3 สภาพการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม

6.งานวิจัยที่เกี่ยวของ

1.แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับชุมชน 1.1 ความหมายของชุมชน

ชุมชน (Community) ตามพจนานุกรมศัพททางสังคมวิทยา (ราชบัณฑิตยสถาน, 2524: 72) ไดใหความหมายของชุมชนไว 3 แนวดังนี้ 1.ชุมชน หมายถึง กลุมยอยท่ีมีลักษณะหลายประการเหมือนกับลักษณะของสังคม แตมีขนาดเล็กกวา และมีความสนใจรวมที่ประสานกันในวงแคบกวา 2.ชุมชน หมายถึง เขตพ้ืนท่ีที่มีระดับของความคุนเคย และมีการติดตอกันระหวางบุคคล ตลอดจนมีพื้นฐานความยึดเหน่ียวเฉพาะบางอยางท่ีทําใหชุมชนตางไปจากกลุมเพ่ือนบาน ชุมชนมีลักษณะทางเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตนเองท่ีจํากัดมากกวาสังคม แตภายในวงจํากัดเหลาน้ียอมมีการสังสรรคกันอยางใกลชิดกวาสังคม และมีความเห็นอกเห็นใจกันอยางลึกซึ้งมากกวาสังคม อยางไรก็ตามอาจมีสิ่งชี้เฉพาะบางประการท่ีกอใหเกิดความผูกพันที่เปนเอกภาพ เชน เชื้อชาติ ตนกําเนิดเดิมของชาติ หรือศาสนา 3.ชุมชน หมายถึง ความรูสึกและทัศนคติทั้งมวลท่ีผูกพันกันระหวางปจเจกบุคคลใหรวมเขาเปนกลุม

จากความหมายดังกลาว มีความสอดคลองกับแนวคิดของเดนน่ีส อี. บ็อปลิน (Dennies E.

Poplin 1979 อางถึงใน ธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ, 2555: 1) ที่กลาววา “ชุมชน” เปนคําท่ีใชเกี่ยวกับการรวมตัวกันของหนวยสังคมและท่ีอยูอาศัย ที่ขึ้นอยูกับขนาดของกลุม โดยใชคําเรียกที่แตกตางกันออกไป เชน ละแวกบาน หยอมบาน หมูบาน เมือง นคร และมหานคร เปนตน ดังน้ัน ความหมายของชุมชนจึงขึ้นอยูกับวาเราจะใชเกณฑอะไรวัดความเปนชุมชน เชน วัดจากความเปนกลุม หรือวัดจากเขตพื้นที่ หรือวัดจากความรูสึกและทัศนคติของคน หรืออาจจะวัดจากความเปนเมือง หรือวัดจากความเปนชนบทก็ได กรมพัฒนาชุมชน (2526: 77) ใหความหมายของคําวา “ชุมชน” วา หมายถึง กลุมคนที่มีความคิดเห็นไปในแนวทางเดียวกัน และสามารถดําเนินงานกิจกรรมใด ๆ เพื่อประโยชนรวมกันได ในสังคมไทยในปจจุบัน สถานการณชุมชนในความเปนจริงมิไดเปนเชนอดีต ชุมชนมีความหมายไดหลายมิติตามสถานการณการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยเฉพาะในปจจุบันที่ไดเกิดบริบทของคําวา “ชุมชน” ในรูปแบบใหม ทั้งความหมายในดานการปกครอง การพัฒนา วัฒนธรรม วิชาการ ตั้งแตความหมายท่ีเปนรูปแบบของหนวยทางสังคมและสถาบันการปกครอง ในทศวรรษที่ผานมา กระแสการสนับสนุนเร่ืองความเปนชุมชน (Localization)ไดกลายมาเปนกระแสใหญขนานไปกับ

Page 21: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

9

กระแสโลกาภิวัตน (Globalization) ทั้งน้ี สาเหตุสําคัญประการหนึ่ง คือ การเกิดข้ึนของกระแสโลกา ภิวัตนไดกอใหเกิดวิกฤตการณทางสังคมท่ีสงผลกระทบตอประชาชนอยางตอเนื่องและกวางขวาง การริเร่ิมของชุมชนเพ่ือรับมือกับวิกฤตจึงเกิดข้ึน เพื่อแสวงหาทางเลือกใหมในการพัฒนาท่ีตั้งอยูบนฐานของการมีสวนรวม การพ่ึงพาตนเอง ทําใหความหมายของชุมชนแตกตางไปจากเดิมท่ีมักมองชุมชนและความเปนชุมชนในแบบชุมชนชนบทและชุมชนเมืองเทาน้ัน (ธีระภัทรา เอกผาชัยสวัสด์ิ, 2553: 61) โดยไดมีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของชุมชนที่แตกตางหลากหลาย ตามการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย ทั้งความหมายในเชิงมิติของชุมชน และความหมายในเชิงวิชาการท่ีเปนขอคนพบจากงานวิจัย ดังนี ้

ประเวศ วะสี (2540) ไดกลาววา “ชุมชนมีหลายแบบ ชุมชนไมจําเปนตองหมายถึงคนกลุมใหญมาอยูรวมกันในอาณาบริเวณเดียวกัน แตความเปนชุมชนน้ันอยูที่การท่ีคนในชุมชนจํานวนหนึ่ง (คนละพ้ืนท่ีก็ได) มีวัตถุประสงครวมกัน มีการติดตอสื่อสารกัน มีความเอ้ืออาทรตอกัน มีการเรียนรูและรวมกันกระทําภารกิจตางๆ”

อนุชาติ พวงสําลี (2542) ไดอธิบายถึงความหมายของ “ชุมชนที่แทจริง” (True

community) วาเปนลักษณะของการท่ีผูคนหันหนาเขาหากันเพ่ือเผชิญกับปญหาหรือแรงกดดันจากสังคมภายนอก หรือจากความต้ังใจปรารถนารวมกันของคนในสังคม (community by design) วาตองการใหชุมชนของตนเปนเชนไร โดยความเปนชุมชนที่แทจริงน้ันยอมดําเนินไปบนพ้ืนฐานของความรัก ความเอ้ืออาทร กระบวนการเรียนรูรวมกันอยางตอเน่ือง รูจักใจกวาง ยอมรับความแตกตางและความหลากหลาย ซึ่งเปนคุณคาหลักของระบบประชาธิปไตยและความเปนพลเมือง ซึ่งแตกตางจากชุมชนภาพลวง (Pseudo community) ซึ่งเปนเพียงเร่ืองของการ “เฮโลสาระพา” โดยไมสามารถสรางองคความรูและความเขาใจระดับจิตสํานึกของการพัฒนาขึ้นมาได

สอดคลองกับงานวิจัยของ อาริยา เศวตามร (2547) พบวา ชุมชนชนบทไมไดอยูอยางโดดเดี่ยว แตมีความสัมพันธเช่ือมโยงกับสังคมภายนอกอยางแยกไมออก โดยยกตัวอยางจากความพยายามขยายเครือขายของชุมชน เพื่อสรางสรรคระบบความสัมพันธของชุมชนขึ้นมาใหม โกวิทย พวงงาม (2551: 11) “ชุมชน” มีนัยและความหมายท่ีอยูบนฐานของการเปลี่ยนแปลงและการเคลื่อนไหวไปตามกระแสสังคม เพราะชุมชนไมใชสิ่งท่ีหยุดน่ิง แตชุมชนในที่นี้หมายถึง “ชุมชนมีชีวิต” (Community Life) การเปนชุมชนหรือความเปนหมูคณะลวนมีการเปลี่ยนแปลงและการเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา

โดยสรุป พบวา มีการเนนลักษณะสําคัญของความหมายของชุมชนแตกตางกันไป ในอดีตจะเนนไปที่ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร กลาวคือ มักจะหมายถึงขอบเขตเชิงพ้ืนท่ีที่เปนท่ีตั้งของชุมชนที่ชัดเจน มีกลุมคนที่มาอาศัยอยูรวมกัน มีปฏิสัมพันธ และสรางกิจกรรมเพ่ือประโยชนในการดํารงชีวิตรวมกันข้ึน อยางไรก็ตาม ในปจจุบันความเปนชุมชนน้ัน ไมไดหมายถึงหนวยทางสังคมท่ียึดติดทางพื้นที่ หรือขึ้นกับคนเทานั้น แตยังหมายถึงความสัมพันธทางสังคมที่มีทั้งความกลมกลืนเปนหน่ึงเดียว มี

Page 22: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

10

ความขัดแยง ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง การสรางใหม รวมไปถึงเร่ืองของการสรางเครือขายตาง ๆ และท่ีสําคัญคือสามารถปรากฏอยูในสังคมไดหลายระดับ ตั้งแตครอบครัว หมูบาน ทองถิ่น รวมถึงระดับเครือขายท่ีกวางขวาง

ในการศึกษาคร้ังน้ี ผูวิจัยไดใหความหมายของ “ชุมชน” คือ การรวมตัวของกลุมคนที่มีความคิดเห็น มีวัตถุประสงครวมกัน เพื่อทํากิจกรรมใด ๆ เพื่อประโยชนรวมกัน โดยการรวมตัวนั้น กลุมคนไมจําเปนตองอาศัยอยูในอาณาบริเวณเดียวกัน และชุมชนไมไดอยูอยางโดดเด่ียว แตมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับสังคมภายนอกหรือชุมชนอ่ืน ๆ เชน เครือขายตาง ๆ เปนตน โดยผูวิจัยจะใชความหมายของชุมชนในการศึกษาวิถีชีวิตชุมชน กําหนดขอบเขตของพ้ืนท่ีศึกษา และการกําหนดกลุมผูใหขอมูลหลัก (Key informant) 1.2 แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเกิดชุมชน มีขั้นตอนดังน้ี

1.บุคคล หรือคน ตั้งแตสองคนขึ้นไป มารวมกลุมกันเพื่อวัตถุประสงคอยางใดอยางหน่ึง ในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง การรวมกลุมในลักษณะน้ีเรียกวา “กลุมคน”

2.กลุมคนทั้งหมดหรือจํานวนหนึ่งท่ีรวมกันอยูนั้น เกิดความรูสึกวาจะตองทํากิจกรรมรวมกัน เพ่ือบรรลุวัตถุประสงคบางอยางรวมกัน จึงเกิดการจัดระเบียบความสัมพันธในรูปของกลุมสังคมและองคกรทางสังคมขึ้น เชน ครอบครัว บริษัท สมาคม สถาบันการศึกษา เปนตน

3.กลุมสังคมหรือองคกรทางสังคมท่ีเกิดข้ึน กําหนดสถานที่ดําเนินกิจกรรมอยางแนนอน เกิดการต้ังที่อยูอาศัยในบริเวณใกลเคียงกับสถานที่ดําเนินกิจกรรมในลักษณะของละแวกบานหรืออ่ืน ๆ ขึ้น ทําใหเกิดความสัมพันธและการพ่ึงพาอาศัยกันเพิ่มมากขึ้น

4.กลุมสังคมท่ีรวมตัวกันในลักษณะของละแวกบาน ขยายตัวเปนชุมชน ซึ่งอาจเกิดเปนละแวกบานที่ใหญขึ้น หรือเกิดละแวกบานใหม รวมกันเปนชุมชนที่มีขนาดใหญขึ้น เชน หมูบาน ตําบล เปนตน

โดยกระบวนการเกิดชุมชน มีลักษณะกระบวนการท่ีสําคัญอยู 6 แนวคิด และเปนแนวคิดท่ีเกี่ยวกับการกอรูปหรือการเกิดชุมชนในลักษณะใดลักษณะหนึ่งท่ีมีอยูหรือเกิดข้ึนไดทั่วไปในชุมชน ดังนี ้(สุนันทา สุวรรณโณดม, ม.ป.ป.)

1.การรวมตัวของชุมชน (Concentration) หมายถึง ปรากฏการณที่มีการเพิ่มจํานวนของประชากรท่ีเขามาอาศัยในเขตใดเขตหนึ่ง หรือชุมชนใดชุมชนหน่ึงมากย่ิงข้ึน มาตรวัดพฤติการณนี้คือ การใชอัตราหรือจํานวนความหนาแนน (density) ของประชากร ณ ชุมชนนั้น ในเวลาใดเวลาหน่ึง

2.การกอตัวของศูนยกลางชุมชน หรือศูนยรวมชุมชน (Centralization) คือ ศูนยกลางของชุมชนนั้น เกิดจากการที่คนมาอยูรวมกันในที่แหงหนึ่ง โดยมีจุดหมายพิเศษหรือผลประโยชนที่แนนอนรวมกัน ซึ่งการกอตัวของศูนยกลางชุมชนนี้ ถือเปนการรวมตัวแบบชั่วคราว และมีความเปนไปไดที่ชุมชนจะขยายแพรกระจายออกจากศูนยกลางยิ่งขึ้น หรือดึงดูดคนจากท่ีอ่ืน ๆ (Centripetal force) ใหเขามาอยูที่ศูนยรวมแหงนี้มากข้ึน นําไปสูรูปแบบของชุมชน (Community formation)

Page 23: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

11

3.การเลือกสรรแบงแยกชุมชน (Segregation) เนนที่ตัวบุคคลในชุมชน หรือลักษณะของประชากรที่อาศัยอยูในชุมชน โดยชุมชนจะถูกแบงออกเปนชนิดตาง ๆ โดยถือเอาลักษณะของผูที่อาศัยสวนมากเปนเกณฑตัดสิน โดยอาจถูกบังคับหรือจํายอม อาจเปนรูปแบบของลักษณะประชากร ลักษณะทางเศรษฐกิจ และลักษณะทางสังคม เชน ถิ่นคนดํา ถิ่นคนขาว ยานคนรวย ยานคนจน ยานอุตสาหกรรม ยานการคา เปนตน

4.การบุกรุกชุมชน (Invasion) คือ การที่ชุมชนหนึ่งไดเขาไปแทนท่ีชุมชนอีกชุมชนหน่ึง เชน กลุมคนท่ีมีฐานะเหนือกวาทางเศรษฐกิจกวาดไลกลุมชุมชนผูดอยฐานะออกไป และเขามาต้ังถิ่นฐานแทน เปนตน

5.การกระจายตัวของชุมชน (Dispersion) คือ การกระจัดกระจายการต้ังถิ่นฐานที่อยูอาศัยของการรวมตัวของชุมชนในที่ใดท่ีหนึ่ง โดยมีปจจัยที่ชวยใหเปนไปไดคือ ความเจริญ การคมนาคมขนสง อัตราคาจางแรงงาน เปนตน

6.การสืบทอดชุมชน (Succession) ชุมชนยอมมีการเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนไดเสมอ พื้นท่ีหรือชุมชนแหงหน่ึงอาจถูกสับเปลี่ยนการครอบครองและสืบทอดกันมาหลายชุมชน หลายลักษณะ การศึกษาชุมชนจากการสืบทอดตั้งแตอดีต ปจจุบัน และทํานายการสืบทอดในอนาคต จะชวยใหเขาใจชุมชนในดานตาง ๆ ไดเปนอยางดี โดยเฉพาะระบบโครงสราง หนาท่ี ความสัมพันธของชุมชน การเปลี่ยนมือการครอบครอง และการใชพื้นที่

ผูวิจัยไดสรุปแนวคิดเก่ียวกับกระบวนการเกิดชุมชน โดยเกิดจาก บุคคล หรือคน ตั้งแตสองคนขึ้นไป หรือเรียกวา “กลุมคน” มารวมกลุมกันเพื่อวัตถุประสงคอยางใดอยางหน่ึง ในบริเวณใดบริเวณหน่ึง เพื่อบรรลุวัตถุประสงคบางอยางรวมกัน แลวเกิดการจัดระเบียบความสัมพันธในรูปของกลุมสังคมและองคกรทางสังคมขึ้น มีการกําหนดสถานท่ีดําเนินกิจกรรม เกิดการต้ังเปนสถานที่ หรือที่อยูอาศัยในบริเวณใกลเคียงกับสถานที่ดําเนินกิจกรรม ทําใหเกิดความสัมพันธและการพ่ึงพาอาศัยกันกับกลุมคนอ่ืน ๆ และขยายตัวเปนชุมชนในที่สุด โดยกระบวนการเกิดชุมชน มีลักษณะกระบวนการท่ีสําคัญอยู 6 แนวคิด ไดแก การรวมตัวของชุมชน การกอตัวของศูนยกลางชุมชน การเลือกสรรแบงแยกชุมชน โดยชุมชนจะถูกแบงออกเปนชนิดตาง ๆ โดยถือเอาลักษณะของผูที่อาศัยสวนมากเปนเกณฑ การบุกรุกชุมชน กวาดไลกลุมชุมชนเกา และการเขามาต้ังถิ่นฐานแทนของกลุมคนเพ่ือสรางชุมชนใหม การกระจายตัวของชุมชน และการสืบทอดชุมชนโดยการเปลี่ยนการครอบครอง โดยผูวิจัยจะนําแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเกิดชุมชน ประกอบการวิเคราะหวิถีชีวิตและการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนในพื้นที่ศึกษา 1.3 องคประกอบของความเปนชุมชน ลักษณะความเปนชุมชนอาจเปนเ ร่ืองของศักดิ์ศรี คุณคา สิทธิ อุดมการณ อํานาจ ความสัมพันธ ฯลฯ หรืออะไรก็ตามท่ีเชื่อมโยงปจเจกบุคคลอ่ืน ๆ ในสังคม เปนมุมมองที่มีหลากหลาย

Page 24: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

12

มิติ อาจกลาวไดวาลักษณะของความเปนชุมชนเปนเร่ืองท่ีเกี่ยวของกับ 4 ลักษณะ ดังน้ี (อานันท กาญจนพันธุ, 2543 อางถึงใน อาภรณ จันทรสมวงศ, 2544) 1.3.1 ทุนทางสังคม ไดแก วิธีคิด ระบบความรู ในการจัดการวิถีของความเปนชุมชน เชน การจัดการการใชทรัพยากร การจัดระบบความสัมพันธในการอยูรวมกันในสังคม ชุมชน ความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษย มนุษยกับธรรมชาติ หรือมนุษยกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ซึ่งเปนเร่ืองท่ีตองอาศัยวิธีคิดเชิงซอน และเก่ียวของกับเร่ืองระบบความรู ภูมิปญญา อีกทั้งยังตองอาศัยกฎเกณฑมากํากับการใชความรูน้ัน ซึ่งอาจเปนรูปของจารีตประเพณี กฎหมาย หรือกฎเกณฑทางสังคม พรอมกันนั้นก็ตองมีองคกรท่ีเขามาทําหนาท่ีจัดการเร่ืองน้ัน ๆ เชน การใชทรัพยากรตาง ๆ การจัดการทุน เปนตน ซึ่งในงานวิจัยหลายเร่ืองพบวา มิติทางวัฒนธรรมนั้นเปนสิ่งท่ีชุมชนพยายามจะร้ือฟนข้ึนมา ไมวาจะเปนในแงการปลูกจิตสํานึกของชุมชน หรือเครือขายของชุมชน ที่ตองสัมพันธกันในการดํารงชีวิต และมักเกี่ยวของกับฐานทรัพยากรที่ชุมชนตองอิงอาศัย ไมวาจะเปนแมน้ํา ลําคลอง ปาตนน้ํา ภูเขา ทะเล เปนตน 1.3.2 คุณคา สิ่งท่ีเปนคุณคาของสังคมท่ีสําคัญคือ ความเอ้ืออาทร การชวยเหลือกัน การใหคุณคากับสิ่งท่ีเปนของจริง เชน เร่ืองขาวปลาอาหารสําคัญกวาเร่ืองความซื่อสัตย อยางเชนในกรณีของการรวมกลุมทําเร่ืองออมทรัพย หรือการใหความสําคัญกับเร่ืองจริยธรรมของการยังชีพ เชน การพ่ึงตนเองในการผลิต การบริโภค ซึ่งคุณคาเหลาน้ีสวนใหญเปนคุณคาในจารีตด้ั งเดิมของชุมชนทองถิ่น อยางไรก็ตาม ก็มีความพยายามท่ีจะสรางเสริมข้ึนมาดวย เชน ความเคลื่อนไหวตาง ๆ ของภาคประชาชนท่ีเกิดข้ึน เปนการบงบอกถึงความพยายามท่ีจะสรางคุณคาและจริยธรรมใหม ที่วางพ้ืนฐานของอุดมการณเร่ืองศักดิ์ศรี ซึ่งจะชวยกํากับกฎเกณฑของการอยูรวมกันในสังคม 1.3.3 อํานาจ ความเปนสังคมนั้น จําเปนที่จะตองมีที่ยืนใหกับทุกคน ไมวาจะเปนชนชั้นกลาง ผูใชแรงงาน เกษตรกร ชนกลุมนอย ที่มีความแตกตางทางศาสนา ความเชื่อหรือประเพณี วัฒนธรรม การเคลื่อนไหวหรือปรากฏการณของทองถิ่นที่เกิดข้ึน จะสะทอนใหเห็นวากลุมคนเหลาน้ีมีตัวตนอยู เปนเร่ืองของการสรางพื้นที่ที่จะอยูในฐานะที่เปนมนุษยในสังคม เพ่ือใหตนเองรูสึกวามีตัวตนอยู ในแงความเปนชุมชน จึงเปนเร่ืองของความเปนตัวตนหรืออัตลักษณ (Identity) เปนความพยายามท่ีจะบอกใหคนอ่ืนรูวา “เราเปนใคร” เปนการเช่ือมโยงตนเองกับคนอ่ืนในสังคม เปนเร่ืองท่ีเกี่ยวกับมิติความสัมพันธเชิงอํานาจหรือสิทธิ นั่นคือการไดรับการยอมรับวาตนเองมีความชอบธรรม หรือมีอํานาจในการมีสวนสวนรวมน่ันเอง ดังน้ัน หากถูกกีดกันหรือถูกปฏิเสธ ชุมชนก็จะรวมตัวกันเพื่อเรียกรองสิทธิดังกลาว 1.3.4 การปรับตัว เร่ืองของความเปนชุมชนจะเก่ียวของกับอุดมการณ อํานาจ และความสัมพันธทางสังคม ซึ่งมีทั้งกลมกลืนและขัดแยง เปลี่ยนแปลง ผลิตซ้ําและผลิตใหมได ไมใชเร่ืองของหนวยที่อยูติดกับพื้นท่ี แตปรากฏในหนวยความสัมพันธหลายระดับ ตั้งแตครอบครัว ชุมชน จน

Page 25: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

13

กลายเปนเครือขายท่ีกวางขวางและดํารงอยูในความสัมพันธกับรัฐและตลาด ดวยเหตุนี้ ความเปนชุมชนจึงเปนเร่ืองของการขัดแยงและการปรับตัวดวย จากการศึกษาวิจัยและจากปรากฏการณทางสังคมชี้ใหเห็นวา ความเปนชุมชนนั้นเปนศักยภาพในความสัมพันธทางสังคมท่ีผลิตใหมได โดยเฉพาะอยางยิ่งภายใตเงื่อนไขสําคัญคือ ความขัดแยงในการใชทรัพยากรที่จะนําไปสูการแสวงหาหรือสรางกฎเกณฑเพื่อควบคุมและจัดความสัมพันธในสังคมใหม ซึ่งรวมไปถึงการท่ีจะตองมีองคกรหรือสถาบันเขามาทําหนาที่ในการจัดการดวย

ผูวิจัยไดสรุปองคประกอบของความเปนชุมชน ซึ่งเก่ียวของกับ 4 ลักษณะ คือ ทุนทางสังคม ไดแก วิธีคิดและระบบความรูในการจัดการวิถีของความเปนชุมชน คุณคา คือสิ่งท่ีเปนคุณคาของสังคมที่สําคัญ ไดแก ความเอ้ืออาทร การชวยเหลือกัน ซึ่งคุณคาเหลาน้ีสวนใหญเปนคุณคาในจารีตดั้งเดิมของชุมชนทองถิ่น รวมถึงสรางคุณคาและจริยธรรมข้ึนมาใหม อํานาจ เปนการเชื่อมโยงตนเองกับคนอ่ืนในสังคม เปนเร่ืองท่ีเกี่ยวกับมิติความสัมพันธเชิงอํานาจหรือสิทธิ และการปรับตัว เน่ืองจากความเปนชุมชนเปนเร่ืองของการขัดแยงและการปรับตัว โดยจะนําไปสูการแสวงหาหรือสรางกฎเกณฑเพื่อควบคุมและจัดความสัมพันธในสังคมใหม โดยผูวิจัยจะใชองคประกอบของความเปนชุมชนประกอบการวิเคราะหวิถีชีวิต โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนตอการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน

1.4 หนาท่ีตามประเภทและลักษณะของชุมชน นอกจากจะมีหนาที่เชนเดียวกับชุมชนโดยท่ัวไปแลว ชุมชนแตละประเภทยังมีหนาท่ีเฉพาะ

ของตน ดังนี ้(สนธยา พลศรี, 2545) 1.4.1 ชุมชนชนบท มีหนาท่ีสําคัญ 4 ประการ คือ เปนแหลงผลิตอาหารและวัตถุดิบ

ใหแกชุมชนเมือง เปนแหลงผลิตแรงงานใหแกชุมชนเมือง ทะนุบํารุงและถนอมทรัพยากรธรรมชาติใหแกชุมชนและสังคมสวนรวม และเปนแหลงท่ีใหความปลอดภัยในยามสงครามและเปนที่พักผอนหยอนใจของชาวเมือง

1.4.2 ชุมชนเมือง มีหนาท่ีสําคัญ 4 ประการ คือ เปนตลาดรับซื้ออาหารและวัตถุดิบอันเปนผลิตผลจากชุมชนชนบท เปนศูนยรวมของการคมนาคม การสื่อสาร พาณิชยกรรม และวัฒนธรรม เปนศูนยรวมของการปกครองและการเมือง และเปนแหลงรวมของกิจกรรมตาง ๆ ของการบริการดานสาธารณูปโภค การศึกษาคนควา และการพักผอนหยอนใจ

1.5 การดํารงอยูของชุมชน

ชุมชนเมื่อเกิดข้ึนแลว มีทั้งดํารงอยูอยางยาวนานถาวรและชั่วระยะเวลาหน่ึง ลักษณะของชุมชนที่ดํารงอยูไดยาวนานแบบถาวร มีดังน้ี (พัทยา สายหู, 2534 อางถึงใน ธีระภัทรา เอกผาชัยสวัสด์ิ,

2553: 91) 1.สมาชิกไดรับประโยชนเพียงพอตอการดํารงชีวิต

Page 26: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

14

2.มีระบบความสัมพันธที่ใกลชิดกันแบบระบบครอบครัวและเครือญาติผูกพันกันไปตลอดชีวิตและสืบทอดไปสูลูกหลาน

3.สมาชิกมีการพึ่งพาอาศัยกันในเร่ืองตาง ๆ และไดรับความชวยเหลือเมื่อเกิดความตองการและประสบความทุกขรอนดานตาง ๆ

4.สมาชิกในชุมชนมีความสามัคคี ไมเกิดความขัดแยงรุนแรง 5.สมาชิกยอมรับและปฏิบัติตามบรรทัดฐานหรือกฎระเบียบของสังคม 6.สมาชิกยึดถือคานิยมและหลักการรวมกันวาชุมชนจะอํานวยประโยชนสุขใหแก

บุคคลและหมูคณะเปนสําคัญ

ผูวิจัยจะนําแนวคิดเร่ืองหนาท่ีตามประเภทและลักษณะของชุมชน และการดํารงอยูของชุมชน ประกอบการวิเคราะหลักษณะของชุมชน และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนในพื้นที่ศึกษา 2.การเปล่ียนแปลงชุมชม

2.1 ความหมายของการเปลี่ยนแปลง

เนื่องจากชุมชนมีลักษณะท่ีเปนพลวัต (Dynamic) ทั้งน้ี เพราะสภาพแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา วิธีการดํารงชีวิตจึงตองเปลี่ยนไปเพื่อใหเขากับสภาวะใหมที่เกิดข้ึน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนั้นอาจจะดีขึ้นหรือเลวลงก็ได

“การเปลี่ยนแปลง” หมายถึง การท่ีสิ่งใดสิ่งหน่ึงไดแปรสภาพจากที่เคยเปนอยู มาเปนสภาพใหม โดยมีองคประกอบของเวลาเปนเคร่ืองกําหนดธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง มีลักษณะท่ีแตกตางกันไปตามความเขาใจของนักคิดตาง ๆ ซึ่งเปนเร่ืองของขอสมมติ (Assumption) ตามท่ี Robert Nisbet

(1969) ไดกลาวไววา การเปลี่ยนแปลงเปนเร่ืองของธรรมชาติ ( Natural) การเปลี่ยนแปลงมีอยูตลอดเวลา (Immanent) การเปลี่ยนแปลงเปนการตอเนื่อง (Continuous) การเปลี่ยนแปลงเปนแบบเดียวกัน (Uniform) และการเปลี่ยนแปลงเปนสิ่งที่จําเปน (Necessary) (โกวิทย พวงงาม, 2551: 64)

โดยการเปลี่ยนแปลงน้ัน มีทั้งการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ โดยการเปลี่ยนแปลงทางสังคม คือการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางและหนาท่ีของสังคม โดยการเปลี่ยนแปลงทางสังคมถือเปนส วนหน่ึงของการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทุกอยางที่เกิดข้ึนในวัฒนธรรมทุกสาขา เชนเดียวกับการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบและกฎเกณฑของการจัดระเบียบทางสังคม (Kingsley Davis, 1949 อางถึงใน โกวิทย พวงงาม, 2551: 64)

สวนการเปลี่ยนแปลงทางดานการเมือง ก็มีความสําคัญตอชุมชนเชนกัน เชน นโยบายทางการเมืองจะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงดานโครงสรางพ้ืนฐานของชุมชน อาทิ ถนน ไฟฟา ระบบชลประทาน ฯลฯ สวนการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ ก็จะสงผลตอชุมชนในแงระบบการผลิต การ

Page 27: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

15

อุตสาหกรรม เทคโนโลยี และการบริโภค ฯลฯ โดย โรสเทาว (Rostaw) อธิบายวา การพัฒนาประเทศตองมีการเปลี่ยนแปลงจากสังคมโบราณมาเปนสังคมสมัยใหมที่มีการใชเทคโนโลยี มีการเปลี่ยนแปลงจากการทําการเกษตรเพ่ือยังชีพมาสูการเกษตรกรรมเพ่ือการคา ทางดานอุตสาหกรรมไดเปลี่ยนการใชแรงงานมนุษยและสัตว ไปสูการทําอุตสาหกรรม คนทํางานเพื่อคาจางโดยการใชเคร่ืองจักร ทางดานการจัดการทางนิเวศ ไดเปลี่ยนจากการต้ังถิ่นฐานท่ีกระจายไปตามพื้นที่เพาะปลูกและหมูบานไปสูการตั้งถิ่นฐานในเมือง (ดารณี บัญชรเทวกุล, 2551: 14)

การเปล่ียนแปลงท่ีเปนผลมาจากการมุงพัฒนาเศรษฐกิจในแนวทางกระแสหลัก โดยเฉพาะการเพ่ิมการลงทุนในเขตอุตสาหกรรม กอใหเกิดผลตอการเปลี่ยนแปลงชุมชนในหลายประการ เชน การเกิดขึ้นของหมูบานจัดสรร โรงงาน อาคารพาณิชย ฯลฯ ซึ่งสิ่งท่ีควรพิจารณาควบคูไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจนั่นก็คือ การกําหนดนโยบายทางการเมือง ดังเชนรัฐบาลในชวงป พ.ศ.2543-2548 เกี่ยวกับนโยบายมุงพัฒนาเศรษฐกิจที่ตองกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคและรอบนอกกรุงเทพมหานคร โดยมุงเนนการสงเสริมการลงทุน การอุตสาหกรรม มีการขยายเขตพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมเปนผลใหพื้นที่เกษตรกรรมลดลง ชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน เปลี่ยนไปสูความเปนเมืองมากข้ึน อาจกลาวไดวาเปนการลมสลายในมิติของความเปนชุมชน และชุมชนเชิงพ้ืนที่ถูกลดความสําคัญลง (โกวิทย พวงงาม, 2551: 66)

จากความหมายของการเปลี่ยนแปลงดังกลาว ผูวิจัยไดสรุปความหมายของการเปลี่ยนแปลง คือ การที่สิ่งใดสิ่งหน่ึงไดแปรสภาพจากท่ีเคยเปนอยู มาเปนสภาพใหม โดยการเปลี่ยนแปลงนั้น มีทั้งการเปล่ียนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง โดยเฉพาะเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ที่มีผลอยางยิ่งในการกําหนดนโยบายทางการเมืองเพื่อพัฒนาดานตาง ๆ โดยเฉพาะนโยบายทางการเมืองท่ีมุงพัฒนาดานเศรษฐกิจ ที่จะสงผลตอการเปลี่ยนแปลงดานอ่ืน ๆ ของสังคม ดังเชนนโยบายของรัฐบาลที่มุงเนนการสงเสริมการลงทุนทางดานอุตสาหกรรม มีการขยายเขตพื้นท่ีอุตสาหกรรม เปนผลใหพื้นท่ีเกษตรกรรมลดลง ทําใหชุมชนเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน และเปลี่ยนไปสูความเปนเมืองมากขึ้น โดยผูวิจัยจะนําแนวคิดเร่ืองการเปล่ียนแปลงดังกลาวมาใชในการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตชุมชนตอการเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ศึกษา

2.2 ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของชุมชน

ลักษณะโดยท่ัวไปของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชน สามารถแบงได 2 ลักษณะ ดังนี้ 2.2.1 ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางปริมาณและคุณภาพของตัวคน ในการเปลี่ยนแปลง

ทางปริมาณน้ัน เปนการเปลี่ยนแปลงท่ีสามารถวัดไดในเชิงตัวเลข เชน การเปลี่ยนแปลงของจํานวนประชากร สวนการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของตัวคนหรือการเปลี่ ยนแปลงลักษณะคุณสมบัติของบุคคลท่ีเปนสมาชิกของชุมชนและกลุมบุคคลท่ีเกี่ยวของสัมพันธในชุมชนนั้น มีลักษณะดังน้ี (โกวิทย พวงงาม, 2551: 74)

Page 28: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

16

1.ลักษณะคุณสมบัติของบุคคลท่ีเปนลักษณะตามธรรมชาติ ไดแก เพศ และวัย ที่มีลักษณะและความสามารถทางธรรมชาติชีวภาพแตกตางกัน อันจะกําหนดบทบาทและสถานการณหนาท่ีการงานของสมาชิก นอกจากน้ีบุคคลยังมีลักษณะหรือคุณสมบัติเฉพาะตัว เชน สภาพของพันธุกรรม ที่กําหนดลักษณะรางกาย จิตใจ สติปญญา และความถนัดเฉพาะทางท่ีแตละคนมีไมเหมือนกันและอาจเปลี่ยนแปลงไมได แตคุณสมบัติบางอยางท่ีเกิดจากการปรุงแตงดวยการฝกอบรมและอิทธิพลของสิ่งแวดลอม เชน ความรูความเขาใจ ทักษะความชํานาญ ทัศนคติดานตาง ๆ ที่สามารถเปลี่ยนแปลงไดตามสภาพแวดลอม ทรัพยากรและวิธีการแบงสรรทรัพยากรของชุมชน ที่บุคคลสามารถรับ แลวไปเปลี่ยนแปลงสภาพชีวิตของตัวบุคคลเอง

2.ลักษณะของกลุมบุคคลท่ีใกลเคียงกับกลุมธรรมชาติที่สุด คือ กลุมครอบครัว ซึ่งอาจขยายเปนกลุมเครือญาติที่มีความสัมพันธสืบเนื่องกัน นอกจากน้ียังมีกลุมเพ่ือนที่อยูรวมกันเพ่ือผลประโยชนทางอาชีพ การเมือง และความศรัทธาทางศาสนา ซึ่งกลุ มเหลาน้ีมีพื้นฐานตามกลุมธรรมชาติมากท่ีสุด แตก็สามารถเปลี่ยนแปลงไดตามสถานที่ เวลา และการกําหนดทางวัฒนธรรมของแตละชุมชน

สวนกลุมอ่ืน ๆ เชน กลุมทางเศรษฐกิจ การปกครอง และศาสนา เปนตน จะเกิดข้ึนตามเง่ือนไขปจจัยที่มนุษยกําหนดข้ึนใหมภายหลัง ตามความเหมาะสมตามสภาพชีวิตท่ีตางกันไปแตละชุมชน

2.2.2 ลักษณะการเปล่ียนแปลงทางปริมาณและคุณภาพของอุปกรณและวิธีการดํารงชีวิต เปนการเปลี่ยนแปลงจํานวนและลักษณะของปจจัยตาง ๆ ที่มนุษยตองใชในการดํารงชีวิต เชน บานเรือน ถนน เปนตน โดยข้ึนอยูกับจํานวนสมาชิกท่ีใชประโยชนหรือความจําเปนใชสอย สวนลักษณะหรือคุณสมบัติของวัตถุปจจัยตาง ๆ จะเปลี่ยนแปลงไดดวยการประดิษฐคิดคนของสมาชิกในชุมชน หรือการแทรกซึมเขามาจากชุมชนอ่ืน ซึ่งทําใหกิจกรรมตาง ๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงตามไปดวย

จากแนวคิดดังกลาว ผูวิจัยไดสรุปลักษณะการเปล่ียนแปลงของชุมชนเปน 2 ลักษณะ คือ การเปลี่ยนแปลงในตัวบุคคล ทั้งการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากการฝกอบรม ทักษะ ความสมารถเฉพาะตัว การเปลี่ยนแปลงของบุคคลตามสภาพแวดลอม รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของบุคคลที่เกิดจากการรวมกลุมตาง ๆ และการเปลี่ยนแปลงวิธีการดํารงชวีิต ไดแก การเปลี่ยนแปลงของปจจัยตาง ๆ ที่มนุษยใชในการดํารงชีวิต ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทั้งหลายเหลาน้ี เร่ิมจากตัวบุคคล และเม่ือบุคคลเกิดการรวมกลุมเปนชุมชน ก็จะสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของชุมชนในที่สุด โดยผูวิจัยจะนําแนวคิดเร่ืองลักษณะการเปลี่ยนแปลงของชุมชน ประกอบการวิเคราะหสาเหตุและการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตชุมชนตอการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ศึกษา

Page 29: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

17

2.3 ทฤษฎีการเปล่ียนแปลงของชุมชน

การเปลี่ยนแปลงของสังคมและชุมชนเปนสิ่งท่ีเกิดข้ึนตลอดเวลา ซึ่งรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงมีทฤษฎีที่สําคัญในการอธิบายรูปแบบการเปลี่ยนแปลง ดังนี้

2.3.1 ทฤษฎีแหงการสมดุล (Equilibrium Theory) แบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1.ทฤษฎีโครงสรางและหนาท่ี (Structural and Functional Theory) โดย เฮอร

เบิรท สเปนเซอร (Herbert Spenser) ทฤษฎีนี้ถือวาสังคมเปนเหมือนกับสิ่งมีชีวิตอยางหน่ึง (Biological

Organism) ดังนี้ (โกวิทย พวงงาม, 2551: 68) 2.1 สังคมมีอาณาเขตแนนอน วางระเบียบตนเองและควบคุมตนเอง (Self-

Regulating) และมีแนวโนมที่สวนประกอบตาง ๆ จะพึ่งพาอาศัยกันและรักษาดุลยภาพไวได 2.2 ระบบที่บํารุงรักษาตนเองจะเหมือนกันอินทรียทั้งหลาย สังคมมีความ

ตองการจําเปนจํานวนหน่ึง (Need or Requisites) ซึ่งเม่ือสนองไดแลวจะทําใหสังคมดํารงชีวิตอยูได สามารถพึ่งพากันได และรักษาดุลยภาพไวได

2.3 การวิเคราะหระบบท่ีบํารุงรักษาตนเอง ควรมุงสนองความตองการจําเปนของสวนประกอบตาง ๆ ของสังคม ซึ่งจะสงผลตอการรักษาความพึ่งพากันและดุลยภาพดวย

2.4 สงัคมตองมีโครงสรางแบบใดแบบหน่ึงข้ึนมา เพื่อเปนหลักประกันใหมีการพึ่งพา (Homeostasis) ดุลยภาพ (Equilibrium) และการมีชีวิต (Survival)

ผูวิจัยไดสรุปวา ทฤษฎีโครงสรางและหนาท่ี สามารถอธิบายชุมชนไดวา ชุมชน ประกอบดวยระบบตาง ๆ ที่ยึดเหนี่ยวและมีความสัมพันธกัน ถาสวนใดสวนหนึ่งเปลี่ยน สวนอ่ืน ๆ ก็จะมีผลกระทบตามไปดวย เพราะสังคมชุมชนมีลักษณะเปนพลวัต คือมีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา จึงตองมีการปรับตัวเพ่ือใหสังคมเกิดดุลยภาพ

โดยผูวิจัยจะนําทฤษฎีมาประกอบการวิเคราะหชุมชนและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนในพื้นที่ศึกษาวาเปนไปตามทฤษฎีหรือไม อยางไร

2.4 ปจจัยท่ีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของชุมชน

การเปลี่ยนแปลงของชุมชนมักเกิดข้ึนดวยสาเหตุหลายประการท่ีเกี่ยวเนื่ องกัน การเปลี่ยนแปลงในสวนหน่ึงของชุมชน อาจมีผลกระทบใหสวนอ่ืนของชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลงไปดวย ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม โดยปจจัยท่ีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของชุมชน มีดังนี้ (โกวิทย พวงงาม, 2551: 95)

2.4.1 ปจจัยทางชีววิทยา (Biological) หมายถึง องคประกอบตาง ๆ ซึ่งกําหนดสมาชิกของสังคม ชุมชน มาจากคุณภาพทางดานพันธุกรรมท่ีถายทอดมาจากบรรพบุรุษ จึงแตกตางกันไปทางดานคุณภาพและศักยภาพของมนุษยในแตละสังคม ซึ่งมีผลตอความสามารถของสังคมในการเปลี่ยนแปลง และการแสดงออกทางแนวความคิดและคุณสมบัติอ่ืน ๆ

Page 30: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

18

2.4.2 ปจจัยทางประชากร (Population) กลาวคือ ชุมชนที่มีประชากรเพ่ิมข้ึนอยางมากนั้น จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและความเปนอยูของประชากร อัตราการเกิด การตาย การยายถิ่นฐาน และปริมาณเพศ ก็ยอมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ทั้งการ เกิดภาวการณตาง ๆ ปญหาสังคม และการพัฒนาโดยรวมดวย

2.4.3 ปจจัยทางกายภาพ (Physical) เปนปจจัยท่ีเกี่ยวของกับสภาพทางภูมิศาสตร ดาราศาสตร สิ่งแวดลอมทางกายภาพ โดยสิ่งเหลาน้ีอาจสงผลตอชีวิตของคนดานการประกอบอาชีพ การตั้งถิ่นฐาน นอกจากน้ีปจจัยทางภูมิศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ทําเลท่ีตั้ง และภูมิประเทศ สิ่งเหลานี้ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมชุมชนทั้งสิ้น และทําใหมนุษยมีอารยธรรมท่ีแตกตางหรือคลายคลึงกันดวย

2.4.4 ปจจัยทางวัฒนธรรม (Cultural) จากการท่ีบุคคลติดตอกันทั้งทางตรงและทางออม สงผลใหเกิดการขยายตัวของวัฒนธรรม การเลียนแบบ การยืมวัฒนธรรม รวมท้ังการผสมผสานทางวัฒนธรรม ทั้งวัฒนธรรมที่เปนวัตถุและไมใชวัตถุ สิ่งเหลานี้ยอมสงผลซึ่งกันและกันแลวทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในชุมชนหรือสังคม ทั้งนิสัยใจคอ ความรูสึก รสนิยม แบบของท่ีอยู อาศัย ภาษา เคร่ืองแตงกาย ฯลฯ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หากวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหน่ึงเปลี่ยนแปลงเร็วหรือชาเกินไป ก็จะทําใหเกิดความขัดแยงระหวางวัฒนธรรมทั้งสอง นําไปสูการเกิดปญหาสังคมในดานตาง ๆ ได

2.4.5 ปจจัยทางดานเทคโนโลยี (Technological) การใชเทคโนโลยีหรือสิ่งประดิษฐใหม เปนสาเหตุใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสถาบันและประเพณีบางอยาง เพิ่มความสลับซับซอนของวัฒนธรรม และชีวิตมนุษยจะสับสนขึ้นตามเนื้อหาของวัฒนธรรมน้ัน เปนเหตุใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ทั้งการเพิ่มผลผลิต การกระจายสินคาและบริการ และทําใหโครงสรางทางสังคมมีการปรับตัวใหเปนไปตามสิ่งเหลาน้ี กลาวไดวาเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงสังคมโดยการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอม และมนุษยตองปรับตัวใหได

2.4.6 ปจจัยดานขบวนการทางสังคม (Social Movement) ขบวนการทางสังคมทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ทั้งน้ี เพราะขบวนการทางสังคมใด ๆ ก็ตาม เมื่อไดดําเนินการแลว จะสําเร็จหรือไมก็ตาม จะมีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางใดอยางหน่ึงเสมอ เนื่องจากเปนการกระทํารวมกันของกลุมคนที่มีอุดมการณตรงกัน เพื่อตองการใหมีการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางของสังคม ซึ่งอาจจะเปนการออกกฎหมาย หรือการยับย้ังการดําเนินนโยบายบางอยางของรัฐบาล การท่ีจะบําบัดความตองการน้ีได จึงตองมีการเปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอยาง

2.4.7 ปจจัยทางจิตวิทยา (Psychological) กลาวไดวาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมมาจากจิตใจของมนุษย เพราะโดยธรรมชาติของมนุษยชอบที่จะเปลี่ยนแปลง คนควาสิ่งใหม ๆ หา

Page 31: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

19

ประสบการณใหม ๆ มนุษยในทุกสังคมมีแนวโนมในการเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีของตน ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงแบบคอยเปนคอยไป

2.4.8 ปจจัยอ่ืน ๆ (Other) นอกจากปจจัยตาง ๆ ที่กลาวมา ยังมีปจจัยอ่ืน ๆ อีก เปนตนวา ปจจัยทางเศรษฐกิจ ปจจัยทางการศึกษา ปจจัยทางการเมืองและการทหาร ปจจัยทางศาสนาและอุดมการณ ความคิด ความเชื่อ ซึ่งลวนแตสามารถทําใหสังคมชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลงได

นอกจากน้ี ยังสามารถแบงปจจัยของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมออกเปน 2 กลุมใหญๆ ได คือ ปจจัยภายใน และปจจัยภายนอก

1.ปจจัยภายใน (Internal Factor) คือสิ่งตาง ๆ ภายในสังคมที่เปนปจจัยที่กอใหเกิดการเปล่ียนแปลงข้ึนภายในชุมชน ซึ่งแบงได 2 ลักษณะ คือ

1.1 ปจจัยทางธรรมชาติ รวมทั้งสภาพทางภูมิศาสตรและดาราศาสตร ไดแก ความอุดมสมบูรณของธรรมชาติที่ทําใหธรรมชาติและสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป เชน สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ การโคจรของดาว ทรัพยากรธรรมชาติ เปนตน

1.2 ปจจัยทางสังคม เปนการเปลี่ยนแปลงลักษณะหรือความแตกตางขององคประกอบของประชากร เชน การเพ่ิมลดของจํานวนประชากร จากการเกิด ตาย ยายถิ่น อายุ เพศ

การศึกษา กระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมและการกระทําของปจเจกชนในสังคม เชน การขัดแยง การแขงขัน ความรวมมือในรูปแบบตาง ๆ เปนตน

1.3 ปจจัยทางวัฒนธรรม ไดแก ศาสนา อุดมการณ ความคิด ความเชื่อ เทคโนโลยี เปนตน

1.4 ปจจัยทางเศรษฐกิจ เน่ืองจากมนุษยจะตองทํามาหากิน จึงตองมีการประกอบอาชีพ มีความตองการในดานวัสดุอุปกรณในการผลิตสินคาและบริการ

1.5 ปจจัยทางการเมือง เชน นโยบายทางการเมือง การออกกฎหมาย การบริหารและการทหาร เปนตน

2.ปจจัยภายนอก (External Factor) เปนปจจัยที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภายนอกที่เห็นไดชัด ไดแก

2.1 การติดตอระหวางสังคมท่ีหลากหลาย เชน การติดตอคาขาย การศึกษาระหวางกัน การทองเท่ียว การเผยแพรศาสนา การยืมหรือการรับเอาวัฒนธรรมอ่ืนมาใช การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับชาติอื่น การแพรกระจายทางวัฒนธรรม เปนตน

2.2 การกระทบกระทั่งระหวางสังคม ตั้งแตการลาอาณานิคมจากชาติอ่ืน การขัดแยงระหวางชายแดน ความไมสงบระหวางประเทศ ไปจนถึงสงครามในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งลวนแตเปนเหตุใหเกิดการเปล่ียนแปลงของชุมชนทั้งสิ้น

Page 32: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

20

ในการศึกษาคร้ังน้ี ผูวิจัยจะศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากปจจัยที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของชุมชนขางตน โดยแบงออกเปน 4

กลุมใหญ ไดแก ดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 2.5 กระบวนการเปล่ียนแปลงของชุมชน

การเปล่ียนแปลงของชุมชนเปนกระบวนการที่ตอเน่ืองกันอยางไมมีที่สิ้นสุด ไมวาจะเปนวิถีชีวิตความเปนอยูหรือความสัมพันธทางสังคม ซึ่งเปนเร่ืองท่ีเกี่ยวของกับกระบวนการตาง ๆ ดังน้ี

(โกวิทย พวงงาม, 2551: 83) 2.5.1 กระบวนการเปล่ียนแปลงไปสูความเปนเมือง (Urbanization) โดยเร่ิมจากการท่ี

มนุษยอาศัยอยูรวมกันเปนกลุมกอน (Agglomeration) เปนชุมชนขึ้นมา และการท่ีจะพัฒนาเมืองขึ้นมาไดนั้น จะตองประกอบดวยขนาดของประชากร มีการพัฒนาดานเทคโนโลยี มีความสามารถในการควบคุมสภาพแวดลอมทางธรรมชาติของมนุษย มีการพัฒนาในการจัดระเบียบทางสั งคมเพื่อใหเกิดความเปนระเบียบเรียบรอย ไมมีความเหลื่อมล้ําหรือความขัดแยงในชุมชน จากศตวรรษที่ 19 เปนตนมา ความเจริญทางดานเทคโนโลยีของมนุษยเร่ิมพัฒนากาวหนา สามารถเพ่ิมผลผลิตใหแกชุมชนมากขึ้น การจัดระเบียบทางสังคมไดพัฒนา เปลี่ยนแปลง สัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงไปสูอุตสาหกรรม และกําลังเปลี่ยนแปลงไปสูสังคมหลังอุตสาหกรรม หรือสังคมสารสนเทศในปจจุบัน ดังน้ัน ชุมชน สังคม จึงมีความเปลี่ยนแปลงซับซอนเปนแบบเมืองมากข้ึน

2.5.2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปสูความทันสมัย (Modernization) นับตั้งแตหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ไดเร่ิมใชแนวคิดการเปลี่ยนแปลงไปสูความทันสมัย เน่ืองจากประเทศตาง ๆ โดยเฉพาะประเทศกําลังพัฒนา ไดมีการพัฒนาทองถิ่นหรือชุมชนอยางมาก เปนผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ ตามมา ทั้งน้ี เนื่องจากการประดิษฐคิดคนสิ่งใหม ๆ ความเจริญของระบบสื่อสารโทรคมนาคม แสดงใหเห็นถึงความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดจนการแพรกระจายทางวัฒนธรรมเปนไปอยางสะดวกย่ิงข้ึน ซึ่งสิ่งสําคัญของการพัฒนา ไมวาจะเปนชุมชนชนบทหรือเมือง เปาหมายสําคัญก็คือการเปลี่ยนไปสูความทันสมัยนั่นเอง

2.5.3 กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปสูความเปนอุตสาหกรรม (Industrialization) การเปลี่ยนไปสูความเปนอุตสาหกรรม มีความสัมพันธกับการเปลี่ยนไปสูความเปนเมือง โดยการเปลี่ยนไปสูความเปนเมืองนั้น เปนวิถีชีวิตท่ีเกิดข้ึนจากสังคมท่ีไดกลายมาเปนอุตสาหกรรมแลว ในขณะเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงไปสูความเปนอุตสาหกรรม ยอมเปนการแสดงถึงการเปลี่ยนไปสูความทันสมัยในสังคมอีกดวย

2.5.4 กระบวนการเปล่ียนแปลงไปสูระเบียบบริหารราชการ (Bureaucratization) การเปลี่ยนแปลงไปสูระเบียบบริหารราชการ เปนกระบวนการหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม หมายความถึง กระบวนการจัดระเบียบทางสังคมอยางมีเหตุผล เพื่อที่จะปรับปรุงการทํางาน

Page 33: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

21

ใหมีประสิทธิภาพและตรงเปาหมาย และมีความเกี่ยวของกับการเปลี่ยนไปสูความทันสมัย การเปลี่ยนไปสูความเปนเมือง และการเปลี่ยนไปสูความเปนอุตสาหกรรม เน่ืองจากการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม จําเปนตองมีรูปแบบของการบริหารและติดตอ ซึ่งเก่ียวของกับเกณฑหรือกฎหมายอยางมีเหตุมีผล นอกจากน้ี การจัดระเบียบทางสังคมในองคการใหญ ๆ จําเปนตองมีระเบียบบริหารท่ีเหมาะสม เพื่อใหการปฏิบัติงานดําเนินไปสูจุดประสงคอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนกิจกรรมตาง ๆ ในสังคมสมัยใหมหรือสังคมอุตสาหกรรม จะตองมีกระบวนการของการเปล่ียนไปสูระเบียบบริหารราชการ เพื่อที่จะใหการวางแผนตาง ๆ ประสบความสําเร็จ

โดยผูวิจัยจะใชประกอบการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชน

3.วิถีชีวิตชุมชน

3.1 ความหมายของวิถีชีวิตชุมชน

ความหมายของคําวา “วิถีชีวิต” ไดมีผูใหความหมายไวมากมาย อาทิ สารานุกรมเว็บสเตอร (Webster’s New World Dictionary, 1994 อางถึงใน ศุภวรรณ เจริญ

ชัยสมบตัิ, 2554: 31) ไดใหความหมายคําวา วิถีชีวิต หมายถึง การดําเนินชีวิตโดยภาพรวมของบุคคลซึ่งสะทอนใหเห็นถึงลักษณะและคานิยมของบุคคลน้ัน

องคการอนามัยโลก (Who Health Education Unit, 1986: 177) ไดใหความหมายของวิถีชีวิตวา หมายถึง แบบแผนของการแสดงพฤติกรรมของบุคคลซึ่งเปนไปตามสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความสมารถในการแสดงพฤติกรรมน้ัน

ศัพทการจัดการความรูดานการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (2551) ไดใหความหมายของคําวาวิถีชีวิตวา หมายถึง แนวทางในการดําเนินชีวิตของบุคคล กลุม ชุมชน สังคม ซึ่งมีอิทธิพลมาจากความเชื่อ ทัศนคติ จารีต ประเพณี ปนแกว เหลืองอรามศรี (2554: 1) ไดใหความหมายของคําวาวิถีชีวิตวา หมายถึง วิถีแหงการรองรับชีวิต หรือการยังชีพ ครอบคลุมถึงงาน กิจกรรม ความสามารถ ทรัพยสิน ทั้งท่ีเปนวัตถุและสวนประกอบในสังคม ซึ่งมนุษยใชดําเนินการและปรับใชเพื่อการมีชีวิตอยู

สรุปไดวา “วิถีชีวิต” หมายถึง การดําเนินชีวิตความเปนอยูในชีวิตประจําวันของผูคน บนพื้นฐานวัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมความเชื่อ “วิถีชีวิตชุมชน” จึงหมายถึง การดําเนินชีวิตความเปนอยูในชีวิตประจําวันของผูคนในแตละชุมชน บนพ้ืนฐานวัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมความเชื่อของชุมชนนั้น ๆ

Page 34: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

22

3.2 องคประกอบของวิถีชีวิตชุมชนและการดํารงชีวิต

ในการดํารงชีวิตของมนุษย มีองคประกอบหลายประการที่เปนปจจัยสําคัญตอการดํารงชีวิตเพื่อใหอยูรอด ผูวิจัยไดคัดเลือกองคประกอบตาง ๆ ในสวนที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตชุมชนและการดํารงชีวิต ดังนี ้(ทบ สงวนทรัพย, 2549: 21)

3.2.1 ความสัมพันธทางสังคม มนุษยเปนสัตวสังคม จะดํารงชีวิตอยางโดดเด่ียวอยูลําพังไมได ตองอยูรวมกับผูอ่ืนในลักษณะเปนกลุม มีความสัมพันธตอกันใกลชิต จนเกิดเปนครอบครัว กลุมเครือญาติ และชุมชน สิ่งเหลานี้คือความสัมพันธทางสังคม (ประเวศ วะสี, 2547: 243)

3.2.2 ความเชื่อและศาสนา คือ การยอมรับสิ่งตาง ๆ ที่ไดยินไดเห็นจากขอมูลตาง ๆ หรือเกิดจากประสบการณตรงของบุคคลอยางสมํ่าเสมอ ความเชื่อเกิดจาการเรียนรูหรือการถายทอดจากบุคคลหนึ่งสูบุคคลหนึ่ง ซึ่งจะสงผลตอการแสดงออกทางพฤติกรรมของคนในสังคมตามระบบคิดของบุคคล เมื่อคนในสังคมมีความเชื่ออยางใดอยางหน่ึง หรือเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง ความเชื่อจะเปนตัวกําหนดใหบุคคลน้ันปฏิบัติตามสิ่งที่ตนเชื่อ ทั้ง ๆ ที่บางคร้ังความเช่ือนั้นไมอยูบนฐานของความเปนจริงก็ตาม เชน ความเชื่อเร่ืองสิ่งศักด์ิสิทธิ์ ทําใหมีการประกอบพิธีบวงสรวงบูชา และประพฤติตามกฎตามครรลองของสังคม เกิดการยอมรับและกลายเปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนในชุมชน และมีการเปลี่ยนแปลง ผสมผสานไปตามสถานการณที่เปลี่ยนไปของสังคมดวย (สามารถ เตจะวงศ, 2545: 7)

3.2.3 ประเพณีวัฒนธรรม คนแตละกลุมแตละชุมชนตางมีวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตท่ีจะตองดํารงอยูรวมกัน วิถีชีวิตของแตละกลุมน้ันก็เกิดจากการเรียนรูรวมกัน การปรับตัวเองใหเขากับสภาพแวดลอมทองถิ่นท่ีมนุษยเขาไปต้ังหลักแหลงอยูอาศัยและทํามาหากิน วัฒนธรรมเปนสิ่งท่ีไมไดอยูลอย ๆ และหยุดน่ิง หากแตสัมพันธกับบริบททางสังคม เวลา สถานท่ี หรืออีกนัยหน่ึง วัฒนธรรม ก็คือวิถีการดํารงชีวิตของกลุมคนซึ่งมีความหลากหลาย สะทอนใหเห็นศักยภาพของมนุษยที่ไมถูกแตะตองโดยกลไกของตลาดหรือกลไกของรัฐ เปนศักยภาพของมนุษยที่คิดวัฒนธรรมขึ้นมาเพ่ือดํารงชีวิตรอดรวมกัน (ศรีศักร วัลลิโภคดม, 2544 อางถึงใน ทบ สงวนทรัพย, 2549: 25) วิถีชีวิตของคนกลุมหน่ึงหรือสังคมหน่ึง ตางกลุมตางสังคม ตางก็มี รูปแบบทางวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตท่ีเหมาะสมกับสภาพแวดลอมทองถิ่น ทําใหเกิดขนบธรรมเนียมประเพณีและจารีตท่ีแตกตางกันออกไป (ประเวศ วะสี, 2547)

3.2.4 ระเบียบและกฎหมาย ในการดํารงชีวิตของมนุษย เมื่อรวมกันอยู เปนกลุม เปนหมูบาน เปนเมือง เปนประเทศ ความจําเปนที่จะตองมีระเบียบขอบังคับของกลุมคนเหลาน้ันยอมเกิดข้ึน สําหรับใหทุกคนในสังคมถือเปนแนวทางปฏิบัติ คือสิ่งท่ีเรียกวากฎหมาย กฎหมายท่ีเกี่ยวของกับความสงบสุขของสังคมจะกําหนดแนวทางใหคนในสังคมไมเบียดเบียนกัน เคารพสิทธิเสรีภาพซึ่งกันและกัน ถาใครไมปฏิบัติตามตองไดรับโทษจากผูปกครองหรือผูมีอํานาจ (สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน ,

2528: 185)

Page 35: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

23

3.2.5 การปรับตัว การปรับตัวเพื่อใหเขากับสิ่งแวดลอม ไดแก ขอเรียกรองอันเกิดจากสภาพแวดลอมและสังคมมนุษย การปรับตัวดังกลาวน้ีเปนภาระของความสัมพันธที่กลมกลืนกับสิ่งแวดลอม ซึ่งบุคคลจะไดรับความพอใจในการตอบสนองทั้งทางดานกายและสังคม การท่ีบุคคลสามารถปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมไดดี เปนลักษณะท่ีแสดงถึงการเปนคนปกติ ในทางตรงกันขาม ถาบุคคลไมสามารถปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอม หรือปรับตัวไดไมดี ไมสามารถปรับพฤติกรรมใหสอดคลองกับคนสวนใหญได บุคคลน้ันจะดํารงชีวิตในสังคมโดยปราศจากความสุข ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมสวนมากจะเปนผลมาจากการปรับตัวไมดี (พศิน แตงจวง, 2540: 24)

จากแนวคิดตาง ๆ ดังกลาว สรุปไดวา เมื่อมนุษยเกิดมาแลว นอกจากปจจัยพื้นฐานท่ีสามารถทําใหดํารงชีวิตอยูได ซึ่งก็คือปจจัยสี่ มนุษยยังมีความตองการดานสังคม คือ ความสัมพันธทางสังคม การมีระเบียบและกฎหมายในการอยูรวมกัน ความตองการทางดานจิตใจ คือ ความเชื่อและศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม รวมถึงยังตองการการเรียนรูเพื่อปรับตัวใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมรอบ ๆ ตัวที่เปลี่ยนแปลงไปดวย

ในการศึกษาคร้ังน้ี ผูวิจัยจะนําองคประกอบของวิถีชีวิตชุมชนและการดํารงชีวิต ประกอบการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชน

4.การใชประโยชนท่ีดิน

4.1 ความหมายของท่ีดินและการใชประโยชนท่ีดิน ที่ดิน (Land คํานาม) คือ ผืนแผนดินแหงหน่ึง ๆ หรือแปลงหน่ึง ๆ ที่ทาง (นาม) พื้นท่ี ที่ดิน (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2525: 402)

ในท่ีนี้ ที่ดิน หมายถึง พื้นที่บริเวณหน่ึงบนผิวโลก แบงอาณาเขตตามการกําเนิด จึงมีที่อยูเฉพาะแนนอนเคลื่อนยายไมได มีปริมาณจํากัดไมสามารถเพิ่มข้ึนหรือลดลงไดตามความตองการของมนุษย เปนพื้นท่ีที่สามารถเขาถือครองตามกรรมสิทธิ์ทางกฎหมาย ดิน จึงเปนสวนหน่ึงของพื้นที่ มีลักษณะเปนสามมิติคือ กวาง ยาว ลึก ซึ่งรวมถึงหนาตัดดิน (Soil profile) หรือชั้นดินตาง ๆ ที่ลึกลงไปจากผิวหนาดิน ในขณะท่ี ที่ดิน มีลกัษณะเปนสองมิติ คือกวางและยาวแตมีมิติการใชครอบคลุมถึงแหลงผลิตอาหารและเยื่อใย ซึ่งการผลิตสวนใหญเกิดข้ึนบนพื้นดินไมวาจะเปนการผลิตพืชหรือการผลิตสัตว (ยกเวนในแมน้ํา ทะเล) ที่ดิน ยังหมายถึง ธรรมชาติ ใหอรรถประโยชนใชสอยมากมายแกมวลมนุษย พืชพรรณ สัตวตาง ๆ และยังหมายถึง แหลงพักผอนหยอนใจ และมีความหมายอ่ืน ๆ อีกมาก ดังน้ัน ที่ดิน มีความเกี่ยวของกับมิติหลายดาน ไดแก 1) พื้นท่ี (Area) 2) ทุน (Capital) 3) ปจจัยการผลิต (Input)

4) สินทรัพย (Asset) 5) สถานะ (Status) ธรรมชาติ (Barlowe 1972; Randall 1987 อางถึงใน กัลยา เทียนวงศ, 2555: 2)

Page 36: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

24

สําหรับมาตรา 1 แหงประมวลกฎหมายที่ดิน ไดกําหนดนิยาม ที่ดิน หมายถึง พื้นท่ีดินทั่วไป และใหหมายความรวมถึงภูเขา หวย หนอง คลอง บึง บาง ลํานํ้า ทะเลสาบ เกาะ และท่ีชายทะเลดวย นิยามคําวา ที่ดิน นี้ จึงหมายถึงพ้ืนดินท่ัว ๆ ไปบนพ้ืนผิวโลก และไมวาท่ีดินนั้นจะเปนที่ดินชนิดใด จะอยูเหนือหรือใตน้ําก็ถือเปนที่ดินทั้งสิ้น

ที่ดิน นอกจากจะหมายถึงที่ดินบนบก อันไดแกพื้นดินทั่ว ๆ ไป และภูเขาแลว ยังคลุมไปถึงดินซึ่งอยูใตผิวน้ําต้ืน ๆ ดวย เชน ที่ดินที่อยูในหวย หนอง คลอง บึง ตาง ๆ สวนที่ดินซึ่งอยูในนํ้าลึกๆ เชน แมน้ํา ทะเลไมใชความหมายท่ีดินในประมวลกฎหมายนี้ สาเหตุที่กฎหมายบัญญัติคลุมถึงท่ีดินเฉพาะในนํ้าท่ีตื้น ๆ เพราะที่ดินเหลาน้ีอาจโผลพนนํ้าเน่ืองจากหวย หนอง คลอง บึง ตื้นเขิน กลายเปนพื้นดินทั่วไปขึ้นมาได เม่ือต้ืนเขินจนกลายเปนพื้นดินแลว ประชาชนก็อาจเขาใชประโยชนได และอาจมีกรณีพิพาทเกิด ขึ้นจึงไดบัญญัติใหครอบคลุมที่ดินดังกลาวไวดวย (กัลยา เทียนวงศ, 2555: 3)

ในการศึกษาการใชประโยชนที่ดินน้ัน ตองศึกษาทั้งการใชประโยชนที่ดิน (Land use)

และสิ่งปกคลุมดิน (Land cover) ซึ่งเปนกิจกรรมสําคัญที่ทํากันทั้งในระดับทองถิ่น ระดับภูมิภาค และระดับโลก โดยมักอาศัยขอมูลที่ไดมาจากภาพถายทางอากาศและจากดาวเทียมสํารวจผิวโลกเปนหลัก รวมถึงการสํารวจภาคสนาม เพื่อเก็บขอมูลเพิ่มเติมหรือเพื่อยืนยันความถูกตอง

คําวา สิ่งปกคลุมดิน (Land cover: LC) จะเกี่ยวของกับชนิด หรือลักษณะของวัตถุ สิ่งของ หรือพืชพรรณที่เกิดหรือตั้งปกคลุมผิวดินอยู เชน พื้นคอนกรีต สวนผลไม ปาไม หรือ สระน้ํา เปนตน

สวนคําวา การใชประโยชนที่ดิน (Land use: LU) จะหมายถึง กิจกรรมทางสังคมหรือทางเศรษฐกิจของมนุษยบนพ้ืนที่ที่ศึกษา เชน เขตท่ีอยูอาศัย เขตเกษตรกรรม เขตอุตสาหกรรม หรือเขตพาณิชยกรรม เปนตน

บนพื้นท่ีเดียวกัน สามารถแยกศึกษาเร่ืองสิ่งปกคลุมดิน และลักษณะการใชประโยชนที่ดินออกจากกันได เชน ในทุงนาแหงหน่ึง บอกไดวาสิ่งปกคลุมดินคือ ตนขาว เปนหลัก สวนการใชประโยชนที่ดิน คือ การทําการเกษตร เปนตน (กัลยา เทียนวงศ, 2555: 3) หากพิจารณาแบงตามการใชที่ดินเพื่ออยูอาศัย คือ การใชที่ดิน (Land uses) หมายถึง การใชประโยชนจากผืนดินเพ่ือวัตถุประสงคทางใดทางหนึ่งไมวาจะเปนพื้นที่เกษตรกรรม หรือไดมีการเปลี่ยนแปลงการใชไปสูรูปแบบอื่น ๆ ซึ่งหลัก ๆ แบงการใชที่ดินตามเขตการอยูอาศัย ไดเปน 2 ประเภท คือการใชที่ดินในชนบท (rural land use) กับการใชดินในชุมชนเมือง (urban land use) ซึ่งมีลักษณะการใชประโยชนแตกตางกัน ดังนี้ ชนบท (rural) หมายถึง ชุมชนที่มีประชากรต่ํากวา 2,500 คน และอาศัยอยูนอกหนวยการปกครองท่ีไมนับวาเปนเมืองนคร (ราชบัณฑิตยสถาน, 2523)

เมือง (urban) หมายถึง ชุมชนที่มีลักษณะเปนหัวใจของชุมชนที่อยูรอบ ๆ โดยมีสิ่ งแวดลอมเกี่ ยวกับ เศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนความสะดวกสบายอยู ในรูปของเมือง (ราชบัณฑิตยสถาน, 2523)

Page 37: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

25

เมืองมีความแตกตางกันตามภูมิประเทศหรือทองถิ่นหน่ึง ๆ มักจะพิจารณาในลักษณะมวลรวมท่ีมีความเปนศูนยกลาง มีการรวมตัวของประชากรและกิจกรรมหนาแนนกวาสวนอ่ืน ๆ ที่ใกลเคียงโดยเปรียบเทียบ ซึ่งอีกพื้นท่ีที่มีความหนาแนนนอยกวาอาจถูกจัดเปนชานเมืองหรือพื้นที่ชนบท โดยชนบทกับเมืองมีขอแตกตางหลักในแงของ สภาพแวดลอม การประกอบอาชีพ ความหนาแนนของประชากร ดานการศึกษาความเช่ือ และดานสังคม โดยในชนบทเปนลักษณะของสังคมปด (close society) คือรูจักกันหมดท้ังหมูบาน ในเมืองเปนลักษณะสังคมเปด (open society) คือแตละคน ไมคอยสนใจกันมากนัก หรือตางคนตางอยู 4.2 รูปแบบการใชประโยชนท่ีดิน การใชประโยชนที่ดินไมมีการควบคุมหรือวางผังเมือง จะมีลักษณะปะปนกันไมเปนระเบียบความแออัดจะกระจุกตัวอยูที่ศูนยกลาง และกระจายออกไปรอบนอกชุมชนอยางไรทิศทางและแบบแผน เม่ือชุมชนขยายตัวไปสูความเปนเมือง ปญหาตาง ๆ ก็จะตามมา ดังนั้นการวางผังเมืองเปนการจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน ระบบคมนาคมขนสง และเตรียมรองรับการขยายตัวของเมืองในอนาคตโดยการพิจารณาแผนประเภทการใชประโยชนที่ดิน สําหรับการใชที่ดินในแตละประเภทน้ัน มีรายละเอียดดังตอไปน้ี (กัลยา เทียนวงศ, 2555: 5)

4.2.1 การใชท่ีดินเพื่อการเกษตร (Agricultural land use) การเกษตร หมายถึง การปฏิบัติกับที่ดินเพ่ือทําใหเกิดการผลิตและไดผลผลิตออกมา การทําการเกษตร จึงหมายถึง การมีปศุสัตวหรือมีที่ดินเพ่ือการผลิตทางการเกษตรโดยไมคํานึงถึงรูปแบบทางกฎหมายหรือกรรมสิทธิ์ในการถือครองที่ดินนั้น ที่ดินที่ใชทําการเกษตรอาจจะประกอบดวยที่ดินผืนเดียวหรือหลายผืน ที่ดินดังกลาวอาจอยูแหงเดียวกันหรืออยูแยกกันในเขตทองท่ีใดก็ได แตที่ดินทุกผืนจะตองอยูภายในเขตจังหวัดเดียวกัน ซึ่งจะใชทั้งหมด หรือเพียงบางสวนเพื่อการผลิตทางการเกษตรภายใตการจัดการอันเดียวกัน การเกษตรนับเปนวิถีชีวิต วัฒนธรรมในการดํารงชีวิตของมนุษยแตคร้ังอดีตนานนับพันปถึงแมวาพัฒนาการเกษตรจะกาวหนาไปถึงการใชวัสดุปลูกตาง ๆ ที่ไมใชดินหรือไมไดทําบนดินแลวก็ตาม แตในทางปฏิบัติที่จะทําใหมีอาหารและปจจัยสี่อยางเพียงพอสําหรับเลี้ยงมนุษยชาติทั้งโลก ก็ยังตองอาศัยที่ดินเปนแหลงเพาะปลูกเลี้ยงสัตวที่สําคัญ นอกจากนี้เกษตรกรรมยังเปนอาชีพ เปนแหลงรายไดของประชากรตั้งแตระดับครัวเรือน ภูมิและประเทศ และยังเปนพื้นฐานของภาคอุตสาหกรรม

เนื้อท่ีถือครองทําการเกษตร หมายถึง เนื้อที่รวมทุกผืนท่ีดินท่ีใชทําการเกษตร ซึ่งไดแกเนื้อท่ีที่เปนเจาของเอง เชาจากผูอ่ืน และถือครองในลักษณะอ่ืน เน้ือที่ถือครองทําการเกษตรยังรวมไปถึงลานในไร นา ยุงฉาง โรงเก็บเคร่ืองมือเคร่ืองใช บาน บริเวณบาน และปา ที่อยูในพ้ืนที่การเกษตรดวย

ในทางปฏิบัติ เกษตรกรจะเลือกใชพื้นที่เพาะปลูก โดยพิจารณาถึงผลตอบแทนที่มาจากราคาของผลผลิตทางการเกษตรซึ่งถูกกําหนดในตลาด ณ จุดท่ีอุปทานเทากับอุปสงค ราคาที่เกษตรกรไดรับเทากับราคาตลาด หักดวยคาขนสงจากพ้ืนท่ีของตนมายังตลาด จึงตองพิจารณาถึงราคา

Page 38: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

26

ตลาดของผลผลิตของตน หักดวยคาขนสง และตนทุนการผลิตตาง ๆ มูลคาที่ดินของพ้ืนที่ที่หางไกลจากตลาดมีราคาถูกลงไปเร่ือย ๆ ราคาสินคาสุทธิที่ผูผลิตจะไดรับจากการสงสินคาไปขายในตลาดจะนอยลงไปเร่ือย ๆ เมื่อผูผลิตอยูหางจากตลาดออกมา เพราะคาขนสงสินคาสูงข้ึน นอกจากน้ันยังตองคํานึกถึงการจัดแบงที่ดินในการเพาะปลูกพืชตาง ๆ ดวย 4.2.2 การใชท่ีดินเพื่อการอุตสาหกรรม (Manufacturing or industrial land use) โดยทําเลที่ตั้งของอุตสาหกรรมในเขตเมืองจะแบงออกเปน 4 กลุม คือ

1.กลุมอุตสาหกรรมที่กระจุกตัวอยูใกลใจกลางเมือง เนื่องจากตองพึ่งพาตลาดและแรงงานในเขตธุรกิจการคาใจกลางเมือง และสะดวกในการติดตอกับกลุมธุรกิจและอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ สวนใหญจะเปนอุตสาหกรรมเบา ไมกอใหเกิดมลพิษและใชพื้นที่นอย

2.กลุมอุตสาหกรรมท่ีกระจุกตัวอยูรอบนอก เปนอุตสาหกรรมที่มีวัตถุดิบและตลาดอยูนอกเขตเมือง จึงตองตั้งโรงงานอุตสาหกรรมอยูในบริเวณท่ีเขาถึงตลาดและวัตถุดิบมากท่ีสุด รวมถึงใกลเสนทางคมนาคมสายสําคัญ

3.อุตสาหกรรมที่กระจัดกระจายท่ัวไปในเขตเมืองท่ีเสียตนทุนการผลิตตํ่า ใชพื้นที่ในการเก็บสํารองวัตถุดิบและรักษาผลิตภัณฑจํานวนมาก สวนใหญกระจายตัวอยูในเขตชานเมืองตอนในและตอนกลาง เพราะผลิตภัณฑจะสงจําหนายทั่วท้ังเขตเมือง และเปนโรงงานอุตสาหกรรมที่ไมไดมีเปาหมายผลิตเพื่อตลาดในทองถิ่น

4.อุตสาหกรรมท่ีกระจุกตัวบริเวณชานเมือง เนื่องจากตองการพ้ืนที่กวางขวาง ราคาที่ดินถูก ใกลเสนทางคมนาคมสายสําคัญ เน่ืองจากเปนการผลิตสินคาเพ่ือสงขายไปยังภูมิภาคอ่ืน ๆ ไมไดผลิตสินคาเพื่อขายในทองถิ่น

โดยปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกทําเลที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจะแตกตางกันไปตามประเภทของอุตสาหกรรม โดยแบงเปน 4 ดานคือ ปจจัยดานกายภาพ ไดแก ที่ดิน ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ แหลงน้ํา ฯลฯ ปจจัยดานเศรษฐกิจ ไดแก วัตถุดิบ ทุน แรงงาน การขนสง รวมถึงการประหยัดจากการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ (Agglomeration economic) เปนตน ปจจัยทางสังคม ซึ่งเปนไปตามพฤติกรรมและการตัดสินใจของผูประกอบการ และปจจัยทางการเมือง ที่สําคัญคือนโยบาย กฎหมายและมาตรการของรัฐบาลดานอุตสาหกรรม 4.2.3 การใชท่ีดินเพ่ือท่ีอยูอาศัย (Residential land use) แตเดิมน้ันตามเขตเมืองตาง ๆ ในประเทศไทยจะต้ังที่อยูอาศัยสัมพันธเกี่ยวของกับศาสนาสถานคือ วัด โบสถ มัสยิด หรือแมแตสถานศึกษา แตปจจุบันการตั้งท่ีอยูอาศัยมักจะตั้งใกลกับยานการคาตลาดและธุรกิจตาง ๆ รวมทั้งยานอุตสาหกรรม สถานท่ีราชการ เพื่อความสะดวกสบายในการติดตอ หรือประกอบกิจกรรมท่ีเกี่ยวของไดงายข้ึน โดยท่ีดินท่ีใชเปนท่ีอยูอาศัยนั้นจะพบหรือปรากฏทั่วไปท้ังในเขตใจกลางเมืองและในเขตชานเมือง โดยในเขตเมืองน้ันบริเวณใจกลางเมืองจะมีพื้นท่ีที่ใชเปนท่ีอยูอาศัยที่มีอยูอยางจํากัด มีประชากรจํานวนมากท่ีอาศัยอยางหนาแนน แออัด และมีการขยายตัวมากในแนวด่ิง เนื่องจากท่ีดินมีราคาแพงจึง

Page 39: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

27

ทําใหมีการสรางอาคารท่ีพักอาศัยที่มีความสูงหลายช้ัน เชน คอนโดมีเนียม แฟลต เปนตน สวนในเขตชานเมือง การใชที่ดินสําหรับเปนที่อยูอาศัยจะมีการกระจัดกระจาย โดยบริเวณท่ีมีการต้ังหนาแนนมาก พบวาอยูตามบริเวณเขตเมืองท่ีมีสถานท่ีราชการตั้งอยูหรือศูนยกลางทองถิ่น และบริเวณท่ีเปนจุดตัดของถนนตามสี่แยก เปนตน โดยที่อยูอาศัยจะแผขยายกวางในทางราบเนื่องจากราคาที่ดินมีราคาที่ถูกกวาในเขตใจกลางเมือง สวนใหญประกอบดวยบานเปนหลัง ๆ โดด ๆ มีบริเวณบาน เน่ืองจากความหนาแนนของประชากรตํ่า ทําใหรูปแบบการใชที่ดินในเขตชนบทน้ันมีลักษณะแตกตางจากเมือง คือจะมีรูปแบบของที่อยูอาศัยหลายประเภท ทั้งบานเด่ียว บานแฝด บานแถว แฟลต คอนโดมีเนียม โดยในแตละแบบจะมีคุณสมบัติที่แตกตางกันไปในหลายดาน ดังน้ัน การใชที่ดินเพื่อเปนที่อยูอาศัยจะมีลักษณะการกระจัดกระจายครอบคลุมพ้ืนที่กวางขวางของพ้ืนที่เมืองสวนใหญ ประมาณรอยละ 30 ของพื้นที่เมือง โดยจะครอบคลุมพ้ืนท่ีถนนหนทางดวยและไมมีขอจํากัดในเร่ืองทําเลท่ีตั้ง คือตั้งอยูบริเวณสวนไหนของเมืองก็ได จากการท่ีจํานวนประชากรมีเพิ่มมากขึ้น จึงมีความจําเปนที่จะตองขยายท่ีอยูอาศัยเพิ่มมากข้ึน โดยปจจัยที่ใชในการพิจารณาเลือกท่ีดินเพ่ือสรางท่ีอยูอาศัย ไดแก ปจจัยทางดานกายภาพ เชน ลักษณะภูมิประเทศ แหลงน้ํา ฯลฯ ปจจัยทางดานเศรษฐกิจ ไดแก ราคาท่ีดิน ยิ่งต้ังใกลใจกลางเมืองก็จะมีราคาที่ดินท่ีสูงมาก โดยเฉพาะในยานการคา (Central Business District: C.B.D) ปจจัยทางดานเทคโนโลยี การขนสงและสาธารณูปการตาง ๆ ปจจัยทางการเมือง ซึ่งรัฐบาลมีบทบาทอยางมากในการเขามาจัดการตอการจัดท่ีอยูอาศัยใหกับประชาชรโดยเฉพาะในเขตเมือง และปจจัยทางพฤติกรรม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม คานิยมของประชาชนยอมมีผลตอรูปแบบของท่ีอยูอาศัย รวมท้ังการขยายตัวของท่ีอยูอาศัยดวย 4.2.4 ท่ีดินประเภทพาณิชยกรรม (Commercial Land Use) เมื่อเปรียบเทียมกับการใชพื้นที่เพื่อกิจกรรมอ่ืนแลว จะเห็นไดวาพ้ืนท่ีพาณิชยมีเนื้อที่ใชสอยนอยที่สุด แตมีสมรรถนะของที่ดินท่ีสูงกวาประเภทอ่ืน จึงมีมูลคาหรือราคาท่ีดินสูง เปนลักษณะเดนของการใชประโยชนที่ดินในเมือง เปนบริเวณท่ีมีการรวมตัวของการใชประโยชนที่ดินที่เขมขน เปนศูนยกลางธุรกิจการพาณิชย และการบริการโดยเฉลี่ยแลวประมาณรอยละ 2-5 ของพ้ืนท่ีเมือง เปนท่ีดินท่ีใชประโยชนเพื่อการพาณิชยกรรม การใชที่ดินประเภทพาณิชยกรรม แบงออกเปน 2 ประเภทหลักคือรานคาเบ็ดเตล็ด และตลาดสด (Neighborhood & Convenient Stores and Community Markets) ซึ่งเปนสถานที่จําหนายสินคาเบ็ดเตล็ดในชีวิตประจําวัน รวมถึงตลาดสด ซึ่งเปนศูนยรวมธุรกิจการคาขายเบ็ดเตล็ดของชุมชน มีขนาดพื้นท่ีเล็กและกระจายตัวอยูทั่วไป และศูนยพาณิชยกรรมกลางเมือง (Central Business District: C.B.D) เปนบริเวณท่ีกวางใหญที่สุดและหนาแนนท่ีสุดของธุรกิจการคาขาย และการใหบริการ เปนที่รวมของกิจการคาปลีก สํานักงานใหบริการ สถาบันการเงิน สถานเริงรมย โรงแรม และอ่ืน ๆ

Page 40: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

28

C.B.D. แบงออกเปน 2 ประเภท คือ C.B.D. ในเมือง ซึ่งใชพื้นท่ีนอย อยูในทําเลที่ตั้งของการแขงขัน ราคาท่ีดินแพง อาคารสูงเพ่ือการใชประโยชนอยางเต็มท่ีในพ้ืนที่ที่จํากัด และ

C.B.D. ชานเมือง เปนผลมาจากปจจุบัน กิจกรรมที่เปนธุรกิจกลางของเมืองใหญ ๆ ที่อยูใจกลางเมืองตองประสบปญหาตาง ๆ อาทิ การจราจรติดขัด ราคาท่ีดินสูง ความแออัด และเสื่อมโทรม ประกอบกับความเจริญกาวหนาดานการสื่อสารและการคมนาคมท่ีสะดวก จึงไดมีการขยายตัวออกไปอยูชานเมือง กรกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทพาณิชยกรรม มีหลักการที่สําคัญ คือ พื้นที่ดังกลาวควรอยูบนท่ีราบปลอดภัยจากนํ้าทวมสามารถระบายไดดี มีความสะดวกในการเขาถึง มีระบบโครงขายถนนที่ไดมาตรฐาน และสามารถติดตอเชื่อมโยงกับบริเวณอ่ืน ๆ เพื่อความสะดวกในการสัญจร อยูในบริเวณท่ีมีสถาบันการเงิน และการบริการสาธารณะอ่ืน ๆ

4.2.5 การใชท่ีดินทางดานสถาบัน แบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1.การใชท่ีดินประเภทสถาบันราชการ (Government land) หรือสถานท่ีราชการ โดยปกติแลวจะตั้งอยูใจกลางเมือง สวนหน่ึงของยานธุรกิจ หรือ C.B.D ตามเมืองหลวงของประเทศ รัฐ หรือศูนยกลางการปกครอง โดยถาไมสามารถจัดต้ังในใจกลางเมืองไดก็จะขยายออกรอบนอกเมืองท่ีมีพื้นที่กวางขวางและไมแออัด

2.การใชท่ีดินของสถาบันการศึกษา (Education land) ไดแก โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย โดยโรงเรียนจะมีจํานวนมากที่สุด มีที่ตั้งกระจัดกระจายมากกวาสถาบันการศึกษาอ่ืน ๆ เนื่องจากมีขอบเขตบริการท่ีแคบกวา แตสําหรับวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยจะมีขอบเขตการใหบริการท่ีกวางกวา เชน วิทยาลัยจะรองรับในจังหวัด สวนมหาวิทยาลัยจะรองรับในระดับภูมิภาค เปนตน ปจจุบันมหาวิทยาลัยที่ตังอยูใจกลางเมืองมีพื้นท่ีแคบ จึงมีการจัดต้ังเปนวิทยาเขตตามจังหวัดตาง ๆ ที่เปนศูนยกลางระดับภูมิภาค

3.การใชท่ีดินเพื่อศาสนสถาน (Religious land) ในอดีตศาสนสถานจะต้ังปะปนอยูกับเขตที่อยูอาศัย เนื่องจากเปนศูนยรวมของกิจกรรมทางสังคมตาง ๆ ของชุมชน โดยจะพบในบริเวณที่เกาแกของเมือง ครอบคลุมพ้ืนที่กวางในเขตเมืองเกา โดยในปจจุบันตามเมืองตาง ๆ ไดมีการปรับปรุงพื้นที่ของศาสนสถานใหมีความสวยงาม และบางแหงยังใชวัดเพ่ือประกอบกิจกรรมสาธารณะ เชน สถานท่ีปฏิบัติธรรม ที่จอดรถ เปนตน 4.2.6 ท่ีดินประเภทท่ีสงวนและควบคุมการพัฒนา (Conservation and control for

development area) เปนการใชประโยชนที่ดินประเภทหนึ่งท่ีมีความสําคัญและจําเปนสําหรับเมือง วัตถุประสงคของการกําหนดการใชที่ดินประเภทนี้ เพื่อควบคุมการเจริญเติบโตของเมืองใหอยูในบริเวณท่ีกําหนด รักษาสภาพแวดลอมและระบบนิเวศของเมือง และสรางภาพลักษณของเมืองใหสมดุลกับธรรมชาติ โดยแบงท่ีดินประเภทท่ีสงวนและควบคุมการพัฒนาออกเปน 4 ประเภท คือ ประเภทที่โลงเพ่ือนันทนาการและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม ประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม ประเภท

Page 41: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

29

อนุรักษเพื่อสงเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย และประเภทท่ีโลงเพ่ือนันทนาการและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและการประมง

พื้นท่ีที่เหมาะสมแกการจัดใหเปนที่ดินประเภทท่ีสงวนและควบคุมการพัฒนา คือ พื้นที่ที่เปนแหลงวัตถุดิบ หรือทรัพยากรทางธรรมชาติ พื้นที่ที่มีน้ําทวมขังหรือรับการระบายน้ํา พื้นที่สาธารณูปโภคของเมือง พื้นที่อนุรักษและสงวนรักษา พื้นที่ที่เปดกันใหเปนโลง เปนตน

4.2.7 การใชท่ีดินเพื่อนันทนาการหรือการพักผอนหยอนใจ เปนการใชที่ดินเพ่ือพักผอนหยอนใจและการบันเทิง เชน สวนสาธารณะ สวนสุขภาพ สวนสนุก นามเด็กเลน สนามกีฬา สระวายนํ้า สวนพฤกษศาสตร เปนตน เมืองท่ีพัฒนาแลวจะมีสัดสวนของการใชที่ดินประเภทน้ีสูง โดยในประเทศมีการท่ีดินประเภทน้ีเพียงรอยละ 5 และมีการกระจายไมสมํ่าเสมอ และยังไมสอดคลองกับการกระจายหรือความหนาแนนของประชากรในเขตเมือง โดยพ้ืนที่ประเภทน้ีจะพบในบริเวณรอยตอระหวางเมืองกับชนบท เพราะเปนพื้นท่ีที่ไมสามารถนํามาสรางเมือง กิจการอุตสาหกรรม หรือสรางท่ีอยูอาศัยได 4.2.8 ท่ีดินเพ่ืออนุรักษพื้นท่ีปาไม กรมปาไมไดจําแนกเขตการใชประโยชนที่ดินปาไม โดยไดแบงพื้นที่ปาสงวนแหงชาติจํานวน 147.34 ลานไร แบง 3 เขตคือ

(1) เขตพ้ืนท่ีปาไมเพื่อการอนุรักษ (Zone C) ประมาณ 88.23 ลานไร เปนพ้ืนท่ีที่กําหนดไวเพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา พื้นที่ที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ตลอดจนพ้ืนที่ปาอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรีและอ่ืน ๆ

(2) เขตพื้นที่เหมาะสมกับการเกษตร (Zone A) เนื้อที่ประมาณ 7.22 ลานไร พื้นท่ีที่มีสมรรถนะของดินทีเหมาะสมตอการเกษตรกรรม ซึ่งนําไปปฏิรูปใหแกเกษตรกร

(3) เขตพ้ืนท่ีปาเพื่อเศรษฐกิจ (Zone E) เนื้อที่ประมาณ 51.89 ลานไร ไดแกพื้นท่ีกําหนดไวเพื่อผลิตไมและของปาและการใชประโยชนเพื่อกิจกรรมอ่ืน ๆ

4.2.9 การใชท่ีดินเพื่อวัตถุประสงคอื่น (the other objective area) ในหลายพ้ืนท่ีที่ดินบางแหงถูกทิ้งรางไว เพื่อการเก็งกําไรในอนาคต หรือรอสถานการณที่เหมาะสมในการนําไปใชตามทิศทางท่ีจะใหผลตอบแทนแกผูเปนเจาของท่ีดินไดดีที่สุด แตยังมีที่ดินอีกหลายแหงท่ีเปนที่ตองกันเอาไวเพื่อเปนประโยชน หรือในทางปองกันเพื่อความมั่นคงของประเทศ หรือเพื่อประโยชนและความปลอดภัยแกบุคคลที่อาศัยในบริเวณน้ัน เชนคลังอาวุธ บริเวณติดชายแดน บริเวณใกลเสาไฟฟาแรงสูงในบางกรณีของการใชที่ดินไดรวมเอาที่ดินสวนหวย หนอง คลอง บึง บาง เขาไวดวย หรือที่ธรณีสงฆ ที่สาธารณะตาง ๆ ไวดวย

ในการศึกษาคร้ังน้ี ผูวิจัยจะทําการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินโดยจําแนกลักษณะของการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินตามเกณฑของกรมพัฒนาท่ีดิน โดยใน

Page 42: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

30

ผังการจําแนกปกติ จะแบงรายละเอียดเปนข้ัน ๆ เรียกเปน ระดับ (Level) ของจําแนกเร่ิมจากสวนที่หยาบที่สุดกอน เรียกวาเปน ระดับที่ 1 กอนจะแยกยอยเปน ระดับที่ 2 ระดับที่ 3 ไปเร่ือย ๆ สําหรับการศึกษาน้ีจะจําแนกในระดับที่ 1 โดยแยกออกเปน 5 กลุม หลัก คือ

1.พื้นที่เมอืงและสิ่งปลูกสราง (Urban or built-up area) 2.พื้นที่เกษตรกรรม (Agricultural area)

3.พื้นที่ปาไม (Forest area) 4.แหลงน้ํา (Water body) 5.พื้นที่เบ็ดเตล็ด (Miscellaneous area)

โดยการศึกษาคร้ังน้ี ผูวิจัยมุงเนนศึกษาเฉพาะการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากพื้นท่ีเกษตรกรรม เปนพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง เพื่อวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินสูความเปนเมืองของจังหวัดสมุทรสงคราม 4.3 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน

การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน คือ การใชที่ดินที่มีการเปลี่ยนแปลงจากประเภทหนึ่ง ไปเปนอีกประเภทหนึ่ง เชน การเปลี่ยนแปลจากสภาพปาเปนพื้นที่เกษตรกรรม จากพ้ืนที่เกษตรกรรมเปนที่อยูอาศัย หรือจากแหลงน้ําเปนพื้นที่เกษตรกรรม จากปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการใชที่ดิน พบวา สภาพเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรเกี่ยวของกับพ้ืนดินท่ีใชประกอบอาชีพและท่ีอยูอาศัยของเกษตรกรดวย การใชประโยชนที่ดินประเภทที่อยูอาศัยจะสัมพันธกับการเพิ่มปริมาณของจํานวนครัวเรือน และเสนทางคมนาคม กลาวคือ ในพ้ืนที่ใดท่ีมีเสนทางคมนาคมตัดผานจะกอใหเกิดความสะดวก พื้นที่บางสวนในบริเวณน้ันอาจจะมีลักษณะการใชประโยชนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัยและพื้นที่เกษตรกรรมเกิดข้ึน ในขณะเดียวกันพ้ืนท่ีปาไมก็จะลดลง (สุพรรณี ทักษิณสัมพันธ, 2547)

4.4 ทฤษฎีการเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน 4.4.1 ทฤษฎีคาเชาที่ดินของเดวิด ริคารโด (David Ricardo) ทฤษฎีคาเชา ท่ีดินของเดวิด ริคารโด กลาววา ที่ดินที่มีคุณภาพดีและใหคาตอบแทนสูงจะถูกใชกอน คาเชาท่ีดินเปนสวนที่เหลือของรายไดที่ไดจากการขายผลผลิต ซึ่งไดมาจากการใชที่ดินแปลงดังกลาว หลังจากหักคาตอบแทนทั้งหมดท่ีจายใหกับปจจัยที่ไมใชที่ดินทุกชนิดออกแลว

ริคารโด อาศัยการแบงกลุมของท่ีดินที่มีอยูในบริเวณหน่ึง ๆ ออกเปนกลุม ๆ ตามระดับหรือชั้นของความอุดมสมบูรณ ที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณมากท่ีสุดจะเปนกลุมท่ีถูกนํามาใชกอน เนื่องจากมีผลิตภาพโดยเปรียบเทียบสูงสุด จึงสรุปไดวาคาเชาท่ีดินก็คือ รายรับสวนที่เหลือ (Residual

Revenue) หลังจากหักคาตอบแทนท่ีจายใหกับปจจัยที่ไมใชที่ดินทุกอยาง (ในราคาท่ีมีการแขงขัน) ออก

Page 43: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

31

หมดแลว และคาเชาท่ีดินดังกลาวจะเปนสัดสวนโดยตรงของผลตางระหวางผลิตภาพของท่ีดินแปลงดังกลาวกับผลิตภาพของที่ดินในกลุมที่มีระดับความอุดมสมบูรณนอยที่สุดที่มีการนํามาใชทําการผลิต 4.5 สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน

4.5.1 สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน

จากการรวบรวมรายงานการวิจัยเกี่ยวกับสาเหตุการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน โดยเฉพาะการเปล่ียนแปลงการใชที่ดินจากพ้ืนที่เกษตรกรรมเปนการใชพื้นท่ีรูปแบบอ่ืน ๆ โดยพบวามีสาเหตุหลายประการ ดังนี้ 1.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 – 8 เปนการพัฒนาแบบไมสมดุล ชนบทเปนเพียงแหลงสนับสนุนวัตถุดิบ อาหาร และแรงงานราคาถูก ที่มุงตอบสนองการพัฒนาดานอุตสาหกรรม ชาวนาที่ฐานะดีเทาน้ันท่ีสามารถเขาถึงเทคโนโลยีไดเต็มท่ีและไดรับประโยชนจากแผนพัฒนาของรัฐ เนื่องมาจากขอจํากัดทางภูมิศาสตร และความไรประสิทธิภาพในการพัฒนาระบบชลประทานของรัฐ ชาวนาตองพึ่งพิงการบริโภคจากตลาด และพ่ึงพิงการบริการจากในเมืองมากข้ึน เนื่องจากรัฐมีนโยบายที่ตอบสนองความตองการของเมืองมากข้ึน และสนับสนุนใหสินคาภาคอุตสาหกรรมเขาสูชุมชนอยางเต็มท่ี ภาคอุตสาหกรรมไดประโยชนจากการไมตองรับภาระดานสวัสดิการตาง ๆ เชน การศึกษา การเลี้ยงดู การเจ็บปวย การชราภาพ ฯลฯ โดยผลักภาระใหแกภาคชนบท และภาคอุตสาหกรรมยังใชชนบทเปนแหลงผลิตอาหารราคาถูก ทําใหนายทุนสามารถจายคาแรงในราคาต่ําได (วิทยา เชียงกูล , 2526;

ดํารงค ฐานดี, 2538) 2.การรวมอํานาจเขาสูศูนยกลาง กระบวนการพัฒนาของรัฐท่ีใชระบบการรวม

อํานาจเขาสูศูนยกลาง ทําใหระบบราชการเปนกลไกสําคัญในการดําเนินงานพัฒนาของรัฐ และบอยคร้ังที่ขาราชการไมเขาใจปญหาของทองถิ่น จึงไมสามารถแกปญหาไดอยางแทจริง เพราะมุงแตเพียงการตอบสนองนโยบายของรัฐเทานั้น ชาวนาสวนใหญเสียคาเชาที่ดินทํากินในอัตราข้ึนลงตามราคาขายขาว ไมไดรับคาตอบแทนจากการขายผลผลิตตามกลไกตลาดอยางเต็มท่ี แตตองแบงมูลคาบางสวนใหกับนายทุนเจาของท่ีดิน และตองเสียดอกเบี้ยเงินกูในอัตราแพงจาการพึ่งพาการกู เงินจากนายทุนในการทําการเกษตร โดยเฉพาะการทําการเกษตรดวยเทคโนโลยีสมัยใหม ยิ่งกวาน้ัน ชาวนายังตองขายขาวผานพอคาคนกลางหลายระดับ จึงทําใหผลผลิตถูกกดราคา ดวยเหตุนี้ จึงไดเกิดกระบวนการการดูดซับจากภาคการเกษตรไปสูภาคอุตสาหกรรม ประกอบกับการใหความชวยเหลือของรัฐท่ีมีขอจํากัดและโครงสรางการเมืองการปกครองที่รวมศูนยอํานาจ ทําใหภาคเกษตรกรรมถูกละเลยและไมสามารถอยูรอดไดภายใตการพัฒนาระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ทายท่ีสุดจึงเกิดการสูญเสียที่ดินภาคการเกษตรเน่ืองมาจากปญหาหนี้สิน (วิทยา เชียงกูล, 2526; ดํารงค ฐานดี, 2538)

Page 44: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

32

3.ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมบางประการ ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมบางประการก็มีสวนในกระบวนการสูญเสียที่นาของชาวนาเชนกัน โดยพบวาระบบเครือญาติ และระบบอุปถัมภ ทําใหชาวนายินยอมเขาสูความสัมพันธเชิงคาเชาและดอกเบ้ีย โดยคิดวาเปนการชวยเหลือและสมควรนึกถึงบุญคุณของผูชวยเหลือดังกลาว ทําใหความขัดแยงท่ีเกิดข้ึนจากการเอารัดเอาเปรียบดําเนินไปอยางราบร่ืน กลไกตลาดหรือกลไกราคาไมมีบทบาทในการเชา กูยืม หรือซื้อขายที่ดิน ทําใหชาวนาสูญเสียที่ดินงาย (ศิวรักษ ศิวารมย, 2530; เลิศชาย ศิริชัย, 2538; อานันท กาญจนพันธุ, 2545) 4.การเคล่ือนยายของแรงงาน ผลกระทบจากการเติบโตของโรงงานอุตสาหกรรมมีผลกระทบโดยตรงจากการพัฒนาการเกษตร ในประเด็นของการขาดแคลนแรงงานภาคการเกษตรเนื่องจากการเคลื่อนยายของแรงงานภาคการเกษตรสูภาคอุตสาหกรรมอยางตอเน่ือง ทําใหคาจางงานในภาคการเกษตรสูงข้ึน ทําใหตนทุนการผลิตสูงข้ึนไปดวย จนถึงจุดหน่ึงท่ีตองลดผลผลิตทางการเกษตรลง ทําใหผลผลิตไมไดตามเปาหมาย นอกจากน้ียังเกิดปญหามลภาวะเปนพิษ วิถีการดําเนินชีวิตของเกษตรกรเปลี่ยนแปลง คาครองชีพสูงข้ึน ซึ่งปจจัยดานแรงงานและตนทุนการผลิตท่ีสูงข้ึนน้ี เปนสาเหตุใหเกษตรกรไมมีแรงจูงใจในการทําการเกษตร จึงเกิดการขายท่ีดินและที่ดินถูกเปลี่ยนไปใชเพื่อการอุตสาหกรรม ชุมชนและท่ีอยูอาศัย ตลอดจนการถือครองท่ีดินเพื่อเก็งกําไรและกอใหเกิดผลตอการถือครองที่ดินเพื่อการเกษตร (อุทัย ใจหงษ, 2533) 5.การพัฒนาเมือง ปจจัยที่สงผลกระทบตอพื้นที่เกษตรกรรมมาก ไดแก ปญหาราคาที่ดินท่ีเพิ่มสูงข้ึนตามการพัฒนาเมืองตามผังเมืองรวม เชน พื้นท่ีสวนใหญของเขตประเวศถูกกําหนดใหเปนพื้นที่พักอาศัยหนาแนนนอย เพื่อรองรับการขยายตัวของเมือง และไมมีพื้นท่ีที่กําหนดไวสําหรับการใชที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมเลย หรือเชียงใหม ถูกกําหนดใหเปนศูนยกลางการทองเที่ยวและศูนยกลางความเจริญของภาคเหนือ และเปนเมืองหลักของภาคเหนือตอนบนในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 เปนผลใหรัฐตองลงทุนโครงสรางพ้ืนฐานและสาธารณูปโภคตางๆ เปนตน เปนแรงดึงดูดใหที่ดินมีราคาสูงข้ึนตามความตองการของนักลงทุนท่ีจะดําเนินธุรกิจ และเพื่อที่อยูอาศัย เจาของท่ีดินจึงตองขายท่ีดิน รวมถึงปญหาสภาพแวดลอมเสื่อมโทรมท่ีรุกล้ําเขาสูพื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มข้ึน สงผลตอพื้นที่เกษตรกรรมชานเมืองท่ีเหลืออยูที่ตองประสบปญหาจากการทําเกษตรกรรมในพื้นท่ี จนเกษตรกรไมสามารถประกอบอาชีพไดอีกตอไป โดยเฉพาะเกษตรกรที่อยูในฐานะผูเชาที่ดินทํากินที่ไมมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินนั้น (วรัญญา แตรวิจิตร, 2538) 6.สาเหตุอื่น ๆ รายงานผลการศึกษาของกรมพัฒนาท่ีดิน ถึงสาเหตุของการขายที่ดินของเกษตรกรในพ้ืนท่ีชานเมือง กึ่งชานเมือง กึ่งชนบท รวม 4 จังหวัด คือ ปทุมธานี นครราชสีมา เชียงราย และสุราษฎรธานี มีสาเหตุมาจาก มีหนี้สินเพราะราคาผลผลิตตกตํ่าและความแหงแลง ที่ดินราคาแพง ผลตอบแทนจากดอกเบี้ยสูงกวารายไดจากการเกษตร ตองการเปล่ียนอาชีพ เพราะอาชีพ

Page 45: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

33

เกษตรกรมีความเสี่ยงสูงและงานหนัก บุตรหลานไมมีความประสงคจะทําอาชีพเกษตรกรตอ และขาย เพื่อไปซื้อท่ีดินท่ีอ่ืนท่ีราคาถูกกวา (กรมพัฒนาที่ดิน , 2538 อางถึงใน อภิเศก ปนสุวรรณ และคณะ,

2546) 4.5.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน

ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงการใชที่ดิน โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินจากพ้ืนท่ีเกษตรกรรมเปนการใชพื้นที่รูปแบบอ่ืน ๆ จากการรวบรวมจากงานวิจัยตาง ๆ พบวามีผลกระทบ ดังนี้ 1.เกษตรกรดํารงชีพอยูบนรายไดท่ีไมมีความแนนอน จากการศึกษาชาวนาบานน้ําวา พบวา ชาวนาบานนํ้าวาหาทางออกจากปญหาการสูญเสียที่ดินเกษตรกรรมดวยการทํานาเชา การกระจายชนิดผลผลิต การทํางานรับจางในไรนา การรับจางทํางานในเมืองแบบช่ัวคราวและถาวร การทําอุตสาหกรรมในครัวเรือน การคาขาย แตผลปรากฏวาไมมีอาชีพใดท่ีสามารถสรางความม่ันคงใหกับครอบครัวไดตลอดไป เพราะแตละอาชีพมีความผันผวนเร่ืองรายได ชีวิตความเปนอยูของชาวนาจึงดํารงอยูบนรายไดที่ไมมีความแนนอน สภาพการเชนนี้ตรงกับผลการศึกษาชาวนาในอําเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย และการศึกษาครัวเรือนที่ไรที่ดินในชนบทภาคกลาง ซึ่งพบวาชาวนาท่ีเหลือที่ดินนอย จะตองขวนขวายประกอบอาชีพหลาย ๆ อยางในเวลาเดียวกัน เพื่อหารายไดเพิ่มใหครอบครัว เชน การทํานาแบบเขมขน การรับจาง การคาขาย การทําอุตสาหกรรมในครัวเรือน ฯลฯ แตการประกอบอาชีพหลายอยางเชนน้ีก็ไมเปนหลักประกันท่ีมั่นคงใหแกครอบครัวได เพราะมีความไมแนนอน (ภราดร ปรีดาศักดิ์, 2536; เลิศชาย ศิริชัย, 2538; นภาภรณ หะวานนท, 2543) 2.เกษตรกรมีขอจํากัดในการประกอบอาชีพอ่ืน ๆ จากรายงานการศึกษาทางเลือกของแรงงานในภาคเกษตร ไดชี้ใหเห็นถึงขอจํากัดของสภาพการจางงานในภาคเกษตร กลาวคือ แรงงานภายในพื้นที่จะมีทางเลือกการจางงานมากกวา คาแรงมีการไหวตัวมากกวาแรงงานจากนอกพ้ืนท่ีมักถูกตรึงคาแรงใหคงท่ี ในสวนของการจางงานนอกภาคการเกษตร พบวา แรงงานจากภาคการเกษตรสวนใหญมีปญหาดานคุณสมบัติโดยเฉพาะดานการศึกษา ซึ่งไมสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานนอกภาคการเกษตร ทําใหยิ่งประสบปญหาในการประกอบอาชีพอ่ืน ๆ นอกเหนือจากอาชีพเกษตรกร (สมภพ มานะรังสรรค, 2538) โดยผูวิจัยจะนําแนวคิดเร่ืองการใชประโยชนที่ดิน รูปแบบการใชประโยชนที่ดิน การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ทฤษฎีการเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดิน สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน

ประกอบการวิเคราะหผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินในจังหวัดสมุทรสงคราม

Page 46: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

34

5.พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสงคราม 5.1 ประวัติความเปนมาของจังหวัดสมุทรสงคราม

จังหวัดสมุทรสงคราม แตเดิมเรียก “เมืองแมกลอง” การตั้งถิ่นฐานบริเวณปากแมน้ําดินแดนแหงน้ี สันนิษฐานวา คนกลุมแรกเปนชาวแมกลองจากจังหวัดอุทัยธานี อพยพมาตั้งบานเรือนในถิ่นนี้ ชาวแมกลองเดิมในจังหวัดอุทัยธานีเปนชาวแมน้ํา เคยอยูริมแมน้ํากําแพงเพชรมากอน เมื่อแมน้ําน้ันตื้นเขิน การทํามาหากินของราษฎรฝดเคือง จึงพากันอพยพมาหาทําเลที่อยูใหม เรียกหมูบานที่ตั้งขึ้นใหมวาบานแมกลอง ตามชื่อบานเดิมของตน ที่มาของช่ือบานแมกลองนอกจากที่กลาวอางแลว ยังมีเร่ืองราวท่ีเลาสืบเน่ืองกันมาวาดวยเร่ืองกลองใหญที่วัดใหญ ตําบลแมกลอง อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม มีนัยแบงเปน 2 ทาง คือ สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 5 หลวงศรีสวัสด์ิ (ชื่น เทพสุวรรณ) นายอําเภอศรีสวัสด์ิ จังหวัดกาญจนบุรี ยายมาเปนนายอําเภอแมกลอง ไดนําซุงตนใหญที่ไดมาจากจังหวัดกาญจนบุรีมาขุดทํากลองใบใหญขึ้นหน่ึงใบ ขึงดวยหนังวัวกระทิงจากปาเมืองกาญจนบุรี คร้ันสรางเสร็จแลวไดนํามาถวายท่ีวัดใหญ ตําบลแมกลอง อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม ทางราชการจึงทําตราของจังหวัดเปนรูปกลองลอยน้ํา สองฟากฝงเปนตนมะพราวอันเปนสัญลักษณอาชีพหลักของจังหวัดสมุทรสงคราม เร่ืองกลองใหญนี้ ยังมีที่มาอีกนัยหนึ่งเปนนิยายชาวบานเลาขานตอ ๆ กันมาวามีกลองใบใหญลอยมาติดหนาวัดใหญ และชาวบานชวยกันเก็บไวที่วัด และกลองใบใหญนี้ก็ยังมีปรากฏใหเห็นอยูที่วัดใหญจนปจจุบัน กลองใบน้ีเปนกลองขนาดใหญมาก จึงเรียกวาแมกลอง (สํานักงานจังหวัดสมุทรสงคราม, 2555: 1) 5.2 สภาพท่ัวไปของจังหวัดสมุทรสงคราม

จังหวัดสมุทรสงคราม ตั้งอยูในพ้ืนที่ภาคกลาง บริเวณลุมนํ้าแมกลองตอนลาง ติดกับอาวไทย คําขวัญประจําจังหวัด คือ “เมืองหอยหลอด ยอดลิ้นจี่ มีอุทยาน ร.2 แมกลองไหลผาน นมัสการหลวงพอบานแหลม”

5.2.1 ขนาดและท่ีตั้ง จังหวัดสมุทรสงคราม เปนจังหวัดท่ีมีพื้นท่ีนอยที่สุดในประเทศไทย คือมีพื้นท่ี 416.7 ตารางกิโลเมตร หรือ 260,422 ไร เพียงรอยละ 0.08 ของเน้ือที่ทั้งประเทศ พื้นท่ีสวนใหญเปนพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ตั้งอยูทางตอนลางของภาคกลาง โดยต้ังอยูริมฝงทะเลอาวไทย บริเวณปากแมน้ําแมกลอง หางจากกรุงเทพมหานครไปทางตะวันตกเฉียงใต ตามระยะทางหลวงแผนดินสายท่ี

35 (ธนบุรี - ปากทอ) ประมาณ 65 กิโลเมตร

5.2.2 อาณาเขต มีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดตาง ๆ โดยทิศเหนือ ติดกับจังหวัดราชบุรีและจังหวัดสมุทรสาคร โดยมีลําคลองดอนมะโนราและลํารางหาตําลึงในเขตทองที่อําเภอบางคนที และอําเภอเมืองสมุทรสาคร เปนแนวแบงเขต ทิศใต ติดทะเลอาวไทยตรงปากแมน้ําแมกลอง และจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดสมุทรสาคร ที่คลองพรมแดน ทองท่ีอําเภอเมืองสมุทรสาคร และ

Page 47: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

35

ทิศตะวันตก ติดจังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดราชบุรี โดยมีลําคลองวัดประดูเปนแนวแบงเขตในทองที่อําเภออัมพวา (ดังแสดงในรูปที่ 2.1)

5.2.3 สภาพภูมิประเทศ พื้นท่ีโดยท่ัวไปของจังหวัด เปนที่ราบลุมริมทะเล สภาพของดินเปนดินเหนียวปนทราย แมน้ําสําคัญของจังหวัดท่ีไหลผานคือ แมน้ําแมกลอง ซึ่งไหลผานบริเวณทองที่อําเภอบางคนทีและอําเภออัมพวา ไปออกทะเลอาวไทยที่บริเวณปากแมน้ําแมกลองในเขตอําเภอเมืองสมุทรสงคราม บริเวณพ้ืนที่ชายทะเลมีความยาวประมาณ 23 กิโลเมตร พื้นท่ีเกือบทั้งหมดของจังหวัดเปนท่ีราบชายฝงมีความลาดเอียงไปทางชายฝงทะเล ไมมีภูเขาและเกาะ มีคลองธรรมชาติและคลองขุด มีลําคลองใหญนอยมากมายแยกจากแมน้ําแมกลอง 366 คลอง ลําประโดง 1,947 ลําประโดง การคมนาคมทางนํ้าสะดวก และมีการประกอบอาชีพดานกสิกรรมจนเปนที่รูจักกันในนาม “เวนิสตะวันออกแหงสุดทายของเมืองสยาม” คลองเหลาน้ีชวยระบายนํ้าระหวางพ้ืนท่ีสวนบนกับฝงทะเล ในแตละวันจะมีน้ําขึ้นน้ําลงที่อาวไทย เกิดน้ําทะเลหนุนเขามาตามแมน้ําแมกลองและตามคูคลองตาง ๆ ทําใหพื้นท่ีของจังหวัดมีความแตกตางกันไป แบงออกไดเปน 3 เขต คือ เขตน้ําเค็ม คือพื้นที่ตั้งแตริมทะเลเขามาในแผนดินประมาณ 3 กิโลเมตร มีสภาพเปนน้ําเค็ม ไดแกพื้นที่ในเขตอําเภอเมือง เขตน้ํากรอย คือพื้นท่ีถัดจากเขตนํ้าเค็มเขามาประมาณ 3 กิโลเมตร ไดแกในเขตอัมพวา และอําเภอเมืองสมุทรสงครามและเขตนํ้าจืด คือพื้นท่ีถัดจากเขตน้ํากรอย สภาพเปนน้ําจืดสามารถนํามาใชประโยชนในการอุปโภคบริโภค ไดแกพื้นที่ในเขตอําเภออัมพวาตอนเหนือ และอําเภอบางคนทีทั้งหมด 5.2.4 ลักษณะภูมิอากาศ สวนใหญจะไดรับอิทธิพลลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจากอาวไทยและทะเลจีนใตพัดเอาฝนมาตกในฤดูฝนมากพอสมควร ประกอบกับอยูใกลทะเลจึงมีความชุมช้ืนอยูเสมอ ในฤดูหนาวจึงไมหนาวจัด และฤดูรอนก็ไมรอนจัด อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปประมาณ 28.1 องศาเซลเซียส ในปหนึ่งมี 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ชวงเดือนมีนาคม ถึงกลางเดือนมิถุนายน ฤดูฝน ชวงกลางเดือนกรกฎาคม ถึงเดือนตุลาคม และฤดูหนาว ชวงเดือนพฤศจิกายน ถึงกลางเดือนกุมภาพันธ

Page 48: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

36

แผนทีท่ี่ 1 จังหวัดสมุทรสงคราม

ที่มา: สํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดสมุทรสงคราม, แผนท่ีจังหวัดสมุทรสงคราม,

เขาถึงเมื่อ 14 มกราคม 2556, เขาถึงไดจาก http://www.dpt.go.th/samutsongkhram

Page 49: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

37

5.2.5 การปกครอง แบงออกเปน 3 อําเภอ 36 ตําบล 284 หมูบาน 24 ชุมชน ไดแก อําเภอเมืองสมุทรสงคราม มีเนื้อที่ 169.057 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 40.57 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด อําเภออัมพวา มีเนื้อท่ี 170.164 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 40.84 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด และอําเภอบางคนที มีเนื้อที่ 77.486 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 18.59 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด 5.2.6 ประชากร มีจํานวนประชากรทั้งหมด 193,719 คน แบงเปน ชาย จํานวน 93,234 คน หญิง จํานวน 100,485 คน (ขอมูล ณ เดือนกันยายน 2553 ตามหลักฐานทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง) ประกอบดวยผูที่มีเชื้อชาติไทยเปนสวนใหญ รองลงมาคือชาวจีน และมอญ สวนใหญนับถือศาสนาพุทธรองลงมานับถือศาสนาคริสต และศาสนาอิสลาม

5.2.7 อาชีพ สวนใหญรอยละ 70 มีอาชีพเกษตรกรรม และการประมงน้ําจืด น้ํากรอย และทะเล พืชเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัดท่ีสําคัญ ไดแก มะพราว สมโอ และลิ้นจ่ี โดยมีพื้นที่เพาะปลูก 114,961 ไร หรือรอยละ 44.1 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (ป 2552) 17,442

ลานบาท รายไดเฉลี่ยของประชาชน (ป 2552) อยูที่ 82,380 บาทตอคนตอป (ขอมูล ณ วันท่ี 4 กรกฎาคม 2553) 5.2.8 ทรัพยากรธรรมชาติ มีพื้นที่ติดชายฝงทะเลยาวประมาณ 23 กิโลเมตรโดยมีแมน้ําสายหลัก คือ แมน้ําแมกลอง ซึ่งตนน้ําเกิดจากแควนอยและแควใหญในจังหวัดกาญจนบุรี ไหลผานจังหวัดราชบุรี และไหลลงสูอาวไทยที่จังหวัดสมุทรสงคราม มีความยาวท้ังสิ้น 520 กิโลเมตร ความยาวชวงท่ีไหลผานจังหวัดสมุทรสงคราม มีระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตร นอกจากน้ียังมีปาชายเลนตลอดแนวชายฝงทะเลของจังหวัด มีพื้นที่ 2,531 ไร บริเวณตําบลคลองโคน และตําบลแหลมใหญในพื้นที่อําเภอเมืองสมุทรสงครามอีกเล็กนอย

5.2.9 สภาพทางสังคม มีสถานศึกษา 105 แหง ครู อาจารยผูสอน 1,657 คน นักเรียน นักศึกษา 28,634 คน อัตราสวนครู อาจารย ตอ นักเรียน นักศึกษา เทากับ 1 ตอ 17 มีการศึกษานอกระบบโรงเรียน ศูนยการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 3 แหง ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือศาสนาคริสต และอิสลาม มีศาสนสถาน ไดแก วัด 110 วัด โบสถคริสต 2 แหง มัสยิด 1 แหง สถานการณดานครอบครัว จากสถิติการจดทะเบียนสมรสและการจดทะเบียนหยา ในจังหวัดสมุทรสงครามในรอบ 8 เดือน ของป 2552 (มกราคม - สิงหาคม 2552) มีจํานวนคูสมรสที่หยารางของทุกอําเภอ จํานวน 176 ราย เมื่อเทียบกับป 2551 ที่หยาราง จํานวน 142 ราย มีจํานวนเพิ่มข้ึน รอยละ 23.94 และการแตงงานท่ียังไมมีความพรอมของเยาวชน ซึ่งเปนสถานการณของครอบครัวที่ประสบอยูในภาพรวมของประเทศจากภาวะเศรษฐกิจและสังคมในขณะน้ี ในสวนของคุณภาพชีวิตของประชาชน จังหวัดสมุทรสงครามเปนเมืองท่ีมีระบบนิเวศน 3 น้ํา คือ น้ําเค็ม น้ํากรอย และน้ําจืด ประชาชนบางสวนประสบปญหาขาดแคลนน้ําอุปโภค บริโภค เน่ืองจากน้ําบาดาลกรอย เค็ม จังหวัดไดดําเนินการขยายเขตจายน้ําประปาแลวในระดับหนึ่งแตยังไมครอบคลุมพื้นที่

Page 50: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

38

5.2.10 ดานสาธารณสุข มีสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ไดแก โรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 360 เตียง 1 แหง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 90 เตียง 1 แหง ขนาด 30 เตียง 1 แหง สถานีอนามัย 50 แหง และศูนยบริการสาธารณสุข 5 แหง สถานบริการสาธารณสุขของเอกชน ไดแก โรงพยาบาลเอกชนขนาด 60 เตียง 1 แหง คลินิกแพทย 36 แหง คลินิกทันตกรรม 6 แหง คลินิกผดุงครรภ 2 แหง สถานบริการดานเทคนิคการแพทย 2 แหง และรานขายยา 40 แหง

5.2.11 ดานแรงงาน มีกําลังแรงงาน รวม 129,052 คน ผูมีงานทํา 128,934 คน แบงเปนภาคการเกษตร 30,181 คน นอกภาคการเกษตร 98,753 คน ผูวางงาน 117 คน อัตราคาจางข้ันต่ํา 163

บาทตอวัน

5.2.12 สภาพเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมท่ีสําคัญ ไดแก อุตสาหกรรมผลิตนํ้าปลา อุตสาหกรรมดานอาหาร อุตสาหกรรมแปรรูปสัตวน้ํา อุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตการเกษตร โรงงาน

สถานประกอบการ รวม 264 โรง แบงเปน อําเภอเมือง 206 โรง อําเภออัมพวา 36 โรง อําเภอบางคนที 22 โรงจํานวนเงินลงทุน 6,947,356,639 บาท จํานวนการจางงาน 8,877 คน จําแนกเพศเปน ชาย 3,345 คน หญิง 3,532 คน (ขอมูล ณ วันที่ 23 สิงหาคม 53)

5.2.13 การคมนาคม จังหวัดสมุทรสงครามสามารถเขาถึงไดหลายเสนทาง ไดแก ทางรถยนต ประกอบดวย เสนทางหมายเลข 35 สายธนบุรี – ปากทอ เร่ิมจากกรุงเทพฯ ไปจนถึงจังหวัดสมุทรสงคราม รวมระยะทาง 65 กิโลเมตร เสนทางหมายเลข 325 สายสมุทรสงคราม – บางแพ เร่ิมจากกิโลเมตรท่ี 28 ของถนนเพชรเกษมผาน อําเภอบางแพ และอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรีไปยัง อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ระยะทาง 42 กิโลเมตร โดยสารปรับอากาศ สถานีขนสงสายใต (ตลิ่งชัน) รถสาย 996 กรุงเทพฯ - ดําเนินฯ เปนรถปรับอากาศ ผานจังหวัดสมุทรสงคราม ไปจนถึง อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี และสาย 976 กรุงเทพฯ - สมุทรสงคราม ถึงสถานีขนสงจังหวัดสมุทรสงคราม ทางรถไฟ สายแมกลอง – วงเวียนใหญ แบงเปน 2 ชวง จากสถานีแมกลอง อําเภอเมือง –

สถานีบานแหลม อําเภอเมอืง ระยะทาง 33.1 กิโลเมตร จากนั้น ลงเรือขามแมน้ําทาจีน ไปขึ้นรถไฟ ชวงที่ 2 ที่สถานีมหาชัย (สมุทรสาคร) และจากสถานีมหาชัย อําเภอเมือง (สมุทรสาคร) – สถานีวงเวียนใหญ ระยะทาง 33.8 กิโลเมตร และทางนํ้า การคมนาคมในจังหวัดยังใชเรือในการสัญจร ซึ่งไดแก เรือยนต เรือหางยาว และเรือแจว เสนทางการคมนาคมระหวางจังหวัดทางนํ้า ไดแก จังหวัดสมุทรสงคราม –

ราชบุรี ใชแมน้ําแมกลองเปนเสนทางคมนาคม และจังหวัดสมุทรสงคราม (ตําบลย่ีสาร) - อําเภอบานแหลม (ตําบลบางตะบูน) จังหวัดเพชรบุรี ใชเปนเสนทางคมนาคมทางทะเล

5.2.14 ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณี ศิลปะและการละเลนพื้นบาน ไดแก ศิลปะการเขียนลายเครื่องเบญจรงค ของนายวิรัตน ปนสุวรรณ และศิลปะการแสดงหุนกระบอก ของนายวงษ รวมสุข อําเภออัมพวา ศิลปะลายฉลุ (มะพราวซอ) ของนายสมพร เกตุแกว อํา เภอบางคนทีศิลปะการแสดงหนังใหญ การละเลนพ้ืนบานจังหวัดสมุทรสงคราม ชวงรํา มอญซอนผา รําแมศรี

Page 51: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

39

การละเลนของเด็ก ไดแก เลนซอน จ้ําจ้ี แมนาคพระโขนง อายเข - อายโขง ฯลฯ และศิลปะการบรรเลงดนตรีไทย ของ พ.จ.อ.สมาน แกวละเอียด รวมถึงพิธีกรรมความเชื่อของคนไทยเช้ือสายมอญ ไดแก จออะโป (โกนผมไฟ) การทําศพ เปนตน

5.2.15 สถานท่ีทองเท่ียว ไดแก ศาลกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ดอนหอยหลอด คายบางกุง อนุสรณสถานแฝดสยาม อิน-จัน อุทยาน ร.2 บานแมวไทยโบราณ พิพิธภัณฑเรือ ตลาดริมทางรถไฟ (ตลาดหุบรม) เตาตาล และบานพักแบบโฮมสเตย นอกจากน้ียังมีวัดท่ีสําคัญอีกมากมาย เชน วัดเพชรสมุทรวรวิหาร อาสนวิหารแมพระบังเกิด วัดบางกะพอม วัดภุมรินทรกุฏีทอง วัดจุฬามณี วัดอัมพวันเจติยาราม วัดบางแคนอย วัดบางแคใหญ วัดศรัทธาธรรม วัดอินทาราม วัดบางกุง โบสถปรกโพธิ์ และสถานท่ีทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงของจังหวัด คือ ตลาดน้ํา เชน ตลาดน้ําอัมพวา ตลาดน้ําทาคา ตลาดน้ําบางนอย เปนตน

5.3 วิถีชีวิตชุมชนจังหวัดสมุทรสงคราม

5.3.1 วิถีชีวิตและภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่นของจังหวัดสมุทรสงคราม ถือเปนองคความรูประจําทองถิ่นท่ีพัฒนาขึ้นจากการสั่งสมถายทอดและพัฒนาจากประสบการณ ความรูความสามารถของชาวบานจากอดีตถึงปจจุบัน โดยอาศัยศักยภาพท่ีมีอยูในธรรมชาติ มากอใหเกิดประโยชนในการดํารงชีวิตในแนวทางท่ีสอดคลองกับธรรมชาติและวิถีชีวิตชาวบานจังหวัดสมุทรสงคราม เปนเมืองสามน้ํา คือ มีทั้งนํ้าจืดบริเวณอําเภอบางคนที น้ํากรอย บริเวณอําเภออัมพวาและอําเภอเมืองสมุทรสงครามตอนบน และนํ้าเค็มบริเวณอําเภอเมืองสมุทรสงครามตอนกลางและตอนลาง เพราะจังหวัดสมุทรสงคราม เปนจังหวัดชายทะเลต้ังอยูบนพ้ืนที่ราบลุมแมน้ําแมกลอง บริเวณที่เปนปากอาวของแมน้ําแมกลองที่ไหลลงสูทะเลอาวไทย ดังน้ัน เร่ืองของนํ้าจึงเปนเร่ืองหลักของวิถีชีวิตและภูมิปญญาทองถิ่น ที่ไดมีการกําหนดแผนการทํามาหากินใหสอดคลองกัน คือ การทําสวนมะพราวและทํานํ้าตาลมะพราวทางตอนลางเพราะนํ้ากรอย หรือ น้ําลักจืดลักเค็ม ตาลมะพราวจึงจะไดผลดี สวนทางตอนลางทํานาเกลือทําปาโกงกางเผาถาน ทํานากุง เพราะน้ําเค็ม จึงกลาวไดวา วิถีชีวิตและภูมิปญญาทองถิ่น โดยเฉพาะอยางย่ิงดานอาชีพของจังหวัดสมุทรสงคราม ไดคํานึงถึงฤดูกาลของน้ําเปนสําคัญ วิถีชีวิตและภูมิปญญาทองถิ่นดานอาชีพของจังหวัดสมุทรสงครามที่สรางรายไดใหกับชาวจังหวัดสมุทรสงครามท่ีสําคัญ มีดังนี้ (นันทวดี เทียนไชย, 2551) 1 .การ ทํ า นํ้ าตาลมะพร า ว เปนอา ชีพหลักที่ สํ า คัญของชาวจั งห วัดสมุทรสงครามซึ่งทํากันมาต้ังแตโบราณ เนื่องจากสภาพพ้ืนที่เปนท่ีราบลุม มีแมน้ําแมกลอง และมีลําคลองลํารางมากมาย พื้นท่ีสวนใหญของจังหวัดสมุทรสงครามจึงเปนปลูกมะพราว ผลผลิตหรือผลิตภัณฑที่เกษตรกรไดรับจากการทําสวนมะพราว มีทั้งการขายผลผลิตสด การทํามะพราวขาวสงโรงงานผลิตนํ้ากะทิกลอง และการทํานํ้าตาลมะพราว โดยเร่ิมจากการปาดสวนปลายของจ่ันมะพราว

แลวนํากระบอกไมไผหรือกระบอกพลาสติกไปรองนํ้าตาลมะพราว ในกระบอกจะใสไมพยอมลงไป

Page 52: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

40

เล็กนอยเพื่อปองกันการบูดเสียของน้ําตาลแบบธรรมชาติ เมื่อไดเวลาก็จะปนตนมะพราวไปเก็บกระบอกท่ีรองน้ําตาลลงมาตั้งไฟใสน้ําตาลลงในกระทะ เคี่ยวจนเขมขน ยกลง อาจใชไมปนหรือใชเคร่ืองไฟฟาปนจนเน้ือน้ําตาลมะพราวเปนเน้ือเนียน แลวจึงยกลงและปูผาขาวบางลงในถวยตะไล หรืออาจหยอดลงบนโตะที่รองดวยผาขาวบาง หยอดนํ้าตาลลงรอจนแหงจึงแกะออกจากผาขาว

2.การทํานาเกลือ เกลือสมุทร จังหวัดสมุทรสงครามเปนแหลงผลิตเกลือที่สําคัญแหงหน่ึงของประเทศ โดยมีแหลงผลิตท่ีสําคัญของจังหวัดอยูในเขตอําเภอเมืองสมุทรสงคราม ไดแก ตําบลบางแกว และตําบลลาดใหญ เน่ืองจากลักษณะดินเปนดินเหนียวและดินเค็ม มีพื้นที่ติดชายฝงทะเลสะดวกตอการขุดลอกลํารางเพ่ือนําน้ําเขาสูพื้นที่นา จังหวัดสมุทรสงครามมีพื้นท่ีทํานาเกลือ ประมาณ 5,000 ไร วิถีชีวิตของชาวนาเกลือ เปนวิถีชีวิตท่ีเรียบงาย อาศัยธรรมชาติและแรงงานเปนหลักในการทํามาหากิน แตก็ยังใชภูมิปญญาที่บรรพบุรุษถายทอดใหเพื่อจะไดอยูรอดและประสบผลสําเร็จในการทํานาเกลือที่ตองใชน้ําทะเลเปนวัตถุดิบหลัก

3.การทําถานไมโกงกาง ปาชายเลนเปนปาท่ีปรากฏในพื้นท่ีที่ราบชายฝงทะเลนําทวมถึง ประกอบดวยพันธุไมหลายชนิด เชน แสม ตะบูน ตะบัน ลําพู ลําแพน โกงกาง จาก ฯลฯ ปาไมชนิดน้ี เปนปาท่ีมีใบเขียวตลอดป ปาชายเลนสามารถลดความรุนแรงของพายุ อุทกภัย การพังทลายของดินประโยชนทางตรงคือ สามารถนํามาทําถาน ฟน ทําที่อยูอาศัย ฯลฯ โดยพันธุไมในปาชายเลนที่มีคุณคา ทางเศรษฐกิจมากที่สุด คือ โกงกาง

4.การทํายาจืด ยาจืดมีลักษณะเปนเสนสีขาวนวลออกเหลือง คลายกับยาเสนในมวนบุหร่ี เปนท่ีรูจักกันดีของคนกินหมากเพราะใชกินกับหมาก อาชีพทํายาจืด เร่ิมทํามาประมาณ 100 ปแลว ถิ่นท่ีทํายาจืดของจังหวัดสมุทรสงคราม ไดแก ตําบลบางกระบือและตําบลดอนมะโนรา

อําเภอบางคนที การเพาะปลูกตนยาใชเมล็ดหวานในดินท่ีชื้น เมล็ดจะแตกออกเปนตนกลาเล็ก ๆ หลังจากหวานประมาณ 1 เดือน ถอนตนกลามาปลูกในดินแปลงใหมอีกประมาณ 1 เดือน ก็นําใบยามาใชได ตนยาจืดเปนพืชลมลุกมีอายุประมาณ 3 เดือน สวนนํามาทํายาจืดคือสวนที่เปนใบ

5.การทํากะปคลองโคน เปนกะปที่มีชื่อเสียง มีกลิ่นหอมหวาน ไมเค็มจัด เปนสินคาพ้ืนเมืองของจังหวัดสมุทรสงคราม กะปทําจากตัวเคย หรือ ตัวกะป เปนสัตวทะเลชนิดหนึ่ง มีลักษณะคลายกุงแตตัวเล็กกวา และไมมีกรีแหลมๆ ที่บริเวณหัว เหมือนกุง ตัวสีขาวใส มีตาสีดํา อาศัยอยูตามบริเวณรากไมตามปาชายเลน เชน ตน โกงกาง แสม ลําพู ชาวบานมักจะออกชอน ตัวเคยกันในเวลาเชา ชอนกันไดทุกวัน เพราะมีอยูมากทุกฤดูกาล ตัวเคย หรือตัวกะป มี 2 ชนิด คือ เคยละเอียดกับเคยหยาบ ตางกันตรงขนาดเล็กใหญกวากัน กะปคลองโคนจะทําจากเคย ละเอียด มีลักษณะนุมและตัวเล็กกวา 6.การทําขนมสําปนนี การทําขนมสําปนนี เปนขนมไทยโบราณท่ีเปนเอกลักษณของจังหวัดสมุทรสงคราม เพราะเปนขนมพื้นเมืองที่ไมซ้ํากับจังหวัดใด

Page 53: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

41

5.3.2 ประเพณี (องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม, 2556) 1.ประเพณีประจําป ไดแก สงกรานต สารทไทย ตรุษไทย ลอยกระทง วันขึ้นป

ใหม 2.ประเพณีท่ีเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา ไดแก การบรรพชา อุปสมบท การ

ทอดกฐินการถวายสลากภัต การถวายผาปา นมัสการปดทองพระพุทธรูปและรอยพระพุทธบาท ประเพณีในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เชน วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเขาพรรษา วันออกพรรษา ประเพณีงานทิ้งกระจาด ประเพณีการถวายสลากภัต

3.ประเพณีและเทศกาลท่ีเปนเอกลักษณของจังหวัดสมุทรสงคราม ไดแก งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย นมัสการและสรงน้ําหลวงพอบานแหลม งานวันลิ้นจี่และของดีเมืองแมกลอง ประเพณีไทยทรงดํา งานตะวันรอนดอนหอยหลอด งานเทศกาลสมโอขาวใหญ งานประเพณีตักบาตรขนมครก งานลอยกระทงสายกาบกลวย และเทศกาลกินปลาทูแมกลอง (สํานักงานการทองเท่ียวและกีฬาจังหวัดสมุทรสงคราม, 2553) 5.3.3 ความเชื่อ พิธีกรรม (องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม, 2556)

1.พิธีกรรมความเชื่อของคนไทยเชื้อสายจีน ไดแก ไหวเจาในเทศกาลตรุษจีน

สารทจีนไหวพระจันทร ไหวเช็งเมง ไหวขนมจาง กินเจ ฯลฯ

2.พิธีกรรมความเช่ือของคนไทยเชื้อสายมอญ ไดแก จออะโป (โกนผมไฟ) การทําศพ และยังมี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่สําคัญอีกหลายแหง เชน วัดเพชรสมุทรวรวิหาร วัดพวงมาลัย วัดแมน้ําวัดอัมพวันเจติยาราม วัดเขาย่ีสาร วัดปากนํ้า วัดบางกะพอม วัดบางกุง วัดบางพลับ

วัดตรีจินดาวัฒนาราม วัดบางแคใหญ วัดจุฬามณี วัดบางแคนอย วัดภุมรินทรกุฎีทอง วัดเจริญสุขารามวรวิหาร วัดเกตุการาม และวัดอาสนวิหารแมพระบังเกิด

5.3.4 ศิลปกรรม

1.บานทรงไทย เปนมรดกทางสถาปตยกรรมไทยท่ีสวยงามและทรงคุณคาอยางยิ่ง ชาวสมุทรสงครามสวนหน่ึง ไดเล็งเห็นความสําคัญและความงดงามทางศิลปะของบานทรงไทย จึงไดเกิดการรวมมือรวมใจศึกษา คนควา และสรางสรรคผลงานบานทรงไทยจําลองขนาดเล็กขึ้นจากไมสักเพื่อเก็บรักษามรดกทางสถาปตยกรรมการกอสรางเรือนไทยในรูปแบบตาง ๆ ใหคงอยูสืบไป

(จังหวัดสมุทรสงคราม, 2556) 2.เรือนแถวริมน้ํา การต้ังถิ่นฐานของชุมชนโดยตั้งเรือนขนานไปกับคลอง หันหนาเขาหาคลองเพื่อใชประโยชนจากนํ้าในการอุปโภคและการสัญจร ซึ่งบานเรือนแถวริมนํ้าสามารถพบเห็นไดตลอดแนวสองฝงคลองตาง ๆ โดยเฉพาะคลองอัมพวา ลักษณะทั่วไปเปนเรือนแถวเกาท่ีสรางติดกันหรือตอเนื่องกันเปนแนวยาวตลอดคลอดลําคลอง ซึ่งเปนเอกลักษณของเรือนแถวริมนํ้าด้ังเดิมท่ีนิยมสรางในอดีต ลักษณะทางสถาปตยกรรมเปนเรือนแถวไมชั้นเดียว หลังคามีที่ตั้งเปนทรงปนหยา จั่ว

Page 54: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

42

เด่ียว และจ่ัวคู มุงดวยกระเบ้ืองวาวหรือสังกะสีลูกฟูก ประตูสวนใหญเปนบานเฟยมไมเปดกวางตลอดแนวเพ่ือประโยชนในการคาขาย แลกเปลี่ยนสินคา แตก็จะมีบานบางหลัง ที่เปนประตูไมบานคูมีชองลม เหนอืประต ูเพื่อใชในการระบายอากาศ สวนหนาตางเปนหนาตางไมบานเปดคู พื้นบานเปนไมกระดานแผนใหญฝาผนังเปนไมแผนตีซอนเกล็ด ฝาเพดานเปนแผนไมกระดานตีซอนทับกัน เรือนแถวริมนํ้าท่ีพบ มีลักษณะรูปทรงของหลังคาท่ีแตกตางกัน โดยสามารถจําแนกรูปแบบ อาคารเรือนแถวริมนํ้าตามรูปแบบหลังคาไดเปน 4 แบบ คือ หลังคาทรงปนหยา หลังคาทรงจั่วเดี่ยว หลังคาทรงจ่ัวแฝด หลังคาทรงจ่ัวแฝดทรงไทย เอกลักษณที่สําคัญอีกอยางหน่ึงของเรือนแถวริมคลอง คือ ปายช่ือรานแบบโบราณ

เนื่องจากในอดีต เรือนแถวเหลาน้ี เปดเปนรานคาขาย จึงมีปายช่ือรานติดอยู แมบานบางหลังจะถูกเปลี่ยนเปนบานพักอาศัยแลว แตก็ยังคงมีปายใหเห็นอยูหนาบาน ปายรานท่ีพบมีหลายรูปแบบ สวนใหญจะใชตัวอักษรไทยคูกับอักษรจีนสีทอง บนพื้นสีเขม หรือเปนอักษรประดิษฐที่มีลวดลายงดงาม (เทศบาลตําบลอัมพวา, 2556) 5.4 สภาพการใชประโยชนท่ีดินจังหวัดสมุทรสงคราม

การใชที่ดินของจังหวัดสมุทรสงครามสวนใหญไดรับการพัฒนารูปแบบการใชที่ดินตามแตละประเภทของการใชประโยชนที่ดิน สรุปไดดังนี้ (แผนการใชที่ดินสมุทรสงคราม, 2535) 5.4.1 บริเวณพื้นท่ีชายฝงทะเล ซึ่งไดรับอิทธิพลน้ําเค็มตลอดป เกษตรไดพัฒนารูปแบบการใชประโยชนที่ดินเพื่อการเพาะเล้ียงสัตวน้ําและนาเกลือ พื้นที่ดังกลาวอยูบริเวณท้ังสองฝงของแมน้ําแมกลอง ทางดานตะวันออกจากแนวถนนเอกชัยลงไปสูชายทะเล ซึ่งอยูในเขตอําเภอเมืองสมุทรสงคราม และทางดานตะวันตกจากแนวถนนสายธนบุรี - ปากทอ ลงไปสูชายทะเล ซึ่งอยูในเขตอําเภอเมืองสมุทรสงครามและอําเภออัมพวา โดยการทํานาเกลือจะพบเฉพาะในอําเภอเมืองสมุทรสงครามเทานั้น

5.4.2 บริเวณพื้นท่ีราบลุมหลังคันดินกั้นน้ําเค็ม ในเขตตําบลแพรกหนามแดง อําเภออัมพวา มีการพัฒนาพ้ืนท่ีใหเหมาะสมกับการปลูกขาว เพราะพ้ืนที่นี้มีการสรางคันดินก้ันน้ําเค็ม และสามารถกักเก็บนํ้าจืดไดจากคลองวัดประดู 5.4.3 พื้นท่ีซึ่งอาจไดรับอิทธิพลนํ้าเค็มเปนคร้ังคราว เกษตรกรจะพัฒนารูปแบบการใชประโยชนที่ดินเหลานี้โดยการปรับปรุงพื้นที่ดวยการขุดยกรองเพ่ือระบายน้ําและกักขังนํ้าจืดไวในฤดูแลงเพ่ือใชปลูกมะพราว ไมผล ไมยืนตน และพืชผัก พื้นที่ดินกลาวพบอยูหลังคันดินกั้นนํ้าเค็ม โดยเปนพื้นที่สวนใหญของจังหวัดสมุทรสงคราม

Page 55: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

43

ภาพท่ี 1 สภาพการใชประโยชนที่ดิน จังหวัดสมุทรสงคราม

ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน, แผนการใชที่ดิน จังหวัดสมุทรสงคราม, (กรุงเทพฯ: กองวางแผนการใช ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน, 2535)

6.งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

ธนพรรณ สุนทระ (2539) ไดศึกษาเร่ืองผลกระทบสภาพเศรษฐกิจ – สังคม อันเน่ืองมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดลอมบริเวณเขตอุตสาหกรรม จังหวัดปทุมธานี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงจากภาคเกษตรกรรมไปสูภาคอุตสาหกรรม ปญหาและผลกระทบทางเศรษฐกิจ – สังคม อันเน่ืองมาจากการพัฒนาอุตสาหกรรม และวิเคราะหปจจัยหลักที่มีความสัมพันธกับ

Page 56: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

44

ผลกระทบทางเศรษฐกิจ – สังคม โดยผลการศึกษาพบวา นับตั้งแตชวงป พ .ศ.2528 หัวหนาครัวเรือนเกือบคร่ึงหน่ึง (รอยละ 43.3) เปนคนตางถิ่นท่ียายมาจากจังหวัดในภาคตาง ๆ ซึ่งสวนใหญเปนจังหวัดใกลเคียงจังหวัดปทุมธานี สวนใหญประกอบอาชีพเก่ียวเนื่องกับโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งน้ี ความเจริญของทองถิ่นที่เกิดขึ้น มีปจจัยสําคัญมาจากการพัฒนาอุตสาหกรรม โดยหัวหนาครอบครัวกวารอยละ 50

มีรายไดเพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงอาชีพจากภาคการเกษตรสูภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ การออมและการมีหนี้เปลี่ยนแปลงนอยมาก การกูยืมเงินเปลี่ยนจากการกูเพื่อการประกอบอาชีพเปนการกูเพื่อการศึกษาของบุตรหลานเปนหลัก รองลงมาคือที่อยูอาศัยและรถยนต สําหรับการถือครองที่ดินมีสัดสวนเพ่ิมมากข้ึน แตขนาดท่ีดินลดลงและสวนใหญใชเพื่อเปนท่ีอยูอาศัย สวนสภาพสังคม พบวาสวนใหญมีความพึงพอใจจากสภาพทางกายภาพของสังคมปจจุบัน เนื่องจากทองถิ่นมีความเจริญ แตขณะเดียวกันก็พบปญหาสิ่งแวดลอม ชุมชนแออัด และปญหาสังคมอ่ืน ๆ ดังน้ัน รัฐบาลจึงควรมีมาตรการปองกันแกไข ทั้งดานปญหาสิ่งแวดลอม และปญหาสังคม เชน การแบงพ้ืนท่ีใหเหมาะสมกับชนิดของอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม สถานบริการ และท่ีอยูอาศัย เปนตน อภิญญา จิตรวงศนันท (2546) ไดศึกษาเร่ืองการทองเท่ียวกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนลําน้ําวา จังหวัดนาน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพการณของชุมชนลํานํ้าวาในดานวิถีชีวิตชุมชนกอนและหลังการเขามาของการทองเท่ียว และแนวโนมในอนาคต การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชน รวมถึงการหาแนวทางในการลดผลกระทบทางลบรวมกับชุมชน และการหาแนวทางการจัดการการทอง เที่ ย วที่ เหมาะสมของ ชุมชน โดยจากการศึกษาพบว า ชุมชนลํ า นํ้ า ว า เปนพื้ นที่ ที่ มีทรัพยากรธรรมชาติ ปาไม เกาะแกง และวังปลาที่มีความอุดมสมบูรณ มีความหลากหลายทางชีวภาพ ชุมชนมีวิถีชีวิตท่ีผูกพันกับทรัพยากรธรรมชาติ และชุมชนไดมีการจัดการทองเท่ียวผจญภัยกึ่งอนุรักษประเภทลองแกงแพยางขึ้น โดยชุมชนเปนผูจัดการทองเท่ียวเอง โดยการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตชุมชนหลังจากการเขามาของการทองเท่ียวไมเปลี่ยนแปลงมาก เน่ืองการเปลี่ยนแปลงจากการทองเที่ยวเกิดข้ึนอยางชา ๆ ชุมชนสามารถปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลง โดยการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตท่ีชัดเจนท่ีสุดคือดานเศรษฐกิจ ในขณะท่ีดานสังคมและวัฒนธรรมไมเปลี่ยนแปลงมากนัก ซึ่งผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงวิธีชีวิตชุมชนเปนไปในเชิงบวกในดานการอนุรักษ ผลกระทบเชิงลบพบในดานการจัดการน้ํา สวนแนวทางรวมกับชุมชนเพ่ือลดผลกระทบในอนาคต ไดแก การสรางความเขมแข็งใหกับชุมชนในดานการทองเท่ียว การรวมกลุมและควบคุมจํานวนผูประกอบการ การใหหนวยงานทองถิ่นเขามารวมดูแลการทองเท่ียว การปองกันพื้นที่ เปราะบางทางระบบนิเวศ และเพิ่มกฎกติกาสําหรับนักทองเที่ยวและกิจกรรมที่ชุมชนดําเนินการเอง สวนการจัดการทองเที่ยวท่ีเหมาะสมของชุมชน คือการดําเนินการทองเท่ียวตามแนวทางการทองเท่ียวแบบย่ังยืน โดยชุมชนมีสวนรวมในการดําเนินการ และไดรับผลประโยชนอยางเทาเทียมกันในรูปแบบองคกรกึ่งอิสระ

ทรงลักษณ ตันติพรวนิชกุล และคณะ (2554) ไดทําการศึกษาเร่ือง การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจากการพัฒนาการทองเท่ียวตําบลอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจการเปลี่ยนแปลง

Page 57: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

45

วิถีชีวิตครัวเรือนในตําบลอัมพวาหลังการพัฒนาการทองเที่ยว ผลการศึกษาพบวา การพัฒนาการทองเที่ยวสงผลใหวิถีชีวิตของครัวเรือนในตําบลอัมพวา มีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะท่ีกาวเขาสูกระบวนการเสื่อมถอยของสังคมเกษตร (De-agrarianization process) ซึ่งสังเกตไดจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินในแปลงที่ดินที่เปนที่อยูอาศัยในลักษณะที่มีการผสมผสานกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับการทองเท่ียว ในขณะท่ีลักษณะการตั้งถิ่นฐานของอัมพวายังคงรูปแบบของการกระจุกตัวเปนแนวยาวริมแมน้ําและถนนสายหลัก (river- and road-linear settlements) สําหรับการยายถิ่นฐาน พบวา ครัวเรือนที่ตอบแบบสัมภาษณสวนใหญมีภูมิลําเนาอยูในตําบลอัมพวาและไมเคย ยายถิ่นฐาน นอกจากน้ัน การพัฒนาการทองเที่ยวยังสงผลใหครัวเรือนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาคเกษตร ถึงรอยละ 41 ของครัวเรือนท่ีตอบแบบสัมภาษณ สงผลใหสัดสวนของรายไดครัวเรือนจากนอกภาคเกษตรสูงถึงรอยละ 60 ของครัวเรือนที่ตอบแบบสัมภาษณ และครัวเรือนท่ีเคยมีอาชีพทางการเกษตรกรรอยละ 57 มีมุมมองวาตนเองไมมีความเปน “เกษตรกร” อีกตอไป

Elena Spanou (2007) ไดทําการศึกษาเร่ือง ผลกระทบของการทองเท่ียวตอโครงสรางของสังคมวัฒนธรรมในประเทศไซปรัส โดยผลการศึกษาพบวาชาวไซปรัสมีทัศนคติที่ดีตอการทองเท่ียว ซึ่งสงผลใหเกิดการพัฒนาดานการทองเที่ยวตาง ๆ โดยชาวไซปรัสรับรูถึงศักยภาพของการทองเที่ยวในเชิงบวกและผลกระทบในเชิงลบ แตทัศนคติทั่วไปในปจจุบันคอนขางเปนไปในทางบวกซึ่งสนับสนุนใหเกิดการขยายตัวดานการทองเท่ียว ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการวางแผนเพื่อพัฒนาการทองเที่ยว โดยการพัฒนาการทองเที่ยวแนวใหม ซึ่งควรจะมีการวางแผนรวมกับหนวยงานในทองถิ่นเพื่อลดกิจกรรมที่กอใหเกิดความขัดแยง ตองมีการเผยแพรขอมูลตาง ๆ สูสาธารณะใหรับรูอยางกวางขวาง เปดโอกาสใหประชาชนรวมแสดงความคิดเห็น นําไปสูการจัดการพ้ืนที่ชายฝงแบบบูรณาการ ซึ่งนอกจากจะทําใหพื้นที่ที่เปนสถานท่ีทองเที่ยวและพ้ืนที่อ่ืน ๆ ไดรับผลประโยชนรวมกันแลว ยังชวยลดความไมพอใจของคนในทองถิ่นในเร่ืองการใชทรัพยากรในพื้นที่ดวย โดยกลยุทธการพัฒนาการทองเที่ยวควรมุงท่ีการปกปองวัฒนธรรมทองถิ่น เคารพประเพณีทองถิ่น และสงเสริมความเปนเจาของของคนในทองถิ่น การจัดการโครงการตาง ๆ ตองเปนไปเพ่ือการรักษาฐานของทรัพยากรธรรมชาติ และเนื่องจากระบวนการของการบูรณาการตองใชเวลา องคกรท่ีเกี่ยวของกับการทองเท่ียวตองมีความอดทนและเต็มใจในการวางแผนพัฒนา จนกวาทองถิ่นจะสามารถปรับตัวและมุงไปสูวัตถุประสงคที่วางไวได ทั้งน้ีตองปฏิบัติตามหลักเกณฑของการพัฒนาท่ียั่งยืนบนวัตถุประสงคของการพัฒนาเพ่ือที่จะปกปองคุณคาของวัฒนธรรมและทรัพยากรธรรมชาติของเกาะไซปรัส ซึ่งการที่จะทําใหผลการศึกษานี้ถูกนําไปใช จําเปนที่จะตองดําเนินการใหครบถวนสมบูรณ และตองมีการตรวจสอบที่ครอบคลุม การวิเคร าะหโดยคํานึงถึงผลกระทบโดยรวมของการทองเท่ียวบนเกาะไซปรัส ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม Vo Huu Cong (2008) ไดทําการศึกษาเร่ือง การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและผลกระทบตอการดํารงชีวิต ในอําเภอ Tuong Duong จังหวัด Nghe An ประเทศเวียดนาม โดยใชวิธีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินในชวงป 1989 ป 1998 และป 2005 โดยใชภาพถาย

Page 58: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

46

ดาวเทียม Landsat TM และ ETM+ รวมกับเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) รวมถึงศึกษาปจจัยในการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินโดยการวิเคราะหการถดถอยเชิงเสน แสดงความสัมพันธระหวางประเภทของการใชที่ดินและปจจัยที่มีอิทธิพลตอการใชที่ดิน ในการศึกษาวิถีชีวิตของคนในทองถิ่น ใชดัชนีคาถวงนํ้าหนักในการประเมินระดับของการเขาถึงทรัพยากรในทองถิ่นและกลยุทธในการดํารงชีวิต โดยการสํารวจขอมูลจํานวน 68 ครัวเรือน ใน 2 หมูบานโดยเปรียบเทียบระหวางตําแหนงที่ตั้งของแตละหมูบานกับการคมนาคม ผลการศึกษาพบวา ในชวงป 1989 - 1998 เกิดการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินท่ีเกิดจากการทําเกษตรกรรมแบบถางโคนและเผาปา โดยรอยละ 72.3 เปนพ้ืนท่ีปลูกขาว และกลายเปนพื้นที่เสื่อมโทรมกวา 767.5 เฮกตาร และรอยละ 10.9 เปนพ้ืนที่ปาช้ันที่ 2 ในชวงป 1998 – 2005 พื้นที่ปลูกขาวรอยละ 44.1 เปลี่ยนมาเปนพ้ืนท่ีปาเสื่อมโทรม และรอยละ 27 เปลี่ยนเปนพื้นท่ีปาช้ันท่ี 2 โดยพบวามีการเปลี่ยนแปลงของการใชประโยชนที่ดินเปนพ้ืนที่ปาช้ันที่ 2 เพิ่มมากข้ึนเร่ือย ๆ โดยในชวงป 1989 – 1998 โดยเพ่ิมข้ึนรอยละ 28.8 และชวงป 1998 – 2005 เพิ่มข้ึนรอยละ 37

ตามลําดับ โดยการเพ่ิมข้ึนของพ้ืนที่ปาช้ันที่ 2 นี้ ทําใหเกิดพ้ืนที่ปาธรรมชาติเพิ่มข้ึนกวา 508 เฮกตาร ในชวงป 1989 – 1998 และเพ่ิมข้ึนเปน 1,357 เฮกตาร ในชวงป 1998 – 2005 ในสวนของปจจัยที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนดิน คือการเพิ่มข้ึนของที่อยูอาศัยและการเพ่ิมจํานวนสมาชิกในครัวเรือน รวมไปถึงเร่ืองของการศึกษาและการถือครองท่ีดินดวย ในสวนของวิถีชีวิตของคนในทองถิ่น ซึ่งประกอบดวย กําลังแรงงาน ระดับการศึกษา จํานวนสมาชิกในครัวเรือน อาชีพเกษตรกร การถือครองพ้ืนท่ีปา รายไดจากปศุสัตว พบวาการดํารงชีวิตของคนในทองถิ่นสวนใหญยังตองพ่ึงพาการทําเกษตรกรรมแบบถางโคนและเผาปา ซึ่งคนในทองถิ่นเปลี่ยนมาประกอบอาชีพในเมืองและไดรับรายไดจากการทํางานในเมืองเมื่อไมนานมาน้ี ทั้งน้ี การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจําเปนตองมีการสรางตัวแบบและการวางแผน เพื่อรองรับความซับซอนของชุมชนที่มีมากข้ึนทั้งดานสังคมและเศรษฐกิจ จากการทบทวนวรรณกรรมในสวนของงานวิจัยที่เกี่ยวของดังกลาว พบวามีการศึกษาท้ังผลกระทบจากอุตสาหกรรมตอการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจและสังคม ผลกระทบจากการทองเที่ยวตอการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตชุมชนเกษตรกรรมและการเปลี่ยนแปลงดานวัฒนธรรม แตยังไมมีงานวิจัยใดที่ศึกษาเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและครอบคลุมท้ัง 4 ดาน คือ กายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม รวมถึงการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินท่ีมีผลตอการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่พบนั้น พบวาเปนงานวิจัยจากตางประเทศ โดยพบผลงานวิจัยลักษณะดังกลาวในประเทศไทยไมมากนัก ดังน้ัน ผูวัยจึงไดทําการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตชุมชนใหครอบคลุมท้ัง 4 ดานดังกลาว และเลือกศึกษาในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามท่ีกําลังเกิดการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ ดังกลาวอยางเดนชัด เพื่อประโยชนในการใชเปนแนวทางในการวางแผนพัฒนาและการจัดการเชิงพื้นที่ที่ครบถวนรอบดานตอไป

Page 59: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 60: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 61: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 62: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 63: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 64: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 65: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

53

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จังหวัดสมุทรสงคราม

ดําเนินการศึกษาโดยใชระเบียบวิธีเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) รวมกับการวิเคราะหดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information Systems: GIS) เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากพื้นท่ีเกษตรกรรม เปนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง และคัดเลือกพื้นที่ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอยางเดนชัด เพ่ือเปนตัวแทนในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน รวมถึงหาแนวทางการจัดการการใชประโยชนที่ดินท่ีเหมาะสมกับชุมชนตอไป

ในการศึกษาคร้ังน้ี ผูวิจัยไดใชขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) จากการแปลภาพถายดาวเทียมของกรมพัฒนาท่ีดิน ป พ.ศ.2543 พ.ศ.2549 และ พ.ศ.2554 เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน และศึกษาพ้ืนท่ีจริงโดยใชวิธีการสังเกตและการสัมภาษณกลุมผูใหขอมูลหลัก (Key

informant) ในพื้นที่ เพื่อศึกษาการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตชุมชน ผลการศึกษาแบงออกเปน 2 สวน ดังนี้ สวนท่ี 1 ผลการศึกษาการเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงคราม ประกอบดวย

1.1 การศึกษาการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 ป พ.ศ.2549 และ ป พ.ศ.2554

1.2 การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงคราม ในชวงป พ.ศ.2543-2549 ชวงป พ.ศ.2549 -2554 และชวงป พ.ศ.2543 - 2554

สวนท่ี 2 ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน

1.ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินของจังหวัดสมุทรสงคราม

ในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงคราม ไดศึกษาจากการใชขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) โดยนําขอมูลการใชประโยชนที่ดินท่ีไดจากการแปลภาพถายดาวเทียมของกรมพัฒนาท่ีดิน โดยอยูในรูปของฐานขอมูลคุณลักษณะ (Vector Data) ในป พ.ศ.2543 ป พ.ศ.2549 และป พ.ศ.2554 ในการศึกษาคร้ังน้ี ไดนําขอมูลดังกลาวมาจัดทําขอมูลใหม โดยแบงประเภทการใชที่ดินออกเปน 5 กลุมหลัก ไดแก พื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ปาไม แหลงนํ้า และพื้นท่ีเบ็ดเตล็ด ทั้งน้ี ไดศึกษาขอมูลการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงคราม

53

Page 66: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

54

จําแนกเปนรายอําเภอ และจะนําขอมูลดังกลาวไปใชในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงครามในระดับตําบลตอไป โดยมีรายละเอียดในการศึกษาและผลการศึกษา ดังนี ้ 1.1 การศึกษาการใชประโยชนท่ีดินของจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 ป พ.ศ.2549 และ ป พ.ศ.2554 จากการศึกษาการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงครามในป พ.ศ.2543 ป พ.ศ.2549

และ ป พ.ศ.2554 โดยแบงการใชประโยชนที่ดินออกเปน 5 กลุมหลัก ไดแก พื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ปาไม แหลงน้ํา และพื้นที่เบ็ดเตล็ด ผลการศึกษาแสดงดังตารางท่ี 1 – 3

ตารางที่ 1 ขอมูลการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543

อําเภอ เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด

รวมพ้ืนที่ (ไร) พ้ืนที่ (ไร) % พ้ืนที่ (ไร) % พ้ืนที่ (ไร) % พ้ืนที่ (ไร) % พ้ืนที่ (ไร) %

อ.บางคนที 151.79 0.36 40,661.09 96.99 0.00 0.00 1,108.69 2.64 0.00 0.00 41,921.57

อ.เมืองฯ 7,540.74 6.86 81,540.84 74.19 3,486.76 3.17 3,558.02 3.24 13,776.43 12.54 109,902.78

อ.อัมพวา 1,198.61 1.12 95,270.34 88.90 9,122.77 8.51 1,571.85 1.47 0.00 0.00 107,163.59

รวมพ้ืนที ่ 8,891.14 3.43 217,472.27 83.97 12,609.53 4.87 6,238.56 2.41 13,776.43 5.32 258,987.94

จากตารางที่ 1 พบวา ในป พ.ศ.2543 จังหวัดสมุทรสงครามมีการใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมมากท่ีสุดคือ 217,472.27 ไร คิดเปนรอยละ 83.97 รองลงมา คือ พื้นที่เบ็ดเตล็ด 13,776.43

ไร คิดเปนรอยละ 5.32 พื้นท่ีปาไม 12,609.53 ไร คิดเปนรอยละ 4.87 พื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง 8,891.14 ไร คิดเปนรอยละ 3.43 และแหลงน้ํา 6,238.56 ไร คิดเปนรอยละ 2.41 ตามลําดับ

ตารางที่ 2 ขอมูลการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2549

จากตารางท่ี 2 พบวา ในป พ.ศ.2549 จังหวัดสมุทรสงครามมีการใชประโยชนที่ดินประเภทเกษตรกรรมมากท่ีสุดเชนกัน คือ 201,338.95 ไร คิดเปนรอยละ 77.94 รองลงมา คือ พื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง 21,895.20 ไร คิดเปนรอยละ 8.48 พื้นท่ีเบ็ดเตล็ด 14,239.75 ไร คิดเปนรอยละ 5.51 พื้นที่ปาไม 13,940.39 ไร คิดเปนรอยละ 5.40 และแหลงน้ํา 6,920.11 ไร คิดเปนรอยละ 2.68 ตามลําดับ

อําเภอ เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด

รวมพ้ืนที่ (ไร) พ้ืนที่ (ไร) % พ้ืนที่ (ไร) % พ้ืนที่ (ไร) % พ้ืนที่ (ไร) % พ้ืนที่ (ไร) %

อ.บางคนที 3,333.70 8.01 37,303.01 89.64 0.00 0.00 950.71 2.28 27.20 0.07 41,614.62

อ.เมืองฯ 11,663.02 10.63 76,227.40 69.49 4,499.43 4.10 4,227.15 3.85 13,078.51 11.92 109,695.52

อ.อัมพวา 6,898.48 6.45 87,808.53 82.05 9,440.96 8.82 1,742.24 1.63 1,134.04 1.06 107,024.26

รวมพ้ืนที ่ 21,895.20 8.48 201,338.95 77.94 13,940.39 5.40 6,920.11 2.68 14,239.75 5.51 258,334.40

Page 67: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

55

ตารางที่ 3 ขอมูลการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2554

อําเภอ เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด

รวมพ้ืนที่ (ไร) พ้ืนที่ (ไร) % พ้ืนที่ (ไร) % พ้ืนที่ (ไร) % พ้ืนที ่(ไร) % พ้ืนที่ (ไร) %

อ.บางคนที 4,943.54 11.88 34,750.91 83.51 0.00 0.00 1,368.80 3.29 551.36 1.32 41,614.61

อ.เมืองฯ 18,928.81 17.24 62,584.25 57.01 5,502.46 5.01 4,713.81 4.29 1,8042.52 16.44 109,771.86

อ.อัมพวา 9,271.96 8.66 80,327.84 75.06 9,823.00 9.18 2,706.77 2.53 4,894.59 4.57 107,024.16

รวมพ้ืนที ่ 33,144.31 12.83 177,663.01 68.75 15,325.47 5.93 8,789.38 3.40 23,488.47 9.09 258,410.63

จากตารางท่ี 3 พบวา ในป พ.ศ.2554 จังหวัดสมุทรสงครามมีการใชประโยชนที่ดินประเภทเกษตรกรรมมากท่ีสุดเชนกัน คือ 177,663.01 ไร คิดเปนรอยละ 68.75 รองลงมา คือ พื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง 33,144.31 ไร คิดเปนรอยละ 12.83 พื้นที่เบ็ดเตล็ด 23,488.47 ไร คิดเปนรอยละ 9.09 พื้นที่ปาไม 15,325.47 ไร คิดเปนรอยละ 5.93 และแหลงน้ํา 8,789.38 ไร คิดเปนรอยละ 3.40 ตามลําดับ

สรุปผลการศึกษาการใชประโยชนที่ดิน พบวา จังหวัดสมุทรสงครามมีพื้นที่ประมาณ 258,987.94 ไร โดยในป พ.ศ.2543 มีการใชประโยชนที่ดินประเภทเกษตรกรรมมากท่ีสุด คือ 217,472.27 ไร คิดเปนรอยละ 83.97 ในขณะท่ีพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสรางมีพื้นที่เพียง 8,891.14 ไร หรือรอยละ 3.43 ของพ้ืนท่ีจังหวัด ตอมาในป พ.ศ.2549 พบวาพื้นที่เกษตรกรรมลดลง 16,133.32ไร ทําใหเหลือพ้ืนท่ี 201,338.95 ไร หรือรอยละ 77.94 ในทางตรงกันขามพบวา พื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสรางมีพื้นที่เพิ่มข้ึน 13,004.06 ไร ทําใหมีพื้นที่เปน 21,895.20 ไร คิดเปนรอยละ 8.48 ของพื้นที่จังหวัด เชนเดียวกับป พ.ศ.2554 พบวาพ้ืนท่ีเกษตรกรรมลดลง 23,675.94 ไร ทําใหเหลือพื้นท่ี 177,663.01 ไร หรือรอยละ 68.75 ขณะท่ีพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสรางเพิ่มข้ึน 11,249.11 ไร ทําใหมีพื้นที่ 33,144.31 ไร หรือรอยละ 12.83 ของพื้นที่จังหวัด

ดังนั้น สรุปไดวา ในชวงป พ.ศ.2543 พ.ศ.2549 และ พ.ศ.2554 จังหวัดสมุทรสงครามมีการใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมมากท่ีสุด แตมีแนวโนมลดลงจาก 217,472.27 ไร ในป พ.ศ.2543 เหลือ 177,663.01 ไร ในป พ.ศ.2554 ซึ่งลดลงถึง 39,809.26 ไร หรือรอยละ 18.31 ในขณะท่ีการใชประโยชนที่ดินประเภทเมืองและสิ่งปลูกสรางมีแนวโนมเพิ่มข้ึนจาก 8,891.14 ไร ในป พ.ศ.2543 เปน 33,144.31 ไร ในป พ.ศ.2554 ซึ่งมีพื้นท่ีเพิ่มข้ึนกวา 24,253.17 ไร หรือกวารอยละ 272.78 ดังแสดงในแผนภูมิที่ 2

Page 68: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

56

แผนภูมิที่ 2 การใชประโยชนที่ดินรายประเภทของจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ .ศ.2543 พ.ศ.2549 และ พ.ศ.2554

จากตารางท่ี 1 – 3 เมื่อพิจารณาการใชประโยชนที่ดินเปนรายอําเภอ เฉพาะในสวนของการใชประโยชนที่ดินประเภทเกษตรกรรม และประเภทเมืองและสิ่งปลูกสราง พบวา ในป พ.ศ.2543 อําเภอบางคนที มีพื้นท่ีเกษตรกรรมมากที่สุด คือ 40,661.09 ไร คิดเปนรอยละ 96.99 ในขณะท่ีพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง มีเพียง 151.79 ไร หรือรอยละ 0.36 ของพ้ืนที่อําเภอเทาน้ัน ตอมาในป พ.ศ.2549

พบวา อําเภอบางคนที พื้นท่ีเกษตรกรรมลดลงจาก 40,661.09 ไร ลดลง 3,358.08 ไร เหลือพ้ืนที่ 37,303.01 ไร หรือรอยละ 89.64 ในขณะท่ีพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง มีพื้นท่ีเพิ่มข้ึนมาอยางรวดเร็วจาก 151.79 ไร เพิ่มข้ึน 3,181.91 ไร เปน 3,333.70 ไร หรือรอยละ 8.01 ของพ้ืนท่ีอําเภอ เชนเดียวกับป พ.ศ.2554 พบวา อําเภอบางคนที พื้นที่เกษตรกรรมลดลงจาก 37,303.01 ไร ลดลง 2,552.10 ไร เหลือพื้นที่ 34,750.91 ไร หรือรอยละ 83.51 ในขณะท่ีพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง พื้นท่ีเพิ่มข้ึนจาก 3,333.70

ไร เพิ่มขึ้น 1,609.84 ไร เปน 4,943.54 ไร หรือรอยละ 11.88 ของพื้นที่อําเภอ

ในสวนของการใชประโยชนที่ดินในอําเภออัมพวา พบวา ในป พ .ศ .2543 มีพื้นที่เกษตรกรรมมากท่ีสุดเชนกัน คือ 95,270.34 ไรคิดเปนรอยละ 88.90 ในขณะท่ีพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง มีพื้นท่ี 1,198.61 ไร คิดเปนรอยละ 1.12 ของพื้นที่อําเภอ ตอมาในป พ.ศ.2549 พบวาพ้ืนท่ีเกษตรกรรมจาก 95,270.34 ไร ลดลง 7,461.81 ไร เหลือพ้ืนท่ี 87,808.53 ไร หรือรอยละ 82.05 ในขณะที่พื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง มีพื้นท่ีเพิ่มข้ึนจาก 1,198.61 ไร เพิ่มข้ึน 5,699.87 ไร เปน 6,898.48 ไร หรือรอยละ 6.45 ของพื้นที่อําเภอ ตอมาในป พ.ศ.2554 พบวาพ้ืนท่ีเกษตรกรรมลดลงจาก 87,808.53 ไร ลดลง 7,480.69 ไร ทําใหเหลือพ้ืนท่ี 80,327.84 ไร หรือรอยละ 75.06 ในขณะท่ีพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง มีพื้นที่เพิ่มขึ้นจาก 6,898.48 ไร เพิ่มขึ้น 2,273.48 ไร เปน 9,271.96 ไร หรือ รอยละ 8.66 ของพ้ืนท่ีอําเภอ

Page 69: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

57

การใชประโยชนที่ดินของอําเภอเมืองสมุทรสงคราม พบวา ในป พ.ศ.2543 มีพื้นที่เกษตรกรรมมากที่สุดเชนกัน คือ 81,540.84 ไร หรือรอยละ 74.19 ในขณะท่ีพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง มีพื้นท่ี 7,540.74 ไร หรือรอยละ 6.86 ของพ้ืนท่ีอําเภอ ตอมาในป พ.ศ.2549 พบวาอําเภอเมืองสมุทรสงคราม พื้นท่ีเกษตรกรรมลดลงจาก 81,540.84 ไร ลดลง 5,313.44 ไร เหลือพ้ืนท่ี 76,227.40 ไร หรือรอยละ 69.49 ในขณะท่ีพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสรางเพิ่มข้ึนจาก 7,540.74 ไร เพิ่มข้ึน 4,122.28 ไร เปน 11,663.02 ไร หรือรอยละ 10.63 ตอมาในป พ.ศ.2554 พบวาพื้นท่ีเกษตรกรรมลดลงจาก 76,227.40 ไร ลดลง 13,643.15 ไร เหลือพื้นท่ีเพียง 62,584.25 ไร หรือรอยละ 57.01 ในขณะท่ีพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง มีพื้นท่ีเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วจาก 11,663.02 ไร เพิ่มข้ึน 7,265.79 ไร เปน 18,928.81 ไร หรือรอยละ 17.24 ของพื้นที่อําเภอ โดยแสดงผลไดดังแผนภูมิที่ 3

แผนภูมิที่ 3 การใชประโยชนที่ดินรายอําเภอของจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 ป พ.ศ.2549 และป พ.ศ. 2554

สรุปผลการศึกษาการใชประโยชนที่ดินรายอําเภอของจังหวัดสมุทรสงคราม จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวา พื้นท่ีเกษตรกรรมท่ีลงลดสวนใหญ อยูในพ้ืนท่ีของอําเภอเมืองสมุทรสงคราม โดยลดลง 18,956.59 ไร รองลงมาคืออําเภออัมพวา ลดลง 14,942.50 ไร และลดลงนอยที่สุดคืออําเภอบางคนที ลดลง 5,910.18 ไร เชนเดียวกับพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสรางที่มีการขยายตัวมากท่ีสุดในอําเภอเมืองสมุทรสงคราม 11,388.07 ไร รองลงมาคืออําเภออัมพวา เพิ่มข้ึน 8,073.35 ไร และอําเภอบางคนที เพิ่มขึ้น 4,791.75 ไร ตามลําดับ โดยสามารถแสดงการใชประโยชนที่ดินไดจากผลการแปลภาพถายทางอากาศ ดังภาพท่ี 2 – 4 ดังนี้

Page 70: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

58

ภาพท่ี 2 การใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงครามป พ.ศ.2543

Page 71: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

59

ภาพท่ี 3 การใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงครามป พ.ศ.2549

Page 72: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

60

ภาพท่ี 4 การใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงครามป พ.ศ.2554

Page 73: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

61

เมืองและส่ิงปลูกสราง เกษตรกรรม ปาไม แหลงน้ํา เบ็ดเตล็ด ภาพท่ี 5 การใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 พ.ศ.2549 และ พ.ศ.2554

จากผลการศึกษาการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงครามขางตน ผูวิจัยไดสรุปผลการใชที่ดินของจังหวัดสมุทรสงครามเปนรายประเภททั้ง 5 ประเภทในแตละอําเภอ และตั้งขอสังเกตจากการลดลงของพ้ืนท่ีเกษตรกรรม และการเพ่ิมข้ึนของพ้ืนท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง ผูวิจัยจึงไดทําการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงครามตอไป เพื่อตรวจสอบหาการเปลี่ยนแปลงของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงจากพ้ืนที่เกษตรกรรม เปนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง

1.2 การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินของจังหวัดสมุทรสงคราม ในชวงป พ.ศ.2543-2549 ชวงป พ.ศ.2549 -2554 และชวงป พ.ศ.2543 - 2554

จากผลการศึกษาการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ผูวิจัยไดทําการศึกษาตอไปในสวนของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงครามใน 3 ชวงเวลา คือ ป พ.ศ.2543 - 2549 ป พ.ศ.2549 - 2554 และ ป พ.ศ.2543 - 2554 โดยนําขอมูลดังกลาวมาจัดทําขอมูลใหม โดยทําการซอนทับขอมูล (Overlay) เพื่อตรวจสอบหาการเปล่ียนแปลงของพื้นท่ีดวยวิธี Change

detection matrix โดยทําการซอนทับดวยขอมูลเชิงพ้ืนที่และอธิบายความสัมพันธเชิงตาราง เพื่อใหทราบขอมูลของการเปลี่ยนแปลงในแตละพื้นที่ของจังหวัดสมุทรสงคราม จากน้ันจึงทําการคัดเลือกพื้นที่ที่มีความเปลี่ยนแปลงจากพ้ืนท่ีเกษตรกรรม เปนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสรางอยางเดนชัด เพื่อใชเปนพื้นท่ีศึกษาในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนท่ีมีความสัมพันธเช่ือมโยงกับจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน โดยศึกษาขอมูลการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจําแนกเปน

ป พ.ศ.2543 ป พ.ศ.2549 ป พ.ศ.2554

Page 74: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

62

รายอําเภอ และจะนําขอมูลดังกลาวไปใชในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงครามในระดับตําบลตอไป โดยมีรายละเอียดในการศึกษาและผลการศึกษา ดังนี้

1.2.1 การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินป พ.ศ.2543 – 2549

จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงครามในป พ.ศ.2543 – 2549 โดยแบงการใชประโยชนที่ดินออกเปน 5 กลุมหลัก ไดแก พื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ปาไม แหลงน้ํา และพื้นที่เบ็ดเตล็ด แลวซอนทับขอมูล (Overlay) เพื่อตรวจสอบหาการเปลี่ยนแปลงของพ้ืนท่ีดวยวิธี Change detection matrix แลวแสดงขอมูลในรูปแบบตารางแมทริกซ (Matrix) แสดงผลไดดังตารางท่ี 4 – 7 (จากตาราง ขอมูล ป 2543 อานจากซายไปขวา และขอมูลป 2549 อานจากบนลงลาง แลวเลือกอานคาในชองที่ขอมูลบรรจบกันตามตองการ)

ตารางที่ 4 การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 - 2549

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 5,009.44 2,968.47 122.75 310.36 480.13 8,891.15 เกษตรกรรม 14,371.57 190,356.02 6,681.76 2,421.20 3,641.70 217,472.25 ปาไม 302.58 4,996.57 6,930.81 307.93 71.65 12,609.54 แหลงนํ้า 932.62 1,178.26 123.58 3,972.89 31.22 6,238.57 เบ็ดเตล็ด 1,289.23 2,313.80 115.04 31.25 10,027.12 13,776.44

รวมพ้ืนที่ ป 2549 21,905.44 201,813.12 13,973.94 7,043.63 14,251.82 258,987.95 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 13,014.29 -15,659.12 1,364.41 805.06 475.37

จากตารางที่ 4 ในสวนของการใชประโยชนที่ดินประเภทเกษตรกรรมและประเภทเมืองและสิ่งปลูกสราง พบวา จังหวัดสมุทรสงครามมีพื้นท่ีประมาณ 258,987.95 ไร โดยในป พ.ศ.2543 - 2549 มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภทตาง ๆ เปนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง จํานวน 13,014.29 ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่เกษตรกรรม จํานวน 14,371.57 ไร

ตารางที่ 5 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 -

2549

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 96.49 50.93 0.00 4.38 0.00 151.79 เกษตรกรรม 3,056.28 37,346.23 0.00 231.38 27.20 40,661.09 ปาไม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 แหลงนํ้า 183.84 141.15 0.00 783.70 0.00 1,108.69 เบ็ดเตล็ด 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รวมพ้ืนที ่ป 2549 3,336.60 37,538.31 0.00 1,019.46 27.20 41,921.56 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 3,184.81 -3,122.78 0.00 -89.23 27.20

Page 75: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

63

ตารางท่ี 6 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 -

2549

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 499.75 546.38 56.02 19.66 76.81 1,198.61 เกษตรกรรม 5,897.71 83,783.76 3,979.65 631.81 977.39 95,270.32 ปาไม 185.62 3,334.94 5,315.58 214.98 71.65 9,122.78 แหลงนํ้า 322.74 264.44 97.81 878.68 8.19 1,571.86 เบ็ดเตล็ด 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รวมพ้ืนที่ ป 2549 6,905.82 87,929.53 9,449.06 1,745.13 1,134.04 107,163.57 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 5,707.21 -7,340.79 326.28 173.27 1,134.04

ตารางท่ี 7 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 - 2549

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 4,413.20 2,371.17 66.73 286.32 403.32 7,540.74 เกษตรกรรม 5,417.58 69,226.03 2,702.11 1,558.02 2,637.11 81,540.85 ปาไม 116.96 1,661.62 1,615.23 92.94 0.00 3,486.76 แหลงนํ้า 426.05 772.67 25.77 2,310.51 23.03 3,558.03 เบ็ดเตล็ด 1,289.23 2,313.80 115.04 31.25 10,027.12 13,776.44

รวมพ้ืนที่ ป 2549 11,663.02 76,345.29 4,524.88 4,279.04 13,090.58 109,902.81 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 4,122.28 -5,195.56 1,038.13 721.02 -685.86

จากตารางท่ี 5 - 7 ในสวนของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินรายอําเภอ พบวา อําเภออัมพวา (ตารางท่ี 6) เปนพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภทตาง ๆ เปนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสรางมากท่ีสุด 5,707.21 ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพ้ืนท่ีเกษตรกรรม 5,897.71 ไร รองลงมาไดแก อําเภอเมืองสมุทรสงคราม (ตารางท่ี 7) มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จากประเภทตาง ๆ เปนพ้ืนท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง 4,122.28 ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพ้ืนที่เกษตรกรรม 5,417.58 ไร และอําเภอบางคนที (ตารางท่ี 5) มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภท ตาง ๆ เปนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง 3,184.81 ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่เกษตรกรรม 3,056.28 ไร ตามลําดับ ดังน้ัน จากผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินรายอําเภอ ป พ.ศ.2543 - 2549 จะเห็นไดวา อําเภอที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากพ้ืนที่เกษตรกรรมเปนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสรางมากที่สุดคือ อําเภออัมพวา โดยพบการเปลี่ยนแปลงมากท่ีสุดในตําบลทาคา รองลงมาคืออําเภอเมืองสมุทรสงคราม โดยพบการเปล่ียนแปลงมากท่ีสุดในตําบลลาดใหญ และอําเภอบางคนที โดยพบการเปลี่ยนแปลงมากท่ีสุดในตําบลกระดังงา แสดงดังตารางท่ี 8 – 10

Page 76: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

64

ตารางที่ 8 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ตําบลทาคา อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 - 2549

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 เกษตรกรรม 811.40 6,477.13 0.00 0.98 0.00 7,289.52 ปาไม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 แหลงนํ้า 12.48 33.15 0.00 0.00 0.00 45.63 เบ็ดเตล็ด 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รวมพ้ืนที่ ป 2549 823.88 6,510.29 0.00 0.98 0.00 7,335.15 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 823.88 -779.23 0.00 -44.65 0.00

ตารางท่ี 9 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 - 2549

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 595.53 587.30 0.00 8.94 279.02 1,470.79

เกษตรกรรม 1,010.18 9,760.09 0.00 33.75 559.75 11,363.77

ปาไม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

แหลงนํ้า 37.76 55.30 0.00 74.93 0.00 167.99

เบ็ดเตล็ด 436.26 366.23 56.89 0.00 3,813.91 4,673.28

รวมพ้ืนที่ ป 2549 2,079.73 10,768.92 56.89 117.61 4,652.68 17,675.83 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 608.94 -594.85 56.89 -50.38 -20.60

ตารางท่ี 10 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 - 2549

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 24.67 12.67 0.00 2.33 0.00 39.67 เกษตรกรรม 457.69 3,118.37 0.00 43.48 0.00 3,619.55 ปาไม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 แหลงนํ้า 31.27 44.37 0.00 99.38 0.00 175.02 เบ็ดเตล็ด 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รวมพ้ืนที่ ป 2549 513.64 3,175.41 0.00 145.20 0.00 3,834.24 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 473.96 -444.14 0.00 -29.83 0.00

จากตารางท่ี 8 – 10 ในสวนของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินรายตําบล พบวา พื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากเกษตรกรรม เปนพ้ืนท่ีเมืองและสิ่งปลูกสรางมากท่ีสุด คือ ตําบลทาคา อําเภออัมพวา จํานวน 811.40 ไร รองลงมาคือ ตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จํานวน 1,010.18 ไร และตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จํานวน 457.69 ไร ตามลําดับ สามารถแสดงการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินไดจากผลการแปลภาพถายทางอากาศ ดังภาพที่ 6

(แสดงดวยสีชมพู)

Page 77: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

65

ภาพท่ี 6 การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 – 2549

Page 78: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

66

1.2.2 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินป พ.ศ.2549 – 2554

จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงครามในป พ.ศ.2549 – 2554 โดยแบงการใชประโยชนที่ดินออกเปน 5 กลุมหลัก ไดแก พื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ปาไม แหลงน้ํา และพื้นที่เบ็ดเตล็ด แลวซอนทับขอมูล (Overlay) เพื่อตรวจสอบหาการเปลี่ยนแปลงของพ้ืนท่ีดวยวิธี Change detection matrix แลวแสดงขอมูลในรูปแบบตารางแมทริกซ (Matrix) ผลการศึกษาดังตารางท่ี 11 – 14 (จากตาราง ขอมูล ป 2549 อานจากซายไปขวา และขอมูลป 2554 อานจากบนลงลาง แลวเลือกอานคาในชองที่ขอมูลบรรจบกันตามตองการ)

ตารางที่ 11 การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2549 - 2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2549 เมืองและสิ่งปลูกสราง 17,498.40 3091.41 78.66 776.82 489.76 21,935.05 เกษตรกรรม 14,027.14 169,031.14 3,008.71 1,711.51 13,585.13 201,363.64 ปาไม 177.25 1,428.44 12,002.75 185.77 146.18 13,940.38 แหลงนํ้า 371.63 363.97 194.26 5,962.86 34.05 6,926.76 เบ็ดเตล็ด 1,069.89 3,748.10 41.10 152.43 9,233.36 14,244.88

รวมพ้ืนที่ ป 2554 33,144.31 177,663.06 15,325.48 8,636.96 23,488.47 258,410.71 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 11,209.27 -23,700.57 1,385.09 1,710.20 9,243.59

จากตารางท่ี 11 ในสวนของการใชประโยชนที่ดินประเภทเกษตรกรรมและประเภทเมืองและสิ่งปลูกสราง พบวา จังหวัดสมุทรสงครามมีพื้นท่ีประมาณ 258,410.71 ไร โดยในป พ.ศ.2549 - 2554 มีการเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภทตาง ๆ เปนพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง จํานวน 11,209.27 ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่เกษตรกรรม จํานวน 14,027.14 ไร ตารางที่ 12 การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดิน อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2549 - 2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2549 เมืองและสิ่งปลูกสราง 2,232.21 844.73 0.00 219.18 37.58 3,333.70 เกษตรกรรม 2,680.78 33,875.17 0.00 233.26 513.78 37,303.00 ปาไม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 แหลงนํ้า 28.34 6.03 0.00 916.35 0.00 950.72 เบ็ดเตล็ด 2.21 24.99 0.00 0.00 0.00 27.20

รวมพ้ืนที่ ป 2554 4,943.54 34,750.92 0.00 1,368.80 551.36 41,614.62 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 1,609.84 -2,552.08 0.00 418.08 524.16

Page 79: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

67

ตารางท่ี 13 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2549 - 2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2549 เมืองและสิ่งปลูกสราง 4,561.67 1,787.31 41.29 331.68 176.53 6,898.48 เกษตรกรรม 4,525.16 76,532.72 1,575.66 892.80 4,282.17 87,808.50 ปาไม 44.69 1,140.47 8,075.54 146.53 33.71 9,440.95 แหลงนํ้า 40.33 241.73 130.51 1,325.47 4.20 1,742.25 เบ็ดเตล็ด 100.12 625.66 0.00 10.29 397.97 1,134.04

รวมพ้ืนที่ ป 2554 9,271.96 80,327.89 9,823.01 2,706.77 4,894.59 107,024.22 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 2,373.48 -7,480.61 382.06 964.53 3,760.55

ตารางที่ 14 การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดิน อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2549 - 2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2549 เมืองและสิ่งปลูกสราง 10,704.52 459.37 37.37 225.96 275.64 11,702.86 เกษตรกรรม 6,821.20 58,623.25 1,433.05 585.45 8,789.18 76,252.14 ปาไม 132.56 287.97 3,927.20 39.24 112.46 4,499.44 แหลงนํ้า 302.96 116.21 63.74 3,721.03 29.84 4,233.79 เบ็ดเตล็ด 967.57 3,097.45 41.10 142.13 8,835.39 13,083.64

รวมพ้ืนที่ ป 2554 18,928.81 62,584.26 5,502.47 4,713.82 18,042.52 109,771.87 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 7,225.94 -13,667.88 1,003.03 480.03 4,958.88

จากตารางท่ี 12 - 14 ในสวนของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินรายอําเภอ พบวา อําเภอเมืองสมุทรสงคราม (ตารางท่ี 14) มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภท ตาง ๆ เปนพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสรางมากท่ีสุด จํานวน 7,225.94 ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพ้ืนที่เกษตรกรรม จํานวน 6,821.20 ไร รองลงมาไดแก อําเภออัมพวา (ตารางท่ี 13) มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภทตาง ๆ เปนพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง จํานวน 2,373.48 ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพื้นท่ีเกษตรกรรม จํานวน 4,525.16 ไร และอําเภอบางคนที (ตารางท่ี 12) มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภทตาง ๆ เปนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง จํานวน 1,609.84

ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่เกษตรกรรม จํานวน 2,680.78 ไร ตามลําดับ ดังน้ัน จากผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินรายอําเภอ ป พ.ศ.2549 - 2554 อําเภอท่ีมีการเปลี่ยนแปลงจากพ้ืนท่ีเกษตรกรรมเปนพ้ืนท่ีเมืองและสิ่งปลูกสรางมากที่สุดคือ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม โดยพบการเปลี่ยนแปลงมากท่ีสุดในตําบลลาดใหญ รองลงมาคืออําเภออัมพวา โดยพบการเปลี่ยนแปลงมากท่ีสุดในตําบลย่ีสาร และอําเภอบางคนที โดยพบการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดในตําบลดอนมะโนรา ดังแสดงในตารางท่ี 15 – 17

Page 80: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

68

ตารางที่ 15 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2549 - 2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนท่ี ป 2549 เมืองและสิ่งปลูกสราง 1,888.67 102.55 0.00 15.90 103.01 2,110.13 เกษตรกรรม 1,296.26 7,005.13 0.00 56.50 2,427.94 10,785.84 ปาไม 0.05 15.00 0.00 0.18 41.67 56.89 แหลงนํ้า 10.15 2.44 0.00 102.93 2.08 117.61 เบ็ดเตล็ด 276.51 907.38 0.00 5.20 3,452.31 4,641.41

รวมพ้ืนที่ ป 2554 3,471.65 8,032.50 0.00 180.72 6,027.01 17,711.87 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 1,361.52 -2,753.34 -56.89 63.11 1,385.60

ตารางที่ 16 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ตําบลย่ีสาร อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2549 - 2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2549 เมืองและสิ่งปลูกสราง 315.84 41.16 41.29 28.12 22.11 448.52 เกษตรกรรม 649.22 23,039.95 1,408.52 401.89 1,205.64 26,705.21 ปาไม 44.69 978.85 7,919.30 145.24 1.46 9,089.53 แหลงนํ้า 4.05 86.79 126.94 564.88 0.16 782.82 เบ็ดเตล็ด 36.12 22.93 0.00 0.87 173.64 233.57

รวมพ้ืนที่ ป 2554 1,049.91 24,169.67 9,496.05 1,141.00 1,403.02 37,259.65 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 601.39 -2,535.54 406.52 358.18 1,169.45

ตารางท่ี 17 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ตําบลดอนมะโนรา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2549 - 2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2549 เมืองและสิ่งปลูกสราง 65.37 28.08 0.00 7.71 0.00 101.16 เกษตรกรรม 501.46 6,443.43 0.00 84.73 130.05 7,159.68 ปาไม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 แหลงนํ้า 0.84 0.08 0.00 4.62 0.00 5.55 เบ็ดเตล็ด 0.00 18.25 0.00 0.00 0.00 18.25

รวมพ้ืนที่ ป 2554 567.67 6,489.85 0.00 97.07 130.05 7,284.64 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 466.51 -669.83 0.00 91.52 111.80

จากตารางท่ี 15 – 17 ในสวนของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินรายตําบล พบวา พื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากเกษตรกรรม เปนพ้ืนท่ีเมืองและสิ่งปลูกสรางมากท่ีสุด คือ ตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จํานวน 1,296.26 ไร รองลงมาคือ ตําบลย่ีสาร อําเภออัมพวา จํานวน 649.22 ไร และตําบลดอนมะโนรา อําเภอบางคนที จํานวน 501.46 ไร ตามลําดับ สามารถแสดงการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินไดจากผลการแปลภาพถายทางอากาศ ดังภาพท่ี 7

(แสดงดวยสีชมพู)

Page 81: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

69

ภาพท่ี 7 การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2549 – 2554

Page 82: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

70

1.2.3 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินป พ.ศ.2543 – 2554

จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงครามในป พ.ศ.2543 – 2554 โดยแบงการใชประโยชนที่ดินออกเปน 5 กลุมหลัก ไดแก พื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ปาไม แหลงน้ํา และพื้นที่เบ็ดเตล็ด แลวซอนทับขอมูล (Overlay) เพื่อตรวจสอบหาการเปลี่ยนแปลงของพ้ืนท่ีดวยวิธี Change detection matrix แลวแสดงขอมูลในรูปแบบตารางแมทริกซ (Matrix) ผลการศึกษาดังตารางท่ี 18 – 21 (จากตาราง ขอมูล ป 2543 อานจากซายไปขวา และขอมูลป 2554 อานจากบนลงลาง แลวเลือกอานคาในชองที่ขอมูลบรรจบกันตามตองการ) ตารางที่ 18 การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543-2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 5,751.87 1968.02 70.05 405.66 704.42 8,900.03 เกษตรกรรม 23,575.07 16,7963.45 7,495.96 3,850.60 14,612.67 21,7497.75 ปาไม 336.01 4,143.92 7,648.34 350.32 130.95 12,609.54 แหลงนํ้า 1,304.51 602.07 153.78 4,128.01 54.89 6,243.27 เบ็ดเตล็ด 2,176.87 3,452.31 5.19 171.44 7,985.80 13,791.60

รวมพ้ืนที่ ป 2554 33,144.33 178,129.77 15,373.32 8,906.04 23,488.74 259,042.19 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 24,244.30 -39,367.98 2,763.77 2,662.77 9,697.14

จากตารางท่ี 18 ในสวนของการใชประโยชนที่ดินประเภทเกษตรกรรมและประเภทเมืองและสิ่งปลูกสราง พบวา จังหวัดสมุทรสงครามมีพื้นท่ีประมาณ 259,042.19 ไร โดยในป พ.ศ.2543 - 2554 มีการเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภทตาง ๆ เปนพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสราง จํานวน 24,244.30 ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่เกษตรกรรม จํานวน 23,575.07 ไร ตารางที่ 19 การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดิน อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543-2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 5,184.87 1,331.34 29.58 345.28 658.56 7549.62 เกษตรกรรม 10,686.83 56,533.10 3,273.85 1,775.63 9,296.95 81,566.36 ปาไม 136.14 972.63 2,188.36 139.36 50.27 3,486.76 แหลงนํ้า 744.12 395.03 42.34 2,330.02 51.22 3,562.72 เบ็ดเตล็ด 2,176.87 3,452.31 5.19 171.44 7,985.80 13,791.60

รวมพ้ืนที่ ป 2554 18,928.83 62,684.40 5,539.31 4,761.73 18,042.79 109,957.06 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 11,379.20 -18,881.96 2,052.55 1,199.01 4,251.19

Page 83: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

71

ตารางท่ี 20 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543-

2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 457.25 600.54 40.47 54.49 45.87 1,198.61 เกษตรกรรม 8,269.39 76,542.82 4,222.11 1,471.63 4,764.36 95,270.30 ปาไม 199.87 3,171.29 5,459.98 210.96 80.69 9,122.79 แหลงนํ้า 345.45 141.59 111.44 969.69 3.68 1,571.85 เบ็ดเตล็ด 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รวมพ้ืนที่ ป 2554 9,271.96 80,456.24 9,834.00 2,706.77 4,894.59 107,163.56 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 8,073.34 -14,814.06 711.22 1,134.91 4,894.59

ตารางที่ 21 การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดิน อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543-

2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 109.75 36.15 0.00 5.89 0.00 151.79 เกษตรกรรม 4,618.85 34,887.53 0.00 603.35 551.36 40,661.09 ปาไม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 แหลงนํ้า 214.94 65.45 0.00 828.30 0.00 1,108.70 เบ็ดเตล็ด 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รวมพ้ืนที่ ป 2554 4,943.54 34,989.13 0.00 1,437.54 551.36 41,921.57 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 4,791.75 -5,671.96 -1,108.70 328.85 551.36

จากตารางท่ี 19 - 21 ในสวนของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินรายอําเภอ พบวา อําเภอเมืองสมุทรสงคราม (ตารางท่ี 19) มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภท ตาง ๆ เปนพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสรางมากท่ีสุด จํานวน 11,379.20 ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพ้ืนที่เกษตรกรรม จํานวน 10,686.83 ไร รองลงมาไดแก อําเภออัมพวา (ตารางท่ี 20) มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภทตาง ๆ เปนพ้ืนที่เมืองและสิ่งปลูกสราง จํานวน 8,073.34 ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพ้ืนที่เกษตรกรรม จํานวน 8,269.39 ไร และอําเภอบางคนที (ตารางที่ 21) มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภทตาง ๆ เปนพื้นที่เมืองและสิ่งปลูกสราง จํานวน 4,791.75

ไร โดยเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่เกษตรกรรม จํานวน 4,618.85 ไร ตามลําดับ ดังน้ัน จากผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินรายอําเภอ ป พ.ศ.2543 - 2554 อําเภอท่ีมีการเปลี่ยนแปลงจากพ้ืนท่ีเกษตรกรรมเปนพ้ืนท่ีเมืองและสิ่งปลูกสรางมากที่สุดคือ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม โดยพบการเปลี่ยนแปลงมากท่ีสุดในตําบลลาดใหญ รองลงมาคืออําเภออัมพวาโดยพบการเปลี่ยนแปลงมากท่ีสุดในตําบลสวนหลวง และอําเภอบางคนที โดยพบการเปลี่ยนแปลงมากท่ีสุดในตําบลกระดังงา ดังแสดงในตารางท่ี 22 – 24

Page 84: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

72

ตารางที่ 22 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 - 2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 740.77 0.00 0.00 16.35 388.94 1,146.06 เกษตรกรรม 1,989.64 6,844.03 0.00 68.69 2,486.85 11,389.21 ปาไม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 แหลงนํ้า 70.48 22.71 0.00 71.47 3.74 168.41 เบ็ดเตล็ด 670.76 832.19 0.00 24.09 3,147.75 4,674.78

รวมพ้ืนที่ ป 2554 3,471.65 7,698.93 0.00 180.60 6,027.28 17,378.46 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 2,325.59 -3,690.28 0.00 12.20 1,352.50

ตารางท่ี 23 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 - 2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 54.65 26.64 0.00 5.50 0.00 86.79 เกษตรกรรม 939.93 2,080.51 0.00 103.92 34.78 3,159.14 ปาไม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 แหลงนํ้า 54.99 13.14 0.00 163.34 0.69 232.17 เบ็ดเตล็ด 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รวมพ้ืนที่ ป 2554 1,049.57 2,120.29 0.00 272.77 35.48 3,478.11 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 962.77 -1,038.85 0.00 40.60 35.47

ตารางที่ 24 การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ตําบกระดังงา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 - 2554

การใชประโยชนที่ดิน (ไร) เมืองฯ เกษตรกรรม ปาไม แหลงนํ้า เบ็ดเตล็ด รวมพ้ืนที่ ป 2543 เมืองและสิ่งปลูกสราง 26.29 10.88 0.00 2.50 0.00 39.67 เกษตรกรรม 674.55 2,855.93 0.00 60.09 28.98 3,619.55 ปาไม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 แหลงนํ้า 57.71 19.72 0.00 97.59 0.00 175.02 เบ็ดเตล็ด 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รวมพ้ืนที่ ป 2554 758.56 2,886.53 0.00 160.17 28.98 3,834.24 การเปล่ียนแปลงฯ (ไร) 718.89 -733.02 0.00 -14.85 28.98

จากตารางท่ี 22 – 24 ในสวนของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินรายตําบล พบวา พื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากเกษตรกรรม เปนพ้ืนท่ีเมืองและสิ่งปลูกสรางมากท่ีสุด คือ ตําบลลาดใหญ จํานวน 1,989.64 ไร รองลงมาคือ ตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา จํานวน 939.93 ไร และตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที 674.55 ไร ตามลําดับ สามารถแสดงการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินไดจากผลการแปลภาพถายทางอากาศ ดังภาพที่ 8 (แสดงดวยสีชมพู)

Page 85: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

73

ภาพท่ี 8 การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 – 2554

Page 86: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

74

จากผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินดังท่ีกลาวมาน้ี ผูวิจัยจึงไดทําการคัดเลือกพื้นท่ีจากผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543 - 2554 เปนชวงเวลา 11 ป โดยคัดเลือกพื้นท่ีจํานวน 3 ตําบล จากทั้ง 3 อําเภอของจังหวัดสมุทรสงคราม ไดแก ตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม ตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา และตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที (ดังภาพที่ 9) เน่ืองจากพบวาเปนตําบลที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากเกษตรกรรมเปนประเภทเมืองและสิ่งปลูกสรางมากท่ีสุดของแตละอําเภอในจังหวัดสมุทรสงคราม จากนั้น ผูวิจัยจึงไดลงพื้นท่ีเพื่อเก็บขอมูลภาคสนามเพ่ือประกอบการศึกษา การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตอไป

Page 87: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

75 ภาพท่ี 9 พื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภทเกษตรกรรม เปนพื้นท่ีเมืองและสิ่งปลูกสรางมากที่สุด ในป พ.ศ.2543 – 2554 คือ ตําบลลาดใหญ ตําบลสวนหลวง และตําบลกระดังงา

Page 88: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

76

2.ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ป พ.ศ.2543-2554 ผูวิจัยไดคัดเลือกพื้นที่จํานวน 3 ตําบล จากท้ัง 3 อําเภอของจังหวัดสมุทรสงคราม ไดแก ตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองฯ ตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา และตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที เพื่อเปนพ้ืนที่ศึกษาในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินโดยใชวิธีการสังเกตและสัมภาษณเชิงลึก (In depth Interview) จากกลุมผูใหขอมูลหลัก (Key informant) ไดแก ปราชญชาวบานและผูสูงอายุในชุมชน ตําบลละ 1 ราย ชาวบานในชุมชน ตําบลละ 3 ราย และผูนําชุมชนอยางเปนทางการในพ้ืนท่ี ตําบลละ 1 ราย รวมท้ังสิ้น 15 ราย โดยนําขอมูลที่ไดมาตรวจสอบความครบถวนและความถูกตองของขอมูลแบบสามเสา (Triangulation Data) วิธีวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และสรุปผลการศึกษาและนําเสนอใหมเชิงพรรณนาความ (Descriptive) ผลการศึกษาแสดงไดดังนี้

2.1 ตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม 2.1.1 ขอมูลพ้ืนฐาน ตําบลลาดใหญ ตั้งอยูในอําเภอเมืองสมุทรสงคราม มีพื้นท่ีประมาณ 15,937 ไร ภูมิประเทศสวนใหญเปนท่ีราบชายฝง บางสวนเปนพ้ืนท่ีลุมไดรับอิทธิพลจากทะเลอาวไทย และเปนเขตนํ้าเค็ม ตําบลลาดใหญ มีอาณาเขตติดตอกับตําบลตาง ๆ โดยทิศเหนือ ติดตอกับตําบลนางตะเคียน อําเภอเมืองสมุทรสงคราม ทิศตะวันออก ติดตอกับตําบลนาโคก อําเภอเมืองสมุทรสาคร ทิศตะวันตก ติดตอกับตําบลแมกลอง อําเภอเมืองสมุทรสงคราม และทิศใตติดตอกับตําบลบางแกว อําเภอเมืองสมุทรสงคราม (ดังภาพที่ 11) ตําบลลาดใหญ มีจํานวนประชากรรวม 16,483 คน ชาย 7,901 คน หญิง 8,582 คน ประกอบดวย 12 หมูบาน 6,809 ครัวเรือน (กรมการปกครอง, 2555) ในความดูแลขององคการบริหารสวนตําบลลาดใหญ อาชีพของประชาชนในตําบลลาดใหญ สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมประเภทพืชสวนเปนหลัก ไดแก การทําสวนมะพราวตาล การทํานาเกลือ เลี้ยงกุงกุลาดํา รวมถึงเปนแรงงานรับจางในโรงงานอุตสาหกรรม ผลิตผลท่ีสําคัญของตําบลลาดใหญ ไดแก น้ําตาลมะพราว และเกลือสมุทร (องคการบริหารสวนตําบลลาดใหญ, 2556) ภาพที่ 10 สภาพพื้นที่ทั่วไปของตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม

Page 89: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

77

ภาพท่ี 11 พื้นที่ศึกษา ตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม

Page 90: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

78

ตารางที่ 25 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน อยางเปนทางการ

ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

1.ดานกายภาพ 1.1 การใชประโยชนที่ดิน (กอน พ.ศ.2549)

พื้นที่เกษตรกรรม คือ การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว พื้นที่นาเกลือ บอกุง เปนที่ตั้งของสถานที่ราชการหลายแหง ที่อยูอาศัย และโรงงานอุตสาหกรรม

การเพาะปลูกขาว และการเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว นาเกลือ และโรงงานอุตสาหกรรม

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว และนาเกลือ และโรงงานอุตสาหกรรม

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว และนาเกลือ และโรงงานอุตสาหกรรม

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว นาเกลือ บอเลี้ยงกุงกุลาดํา และโรงงานอุตสาหกรรม

การใชประโยชนที่ดิน กอน พ.ศ.2549 เปนพื้นที่เกษตรกรรม คือ การเพาะ

ปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว มีการทํานาเกลือ บอกุงกุลาดํา เปนที่ตั้งของสถานที่ราชการหลายแหง ที่อยูอาศัย และโรงงานอุตสาหกรรม

1.2 การใชประโยชนที่ดิน (พ.ศ.2549 เปนตนมา)

พื้นที่เกษตรกรรม คือ การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว พื้นที่บอกุงราง การลดลงนาเกลือ และการเพิ่มขึ้นของที่อยูอาศัยและโรงงานอุตสาหกรรม การขายที่ดินการ

เกษตรเพื่อสรางที่อยูอาศัยและยานพาณิชยกรรม เปนที่ตั้งของสถานที่ราชการหลายแหง

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว นาเกลือ และการเพิ่มขึ้นของโรงงานอุตสาหกรรม

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว นาเกลือ และการเพิ่มขึ้นของโรงงานอุตสาหกรรม การขายที่ดินการเกษตรเพื่อสรางที่อยูอาศัยและยานพาณิชยกรรม

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว นาเกลือ และการเพิ่มขึ้นของโรงงานอุตสาหกรรม

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว นาเกลือ และการเพิ่มขึ้นของโรงงานอุตสาหกรรม การขายที่ดินการเกษตรเพื่อสรางที่อยูอาศัยและยานพาณิชยกรรม

การใชประโยชนที่ดิน พ.ศ.2549 เปนตนมา พื้นที่สวนใหญยังคงเปนพื้นที่เกษตรกรรม คือ การเพาะปลูกพืชสวน แตมีการลดลงของบอกุงกุลาดํา นาเกลือ และการเพิ่มขึ้นของที่อยูอาศัยและโรงงานอุตสาหกรรม รวม

ถึงพบการขายทีด่ินการเกษตรเพื่อสรางที่อยูอาศัยและยานพาณิชยกรรม และยังคงเปนที่ตั้งของสถานที่ราชการหลายแหง

1.3 นโยบายการใชประโยชนที่ดินในอนาคต

เนนการจัดสรรพื้นที่ใหนาอยูและปลอดมลพิษ โดยการคดักรองโรงงานอุตสาหกรรมที่จะกอสรางในพื้นที่

Page 91: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

79

ตารางที่ 25 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม (ตอ)

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน อยางเปนทางการ

ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

2.ดานเศรษฐกิจ 2.1 อาชีพ

สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ ทําสวนมะพราวและนาเกลือ อาชีพคาขาย และทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม

อาชีพเกษตรกรสวนมะพราวและทําน้ําตาลมะพราว

อาชีพเกษตรกรสวนมะพราว

อาชีพหลักคาขาย คือ รานจําหนายอาหาร อาชีพเสริม คือ รับจางทํานาเกลือ

อาชีพหลักคือเกษตรกรนาเกลือ อาชีพเสริมคือทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม

สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรและคาขาย อาชีพเสริม คือ ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม

2.2 รายได

จากการทําเกษตรกรรม การคาขาย และทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม

จากการเกษตร คือ ทําน้ําตาลมะพราว

จากการเกษตร คือ สวนมะพราว

จากการคาขาย คือ รานจําหนายอาหาร และจากการรับจางทํานาเกลือ

จากการทํานาเกลือและการทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม

จากเกษตรกรรม ไดแก สวนมะพราว ทําน้ําตาลมะพราว ทํานาเกลือ คาขาย และทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม

2.3 รายจาย

รายจายในชีวิตประจําวัน และจากการหมุนเวียนเงินในการลงทุนทําการเกษตรและการคาขาย

รายจายในชีวิตประจําวัน

และการลงทุนทําการเกษตร รายจายในชีวิตประจําวัน

และการลงทุนทําการเกษตร รายจายในชีวิตประจําวันและการลงทุนคาขาย

รายจายในชีวิตประจําวัน

และการลงทุนทําการเกษตร รายจายในชีวิตประจําวัน จากการหมุนเวียนเงินในการลงทุนทําการเกษตรและการลงทุนคาขาย

2.4 ภาระหนี้สิน

จากการลงทุนในการทําการเกษตรการคาขาย และคาครองชีพ โดยมีแหลงเงินกูสําคัญ คือ ธนาคารพาณิชย และกลุมออมทรัพย

ไมมภีาระหนี้สิน

จากการลงทุนทําการ

เกษตร โดยกูยืมเงินจากธนาคารพาณิชย

ไมมภีาระหนี้สิน

จากการลงทุนทําการ

เกษตร โดยกูยืมเงินจากธนาคารพาณิชย

จากการลงทุนในการทําการเกษตร จากแหลงเงินกู คือ กลุมออมทรัพยและธนาคารพาณิชย

2.5 การออม

มีการออมในธนาคารพาณิชย และกลุมออมทรัพย

ไมมีเงินออม เนื่องจากใชเปนทุนหมุนเวียนในการ

เกษตร

มีเงินออมในธนาคารพาณิชย

มีเงินออมในกลุมออมทรัพย

มีเงินออมในธนาคารพาณิชย

มีการออมเงินในกลุมออมทรัพย และธนาคารพาณิชย ในรายที่ไมมีเงินออมเนื่องจากจะใชเปนทุนหมุนเวียนในการเกษตร

2.6 การถือครองที่ดิน สวนใหญเปนจาของที่ดิน เปนเจาของที่ดิน เชาที่ดินเพื่อทําสวนมะพราว

เปนเจาของที่ดิน เชาพื้นที่เพื่อทํานาเกลือ สวนใหญเปนเจาของที่ดิน และพบการเชาที่ดินเพื่อทําการเกษตร คือ สวนมะพราว และนาเกลือ

Page 92: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

80

ตารางที่ 25 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม (ตอ)

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน อยางเปนทางการ

ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

3.ดานสังคม 3.1 จํานวนสมาชิก 2-4 คน 2 คน 2 คน 3 คน 5 คน 2-5 คน

3.2 ระดับการศึกษา (หัวหนาครัวเรือน)

ปริญญามหาบัณฑิต ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

ไมไดเรียนหนังสือ

ชั้นประถมศึกษาปที่ 4

หัวหนาครัวเรือน มีทั้งไมไดเรียน จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษาและปริญญามหาบัณฑิต

3.3 ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือน

เครือญาติ เครือญาติ เครือญาติ เครือญาติ เครือญาติ ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือนเปนแบบเครือญาติ

3.4 การรวมกลุมในชุมชน

มีการรวมกลุม เชน กลุมออมทรัพย กลุมสตรีตาง ๆ

ไมไดเปนสมาชิกกลุมใด ไมไดเปนสมาชิกกลุมใด กลุมออมทรัพย กลุมสหกรณนาเกลือ มีการรวมกลุม ในกลุมออมทรัพย กลุมสตรีตาง ๆ กลุมสหกรณนาเกลือ และมีที่ไมไดเปนสมาชิกกลุมใด

3.5 การมีสวนรวมในชุมชน

การรวมกิจกรรม การประชุมเพื่อจัดสรรผลประโยชนและแกปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในกลุม

ไมมีสวนรวมในกลุมใด ไมมีสวนรวมในกลุมใด เปนสมาชิกกลุม รวมออมเงิน และรวมประชุมแสดงความคิดเห็นตาง ๆ

เปนสมาชิกกลุม รวมประชุมตกลงสวนแบงกําไรและรวมแสดงความคิดเห็นตาง ๆ

มีสวนรวมในชุมชนจากการรวม

กลุม รวมประชุมเพื่อจัดสรรผลประโยชน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อแกไขปญหาตาง ๆ

3.6 ความขัดแยงในชุมชน

มีความขดัแยงเรื่องผลประโยชนในกลุมตาง ๆ

ไมมีปญหาความขดัแยง ไมมีปญหาความขดัแยง ไมมีปญหาความขดัแยง ไมมีปญหาความขดัแยง ผูนําชุมชนมีมุมมองวามีความขัดแยงในเรื่องผลประโยชนในกลุมตาง ๆ สวนชาวบานมองวาไมมีปญญาขัดแยงใด ๆ ภายในกลุม

3.7 ความเขมแข็งของชุมชน

การรวมกลุมเปนแบบชั่วคราวตามนโยบายและงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ อาทิ กลุมแมบาน กลุมวิสาหกิจชุมชนตาง ๆ

ไมมีสวนรวมในกลุมใด ไมมีสวนรวมในกลุมใด มีการประชุมเดือนละ 1

ครั้ง มีการรวมประชุมหารือตามกําหนดการ

การรวมกลุมเปนแบบชั่วคราวตามนโยบายและงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ และการประชุมหารือกันตามกําหนดการ

Page 93: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

81

ตารางที่ 25 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม (ตอ)

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน

อยางเปนทางการ ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

4.ดานวัฒนธรรม 4.1 ประเพณีประจําทองถิ่น

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

4.2 ความเชื่อ/พิธีกรรมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ

ความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป ความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป การตั้งศาลในสวนมะพราว

ความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป พิธีกรรมในนาเกลือ การตั้งศาลในสวนมะพราว พิธีกรรมในนาเกลือ และความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป

4.3 ภูมิปญญาของทองถิ่น

การขึ้นตาล การทําน้ําตาลมะพราว และการทํานาเกลือ

การขึ้นตาล การทําน้ําตาลมะพราว และการทํานาเกลือ

การขึ้นตาล การทําน้ําตาลมะพราว และการทํานาเกลือ

การขึ้นตาล การทําน้ําตาลมะพราว และการทํานาเกลือ

การขึ้นตาล การทําน้ําตาลมะพราว และการทํานาเกลือ

การขึ้นตาล การทําน้ําตาลมะพราว และการทํานาเกลือ

4.4 ศิลปกรรมของทองถิ่นที่เปนเอกลักษณ

บานทรงไทย บานทรงไทย บานตามแบบสมัยนิยม บานตามแบบสมัยนิยม บานตามแบบสมัยนิยม บานทรงไทยและบานตามแบบสมัยนิยม

Page 94: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

82

2.1.2 การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จากตารางท่ี 25 สามารถสรุปผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม 4 ดาน ไดแก ดานกายภาพ ดานเศรษฐกิจ ดานสังคม และดานวัฒนธรรม ดังนี้ 1.ดานกายภาพ จากการสัมภาษณนายกองคการบริหารสวนตําบลลาดใหญ พบวา การใชประโยชนที่ดินของตําบลลาดใหญ กอน พ.ศ.2549 ตําบลลาดใหญนอกจากจะเปนท่ีตั้งของสถานที่ราชการตาง ๆ และท่ีอยูอาศัยจํานวนมาก เน่ืองจากอยูในพ้ืนท่ีของอําเภอเมืองซึ่งเปนศูนยกลางการบริหารแลว พื้นที่สวนใหญยงัเปนพื้นท่ีเกษตรกรรมเพ่ือการเพาะปลูกพืชสวนท่ีสําคัญ คือ มะพราวตาล มีการทํานาเกลือ บอกุงกุลาดํา และเปนท่ีตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมในบริเวณพ้ืนท่ีที่ติดตอกับจังหวัดสมุทรสาคร การใชประโยชนที่ดินของตําบลลาดใหญ พ.ศ.2549 เปนตนมา พบวา ตําบลลาดใหญยังคงเปนศูนยกลางการปกครองและเปนที่ตั้งของสถานท่ีราชการหลายแหง และพ้ืนท่ีสวนใหญยังคงเปนพ้ืนที่เกษตรกรรมเพื่อการเพาะปลูกพืชสวนท่ีสําคัญคือ มะพราวตาล แตบอกุงกุลาดําสวนใหญเหลือเพียงบอราง และการลดลงของพ้ืนที่นาเกลือ แตพบวามีการเพ่ิมขึ้นของที่อยูอาศัยและโรงงานอุตสาหกรรมในบริเวณพ้ืนท่ีที่ติดตอกับจังหวัดสมุทรสาคร จากการรวมรวบขอมูลขององคการบริหารสวนตําบลลาดใหญ พบวามีโรงงานอุตสาหกรรมต้ังอยูในพ้ืนท่ีตําบลลาดใหญจํานวน 12 แหง และยังมีอีกหลายแหงอยูระหวางการขออนุญาตเพ่ือประกอบกิจการ นอกจากน้ียังพบวามีการขายท่ีดินการเกษตรเพ่ือสรางที่อยูอาศัย เชน การขายพื้นที่เพาะปลูกมะพราวตาล และพ้ืนที่นาเกลือของเกษตรกรใหแกเอกชนเพื่อสรางโรงงานอุตสาหกรรม ที่อยูอาศัย เชน โครงการบานเอ้ืออาทร และยานพาณิชย-

กรรม โดยพ้ืนท่ีสวนมะพราวราคาไรละ 700,000 บาท โดยประมาณ และพ้ืนท่ีนาเกลือ ราคาไรละ 8 –

10 ลานบาท โดยประมาณ ทั้งนี้เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและจํานวนประชากรท่ีเพิ่มขึ้น นโยบายการใชประโยชนที่ดินในอนาคต ในสวนขององคการบริหารสวน

ตําบลลาดใหญ ในฐานะหนวยงานที่กํากับดูแลในพื้นท่ีตําบลลาดใหญ มีนโยบายการใชประโยชนที่ดินในอนาคตโดยเนนการจัดสรรพ้ืนท่ีใหเปนเมืองนาอยูและปลอดมลพิษ เนื่องจากการจัดทําผังเมืองรวมของจังหวัดสมุทรสงครามยังไมแลวเสร็จ องคการบริหารสวนตําบลลาดใหญในฐานะองคกรที่มีอํานาจในการตัดสินใจในการบริหารจัดการพ้ืนท่ี จึงไดทําการคัดกรองโรงงานอุตสาหกรรมท่ีจะกอสรางในพื้นที่ในเบื้องตน โดยอนุญาตเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมท่ีไมกอมลพิษใหสามารถตั้งกิจการในพ้ืนท่ีได เชน โรงงานปนดาย โรงงานบรรจุน้ําปลา เปนตน ตามหน่ึงในพันธกิจขององคการบริหารสวนตําบลลาดใหญ คือ การคุมครองดูแลและบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Page 95: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

83

2.ดานเศรษฐกิจ จากการสัมภาษณผูใหขอมูลซึ่งเปนชาวบานท่ีอาศัยในพื้นที่ตําบลลาดใหญ พบวา สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทําสวนมะพราวตาลและการทํานาเกลือ รวมถึงอาชีพคาขาย อาทิ รานชํา รานอาหาร รานจําหนายวัสดุอุปกรณตาง ๆ ฯลฯ เปนอาชีพหลัก และพบวามีอาชีพเสริม คือ ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม

ในสวนของรายไดจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม พบวา เกษตรกรมีรายไดจากการปลูกมะพราวตาลเพ่ือทํานํ้าตาลมะพราว ไดแก น้ําตาลใส ราคาจําหนายปบละ 65 บาท และน้ําตาลปบ ราคาจําหนายปบละ 700 บาท (30 กิโลกรัม) หรือตามการข้ึนลงของราคาในทองตลาด ซึ่งเกษตรกรสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดตลอดป แตจะไดผลผลิตมากท่ีสุดในชวงเดือนมีนาคมถึงเมษายน รายไดจากการทํานาเกลือ มีรายไดเกวียนละ 1,700 – 2,000 บาท (1,500 กิโลกรัม) แตเกษตรกรจะมีรายไดเฉพาะในชวงฤดูการทํานาเกลือ คือ ชวงเดือนธันวาคมถึงปลายเดือนเมษายนเทาน้ัน และในชวงนอกฤดูการทํานาเกลือเกษตรกรจึงตองประกอบอาชีพอ่ืน คือ ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม และการคาขาย ในสวนของรายไดจากอาชีพคาขาย คือ รานจําหนายอาหารในทองถิ่น มีรายไดประมาณ 1,000 – 2,000 บาทตอวัน แตรายไดจะถูกหมุนเวียนเปนทุนในการคาขายในแตละวัน สวนการทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม รายได เปนไปตามอัตราคาจาง ข้ันต่ํ า ท่ี รัฐบาลกําหนด โดยจังหวัดสมุทรสงครามปรับขึ้นคาจางขั้นต่ําเปน 300 บาทตอวัน ในป พ.ศ.2556 จากเดิม 240 บาทตอวัน

ในสวนของรายจาย นอกจากรายจายในชีวิตประจําวันแลว พบวาสวนใหญเปนรายจายท่ีเกิดจากการหมุนเวียนเงินเพื่อเปนตนทุนในการทําการเกษตรและการลงทุนคาขาย โดยเกษตรกรที่ปลูกมะพราวตาลจะมีรายจายในการบํารุงรักษาสวนมะพราว เชน ปุย ยาปองกันโรคและแมลงตาง ๆ เปนตน เกษตรกรท่ีมีอาชีพเก็บน้ําตาลใส หรือปนตาล จะมีรายจายเกี่ยวกับอุปกรณที่จําเปนในการเก็บเก่ียวผลผลิต อาทิ มีดปาดตาล พะองสําหรับปนเก็บตาล กระบอกรองตาล เปลือกไมพะยอมหรือไมเคี่ยมเพ่ือปองกันการบูดของตาล กระชอนกรองน้ําตาลสด เปนตน สวนเกษตรกรที่ทํานํ้าตาลมะพราวจะมีรายจายในสวนของอุปกรณในการเค่ียวตาล หรือทํานํ้าตาลปบ เชน เตาตาล ฟน กระทะเคี่ยวตาล โค สําหรับครอบปากกระทะไมใหน้ําตาลลนขณะท่ีเคี่ยว โพงสําหรับตักนํ้าตาล ปบใสน้ําตาล เปนตน โดยรวมมีตนทุนเร่ิมตนนับแสนบาท แตอุปกรณบางอยางสามารถใชงานได 10 – 20 ป เชน เตาตาล กระทะเค่ียวตาล สวนอุปกรณที่ชํารุดก็ทําใหมีรายจายในการซอมบํารุงหรือเปลี่ยนอุปกรณใหม นอกจากน้ียังพบวามีเกษตรกรหลายรายเลิกอาชีพการทําเตาตาลหรือเคี่ยวนํ้าตาลมะพราว เน่ืองจากมีขั้นตอนมากและใชระยะเวลา 4 - 5 ชั่วโมงตอการเคี่ยวนํ้าตาลแตละคร้ัง ไมคุมคาเหนื่อยและการลงทุน โดยพบเตาตาลของเกษตรกรท่ียังดําเนินกิจการอยูเพียงแหงเดียวเทาน้ัน โดยเตาอ่ืน ๆ ไดเลิกกิจการไปหรือปรับปรุงเปนศูนยเรียนรูกลุมผูผลิตนํ้าตาลมะพราวเพื่อมุงเผยแพรความรูและอนุรักษวิถีชีวิตการทําการเกษตรแบบด้ังเดิมแทน

Page 96: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

84

ภาพที่ 12 ขั้นตอนและอุปกรณในการเก็บและเคี่ยวนํ้าตาลมะพราว

ในสวนของรายจายในการทํานาเกลือก็มีหลายข้ันตอนเชนกัน จําเปนตองใชอุปกรณจํานวนมาก อาทิ เคร่ืองฉุดรหัสวิดนํ้า ลูกกลิ้งไมสําหรับเตรียมพื้นนาใหเรียบ บุงก๋ีหาบเกลือ คฑาซุม คฑาชักแถวสําหรับโกยเกลือ พลั่วซอยสําหรับร้ือเกลือ ฉวกชอนดอกเกลือ คราดไมกลับหนาดิน ไฮโดรมิเตอรสําหรับอานคาความเค็มของนํ้า เปนตน และเน่ืองจากการทํานาเกลือตองใชพื้นที่ขนาดใหญจึงจําเปนตองใชแรงงานจํานวนมากในทุก ๆ ขั้นตอน ตั้งแตขั้นตอนการเตรียมดิน การดูแลรักษา ไปจนถึงข้ันตอนการเก็บผลผลิต นอกจากรายจายจากการลงทุนแลว จึงมีรายจายสําคัญคือคาจางแรงงานดวย โดยผูที่รับจางทํานาเกลือจะมีรายไดจากคาจางในการหาบเกลือเพื่อนําไปเก็บในยุง แถวละ 40 บาท (100 กิโลกรัม) หรือคาจางในการโกยเกลือ เกวียนละ 220 บาท (1,500 กิโลกรัม) เปนตน ซึ่งรายจายโดยรวมตอการทํานาเกลือในหน่ึงฤดูกาลรวมแสนบาท

ในสวนของภาระหนี้สิน ในรายที่มีภาระหนี้สิน จากการสัมภาษณพบวา เกิดจากการลงทุนในการทําการเกษตร โดยมีแหลงเงินกูที่สําคัญ คือ กลุมออมทรัพยและธนาคารพาณิชย ในสวนของเงินออม มีการออมเงินในกลุมออมทรัพยและธนาคารพาณิชยเชนกัน โดยในรายท่ีไมมีเงินออมเน่ืองจากใชเปนทุนหมุนเวียนในการทําการเกษตร ในสวนของการถือครองท่ีดิน พบวาสวนใหญเปนจาของท่ีดิน ในรายท่ีเปนเจาของสวนมะพราวตาล มีกรรมสิทธิ์ที่ดินจํานวน 6 ไร และพบวามีการ

Page 97: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

85

เชาพ้ืนท่ีในการทําการเกษตรสําหรับการทําสวนมะพราวตาล และการเชาพ้ืนที่ทํานาเกลือ ซึ่งสามารถชําระคาเชาไดทั้งในรูปของเงินหรือผลผลิต โดยคาเชาท่ีดินในการทําสวนมะพราวตาล พื้นที่ 7 ไร มีอัตราคาเชา 5,000 บาทตอป สวนคาเชาที่ดินในการทํานาเกลือจะเปนเงินหรือผลผลิตข้ึนอยูกับขอตกลงและปริมาณผลผลิตท่ีเก็บไดในแตละฤดูกาล จากการสัมภาษณเกษตรกรมักจะจายคาเชาเปนเกลือจํานวน 23 เกวียนตอป

ภาพที่ 13 การทํานาเกลือในข้ันตอนโกยเกลือและขนเขายุง

3.ดานสังคม จากการสัมภาษณผูใหขอมูลซึ่งเปนชาวบานท่ีอาศัยในพื้นที่ตําบลลาดใหญ ในดานสังคม พบวา ในครัวเรือนหน่ึงมีจํานวนสมาชิกที่อาศัยอยูรวมกันจํานวนต้ังแต 2 - 5 คน สมาชิกที่อาศัยอยูรวมกันในครัวเรือนสวนใหญเปนเด็กและผูสูงอายุ โดยพบวาคนวัยหนุมสาวจะทํางานหรือศึกษาตอตามเมืองใหญตาง ๆ ในสวนของระดับการศึกษาเฉพาะระดับการศึกษาของหัวหนาครัวเรือน

พบท้ังไมไดเรียน จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษา จนถึงจบการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือนเปนแบบเครือญาติ อาศัยอยูรวมกันในครัวเรือน พบวาสมาชิกในครัวเรือนมีการรวมกลุมในชุมชน ไดแก กลุมออมทรัพย กลุมสตรีตาง ๆ กลุมสหกรณนาเกลือ และมีที่ไมไดเปนสมาชิกกลุมใด ดานการมีสวนรวมในชุมชนจากการรวมกลุม พบวามีการดําเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงคของการการจัดต้ังกลุม มีการรวมประชุมเพ่ือจัดสรรผลประโยชน และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดข้ึน ในสวนของความขัดแยง พบวาผูนําชุมชนมีมุมมองวามีความขัดแยงในเร่ืองผลประโยชนในกลุมตาง ๆ สวนชาวบานมองวาไมมีปญญาขัดแยง ใด ๆ ภายในกลุม สวนความเขมแข็งของชุมชนจากการรวมกลุม พบวาในกลุมตาง ๆ มีการประชุมหารือกันตามกําหนดการ และยังพบวามีปญหาท่ีเกิดจากการรวมกลุมแบบชั่วคราวตามนโยบายและงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ อาทิ กลุมแมบาน กลุมวิสาหกิจชุมชนตาง ๆ เมื่อขาดการสนับสนุนอยางตอเน่ือง หลายกลุมจึงตองลมเลิกการดําเนินกิจกรรมของกลุมไปในที่สุด

Page 98: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

86

4.ดานวัฒนธรรม ตําบลลาดใหญ มีประเพณีประจําทองถิ่นตามแบบประเพณีนิยมของไทย ทั้งประเพณีในงานมงคล ไดแก การทําบุญในโอกาสตาง ๆ เพื่อความเปนสิริมงคล เชน การทําบุญขึ้นบานใหม การแตงงาน เปนตน และงานอวมงคล ไดแก การทําบุญเก่ียวกับการตาย เชน การทําบุญหนาศพ

การทําบุญอัฐิบรรพบุรุษ เปนตน รวมถึงเทศกาลงานประเพณีของไทย เชน ตรุษสงกรานต ลอยกระทง วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เปนตน ดานความเชื่อและพิธีกรรมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ พบวามีการต้ังศาลในสวนมะพราว เพื่อความสงบรมเย็น ความเปนสิริมงคล และใหพืชผลเจริญงอกงาม สวนพิธีกรรมในนาเกลือท่ีพบ ไดแก การไหวเจาท่ีในนาเกลือ พิธีแรกนาเกลือ พิธีทําขวัญนาเกลือ และพิธีเปดยุงนาเกลือ เปนพิธีเพื่อความเปนสิริมงคลและใหไดผลผลิตดี ในดานภูมิปญญาของทองถิ่น คือ ภูมิปญญาในการขึ้นตาล (มะพราว) การทํานํ้าตาลมะพราว และการทํานาเกลือ ซึ่งถือเปนภูมิปญญาเฉพาะถิ่นที่ตองอาศัยความรูความชํานาญอยางมาก ในดานศิลปกรรมของทองถิ่นท่ีเปนเอกลักษณ ยังคงพบศิลปกรรมแบบบานทรงไทยอยูบาง แตสวนใหญจะเปนบานท่ีสรางตามแบบสมัยนิยม เชน บานที่สรางจากคอนกรีต อาคารพาณิชยตาง ๆ เปนตน

ภาพที่ 14 การตั้งศาลในสวนมะพราว และศิลปกรรมแบบบานทรงไทยที่ยังมีใหพบเห็นอยูบาง

Page 99: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

87

2.2 ตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา 2.2.1 ขอมูลพ้ืนฐาน ตําบลสวนหลวง ตั้งอยูในอําเภออําเภออัมพวา มีพื้นท่ีประมาณ 4,026.5 ไร ภูมิประเทศสวนใหญเปนพ้ืนที่ราบลุม มีแมน้ําลําคลองกระจายท่ัวพื้นที่ และเปนเขตนํ้ากรอย (น้ําทะเลผสมกับน้ําจืด สามารถพบไดตามปากอาวแมน้ําออกทะเล) ตําบลสวนหลวง มีอาณาเขตติดตอกับตําบล ตาง ๆ โดยทิศเหนือ ติดตอกับตําบลบางแค และตําบลแควออม อําเภออัมพวา ทิศตะวันออก ติดตอกับแมน้ําแมกลอง ทิศตะวันตก ติดตอกับตําบลบางนางลี่ อําเภออัมพวา และทิศใต ติดตอกับตําบลปลายโพงพาง อําเภออัมพวา และตําบลบางขันแตก อําเภอเมืองสมุทรสงคราม (ดังภาพท่ี 16) ตําบลสวนหลวง มีจํานวนประชากรรวม 5,402 คน ชาย 2,569 คน หญิง 2,833 คน ประกอบดวย 15 หมูบาน 1,467

ครัวเรือน (กรมการปกครอง, 2555) ในความดูแลของเทศบาลตําบลสวนหลวง อาชีพของประชาชนในตําบลสวนหลวง สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม ไดแก การทําสวนมะพราวตาล ลิ้นจ่ี สมโอ ผลิตผลที่สําคัญของตําบล ไดแก สมโอ ลิ้นจี่ น้ําตาลมะพราว มะพราวขาว และขนมไทย (เทศบาลตําบลสวนหลวง, 2556)

ภาพที่ 15 สภาพพื้นที่ทั่วไปของตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา

Page 100: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

88

ภาพท่ี 16 พื้นที่ศึกษา ตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

Page 101: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

89

ตารางที่ 26 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลสวนหลวง

อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน อยางเปนทางการ

ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

1.ดานกายภาพ 1.1 การใชประโยชนที่ดิน (กอน พ.ศ.2549)

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว สมโอ ลิ้นจี่ และเปนชุมชนที่อาศัย

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว สมโอ ลิ้นจี่ และเปนชุมชนที่อาศัย

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว สมโอ ลิ้นจี่ และเปนชุมชนที่อาศัย

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว สมโอลิ้นจี่ และเปนชุมชนที่อาศัย

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว สมโอ ลิ้นจี ่และเปนชุมชนที่อาศัย

การใชประโยชนที่ดิน กอน พ.ศ.2549 เปนพื้นที่เกษตรกรรม คือ การเพาะ

ปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว สมโอลิ้นจี่ และเปนชุมชนที่อาศัย

1.2 การใชประโยชนที่ดิน (พ.ศ.2549 เปนตนมา)

การเพาะปลูกพืชสวน ที่อยูอาศัยและการเพิ่มขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและ

โฮมสเตย

การเพาะปลูกพืชสวน ที่อยูอาศัย และการเพิ่มขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและโฮมสเตย

การเพาะปลูกพืชสวน ที่อยูอาศัย และการเพิ่มขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและโฮมสเตย

การเพาะปลูกพืชสวน ที่อยูอาศัย และการเพิ่มขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและ

โฮมสเตย

การเพาะปลูกพืชสวน ที่อยูอาศัย และการเพิ่มขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและ โฮมสเตย

การใชประโยชนที่ดิน พ.ศ.2549 เปนตนมา ยังคงเปนพื้นที่เกษตรกรรม คือ การเพาะปลูกพืชสวน และชุมชนที่อยูอาศัย แตมีการเพิ่มขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและโฮมสเตย

1.3 นโยบายการใชประโยชนที่ดินในอนาคต

สงเสริมการใชพื้นที่ในการทําการเกษตร และรองรับการขยายตัวจากการทองเที่ยว

Page 102: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

90

ตารางที่ 26 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลสวนหลวง

อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (ตอ)

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน อยางเปนทางการ

ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

2.ดานเศรษฐกิจ 2.1 อาชีพ

สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม เปนผูประกอบการที่พัก และมีอาชีพคาขายเปนอาชีพเสริม

อาชีพเกษตรกรทําน้ําตาลมะพราว

อาชีพเกษตรกรสวนสมโอ อาชีพหลัก คือ ผูประกอบ

การที่พัก อาชีพเสริม คือ เกษตรกรสวนมะพราว

อาชีพหลัก คือ ผูประกอบ

การที่พัก อาชีพเสริม คือ คาขาย

อาชีพหลัก คือ เกษตรกร และผู ประกอบการที่พัก อาชีพเสริม คือ คาขาย

2.2 รายได

จากการทําเกษตรกรรมและการเปนผูประกอบการที่พัก

จากการเกษตร คือ ทําน้ําตาลมะพราว

จากการเกษตร คือ สมโอ จากกิจการที่พัก และจากการเกษตร คือ มะพราว

จากกิจการที่พัก และจากการคาขาย คือรานชํา

จากเกษตรกรรม ไดแก มะพราว สมโอ จากกิจการที่พัก และจากอาชีพคาขาย

2.3 รายจาย

รายจายในชีวิตประจําวัน และจากการหมุนเวียนเงินในการทําการ

เกษตรและกิจการที่พัก

รายจายในชีวิตประจําวัน

และการลงทุนทําการเกษตร รายจายในชีวิตประจําวัน

และการลงทุนทําการเกษตร รายจายในชีวิตประจําวันจากกิจการที่พัก และการลงทุนทําการเกษตร

รายจายในชีวิตประจําวัน

จากกิจการที่พัก และการลงทุนคาขาย

รายจายในชีวิตประจําวัน และจากการหมุนเวียนเงินในการลงทุนทําการเกษตร กิจการที่พัก และการลงทุนคาขาย

2.4 ภาระหนี้สิน

จากการลงทุนในการทําการเกษตรและกิจการที่พัก โดยมีแหลงเงินกูสําคัญ คือ กลุมออมทรัพย และธนาคารพาณิชย

ไมมภีาระหนี้สิน

ไมมภีาระหนี้สิน

ไมมภีาระหนี้สิน

จากการลงทุนทําที่พัก โดยกูยืมเงินจากธนาคารพาณิชย

จากการลงทุนในการทําการเกษตรและกิจการที่พัก จากแหลงเงินกู คือ

กลุมออมทรัพยและธนาคารพาณิชย

2.5 การออม

มีการออมในกลุมออมทรัพย และธนาคารพาณิชย

มีเงินออมในธนาคารพาณิชย

มีเงินออมในธนาคารพาณิชย

มีเงินออมในธนาคารพาณิชย

มีเงินออมในธนาคารพาณิชย

มีการออมเงินในกลุมออมทรัพย และธนาคารพาณิชย

2.6 การถือครองที่ดิน สวนใหญเปนจาของที่ดิน เปนเจาของที่ดิน เปนเจาของที่ดิน เปนเจาของที่ดิน เปนเจาของที่ดิน สวนใหญเปนจาของที่ดิน

Page 103: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

91

ตารางที่ 26 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลสวนหลวง

อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (ตอ)

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน อยางเปนทางการ

ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

3.ดานสังคม 3.1 จํานวนสมาชิก 2-3 คน 2 คน 2 คน 7 คน 4 คน 2-7 คน

3.2 ระดับการศึกษา (หัวหนาครัวเรือน)

ปริญญาบัณฑิต ชั้นประถมศึกษาปที่ 7

ชั้นประถมศึกษาปที่ 4

ปริญญามหาบัณฑิต

ปริญญาบัณฑิต หัวหนาครัวเรือน มีทั้งจบการศึกษาชั้นประถมศึกษา และระดับปริญญาบัณฑิต

3.3 ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือน

เครือญาติ เครือญาติ เครือญาติ เครือญาติ เครือญาติ ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือนเปนแบบเครือญาติ

3.4 การรวมกลุมในชุมชน

โดยมีการรวมกลุม เชน กลุมทําขนมหวาน กลุมน้ําตาลมะพราว กลุมออมทรัพย กลุมสตรีตาง ๆ และกลุมเกษตร

กลุมเกษตรกรชาวน้ําตาล กลุมเกษตรตําบลสวนหลวง กลุมเกษตรตําบลสวนหลวง ไมไดเปนสมาชิกกลุมใด มีการรวมกลุมในกลุมทําขนมหวาน กลุมน้ําตาลมะพราว กลุมออมทรัพย กลุมสตรีตาง ๆ กลุมเกษตร และมีที่ไมไดเปนสมาชิกกลุมใด

3.5 การมีสวนรวมในชุมชน

การรวมกิจกรรม การประชุมเพื่อจัดสรรผลประโยชนและแกปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในกลุม

เปนสมาชิกกลุม รวมประชุมแลกเปลี่ยนความคดิเห็นและแกไขปญหาตาง ๆ

เปนสมาชิกกลุมรวมประชุมแลกเปลี่ยนความคดิเห็นและแกไขปญหาตาง ๆ

เปนสมาชิกกลุมรวมประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแกปญหาตาง ๆ

ไมมีสวนรวมในกลุมใด มีสวนรวมในชุมชนจากการรวม

กลุม และรวมประชุมจดัสรรผลประโยชนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อแกไขปญหาตาง ๆ

3.6 ความขัดแยงในชุมชน

มีความขดัแยงเรื่องผลประโยชนในกลุมตาง ๆ

ไมมีปญหาความขดัแยง

ไมมีปญหาความขดัแยง

ไมมีปญหาความขดัแยง ไมมีปญหาความขดัแยง

ผูนําชุมชนมีมุมมองวามีความขัดแยงในเรื่องผลประโยชนในกลุมตาง ๆ สวนชาวบานมองวาไมมีปญญาขัดแยงใด ๆ ภายในกลุม

3.7 ความเขมแข็งของชุมชน

การรวมกลุมเปนแบบชั่วคราวตามนโยบายและงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ อาทิ กลุมแมบาน กลุมวิสาหกิจชุมชนตาง ๆ

มีการรวมประชุมหารือตามกําหนดการ

มีการประชุมเดือนละ 1 ครั้ง มีจํานวนสมาชิกกวา 60 ราย

มีการรวมประชุมหารือตามกําหนดการ

ไมมีสวนรวมในกลุมใด การรวมกลุมเปนแบบชั่วคราวตามนโยบายและงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ และการประชุมหารือกันตามกําหนดการ

Page 104: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

92

ตารางที่ 26 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (ตอ)

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน อยางเปนทางการ

ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

4.ดานวัฒนธรรม 4.1 ประเพณีประจําทองถิ่น

ลอยกระทงสายกาบกลวย และประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ลอยกระทงสายกาบกลวย และประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ลอยกระทงสายกาบกลวย และประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ลอยกระทงสายกาบกลวย และประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ลอยกระทงสายกาบกลวย และประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ลอยกระทงสายกาบกลวย และประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

4.2 ความเชื่อ/พิธีกรรมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ

ความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป การตั้งศาลในสวนมะพราว

ความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป ความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป ความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป การตั้งศาลในสวนมะพราว และความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป

4.3 ภูมิปญญาของทองถิ่น

การทําน้ําตาลมะพราว และขนมไทย

การทําน้ําตาลมะพราว การทําน้ําตาลมะพราว การทําน้ําตาลมะพราว การทําน้ําตาลมะพราว การทําน้ําตาลมะพราว และขนมไทย

4.4 ศิลปกรรมของทองถิ่นที่เปนเอกลักษณ

เรือนแถวริมน้ํา เรือนแถวริมน้ํา เรือนแถวริมน้ํา เรือนแถวริมน้ํา เรือนแถวริมน้ํา เรือนแถวริมน้ํา

Page 105: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

93

2.2.2 การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา จากตารางท่ี 26 สามารถสรุปผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา 4 ดาน ไดแก ดานกายภาพ ดานเศรษฐกิจ ดานสังคม และดานวัฒนธรรม ดังนี้ 1.ดานกายภาพ จากการสัมภาษณนายกเทศมนตรีตําบลสวนหลวง พบวา การใชประโยชนที่ดินของตําบลสวนหลวง กอน พ.ศ.2549 ตําบลสวนหลวงสวนใหญเปนพ้ืนที่เกษตรกรรมเพ่ือการเพาะปลูกพืชสวนที่สําคัญ คือ มะพราวตาล สมโอ ลิ้นจี ่และเปนชุมชนที่อาศัย การใชประโยชนที่ดินของตําบลสวนหลวง พ.ศ.2549 เปนตนมา พบวา ตําบลสวนหลวงสวนใหญยังคงเปนพ้ืนที่เกษตรกรรมเพ่ือการเพาะปลูกพืชสวนที่สําคัญเชนเดิม คือ มะพราวตาล สมโอ ลิ้นจี่ และชุมชนที่อยูอาศัย แตมีการเพ่ิมขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและโฮมสเตย จากการรวบรวมขอมูลของเทศบาลตําบลสวนหลวงพบวามีที่พักในเชิงพาณิชยประเภทตาง ๆ มากวา 30

แหงกระจายอยูในตําบลสวนหลวง นโยบายการใชประโยชนที่ดินในอนาคต ในสวนของเทศบาลตําบลสวนหลวง ในฐานะหนวยงานท่ีกํากับดูแลในพ้ืนที่ตําบลสวนหลวง มีนโยบายในการใชประโยชนที่ดินในอนาคตโดยสงเสริมการใชพื้นที่ในการทําการเกษตร โดยเฉพาะเกษตรปลอดสารพิษ เนื่องจากสภาพดินของตําบลสวนหลวงมีความอุดมสมบูรณ ประกอบกับมีลําคลองมากมายกระจายท่ัวพื้นท่ี ทําใหมีความชุมช้ืน สามารถเพาะปลูกพืชสวนไดผลผลิตดี โดยมุงสงเสริมใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงเกษตร รวมถึงความพยายามในการกําหนดนโยบายในการรองรับการเปลี่ยนแปลงของพ้ืนที่จากการเพ่ิมข้ึนของท่ีพักเชิงพาณิชยที่เปนผลมาจากการขยายตัวของการทองเที่ยว โดยเฉพาะการทองเที่ยวตลาดนํ้าอัมพวา โดยพยายามควบคุมดูแลการประกอบกิจการท่ีพักเชิงพาณิชยตาง ๆ และสงวนพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณไวสําหรับทําการเกษตร

2.ดานเศรษฐกิจ จากการสัมภาษณผูใหขอมูลซึ่งเปนชาวบานท่ีอาศัยในพื้นท่ีตําบลสวนหลวง พบวา สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม และเปนผูประกอบการที่พัก เปนอาชีพหลัก และพบวามีอาชีพเสริม คือ อาชีพคาขายประเภทรานชํา และอาชีพเกษตรกรรม

ในสวนของรายไดจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม พบวา เกษตรกรมีรายไดจากการปลูกมะพราวตาลเพ่ือทํานํ้าตาลมะพราว และสวนสมโอ ในรายท่ีมีรายไดจากการปลูกมะพราวตาลท้ังท่ีเปนอาชีพหลักและอาชีพเสริม เกษตรกรจะมีรายไดจากการจําหนายนํ้าตาลใสใหแกเตาตาลเพ่ือนําไปเค่ียวเปนนํ้าตาลปบตอไป ในราคากิโลกรัมละ 40 บาท หรือตามการข้ึนลงของราคาในทองตลาด ซึ่งเกษตรกรสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดตลอดป แตจะไดผลผลิตมากท่ีสุดในชวงเดือนมีนาคมถึงเมษายน และพบวาปจจุบันเกษตรกรหลายรายไมนิยมเคี่ยวตาลเอง เนื่องจากมีขั้นตอนมาก ใช

Page 106: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

94

ระยะเวลา 4 - 5 ชั่วโมงตอการเค่ียวน้ําตาลแตละคร้ัง ไมคุมคาเหนื่อยและการลงทุน โดยเตาตาลท่ียังคงมีกิจกรรมการเค่ียวน้ําตาลมะพราวในตําบลสวนหลวงเหลือเพียง 10 แหงเทาน้ัน และมีเตาตาลหลายแหงไดปรับเปลี่ยนเปนศูนยเรียนรูและแหลงทองเท่ียวเชิงเกษตรเกี่ยวกับการทํานํ้าตาลมะพราว เพื่อเปนการเผยแพรความรูและเปนการอนุรักษวิถีชีวิตการทําการเกษตรแบบดั้งเดิม ตามการสนับสนุนของเทศบาลตําบลสวนหลวง สวนรายไดจากการทําสวนสมโอ ซึ่งเปนสมโอพันธุขาวใหญ สายพันธุที่มีชื่อเสียงของจังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดตลอดป แตจะใหผลผลิตดีในชวงเดือนสิงหาคมถึงธันวาคม จําหนายในราคากิโลกรัมละ 25 – 30 บาท หรือตามการข้ึนลงของราคาในทองตลาด

ในสวนของรายไดจากกิจการที่พัก จากการสัมภาษณผูประกอบการที่พักพบวา อัตราคาท่ีพักอยูที่ 500 – 1,000 บาทตอคืนตอหอง ซึ่งพบวามีจํานวนหองพักอยูที่ 7 – 10 หอง หรือตามแตประเภทของที่พัก โดยในวันหยุดเสาร – อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ หองพักจะถูกจองเต็มทุกหอง รายไดเฉลี่ยเฉพาะวันหยุดเสาร – อาทิตย จึงอยูที่ประมาณ 5,000 – 10,000 บาท สวนรายไดจากอาชีพคาขาย คือ รานชําในทองถิ่น พบวามีรายไดประมาณ 3,000 – 5,000 บาทตอวัน แตรายไดจะถูกหมุนเวียนเปนทุนในการคาขายในแตละวัน

ภาพท่ี 17 ที่พักเชิงพาณิชยรูปแบบตาง ๆ ที่มีมากมายในตําบลสวนหลวง

Page 107: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

95

ในสวนของรายจาย นอกจากรายจายในชีวิตประจําวันแลว พบวาสวนใหญเปนรายจายที่เกิดจากการหมุนเวียนเงินเพ่ือเปนตนทุนในการทําการเกษตร การดําเนินกิจการที่พัก และการลงทุนคาขาย โดยเกษตรกรที่ปลูกมะพราวตาลจะมีรายจายในการบํารุงรักษาสวนมะพราว เชน ปุย ยาปองกันโรคและแมลงตาง ๆ เปนตน เกษตรกรที่มีอาชีพเก็บนํ้าตาลใส หรือปนตาล จะมีรายจายเกี่ยวกับอุปกรณที่จําเปนในการเก็บเกี่ยวผลผลิต อาทิ มีดปาดตาล พะองสําหรับปนเก็บตาล กระบอกรองตาล เปลือกไมพะยอมหรือไมเค่ียมเพ่ือปองกันการบูดของตาล กระชอนกรองน้ําตาลสด เปนตน ขณะท่ีการทําสวนสมโอไมจําเปนตองใชอุปกรณใด ๆ มากนัก เพียงแตตองดูแลรักษาและปองกันโรค แมลง และวัชพืชตาง ๆ และมีคาใชจายเฉพาะชวงเร่ิมตนในการลงทุนทําสวนสมโอ อาทิ การขุดยกรองสวน การซื้อพันธุสมโอมาปลูก เปนตน สวนรายจายในการดําเนินกิจการที่พัก นอกจากการลงทุนในการสรางที่พักซึ่งอยูในหลักแสนถึงหลักลานบาทแลว รายจายท่ีสําคัญของกิจการที่พัก คือ รายจายดานสาธารณูปโภค ไดแก คานํ้าประปา คาไฟฟา คาอาหาร คาซักลางทําความสะอาด และคาจางแรงงาน โดยเปนไปตามอัตราคาแรงข้ันต่ําท่ีรัฐบาลกําหนด คือ 300 บาทตอวัน รวมถึงคาซอมแซมตาง ๆ รวมรายจายของการประกอบกิจการที่พัก ประมาณ 5,000 – 10,000 บาทตอเดือน

ในสวนของภาระหนี้สิน ในรายท่ีมีภาระหนี้สิน พบวาเกิดจากการลงทุนในการทําการเกษตรและกิจการท่ีพัก โดยมีแหลงเงินกูที่สําคัญ คือ กลุมออมทรัพยและธนาคารพาณิชย จากการสัมภาษณพบวาสวนใหญไมมีภาระหนี้สิน มีเพียงผูประกอบการที่พักบางรายเทานั้นที่มีการกูยืมเงินจากธนาคารพาณิชยเพื่อซื้อที่ดินและจัดสรางท่ีพัก ในสวนของเงินออม พบวาสวนใหญมีการออมเงินในธนาคารพาณิชย ในสวนของการถือครองท่ีดิน พบวาสวนใหญเปนเจาของท่ีดิน โดยเกษตรกรที่ปลูกมะพราวตาลมีกรรมสิทธิ์ที่ดินจํานวน 10 ไร เกษตรกรท่ีทําสวนสมโอมีกรรมสิทธิ์ที่ดินจํานวน 4

ไร สวนผูประกอบการที่พักมีกรรมสิทธิ์ที่ดินประมาณ 3 - 5 ไร 3.ดานสังคม จากการสัมภาษณผูใหขอมูลซึ่งเปนชาวบานท่ีอาศัยในพื้นท่ีตําบลสวนหลวงในดานสังคม พบวา ในครัวเรือนหน่ึงมีจํานวนสมาชิกที่อาศัยอยูรวมกันจํานวนต้ังแต 2 - 7 คน สมาชิกที่อาศัยอยูรวมกันในครัวเรือนสวนใหญเปนเด็กและผูสูงอายุ โดยพบวาคนวัยหนุมสาวจะทํางานหรือศึกษาตอตามเมืองใหญตาง ๆ ในสวนของระดับการศึกษาเฉพาะระดับการศึกษาของหัวหนาครัวเรือน

พบวามีทั้งจบการศึกษาช้ันประถมศึกษา และระดับปริญญาบัณฑิต ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือนเปนแบบเครือญาติ อาศัยอยูรวมกันในครัวเรือน พบวาสมาชิกในครัวเรือนมีการรวมกลุมในชุมชน ไดแก กลุมทําขนมไทย กลุมเกษตรกรชาวน้ําตาล กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กลุมเกษตรตําบลสวนหลวง และกลุมสตรีตาง ๆ และมีที่ไมไดเปนสมาชิกกลุมใด ดานการมีสวนรวมในชุมชนจากการรวมกลุม พบวามีการดําเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงคของการการจัดต้ังกลุม การรวมประชุมเพ่ือจัดสรรผลประโยชน และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดข้ึน ในสวนของความขัดแยง พบวาผูนําชุมชนมีมุมมองวามีความขัดแยงในเร่ืองผลประโยชนในกลุมตาง ๆ สวน

Page 108: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

96

ชาวบานมองวาไมมีปญญาขัดแยงใด ๆ ภายในกลุม สวนความเขมแข็งของชุมชนจากการรวมกลุม พบวามีปญหาท่ีเกิดจากการรวมกลุมแบบช่ัวคราวตามนโยบายและงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ อาทิ กลุมแมบาน กลุมวิสาหกิจชุมชนตาง ๆ เมื่อขาดการสนับสนุนอยางตอเน่ือง หลายกลุมจึงตองลมเลิกการดําเนินกิจกรรมของกลุมไปในที่สุด

4.ดานวัฒนธรรม ตําบลสวนหลวง มีประเพณีประจําทองถิ่นตามแบบประเพณีนิยมของไทย ทั้งประเพณีในงานมงคล ไดแก การทําบุญในโอกาสตาง ๆ เพื่อความเปนสิริมงคล เชน การทําบุญขึ้นบานใหม การแตงงาน เปนตน และงานอวมงคล ไดแก การทําบุญเก่ียวกับการตาย เชน การทําบุญหนาศพ

การทําบุญอัฐิบรรพบุรุษ เปนตน รวมถึงเทศกาลงานประเพณีของไทย เชน ตรุษสงกรานต ลอยกระทง วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เปนตน ในสวนของตําบลสวนหลวงมีประเพณีทองถิ่นที่เปนเอกลักษณ คือ ประเพณีลอยกระทงสายกาบกลวย ณ วัดภุมรินทรกุฎีทอง ในเทศกาลวันลอยกระทงของทุกป ในดานความเช่ือและพิธีกรรมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ พบวามีการต้ังศาลในสวนมะพราว เพื่อความสงบรมเย็น ความเปนสิริมงคล และใหพืชผลเจริญงอกงาม ในดานภูมิปญญาของทองถิ่น พบวามีภูมิปญญาในการทํานํ้าตาลมะพราว และการทําขนมไทย เชน จามงกุฎ สัมปนนี ทองมวน กะละแม เปนตน สวนดานศิลปกรรมของทองถิ่นที่เปนเอกลักษณ คือ เรือนแถวริมนํ้า และสิ่งกอสรางตามแบบสมัยนิยม โดยเฉพาะกิจการท่ีพักตาง ๆ ที่มีรูปแบบการกอสรางท้ังแบบท่ีเปนศิลปกรรมแบบไทย และรูปแบบที่เนนรูปทรงที่ทันสมัยตามแบบสากล

ภาพที่ 18 ประเพณีลอยกระทงสายกาบกลวย ณ วัดภุมรินทรกุฎีทอง

ที่มา: ผูจัดการออนไลน. (2555). ตื่นตาตื่นใจกระทงกวาสองแสนใบในงาน “ลอยกระทงกาบกลวยเมือง

แมกลอง” จ.สมุทรสงคราม. เขาถึงเมื่อ 19 กันยายน 2556. เขาถึงไดจาก http://www.manager.co.th/travel/

Page 109: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

97

2.3 ตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที 2.3.1 ขอมูลพ้ืนฐาน ตําบลกระดังงา ตั้งอยูในอําเภอบางคนที โดยมีพื้นท่ีประมาณ 2,812 ไร ภูมิประเทศสวนใหญเปนเปนที่ราบลุม มีแมน้ําไหลผาน มีลําคลองจํานวนมาก และเปนเขตนํ้าจืด ตําบลกระดังงา มีอาณาเขตติดตอกับตําบลตาง ๆ โดยทิศเหนือ ติดตอกับตําบลยายแพง และตําบลบางคนที อําเภอบางคนที ทิศตะวันออก ติดตอกับตําบลยายแพง และตําบลจอมปลวก อําเภอบางคนที ทิศตะวันตก ติดตอกับตําบลโรงหีบ และตําบลบางกุง อําเภอบางคนที และทิศใต ติดตอกับตําบลบางพรม และตําบลบางกระบือ อําเภอบางคนที (ดังภาพที่ 20) ตําบลกระดังงา มีจํานวนประชากรรวม 3,398 คน ชาย 1,641 คน หญิง 1,757 คน ประกอบดวย 12 หมูบาน 1,048 ครัวเรือน (กรมการปกครอง, 2555) ในความดูแลขององคการบริหารสวนตําบลกระดังงา อาชีพของประชาชนในตําบลกระดังงา สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม ไดแก การทําสวนมะพราว ลิ้นจี่ สมโอ และกลวย มี อุตสาหกรรมในครัวเรือน ไดแก การเย็บกระทงใบตองแหง หลอมนํ้าตาลมะพราว อาชีพคาขายและทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดใกลเคียง รวมถึงอาชีพที่เกี่ยวของกับการทองเท่ียว ไดแก ผูประกอบการท่ีพักโฮมสเตยและรีสอรท ผลิตผลท่ีสําคัญของตําบล ไดแก มะพราว ลิ้นจ่ี และสมโอ (องคการบริการสวนตําบลกระดังงา, 2556) ภาพที่ 19 สภาพพื้นที่ทั่วไปของตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที

Page 110: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

98

ภาพท่ี 20 พื้นที่ศึกษา ตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

Page 111: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

99

ตารางที่ 27 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน อยางเปนทางการ

ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

1.ดานกายภาพ 1.1 การใชประโยชนที่ดิน (กอน พ.ศ.2549)

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว สมโอ ลิ้นจี่ กลวย และชุมชนที่อยูอาศัย

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว สมโอ ลิ้นจี่ กลวย

และชุมชนที่อยูอาศัย

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว สมโอ ลิ้นจี่ กลวย พลู และชุมชนที่อยูอาศัย

การเพาะปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว ลิ้นจี่ และชุมชนที่อยูอาศัย

การเพาะปลูกพืชสวน และชุมชนที่อยูอาศัยริมน้ํา

การใชประโยชนที่ดิน กอน พ.ศ.2549 เปนพื้นที่เกษตรกรรม คือ การเพาะ

ปลูกพืชสวน ไดแก มะพราว สมโอ ลิ้นจี่ กลวย และพลู และชมุชนที่อยูอาศัย และชุมชนที่อยูอาศยัริมน้ํา

1.2 การใชประโยชนที่ดิน (พ.ศ.2549 เปนตนมา)

การเพาะปลูกพืชสวน ชุมชนที่อยูอาศัย และการเพิ่มขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและ

โฮมสเตย

การเพาะปลูกพืชสวน ชุมชนที่อยูอาศัย และการเพิ่มขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและโฮมสเตย

การเพาะปลูกพืชสวน ชุมชนที่อยูอาศัย และการเพิ่มขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและโฮมสเตย

การเพาะปลูกพืชสวน ชุมชนที่อยูอาศัย และการเพิ่มขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรท

และโฮมสเตย

การเพาะปลูกพืชสวน การเพิ่มขึ้นของที่อยูอาศัยตดิถนน และการเพิ่มขึ้นของที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและโฮมสเตย

การใชประโยชนที่ดิน พ.ศ.2549 เปนตนมา ยังคงเปนพื้นที่เกษตรกรรม คือ การเพาะปลูกพืชสวน และชุมชนที่อยูอาศัย แตมีการเพิ่มขึ้นของที่พัก ไดแก รีสอรทและโฮมสเตย รวมถึงการเปลี่ยนแปลงจากที่อยูอาศัยริมน้ําเปนที่อยูอาศัยติดถนนหรือเสนทางคมนาคมทางบก

1.3 นโยบายการใชประ- โยชนที่ดินในอนาคต

จัดสรรพื้นที่ตามความเหมาะสม และรอบรับกการขยายตัวจากการทองเที่ยว

Page 112: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

100

ตารางที่ 27 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม (ตอ)

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน อยางเปนทางการ

ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

2.ดานเศรษฐกิจ 2.1 อาชีพ

สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม เปนผูประกอบการที่พัก และมีอาชีพคาขายเปนอาชีพเสริม

อาชีพหลัก คือ ผูรับเหมา กอสราง อาชีพเสริม คือผูประกอบการที่พัก

อาชีพหลัก คือ เกษตรกรอาชีพเสริม คือ ผูประกอบ

การที่พัก

อาชีพหลัก คือเกษตรกร อาชีพเสริม คือ รับจาง

อาชีพคาขาย คือ รานจําหนายยา

อาชีพหลัก คือ ผูรับเหมากอสราง เกษตรกร และคาขาย อาชีพเสริม คือ เปนผูประกอบการที่พัก และอาชีพคาขาย

2.2 รายได

จากการทําเกษตรกรรมและการเปนผูประกอบการที่พัก

จากอาชีพผูรับหมาฯ และจากกิจการที่พัก

จากการเกษตร คือมะพราว สมโอ และจากกิจการที่พัก

จากการเกษตร คือ มะพราว และรับจาง คือ เหลาไมกลัด และเย็บกระทง

จากการคาขายในตลาดน้ําบางนอย

จากอาชีพหลัก คือ เกษตรกรรมไดแกมะพราว และสมโอ และอาชีพอื่น ๆ คือ ผูรับหมาฯ คาขาย และจากอาชีพเสริม คือ รับจาง และกิจการที่พัก

2.3 รายจาย

รายจายในชีวิตประจําวัน และจากการหมุนเวียนเงินในการทําการ

เกษตรและกิจการที่พัก

รายจายในชีวิตประจําวัน

และจากกิจการที่พัก รายจายในชีวิตประจําวัน

และจากกิจการที่พัก รายจายในชีวิตประจําวันและจากการเกษตร

รายจายในชีวิตประจําวัน

และการลงทุนคาขาย รายจายในชีวิตประจําวัน และจากการหมุนเวียนเงินในการทําการเกษตร

กิจการที่พัก และการลงทุนคาขาย

2.4 ภาระหนี้สิน

จากการลงทุนในการทําการเกษตรและกิจการที่พัก โดยมีแหลงเงินกูสําคัญ คือ กลุมออมทรัพย

ไมมภีาระหนี้สิน

จากการลงทุนทําที่พัก โดยกูยืมเงินจากธนาคารพาณิชย

จากการลงทุนทําการ

เกษตร โดยกูยืมเงินจากกลุมออมทรัพย

ไมมภีาระหนี้สิน จากการลงทุนในการทําการเกษตรและกิจการที่พัก จากแหลงเงินกู คือ

กลุมออมทรัพยและธนาคารพาณิชย 2.5 การออม

มีการออมในกลุมออมทรัพย

ไมมีเงินออม ใชเปนทุนหมุนเวียนในกิจการผูรับ

เหมาฯ และกิจการที่พัก

ไมมีเงินออม ใชเปนทุนหมุนเวียนทําการเกษตรกิจการที่พัก และชําระหนี้สิน

มีเงินออมในกลุมออมทรัพย

ไมมีเงินออม ใชเปนทุนหมุนเวียนในการคาขาย

มีการออมเงินในกลุมออมทรัพย ในรายที่ไมมีเงินออมเนื่องจากจะใชเปนทุนหมุนเวียนในธุรกิจสวนตัว ทําการเกษตร กิจการที่พัก และการคาขาย

2.6 การถือครองที่ดิน สวนใหญเปนจาของที่ดิน เปนเจาของที่ดิน เปนเจาของที่ดิน เปนเจาของที่ดิน เชาพื้นที่วัด เพื่ออยูอาศัยและคาขาย

สวนใหญเปนจาของที่ดิน และพบการเชาพื้นที่วัด เพื่ออยูอาศัยและคาขาย

Page 113: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

101

ตารางที่ 27 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม (ตอ)

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน อยางเปนทางการ

ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

3.ดานสังคม 3.1 จํานวนสมาชิก 6 คน 2 คน 6 คน 2 คน 3 คน 2-6 คน

3.2 ระดับการศึกษา (หัวหนาครัวเรือน)

ปริญญามหาบัณฑิต ชั้นประถมศึกษาปที่ 4

ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ชั้นประถมศึกษาปที่ 4

ชั้นประถมศึกษาปที่ 4

หัวหนาครัวเรือนสวนใหญสําเร็จการศึกษาชัน้ประถมศึกษาปที่ 4

3.3 ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือน

เครือญาติ เครือญาติ เครือญาติ เครือญาติ เครือญาติ ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือนเปนแบบเครือญาติ

3.4 การรวมกลุมในชุมชน

โดยมีการรวมกลุม เชน กลุมออมทรัพย กลุมสตรีตาง ๆ

กลุมออมทรัพยอินทโชติ ไมไดเปนสมาชิกกลุมใด กลุมออมทรัพยอินทโชติ ไมไดเปนสมาชิกกลุมใด มีการรวมกลุม ในกลุมออมทรัพย กลุมสตรีตาง ๆ และมีที่ไมไดเปนสมาชิกกลุมใด

3.5 การมีสวนรวมในชุมชน

การรวมกิจกรรม การประชุมเพื่อจัดสรรผลประโยชนและแกปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในกลุม

เปนประธานกลุม จัดการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแกไขปญหา ตาง ๆ

ไมมีสวนรวมในกลุมใด เปนสมาชิกกลุม รวมออมเงิน และรวมประชุมแสดงความคิดเห็นตาง ๆ

ไมมีสวนรวมในกลุมใด มีสวนรวมในชุมชนจากการรวม

กลุม และรวมประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อแกไขปญหาตาง ๆ

3.6 ความขัดแยงในชุมชน

มีความขดัแยงเรื่องผลประโยชนในกลุมตาง ๆ บาง แตสามารถแกไขและตกลงรวมกันได

ไมมีปญหาความขดัแยง

ไมมีปญหาความขดัแยง

ไมมีปญหาความขดัแยง ไมมีปญหาความขดัแยง

ผูนําชุมชนมีมุมมองวามีความขัดแยงในเรื่องผลประโยชนในกลุมตาง ๆ บาง แตสามารถแกไขและตกลงรวมกันได สวนชาวบานมองวาไมมีปญญาขัดแยงใด ๆ ภายในกลุม

3.7 ความเขมแข็งของชุมชน

กลุมตาง ๆ มีความเขมแข็งดีและมีแนวโนมที่จะขยายกลุม

จัดการประชุมเดือนละ 1 ครั้ง มีจํานวนสมาชิกกวา 100 ราย และมีแนวโนมเพิ่มจํานวนมากขึ้น

ไมมีสวนรวมในกลุมใด มีการประชุมเดือนละ 1

ครั้ง จํานวนสมาชิกกวา 100

ราย

ไมมีสวนรวมในกลุมใด ในกลุมกลุมออมทรัพย มีการรวมการประชุมในกลุมเดือนละ 1 ครั้งมีจํานวนสมาชิกกวา 100 ราย และมีแนวโนมเพิ่มจํานวนมากขึ้น

Page 114: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

102

ตารางที่ 27 การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม (ตอ)

ความเปลี่ยนแปลง ผูนําชุมชน อยางเปนทางการ

ปราชญชาวบาน/ ผูสูงอายุในชุมชน ชาวบาน 1 ชาวบาน 2 ชาวบาน 3 สรุป

4.ดานวัฒนธรรม 4.1 ประเพณีประจําทองถิ่น

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ประเพณีในเทศกาลตาง ๆ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

4.2 ความเชื่อ/พิธีกรรมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ

ความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป ความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป การตั้งศาลในสวน การตั้งศาลในสวน ความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป การตั้งศาลในสวน และความเชื่อ/พิธีกรรมทั่วไป

4.3 ภูมิปญญาของทองถิ่น

การแทงหยวกและงานจักรสานไมไผ

การแทงหยวก

การจักสานจากมะพราว

การจักสานจากมะพราว

การจักสานจากมะพราว

การแทงหยวก งานจกัรสานไมไผและมะพราว

4.4 ศิลปกรรมของทองถิ่นที่เปนเอกลักษณ

บานทรงไทย บานทรงไทย เรือนแถวริมน้ํา เรือนแถวริมน้ํา เรือนแถวริมน้ํา บานทรงไทยและเรือนแถวริมน้ํา

Page 115: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

103

2.3.2 การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที จากตารางที่ 27 สามารถสรุปผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที 4 ดาน ไดแก ดานกายภาพ ดานเศรษฐกิจ ดานสังคม และดานวัฒนธรรม ดังนี้ 1.ดานกายภาพ จากการสัมภาษณรองนายกองคการบริหารสวนตําบลกระดังงา พบวา การใชประโยชนที่ดินของตําบลกระดังงา กอน พ.ศ.2549 ตําบลกระดังงาสวนใหญเปนพ้ืนท่ีเกษตรกรรมเพ่ือการเพาะปลูกพืชสวนท่ีสําคัญ คือ มะพราวใหญ มะพราวออน สมโอ และลิ้นจ่ี มีชุมชนที่อยูอาศัย และชุมชนที่อยูอาศัยริมน้ํา

การใชประโยชนที่ดินของตําบลกระดังงา พ.ศ.2549 เปนตนมา พบวา ตําบลกระดังงาสวนใหญยังคงเปนพ้ืนท่ีเกษตรกรรมเพื่อการเพาะปลูกพืชสวนท่ีสําคัญ คือ มะพราวใหญ มะพราวออน สมโอ และลิ้นจ่ี และชุมชนท่ีอยูอาศัยเชนเดิม แตมีการเพิ่มข้ึนของท่ีพักในเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและโฮมสเตย จากการรวบรวมขอมูลของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงานสมุทรสงคราม พบวามีที่พักในเชิงพาณิชยมากวา 10 แหงในตําบลกระดังงา และมีแนวโนมเพ่ิมข้ึน

รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของท่ีอยูอาศัย จากท่ีอยูอาศัยริมนํ้าเปนท่ีอยูอาศัยติดถนนหรือเสนทางคมนาคมทางบก นโยบายการใชประโยชนที่ดินในอนาคต ในสวนขององคการบริหารสวนตําบลกระดังงา ในฐานะหนวยงานท่ีกํากับดูแลในพื้นที่ตําบลกระดังงา มีนโยบายในการใชประโยชนที่ดินในอนาคตโดยยังคงสงเสริมการใชพื้นท่ีในการทําการเกษตร เนื่องจากตําบลกระดังงาซึ่งเปนสวนหนึ่งของอําเภอบางคนที เปนเขตนํ้าจืด สภาพพื้นที่มีความอุดมสมบูรณเหมาะแกการทําการเกษตร และองคการบริหารสวนตําบลกระดังงายังใหการสนับสนุนการประกอบกิจการที่พักเชิงพาณิชย ไดแก รีสอรทและโฮมสเตย ของชาวบานในตําบลกระดังงา เพื่อเปนการสรางงานสรางรายได รองรับการขยายตัวจากการทองเที่ยว โดยเฉพาะการทองเที่ยวตลาดน้ําอัมพวา

2.ดานเศรษฐกิจ จากการสัมภาษณผูใหขอมูลซึ่งเปนชาวบานท่ีอาศัยในพ้ืนที่ตําบลกระดังงา พบวา สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผูรับเหมากอสราง และอาชีพคาขาย เปนอาชีพหลัก และเปนผูประกอบการที่พัก รับจางเหลาไมกลัดและเย็บกระทง เปนอาชีพเสริม

ในสวนของรายไดจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม พบวา เกษตรกรมีรายไดจากการปลูกมะพราวใหญ มะพราวออน สมโอ และลิ้นจ่ี ในรายท่ีมีรายไดจากการปลูกมะพราวทั้งมะพราวใหญและมะพราวออนนั้น จะมีรายไดจะการขายผลมะพราว โดยมะพราวใหญ ราคาจําหนายลูกละ 10 บาท มะพราวออน จําหนายลูกละ 8 บาท หรือตามการข้ึนลงของราคาในทองตลาด โดยสามารถเก็บผลไดทุก 45 วัน ชวงท่ีใหผลผลิตมากท่ีสุดคือชวงเดือนสิงหาคมถึงกันยายน ในสวน

Page 116: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

104

ของรายไดจากสมโอ ซึ่งเปนสมโอพันธุขาวใหญที่มีชื่อเสียงของจังหวัดสมุทรสงคราม สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดตลอดป แตจะใหผลผลิตดีในชวงเดือนสิงหาคมถึงธันวาคม จําหนายในราคากิโลกรัมละ 25 – 30 บาท หรือตามการข้ึนลงของราคาในทองตลาด สวนลิ้นจี่ โดยเฉพาะลิ้นจี่พันธุคอม สายพันธุที่มีชื่อเสียงของจังหวัดสมุทรสงคราม จากการสัมภาษณพบวาเกษตรกรประสบปญหาลิ้นจ่ีไมออกผลผลิตกวา 5 ปมาแลว เกษตรกรหลายรายตองเปลี่ยนจากการปลูกลิ้นจ่ีไปปลูกพืชชนิดอ่ืนแทน แตถาลิ้นจ่ีสามารถออกผลผลิตได ก็จะสามารถจําหนายไดในราคา 40 – 60 บาทตอกิโลกรัม สวนรายไดจากอาชีพคาขาย จากการสัมภาษณ คือ รานจําหนายยาแผนโบราณและยาแผนปจจุบัน มีรายไดประมาณ 300 –

500 บาทตอวัน แตรายไดจะถูกหมุนเวียนเปนทุนในการคาขาย สวนรายไดจากอาชีพผูรับหมากอสรางนั้น ขึ้นอยูกับขอตกลงระหวางผูวาจางและผูรับเหมา ในสวนของการรับจางเหลาไมกลัด ไดคาจางในราคา 300 บาทตอกิโลกรัม เย็บกระทง 300 บาทตอหนึ่งแถว เปนอาชีพเสริมท่ีเกษตรกรทําระหวางรอเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร สวนรายไดจากกิจการที่พักท่ีเปนอาชีพเสริมรองจากอาชีพเกษตรกรและผูรับเหมากอสราง พบวาอัตราคาท่ีพักอยูที่ 1,000 – 1,200 บาทตอคืนตอหอง ซึ่งพบวามีจํานวนหองพักอยูที่ 5 – 15 หอง หรือตามแตประเภทของท่ีพัก ในชวงวันหยุดเสาร - อาทิตย และวันหยุด นักขัตฤกษ หองพักจะถูกจองเต็มทุกหอง รายไดเฉลี่ยเฉพาะวันหยุดเสาร – อาทิตย จึงอยูที่ประมาณ 5,000 – 18,000 บาท

ภาพที่ 21 อาชีพรับจางเย็บกระทง เหลาไมกลัด และท่ีพักเชิงพาณิชยในพื้นที่สวนของเกษตรกร

Page 117: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

105

ในสวนของรายจาย นอกจากรายจายในชีวิตประจําวันแลว พบวาสวนใหญเปนรายจายที่เกิดจากการหมุนเวียนเงินเพ่ือเปนตนทุนในการทําการเกษตร การดําเนินกิจการที่พัก และการลงทุนคาขาย โดยเกษตรกรท่ีปลูกมะพราว ทั้งมะพราวออน มะพราวใหญ รวมถึงสมโอ และลิ้นจี่ จะมีรายจายในการบํารุงรักษาสวน เชน คาปุย ยาปองกันโรค แมลง และวัชพืชตาง ๆ เปนตน รวมถึงคาใชจายเฉพาะชวงเร่ิมตนในการลงทุนทําสวน สวนรายจายในการดําเนินกิจการท่ีพัก นอกจากการลงทุนในการสรางท่ีพักซึ่งอยูในหลักแสนถึงหลักลานบาทแลว รายจายที่สําคัญของกิจการท่ีพัก คือ รายจายดานสาธารณูปโภค ไดแก คาน้ําประปา คาไฟฟา คาอาหาร คาซักลางทําความสะอาด และคาจางแรงงาน โดยคาจางแรงงานเปนไปตามอัตราคาแรงข้ันตํ่าท่ีรัฐบาลกําหนด คือ 300 บาทตอวัน รวมถึงคาซอมแซมตาง ๆ ดังนั้น รายจายของการประกอบกิจการที่พักอยูประมาณ 5,000 – 10,000 บาทตอเดือน

ในสวนของภาระหนี้สิน ในรายท่ีมีภาระหนี้สิน จากการสัมภาษณพบวาเกิดจากการลงทุนในการทําการเกษตรและกิจการที่พัก โดยมีแหลงเงินกูที่สําคัญ คือ กลุมออมทรัพยอินทรโชติ และธนาคารพาณิชย โดยพบวามีการกูยืมกวา 15 ลานบาท จากธนาคารพาณิชยเพื่อใชดําเนินกิจการที่พัก และการกูยืมเงินจํานวน 8,000 บาท จากกลุมออมทรัพยอินทรโชติเพื่อใชหมุนเวียนในการทําสวนมะพราวออน ในสวนของเงินออม พบวามีการออมเงินในกลุมออมทรัพยอินทรโชติ ในรายท่ีไมมีเงินออมเน่ืองจากใชเปนทุนหมุนเวียนในธุรกิจการรับเหมากอสราง กิจการที่พัก และการคาขาย รวมถึงหมุนเวียนชําระหน้ีสินแกธนาคารพาณิชย ในสวนของการถือครองท่ีดิน พบวาสวนใหญเปนเจาของท่ีดิน โดยเกษตรกรที่ปลูกมะพราวมีกรรมสิทธิ์ที่ดินจํานวน 3 ไร สวนผูประกอบการท่ีพัก มีกรรมสิทธิ์ที่ดินจํานวน 5 - 13 ไร และพบวามีการเชาพ้ืนท่ีวัดคาขายและเปนที่อยูอาศัย ในอัตราคาเชา 300 บาทตอป 3.ดานสังคม จากการสัมภาษณผูใหขอมูลซึ่งเปนชาวบานที่อาศัยในพ้ืนที่ตําบลกระดังงาในดานสังคม พบวา จํานวนสมาชิกท่ีอาศัยอยูรวมกันในครัวเรือน มีจํานวนตั้งแต 2 - 6 คน สมาชิกที่อาศัยอยูรวมกันในครัวเรือนสวนใหญเปนเด็กและผูสูงอายุ โดยพบวาคนวัยหนุมสาวจะทํางานหรือศึกษาตอตามเมืองใหญตาง ๆ ในสวนของระดับการศึกษาเฉพาะระดับการศึกษาของหัวหนาครัวเรือน พบวาสวนใหญสําเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 4 และมีที่สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับปริญญามหาบัณฑิต ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือนเปนแบบเครือญาติ อาศัยอยูรวมกันในครัวเรือน พบวาสมาชิกในครัวเรือนมีการรวมกลุมในชุมชน โดยเฉพาะในกลุมออมทรัพย คือ กลุมออมทรัพยอินทรโชติ ในกลุมสตรีตาง ๆ และมีที่ไมไดเปนสมาชิกกลุมใด ดานการมีสวนรวมในชุมชนจากการรวมกลุม พบวามีการดําเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงคของการการจัดต้ังกลุม มีการรวมประชุมเพ่ือจัดสรรผลประโยชน และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดข้ึน ในสวนของความขัดแยง พบวาผูนําชุมชนมีมุมมองวามีความขัดแยงในเร่ืองผลประโยชนในกลุมตาง ๆ บาง แตสามารถแกไขและตกลงรวมกันได สวนชาวบานมองวาไมมีปญญาขัดแยงใด ๆ และพบวากลุมตาง ๆ มี

Page 118: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

106

ความเขมแข็งดีและมีแนวโนมท่ีจะขยายกลุม โดยมีการประชุมตามกําหนดการของกลุม โดยเฉพาะในกลุมกลุมออมทรัพยอินทรโชติ มีการรวมการประชุมในกลุมเดือนละ 1 คร้ังมีจํานวนสมาชิกกวา 100

ราย และมีแนวโนมเพิ่มจํานวนมากข้ึน

4.ดานวัฒนธรรม ตําบลกระดังงา มีประเพณีประจําทองถิ่นตามแบบประเพณีนิยมของไทย ทั้งประเพณีในงานมงคล ไดแก การทําบุญในโอกาสตาง ๆ เพื่อความเปนสิริมงคล เชน การทําบุญขึ้นบานใหม การแตงงาน เปนตน และงานอวมงคล ไดแก การทําบุญเก่ียวกับการตาย เชน การทําบุญหนาศพ

การทําบุญอัฐิบรรพบุรุษ เปนตน รวมถึงเทศกาลงานประเพณีของไทย เชน ตรุษสงกรานต ลอยกระทง วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เปนตน และพบวามีความเชื่อและพิธีกรรมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ คือ การต้ังศาลในสวนมะพราว เพื่อความสงบรมเย็น ความเปนสิริมงคล และใหพืชผลเจริญงอกงาม ในสวนของภูมิปญญาของทองถิ่น พบวามีภูมิปญญาในการแทงหยวก และงานจักรสานจากไมไผและมะพราว สวนดานศิลปกรรมของทองถิ่นที่เปนเอกลักษณ คือ บานเรือนไทย และเรือนแถวริมนํ้า รวมถึงสิ่งกอสรางตามแบบสมัยนิยม โดยเฉพาะกิจการที่พักตาง ๆ ที่มีรูปแบบการกอสรางทั้งแบบที่เปนศิลปกรรมแบบไทย และรูปแบบที่เนนรูปทรงที่ทันสมัยตามแบบสากล

ภาพที่ 22 การตั้งศาลในสวน และการจักรสานจากมะพราว

จากผลการศึกษาขางตน ผูวิจัยเสนอแนะแนวทางการจัดการการใชประโยชนที่ดินท่ีเหมาะสมกับชุมชน โดยจะนําผลที่ไดจากศึกษาการเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสมุทรสงคราม และผลการศึกษาชุมชนที่เปนตัวแทนของชุมชนที่มีการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต จากการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน โดยสรุปแนวทางและขอเสนอแนะในการจัดการการใชประโยชนที่ดินท่ีเหมาะสมกับชุมชน รวมท้ังการอนุรักษวิถีชีวิตชุมชน และพัฒนาพื้นที่ตอไป

Page 119: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 120: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 121: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 122: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 123: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 124: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 125: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 126: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 127: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 128: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 129: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 130: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 131: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 132: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 133: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 134: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 135: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,
Page 136: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

124

ภาคผนวก ก

Page 137: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

125

แบบสังเกต เร่ือง การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน จังหวัดสมุทรสงคราม

ชื่อชุมชน………………………………..ตําบล…………………………อําเภอ……………………… 1.การใชประโยชนท่ีดิน : ระดับชุมชน 1.1 การใชประโยชนที่ดินของชุมชนในปจจุบัน (ป พ.ศ.2555) ………..……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 2.การเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต : ระดับชุมชน 2.1 ดานเศรษฐกิจ (กิจกรรมทางเศรษฐกิจของครัวเรือน/ชุมชน) ………..……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 2.2 ดานสังคม (การรวมกลุมตาง ๆ ในชุมชน/การมีสวนรวมของคนในชุมชน) ………..……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 2.3 ดานวัฒนธรรม (ประเพณีประจําทองถิ่น/ความเชื่อ พิธีกรรมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ/ภูมิปญญาของทองถิ่น/ศิลปกรรมของทองถิ่นที่เปนเอกลักษณ) ………..……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………...

Page 138: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

126

แบบสัมภาษณชุดที่ 1 ปราชญชาวบาน/ผูสูงอายุในชุมชน เร่ือง การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน จังหวัดสมุทรสงคราม

ชื่อชุมชน………………………………..ตําบล…………………………อําเภอ……………………… ตอนท่ี 1 ขอมูลพ้ืนฐานของผูใหสัมภาษณ ชื่อ – สกุล………………………………………………..…………………………………………….. ที่อยู……………………………………………………..……………………………………………… อายุ……………ป ระดับการศึกษา………………………..อาชีพ/ตําแหนง………..………………….. บทบาทในชุมชน………………………………………………………………………..……………… ตอนท่ี 2 ขอมูลท่ีใชในการวิเคราะห 1.การใชประโยชนท่ีดิน : ระดับชุมชน 1.1 การใชประโยชนที่ดินของชุมชนในอดีต (กอนป พ.ศ.2549) ………..……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 1.2 การใชประโยชนที่ดินของชุมชนในปจจุบัน (ป พ.ศ.2549 เปนตนมา) ………..……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 2.การเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต : ระดับชุมชน 2.1 ดานเศรษฐกิจ (ภาพรวม) (1) อาชีพ (อาชีพหลัก/อาชีพเสริม)………………………………………………………………………. (2) รายได (ตอเดือน/ตอป/ตอฤดูกาลเพาะปลูก)…………………………………………………………. (3) รายจาย (ตอเดือน/ตอป/ประเภทของรายจาย)………………………………………………………... (4) ภาระหนี้สิน (มูลเหตุของการเกิดหน้ี)………………………………………………………………... (5) การออม (ตอเดือน/ตอป)…………………………………………………………………………….. (6) การถือครองท่ีดิน (เจาของ/เชา)………………………………………………………………………

Page 139: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

127

2.2 ดานสังคม (ภาพรวม) (1) ขนาดของครัวเรือน (ครอบครัวเดี่ยว/ครอบครัวขยาย)………………………………………………. (2) จํานวนสมาชิก (จํานวน/อายุ/สถานภาพ)……………………………………………………………. (3) ระดับการศึกษาของสมาชิกในครัวเรือน…………………………………………………………….. (4) ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือน………………………………………………………………. (5) การรวมกลุมในชุมชน (เปนสมาชิกกลุมหรือเครือขายใดบาง)………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………………………………………………….. (6) การมีสวนรวมในชุมชน (ตัวแทน/สมาชิก/กรรมการ/ประธาน)……………………………………... ………………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………………………………………………….. (7) ความขัดแยงในชุมชน (ปญหาความขัดแยงในกลุม/ชุมชน เร่ืองใดบาง)……………….……………. ………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... (8) ความเขมแข็งของชุมชน (การประชุม/จํานวนกลุม/การขยายกลุม)…………………………………. ………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 2.3 ดานวัฒนธรรม (ภาพรวม) (1) ประเพณีประจําทองถิ่น……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………... (2) ความเชื่อ พิธีกรรมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ……………………………………. …………………………………………………………………………………………………………... (3) ภูมิปญญาของทองถิ่น………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………... (4) ศิลปกรรมของทองถิ่นที่เปนเอกลักษณ……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………...

Page 140: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

128

แบบสัมภาษณชุดที่ 2 ชาวบานในชุมชน เร่ือง การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จังหวัดสมุทรสงคราม

ชื่อชุมชน………………………………..ตําบล…………………………อําเภอ……………………… ตอนท่ี 1 ขอมูลพ้ืนฐานของผูใหสัมภาษณ ชื่อ – สกุล………………………………………………..…………………………………………….. ที่อยู……………………………………………………..……………………………………………… อายุ……………ป ระดับการศึกษา………………………..อาชีพ/ตําแหนง………..………………….. บทบาทในชุมชน………………………………………………………………………..……………… ตอนท่ี 2 ขอมูลท่ีใชในการวิเคราะห 1.การใชประโยชนท่ีดิน : ระดับชุมชน 1.1 การใชประโยชนที่ดินของชุมชนในอดีต (กอนป พ.ศ.2549) (ประเภท/ลักษณะ/เหตุผล/ปจจัย) ………..……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 1.2 การใชประโยชนที่ดินของชุมชนในปจจุบัน (ป พ.ศ.2549 เปนตนมา) ………..……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 2.การเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต 2.1 ดานเศรษฐกิจ : ระดับครัวเรือน (1) อาชีพ (อาชีพหลัก/อาชีพเสริม)………………………………………………………………………. (2) รายได (ตอเดือน/ตอป/ตอฤดูกาลเพาะปลูก)…………………………………………………………. (3) รายจาย (ตอเดือน/ตอป/ประเภทของรายจาย)………………………………………………………... (4) ภาระหนี้สิน (มูลเหตุของการเกิดหน้ี)………………………………………………………………... (5) การออม (ตอเดือน/ตอป)…………………………………………………………………………….. (6) การถือครองท่ีดิน (เจาของ/เชา)………………………………………………………………………

Page 141: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

129

2.2 ดานสังคม : ระดับครัวเรือน (1) ขนาดของครัวเรือน (ครอบครัวเดี่ยว/ครอบครัวขยาย)………………………………………………. (2) จํานวนสมาชิก (จํานวน/อายุ/สถานภาพ)……………………………………………………………. (3) ระดับการศึกษาของสมาชิกในครัวเรือน…………………………………………………………….. (4) ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือน………………………………………………………………. (5) การรวมกลุมในชุมชน (เปนสมาชิกกลุมหรือเครือขายใดบาง)………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………………………………………………….. (6) การมีสวนรวมในชุมชน (ตัวแทน/สมาชิก/กรรมการ/ประธาน)……………………………………... ………………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………………………………………………….. (7) ความขัดแยงในชุมชน (ปญหาความขัดแยงในกลุม/ชุมชน เร่ืองใดบาง)……………….……………. ………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... (8) ความเขมแข็งของชุมชน (การประชุม/จํานวนกลุม/การขยายกลุม)…………………………………. ………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 2.3 ดานวัฒนธรรม (ภาพรวม) (1) ประเพณีประจําทองถิ่น……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………... (2) ความเชื่อ พิธีกรรมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ……………………………………. …………………………………………………………………………………………………………... (3) ภูมิปญญาของทองถิ่น………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………... (4) ศิลปกรรมของทองถิ่นที่เปนเอกลักษณ……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………...

Page 142: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

130

แบบสัมภาษณชุดที่ 3 ผูนําชุมชนอยางเปนทางการ เร่ือง การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จังหวัดสมุทรสงคราม

ชื่อชุมชน………………………………..ตําบล…………………………อําเภอ……………………… ตอนท่ี 1 ขอมูลพ้ืนฐานของผูใหสัมภาษณ ชื่อ – สกุล………………………………………………..…………………………………………….. ที่อยู……………………………………………………..……………………………………………… อายุ……………ป ระดับการศึกษา………………………..อาชีพ/ตําแหนง………..………………….. บทบาทในชุมชน………………………………………………………………………..……………… ตอนท่ี 2 ขอมูลท่ีใชในการวิเคราะห 1.การใชประโยชนท่ีดิน : ระดับชุมชน 1.1 การใชประโยชนที่ดินของชุมชนในอดีต (กอนป พ.ศ.2549) (ประเภท/ลักษณะ/เหตุผล/ปจจัย) ………..……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 1.2 การใชประโยชนที่ดินของชุมชนในปจจุบัน (ป พ.ศ.2549 เปนตนมา) ………..……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 1.3 นโยบายการใชประโยชนที่ดินในอนาคต ………..……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 2.การเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต : ระดับชุมชน 2.1 ดานเศรษฐกิจ (ภาพรวม) (1) อาชีพ (อาชีพหลัก/อาชีพเสริม)……………………………………………………………………….

Page 143: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

131

(2) รายได (ตอเดือน/ตอป/ตอฤดูกาลเพาะปลูก)…………………………………………………………. (3) รายจาย (ตอเดือน/ตอป/ประเภทของรายจาย)………………………………………………………... (4) ภาระหนี้สิน (มูลเหตุของการเกิดหน้ี)………………………………………………………………... (5) การออม (ตอเดือน/ตอป)…………………………………………………………………………….. (6) การถือครองท่ีดิน (เจาของ/เชา)……………………………………………………………………… 2.2 ดานสังคม (ภาพรวม) (1) ขนาดของครัวเรือน (ครอบครัวเดี่ยว/ครอบครัวขยาย)………………………………………………. (2) จํานวนสมาชิก (จํานวน/อายุ/สถานภาพ)……………………………………………………………. (3) ระดับการศึกษาของสมาชิกในครัวเรือน…………………………………………………………….. (4) ความสัมพันธของสมาชิกในครัวเรือน………………………………………………………………. (5) การรวมกลุมในชุมชน (เปนสมาชิกกลุมหรือเครือขายใดบาง)………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………………………………………………….. (6) การมีสวนรวมในชุมชน (ตัวแทน/สมาชิก/กรรมการ/ประธาน)……………………………………... ………………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………………………………………………….. (7) ความขัดแยงในชุมชน (ปญหาความขัดแยงในกลุม/ชุมชน เร่ืองใดบาง)……………….……………. ………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... (8) ความเขมแข็งของชุมชน (การประชุม/จํานวนกลุม/การขยายกลุม)…………………………………. ………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………... 2.3 ดานวัฒนธรรม (ภาพรวม) (1) ประเพณีประจําทองถิ่น……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………... (2) ความเชื่อ พิธีกรรมที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ……………………………………. …………………………………………………………………………………………………………... (3) ภูมิปญญาของทองถิ่น………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………... (4) ศิลปกรรมของทองถิ่นที่เปนเอกลักษณ……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………...

Page 144: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

132

ภาคผนวก ข

Page 145: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

133

ภาพท่ี 23 สัมภาษณนายกองคการบริหารสวนตําบลลาดใหญ อําเภอเมืองสมุทรสงคราม ภาพท่ี 24 สัมภาษณเกษตรกรสวนมะพราว ตําบลลาดใหญ

Page 146: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

134

ภาพท่ี 25 สัมภาษณปราชญชาวบานและเกษตรกรนํ้าตาลมะพราว ตําบลลาดใหญ ภาพท่ี 26 สัมภาษณเกษตรกรนาเกลือ ตําบลลาดใหญ

Page 147: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

135

ภาพท่ี 27 สัมภาษณนายกเทศมนตรีตําบลสวนหลวง อําเภออัมพวา ภาพท่ี 28 สัมภาษณเกษตรกรและประธานกลุมทองเที่ยวเชิงเกษตร ตําบลสวนหลวง

Page 148: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

136

ภาพท่ี 29 สัมภาษณเกษตรกรสวนมะพราว ตําบลสวนหลวง ภาพท่ี 30 สัมภาษณผูประกอบการท่ีพักเชิงพาณิชย ตําบลสวนหลวง

Page 149: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

137

ภาพท่ี 31 สัมภาษณประธานกลุมออมทรัพยอินทรโชติ ตําบลกระดังงา อําเภอบางคนที ภาพท่ี 32 สัมภาษณเกษตรกรและผูประกอบการที่พักเชิงพาณิชย ตําบลกระดังงา

Page 150: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

138

ภาพท่ี 33 สัมภาษณเกษตรกรและผูประกอบอาชีพเย็บกระทงและเหลาไมกลัด ตําบลกระดังงา ภาพท่ี 34 สัมภาษณเกษตรกรสวนมะพราวและหัตถกรรมจักสานจากมะพราว ตําบลกระดังงา

Page 151: 2556 ิทยาลยศิั - Silpakorn University...The real site was also studied using observation and in depth interview with 15 key informants in four area including physical,

139

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ – สกุล นางสาวฑิฆัมพร เด็ดขุนทด ที่อยู 212/1 หมูที่ คุมภักดีนิเวศ ถนนชัยภูมิ – บานเขวา ตําบลในเมือง อําเภอเมืองฯ จังหวัดชัยภูมิ 36000 ประวัติการศึกษา พ.ศ.2552 สําเร็จการศึกษาปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร

(เกียรตินิยมอันดับ 2) คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ.2554 ศึกษาตอระดับปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการภาครัฐ

และภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร